หน่วยการเรียนรู้ที่ รู้ ที่4 เรื่อ รื่ ง สถิติ แผนการจัด จั การ เรีย รี นรู้ Olivia mai Marketer รายวิช วิ าคณิตศาสตร์พื้ ร์ พื้ นฐาน ค21102 นายภูชิช ชิ ย์ ด้านซอม รหัสนักศึกษา 63040140223 สาขาวิช วิ า คณิตศาสตร์ โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคาร สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธ มั ยมศึกษา อุดรธานี
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่๔ สถิติวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค๒๑๑๐๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๑ โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคาร นายภูชิชย์ด้านซอม รหัสนักศึกษา ๖๓๐๔๐๑๔๐๒๒๓ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๑ รหัสวิชา ED๑๖๔๐๑ (INTERNSHIP IN SCHOOL ๑) คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
กคํานํา แผนการจดัการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหสัวิชาค๒๑๑๐๑ ช้นัมธัยมศึกษาปีที่๑เล่มน้ีจดัทาํข้ึนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจดัการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และให้นักเรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตวัช้ีวดัที่กาํหนดไวใ้นหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาข้นัพ้ืนฐาน พุทธศกัราช๒๕๕๑(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)ผูจ้ดัทาํจึงไดศ้ึกษาสาระการเรียนรู้พ้ืนฐานให้เขา้ใจอย่างถ่องแท้จึงไดน้าํปัญหาที่พบจากประสบการณ์และความรู้ที่ไดจ้ากการอบรมสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เทคนิควิธีการสอน การวดัผลประเมินผล จิตวิทยาการเรียนรู้ตลอดจนความรู้ที่ไดจ้ากการศึกษาคน้ควา้ดว้ยตนเองมาจดัทาํแผนการจดัการเรียนรู้ในคร้ังน้ีแผนการจดัการเรียนรู้เล่มน้ีประกอบไปด้วย ปฐมนิเทศ หน่วยการเรียนรู้ที่๔เรื่อง อตัราส่วนโดยในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้จะประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้และตวัช้ีวดัสาระการเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้สื่อ/แหล่งการเรียนรู้การวดัและประเมินผล รวมท้งัยงัมีใบกิจกรรม ใบความรู้พร้อมท้งัมีเฉลยไวใ้หส้าํหรับครูผสู้อนดว้ย ซ่ึงจะทาํใหก้ารจดักิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปอยา่งราบรื่น เพื่อใหผ้เู้รียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ไดเ้ตม็ศกัยภาพอยา่งแทจ้ริง ผจู้ดัทาํหวงัเป็นอยา่งยงิ่วา่แผนการจดัการเรียนรู้เล่มน้ีจะเป็นประโยชนต์ ่อการจดักิจกรรมการเรียนรู้ของตวัผสู้อนเอง เป็นประโยชน์ต่อผทู้ี่สนใจ หรือเป็นประโยชน์ต่อผสู้อนแทนเป็นอยา่งมาก หากผดิพลาดประการใดผจู้ดัทาํกข็ออภยัมา ณ โอกาสน้ีดว้ย ภูชิชย์ดา้นซอม
ขสารบัญ เรื่อง หน้าคาํนาํกสารบญัขทาํไมตอ้งคณิตศาสตร์ 1คาํอธิบายรายวชิา 6ตวัช้ีวดัและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ช้นัมธัยมศึกษาปีที่๑ 7โครงสร้างรายวชิา 10กาํหนดการเรียนรู้ 12อตัราส่วนคะแนน 15แผนการจดัการเรียนรู้ประจาํหน่วยการเรียนรู้ที่๔ 16
3หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทําไมต้องเรียนคณิตศาสตร์คณิตศาสตร์มีบทบาทสาํคญัยงิ่ต่อความสาํเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่๒๑ เนื่องจากคณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษยม์ีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์คิดอยา่งมีเหตุผลเป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ไดอ้ยา่งรอบคอบและถี่ถว้น ช่วยใหค้าดการณ์วางแผน ตดัสินใจแกป้ ัญหาไดอ้ยา่งถูกตอ้งเหมาะสม และสามารถนาํไปใชใ้นชีวิตจริงไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ีคณิตศาสตร์ยงัเป็นเครื่องมือในการศึกษาดา้นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและศาสตร์อื่นๆ อนัเป็นรากฐานในการพฒันาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพฒันาเศรษฐกิจของประเทศให้ทดัเทียมกบันานาชาติการศึกษาคณิตศาสตร์จึงจาํเป็นตอ้งมีการพฒันาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทนัสมยัและสอดคลอ้งกบัสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความรู้ทางวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยทีี่เจริญกา้วหนา้อยา่งรวดเร็วในยคุโลกาภิวตัน์ตวัช้ีวดัและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาข้นัพ้ืนฐาน พุทธศกัราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ฉบบัน้ีจดัทาํข้ึนโดยคาํนึงถึงการส่งเสริมให้ผเู้รียนมีทกัษะที่จาํเป็นสาํหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่๒๑ เป็นสาํคญันนั่คือการเตรียมผเู้รียนให้มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารและการร่วมมือ ซ่ึงจะส่งผลให้ผเู้รียนรู้เท่าทนัการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจสังคม วฒันธรรม และสภาพแวดลอ้ม โดยผเู้รียนสามารถแข่งขนัและอยรู่ ่วมกบั ประชาคมโลกได้ท้งัน้ีการจดัการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ประสบความสาํเร็จน้นัจะตอ้งเตรียมผเู้รียนใหม้ีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆพร้อมที่จะประกอบอาชีพเมื่อจบการศึกษาหรือสามารถศึกษาต่อในระดบัที่สูงข้ึน ดงัน้นัสถานศึกษาควรจดัการเรียนรู้ใหเ้หมาะสมตามศกัยภาพของผเู้รียน เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จัดเป็น ๓ สาระการเรียนรู้ได้แก่จํานวนและพีชคณิตการวดัและเรขาคณิต และสถิติและความน่าจะเป็น มีรายละเอียดดงัน้ี๑. จํานวนและพีชคณิต เรียนรู้เกี่ยวกบัระบบจาํนวนจริง สมบตัิเกี่ยวกบัจาํนวนจริงอตัราส่วนร้อยละการประมาณค่าการแกป้ ัญหาเกี่ยวกบัจาํนวน การใชจ้าํนวนในชีวิตจริงแบบรูป ความสัมพนัธ์ฟังกช์นัเซต ตรรกศาสตร์นิพจน์เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการอสมการกราฟ ดอกเบ้ียและมูลค่าของเงินลาํดบัและอนุกรม และการนาํความรู้เกี่ยวกบัจาํนวนและพีชคณิตไปใชใ้นสถานการณ์ต่างๆ ๒. การวัดและเรขาคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ําหนัก พ้ืนที่ปริมาตรและความจุเงินและเวลา หน่วยวดัระบบต่างๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวดัอัตราส่วนตรีโกณมิติรูปเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิตในเรื่องการเลื่อนขนาน การสะทอ้น การหมุน และการนาํความรู้เกี่ยวกบัการวดัและเรขาคณิตไปใชใ้นสถานการณ์ต่างๆ
4๓. สถิติและความน่าจะเป็น เรียนรู้เกี่ยวกบัการต้งัคาํถามทางสถิติการเก็บรวบรวมขอ้มูลการคาํนวณค่าสถิติการนาํเสนอและแปลผลสําหรับขอ้มูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลกัการนับเบ้ืองตน้ความน่าจะเป็น การใชค้วามรู้เกี่ยวกบัสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ และช่วยในการตดัสินใจ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สาระและมาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ตามหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาข้นัพ้ืนฐานพทุธศกัราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มีดงัน้ีสาระที่๑ จํานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจํานวนการดาํเนินการของจาํนวน ผลที่เกิดข้ึนจากการดาํเนินการ สมบตัิของการดาํเนินการและนาํไปใช้มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ฟังก์ชันลําดับและอนุกรม และนาํไปใช้มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแกป้ ัญหาที่กาํหนดให้สาระที่๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตอ้งการวดัและนาํไปใช้มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ใจและวเิคราะห์รูปเรขาคณิต สมบตัิของรูปเรขาคณิต ความสมัพนัธ์ระหวา่งรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาํไปใช้สาระที่๓ สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ใจกระบวยการทางสถิติและใชค้วามรู้ทางสถิติในการแกป้ ัญหา มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ใจหลกัการนบัเบ้ืองตน้ความน่าจะเป็น และนาํไปใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถที่จะนําไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้มาซ่ึงความรู้และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างมีประสิทธิภาพทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในที่น้ีเน้นที่ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จําเป็นและตอ้งการพฒันาใหเ้กิดข้ึนกบัผเู้รียน ไดแ้ก่ความสามารถต่อไปน้ี๑. การแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการทาํความเขา้ใจปัญหา คิดวิเคราะห์วางแผนแกป้ ัญหาและเลือกใชว้ธิีการที่เหมาะสม โดยคาํนึงถึงความสมเหตุสมผลของคาํตอบ พร้อมท้งัตรวจสอบความถูกตอ้ง
