The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Finalแผนการพลิกโฉม-มข.65-69-ฉบับสภาเห็นชอบ4สค64 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by urairak_h, 2021-10-07 04:04:09

แผนพลิกโฉมมหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ. 2565-2569)

Finalแผนการพลิกโฉม-มข.65-69-ฉบับสภาเห็นชอบ4สค64 (1)

แผนการพลิกโฉม

มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2565 – 2569)

แผนการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569)

คำนำ

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยสำนักงานปลัดกระทรวง
อุดมศึกษา วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ได้แจ้งให้มหาวิทยาลัยดำเนินการตามกฎกระทรวงการจัดกลุ่ม
สถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2564 เพื่อให้เกิดจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษากำหนดมาตรการส่งเสริม สนับสนุน
ประเมินคุณภาพ กำกับดูแล และจัดสรรงบประมาณให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ซึ่งกำหนดให้มีการเลือกกลุ่มสังกัดและ
ประเมินตนเองตามตัวชี้วัดที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด โดยให้สภาสถาบันอุดมศึกษาแต่งต้ัง
คณะกรรมการเพ่อื ประมวลขอ้ มลู ท่ีเก่ยี วข้องกับการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา

มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงได้ดำเนินการตามนัยของกฎกระทรวงการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
พ.ศ. 2564 เพื่อดำเนินการ 1) เลือกสังกัดกลุ่มและประเมินตนเองตามตัวชี้วัดศักยภาพองค์กรและตัวชี้วัดผล
การดาเนินงานของแต่ละกลุ่มตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด 2) จัดทำแผนการพัฒนาความเป็น
เลิศของสถาบันอุดมศึกษา แผนการผลิตกำลังคนระดับสูงเฉพาะทางตามความต้องการของประเทศ
หรอื แผนพฒั นาสถาบันอดุ มศกึ ษาดา้ นอ่ืน หรอื “แผนการพลิกโฉมมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น”

แผนการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) ประกอบด้วย
รายละเอียดเน้ือหา 3 สว่ น คอื

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของมหาวิทยาลัยขอนแก่น : วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ข้อมูลทั่วไป
และบทบาทของมหาวิทยาลยั ขอนแก่นในการช่วยเหลือสังคมภายใตบ้ ริบทท่ีเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว รวมถึงผลการประเมินตนเองและการกำหนดกลุ่มยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทง้ั 4 กลมุ่ ของการจัดกล่มุ สถาบนั อุดมศึกษา

ส่วนที่ 2 แผนการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) : จุดเน้น
ทิศทาง และเป้าหมายตามสาขาความเชี่ยวชาญ ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ
เป้าหมายของการพลิกโฉม และการกำหนดยุทธศาสตร์ 4 ด้านเพื่อการพลิกโฉมของ
มหาวิทยาลัย

ส่วนที่ 3 การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และการกำกับติดตามประเมินผล : การรับฟังความคิดเห็น
จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมหาวิทยาลัยขอนแก่น การเชื่อมโยงจากยุทธศาสตร์สู่การจัดทำ
โครงการและแผนงบประมาณ การถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดจากระดับ
มหาวิทยาลัยสู่ระดับหนว่ ยงาน และการติดตามและประเมินผล

อนึ่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการดำเนินการดังกล่าวจะเป็นส่วนในการ
ปรับเปลี่ยนและร่วมพลิกโฉมมหาวิทยาลยั ของประเทศตามวตั ถุประสงค์และเป้าหมายท่ีกำหนด อนั จะเป็นสว่ น
หนึง่ ทส่ี ำคัญในการรว่ มขบั เคล่อื นตามทิศทางการพฒั นาประเทศตอ่ ไป

มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กรกฎาคม 2564

สารบัญ

คำนำ ก
สารบัญ ข
บทสรุปผู้บริหาร ง

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของมหาวิทยาลัยขอนแก่น 1
1.1 วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ 1
1.2 ข้อมูลท่ัวไป 5
1.3 บทบาทของมหาวิทยาลัยขอนแกน่ ในการชว่ ยเหลือสังคมภายใต้บรบิ ททีเ่ ปลี่ยนแปลง 9
อยา่ งรวดเรว็
1.4 ผลการประเมินตนเองและการกำหนดกล่มุ ยทุ ธศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 15
• กล่มุ ที่ 1 การวิจัยระดับแนวหน้าของโลก (Global and Frontier Research) 15
• กลุ่มที่ 2 การพัฒนาเทคโนโลยีและสง่ เสริมการสรา้ งนวตั กรรม (Technology and 17
Innovation)
• กลุ่มที่ 3 การพัฒนาชมุ ชนเชงิ พน้ื ท่ี (Area Based and Community) 19
• กลมุ่ ที่ 4 การผลติ และพัฒนาบคุ ลากรวชิ าชีพและสาขาจำเพาะ (Development of 21
Professionals and Specialists)
24
สว่ นท่ี 2 แผนการพลกิ โฉมมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) 24
2.1 จดุ เน้น ทิศทาง และเป้าหมายตามสาขาความเชี่ยวชาญ 32
2.2 ความสอดคล้องกับยุทธศาสตรป์ ระเทศ 36
2.3 เป้าหมายของการพลกิ โฉมมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 42
2.4 แผนพัฒนาความเปน็ เลิศ แผนการผลติ กำลังคนระดับสูงเฉพาะทางตามความต้องการ
ของประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 46
• ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การวิจัย และพฒั นานวตั กรรม 56
• ยุทธศาสตร์ที่ 2 ความเป็นนานาชาติ 59
• ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การผลิตกำลงั คนระดบั สงู เฉพาะทางตามความต้องการของประเทศ

สารบัญ (ต่อ)

สว่ นที่ 3 การนำแผนไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ และการกำกับติดตามประเมินผล 62
3.1 การรบั ฟังความคิดเหน็ จากผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 62
3.2 การเช่อื มโยงจากยุทธศาสตร์ส่กู ารจัดทำโครงการและแผนงบประมาณ 62
3.3 การถ่ายทอดเป้าประสงคแ์ ละตวั ชวี้ ัดจากระดับมหาวิทยาลัยสู่ระดับหนว่ ยงาน 63
3.4 การติดตามและประเมินผล 64

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. กฏกระทรวงการจัดกล่มุ สถาบันอดุ มศึกษา พ.ศ. 2564
ภาคผนวก ข. คณะกรรมการประเมินตนเองเพื่อเลือกสงั กัดกลมุ่ สถาบันอดุ มศึกษาและจัดทำ

แผนพฒั นามหาวทิ ยาลยั ขอนแก่นทเ่ี ก่ียวข้องกบั กลุ่มสถาบนั อุดมศึกษา
(คำส่ัง มข. ที่ 3751/2564 และคำสัง่ มข. ที่ 4847/2564)
ภาคผนวก ค. ปฏทิ ินการดำเนนิ การตามกฎกระทรวงการจัดกลุม่ สถาบันอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2564
มหาวิทยาลัยขอนแกน่

บทสรุปผู้บรหิ าร

พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 หมวด 3 มาตรา 24 กาหนดว่า เพ่ือประโยชน์ในการส่งเสริม
สนับสนุน ประเมินคุณภาพ กากับดูแลและจัดสรรงบประมาณให้แก่สถาบันอุดมศึกษา รัฐมนตรีจะประกาศ
กาหนดใหจ้ ดั สถาบันอดุ มศึกษาเป็นกลุม่ ได้ โดยคานึงถึงจดุ มงุ่ หมาย พนั ธกจิ ยุทธศาสตร์ ศักยภาพ และผลการ
ดาเนินการที่ผ่านมาของสถาบันอุดมศึกษาแต่ละกลุ่ม โดยต้องกาหนดมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ประเมิน
คณุ ภาพ กากบั ดูแลและจัดสรรงบประมาณใหส้ อดคล้องกับการจดั กลุ่มดงั กล่าวดว้ ย

การจัดสถาบันอุดมศึกษาเป็นกลุ่มให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีกาหนดในกฎกระทรวง ใน
กรณีท่ีเห็นสมควร รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา อาจประกาศกาหนดให้จัด
กลุ่มส่วนราชการหรือกลุ่มส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษาใดสถาบันอุดมศึกษาหน่ึง เพื่อดาเนินการตาม
มาตราน้ีก็ได้ ทั้งนี้ ตามกฎกระทรวงการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2564 ข้อ 3 ให้จัดสถาบันอุดมศึกษา
เปน็ กลมุ่ ดงั ตอ่ ไปนี้

1) กลมุ่ การพัฒนาการวิจัยระดบั แนวหน้าของโลก มพี ันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งสู่การ
วิจยั ทีม่ คี ุณภาพระดับสากลและสามารถแขง่ ขนั ในระดับนานาชาติได้

2) กลุ่มการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม มีพันธกิจหลักและ
ยุทธศาสตรท์ ่มี ุ่งสู่การจัดการการศึกษาเพื่อเน้นการพัฒนาเทคโนโลยแี ละสง่ เสริมการสร้าง
นวัตกรรมเพ่ือตอบโจทย์ของประเทศในการพัฒนาเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และบรกิ าร

3) กลุ่มพัฒนาชุมชนท้องถ่ินหรือชุมชนอื่น หรือกลุ่มการพัฒนาชุมชนเชิงพ้ืนท่ี มีพันธกิจ
หลักและยุทธศาสตร์ที่มุ่งสู่การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และชุมชนที่มีวัตถุประสงค์หรือ
ประโยชน์ร่วมกัน การเป็นแหล่งเรียนรู้ ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีเพื่อสร้างความ
เข้มแข็งให้แก่ชุมชน และการให้ประชาชนมีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตอันจะนาไปสู่การ
พฒั นาที่ยั่งยนื

4) กลุ่มพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา มีพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ที่มุ่งสู่
การพัฒนาปญั ญาดว้ ยหลกั ศาสนาผสานกับหลักวิชาการ

5) กลุ่มผลิตและพัฒนาบุคลากรวิชาชีพและสาขา มีพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งสู่การ
ผลิตและพัฒนาบัณฑิตที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะทาง มีความสามารถทางวิชาชีพระดบั สงู
หรือบัณฑิตสาขาจาเพาะตามความต้องการของประเทศในแต่ละขณะ พัฒนาความรู้และ
นวัตกรรม รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เชิงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ โดยต้องเน้นการจัดการศึกษา
เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ทักษะ และทัศนคติที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ
หรอื จรรโลงศลิ ปะและวัฒนธรรมมีความสามารถในการเรียนรู้และยกระดบั สมรรถนะทาง
วิชาชีพอย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ

6) กลุม่ อนื่ ตามทร่ี ัฐมนตรปี ระกาศกาหนด



กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยคณะทางานขับเคลื่อนและติดตาม
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ด้านคุณภาพ
อุดมศึกษา) และคณะอนุกรรมการจัดทากลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเชิงยุทธศาสตร์และคุณลักษณะเฉพาะกลุ่ม
(Strategic Profile & Strategic Attributes) จึงได้ดาเนินการจัดทารายละเอียดเพื่อประเมินกาหนดกลุ่ม
สถาบันอดุ มศึกษาเชิงยุทธศาสตร์ เพอ่ื ให้สถาบนั อุดมศึกษาใช้เปน็ แนวทางและเครื่องมือในการประเมนิ ผลการ
ดาเนินงานที่ผ่านมาและศักยภาพของสถาบัน เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากาหนดกลุ่มของสถาบันและ
จุดเน้นเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับทิศทางความต้องการการพัฒนากาลังคนของประเทศได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น เป็นมหาวิทยาลยั ในกากบั ของรัฐและเปน็ หน่วยงานหนึ่งที่อยู่ภายใต้การกากับ
ดูแลของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จึงต้องดาเนินการตามนัยของกฎกระทรวง
ดังกล่าวขา้ งตน้ โดยไดด้ าเนินการ ดงั น้ี

1. การกาหนดกลุม่ สถาบันอดุ มศกึ ษาเชิงยทุ ธศาสตร์ (Strategic Focus)

มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยสภามหาวิทยาลัยได้พิจารณาเลือกสังกัดกลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มพัฒนาการ
วจิ ัยระดับแนวหน้าของโลก (Global and Frontier Research) มพี นั ธกจิ หลกั และยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งสู่การ
วจิ ยั ท่ีมคี ณุ ภาพระดบั สากลและสามารถแข่งขนั ในระดบั นานาชาติได้ โดยตอ้ ง

1) เน้นการวิจัยขั้นสูงและการผลิตนักวิจัย เป็นผู้นาทางความรู้ของประเทศ ในระดับปริญญาเอก
หรือหลังปริญญาเอกทีม่ วี ิทยานพิ นธ์ หรือผลงานวิจยั ระดบั นานาชาตใิ นหลายกล่มุ สาขาวิชา

2) มุ่งค้นคว้าเพ่ือสร้างองค์ความรู้ ทฤษฎี และข้อค้นพบใหม่เพื่อขยายพรมแดนของความรู้และ
สร้างความก้าวหนา้ ทางวชิ าการท่ลี ุ่มลกึ ในสาขาวิชาต่าง ๆ