5๒. การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถในการใชรู้ปภาษาและสญัลกัษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผลและนาํเสนอไดอ้ยา่งถูกตอ้ง ชดัเจน๓. การเชื่อมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์เน้ือหาต่างๆ หรือศาสตร์อื่นๆ และนาํไปใชใ้นชีวติจริง ๔. การให้เหตุผล เป็นความสามารถในการให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผลสนับสนุนหรือโตแ้ยง้เพื่อนาํไปสู่การสรุป โดยมีขอ้เทจ็จริงทางคณิตศาสตร์รองรับ ๕. การคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการขยายแนวคิดที่มีอยเู่ดิม หรือสร้างแนวคิดใหม่เพื่อปรับปรุง พฒันาองคค์วามรู้คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่๓ เมื่อผเู้รียนจบการเรียนช้นัมธัยมศึกษาปีที่๓ ผเู้รียนควรจะมีความสามารถดงัน้ี๑. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกบัจาํนวนจริง มีความเขา้ใจเกี่ยวกบัอตัราส่วน สดัส่วน ร้อยละเลขยกกาํลงัที่มีเลขช้ีกาํลงัเป็นจาํนวนเตม็รากที่สองและรากที่สามของจาํนวนจริง สามารถดาํเนินการเกี่ยวกบัจาํนวนเตม็เศษส่วน ทศนิยม เลขยกกาํลงัรากที่สองและรากที่สามของจาํนวนจริง ใชก้ารประมาณค่าในการดาํเนินการและแกป้ ัญหาและนาํความรู้เกี่ยวกบัจาํนวนไปใชใ้นชีวติจริงได้๒. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพ้ืนที่ผิวของปริซึม ทรงกระบอก และปริมาตรของปริซึมทรงกระบอก พีระมิดกรวยและทรงกลม เลือกใชห้น่วยการวดัในระบบต่างๆ เกี่ยวกบัความยาว พ้ืนที่และปริมาตรไดอ้ยา่งเหมาะสม พร้อมท้งัสามารถนาํความรู้เกี่ยวกบัการวดัไปใชใ้นชีวติจริงได้๓. สามารถสร้างและอธิบายข้นัตอนการสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชว้งเวยีนและเส้นตรง อธิบายลกัษณะและสมบตัิของรูปเรขาคณิตสามมิติไดแ้ก่ ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอกกรวย และทรงกลมได้๔. มีความเขา้ใจเกี่ยวกบัสมบตัิของความเท่ากนัทุกประการและความคลา้ยของรูปสามเหลี่ยมเส้นขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลบัและสามารถนาํสมบตัิเหล่าน้นั ไปใชใ้นการใหเ้หตุผล และแกป้ ัญหาได้มีความเขา้ใจเกี่ยวกบัการแปลงทางเรขาคณิตในเรื่องการสะทอ้น การเลื่อนขนานการหมุนและนาํไปใชไ้ด้๕. สามารถนึกภาพและอธิบายลกัษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ๖. สามารถวเิคราะห์และอธิบายความสมัพนัธ์ของแบบรูป สถานการณ์หรือปัญหา และสามารถใชส้มการเชิงเส้นตวัแปรเดียวระบบสมการเชิงเส้นสองตวัแปรอสมการเชิงเส้นตวัแปรเดียวและกราฟในการแกป้ ัญหาได้
6๗. สามารถกาํหนดประเดน็เขียนขอ้คาํถามเกี่ยวกบั ปัญหาหรือสถานการณ์กาํหนดวธิีการศึกษา เกบ็รวบรวมขอ้มูลและนาํเสนอขอ้มูลโดยใชแ้ผนภูมิรูปวงกลม หรือรูปแบบอื่นที่เหมาะสมได้๘. เขา้ใจค่ากลางของขอ้มูลในเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิต มธัยฐาน และฐานนิยมของขอ้มูล ที่ยงัไม่ไดแ้จกแจงความถี่และเลือกใชไ้ดอ้ยา่งเหมาะสม รวมท้งัใชค้วามรู้ในการพิจารณาขอ้มูลข่าวสารทางสถิติ๙. เขา้ใจเกี่ยวกบัการทดลองสุ่ม เหตุการณ์และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์สามารถใชค้วามรู้ เกี่ยวกบัความน่าจะเป็นในการคาดการณ์และประกอบการตดัสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ได้๑๐. ใชว้ธิีการที่หลากหลายแกป้ ัญหา ใชค้วามรู้ทกัษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยใีนการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ไดอ้ยา่งเหมาะสม ใหเ้หตุผลประกอบการตดัสินใจและสรุปผลไดอ้ยา่งเหมาะสม ใชภ้าษาและสญัลกัษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนาํเสนอไดอ้ยา่งถูกตอ้งและชดัเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาํความรู้หลกัการกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกบัศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน หลกัสูตรแกนกลางการศึกษาข้นัพ้ืนฐานมุ่งใหผ้เู้รียนเกิดสมรรถนะสาํคญั๕ ประการดงัน้ี๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒันธรรม ในการใชภ้าษาถ่ายทอดความคิดความรู้ความเขา้ใจความรู้สึก ทศันะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอ้มูลข่าวสารและประสบการณ์อนัจะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒันาตนเองและสงัคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดัและลดปัญหาความขดัแยง้ต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้มูลข่าวสารดว้ยหลกัเหตุผล และความถูกตอ้ง ตลอดจนการเลือกใชว้ธิีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคาํนึงถึงผลกระทบ ที่มีต่อตนเองและสงัคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวเิคราะห์การคิดสงัเคราะห์การคิดอยา่งสร้างสรรค์การคิดอยา่งมีวจิารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาํไปสู่การสร้างองคค์วามรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตดัสินใจเกี่ยวกบัตนเองและสงัคมไดอ้ยา่งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เผชิญไดอ้ยา่งถูกตอ้งเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกัเหตุผลคุณธรรมและขอ้มูลสารสนเทศ เขา้ใจความสมัพนัธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสงัคม แสวงหาความรู้ประยกุตค์วามรู้มาใช้ในการป้องกนัและแกไ้ขปัญหาและมีการตดัสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคาํนึงถึงผลกระทบ ที่เกิดข้ึนต่อตนเอง สงัคมและสิ่งแวดลอ้ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่างๆไปใชใ้นการดาํเนินชีวติประจาํวนัการเรียนรู้ดว้ยตนเองการเรียนรู้อยา่งต่อเนื่องและการอยรู่ ่วมกนั ในสงัคม
7ดว้ยการสร้างเสริมความสมัพนัธ์อนัดีระหวา่งบุคคลการจดัการปัญหาและความขดัแยง้ต่างๆ อยา่งเหมาะสมการปรับตวัใหท้นักบัการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ม และการรู้จกัหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ี่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีดา้นต่างๆ และมีทกัษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพฒันาตนเองและสังคม ในดา้นการเรียนรู้การสื่อสารการทาํงาน การแกป้ ัญหาอยา่งสร้างสรรค์ถูกตอ้งเหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์สําคัญของผู้เรียน หลกัสูตรแกนกลางการศึกษาข้นัพ้ืนฐานมุ่งพฒันาผูเ้รียนให้มีคุณลกัษณะอนัพึงประสงค์เพื่อให้สามารถอยรู่ ่วมกบัผอู้ื่นในสงัคมไดอ้ยา่งมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลกดงัน้ี๑.รักชาติศาสน์กษตัริย์๒. ซื่อสตัยส์ุจริต ๓. มีวนิยั๔. ใฝ่เรียนรู้๕.อยอู่ยา่งพอเพียง ๖. มุ่งมนั่ในการทาํงาน ๗.รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนคณิตศาสตร์ในหลกัสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกัสูตรแกนกลางการศึก ษ าข้ัน พ้ืน ฐาน พุท ธศักรา ช ๒๕๕๑ ได้กํา หน ด ส าระและ ม า ต รฐา นการเรียนรู้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลกัษณะอนัพึงประสงคใ์นการเรียนรู้คณิตศาสตร์ดงัต่อไปน้ี๑. ทาํความเขา้ใจหรือสร้างกรณีทวั่ ไปโดยใชค้วามรู้ที่ไดจ้ากการศึกษากรณีตวัอยา่งหลายๆกรณี๒. มองเห็นวา่ความสามารถใชค้ณิตศาสตร์แกป้ ัญหาในชีวติจริงได้๓. มีความมุมานะในการทาํความเขา้ใจปัญหาและแกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์๔. สร้างเหตุผลเพื่อสนบัสนุนแนวคิดของตนเองหรือโตแ้ยง้แนวคิดของผอู้ื่นอยา่งสมเหตุสมผล๕. คน้หาลกัษณะที่เกิดข้ึนซ้าํๆ และประยกุตใ์ชล้กัษณะดงักล่าวเพื่อทาํความเขา้ใจหรือแกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
8คําอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ค๒๑๑๐๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๑ ภาคเรียนที่๒ จํานวน ๑.๕หน่วยกิต--------------------------------------------------------------------------------------------------------------ศึกษา เขา้ใจและประยกุตใ์ชอ้ตัราส่วน สดัส่วน และร้อยละ ในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวติจริง ใชค้วามรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวยีนและสนัตรง รวมท้งัโปรแกรมTheGeometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวตัอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนาํความรู้เกี่ยวกบัการสร้างน้ีไปประยกุตใ์ชใ้นการแกป้ ัญหาในชีวติจริง เขา้ใจและใชค้วามรู้ทางเรขาคณิตในการวเิคราะห์หาความสมัพนัธ์ระหวา่งรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติเขา้ใจและใชค้วามรู้ทางสถิติในการนาํเสนอขอ้มูลและแปลความหมายขอ้มูล รวมท้งันาํสถิติไปใชใ้นชีวติจริงโดยใชเ้ทคโนโลยทีี่เหมาะสม โดยใชก้ิจกรรมการเรียนรู้ผา่นกระบวนการทางคณิตศาสตร์เนน้จดัประสบการณ์จากรูปภาพจากของจริงไปสู่การใชส้ญัลกัษณ์การจดักิจกรรมกลุ่มหรือเกมใหผ้เู้รียนมีส่วนร่วมในการสร้างความคิดรวบยอด ใชโ้จทยท์ ี่หลากหลาย ใกลเ้คียงกบัชีวติประจาํวนัเพื่อฝึกทกัษะการคิดคาํนวณและฝึกการแกโ้จทย์ปัญหา โดยเรียงลาํดบัโจทยจ์ากง่าย ไปหาโจทยท์ ี่มีความซบัซอ้นมากข้ึน เพื่อใหผ้เู้รียนไดฝ้ึกทกัษะเป็นลาํดบัข้นัส่งเสริมการอธิบาย ใหเ้หตุผลประกอบ การแกป้ ัญหา และเนน้การแกป้ ัญหาโดยใชว้ธิีการที่หลากหลายสร้างสรรค์ เพื่อใหผ้เู้รียนมีความคิดรวบยอด มีทกัษะในการคิดคาํนวณ มีเหตุผลในการแกป้ ัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรคแ์ละนาํความรู้ไปใชใ้นชีวติจริงได้รหัสตัวชี้วัด ค ๑.๑ ม.๑/๓ ค ๒.๒ ม.๑/๑ ค ๒.๒ ม.๑/๒ ค ๓.๑ ม.๑/๑ รวม ๔ ตัวชี้วัด
9ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๑ สาระที่๑ จํานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจํานวน การดําเนินการของจาํนวน ผลที่เกิดข้ึนจากการดาํเนินการ สมบตัิของการดาํเนินการและนาํไปใช้ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑. เขา้ใจจาํนวนตรรกยะและความสมัพนัธ์ของ จาํนวนตรรกยะและใชส้มบตัิของจาํนวนตรรก ยะในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน ชีวติจริง จํานวนตรรกยะ -จาํนวนเตม็ - สมบตัิของจาํนวนเตม็ -ทศนิยมและเศษส่วน -จาํนวนตรรกยะและสมบตัิของจาํนวนตรรกยะ - เลขยกกาํลงัที่มีเลขช้ีกาํลงัเป็นจาํนวนเตม็บวก-การนาํความรู้เกี่ยวกบัจาํนวนเตม็จาํนวนตรรกยะและเลขยกกาํลงัไปใชใ้นการแกป้ ัญหา ๒. เขา้ใจและใชส้มบตัิของเลขยกกาํลงัที่มีเลขช้ีกาํลงัเป็นจาํนวนเตม็บวกในการแกป้ ัญหาทาง คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวติจริง ๓. เขา้ใจและประยกุตใ์ชอ้ตัราส่วน สดัส่วนและ ร้อยละในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์และปัญหา ในชีวติจริง อัตราส่วน - อตัราส่วนของจาํนวนหลาย ๆ จาํนวน - สดัส่วน -การนาํความรู้เกี่ยวกบัอตัราส่วน สดัส่วนและ ร้อยละไปใชใ้นการแกป้ ัญหา สาระที่๑ จํานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ใจและวเิคราะห์แบบรูป ความสมัพนัธ์ฟังกช์นัลาํดบัและอนุกรม และนาํไปใช้ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - -สาระที่๑ จํานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน้ ิพจน์สมการและอสมการอธิบายความสมัพนัธ์หรือช่วยแกป้ ัญหาที่กาํหนดให้ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑. เขา้ใจและใชส้มบตัิของการไม่เท่ากนัเพื่อ วเิคราะห์และแกป้ ัญหาโดยใชอ้ สมการเชิงเส้น ตวัแปรเดียว อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว -อสมการเชิงเส้นตวัแปรเดียว -การแกอ้สมการเชิงเส้นตวัแปรเดียว -การนาํความรู้เกี่ยวกบัการแกอ้สมการเชิงเส้นตวัแปรเดียวไปใชใ้นการแกป้ ัญหา
10ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. เขา้ใจและใชค้วามรู้เกี่ยวกบักราฟในการ แกป้ ัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวติจริง ๓. เขา้ใจและใชค้วามรู้เกี่ยวกบัความสมัพนัธ์เชิง เส้นในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน ชีวติจริง สมการเชิงเส้นสองตัวแปร -กราฟของความสมัพนัธ์เชิงเส้น - สมการเชิงเส้นสองตวัแปร -การนาํความรู้เกี่ยวกบัสมการเชิงเส้นสองตวัแปรและกราฟของความสมัพนัธ์เชิงเส้นไปใช้ในชีวติจริง สาระที่๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ใจพ้ืนฐานเกี่ยวกบัการวดัวดัและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตอ้งการวดัและนาํไปใช้ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - -สาระที่๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ใจและวเิคราะห์รูปเรขาคณิต สมบตัิของรูปเรขาคณิต ความสมัพนัธ์ระหวา่ง รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาํไปใช้ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑. ใชค้วามรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือเช่น วงเวยีนและสนัตรงรวมท้งัโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรม เรขาคณิตพลวตัอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนาํความรู้เกี่ยวกบัการสร้างน้ีไป ประยกุตใ์ชใ้นการแกป้ ัญหาในชีวติจริง การสร้างทางเรขาคณิต -การสร้างพ้ืนฐานทางเรขาคณิต -การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชก้ารสร้าง พ้ืนฐานทางเรขาคณิต -การนาํความรู้เกี่ยวกบัการสร้างพ้ืนฐานทาง เรขาคณิตไปใชใ้นชีวติจริง 2. เขา้ใจและใชค้วามรู้ทางเรขาคณิตในการ วเิคราะห์หาความสมัพนัธ์ระหวา่งรูปเรขาคณิต สองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมิติสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต - หนา้ตดัของรูปเรขาคณิตสามมิติ - ภาพที่ไดจ้ากการมองดา้นหนา้ดา้นขา้ง ดา้นบนของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบข้ึนจากลูกบาศก์
11สาระที่๓ สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ใจกระบวนการทางสถิติและใชค้วามรู้ทางสถิติในการแกป้ ัญหา ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑. เขา้ใจและใชค้วามรู้ทางสถิติในการนาํเสนอ ขอ้มูลและแปลความหมายขอ้มูลรวมท้งันาํสถิติไปใชใ้นชีวติจริงโดยใชเ้ทคโนโลยทีี่เหมาะสม สถิติ -การต้งัคาํถามทางสถิติ -การเกบ็รวบรวมขอ้มูล -การนาํเสนอขอ้มูล แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง กราฟเส้น แผนภูมิรูปวงกลม -การแปลความหมายขอ้มูล -การนาํสถิติไปใชใ้นชีวติจริง สาระที่๓ สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ใจหลกัการนบัเบ้ืองตน้ความน่าจะเป็น และนาํไปใช้ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - -
12โครงสร้างรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์รายวชิาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหสัวชิาค๒๑๑๐๒ช้นัมธัยมศึกษาปีที่๑ ภาคเรียนที่๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ จาํนวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลาเรียน ๖๐ชวั่โมง/ภาคเรียน ลําดับ ที่ชื่อหน่วย การเรียนรู้มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง ) น้ําหนักคะแนน๑ ปฐมนิเทศ -แนะนาํรายวชิาค๒๑๑๐๑ - บอกขอ้ตกลงร่วมกนั ในการเรียน คณิตศาสตร์๑-๒ อตัราส่วน ค๑.๑ ม.๑/๓ -อตัราส่วนของจาํนวนหลาย ๆ จาํนวน - สดัส่วน -การนาํความรู้เกี่ยวกบัอตัราส่วน สดัส่วนและร้อยละไปใชใ้นการ แกป้ ัญหา ๒๔๑๐สอบกลางภาค ๓๒๐๓ การสร้างทาง เรขาคณิต ค๒.๒ ม.๑/๑ - การสร้างพ้ืนฐานทางเรขาคณิต -การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพ้ืนฐานทางเรขาคณิต -การนาํความรู้เกี่ยวกบัการสร้าง พ้ืนฐานทางเรขาคณิตไปใชใ้นชีวติจริง ๑๒๑๐๔ มิติสมัพนัธ์ค๒.๒ ม.๑/๒ - หนา้ตดัของรูปเรขาคณิตสามมิติ - ภาพที่ไดจ้ากการมองดา้นหนา้ดา้นขา้ง ดา้นบนของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบข้ึนจากลูกบาศก์๗๕๕ สถิติค๓.๑ ม.๑/๑ -การต้งัคาํถามทางสถิติ - การเกบ็รวบรวมขอ้มูล - การนาํเสนอขอ้มูล - การแปลความหมายขอ้มูล - การนาํสถิติไปใชใ้นชีวติจริง ๑๐๕
13ลําดับ ที่ชื่อหน่วย การเรียนรู้มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง ) น้ําหนักคะแนนสอบปลายภาค ๓๓๐รวมเวลาเรียนรายภาค ๖๐คะแนนระหว่างเรียน ๗๐คะแนนวัดผลปลายปี๓๐รวมคะแนน ๑๐๐
14กําหนดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค21102 จํานวน 3 คาบต่อสัปดาห์ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2566 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคาร สัปดาห์ที่คาบที่เรื่อง เนื้อหา/กิจกรรมในชั้นเรียน1 1 ทดสอบก่อนเรียน อตัราส่วน 2 อตัราส่วน อตัราส่วน 3 อตัราส่วนที่เท่ากนัอตัราส่วนที่เท่ากนั 2 4 สดัส่วนและการหาค่าตวัแปร สดัส่วนและการหาคา่ตวัแปร 5 การแกโ้จทยป์ ัญหาโดยใชส้ดัส่วน การแกโ้จทยป์ ัญหาโดยใชส้ดัส่วน6 ร้อยละ ร้อยละ 3 7 โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบัร้อยละ โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบัร้อยละ 8 โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบัร้อยละ โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบัร้อยละ 9 โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบัอตัราส่วน โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบัอตัราส่วน4 10 ทดสอบหลงัเรียน ทดสอบหลงัเรียน11 ความหมายของคู่อนัดบัความหมายของคู่อนัดบั 12 กราฟของคู่อนัดบับนระนาบพิกดัฉาก กราฟของคู่อนัดบับนระนาบพิกดัฉาก5 13 การใชคู้่อนัดบัแสดงความสมัพนัธ์การใชคู้่อนัดบัแสดงความสมัพนัธ์ 14 การอ่านและแปลความหมาย ของกราฟ 1 การอ่านและแปลความหมาย ของกราฟ 1 15 การอ่านและแปลความหมาย ของกราฟ 2 การอ่านและแปลความหมาย ของกราฟ 2 6 16 กราฟของสมการเชิงเสน้ สองตวัแปร 1 กราฟของสมการเชิงเสน้ สองตวัแปร 117 กราฟของสมการเชิงเสน้ สองตวัแปร 2 กราฟของสมการเชิงเสน้ สองตวัแปร 218 การแกส้มการโดยการเขียนกราฟ 1 การแกส้มการโดยการเขียนกราฟ17 19 การแกส้มการโดยการเขียนกราฟ 2 การแกส้มการโดยการเขียนกราฟ220 ทดสอบหลงัเรียน สมการเชิงเส้นสองตวัแปร
1521 การสร้างทางเรขาคณิต จุดเส้นตรง ส่วนของเส้นตรงรังสีและมุมสัปดาห์ที่คาบที่เรื่อง เนื้อหา/กิจกรรมในชั้นเรียน8 22 การบอกความยาวของส่วนของ เส้นตรง1 การบอกความยาวของส่วนของเส้นตรง 123 การบอกความยาวของส่วนของ เส้นตรง 2 การบอกความยาวของส่วนของเส้นตรง 224 การสร้างมุม 1 การสร้างมุม 1 9 25 การสร้างมุม 2 การสร้างมุม 2 26 ทบทวนเน้ือหา อตัราส่วน 27 ทบทวนเน้ือหา สมการเชิงเส้นสองตวัแปร 10 28 สอบกลางภาค อตัราส่วน และ สมการเชิงเส้นสองตวัแปร29 การสร้างมุม 3 การสร้างมุม 3 30 การแบ่งคร่ึงมุมที่กาํหนดให้การแบ่งคร่ึงมุมที่กาํหนดให้ 11 31 มุมฉากและมุมตรง1 มุมฉากและมุมตรง 1 32 มุมฉากและมุมตรง 2 มุมฉากและมุมตรง 2 33 การสร้างรูปเรขาคณิตฯ 1 การสร้างรูปเรขาคณิตฯ 1 12 34 การสร้างรูปเรขาคณิตฯ 2 การสร้างรูปเรขาคณิตฯ 2 35 ทดสอบหลงัเรียน การสร้างทางเรขาคณิต 36 รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 13 37 รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 38 ความสมัพนัธ์ของรูปเรขาคณิตฯ1 ความสมัพนัธ์ของรูปเรขาคณิตฯ139 ความสมัพนัธ์ของรูปเรขาคณิตฯ2 ความสมัพนัธ์ของรูปเรขาคณิตฯ2 14 40 ความสมัพนัธ์ของรูปเรขาคณิตฯ3 ความสมัพนัธ์ของรูปเรขาคณิตฯ3 41 ภาพที่ไดจ้ากการมอง ภาพที่ไดจ้ากการมองดา้นหนา้ดา้นหลงั 42 ภาพที่ไดจ้ากการมอง ภาพที่ไดจ้ากการมองดา้นบน15 43 การวาดหรือการสร้างรูปเรขาคณิต การวาดหรือการสร้างรูปเรขาคณิตที่ประกอบข้ึนจากลูกบาศก์
1644 ทวทวน มิติสมัพนัธ์ของรูปเรขาคณิต45 แบบทดสอบหลงัเรียน มิติสมัพนัธ์ของรูปเรขาคณิต16 46 การเกบ็รวบรวมขอ้มูล การเกบ็รวบรวมขอ้มูล 47 การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง สัปดาห์ที่คาบที่เรื่อง เนื้อหา/กิจกรรมในชั้นเรียน17 49 การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ50 การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิแท่ง การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิแท่ง 51 การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิแท่ง การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิแท่ง 18 52 การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยกราฟเส้น การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยกราฟเส้น53 การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยกราฟเส้น การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยกราฟเส้น54 การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิวงกลม การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิวงกลม19 55 ทาํใบงาน + กิจกรรม สถิติ 56 ทาํใบงาน + กิจกรรม สถิติ 57 ทบทวน การเกบ็ขอ้มูล 20 58 ทบทวน การนาํเสนอขอ้มูล 59 ทดสอบหลงัเรียน สถิติ 60 สอบปลายภาค การสร้างทางเรขาคณิต มิติสมัพนัธ์ของรูปเรขาคณิต และสถิติ
17อัตราส่วนคะแนน คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = ๗๐ : ๓๐ รวม ๑๐๐ คะแนน วัดผลระหว่างเรียน ๗๐ คะแนน เวลาเรียน/จิตพิสยั๑๐ คะแนน กิจกรรมระหวา่งเรียน ๔๐ คะแนน - แบบฝึกทกัษะ ๑๐ % - การร่วมกิจกรรม ๑๐ % - สอบยอ่ย ๒๐ % ทดสอบกลางภาค ๒๐ คะแนน วัดผลปลายภาคเรียน ๓๐ คะแนน รวม ๑๐๐ คะแนน เกณฑ์การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ระดับคะแนน เกรด คะแนน ๘๐-๑๐๐ ๔ คะแนน ๗๕-๗๙ ๓.๕ คะแนน ๗๐-๗๔ ๓ คะแนน ๖๕-๖๙ ๒.๕ คะแนน ๖๐-๖๔ ๒ คะแนน ๕๕-๕๙ ๑.๕ คะแนน ๕๐-๕๔ ๑ คะแนน ๐-๔๙ ๐
18แผนการจัดการเรียนรู้ประจําหน่วยการเรียนรู้ที่๔เรื่อง สถิติ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1หน่วยการเรียนรู้ที่4 เรื่อง สถิติภาคเรียนที่2/2566เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูล เวลา 50 นาทีผู้สอน นายภูชิชย์ด้านซอม โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคารมาตรฐานการเรียนรู้ค 3.1 เขา้ใจกระบวนการทางสถิติและใชค้วามรู้ทางสถิติในการแกป้ ัญหา ตัวชี้วัด ค3.3 ม.1/1เขา้ใจและใชค้วามรู้ทางสถิติในการนาํเสนอขอ้มูลและแปลความหมายขอ้มูลรวมท้งันาํสถิติไปใชใ้นชีวติจริงโดยใชเ้ทคโนโลยทีี่เหมาะสม จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อเรียนจบเรื่องน้ีแลว้นกัเรียนสามารถ 1. ด้านความรู้(K) มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกบัสถิติ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เขียนอธิบายเกี่ยวกบัความหมายและความสาํคญัของสถิติ 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) มีความมุ่งมนั่ในการทาํงาน สาระสําคัญ วิธีการทางสถิติเป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์เทคนิคหน่ึง มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้การแปลความหมายของ ขอ้มูลที่รวบรวมไวม้ีความสะดวกยงิ่ข้ึน ระเบียบวธิีการทางสถิติแบ่งเป็น 4ข้นัคือ 1.การเกบ็รวบรวมขอ้มูล 2.การนาํเสนอขอ้มูล 3.การวเิคราะห์ขอ้มูล 4.การตีความหมายขอ้มูล เราสามารถนาํความรู้ทางสถิติไปใชช้่วยในการตดัสินใจเกี่ยวกบัสิ่งต่าง ๆ เพื่อใหไ้ดค้วามถูกตอ้งและสมบูรณ์มากยงิ่ข้ึน สาระการเรียนรู้ความหมายและความสาํคญัของสถิติ
สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด - การใหเ้หตุผลการสรุปความรู้การปฏิบตัิคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้2. มุ่งมนั่ในการทาํงาน การจัดการเรียนรู้(Active learning แบบ GPAS 5 step) ชั่วโมงที่1 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นกัเรียนร่วมกนัสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบัความหมายและความสาํคญัของสถิติพร้อมตอบคาํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี นกัเรียนคิดวา่ความรู้เรื่อง สถิติมีความสาํคญัต่อการดาํเนินชีวติประจาํวนัหรือไม่อยา่งไรขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 2. นกัเรียนแบ่งเป็น 3กลุ่ม ร่วมกนัศึกษาคน้ควา้เกี่ยวกบัหวัขอ้ต่อไปน้ี 1) ประวตัิความเป็นมาของสถิติ 2) ความหมายของสถิติ 3) ความสาํคญัของสถิติจากน้นัแต่ละกลุ่มเขียนสรุปขอ้มูลที่ศึกษาคน้ควา้ลงในกระดาษที่ไดร้ับแจกและนาํเสนอหนา้ช้นัเรียน 3. นกัเรียนร่วมกนัอภิปรายและสรุปความรู้ที่ไดจ้ากขอ้มูลที่แต่ละกลุ่มนาํเสนอ 4. นกัเรียนร่วมกนัอภิปรายและสรุปเกี่ยวกบั ประวตัิความเป็นมาของสถิติโดยเชื่อมโยงจากการทาํกิจกรรมขา้งตน้ดงัน้ีวธิีการทางสถิติเป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์เทคนิคหน่ึง มีจุดมุ่งหมายเพื่อใหก้ารแปลความหมายของขอ้มูลที่รวบรวมไวม้ีความสะดวกยงิ่ข้ึน ระเบียบวธิีการทางสถิติแบ่งเป็น 4ข้นัคือ1. การเกบ็รวบรวมขอ้มูล 2. การนาํเสนอขอ้มูล 3. การวเิคราะห์ขอ้มูล
4. การตีความหมายขอ้มูล เราสามารถนาํความรู้ทางสถิติไปใชช้่วยในการตดัสินใจเกี่ยวกบัสิ่งต่าง ๆ เพื่อใหไ้ด้ความถูกตอ้งและสมบูรณ์มากยงิ่ข้ึน ชั่วโมงที่2 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นักเรียนร่วมกนัสนทนาทบทวนเกี่ยวกบัความหมายของขอ้มูลจากสถิติประเภทของขอ้มูลจากน้นัร่วมกนัตอบคาํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี ขอ้มูลคืออะไร นกัเรียนมีวธิีเกบ็รวบรวมหรือหาขอ้มูลที่ตอ้งการนาํไปใชด้ว้ยวธิีใดบา้ง นกัเรียนคิดวา่ขอ้มูลมีกี่ประเภท อะไรบา้ง ขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 2. นกัเรียนพิจารณาตวัอย่างขอ้มูลที่เป็นขอ้ความ 4-5ขอ้ความบนกระดาน จากน้นัร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี ขอ้มูลคืออะไร (ตวัอยา่งคาํตอบ ขอ้มูลคือขอ้เทจ็จริงที่อาจเป็นตวัเลขหรืออาจเป็นขอ้ความที่เกี่ยวกบัเรื่องที่เราสนใจ) ขอ้มูลเมื่อแบ่งตามการเกบ็รวบรวมขอ้มูลน้นัมีกี่ประเภท อะไรบา้ง (มี2 ประเภท คือขอ้มูลปฐมภูมิ(Primary Data)และขอ้มูลทุติยภูมิ(Secondary Data)) ขอ้มูลปฐมภูมิและขอ้มูลทุติยภูมิแตกต่างกนัอยา่งไร (ขอ้มูลปฐมภูมิคือ ขอ้มูลที่ไดจ้ากการเก็บรวบรวมขอ้มูลโดยตรง ส่วนขอ้มูลทุติยภูมิคือ ขอ้มูลที่มีการเก็บรวบรวมไวแ้ลว้) นกัเรียนคิดวา่ขอ้มูลมีประโยชนห์รือความสาํคญัอยา่งไร (สามารถนาํมาใชใ้นการวางแผนจดัการและการตดัสินใจ) 3. นกัเรียนพิจารณาแถบขอ้มูลที่ไดม้ีการรวบรวมขอ้มูลโดยเชื่อมโยงความรู้อาเซียนจากน้นัร่วมกนัตอบคาํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี ใน ค.ศ. 2007ไดม้ีการสาํรวจจาํนวนประชากรของประเทศในภูมิภาคอาเซียน พบวา่ ประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีจาํนวนประชากรหนาแน่นมากที่สุดในภูมิภาคน้ีและเป็นเกาะที่มีจาํนวนประชากรหนาแน่นมากที่สุดในโลกอีกดว้ย นกัเรียนคิดวา่ขอ้มูลขา้งตน้เป็นขอ้มูลประเภทใด