3) สรา้ งนวัตกรรมทมี่ ีมูลคา่ สูงทางเศรษฐกิจและสงั คมจากผลงานวจิ ยั และองค์ความรู้ขน้ั สงู

สภามหาวิทยาลัย ได้พิจารณาจากทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยในอนาคต และผลการประเมิน
ตนเองตามตัวชี้วัดผลศักยภาพองค์กร (Potential indicators) และผลการดาเนินงาน (Performance
indicators) ตามจุดเนน้ เชงิ ยุทธศาสตร์ของกลุ่มที่ 1 กล่มุ พัฒนาการวิจัยระดับแนวหน้าของโลก (Global and
Frontier Research) ประกอบด้วยตัวช้ีวัด 8 รายการ ได้แก่ ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน (Performance
indicators) จานวน 4 รายการ และตัวช้ีวัดศักยภาพองค์กร (Potential indicators) จานวน 4 รายการ
รายละเอียดในตารางท่ี 1 และผลการประเมินตนเองตามตัวชี้วัดการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาอีก 3 กลุ่ม
รายละเอยี ดในตารางที่ 2 – 3



ตารางท่ี 1 การประเมนิ ตนเองตามตวั ชีว้ ัดกลุ่มการวิจยั ระดบั แนวหน้าของโลกของมหาวิทยาลัยขอนแกน่

รายการตวั ช้ีวดั ขอ้ มูลนาเข้าลาดับท่ี ผลลัพธ์ ระดับผลการดาเนินงาน

12 1234 5

ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน (Performance indicators)

1. อตั ราการอ้างอิงของผลงานทไี่ ดร้ ับการตพี ิมพ์ 29,299 6,857 4.27 √

(Citation /Publication) คร้งั เร่อื ง

1. จานวนอัตราการอ้างอิงของผลงานท่ีได้รับ

การตีพิมพ์ในฐานข้อมูลท่ีได้รับการยอมรับ

ระดับนานาชาติ

2. จานวนผลงานท่ีไดร้ ับการตีพมิ พ์

Health Science 14,352 3,262 4.40 √

Science & Technology 14,999 3,352 4.47 √

Social & Humanities 1,897 795 2.39 √

2. ช่ือเสียงของสถาบันอุดมศึกษา (Academic 71.40 - 71.40 √

Reputation)

1. คะแนนท่ไี ดจ้ ากการสารวจช่ือเสียงของสถาบัน

3. การเคลือ่ นยา้ ยของอาจารย์ & นักศึกษา 1,748 34,664 5.04 √

(Staff & Student Mobility) คน คน

1. จานวนอาจารย/์ นกั วจิ ัย/นกั ศกึ ษาแลกเปล่ยี น

2. จานวนนกั ศึกษาทั้งหมด

4. รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติระดับชาติและ/หรือ 553 2,051 26.96 √

นานาชาติของบุคลากร ต่อจานวนอาจารย์/ คน คน

นักวจิ ัยท้ังหมด (Prize winner)

1. ผลรวมค่าถ่วงน้าหนักรางวลั ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ

2. จานวนอาจารย์/นกั วิจยั ทงั้ หมด

ตวั ช้ีวดั ศกั ยภาพองค์กร (Potential indicators)

5. จานวนอาจารยต์ อ่ นักศึกษา (Staff & Student 40,136 2,043 19.65 √

Ratio) คน คน

1. จานวนนกั ศกึ ษาท้ังหมด

2. จานวนอาจารย์ทั้งหมด

Health Science 7,413 879 8.43 √

Science & Technology 14,846 700 21.21 √

Social & Humanities 17,877 464 38.53 √

6. ความร่วมมือวิจัยระดับนานาชาติ (Active 2,239 6,857 32.65 % √

International Research Collaboration) บทความ บทความ

1. จานวนบทความวิจัยที่มีความร่วมมือกบั นานาชาติ

2. จานวนบทความวิจัย (Paper) ตพี มิ พใ์ น

ฐานข้อมูล Scopus

Health Science 1,223 3,262 37.49 √

Science & Technology 993 3,352 29.62 √

Social & Humanities 193 795 24.28 √



รายการตวั ชว้ี ัด ข้อมูลนาเข้าลาดบั ที่ ผลลัพธ์ ระดบั ผลการดาเนินงาน
12 1234 5
7. คา่ เฉลยี่ จานวนครั้งทไ่ี ด้รบั การอ้างองิ เทา่ กบั
หรอื มากกว่าจานวนผลงานวจิ ัย (H-index 7,325 2,043 4.04 √
Faculty)
1. H-index รวมของอาจารย์และนักวจิ ัย 4,380 879 4.98 √
2. จานวนอาจารย์และนักวิจยั ทัง้ หมด 2,710 700 3.87 √
Health Science 235 464 0.51 √
Science & Technology 1,124 2,015 557,816
Social & Humanities ลา้ นบาท คน √

8. งบประมาณดา้ นการวจิ ัยตอ่ หวั ของบุคลากร
(Research Funding/Faculty)
1. งบประมาณดา้ นการวิจัย
2. จานวนอาจารย์และนกั วจิ ยั ทงั้ หมด

ตารางที่ 2 การประเมนิ ตนเองตามตัวชว้ี ัดกลุ่มการพัฒนาเทคโนโลยแี ละส่งเสรมิ การสร้างนวตั กรรม

รายการตวั ชวี้ ดั ขอ้ มลู นาเข้าลาดับท่ี ผลลัพธ์ ระดบั ผลการดาเนนิ งาน

12 12345

1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ (Student 295 8,025 3.68 √

and Graduate Entrepreneur) คน คน

1. จานวนนักศึกษา/บัณฑิตศึกษาที่เป็น

ผปู้ ระกอบการ (5 ปีการศกึ ษา)

2. จานวนนกั ศกึ ษาทุกช้นั ปี (5 ปีการศึกษา)

2 รางวลั ดา้ นผู้ประกอบการ (Startup Awards) 11 8,025 0.14 √

1. ผลรวมถว่ งนา้ หนกั รางวัลดา้ นผู้ประกอบการใหม่ คน

2. จานวนผู้สาเรจ็ การศกึ ษาทั้งหมด

3 งบประมาณจากแหลง่ ทุนภายนอกสนับสนนุ การ 68.2099 165.6574 0.41 √

สร้างผปู้ ระกอบการ/ธรุ กจิ ใหม่ (Startup Co- ลา้ นบาท ล้านบาท

Investment Funding)

1. จานวนงบประมาณจากแหลง่ ทุนภายนอก

สนับสนนุ สร้างผปู้ ระกอบการใหม่

2. จานวนงบประมาณทัง้ หมด

4 บคุ ลากรสถาบันอดุ มศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้สู่ 177 2,051 8.63 √
ภาคธุรกิจ/อตุ สาหกรรม (Talent/Academic คน คน

Mobility Consultation)

1. จานวนอาจารย์และนักวิจัยที่แลกเปลีย่ น

ความรู้ส่ภู าคธรุ กิจ/อตุ สาหกรรม

2. จานวนอาจารยแ์ ละนกั วจิ ยั ทั้งหมด



รายการตัวชว้ี ดั ข้อมลู นาเขา้ ลาดบั ที่ ผลลัพธ์ ระดบั ผลการดาเนนิ งาน
5.00 12345
12
3.28 √
5 ระบบนเิ วศน์ด้านเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเพือ่ 5 - 0.34
30.37 √
เร่งพฒั นาผปู้ ระกอบการในสถาบันอุดมศกึ ษา √

(Technological/ Innovation-Driven √

Entrepreneurial Ecosystem)

1. มีการดาเนินงานด้านเทคโนโลยีและ

นวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการใน

ระดับสถาบัน ดังนี้ A - มีนโยบายส่งเสริม

ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม

เพอื่ เรง่ พฒั นาผปู้ ระกอบการ

B - มเี ครือข่ายผูป้ ระกอบการดา้ นเทคโนโลยี

และนวัตกรรม เพ่อื เรง่ พฒั นาผปู้ ระกอบการ

C - มีโครงการ/กิจกรรมด้านเทคโนโลยีและ

นวตั กรรม เพอื่ เรง่ พัฒนาผปู้ ระกอบการ

D - มีรายวิชาเฉพาะด้านเทคโนโลยีและ

นวตั กรรม เพอ่ื เร่งพฒั นาผู้ประกอบการ

E - มี Platform กลางด้านเทคโนโลยีและ

นวตั กรรม เพอื่ เรง่ พฒั นาผปู้ ระกอบการ

6 หลักสตู ร/โปรแกรมเฉพาะทใ่ี ช้เทคโนโลยี/ 11 335

นวัตกรรมเพอ่ื พัฒนาความเป็นผปู้ ระกอบการ หลักสตู ร หลักสตู ร

(Technological/ Innovation- Driven

Entrepreneurial Education)

1. จานวนหลกั สูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใชเ้ ทคโนโลยี/

นวตั กรรมเพ่อื พัฒนาความเป็นผ้ปู ระกอบการ

2. จานวนหลกั สตู ร/โปรแกรมทงั้ หมด

7 งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/นวตั กรรมเพอื่ 55.5935 165.6574

พฒั นาความเปน็ ผู้ประกอบการของ ลา้ นบาท ลา้ นบาท

สถาบันอุดมศึกษา(Technological/Innovative

Development Funding)

1. ผลรวมงบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/

นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาความเปน็ ผปู้ ระกอบการ

2. งบประมาณทัง้ หมด

8 ความรว่ มมือเพ่อื พัฒนาผู้ประกอบการและสง่ เสริมการ 82 270

สรา้ งนวัตกรรมกับภาคธุรกจิ /อุตสาหกรรมของ ฉบบั ฉบับ

สถาบันอุดมศกึ ษา(University - Industry Linkage)

1. ผลรวมถ่วงนา้ หนกั ความร่วมมอื กับภาค

ธรุ กจิ /อุตสาหกรรม

2. จานวนความรว่ มมอื กบั หน่วยงานภายนอก

ทง้ั หมด



ตารางที่ 3 การประเมินตนเองตามตัวชีว้ ัดกลมุ่ การพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่

รายการตัวช้วี ัด ข้อมูลนาเขา้ ลาดบั ที่ ผลลัพธ์ ระดบั ผลการดาเนนิ งาน
12345
12 √

1 ร้อยละการไดง้ านทาในพืน้ ทหี่ รอื ภูมิภาคของ 1,673 8,025 20.85 √

บัณฑิต (Percentage of Graduates

Employed in the Region) √

1. จานวนผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาท่ีมีถิ่นฐานใน

ภูมภิ าค และได้ทางานในพน้ื ท่หี รอื ภูมภิ าค

2. จานวนผู้สาเรจ็ การศึกษาทง้ั หมด

2 การพัฒนาเชิงพื้นท่ี (AreaBasedDevelopment) 169 169 100

1. จานวนโครงการด้านการบริการวิชาการ หรอื โครงการ โครงการ

โครงการทตี่ อบสนองตอ่ Area-Based

2. จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการท้งั หมด

3 การมสี ่วนร่วมของบุคคลหรือหน่วยงานในชมุ ชน 37 169 21.89

พ้นื ที่ หรอื ภูมิภาค (Non Age Group โครงการ โครงการ

Participation)

1. จานวนโครงการหรือกิจกรรมที่บคุ คล ชมุ ชน

หรือหนว่ ยงานทงั้ ภาครัฐและเอกชนในพ้ืนทมี่ ี

สว่ นร่วมในโครงการหรือกจิ กรรมเพ่ือแกไ้ ข/

ลดปญั หา/ส่งเสริมการเรยี นร้ขู องชมุ ชน

สงั คม/การนอ้ มนาแนวพระราชดารสิ ู่การ

ปฏบิ ัติ

2. จานวนโครงการหรือกจิ กรรมเพอ่ื แก้ไข/ลด

ปญั หา/สง่ เสริมการเรยี นรขู้ องชุมชน สงั คม/

การนอ้ มนาแนวพระราชดาริส่กู ารปฏบิ ัติ

ท้ังหมด

4 ความยั่งยนื ของสถาบันอุดมศึกษา ชุมชนและ 200 - 200

สังคม (Green/Sustainability)

1. ผลการจัดอันดับตาม THE Impact Ranking

5 ความสอดคล้องของหลักสตู ร (Curriculum 196 335 58.51

Alignment) หลักสตู ร หลกั สตู ร

1. จานวนหลักสตู รเชงิ พน้ื ท่ี

2. จานวนหลกั สตู รท้งั หมด

6 การวิจัยและบริการวชิ าการเพอื่ การพัฒนาใน 57 1,586 3.59

พนื้ ที่ภมู ภิ าค (Research/Service in Region) หลกั สูตร หลักสูตร

1. จานวนผลงานทางวิชาการรับใช้สงั คม

2. จานวนผลงานทางวิชาการท้งั หมด

7 การมีสว่ นร่วมของสังคมและชมุ ชน (Inclusive 292 335 87.16

Community) หลักสูตร หลักสตู ร



รายการตวั ชว้ี ัด ข้อมลู นาเข้าลาดบั ที่ ผลลัพธ์ ระดับผลการดาเนนิ งาน
12 0.86 12345
1. จานวนหลกั สูตรทีช่ มุ ชน/ปราชญ์ชุมชน ผู้ใช้
บัณฑิต องค์กร/หน่วยงานในพืน้ ทมี่ ีส่วนรว่ ม 142.6028 16,565 √
ในการจัดการศึกษา ลา้ นบาท ล้านบาท

2. จานวนหลกั สตู รทง้ั หมดของสถาบัน
8 การบูรณาการงบประมาณจากภาครัฐและเอกชน

ในการดาเนินงานเพ่อื พฒั นาชมุ ชนและสงั คมใน
พืน้ ที่ (Integrated Government Budget)
1. จานวนเงินจากภาครฐั และเอกชนเพื่อพัฒนา

ชุมชนและสงั คมในพ้ืนที่
2. จานวนงบประมาณทงั้ หมด

ตารางท่ี 4 การประเมนิ ตนเองตามตวั ชว้ี ัดกลุม่ ผลิตและพัฒนาบคุ ลากรวิชาชพี และสาขาจาเพาะ

ช่อื ตวั ช้ีวดั ขอ้ มลู นาเข้าลาดบั ท่ี ผลลพั ธ์ ระดับผลการดาเนินงาน

12 12345

1 ร้อยละของผสู้ าเร็จการศึกษาท่ีประกอบอาชีพ 3,481 5,682 61.26 √

หลงั สาเร็จการศกึ ษา (Percentage of คน คน

Graduates being Employed after

Graduation)

1. จานวนผสู้ าเรจ็ การศกึ ษารอบปกี ารศึกษาที่

ผา่ นมาที่ตอบแบบสารวจว่ามีงานทาหลังจบ

การศกึ ษาในเวลา 6 เดอื น

2. จานวนผสู้ าเร็จการศกึ ษาที่ตอบแบบสอบถาม

จากสถาบันแต่ละแห่ง

2 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาท่ีทางานใน 790 5,682 13.90 √

อุตสาหกรรมมูลค่าเพ่ิมสูง (Percentage of คน คน

Graduates in High Value-added Sectors)

1. จานวนผู้สาเร็จการศึกษารอบปีการศึกษาท่ีผ่าน

มาท่ที างานในกลุ่มอุตสาหกรรมมลู คา่ เพม่ิ สงู
2. จานวนผู้สาเร็จการศกึ ษาท่ีตอบแบบสอบถาม

ท้งั หมด

3 ร้อยละของผู้จ้างงานท่ีพอใจอย่างยิ่งในคุณลักษณะ N/A N/A

ของบัณฑิต (Percentage of Highly Satisfied

Employers)

1. จานวนผตู้ อบแบบสอบถามความพึงพอใจของ

ผ้ใู ช้บณั ฑิตทใี่ ห้คะแนนสูงสดุ 2 ระดับแรก

จากแบบสอบถาม 10 ระดบั *

2. จานวนผูต้ อบแบบสอบถามทั้งหมด*



ชือ่ ตัวช้วี ดั ขอ้ มูลนาเข้าลาดับที่ ผลลัพธ์ ระดบั ผลการดาเนนิ งาน
0.82 12345
12 98.78 √

4 อัตราส่วนของเงินสนับสนุนต่องบดาเนนิ การ 135 16,565 38.51 √

(Beneficiary Contribution to Operating Expenses) ลา้ นบาท ล้านบาท 51.56 √
97.60
1. จานวนเงินสนับสนนุ เพื่อการจดั การศึกษาที่ √

ได้รับในแต่ละปกี ารศึกษา √

2. จานวนงบประมาณทงั้ หมด

5 ร้อยละของหลกั สตู รทีไ่ ด้รับการรับรอง 324 328

ประสทิ ธผิ ลการเรยี นรูต้ ามมาตรฐานระดับชาติ หลกั สูตร หลักสูตร

และนานาชาติ (Percentage of Curricular

with Certified Learning Outcomes)

1. ผลรวมถ่วงนา้ หนกั ของหลักสตู รท่ผี า่ นการ

ตรวจรับรองมาตรฐาน

2. จานวนหลกั สตู รทั้งหมด

6 รอ้ ยละของหลักสตู รทีจ่ ดั การเรยี นรู้ผ่านการ 129 335

ปฏิบตั ิงานจรงิ (Percentage of Curricular หลักสตู ร หลกั สูตร

with Work-Integrated Learning)

1. จานวนหลกั สูตรท่ีจดั การเรียนรผู้ ่านการ

ปฏบิ ัติงานจริง

2. จานวนหลกั สูตรทัง้ หมด

7 ร้อยละของผูส้ อนท่ีมีคณุ ภาพสงู (Percentage 1,039 2,015

of High Quality Learning Facilitators) คน คน

1. ผลรวมถว่ งนา้ หนักของจานวนอาจารยต์ าม

ระดบั ตาแหนง่ วิชาการ

2. จานวนอาจารย์ทงั้ หมด

8 อัตราการคงอยูข่ องผเู้ รยี น(Students Retention Rate) 9,488 9,721

1. จานวนนักศึกษาแรกเขา้ ทล่ี งทะเบยี นเรียน คน คน

อย่างต่อเน่ืองเม่ือขน้ึ ทะเบยี นในหลกั สตู รเป็น

ระยะเวลา 1 ใน 4 ของหลกั สูตร

2. จานวนนักศึกษาแรกเขา้ ในหลกั สูตร

หมายเหตุ : เคร่ืองหมาย (*) หมายถงึ การประเมินความพงึ พอใจของผจู้ า้ งงานทมี่ ีต่อคณุ ลกั ษณะของบัณฑิต (Percentage of Highly
Satisfied Employers) ดาเนนิ การโดยหลกั สตู ร ไมม่ กี ารรวบรวมขอ้ มลู นาเขา้ ลาดบั ที่ 1 และ 2



2. การจัดทาแผนการพลิกโฉม มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ (Re-positioning Plan)

มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดาเนินการจัดทา แผนการพลิกโฉม มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเป็น
แผนการพฒั นาตามจุดเนน้ เชงิ ยทุ ธศาสตร์ (กลุ่มพฒั นาการวิจยั ระดบั แนวหนา้ ของโลก (Global and Frontier
Research)) กาหนดกรอบระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) สาระสาคัญ ประกอบดว้ ย 3 ยุทธศาสตร์ 12
กลยุทธ์ และ 29 แผนงาน/โครงการ ดงั น้ี

เปา้ หมายในการพลิกโฉม
เพ่ือความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยและสร้างกาลังคนข้ันสูงตามความต้อง การของประเทศ
ซึ่งมหาวิทยาลัยเป็นแนวหน้า (Forefront) ในการขับเคล่ือนประเทศสู่ Value-based Economy มุ่งพัฒนา
ผลงานวจิ ยั ให้มคี ณุ ภาพสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้เพ่ือนาไปแกไ้ ขปญั หาให้กับชุมชน สงั คม และประเทศชาติ
รวมทั้งได้รับการยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ตลอดจนการขับเคลื่อนให้เป็นองค์กรที่มีการบริหาร
จดั การอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ยุทธศาสตร์ 3 ดา้ น ประกอบด้วย

ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ด้านการวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรม (5 กลยุทธ์ 19 แผนงาน/โครงการ)
เปา้ หมาย

• สร้างงานวิจัยมุ่งเป้าตามลาดับความสาคัญ (Clear Strategic research priority)
สร้างโครงการวิจัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบสูงและเป็นความต้องการในอนาคต ได้
ผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมที่มีมูลค่า (Translation research) เกิดเครือข่ายวิจัย
บรู ณาการวิจัยข้ามศาสตร์ (Multidisciplinary research)

• มีการนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง (Implementation research) และเกิดเครือข่าย
ร่วมมือวจิ ัยกบั สถาบันวิจยั ช้นั นาระดับโลก

• สรา้ งนวตั กรรมที่มีมูลค่าสูงทางเศรษฐกจิ และสังคมตอบโจทย์อุตสาหกรรมเป้าหมาย
ของประเทศ

กลยุทธ์
• กลยุทธ์ที่ 1 สร้างและพัฒนากาลังคนด้านงานวิจัยศักยภาพสูงที่เป็นความต้องการ
ของโลก มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ มีความโดดเดน่
• กลยุทธท์ ่ี 2 สง่ เสรมิ ใหม้ ีการตพี มิ พผ์ ลงานท่มี คี ุณภาพและได้รบั การอ้างองิ สูง
• กลยุทธ์ท่ี 3 สร้างระบบนิเวศของการวิจัย (Research Ecosystem) และความร่วมมือ
กับต่างประเทศ
• กลยทุ ธท์ ี่ 4 สร้างระบบนเิ วศสาหรบั การสรา้ งนวตั กรรม(Innovation Ecosystem )
• กลยทุ ธ์ที่ 5 เพม่ิ จานวนลงทนุ หรอื ร่วมลงทุน (startup/ venture capital)



ยุทธศาสตร์ที่ 2 ดา้ นความเปน็ นานาชาติ (2 กลยทุ ธ์ 3 แผนงาน/โครงการ)
เป้าหมาย

• มหาวิทยาลัยขอนแกน่ เปน็ มหาวิทยาลยั ท่โี ดดเด่นบนเวทโี ลก
กลยุทธ์

• กลยุทธ์ท่ี 1 สนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ global learners, global
alumni, and global staff รวมทั้งการสนับสนุนเพ่ือการจัดอันดับ World
University Ranking ทีส่ ูงขึ้น

• กลยุทธ์ท่ี 2 สนับสนุนและส่งเสริมเครือข่ายคุณภาพระดับโลก ระบบนิเวศน์ และ
ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ คู่ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ดั บ โ ล ก ( Global Quality Network &
Ecosystem) รวมทั้งสร้างสภาพแวดล้อมความเป็นนานาชาติ (International
environment)

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ดา้ นการผลิตกาลังคนระดับสูงเฉพาะทางตามความต้องการของประเทศไทย
(5 กลยทุ ธ์ 7 แผนงาน/โครงการ)
เปา้ หมาย

• เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้โดยเน้นกระบวนทัศน์ใหม่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต
และสามารถสรา้ งอาชพี ใหมต่ ามความต้องการของสงั คม

• พัฒนาพ้ืนฐานกาลังคนให้มีความพร้อมกับเทคโนโลยีใหม่ที่ส่งผลกระทบสูงต่อการ
เปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คมโลก

กลยทุ ธ์
• กลยุทธท์ ่ี 1 การพฒั นาหลกั สูตรสกู่ ระบวนทัศน์ใหม่ (Learning Paradigm)
• กลยุทธท์ ี่ 2 การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ิต (Lifelong Education)
• กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาหลักสูตรใหม่ (New Curriculum) เพ่ือสร้างอาชีพใหม่ตาม
ความต้องการของสังคม
• กลยุทธ์ท่ี 4 การเตรียมความพรอ้ มประเทศสาหรับเทคโนโลยใี หมส่ าหรบั อนาคต
• กลยทุ ธ์ที่ 5 การให้บรกิ ารด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเชิงลึกขนั้ สงู

อย่างไรก็ตาม แผนการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569)
เป็นแผนท่ีมีเป้าหมายในการพลิกโฉมเพ่ือความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยและสร้างกาลังคนขั้นสูงตามความ
ต้องการของประเทศ ซ่ึงมหาวิทยาลัยเป็นแนวหน้า (Forefront) ในการขับเคลื่อนประเทศสู่ Value-based
Economy มุ่งพัฒนาผลงานวิจัยให้มีคุณภาพสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้เพ่ือนาไปแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน
สังคม และประเทศชาติ รวมท้ังได้รับการยอมรับท้ังในระดับชาตแิ ละนานาชาติ ตลอดจนการขับเคลื่อนให้เปน็
องค์กรที่มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้กาหนดแผนงานต่าง ๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์ 4 ด้าน
ซึ่งได้ดาเนินการให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของประเทศ ทั้งนี้ เพ่ือให้บรรลุความสาเร็จ



ของการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ สู่การปฏิบัติ มหาวิทยาลัยจะได้มีการสร้างความชัดเจนของแผน
ยุทธศาสตร์และการบริหารจัดการแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ โดยการสร้างความรับรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก
ถึงภารกิจ และความรับผิดชอบร่วมกันของทุกภาคส่วนของมหาวิทยาลัย เพ่ือให้การขับเคล่ือนเกิด
ประสทิ ธิภาพยิ่งขน้ึ

สาหรับการติดตามและประเมินผลจะมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่องทั้งการประเมินผลสัมฤทธข์ิ อง
แผนงาน/โครงการ โดยแบง่ ชว่ งระยะเวลาในการตดิ ตามเป็นระยะทุก 3 เดอื น หากไมเ่ ป็นไปตามเปา้ หมายจะมี
การปรับแผนปฏิบัติการ และโครงการเพื่อขับเคลือ่ นใหบ้ รรลุผลลัพธ์สาคัญที่ได้ต้ังไว้ เมื่อถึงรอบส้ินปี โดยจะมี
การนาขอ้ มูลสารสนเทศเกย่ี วกบั ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามยทุ ธศาสตร์ เข้าส่รู ะบบและกลไกของการประกัน
คุณภาพของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ผู้บริหารได้มีระบบในการติดตามข้อมูลความคืบหน้าในการดาเนินงานอย่าง
ต่อเน่ือง ใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลการดาเนินงาน รวมท้ังเพ่ือเป็นข้อมูลสาหรับการปรับเปลี่ยน
ยทุ ธศาสตร์ให้เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั สภาวการณต์ ่าง ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ ในแตล่ ะชว่ งเวลา



ส่วนที

1

ข้อมูลทวั ไปมหาวิทยาลยั

สว่ นที่ 1
ขอ้ มลู ท่ัวไปของมหาวิทยาลยั

1.1 วิสยั ทัศน์ เปา้ หมาย พนั ธกิจ และยุทธศาสตร์
วสิ ัยทศั น์ (VISION)
“มหาวิทยาลยั วจิ ัยและพัฒนาชัน้ นาระดับโลก”
(A World-Leading Research and Development University)
เป้าหมาย (Goals)

 People : ประชาคมมหาวิทยาลยั มีความรู้ความสามารถ และทักษะดจิ ทิ ัล มคี วามเช่ียวชาญ
ศาสตรว์ ิชาการ การวิจยั พัฒนาและการนาไปใช้ประโยชน์ การบริการ สังสนั ทนาการ บริหารจัดการ มี
ความพร้อมในการเรียนรู้ การเชื่อมโยงกับนานาสากลและตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง

 Ecological : ระบบนิเวศของมหาวิทยาลัยเกื้อหนุนการเรียนรู้ วิจัย เสริมประสิทธิภาพการ
ทางาน และเพิม่ พูนคณุ ภาพชีวิตของชุมชนมหาวิทยาลยั และผู้มาเยือน

 Spiritual : จิตวิญญาณของมหาวิทยาลัยมีความสันติสุขและสมานฉันท์ของชุมชนท้ังภายใน
และภายนอก
1

พันธกจิ (Mission)
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558 ได้กาหนดให้มหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาช้ันสูงที่มี
วัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริม ประยุกต์และพัฒนาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทาการสอน วิจัย พัฒนาและ
ถา่ ยทอดเทคโนโลยี ใหบ้ ริการทางวชิ าการและวชิ าชีพแก่สังคม และทะนบุ ารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม
แผนยุทธศาสตร์การบริหารมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ 11 ประเด็น 40 กลยุทธ์ เพ่ือมุ่งสู่วิสัยทัศน์ท่ีสภา
มหาวิทยาลัยกาหนด โดยมีความเชื่อมโยงของ 40 กลยุทธ์ ในโครงสร้างและความเชื่อมโยงเชิงยุทธศาสตร์การ
บริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น (Strategic alignment) แผนภาพท่ี 1 โดยจาแนกเป็น 3 เสาหลัก คือ ด้านการส่ง
มอบคณุ ค่าแก่ประชาคม (People) ดา้ นการรกั ษาระบบนิเวศ (Ecological) และดา้ นการปลูกฝังจิตวญิ ญาณความ
เป็นมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (Spiritual) โดยกาหนดผลลัพธ์สาคญั ระดับวสิ ัยทศั น์ไว้ คอื

แผนภาพท่ี 1 โครงสร้างและความเช่ือมโยงเชงิ ยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ปรับเปลยี่ นการจัดการศึกษา
กลยุทธท์ ่ี 1 : พฒั นาหลกั สตู รสกู่ ระบวนทัศน์ใหม่ (Learning paradigm)
กลยทุ ธท์ ่ี 2 : การจัดการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education)
กลยุทธ์ท่ี 3 : การพัฒนาหลักสูตรใหม่ (New Curriculum) เพ่อื สร้างอาชพี ใหม่ตามความตอ้ งการ
ของสงั คม
กลยุทธท์ ี่ 4 : การจดั ตง้ั ระบบการจดั การศึกษารูปแบบใหม่ ทรี่ องรับการจดั การเรยี นการสอนใน
รปู แบบดิจทิ ลั (KKU Academy)

2

กลยุทธ์ที่ 5 : พัฒนาระบบศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษาใหส้ ามารถสร้างผลงานวิจัย และนวัตกรรมที่มี
คุณภาพสูง

กลยุทธ์ท่ี 6 : พัฒนานักศึกษาให้มีทักษะทจ่ี าเป็นในศตวรรษที่ 21 (21st Century skills)
กลยุทธท์ ่ี 7 : ส่งเสริมให้นกั ศึกษาเกดิ มุมมอง และขีดความสามารถในการเป็นพลเมืองโลก (Global

Perspective & Capability)
ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ปรับเปลี่ยนการทางานวิจัย

กลยทุ ธ์ที่ 1 : ลงทนุ สรา้ งแพลตฟอร์มการวจิ ัยใหม่ (Invest New Research Infrastructure
Platform)

กลยุทธ์ที่ 2 : สนับสนุนให้เกิดโครงการวิจัยขนาดใหญ่ที่ทางานวิจัยเป็นทีมและทางานต่อเนื่อง
(Research programs/clusters)

กลยทุ ธ์ที่ 3 : สร้างระบบนิเวศของการวจิ ัย (Research Ecosystem)
กลยุทธ์ที่ 4 : สรา้ งระบบนเิ วศสาหรบั การสรา้ งนวตั กรรม (Innovation Ecosystem)
กลยทุ ธท์ ่ี 5 : เพม่ิ จานวนผ้ปู ระกอบการ หรือลงทนุ หรือร่วมลงทนุ (startup/ venture capital)
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ปรับเปลีย่ นการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรบคุ คล
กลยทุ ธ์ท่ี 1 : วางระบบบรหิ ารทรัพยากรบุคคลทเี่ อ้ือต่อการสร้างผลงาน
กลยทุ ธท์ ่ี 2 : ยกระดบั ขีดความสามารถในการทางานของบุคลากร
กลยุทธ์ท่ี 3 : สรา้ งระบบการจ้างงานทห่ี ลากหลายและยดื หยุ่น (Flexible Employment system)
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การปรบั เปลีย่ นการบรกิ ารวิชาการ
กลยุทธท์ ี่ 1 : สร้างโครงการบริการวิชาการทเี่ นน้ การสร้างคุณคา่ ร่วมดา้ นเศรษฐกิจและสังคม เช่น

U2T บา้ นโตน้ โมเดล มข. แก้จน
กลยุทธ์ที่ 2 : การสร้างโครงการบริการวชิ าการท่ีใช้ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพฒั นา

อยา่ งยัง่ ยืน (SDG)
ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 5 ปรับเปลี่ยนการบริหารจดั การองคก์ ร

กลยุทธ์ท่ี 1 : วางระบบบริหารจัดการเพ่ือความเป็นเลิศท่ัวท้ังองค์กร เน้นการกระจายอานาจ
(Excellence execution by Centralized policy, Decentralized operation)

กลยทุ ธท์ ่ี 2 : มุ่งการขับเคลอ่ื นองค์กรเชงิ กลยทุ ธแ์ ละปรับปรุงกฏระเบียบที่ล้าสมยั (Strategic lead,
Regulation follow)

กลยุทธ์ท่ี 3 : นาระบบสารสนเทศมาใช้ให้ครอบคลุม ( Digital and Automation process
management)

กลยุทธ์ท่ี 4 : บริหารสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อความย่ังยืน ( Efficiently asset
management)

3

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 สร้างมหาวิทยาลัยขอนแกน่ ให้เป็นทน่ี า่ ทางาน
กลยุทธท์ ี่ 1 : การสร้างสภาพแวดล้อมที่พรอ้ มสาหรบั การทางาน (Good Workplace)
ของบุคลากรทุกกล่มุ
กลยทุ ธท์ ี่ 2 : การเพ่ิมประสทิ ธิภาพระบบการจดั การสวสั ดกิ ารและสทิ ธิประโยชน์
กลยทุ ธท์ ี่ 3 : การสรา้ งความผูกพันกับบุคลากรอยา่ งเปน็ ระบบ

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 7 สรา้ งมหาวทิ ยาลัยใหเ้ ปน็ ที่นา่ อยู่
กลยุทธท์ ี่ 1 : พัฒนามหาวทิ ยาลยั ให้ประชาคมอย่ดู ีมีความสขุ (Well-Being University)
กลยุทธ์ท่ี 2 : สร้างมหาวิทยาลัยใหเ้ ปน็ ชุมชนสีเขียว (Green Society)
กลยทุ ธ์ที่ 3 : สรา้ งสุนทรียภาพใหเ้ กิดข้ึนในมหาวทิ ยาลยั (Aesthetic Environment)
กลยุทธท์ ี่ 4 : การจดั การอาคารสถานทแ่ี ละบ้านพักที่เส่ือมโทรม (Building Renovation)
กลยุทธ์ท่ี 5 : การสร้างมหาวิทยาลัยใหเ้ ป็นเมืองสญั จรอัจฉรยิ ะ (Smart Mobility)
กลยทุ ธท์ ี่ 6 : จดั ระบบรักษาความปลอดภยั ท่ีมีประสิทธภิ าพ โดยนาระบบเทคโนโลยแี ห่งอนาคตมา
ใช้ (Smart security)
กลยทุ ธ์ท่ี 7 : จดั ระบบจราจรใหมใ่ ห้มี Zoning โดยพยายามแยกถนนเพ่ือการสัญจรหลักออกจาก
ถนนแขนงย่อยทเี่ ข้าส่พู น้ื ที่การศึกษา และพืน้ ทก่ี ารบริการ

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 8 ปรับเปลี่ยนองคก์ รใหก้ า้ วเข้าสู่ยคุ ดิจิทัล
กลยุทธ์ท่ี 1 : การบรกิ ารเชิงลึกด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ลั
กลยทุ ธ์ที่ 2 : สรา้ งระบบนิเวศด้านการสร้างนวตั กรรมดิจทิ ัล
กลยุทธท์ ี่ 3 : การพฒั นาระบบการทางานและการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยดี จิ ิทลั

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 9 การนามหาวทิ ยาลยั สคู่ วามเปน็ นานาชาติ
กลยทุ ธท์ ่ี 1 : สนบั สนุนและส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของ global learners, global alumni, and global staff
กลยทุ ธ์ที่ 2 : สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ เครอื ขา่ ยคุณภาพระดบั โลกและระบบนิเวศน์ (Global Quality
Network & Ecosystem)
กลยุทธท์ ี่ 3 : สนับสนุนกลยทุ ธ์เพือ่ การจัดอนั ดบั World University Ranking ที่สงู ข้นึ
กลยุทธท์ ่ี 4 : สรา้ งความเปน็ นานาชาติท้ังด้านอาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และสภาพแวดล้อม
(International environment)

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 10 การบริหารโดยใชห้ ลกั ธรรมาภิบาล
กลยุทธท์ ่ี 1 : วางระบบการบริหารจดั การด้วยหลักธรรมาภิบาล ใหเ้ กดิ ทว่ั ทงั้ มหาวทิ ยาลัย (Good
Governance for all Units)

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 11 เสริมสรา้ งความร่วมมือเพอื่ การพัฒนา
กลยทุ ธท์ ี่ 1 : จดั ทาโครงการขนาดใหญร่ ่วมกนั ระหวา่ งคณะ ในกลมุ่ วิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี และกลมุ่ สงั คมศาสตร์ตลอดจนพัฒนาความร่วมมือกบั สถาบันในลมุ่ น้าโขง

4

1.2 ข้อมูลทั่วไป มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้กาหนดเป้าหมายที่จะเป็น "มหาวิทยาลัยวิจัยและพัฒนาชั้นนาระดับโลก"
ซ่ึงได้กาหนดนโยบายการร่วมรับผิดชอบในเป้าหมายผลผลิต และผลลัพธ์ของมหาวิทยาลัยในทุกส่วนงาน/
หน่วยงาน เพ่ือดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ ประจาปีในแต่ละภารกิจที่รับผิดชอบทั้งที่เป็นภารกิจหลักตาม
กฎหมาย ตามอานาจหน้าท่ีปกติ (Functional-based approach) ภารกิจตามกรอบนโยบายแนวทางการพัฒนา
ประเทศเชิงมิติพ้ืนที่ (Area-based approach) และภารกิจเชิงกลยุทธ์ตามวาระงานสาคัญของประเทศ
(Agenda-based approach) โดยมขี อ้ มลู ทสี่ าคัญ ดังตอ่ ไปนี้