จากน้นันกัเรียนร่วมกนัยกตวัอยา่งขอ้มูลต่าง ๆ พร้อมท้งัอภิปรายร่วมกนัวา่เป็นขอ้มูลประเภทใด4. นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี ขอ้มูลเชิงปริมาณและขอ้มูลเชิงคุณภาพเหมือนหรือแตกต่างกนัอยา่งไร (เป็นขอ้มูลทุติยภูมิเหมือนกนัขอ้มูลเชิงปริมาณเป็นขอ้มูลที่แสดงขนาดหรือปริมาณซ่ึงวดัออกมาเป็นค่าของตวัเลขที่สามารถใชเ้ปรียบเทียบขนาดไดโ้ดยตรง ส่วนขอ้มูลเชิงคุณภาพเป็นขอ้มูลที่ไม่สามารถวดัออกมาเป็นค่าตวัเลขไดโ้ดยตรงแต่วดัออกมาเพื่อบ่งบอกคุณลกัษณะบางอยา่ง) 5. นกัเรียนพิจารณาแถบหัวขอ้ขอ้มูลที่กาํหนดบนกระดาน แลว้ร่วมกนัแสดงความคิดเห็นโดยใช้คาํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี การเกบ็รวบรวมขอ้มูลทาํไดโ้ดยวธิีการใดบา้ง (ตวัอยา่งคาํตอบ การสมัภาษณ์การใชแ้บบสอบถาม การสงัเกต การทดลอง) นกัเรียนจะเลือกใชว้ธิีการใดในการเกบ็รวบรวมขอ้มูลเพราะเหตุใด นกัเรียนจะนาํความรู้เรื่องการเกบ็รวบรวมขอ้มูลไปใชใ้นชีวติประจาํวนัอยา่งไร ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 6. นักเรียนแบ่งกลุ่มแบบคละความสามารถ กลุ่มละ 3-4คน แลว้ส่งผูแ้ทนกลุ่มออกมาจบัสลากเลือกหวัขอ้ที่จะศึกษา คน้ควา้แลว้นาํเสนอขอ้มูลกลุ่มละ 1 หวัขอ้จากน้นัร่วมกนัเลือกวิธีการเก็บรวบรวมขอ้มูลและวิธีการนาํเสนอขอ้มูลที่เหมาะสม โดยเขียนอธิบายเหตุผลการเลือกลงในกระดาษเปล่า จากน้นัสลบัผลงานกบัเพื่อนเพื่อร่วมกนัตรวจสอบและแกไ้ขใหถู้กตอ้ง 7. นกัเรียนร่วมกนัสรุปสิ่งที่เขา้ใจเป็นความรู้ร่วมกนัดงัน้ีขอ้มูลจาํแนกตามวิธีเก็บรวบรวม จาํแนกได้2 ประเภท คือ ขอ้มูลปฐมภูมิและขอ้มูลทุติยภูมิซ่ึงวิธีการเก็บรวบรวมขอ้มูลสามารถทาํได้หลายวิธีเช่น การสัมภาษณ์การใช้แบบทดสอบการสังเกตการทดลองและจดัทาํขอ้มูลที่ไดม้าดว้ยวธิีการต่าง ๆ เพื่อนาํเสนอขอ้มูล สื่อการเรียนรู้ 1. หนงัสือเรียนรายวชิาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ช้นัมธัยมศึกษาปีที่1เล่ม 2ของสถาบนัพฒันาคุณภาพวชิาการ(พว.) 2.กลอ่งขอ้ความ แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้งสมุดโรงเรียนประจกัษศ์ิลปาคาร 2. www.google.co.th คาํคน้หา : ความหมายและความสาํคญัของสถิติ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สิ่งที่ต้องประเมิน เครื่องมือ วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ สถิติ - การสนทนาโตต้อบ ในช้นัเรียน การตอบคาํถาม ถูกตอ้งร้อยละ 70ข้ึนไป ด้านทักษะ/กระบวนการ เขียนอธิบายเกี่ยวกบัความหมายและความสาํคญัของสถิติ - ทาํใบกิจกรรม เรื่อง ความหมายและ ความสาํคญัของสถิติการตรวจใบ กิจกรรม ถูกตอ้งร้อยละ 70ข้ึนไป ด้านคุณลักษณะที่พึง ประสงค์มีความมุ่งมนั่ในการทาํงาน แบบสงัเกตพฤติกรรม รายบุคคล สงัเกตพฤติกรรม รายบุคคล ผา่นเกณฑค์ุณภาพในระดบัดีข้ึนไป การวัดและประเมินผล รายการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก ดีพอใช้มีความมุ่งมนั่ในการ ทาํงาน (A) นกัเรียนต้งัใจและ รับผดิชอบในการทาํแบบฝึกหดัใหส้าํเร็จ มีการปรับปรุงและ พฒันางานใหด้ีข้ึนใน เวลาที่กาํหนด นกัเรียนต้งัใจและ รับผดิชอบในการทาํแบบฝึกหดัใหส้าํเร็จ นกัเรียนต้งัใจและ รับผดิชอบในการทาํแบบฝึกหดัแต่ยงัทาํไม่สาํเร็จ เกณฑก์ารประเมนิคะแนน ระดับคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี(ผา่นเกณฑ)์ 1 พอใช้
บันทึกหลังการสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 1. ผลการจัดการเรียนการสอน นักเรียนช้ันม. 1/2 และ 1/9 สามารถเขียนอธิบายเกี่ยวกบัความหมายและความสําคญัของสถิติผา่นเกณฑก์ารประเมินคิดเป็นร้อยละ80 2. ปัญหา/อุปสรรค -3. แนวทางแก้ไขปัญหา - นายภูชิชย์ดา้นซอม นกัศึกษาปฏิบตัิการสอนในสถานศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1หน่วยการเรียนรู้ที่4 เรื่อง สถิติภาคเรียนที่2/2566เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูล เวลา 50 นาทีผู้สอน นายภูชิชย์ด้านซอม โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคารมาตรฐานการเรียนรู้ค 3.1 เขา้ใจกระบวนการทางสถิติและใชค้วามรู้ทางสถิติในการแกป้ ัญหา ตัวชี้วัด ค3.3 ม.1/1เขา้ใจและใชค้วามรู้ทางสถิติในการนาํเสนอขอ้มูลและแปลความหมายขอ้มูลรวมท้งันาํสถิติไปใชใ้นชีวติจริงโดยใชเ้ทคโนโลยทีี่เหมาะสม จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อเรียนจบเรื่องน้ีแลว้นกัเรียนสามารถ 1. ด้านความรู้(K) อธิบายเกี่ยวกบัการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เขียนแสดงและนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) มีความมุ่งมนั่ในการทาํงาน สาระสําคัญ การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง เป็นการนาํเสนอขอ้มูลที่มีรายการหรือจาํนวนเดียวกนัซ้าํกนัเป็นจาํนวนมากนาํมาจดัเป็นหมวดหมู่ใหอ้ยใู่นรูปของตาราง สาระการเรียนรู้การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด - การใหเ้หตุผลการสรุปความรู้การปฏิบตัิคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้2. มุ่งมนั่ในการทาํงาน
การจัดการเรียนรู้(Active learning แบบ GPAS 5 step) ชั่วโมงที่1 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นกัเรียนร่วมกนัสนทนาทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกบัการนาํเสนอขอ้มูลโดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิด ดงัน้ี ขอ้มูลหมายถึงอะไร(ขอ้เทจ็จริงที่อาจจะเป็นตวัเลขหรือเป็นขอ้ความ) การนาํเสนอขอ้มูลคืออะไร(การจดัระเบียบขอ้มูลดว้ยวธิีการต่าง ๆ) นกัเรียนคิดวา่การนาํเสนอขอ้มูลมีประโยชนอ์ยา่งไร(ทราบรายละเอียดขอ้มูลไดช้ดัเจนเขา้ใจในขอ้มูลและนาํไปใชไ้ดร้วดเร็ว) นกัเรียนมีวธิีการนาํเสนอขอ้มูลที่มีรายการหรือจาํนวนเดียวกนัซ้าํกนัเป็นจาํนวนมากอยา่งไรขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน พิจารณาข้อมูลที่มีรายการหรือจํานวนเดียวกันซ้ํากันเป็นจาํนวนมากบนกระดาน ผูแ้ทนกลุ่มคร้ังละ 1คน ออกมาจดัหมวดหมู่ขอ้มูล โดยเขียนรอยขีดลงในตาราง ในการเกบ็รวบรวมขอ้มูลจาํนวนสมาชิกในครอบครัวของนกัเรียนช้นัมธัยมศึกษาปีที่1จาํนวน30คน จากการสอบถามไดข้อ้มูลดงัน้ี 3 4 5 4 7 4 3 5 8 7 4 4 6 3 7 8 5 5 7 3 5 4 3 7 6 5 8 7 3 6 จาํนวนสมาชิกในครอบครัวของนกัเรียนช้นัมธัยมศึกษาปีที่1จาํนวน 30คน จํานวนสมาชิกในครอบครัว (คน) รอยขีด 3 | | | | | 4 | | | | | 5 | | | | | 6 | | | 7 | | | | | 8 | | |
3. นกัเรียนพิจารณาขอ้มูลในตารางจากกิจกรรมขอ้ 3.แลว้ผแู้ทนกลุ่มคร้ังละ1คน ออกมาเขียนจาํนวนรอยขีดลงในตารางนาํเสนอขอ้มูล ดงัน้ีจาํนวนสมาชิกในครอบครัวของนกัเรียนช้นัมธัยมศึกษาปีที่1 จํานวนสมาชิกในครอบครัว (คน) จํานวนนักเรียน (คน) 3 6 4 6 5 6 6 3 7 6 8 3 รวม 30 4. นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี ตารางน้ีเรียกวา่อะไร(ตารางนาํเสนอขอ้มูล) ตารางนาํเสนอขอ้มูลประกอบดว้ยอะไรบา้ง (1. ชื่อตารางหรือหวัขอ้ตาราง 2.รายการแสดงรายละเอียดของขอ้มูล 3. ที่มาของขอ้มูล) ขอ้ดีของการนาํเสนอขอ้มูลในรูปตารางคืออะไรบา้ง (เป็นการจดัระบบขอ้มูลที่รวบรวมมาไดใ้หเ้ป็นหมวดหมู่มีความละเอียดเป็นระบบสามารถแสดงขอ้มูลไดเ้ป็นจาํนวนมากและสามารถแบ่งขอ้มูลไดห้ลายประเภท) 5. นกัเรียนร่วมกนัสรุปสิ่งที่เขา้ใจเป็นความรู้ร่วมกนัดงัน้ีการนําเสนอข้อมูลด้วยตาราง เป็นการนําเสนอข้อมูลที่มีรายการหรือจํานวนเดียวกันซ้ํากันเป็นจาํนวนมาก นาํมาจดัเป็นหมวดหมู่ใหอ้ยใู่นรูปของตาราง ชั่วโมงที่2 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นกัเรียนร่วมกนัทบทวนเกี่ยวกบัการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตารางโดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี นกัเรียนมีวธิีหรือข้นัตอนในการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตารางอยา่งไร
ขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 2. นกัเรียนพิจารณาขอ้มูลที่มีรายการหรือจาํนวนเดียวกนัซ้าํกนัเป็นจาํนวนมากบนกระดานผแู้ทนนกัเรียนคร้ังละ1คน ออกมาจดัหมวดหมู่ขอ้มูลโดยเขียนเป็นรอยขีดลงในตารางดงัน้ี 12 14 15 16 13 15 14 15 12 13 16 15 14 15 11 13 14 14 12 13 จาํนวนของอายเุดก็ที่เขา้อบรมทกัษะกีฬาฟุตบอลจาํนวน 20คน จํานวนของอายุเด็ก (ปี) รอยขีด 11 | 12 | | | 13 | | | | 14 | | | | 15 | | | | 16 | | 3. นกัเรียนพิจารณาขอ้มูลในตารางจากกิจกรรมขอ้ 3.แลว้ผแู้ทนนกัเรียนคร้ังละ1คนออกมาเขียนจาํนวนรอยขีดลงในตารางนาํเสนอขอ้มูล ดงัน้ีจาํนวนของอายเุดก็ที่เขา้อบรมทกัษะกีฬาฟุตบอลจาํนวน 20คน จํานวนของอายุเด็ก (ปี) จํานวนเด็ก (คน) 11 1 12 3 13 4 14 5 15 5 16 2
รวม 20 4. นกัเรียนพิจารณาตวัอยา่งการนาํเสนอขอ้มูลจากน้นัร่วมกนัตอบคาํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ีตาราง แสดงจาํนวนนกัเรียนที่เขา้สอบแข่งขนัวชิาคณิตศาสตร์ในระดบัต่าง ๆ ปีการศึกษา 2547 จาํแนกตามเขต เขต จํานวนนักเรียน (คน) ระดับ ประถมศึกษา ระดบัมัธยมศกึษา ตอนต้น ระดับมธัยมศึกษา ตอนปลาย รวมกรุงเทพฯ ภาคเหนือ ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ 1,343 1,509 774 1,407 727 1,124 717 776 739 516 493 340 324 398 219 2,9602,5661,8742,5441,462รวม 5,760 3,872 1,774 11,406ที่มา : สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมัภ์ จากตวัอยา่งการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตารางมีส่วนประกอบอะไรบา้ง (ชื่อตาราง ตารางขอ้มูลและที่มา) ส่วนประกอบแต่ละส่วนมีความสาํคญัอยา่งไรบา้ง (ชื่อตารางทาํให้ผูอ้่านทราบว่าตารางน้นัแสดงรายละเอียดเกี่ยวกบัสิ่งใด ตารางขอ้มูลแสดงรายละเอียดของขอ้มูลและที่มาเป็นการระบุหรือทาํใหท้ราบวา่ขอ้มูลน้นั ไดม้าจากที่ใด) ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 5. นกัเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ3-4คน แต่ละกลุ่มรับแถบขอ้มูลที่มีรายการหรือจาํนวนเดียวกนัซ้าํกนัเป็นจาํนวนมากกลุ่มละ 1ขอ้มูล จากน้ันร่วมกนันาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง และต้งัคาํถามที่สอดคลอ้งกบัขอ้มูลในตารางกลุ่มละ5ขอ้ลงในกระดาษเปล่าแลว้ร่วมกนัตรวจสอบความถูกตอ้ง 6. นกัเรียนร่วมกนัสรุปสิ่งที่เขา้ใจเป็นความรู้ร่วมกนัดงัน้ีการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง เป็นการนาํเสนอขอ้มูลที่มีรายการหรือจาํนวนเดียวกนัซ้าํกนัเป็นจาํนวนมาก นาํมาจดัเป็นหมวดหมู่ใหอ้ยใู่นรูปของตาราง
สื่อการเรียนรู้ 1. หนงัสือเรียนรายวชิาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ช้นัมธัยมศึกษาปีที่1เล่ม 2ของสถาบนัพฒันาคุณภาพวชิาการ(พว.) 2. ชุดขอ้มูล 3. ตารางนาํเสนอขอ้มูล แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้งสมุดโรงเรียนประจกัษศ์ิลปาคาร 2. www.google.co.th คาํคน้หา : การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สิ่งที่ต้องประเมิน เครื่องมือ วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้อธิบายเกี่ยวกับการนําเสนอ ขอ้มูลดว้ยตาราง - การสนทนาโตต้อบ ในช้นัเรียน การตอบคาํถาม ถูกตอ้งร้อยละ 70ข้ึนไป ด้านทักษะ/กระบวนการ เขียนแสดงและนาํเสนอ ขอ้มูลดว้ยตาราง - ทาํใบกิจกรรม เรื่อง ความหมายและ ความสาํคญัของสถิติการตรวจใบ กิจกรรม ถูกตอ้งร้อยละ 70ข้ึนไป ด้านคุณลักษณะที่พึง ประสงค์มีความมุ่งมนั่ในการทาํงาน แบบสงัเกตพฤติกรรม รายบุคคล สงัเกตพฤติกรรม รายบุคคล ผา่นเกณฑค์ุณภาพในระดบัดีข้ึนไป การวัดและประเมินผล รายการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก ดีพอใช้มีความมุ่งมนั่ในการ ทาํงาน (A) นกัเรียนต้งัใจและ รับผดิชอบในการทาํแบบฝึกหดัใหส้าํเร็จ มีการปรับปรุงและ พฒันางานใหด้ีข้ึนใน เวลาที่กาํหนด นกัเรียนต้งัใจและ รับผดิชอบในการทาํแบบฝึกหดัใหส้าํเร็จ นกัเรียนต้งัใจและ รับผดิชอบในการทาํแบบฝึกหดัแต่ยงัทาํไม่สาํเร็จ เกณฑก์ารประเมนิ
คะแนน ระดับคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี(ผา่นเกณฑ)์ 1 พอใช้บันทึกหลังการสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 1. ผลการจัดการเรียนการสอน นักเรียนช้นัม. 1/2 และ 1/9 สามารถอธิบายและเขียนแสดงและนาํเสนอขอ้มูลดว้ยตาราง ผ่านเกณฑก์ารประเมินคิดเป็นร้อยละ80 2. ปัญหา/อุปสรรค -3. แนวทางแก้ไขปัญหา - นายภูชิชย์ดา้นซอม นกัศึกษาปฏิบตัิการสอนในสถานศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่3 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1หน่วยการเรียนรู้ที่4 เรื่อง สถิติภาคเรียนที่2/2566เรื่อง การนําเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปภาพ เวลา 50 นาทีผู้สอน นายภูชิชย์ด้านซอม โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคารมาตรฐานการเรียนรู้ค 3.1 เขา้ใจกระบวนการทางสถิติและใชค้วามรู้ทางสถิติในการแกป้ ัญหา ตัวชี้วัด ค3.3 ม.1/1เขา้ใจและใชค้วามรู้ทางสถิติในการนาํเสนอขอ้มูลและแปลความหมายขอ้มูลรวมท้งันาํสถิติไปใชใ้นชีวติจริงโดยใชเ้ทคโนโลยทีี่เหมาะสม จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อเรียนจบเรื่องน้ีแลว้นกัเรียนสามารถ 1. ด้านความรู้(K) อธิบายหลกัการและนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เขียนและแปลความหมายการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) มีความมุ่งมนั่ในการทาํงาน สาระสําคัญ แผนภูมิรูปภาพเป็นการนาํเสนอขอ้มูลที่ใชรู้ปภาพแทนปริมาณในขอ้มูลที่ตอ้งการนาํเสนอเพื่อช่วยให้เห็นภาพรวมของขอ้มูลไดร้วดเร็วและช่วยดึงดูดความสนใจใหม้ากข้ึน สาระการเรียนรู้การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด - การใหเ้หตุผลการสรุปความรู้การปฏิบตัิคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้2. มุ่งมนั่ในการทาํงาน
การจัดการเรียนรู้(Active learning แบบ GPAS 5 step) ชั่วโมงที่1 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นกัเรียนร่วมกนัสนทนาเกี่ยวกบัการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ ซ่ึงเป็นความรู้เดิมที่ได้เรียนรู้มาจากระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย พร้อมท้งัตอบคาํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพมีส่วนประกอบที่แตกต่างจากตารางอยา่งไรบา้ง (มีการกาํหนดรูปภาพแทนปริมาณของขอ้มูลและใชภ้าพสื่อความหมาย) นกัเรียนคิดวา่การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพมีขอ้ดีขอ้เสียอยา่งไรจากที่ไดเ้รียนรู้มา(ขอ้ดีคือ ช่วยให้เห็นภาพรวมของขอ้มูลไดร้วดเร็ว สวยงาม ดึงดูดความสนใจไดด้ีขอ้เสียคืออาจทาํให้การอ่านขอ้มูลคลาดเคลื่อนได้เนื่องจากขาดความละเอียดความสมบูรณ์ของรูปภาพในการนาํเสนอขอ้มูล) 2. นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี อาชีพใดบา้งที่ตอ้งใชค้วามรู้เรื่องการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ ขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 3. นกัเรียนร่วมกนัพิจารณาแผนภูมิรูปภาพบนกระดาน จาํนวนหนงัสือในหอ้งสมุดของโรงเรียนแห่งหน่ึง หนงัสือภาษาไทย หนงัสือภาษาองักฤษ หนงัสือคณิตศาสตร์หนงัสือวทิยาศาสตร์หนงัสือนวนิยาย
รูป แทน 100 เล่ม จากน้ันผูแ้ทนนักเรียนคร้ังละ 1คน ออกมาเขียนองคป์ระกอบของแผนภูมิรูปภาพบนกระดานนกัเรียนและครูร่วมกนัตรวจสอบความถูกตอ้ง 4. นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี การนาํเสนอขอ้มูลน้ีเป็นการนาํเสนอขอ้มูลแบบใด(การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ) แผนภูมิรูปภาพใชส้ิ่งใดแสดงจาํนวน (รูปภาพ) รูปภาพใชแ้ทนสิ่งเดียวกนัตอ้งมีลกัษณะอยา่งไร(เป็นรูปที่เหมือนกนัและมีขนาดเท่ากนั ) การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพมีส่วนประกอบใดบา้ง (ชื่อแผนภูมิแผนภูมิสัญลกัษณ์กาํหนดแทนค่าของขอ้มูล) การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพมีขอ้ดีอยา่งไร(เห็นภาพรวมของขอ้มูลไดช้ดัเจนรวดเร็วและดึงดูดความสนใจไดด้ี) 5. นกัเรียนแบ่งกลุ่มแบบคละความสามารถกลุ่มละ 3-4คน รับแผนภูมิรูปภาพกลุ่มละ 1แผนภูมิจากน้นัร่วมกนัศึกษาขอ้มูลจากแผนภูมิรูปภาพ แลว้ผแู้ทนนกัเรียนคร้ังละ1กลุ่ม นาํแผนภูมิรูปภาพของกลุ่มตนเองมาติดบนกระดาน พร้อมท้งัอธิบายใหเ้พื่อน ๆ กลุ่มอื่นฟังเกี่ยวกบัขอ้มูลในแผนภูมิรูปภาพ6. นกัเรียนร่วมกนัสรุปสิ่งที่เขา้ใจเป็นความรู้ร่วมกนัดงัน้ีแผนภูมิรูปภาพเป็นการนาํเสนอขอ้มูลที่ใชรู้ปภาพแทนปริมาณในขอ้มูลที่ตอ้งการนาํเสนอเพื่อช่วยใหเ้ห็นภาพรวมของขอ้มูลไดร้วดเร็วและช่วยดึงดูดความสนใจใหม้ากข้ึน ชั่วโมงที่2 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นกัเรียนทบทวน เรื่อง การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ จากแผนภูมิรูปภาพบนกระดานแลว้ร่วมกนัตอบคาํถามกระตุน้ความคิด 2. นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี นกัเรียนเคยพบเห็นการนาํเสนอขอ้มูลโดยใชแ้ผนภูมิรูปภาพในสถานที่ใดบา้งและเป็นขอ้มูลเกี่ยวกบัอะไร
ขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 3. นกัเรียนร่วมกนัพิจารณาแผนภูมิรูปภาพบนกระดาน แลว้ร่วมกนัตอบคาํถามกระตุน้ความคิดจาํนวนหนงัสือที่นกัเรียนยมืจากหอ้งสมุดของโรงเรียนแห่งหน่ึงต้งัแต่วนัจนัทร์ถึงวนัศุกร์วนัจนัทร์วนัองัคาร วนัพธุวนัพฤหสับดีวนัศุกร์แทนหนงัสือ10 เล่ม จากแผนภูมิรูปภาพตอบคาํถามต่อไปน้ี 1. วนัใดจาํนวนหนงัสือที่นกัเรียนยมืจากหอ้งสมุดมากที่สุด(วนัพฤหสับดี) 2. วนัใดจาํนวนหนงัสือที่นกัเรียนยมืจากหอ้งสมุดนอ้ยที่สุด(วนัจนัทร์) 3. วนัศุกร์มีนกัเรียนยมืหนงัสือนอ้ยกวา่วนัพธุกี่เล่ม (10 เล่ม) 4. วนัองัคารมีนกัเรียนยมืหนงัสือมากกวา่วนัจนัทร์กี่เท่า (2 เท่า) 5. จาํนวนหนงัสือที่นกัเรียนยมืจากหอ้งสมุดมีท้งัหมดกี่เล่ม (250 เล่ม) 4. นกัเรียนพิจารณาแถบขอ้มูลบนกระดาน จากน้นัร่วมกนัอภิปรายและสรุปเกี่ยวกบัข้นัตอนการเขียนแผนภูมิรูปภาพ แลว้ร่วมกนันาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ 5. นักเรียนแบ่งกลุ่มแบบคละความสามารถ กลุ่มละ 4-5คน จากน้ันให้แต่ละกลุ่มเก็บรวบรวมขอ้มูลใด ๆ โดยใชข้อ้มูลที่อยใู่นโรงเรียนกลุ่มละ 1-2อยา่งแลว้นาํเสนอขอ้มูลน้นั โดยแผนภูมิรูปภาพหนา้ช้นัเรียน โดยอาจใชก้ระดาษชาร์ตในการนาํเสนอ พร้อมท้งัสร้างคาํถามจากขอ้มูลที่นาํเสนอ 5-6ขอ้เพื่อเชื่อมโยงสู่การอ่านและแปลความหมายของขอ้มูลที่นาํเสนอจนครบทุกกลุ่ม นกัเรียนกลุ่มอื่นร่วมกนัตอบคาํถามพร้อมอธิบายตรวจสอบความถูกตอ้งเหมาะสมของแต่ละกลุ่มที่นาํเสนอขอ้มูลเพื่อความเขา้ใจยงิ่ข้ึน
ชั่วโมงที่3 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นกัเรียนทบทวน เรื่อง การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ จากแผนภูมิรูปภาพบนกระดานแลว้ร่วมกนัตอบคาํถามกระตุน้ความคิด 2. นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี นกัเรียนมีวิธีการอยา่งไรที่จะนาํเสนอขอ้มูลเพื่อให้เห็นภาพรวมอยา่งรวดเร็วและดึงดูดความสนใจ ขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 3. นกัเรียนร่วมกนัพิจารณาแถบขอ้มูลบนกระดาน ดงัน้ีจากการสาํรวจหนงัสือในหอ้งสมุดของโรงเรียนแห่งหน่ึง มีหนงัสือต่าง ๆ ดงัน้ีหนงัสือภาษาไทย 800 เล่ม หนงัสือภาษาองักฤษ 250 เล่ม หนงัสือคณิตศาสตร์ 550 เล่ม หนงัสือวทิยาศาสตร์ 500 เล่ม หนงัสือนวนิยาย 400 เล่ม จากน้นัร่วมกนัอภิปรายและสรุปเกี่ยวกบัข้นัตอนการเขียนแผนภูมิรูปภาพ แลว้ร่วมกนันาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ ดงัน้ีจาํนวนหนงัสือในหอ้งสมุดของโรงเรียนแห่งหน่ึง
รูป แทน 100 เล่ม 5. นกัเรียนแบ่งกลุ่มแบบคละความสามารถกลุ่มละ 3-4คน รับแถบขอ้มูลกลุ่มละ 1ขอ้มูลจากน้นัร่วมกนันาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ และต้งัคาํถามที่สอดคลอ้งกบัขอ้มูลในตารางกลุ่มละ 5ขอ้แลว้ผูแ้ทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาํเสนอหน้าช้นัเรียน พร้อมถามคาํถามกระตุน้ความคิด นักเรียนร่วมกนัตรวจสอบความถูกตอ้ง 6. นกัเรียนร่วมกนัสรุปลกัษณะแผนภูมิรูปภาพและองคป์ระกอบว่า แผนภูมิรูปภาพใชภ้าพขนาดเท่ากนัแสดงจาํนวนสิ่งของ ซ่ึงมีขอ้กาํหนดวา่1 ภาพ แทนจาํนวนสิ่งของเท่าไรก็ไดต้ามความเหมาะสมและองคป์ระกอบของแผนภูมิรูปภาพประกอบดว้ยชื่อแผนภูมิรูปภาพแทนขอ้มูลและขอ้กาํหนดของรูปภาพแสดงขอ้มูลขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 7. นกัเรียนทาํใบงาน เรื่องการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ จากน้นัสลบัผลงานกบัเพื่อนเพื่อร่วมกนัตรวจสอบและแกไ้ขใหถู้กตอ้ง 8. นกัเรียนร่วมกนัสรุปสิ่งที่เขา้ใจเป็นความรู้ร่วมกนัดงัน้ีแผนภูมิรูปภาพเป็นการนาํเสนอขอ้มูลที่ใชรู้ปภาพแทนปริมาณในขอ้มูลที่ตอ้งการนาํเสนอเพื่อช่วยใหเ้ห็นภาพรวมของขอ้มูลไดร้วดเร็วและช่วยดึงดูดความสนใจใหม้ากข้ึน สื่อการเรียนรู้ 1. หนงัสือเรียนรายวชิาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ช้นัมธัยมศึกษาปีที่1เล่ม 2ของสถาบนัพฒันาคุณภาพวชิาการ(พว.) 2.แผนภูมิรูปภาพ 3. ตวัอยา่งโจทย์แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้งสมุดโรงเรียนประจกัษศ์ิลปาคาร 2. www.google.co.th คาํคน้หา : การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สิ่งที่ต้องประเมิน เครื่องมือ วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้อธิบายหลกัการและนาํเสนอ ขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ - การสนทนาโตต้อบ ในช้นัเรียน การตอบคาํถาม ถูกตอ้งร้อยละ 70ข้ึนไป ด้านทักษะ/กระบวนการ เขียนและแปลความหมายการ นาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ - ทาํใบกิจกรรม เรื่อง การนาํเสนอขอ้มูล ดว้ยแผนภูมิรูปภาพ การตรวจใบ กิจกรรม ถูกตอ้งร้อยละ 70ข้ึนไป ด้านคุณลักษณะที่พึง ประสงค์มีความมุ่งมนั่ในการทาํงาน แบบสงัเกตพฤติกรรม รายบุคคล สงัเกตพฤติกรรม รายบุคคล ผา่นเกณฑค์ุณภาพในระดบัดีข้ึนไป การวัดและประเมินผล รายการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก ดีพอใช้มีความมุ่งมนั่ในการ ทาํงาน (A) นกัเรียนต้งัใจและ รับผดิชอบในการทาํแบบฝึกหดัใหส้าํเร็จ มีการปรับปรุงและ พฒันางานใหด้ีข้ึนใน เวลาที่กาํหนด นกัเรียนต้งัใจและ รับผดิชอบในการทาํแบบฝึกหดัใหส้าํเร็จ นกัเรียนต้งัใจและ รับผดิชอบในการทาํแบบฝึกหดัแต่ยงัทาํไม่สาํเร็จ เกณฑก์ารประเมนิคะแนน ระดับคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี(ผา่นเกณฑ)์ 1 พอใช้
บันทึกหลังการสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 1. ผลการจัดการเรียนการสอน นกัเรียนช้นัม. 1/2 และ 1/9สามารถอธิบายและเขียนและแปลความหมายการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิรูปภาพ ผา่นเกณฑก์ารประเมินคิดเป็นร้อยละ85 2. ปัญหา/อุปสรรค -3. แนวทางแก้ไขปัญหา - นายภูชิชย์ดา้นซอม นกัศึกษาปฏิบตัิการสอนในสถานศึกษา
ใบงาน เรื่อง การนําเสนอข ้ อมูลด ้ วยแผนภูมิรูปภาพ ชื่อ_____________________________เลขที่______ช้นั__________ 1. ตารางแสดงจํานวนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่2 ที่ชอบเล่นกฬีาประเภทต่าง ๆ (5คะแนน) ประเภทกฬีา จํานวนนักเรียน (คน) ฟุตบอล บาสเกตบอล วอลเลยบ์อล เทเบิลเทนนิส 65 45 40 30 เมื่อกาํหนดให้แทนนกัเรียน 10คน นาํเสนอขอ้มูลขา้งตน้ดว้ยแผนภูมิรูปภาพ(ตวัอยา่งคาํตอบ) จาํนวนนกัเรียนช้นัมธัยมศึกษาปีที่2 ที่ชอบเล่นกีฬาประเภทต่าง ๆ ฟุตบอล บาสเกตบอล วอลเลยบ์อล เทเบิลเทนนิส รูป แทน 10 คน ได_้_________คะแนนคะแนนเตม็10 คะแนน
2. ตารางแสดงจํานวนรถยนต ์ ยหี่ ้ อหนึ่งที่จําหน่ายต้ังแต่พ.ศ. 2556ถงึพ.ศ.2560 มีดงันี้(5คะแนน) พ.ศ. จํานวน (คนั ) 2556 2557 2558 2559 2560 4,000 2,000 3,000 4,500 3,000 นาํเสนอขอ้มูลขา้งตน้ดว้ยแผนภูมิรูปภาพ เมื่อกาํหนดให้แทนรถยนต์1,000คนั (ตวัอยา่งคาํตอบ) จาํนวนรถยนตย์หี่อ้หน่ึงที่จาํหน่ายต้งัแต่พ.ศ.2556ถึง พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 รูป แทน 1,000 คนั
แผนการจัดการเรียนรู้ที่4 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1หน่วยการเรียนรู้ที่4 เรื่อง สถิติภาคเรียนที่2/2566เรื่อง การนําเสนอมข้อมูลด้วยแผนภูมิแท่ง เวลา 50 นาทีผู้สอน นายภูชิชย์ด้านซอม โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคารมาตรฐานการเรียนรู้ค 3.1 เขา้ใจกระบวนการทางสถิติและใชค้วามรู้ทางสถิติในการแกป้ ัญหา ตัวชี้วัด ค3.3 ม.1/1เขา้ใจและใชค้วามรู้ทางสถิติในการนาํเสนอขอ้มูลและแปลความหมายขอ้มูลรวมท้งันาํสถิติไปใชใ้นชีวติจริงโดยใชเ้ทคโนโลยทีี่เหมาะสม จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อเรียนจบเรื่องน้ีแลว้นกัเรียนสามารถ 1. ด้านความรู้(K) อธิบายข้นัตอนการเขียนแผนภูมิแท่ง 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เขียนแผนภูมิแท่งแสดงขอ้มูล 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) มีความมุ่งมนั่ในการทาํงาน สาระสําคัญ การเขียนแผนภูมิแท่ง เขียนโดยใช้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนขอ้มูล รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละรูปตอ้งเริ่มตน้จากระดบัเดียวกนัมีความกวา้งเท่ากนัและมีระยะห่างระหวา่งรูปเท่ากนัเราสามารถนาํความรู้เรื่องน้ีไปใชใ้นการจาํแนกขอ้มูลในชีวติประจาํวนัใหเ้ป็นระบบ และใหง้่ายต่อการศึกษาขอ้มูล สาระการเรียนรู้การนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิแท่ง สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด - การใหเ้หตุผลการสรุปความรู้การปฏิบตัิคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้2. มุ่งมนั่ในการทาํงาน