ด้านการผลติ บณั ฑิต
ปัจจุบัน (ปีการศึกษา 2563) มีคณะวิชาจัดการศึกษา 23 คณะ (รวมบัณฑิตวิทยาลัย) มีหลักสูตรทั้งหมด
จานวน 334 หลักสูตร โดยจาแนกเป็น ระดบั ปริญญาตรี 89 หลักสตู ร (รอ้ ยละ 26.65) ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 1
หลักสูตร (ร้อยละ 0.30) ระดับปริญญาโท 139 หลักสูตร (ร้อยละ 41.62) ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 18 หลักสูตร
(ร้อยละ 5.39) ระดบั ปรญิ ญาเอก 87 หลกั สตู ร (ร้อยละ 26.05)
สาหรับจานวนนักศึกษา มีนักศึกษาใหม่ 9,550 คน และนักศึกษาท้ังหมด 36,512 คน รายละเอียดข้อมูล
หลักสตู ร ขอ้ มลู นักศกึ ษา และข้อมลู ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา แสดงในตารางต่อไปนี้

ตารางท่ี 1 : จานวนหลกั สตู ร/สาขาวิชา มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีการศกึ ษา พ.ศ. 2563

ระดับการศึกษา ประเภทหลักสตู ร (หลกั สตู ร/สาขาวิชา) รวม

ปกติ นานาชาติ ภาษาองั กฤษ จานวน รอ้ ยละ

ระดับปริญญาตรี 78 11 - 89 26.65

ระดับประกาศนยี บตั รบัณฑิต 1- - 1 0.30

ปริญญาโท 118 21 - 139 41.62

ประกาศนยี บตั รบณั ฑิตชั้นสงู 18 - - 18 5.39

ปรญิ ญาเอก 68 19 - 87 26.05

รวม 283 51 - 334 100.00

รอ้ ยละ 84.73 15.27 - 100.00

5

ตารางท่ี 2 : นกั ศกึ ษาใหม่ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีการศึกษา พ.ศ. 2563

ระดับการศึกษา (คน)

กลุ่มสาขาวิชา ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.บัณฑติ ป.เอก รวม

ชนั้ สูง 239 9,550
62 3,397
รวมนักศกึ ษาใหม่ 8,094 - 1,054 163 60 1,593
117 4,560
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี 3,035 - 300 -

สาขาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ 1,135 - 325 163

สาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 3,924 - 519 -

ตารางที่ 3 : จานวนนกั ศึกษาทัง้ หมด มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีการศึกษา พ.ศ. 2563

ระดับการศึกษา (คน)

กลมุ่ สาขาวิชา ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.บัณฑติ ป.เอก รวม

ชัน้ สูง 1,620 36,512
643 11,957
รวมนกั ศึกษาทง้ั หมด 31,023 - 3,563 306 421 7,342
556 17,213
สาขาวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี 10,415 - 899 -

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 5,686 - 929 306

สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 14,922 - 1,735 -

ตารางท่ี 4 : จานวนนกั ศกึ ษาต่างชาติ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปกี ารศึกษา พ.ศ. 2563

ระดับการศึกษา (คน)

กลมุ่ สาขาวิชา ตา่ กว่า ป.ตรี ป. ป.โท ป.บัณฑิต ป.เอก รวม

ป.ตรี บัณฑิต ช้ันสงู 764
143
รวมนักศึกษาต่างชาติ - 348 - 263 - 179 284
337
สาขาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี - 50 - 54 - 39

สาขาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ - 116 - 101 - 67

สาขามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - 182 - 82 - 73

หมายเหตุ : ไมร่ วมนกั ศกึ ษาตา่ งชาติแลกเปล่ยี นระยะสั้น จานวน 454 คน

6

ตารางท่ี 5 : จานวนผ้สู าเร็จการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีการศึกษา พ.ศ. 2562

ระดับการศึกษา (คน)

กลุม่ สาขาวชิ า ต่ากว่า ป.ตรี ป. ป.โท ป.บัณฑิต ป.เอก รวม

ป.ตรี บณั ฑติ ชน้ั สูง

รวมผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาทั้งหมด 3 6,633 - 980 157 255 8,028

สาขาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี 3 2,278 - 220 - 112 2,613

สาขาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ - 858 - 284 157 80 1,379

สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - 3,497 - 476 - 63 4,036

สาหรับจานวนอาจารย์ มอี าจารยท์ ่ีสอนในระดบั อุดมศกึ ษา จานวน 2,015 คน โดยมวี ฒุ กิ ารศึกษาระดับ
ปรญิ ญาเอก 1,531 คน (ร้อยละ 75.98) วุฒิการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท 394 คน (รอ้ ยละ 19.55) และวุฒกิ ารศึกษา
ระดบั ปริญญาตรี 90 คน (รอ้ ยละ 4.47) ซง่ึ ในจานวนนี้มีตาแหน่งวชิ าการเป็นศาสตราจารย์ 61 คน (รอ้ ยละ 3.03)
รองศาสตราจารย์ 443 คน (ร้อยละ 21.99) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 771 คน (ร้อยละ 38.26) และอาจารย์ 740 คน
(ร้อยละ 36.72) รายละเอียดแสดงในตารางตอ่ ไปน้ี

ตารางท่ี 6 : บุคลากรสายวชิ าการมหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีการศึกษา พ.ศ. 2563

บคุ ลากรสายวชิ าการมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ จานวน ร้อยละ

รวมบุคลากรสายวชิ าการ 2,015 100
วฒุ กิ ารศกึ ษา

ระดับปริญญาเอก 1,531 75.98

ระดบั ปริญญาโท 394 19.55

ระดับปริญญาตรี 90 4.47

ตาแหน่งทางวชิ าการ

ศาตราจารย์ 61 3.03

รองศาสตราจารย์ 443 21.99

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ 771 38.26

อาจารย์ 740 36.72

หมายเหตุ : ไมร่ วมโรงเรียนสาธติ (วทิ ยาเขตขอนแก่นและวทิ ยาเขตหนองคาย) และศูนยอ์ อทสิ ติก จานวน 296 คน ปริญญาเอก 19 คน (ชาย
8 คน หญงิ 11 คน) ปริญญาโท 138 คน (ชาย 45 คน หญงิ 93 คน)

7

ดา้ นการประเมินคุณภาพการศกึ ษา
 ได้รับรางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ (Thailand Quality Class : TQC) ประจาปี 2561 โดยถือ
เป็นรางวัลระดบั โลก (World Class) เน่ืองจากมีกระบวนการตัดสนิ รางวัลเช่นเดียวกับรางวัลคุณภาพแห่งชาติของ
ประเทศสหรฐั อเมริกา หรือ The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA)
 ได้รับการจัดอันดับที่ 1 ของมหาวิทยาลัยไทย (ครองอันดับ 1 สามปีติดต่อกัน) และอันดับท่ี 78 ของ
โลก ในด้าน SDGs 4 Quality Education คณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนและการเข้าถึงการศึกษาที่ เทา่ เทียม
ได้คะแนน 72.7 จาก 100 คะแนน โดยการจัดอันดับของ “Times Higher Education” หรือ “THE” สถาบันจัด
อันดับมหาวิทยาลัยช้ันนาของโลก ประเทศอังกฤษ ได้ประกาศผลอันดับมหาวิทยาลัย “THE Impact Rankings
2021” โดยประเมินการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย 1,115 แห่ง จาก 94 ประเทศท่ัวโลก ตามเป้าหมายการ
พัฒนาทีย่ ่ังยืน(Sustainable Development Goals–SDGs) ของสหประชาชาติ ท้ัง 17 ดา้ น
 มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับการประกาศผล ให้เป็น 1 ใน 7 องค์กรที่ได้รับรางวัล “องค์กรโปร่งใส
ครัง้ ท่ี 9” เปน็ สถาบนั การศึกษาเพยี งแห่งเดียว และยังเป็นมหาวิทยาลัยแรกท่ีได้รบั รางวลั (ปี พ.ศ. 2562) โดยเป็น
การประเมินจากสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.) ซ่ึงได้
คัดเลือกจากคุณสมบัติองค์กร และการพิจารณาให้คะแนนการประเมินองค์กรการบริหารงานของผ้บู ริหาร ผลการ
ดาเนินงานแต่ละด้านตามเกณฑ์ท่ีกาหนดอย่างละเอียดและเข้มงวด ในส่วนของผลการประเมิน ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ คะแนนเฉลย่ี ได้ 92.10 คะแนนจาก 100 คะแนนเตม็ โดยพจิ ารณา
จากการประเมิน 3 ด้าน ประกอบด้วย (1) การประเมินหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open
Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) ได้ 97.78 คะแนน (2) การประเมินความคิดเห็นผู้มี
สว่ นได้สว่ นเสยี ภายใน Internal Integrity (IIT) ได้ 82.29 คะแนน (3) การประเมินความคิดเหน็ ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสีย
ภายนอก External Integrity (EIT) ได้ 94.33 คะแนน
 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยช้ันนาระดับโลก ในปี พ.ศ. 2563 มหาวิทยาลัยขอนแก่นอยู่ในลาดับที่ 6
ของประเทศ ลาดับที่ 801-1,000 ของโลก และลาดับที่ 160 ของเอเชีย โดย QS WORLD UNIVERSITY
RANKINGS (QS Ranking)

ตารางท่ี 7 : ผลการจัดอนั ดับมหาวทิ ยาลยั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 - 2564

ผลการจัดอันดับ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

QS WORLD UNIVERSITY RANKINGS (QS Ranking) 801-1,000
151
ระดับโลก 701+ 700+ 801-1,000 801-1,000 801-1,000 801-1,000 6

ระดับเอเชีย 171-180 165 165 178 148 160 1001+

ระดับประเทศ 7 7 6 7 5 6

Times Higher Education (THE Ranking)

ระดับโลก - 600-800 801+ 801-1,000 1,001 1001+

ระดบั เอเชีย - 181-190 201-250 251-300 251-300- 301-351

8

ผลการจดั อันดับ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
6 7 8 6 6
ระดับประเทศ -
- - - 101-200
THE Social Impact Ranking - - - 1

ระดับโลก - - - 4 4 101-200 201-300
14
ระดบั ประเทศ - - - - 4

CWTS Leiden Ranking - - - 4

ระดับประเทศ - 44

CWUR Ranking

ระดบั ประเทศ - 44

URAP Ranking

ระดับประเทศ - 44

1.3 บทบาทของมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ในการชว่ ยเหลือสังคมภายใต้บริบทท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

บริบทภายนอกประเทศ
 ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด (Disruptive
technology) ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างฉับพลัน ซึ่งนอกจากจะส่งผลกระทบต่อระบบ
เศรษฐกิจแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตของประชาชนในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกที่ต้องเผชิญกับเทคโนโลยี
ดิจทิ ัลในชวี ติ ประจาวันมากมาย ทง้ั ด้านการเรียนการสอนในสถานศกึ ษาการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ การเดินทาง
การใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการบรหิ ารและการจัดการการทางาน
 สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจโลก มีตลาดเกิดใหม่โดยเฉพาะจีนที่มีบทบาทสูงข้ึน ตลาด
การเงินโลกเข้าสสู่ ถานการณ์ไรพ้ รมแดน ซง่ึ เป็นผลจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเงนิ ที่มคี วามก้าวหน้าอย่าง
รวดเร็ว ทาให้มีการพัฒนาเครื่องมือทางการเงินใหม่ๆ เช่น cryptocurrency, digital money รวมท้ังมีการ
รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ท่หี ลากหลายสง่ ผลตอ่ การเปดิ เสรที างการคา้ มากข้ึน
 การเข้าสู่สังคมสูงวัยของโลกที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจและรูปแบบการดาเนินชีวิต โดยเฉพาะกลุ่ม
ผู้สูงอายุในประเทศที่พัฒนาแล้วเป็นกลมุ่ สาคัญท่ีทาให้มีการบริโภคสินค้าและบริการเพ่ิมขึ้น แต่อาจก่อให้เกิดการ
แย่งชิงประชากรวัยแรงงาน โดยเฉพาะคนที่มีศักยภาพสูง ขณะเดียวกันการเล่ือนไหลของกระแสวัฒนธรรมโลกที่
ผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถ่ินส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตและเกิดการสร้างวัฒนธรรมร่วมสมัย แต่อาจ
ก่อให้เกิดวิกฤตทางวัฒนธรรมเน่ืองจากการขาดการคัดกรองและเลือกรับวัฒนธรรมที่ดี รวมถึงความแตกต่างทาง
ความคิดท่อี าจก่อใหเ้ กิดความเหน็ ตา่ งและความวุ่นวายทางการเมือง
 สถานการณ์และแนวโน้มสิ่งแวดล้อมโลก วาระการพัฒนาท่ียั่งยืน ค.ศ. 2030 เป็นทิศทางหลักใน
การพัฒนาของโลกหลัง ค.ศ. 2015 โดยมีเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน ประกอบด้วย 17 เป้าหมายและ 168
เป้าประสงค์ รวมถึงข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ทวีความเข้มข้นข้ึน จะมี

9

ส่วนสาคัญในการกาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศไทยในอนาคตยิ่งไปกว่าน้ัน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และภัยธรรมชาติมีความผันผวนและรนุ แรงมากข้ึน สง่ ผลตอ่ การผลิตในภาคเกษตรและความมนั่ คงดา้ นอาหารและ
น้า

 สถานการณ์ความม่ันคงโลก ประเทศมหาอานาจมแี นวโน้มใชอ้ านาจทางทหารและทางเศรษฐกิจเข้า
แทรกแซงกจิ การภายในของประเทศต่าง ๆ รวมถงึ ความขัดแย้งระหว่างประเทศดา้ นอาณาเขตแบบรฐั ต่อรฐั ทั้งด้าน
อาณาเขตทางบก การอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเล และภูมิรัฐศาสตร์เพ่ือผลประโยชน์และการแย่งชิงทรัพยากร
นอกจากนั้น การก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติและอาชญากรรมทางไซเบอร์จะทวีความรุนแรงและมีวิธีการที่
ซบั ซ้อนมากข้นึ

 สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการระบาดใหญ่
(Pandemic) ไปทั่วโลก เป็นการระบาดใหญ่ คือ การท่ีโรคติดเชื้อแพร่ระบาดจากคนสู่คนได้ง่าย โดยเกิดข้ึนพร้อม
กันในหลายพ้ืนท่ีท่ัวโลก และอาจเกิดข้ึนหลายระรอกกินเวลานานในการควบคุมโรค ส่งผลให้เกิดการติดเชื้อใน
หลายประเทศทว่ั โลกและเกิดการเสยี ชวี ิตจานวนมาก สรา้ งผลกระทบอย่างมหาศาล ซ่ึงส่งผลตอ่ เศรษฐกจิ การเข้า
ศึกษาตอ่ การทางาน การใช้ชวี ิตประจาวนั

บริบทภายในประเทศ
 สถานการณ์และแนวโน้มของสังคมไทย โครงสร้างประชากรไทยเปล่ียนแปลงเข้าสู่สังคมสูงวัย
อย่างสมบูรณ์เมื่อสิ้นสุดแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 โดยปี 2566 ประชากรวัยแรงงานจะมีจานวนสูงสุดและเริ่ม
ลดลงอย่างต่อเน่ือง คุณภาพคนไทยทุกกลุ่มวัยยังมีปัญหา คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทยยังอยู่
ในระดับค่อนข้างต่า ขณะที่คนไทยมีแนวโน้มเป็นโรคไม่ติดต่อมากขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต
รวมถึงปัญหาด้านสุขภาพในวัยผู้สูงอายุจะส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่ายภาครัฐ นอกจากนี้คนไทยส่วนใหญ่ยังมี
ปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรม และไม่ตระหนักถึงความสาคัญของระเบียบวินัย ความซื่อสัตย์ และการมีจิต
สาธารณะ
 การขับเคล่ือนประเทศด้วยแนวคิด Thailand 4.0 ซึ่งเป็นแนวคิดในการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง
เศรษฐกจิ ไปสู่ Value-Based Economy หรอื เศรษฐกิจที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม โดยเปลี่ยนจากการขับเคลื่อน
ประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม และ
เปล่ียนจากการเน้นภาคอุตสาหกรรมไปสู่การเนน้ ภาคบรกิ ารมากขึน้
 ความม่ันคงภายในประเทศ สถาบันหลักของชาติได้รับผลกระทบ จากความขัดแย้ง ที่มีรากฐานของ
ปัญหามาจากความเห็นต่างทางความคิดและความเหลอ่ื มล้าทางเศรษฐกิจและสังคม ขณะที่สถานการณ์ในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ยังมีการสร้างสถานการณ์โดยมีเป้าหมายให้เกิด ความสูญเสียต่อเจ้าหน้าท่ีรัฐ นอกจากนี้ยังต้อง
เผชิญกับมีความเสี่ยงจากปัญหาอาชญากรรมทางไซเบอร์ ท่ีปรับเปลี่ยนรูปแบบไปสู่การโจมตีระบบขององค์กร
ขนาดใหญ่ทีส่ ง่ ผลกระทบในวงกวา้ งและมีมูลคา่ ความเสียหายสงู
 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) เพื่อขับเคลื่อนประเทศให้มีขีดความสามารถในการ
แข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสถาบันอุดมศึกษา คือ การมุ่งเน้นการ

10

พัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ต้ังแต่ช่วงการต้ังครรภ์ วัยเรียน วัยรุ่น/นักศึกษา วัยแรงงาน และวัยผู้สูงอายุ เพ่ือ
สร้างทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีศักยภาพ มีทักษะความรู้ และความสามารถในการดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า รวมถึงการ
พฒั นาระบบการเรียนร้ทู ่ตี อบสนองตอ่ การเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 ทมี่ ุ่งเนน้ ผเู้ รยี นให้มีทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่
เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปล่ียนบทบาทครู การเพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัด
การศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวติ

 การพัฒนาประเทศในชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)
เช่น (1) การพัฒนานวัตกรรมและการนามาใช้ขับเคล่ือนการพัฒนาในทุกมิติ โดยกาหนดวาระการวิจัยแห่งชาติให้มี
จุดเน้นท่ีชัดเจนฯ (2) การเตรียมความพร้อมด้านกาลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรทุกช่วงวัย (3) การ
สร้างความเป็นธรรมและลดความเหล่ือมล้า มุ่งเน้นยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมโดยเฉพาะด้านการศึกษาและด้าน
สาธารณสุข (4) สง่ เสริมความเข้มแข็งของเศรษฐกิจกระแสใหม่ อาทิ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม การพัฒนา
วิสาหกจิ ตง้ั ใหม่ (Startup) เป็นตน้

 แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2580) กาหนดเป้าหมายไว้ 2 ด้าน คือ
(1) เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspiration) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) (2) เป้าหมายการจัดการศึกษา (Aspiration) 5 ประการ ได้แก่ (2.1) ประชากรทุกคน
เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access) (2.2) ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับ
บริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม (Equity) (2.3) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถ
พัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ (Quality) (2.4) ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มี
ประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาท่ีคุ้มค่าและบรรลุเป้าหมาย (Efficiency) (2.5) ระบบการศึกษาที่
สนองตอบและก้าวทนั การเปลี่ยนแปลงของโลกทเ่ี ปน็ พลวตั และบริบททีเ่ ปลย่ี นแปลง (Relevancy)

 คาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา
เมื่อวนั พฤหสั บดี ที่ 25 กรกฎาคม 2562

นโยบายหลกั 12 ด้าน
1. การปกปอ้ งและเชดิ ชสู ถาบนั พระมหากษตั ริย์สถาบนั พระมหากษัตริย์ มีนโยบายดาเนินการ คือ
(1) สืบสาน รักษา ต่อยอดศาสตร์พระราชาและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว (2) ต่อยอดการดาเนินการของหน่วยพระราชทานและประชาชนจิตอาสาพระราชทานตามแนว
พระราชดาริ (3) สร้างความตระหนักรู้ เผยแพร่ และปลูกฝงั ให้ประชาชนมีความรคู้ วามเข้าใจที่ถูกต้องและเป็นจริง
เกี่ยวกบั สถาบนั พระมหากษัตริย์และพระราชกรณยี กิจ
2. การสร้างความม่ันคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสขุ ของประเทศ มนี โยบาย
ดาเนินการ คือ (1) รักษาและป้องกันอธิปไตยและความม่ันคงภายในของประเทศ (2) ปลูกจิตสานึก เกียรติภูมิ และ
ศักด์ิศรีความเป็นชาติไทย การมีจิตสาธารณะ และการมีส่วนร่วมทาประโยชน์ให้ประเทศ รักษาผลประโยชน์ของ
ชาติ ความสามคั คี ปรองดองและความเอ้ือเฟอ้ื เผอ่ื แผ่ระหว่างกันของประชาชน (3) พัฒนาและเสรมิ สร้างการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่มีธรรมาภิบาล ความรักชาติและความ

11

เป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน (4) สร้างความสงบและความปลอดภัยต้ังแต่ระดับชุมชน (5) แก้ไขปัญหายาเสพติดอย่าง
จริงจงั ทั้งระบบ

3. การทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (1) ส่งเสริมวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของชาติ (2)
ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมกตัญญู ความซ่ือสัตย์ การมีวินัย เคารพกฎหมาย มีจิต
สาธารณะและการมสี ่วนรว่ ม ทาประโยชน์ให้ประเทศ และเป็นพลเมืองที่ดี (3) ทานบุ ารุงศาสนาให้มีความเข้มแข็ง (4)
สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน ยอมรับและเคารพใน
ประเพณี วฒั นธรรมของกลุ่มชาตพิ ันธุ์ และชาวต่างชาติท่มี ีความหลากหลาย ในลกั ษณะพหสุ ังคมทอี่ ย่รู ว่ มกนั

4. การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก (1) สร้างบทบาทที่สร้างสรรค์ของไทยในภูมิภาคและเวที
โลก (2) เสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นของอาเซียน (3) ส่งเสริมความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม
(4) ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้านความมั่นคง (5) ขับเคล่อื นงานการทตู เชงิ รกุ เพื่อประชาชน

5. การพฒั นาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย
5.1 เศรษฐกิจมหภาค การเงินและการคลัง (1) ดาเนินนโยบายการเงินการคลังเพื่อให้เศรษฐกิจ

ไทย สามารถตอบสนองต่อความผันผวนของเศรษฐกิจโลก (2) กากับดูแลวินัยการเงินการคลัง (3) ปฏิรูปโครงสร้าง
รายไดภ้ าครฐั (4) ปฏิรปู ระบบการออม (5) สรา้ งแพลตฟอร์มเพือ่ ใช้ในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย

5.2 พัฒนาภาคอุตสาหกรรม (1) พัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ
หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว [Bio-Circular-Green (BCG) Economy] (2) พัฒนาอุตสาหกรรมไทยให้สามารถ
ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีหรือแนวโน้มการค้าโลก (3) สร้างกลไกสนับสนุนการพัฒนาขีด
ความสามารถของผู้ประกอบการรายใหม่ (4) พัฒนาระบบและกลไกภาครัฐและสภาพแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ
ในการสนับสนุนผปู้ ระกอบการ

5.3 พฒั นาภาคเกษตร (1) รกั ษาเสถียรภาพราคาสินคา้ เกษตรและรายได้ให้กับเกษตรกรในสินค้า
เกษตรสาคัญฯ (2) ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตที่เหมาะสมและไม่ก่อให้เกิดภาระทางการเงินการคลัง
ของภาครัฐ (3) พฒั นาองคก์ รเกษตรกรและเกษตรกรรุ่นใหม่ (4) ส่งเสรมิ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินคา้ เกษตร (5)
ดแู ลเกษตรกรผู้มรี ายได้น้อยใหส้ ามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในท่ีดินทากิน แหล่งเงินทุน โครงสร้างพื้นฐาน
และปัจจัยการผลิตต่าง ๆ (6) ส่งเสริมการปลกู ไม้มีค่าเป็นพืชเศรษฐกิจ (7) ส่งเสริมการทาปศุสัตว์ให้เกษตรกรมี
รายได้เพิ่มขึน้ (8) ฟน้ื ฟแู ละสนับสนุนอาชพี การทาประมงให้เกดิ ความยง่ั ยนื ฯ

5.4 พัฒนาภาคการท่องเที่ยว (1) พัฒนาคุณภาพและความหลากหลายของแหล่งท่องเท่ียว
(2) ดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ รายได้สูง (3) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการ
ท่องเท่ียว (4) ดูแลความปลอดภัยของนักท่องเท่ียวอย่างเข้มงวด (5) ส่งเสริมให้เกิดการกระจายรายได้จากธุรกิจ
ท่องเท่ยี วสชู่ มุ ชน

5.5 พัฒนาการค้าการลงทุนเพื่อมุ่งสู่การเป็นชาติการค้า การบริการและการลงทุนในภูมิภาค
(1) ส่งเสริมการค้าชายแดนและแก้ไขปัญหาสินค้าชายแดน (2) ส่งเสริมธุรกิจการค้าปลีกพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(e-Commerce) ข้ามพรมแดน (3) ปรับปรุงระบบบรหิ ารจดั การการนาเขา้ ส่งออกสินค้าบริเวณดา่ นชายแดน

12

5.6 พัฒนาสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน (1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมให้ครอบคลุมพื้นที่
ท่ัวประเทศฯ (2) แก้ไขปัญหาจราจรติดขัดในพื้นท่ีเขตเมือง (3) เสริมสร้างความม่ันคงทางด้านพลังงานให้สามารถ
พึ่งพาตนเองได้ (4) ยกระดับโครงข่ายระบบไฟฟ้าและพลังงานให้มีความทันสมัย ทั่วถึง เพียงพอ มั่นคง และมี
เสถียรภาพ (5) พฒั นาระบบบริหารจัดการน้าประปา (6) แก้ปัญหาระบบระบายนา้ และระบบบาบัดน้าเสยี

5 . 7 พัฒนาโครงสร้ างพื้ นฐานด้ านดิจิ ทั ลและการมุ่ งสู่ การเป็ นประเทศอั จฉริ ยะ
(1) รักษาคล่ืนความถ่ีและสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมฯ (2) พัฒนาการอานวยความสะดวกเพื่อสนับสนุน
ธุรกิจ การค้า การนาเข้าส่งออก และโลจิสติกส์ในรูปแบบดิจิทัล (3) ส่งเสริมการค้าในรูปแบบพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์