การจัดการเรียนรู้(Active learning แบบ GPAS 5 step) ชั่วโมงที่1 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นกัเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกบัการนาํเสนอขอ้มูลโดยพิจารณาแผนภูมิรูปภาพบนกระดานแลว้ร่วมกนับอกขอ้มูลจากแผนภูมิรูปภาพ จากน้นัร่วมกนัแสดงความคิดเห็น ดงัน้ี นอกจากการนาํเสนอขอ้มูลโดยใชต้ารางแผนภูมิรูปภาพแลว้มีวิธีการนาํเสนอขอ้มูลโดยวิธีอื่นอีกหรือไม่ขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 2. นกัเรียนพิจารณาแถบขอ้มูลและแผนภูมิแท่งที่เวน้ช่องวา่งใหน้กัเรียนเติม จากน้นัผแู้ทนนกัเรียนคร้ังละ1คน ออกมาเติมใหส้มบูรณ์ดงัตวัอยา่ง ไม้ดอกที่ป้ามาลีปลูกไว้ขาย ดอกกหุลาบ 100 ตน้ดอกมะลิ 120 ตน้ดอกกลว้ยไม้ 160 ตน้ดอกเขม็ 80 ตน้ (ไม้ดอกที่ป้ามาลีปลูกไว้ขาย) 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0 (จํานวน (ดอก)) (ชนิดไม ้ ดอก) ดอกกหุลาบ ดอกมะลิดอกกลว้ยไม้ดอกเขม็ ( )
3. นักเรียนฝึกทกัษะการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิแท่ง โดยนักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ3-4คนรับแถบขอ้มูลกลุ่มละ1ขอ้มูลแลว้นาํมาเขียนเป็นแผนภูมิแท่งโดยทาํลงในกระดาษเปล่าที่มีจุด จากน้นัผแู้ทนกลุ่มออกมานาํเสนอผลงานหนา้ช้นัเรียน นกัเรียนและครูร่วมกนัตรวจสอบความถูกตอ้ง 4. นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบัหลกัการเขียนแผนภูมิแท่งวา่มีข้นัตอนอยา่งไรโดยร่วมกนับอกในแต่ละข้นัแลว้ผแู้ทนนกัเรียนคร้ังละ1คน ออกมาเขียนข้นัตอนบนกระดานเป็นแผนภาพความคิดดงัน้ี5. นกัเรียนร่วมกนัสรุปสิ่งที่เขา้ใจเป็นความรู้ร่วมกนัดงัน้ีการเขียนแผนภูมิแท่ง เขียนโดยใช้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนขอ้มูล รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละรูปตอ้งเริ่มตน้จากระดบัเดียวกนัมีความกวา้งเท่ากนัและมีระยะห่างระหวา่งรูปเท่ากนัเราสามารถนาํความรู้เรื่องน้ีไปใชใ้นการจาํแนกขอ้มูลในชีวติประจาํวนัใหเ้ป็นระบบ และใหง้่ายต่อการศึกษาขอ้มูล ชั่วโมงที่2 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นกัเรียนร่วมกนัสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบัการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิแท่ง โดยพิจารณาตวัอยา่งบนกระดาน และใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ีตัวอย่างที่1 ตารางต่อไปน้ีแสดงมูลค่าการส่งออกสินคา้เกษตรของประเทศไทยใน พ.ศ. 2547 ข้ันตอนการเขียน แผนภูมิแท่ง 2.ลากเส้น 2 เส้นใหต้้งัฉาก3.กาํหนดใหเ้ส้นหน่ึงแทนขอ้มูลส่วนที่เป็นจาํนวน แลว้แบ่งเส้นน้ี เป็นช่วง ๆ ช่วงละเท่า ๆ กนั4.กาํหนดความสูงของสี่เหลี่ยม แต่ละแท่งตามขอ้มูลโดยใหต้รงกบัคู่ที่แสดงบนเส้นจาํนวน 5.แท่งสี่เหลี่ยมแต่ละแท่งมีความกวา้ง เท่ากนัเวน้ระยะห่างแต่ละแท่ง ใหเ้ท่า ๆ กนัและเริ่มตน้เขียน จากระดบัเดียวกนั 1.กาํหนดชื่อแผนภูมิแท่ง
ประเภทสินค้า มูลค่า (ล้านบาท) ขา้ว ยาง มนัสาํ ปะหลงักงุ้ ไก่แช่เยน็อื่น ๆ 32,947 29,180 21,739 9,310 17,582 ที่มา : รายงานเศรษฐกิจและการเงิน 2547ธนาคารแห่งประเทศไทย ขอ้มูลน้ีถา้เปลี่ยนมาใชแ้ผนภูมิแท่งในการนาํเสนอจะไดแ้ผนภูมิแท่งเชิงเดี่ยวดงัน้ีมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรของประเทศไทย พ.ศ. 2547 ที่มา : รายงานเศรษฐกิจและการเงิน 2547ธนาคารแห่งประเทศไทย การนาํเสนอขอ้มูลโดยใชแ้ผนภูมิแท่งมีลกัษณะอยา่งไร (ตวัอยา่งคาํตอบ ใชรู้ปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ซ่ึงเรียกวา่แท่งแทนขอ้มูลชนิดหน่ึงและมีความกวา้ง ของแต่ละแท่งเท่ากนัส่วนความยาวจะยาวเท่าใดข้ึนอยกู่บั ปริมาณของขอ้มูล) การนาํเสนอขอ้มูลโดยใชแ้ผนภูมิแท่งมีรูปแบบอื่นไดอ้ีกหรือไม่(มีคืออาจนาํเสนอแท่งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากในแนวนอน) ขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 2. นกัเรียนพิจารณาแถบขอ้มูลต่อไปน้ี 30,000 20,000 10,000 มูลค่า (ลา้นบาท) ประเภทสินคา้ขา้ว ยาง มนัสาํ ปะหลงักงุ้ ไก่แช่เยน็อื่น ๆ 32,947 29,180 21,739 9,310 17,582
ตาราง แสดงปริมาณสินคา้เกษตร(พนัตนั ) ที่ประเทศไทยส่งออกใน พ.ศ. 2546 ประเภทสินค้า มูลค่า (ล้านบาท) ขา้ว น้าํตาล มนัสาํ ปะหลงักงุ้ ไก่แช่เยน็ 5,012 1,531 7,340 163 ที่มา : รายงานเศรษฐกิจและการเงิน 2546ธนาคารแห่งประเทศไทย จากน้นั ใชค้าํถามกระตุน้ความคิดของนกัเรียน ดงัน้ี ตารางขา้งตน้แสดงขอ้มูลเกี่ยวกบัอะไร (ปริมาณสินคา้เกษตรที่ประเทศไทยส่งออกเมื่อ พ.ศ. 2546) มีสินคา้เกษตรกี่ประเภท อะไรบา้ง (4 ประเภท ไดแ้ก่ขา้ว น้าํตาล มนัสาํ ปะหลงัและกงุ้ ไก่แช่เยน็ ) เขียนแผนภูมิแท่งแสดงขอ้มูลไดอ้ยา่งไร ผแู้ทนนกัเรียนออกมานาํเสนอขอ้มูลโดยใชแ้ผนภูมิแท่งตามประสบการณ์ของตนเองดงัน้ีปริมาณสินค้าเกษตรที่ประเทศไทยส่งออก พ.ศ. 2546 ที่มา : รายงานเศรษฐกิจและการเงิน 2546ธนาคารแห่งประเทศไทย นกัเรียนและครูร่วมกนัตรวจสอบความถูกตอ้ง แลว้ร่วมกนัอภิปรายเกี่ยวกบัการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิแท่ง ขา้ว น้าํตาล มนัสาํ ปะหลงักงุ้ ไก่แช่เยน็ประเภทสินคา้ ปริมาณ(พนัตนั ) 163 7,340 1,531 5,012 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000
3. นกัเรียนแบ่งกลุ่มแบบคละความสามารถกลุ่มละ 4-5คน แต่ละกลุ่มร่วมกนัเขียนแผนภูมิแท่งจากขอ้มูลที่กาํหนดให้จากน้นัผูแ้ทนกลุ่มออกมานาํเสนอผลงานหน้าช้นัเรียน นกัเรียนร่วมกนัตรวจสอบความถูกตอ้ง 4. นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ี นกัเรียนจะเลือกนาํเสนอแผนภูมิแท่งในแนวต้งัหรือแนวนอน เพราะอะไร 5. นกัเรียนร่วมกนัสรุปสิ่งที่เขา้ใจเป็นความรู้ร่วมกนัดงัน้ีการนาํเสนอขอ้มูลดว้ยแผนภูมิแท่งเป็นการนาํเสนอขอ้มูลโดยใชรู้ปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ซ่ึงเรียกวา่“แท่ง”และแต่ละแท่งจะแทนขอ้มูลชนิดหน่ึงและมีความกวา้งแต่ละแท่งเท่ากนัส่วนความยาวจะข้ึนอยกู่บั ปริมาณของขอ้มูลโดยอาจนาํเสนอในแนวต้งัหรือแนวนอนก็ได้และมีการเขียนตวัเลขแสดงขอ้มูลไวบ้นยอดหรือปลายของแท่งขอ้มูลเพื่อความชดัเจนในการอ่านขอ้มูล ชั่วโมงที่3 ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นักเรียนพิจารณาแผนภูมิแท่งแสดงอุณหภูมิต่าํสุดและสูงสุดระหว่างวนัที่1-5 ธันวาคมบนกระดาน แลว้ร่วมกนัตอบคาํถาม ดงัน้ีอุณหภูมิต่าํสุดระหวา่งวนัที่1-5ธนัวาคม อุณหภูมิสูงสุดระหวา่งวนัที่1-5ธนัวาคม วนัใดมีอุณหภูมิต่าํที่สุด มีอุณหภูมิเท่าใด(วนัที่5 มีอุณหภูมิ22องศาเซลเซียส) อุณหภูมิ(องศาเซลเซียส) 40 35 30 25 20 0 1 2 3 4 5 วนัที่24 25 25 23 22 40 35 30 25 20 0 1 2 3 4 5 วนัที่ 33 34 35 33 30 อุณหภูมิ(องศาเซลเซียส)
วนัใดมีอุณหภูมิสูงที่สุด มีอุณหภูมิเท่าใด(วนัที่3 มีอุณหภูมิ35องศาเซลเซียส) วนัที่1 อุณหภูมิสูงสุดแตกต่างจากอุณหภูมิต่าํสุดเท่าไร(9องศาเซลเซียส) 2. นกัเรียนร่วมกนัอภิปรายเกี่ยวกบัการหาคาํตอบจากขอ้มูลของแผนภูมิแท่งท้งัสองและร่วมกนัเสนอแนะวธิีการจดัรูปแบบแผนภูมิแท่งใหส้ามารถอ่านไดง้่ายและเปรียบเทียบไดช้ดัเจน ขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing) 3. จากกิจกรรมขอ้ 1. และ 2. นกัเรียนพิจารณาแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบบนกระดานแลว้ร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยใชค้าํถามกระตุน้ความคิดดงัน้ีอุณหภูมิต่ําสุดและอุณหภูมิสูงสุด ระหว่างวันที่1-5 ธันวาคม การนาํเสนอขอ้มูลจากตวัอยา่งเป็นการนาํเสนอขอ้มูลแบบใด (แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบหรือแผนภูมิแท่งเชิงซอ้น) แผนภูมิแท่งเชิงซอ้นแตกต่างจากแผนภูมิแท่งอยา่งไร (มีการกาํหนดลกัษณะของแท่งปริมาณขอ้มูลแสดงความแตกต่างกนัของขอ้มูลไดช้ดัเจน) แผนภูมิน้ีแสดงอะไร (อุณหภูมิต่าํสุดและอุณหภูมิสูงสุดระหวา่งวนัที่1-5ธนัวาคม) แผนภูมิน้ีใหข้อ้มูลกี่ชุดอะไรบา้ง (2 ชุดคืออุณหภูมิสูงสุดและอุณหภูมิต่าํสุด) มีวธิีการอ่านแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบอยา่งไร (สังเกตสัญลกัษณ์แทน โดย แทนอุณหภูมิต่าํสุด แทนอุณหภูมิสูงสุดและอ่านขอ้มูลจากตวัเลขที่แสดงไวบ้นแท่งรูปสี่เหลี่ยม) วนัที่2อุณหภูมิสูงสุดแตกต่างจากอุณหภูมิต่าํสุดเท่าไร (9องศาเซลเซียส) อุณหภูมิ(องศาเซลเซียส) 40 35 30 25 20 0 1 2 3 4 5 วนัที่ 24 33 34 25 25 35 23 33 22 30 อุณหภูมิต่าํสุดอุณหภูมิสูงสุด