5.8 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัยและพัฒนาและนวัตกรรม
(1) พัฒนาสภาพ แวดล้อมและระบบนิเวศที่เอื้อต่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และ
นวัตกรรม (2) พัฒนาสภาพ แวดล้อมและระบบ นิเวศที่เอ้ือต่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ
พัฒนา และนวตั กรรม (3) เสริมสร้างการใชป้ ระโยชนจ์ ากโครงสร้างพน้ื ฐานทางด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มี
อยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด (4) สนับสนุนการพัฒนาโรงงาน ห้องปฏิบัติการต้นแบบที่เป็นโครงสร้างพ้ืนฐานด้าน
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัยและนวัตกรรมในระดับตน้ น้า

5.9 ขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคใหม่ (1) พัฒนาระบบนิเวศเพื่อรองรับการขับเคล่ือนเศรษฐกิจยุค
ใหม่ (2) เร่งรัดพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมฯ (3) ส่งเสริมเยาวชนและบทบาทสตรีใน
การเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ (4) ดึงดูดบุคลากรท่ีมีทักษะสูงเข้ามาช่วยบ่มเพาะ
ผปู้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมยคุ ใหม่ของไทย

6. การพฒั นาพ้ืนทีเ่ ศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสู่ภมู ิภาค

6.1 สง่ เสริมพนื้ ท่ีเศรษฐกจิ พเิ ศษเพือ่ เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกจิ ของเอเชีย (1)

พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอย่างต่อเน่ือง (2) ส่งเสริมการพัฒนาพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้และการ

พัฒนาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ (3) เพม่ิ พืน้ ทีข่ บั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ แห่งใหมใ่ นภมู ภิ าค (4) เรง่ ขบั เคล่ือนการพฒั นาเขต

พัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษชายแดนอย่างตอ่ เน่ือง

6.2 ส่งเสรมิ และเร่งรัดการพัฒนาเมืองอจั ฉรยิ ะน่าอยู่ทัว่ ประเทศ

7. การพัฒนาสรา้ งความเขม้ แข็งจากฐานราก

7.1 ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนและผลิตภัณฑ์ชุมชน (1) สร้างมูลค่าเพิ่มธุรกิจชุมชนผ่าน

อัตลักษณ์ของพื้นท่ี (2) สนับสนุนความเข้มแข็งของวิสาหกิจชมุ ชนผ่านเทคโนโลยี (3) สร้างโอกาสและส่งเสริมการ

เข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยและบริการทางการเงินของวิสาหกิจชุมชน (4) ส่งเสริมการลงทุนในชุมชนเพ่ือสร้าง

งานในชุมชน (5) สร้างสภาพแวดลอ้ มท่เี อ้อื ตอ่ การดาเนินธุรกิจของวสิ าหกจิ ชุมชน

7.2 สร้างความเข้มแข็งของชุมชน (1) สร้างผู้นาชุมชน ยกย่องปราชญ์ ชาวบ้าน

(2) ยกระดับคุณภาพตลาดชุมชน สถาบันการเงินของชุมชนสวัสดิการชุมชน สาธารณสุขชุมชน ป่าชุมชน ไม้มีค่า

13

ท่องเทีย่ วชุมชน และส่งเสรมิ การขยายตลาดออกสู่ต่างประเทศ (3) แกไ้ ขปญั หาท่ีอยู่อาศัย ทีด่ ินทากนิ สรา้ งชมุ ชน
ทนี่ ่าอยู่ (4) สร้างพลงั ในชมุ ชน (5) สรา้ งเครือข่ายชมุ ชนทเี่ ขม้ แขง็

7.3 สง่ เสริมบทบาทภาคเอกชนในการชว่ ยพฒั นาสังคมและเศรษฐกิจฐานราก
8. การปฏิรูปกระบวนการเรียนรแู้ ละการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย

8.1 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย (1) จัดให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเน่ืองจนถึงเด็ก
วัยเรยี นใหม้ โี อกาสพัฒนาตามศักยภาพ (2) ส่งเสรมิ การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

8.2 พัฒนาบัณฑติ พันธุ์ใหม่ (1) ปรับรูปแบบการเรียนรู้และการสอนเพ่ือพัฒนาทักษะและอาชีพของ
คนทกุ ช่วงวัยสาหรับศตวรรษท่ี 21 (2) จัดการศึกษาเชิงบรู ณาการกับการทางานเพื่อพฒั นาสมรรถนะของผู้เรียน

8.3 พัฒนาอาชีวะ พฒั นาคณุ ภาพวชิ าชีพ และพฒั นาแรงงานรองรับอุตสาหกรรม 4.0
8.4 ดงึ ดดู คนเกง่ จากทวั่ โลกเขา้ มาร่วมทางานกับคนไทย และสง่ เสริมผมู้ ีความสามารถสูง
8.5 วิจัยและพัฒนานวัตกรรมท่ีตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ (1) ส่งเสริมการวิจัยและ
พัฒนานวัตกรรมเพื่อขจัดความเหล่ือมล้าและความยากจน (2) ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยขี ้นั สงู (3) สรา้ งเครือข่ายการทาวิจยั ระหว่างภาคส่วนตา่ ง ๆ
8.6 ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทุกช่วงวัย (1) มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการ
พฒั นาครู (2) พฒั นาแพลตฟอรม์ การเรียนรู้ผา่ นระบบดจิ ทิ ัล (3) ลดความเหลื่อมลา้ ทางการศึกษา (4) พฒั นาทักษะ
อาชพี ทกุ ช่วงวยั (5) สง่ เสรมิ หลกั คิดท่ถี ูกต้อง
8.7 จดั ทาระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสตู รระยะส้ัน
9. การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม 9.1 พัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
แพทย์สมัยใหม่ และแพทย์แผนไทย 9.2 ส่งเสริมการป้องกัน และควบ คุมปัจจัยเส่ียงต่อสุขภาพ 9.3 พัฒนาและ
ยกระดับความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) 9.4 สร้างหลักประกันทางสังคมท่ีครอบคลุมด้าน
การศกึ ษา สขุ ภาพ การมงี านทา ทีเ่ หมาะสมกับประชากรทกุ กลมุ่
10. การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาส่ิงแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน
10.1 ปกป้อง รักษา ฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า 10.2 ปรับปรุงระบบที่ดินทากินและลดความเหลื่อมล้าด้าน
การถือครองที่ดิน 10.3 ส่งเสริมการบริหารจัดการน้าทั้งระบบ แหล่งน้าชุมชน และทะเล 10.4 สร้างความมั่นคง
ของฐานทรัพยากรแร่ และทรัพยากรทางทะเล และชายฝ่ังเพ่ือการพัฒนาประเทศและเพ่ิมขีดความสามารถในการ
แขง่ ขัน 10.5 แก้ไขปญั หากา๊ ซเรือนกระจกและผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 10.6 พฒั นาระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อมภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน 10.7 พัฒนากลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 10.8 แกไ้ ขปัญหาการจัดการขยะและของเสยี อยา่ งเป็นระบบ
11. การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ 11.1 พัฒนาโครงสรา้ งและระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
สมัยใหม่ 11.2 ปรับเปลี่ยนกระบวนการอนุมัติ อนุญาตของทางราชการที่มีความสาคัญต่อการประกอบธุรกิจและ
ดาเนินชีวิตของประชาชนให้เป็นระบบดิจิทัล 11.3 พัฒนาระบบข้อมูลขนาดใหญ่ในการบริหารราชการแผ่นดิน
11.4 เปิดเผยข้อมูลภาครัฐสู่สาธารณะ 11.5 ส่งเสริมระบบธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการภาครัฐ 11.6 พัฒนา

14

กลไกให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาบริการสาธารณะและการตรวจสอบภาครัฐ 11.7 ปรับปรุงระเบียบ
กฎหมาย เพื่อเอื้อต่อการทาธุรกิจและการใช้ชีวิตประจาวัน (1) ปรับปรุงขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ การ
อานวยความสะดวก ตน้ ทุนค่าใชจ้ า่ ย กฎหมาย กฎ และระเบยี บต่าง ๆ ของภาครฐั (2) ส่งเสรมิ ให้หน่วยงานภาครัฐ
จัดให้มีสนามทดลองแนวคิดทางธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมใหม่ภายใต้การกากับดูแลของหน่วยงาน (3)
ส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าที่เสรีและเป็นธรรม 11.8 กระจายอานาจ ความรับผิดชอบ และเพ่ิมบทบาทการ
ปกครองขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ และส่งเสริมบทบาทของเอกชนและชุมชนในการใหบ้ ริการสาธารณะ

12. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการยุติธรรม
12.1 แกไ้ ขปญั หาทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ 12.2 ปฏิรปู กระบวนการยตุ ิธรรม
1.4 ผลการประเมนิ ตนเองและการกาหนดกลมุ่ ยุทธศาสตร์ ของมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

กล่มุ ที่ 1 : พัฒนาการวิจัยระดับแนวหน้าของโลก (Global and Frontier Research)

15

ขอ้ มลู นาเขา้ ลาดับท่ี ผล ระดบั ผลการดาเนินงาน
ลพั ธ์ 12345
รายการตวั ชว้ี ัด 12
4.27 √
ตวั ชีว้ ัดผลการดาเนนิ งาน (Performance indicators)
4.40 √
1. อตั ราการอา้ งอิงของผลงานทไี่ ดร้ ับการตพี ิมพ์ (Citation 29,299 6,857 4.47 √
2.39 √
/Publication) ครง้ั เร่อื ง 71.40
5.04 √
1. จานวนอัตราการอ้างอิงของผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ √
26.96
ในฐานขอ้ มลู ทไี่ ด้รับการยอมรับระดับนานาชาติ √
19.65
2. จานวนผลงานทไี่ ด้รับการตีพิมพ์ √
8.43
Health Science 14,352 3,262 21.21 √
38.53 √
Science & Technology 14,999 3,352 32.65 √

Social & Humanities 1,897 795 %

2. ชอ่ื เสยี งของสถาบนั อดุ มศกึ ษา (Academic Reputation) 71.40 - 37.49 √
29.62 √
1. คะแนนทไ่ี ดจ้ ากการสารวจชือ่ เสียงของสถาบนั 24.28

3. การเคลื่อนยา้ ยของอาจารย์ & นกั ศึกษา 1,748 34,664

(Staff & Student Mobility) คน คน

1. จานวนอาจารย์/นกั วจิ ยั /นักศกึ ษาแลกเปลย่ี น

2. จานวนนกั ศึกษาทั้งหมด

4. รางวลั ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตริ ะดับชาติและ/หรือนานาชาติ 553 2,051

ของบุคลากร ตอ่ จานวนอาจารย์/นกั วจิ ัยทั้งหมด (Prize คน คน

winner)

1. ผลรวมคา่ ถว่ งน้าหนกั รางวลั ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติ

2. จานวนอาจารย/์ นักวิจัยท้งั หมด

ตัวชี้วัดศกั ยภาพองคก์ ร (Potential indicators)

5. จานวนอาจารยต์ ่อนกั ศกึ ษา (Staff & Student Ratio) 40,136 2,043

1. จานวนนกั ศึกษาท้ังหมด คน คน

2. จานวนอาจารย์ท้งั หมด

Health Science 7,413 879

Science & Technology 14,846 700

Social & Humanities 17,877 464

6. ความร่วมมอื วจิ ัยระดบั นานาชาติ (Active International 2,239 6,857

Research Collaboration) บทความ บทความ

1. จานวนบทความวิจัยทมี่ ีความร่วมมือกบั นานาชาติ

2. จานวนบทความวจิ ยั (Paper) ตพี มิ พใ์ นฐานขอ้ มลู Scopus

Health Science 1,223 3,262

Science & Technology 993 3,352

Social & Humanities 193 795

16

ข้อมลู นาเขา้ ลาดบั ท่ี ผล ระดับผลการดาเนนิ งาน

รายการตวั ช้ีวดั 1 2 ลพั ธ์ 1 2 3 4 5

7. คา่ เฉล่ียจานวนครงั้ ทไี่ ด้รับการอา้ งอิงเท่ากบั หรอื มากกว่า 7,325 2,043 4.04 √

จานวนผลงานวิจยั (H-index Faculty)

1. H-index รวมของอาจารย์และนกั วจิ ัย

2. จานวนอาจารยแ์ ละนักวจิ ัยทงั้ หมด

Health Science 4,380 879 4.98 √

Science & Technology 2,710 700 3.87 √

Social & Humanities 235 464 0.51 √

8. งบประมาณดา้ นการวจิ ัยต่อหัวของบุคลากร (Research 1,124 2,015 557,816 √

Funding/Faculty) ล้านบาท คน

1. งบประมาณดา้ นการวจิ ยั

2. จานวนอาจารยแ์ ละนกั วิจัยทั้งหมด

กลุม่ ที่ 2 : การพฒั นาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)

รายการตัวชว้ี ัด ข้อมูลนาเขา้ ลาดบั ที่ ผลลัพธ์ ระดบั ผลการดาเนินงาน
3.68 12345
12

1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ (Student 295 8,025

and Graduate Entrepreneur) คน คน

1. จานวนนักศึกษา/บัณฑิตศึกษาที่เป็น

ผปู้ ระกอบการ (5 ปีการศกึ ษา)

2. จานวนนกั ศึกษาทกุ ชน้ั ปี (5 ปีการศกึ ษา)

17

รายการตัวช้วี ัด ข้อมลู นาเขา้ ลาดับที่ ผลลพั ธ์ ระดบั ผลการดาเนนิ งาน
0.14 12345
12 0.41
8.63 √
2 รางวัลดา้ นผปู้ ระกอบการ (Startup Awards) 11 8,025 5.00 √

1. ผลรวมถ่วงนา้ หนกั รางวัลด้านผู้ประกอบการใหม่ คน 3.28 √

2. จานวนผ้สู าเรจ็ การศึกษาทั้งหมด

3 งบประมาณจากแหล่งทุนภายนอกสนับสนนุ การ 68.2099 165.6574

สรา้ งผปู้ ระกอบการ/ธุรกจิ ใหม่ (Startup Co- ล้านบาท ล้านบาท

Investment Funding)

1. จานวนงบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก

สนบั สนนุ สรา้ งผู้ประกอบการใหม่

2. จานวนงบประมาณทั้งหมด

4 บุคลากรสถาบันอดุ มศกึ ษาแลกเปลยี่ นความรูส้ ู่ 177 2,051

ภาคธุรกิจ/อตุ สาหกรรม (Talent/Academic คน คน

Mobility Consultation)

1. จานวนอาจารย์และนักวจิ ยั ทแ่ี ลกเปล่ยี น

ความรู้สภู่ าคธุรกจิ /อุตสาหกรรม

2. จานวนอาจารยแ์ ละนักวจิ ัยทงั้ หมด

5 ระบบนเิ วศน์ด้านเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเพอื่ 5 -

เรง่ พฒั นาผปู้ ระกอบการในสถาบันอุดมศึกษา

(Technological/ Innovation-Driven

Entrepreneurial Ecosystem)

1. มีการดาเนินงานด้านเทคโนโลยีและ

นวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการใน

ระดับสถาบัน ดังน้ี A - มีนโยบายส่งเสริม

ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม

เพอ่ื เรง่ พฒั นาผู้ประกอบการ

B - มีเครอื ขา่ ยผปู้ ระกอบการดา้ นเทคโนโลยี

และนวัตกรรม เพ่ือเร่งพฒั นาผ้ปู ระกอบการ

C - มีโครงการ/กิจกรรมด้านเทคโนโลยีและ

นวัตกรรม เพ่อื เรง่ พฒั นาผ้ปู ระกอบการ

D - มีรายวิชาเฉพาะด้านเทคโนโลยีและ

นวตั กรรม เพื่อเรง่ พัฒนาผ้ปู ระกอบการ

E - มี Platform กลางด้านเทคโนโลยีและ

นวัตกรรม เพือ่ เรง่ พฒั นาผปู้ ระกอบการ

6 หลกั สตู ร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/ 11 335

นวตั กรรมเพ่ือพฒั นาความเป็นผูป้ ระกอบการ หลักสตู ร หลักสตู ร

(Technological/ Innovation- Driven

Entrepreneurial Education)

18

รายการตวั ชว้ี ัด ขอ้ มูลนาเข้าลาดับท่ี ผลลัพธ์ ระดบั ผลการดาเนนิ งาน
0.34 12345
12 30.37

1. จานวนหลกั สตู ร/โปรแกรมเฉพาะที่ใชเ้ ทคโนโลยี/

นวตั กรรมเพ่ือพัฒนาความเป็นผปู้ ระกอบการ

2. จานวนหลกั สูตร/โปรแกรมทง้ั หมด

7 งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/นวตั กรรมเพือ่ 55.5935 165.6574

พฒั นาความเป็นผู้ประกอบการของ ลา้ นบาท ลา้ นบาท

สถาบนั อุดมศึกษา(Technological/Innovative

Development Funding)

1. ผลรวมงบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/

นวตั กรรมเพอ่ื พัฒนาความเป็นผูป้ ระกอบการ

2. งบประมาณทงั้ หมด

8 ความร่วมมือเพ่ือพัฒนาผปู้ ระกอบการและส่งเสรมิ การ 82 270

สร้างนวตั กรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรมของ ฉบับ ฉบับ

สถาบันอุดมศึกษา(University - Industry Linkage)

1. ผลรวมถ่วงน้าหนกั ความรว่ มมอื กับภาค

ธรุ กิจ/อุตสาหกรรม

2. จานวนความร่วมมือกบั หน่วยงานภายนอก

ทั้งหมด

กล่มุ ที่ 3 : การพฒั นาชมุ ชนเชิงพ้ืนท่ี (Area Based and Community)

19

รายการตวั ชว้ี ัด ขอ้ มลู นาเขา้ ลาดบั ท่ี ผลลพั ธ์ ระดบั ผลการดาเนินงาน
12 20.85 12345
1 รอ้ ยละการได้งานทาในพืน้ ท่หี รอื ภมู ิภาคของ 1,673 8,025 100
บณั ฑติ (Percentage of Graduates 21.89 √
Employed in the Region) 169 169
1. จานวนผู้สาเรจ็ การศึกษาท่ีมีถ่ินฐานใน โครงการ โครงการ 200 √
ภูมิภาค และได้ทางานในพ้นื ทหี่ รือภูมิภาค 58.51 √
2. จานวนผูส้ าเรจ็ การศึกษาทั้งหมด 37 169 3.59
โครงการ โครงการ 87.16 √
2 การพัฒนาเชงิ พื้นที่ (AreaBasedDevelopment) √
1. จานวนโครงการด้านการบรกิ ารวชิ าการ หรือ 200 - √
โครงการท่ตี อบสนองต่อ Area-Based 196 335
2. จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการทัง้ หมด หลกั สูตร หลักสตู ร √
57 1,586
3 การมีสว่ นร่วมของบุคคลหรอื หน่วยงานในชุมชน หลักสตู ร หลกั สูตร
พ้ืนที่ หรือภูมภิ าค (Non Age Group 292 335
Participation) หลกั สตู ร หลกั สูตร
1. จานวนโครงการหรือกจิ กรรมที่บคุ คล ชุมชน
หรือหน่วยงานทง้ั ภาครัฐและเอกชนในพ้ืนท่มี ี
ส่วนร่วมในโครงการหรือกจิ กรรมเพื่อแก้ไข/
ลดปญั หา/ส่งเสริมการเรยี นรู้ของชุมชน
สงั คม/การน้อมนาแนวพระราชดารสิ ู่การ
ปฏบิ ัติ
2. จานวนโครงการหรือกิจกรรมเพ่อื แกไ้ ข/ลด
ปัญหา/ส่งเสริมการเรยี นร้ขู องชุมชน สังคม/
การน้อมนาแนวพระราชดารสิ ู่การปฏบิ ัติ
ท้ังหมด

4 ความยง่ั ยืนของสถาบนั อุดมศกึ ษา ชุมชนและ
สงั คม (Green/Sustainability)
1. ผลการจดั อันดับตาม THE Impact Ranking

5 ความสอดคลอ้ งของหลักสูตร (Curriculum
Alignment)
1. จานวนหลักสูตรเชงิ พื้นที่
2. จานวนหลกั สูตรท้งั หมด

6 การวจิ ยั และบริการวิชาการเพือ่ การพฒั นาใน
พนื้ ที่ภูมิภาค (Research/Service in Region)
1. จานวนผลงานทางวิชาการรบั ใช้สงั คม
2. จานวนผลงานทางวิชาการทัง้ หมด

7 การมสี ่วนร่วมของสงั คมและชมุ ชน (Inclusive
Community)

20

รายการตัวช้วี ัด ข้อมูลนาเข้าลาดับที่ ผลลพั ธ์ ระดบั ผลการดาเนนิ งาน
12 0.86 12345
1. จานวนหลกั สตู รทช่ี ุมชน/ปราชญ์ชุมชน ผู้ใช้
บัณฑิต องค์กร/หน่วยงานในพืน้ ท่มี ีส่วนรว่ ม 142.6028 16,565 √
ในการจัดการศกึ ษา ล้านบาท ลา้ นบาท

2. จานวนหลักสูตรทง้ั หมดของสถาบัน
8 การบูรณาการงบประมาณจากภาครัฐและเอกชน

ในการดาเนนิ งานเพื่อพฒั นาชุมชนและสังคมใน
พ้ืนที่ (Integrated Government Budget)
1. จานวนเงินจากภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนา

ชมุ ชนและสงั คมในพ้ืนที่
2. จานวนงบประมาณท้งั หมด

กลุ่มที่ 4 : ผลติ และพัฒนาบคุ ลากรวิชาชีพและสาขาจาเพาะ (Development of Professionals and Specialists)

21

ชอื่ ตัวช้วี ดั ขอ้ มูลนาเข้าลาดับที่ ผลลพั ธ์ ระดบั ผลการดาเนนิ งาน
61.26 12345
12
13.90 √
1 ร้อยละของผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาที่ประกอบอาชีพ 3,481 5,682
0.82 √
หลังสาเรจ็ การศึกษา (Percentage of คน คน 98.78

Graduates being Employed after √

Graduation)

1. จานวนผ้สู าเรจ็ การศึกษารอบปีการศึกษาที่

ผ่านมาที่ตอบแบบสารวจวา่ มีงานทาหลังจบ

การศกึ ษาในเวลา 6 เดือน

2. จานวนผสู้ าเร็จการศึกษาท่ีตอบแบบสอบถาม

จากสถาบันแต่ละแห่ง

2 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาท่ีทางานใน 790 5,682

อุตสาหกรรมมูลค่าเพ่ิมสูง (Percentage of คน คน

Graduates in High Value-added Sectors)

1. จานวนผู้สาเร็จการศึกษารอบปีการศึกษาท่ีผ่าน

มาทีท่ างานในกลุม่ อตุ สาหกรรมมลู ค่าเพม่ิ สงู

2. จานวนผูส้ าเร็จการศกึ ษาที่ตอบแบบสอบถาม

ทง้ั หมด

3 ร้อยละของผู้จ้างงานที่พอใจอย่างย่ิงในคุณลักษณะ N/A N/A

ของบัณฑิต (Percentage of Highly Satisfied

Employers)

1. จานวนผตู้ อบแบบสอบถามความพึงพอใจของ

ผ้ใู ช้บณั ฑติ ทใี่ ห้คะแนนสงู สุด 2 ระดับแรก

จากแบบสอบถาม 10 ระดบั *

2. จานวนผตู้ อบแบบสอบถามทั้งหมด*

4 อัตราส่วนของเงินสนับสนุนตอ่ งบดาเนินการ 135 16,565

(Beneficiary Contribution to Operating Expenses) ล้านบาท ลา้ นบาท

1. จานวนเงินสนับสนนุ เพอ่ื การจัดการศกึ ษาท่ี

ได้รับในแต่ละปกี ารศึกษา

2. จานวนงบประมาณทง้ั หมด

5 รอ้ ยละของหลกั สตู รท่ไี ด้รับการรบั รอง 324 328

ประสทิ ธิผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานระดบั ชาติ หลักสตู ร หลกั สตู ร

และนานาชาติ (Percentage of Curricular

with Certified Learning Outcomes)

1. ผลรวมถว่ งนา้ หนกั ของหลกั สูตรที่ผ่านการ

ตรวจรบั รองมาตรฐาน

2. จานวนหลกั สตู รทั้งหมด

22

ชื่อตัวชว้ี ัด ข้อมลู นาเขา้ ลาดบั ท่ี ผลลพั ธ์ ระดบั ผลการดาเนินงาน
38.51 12345
12
51.56 √
6 รอ้ ยละของหลกั สูตรทจ่ี ัดการเรียนรูผ้ ่านการ 129 335 97.60

ปฏบิ ตั ิงานจริง (Percentage of Curricular หลกั สตู ร หลักสตู ร

with Work-Integrated Learning)

1. จานวนหลักสตู รท่ีจัดการเรยี นรผู้ า่ นการ

ปฏบิ ตั งิ านจรงิ

2. จานวนหลกั สตู รทงั้ หมด

7 รอ้ ยละของผู้สอนทม่ี ีคุณภาพสูง (Percentage 1,039 2,015

of High Quality Learning Facilitators) คน คน

1. ผลรวมถว่ งนา้ หนักของจานวนอาจารยต์ าม

ระดบั ตาแหน่งวิชาการ

2. จานวนอาจารย์ทั้งหมด

8 อตั ราการคงอยขู่ องผเู้ รียน(Students Retention Rate) 9,488 9,721

1. จานวนนกั ศึกษาแรกเขา้ ท่ลี งทะเบียนเรยี น คน คน

อยา่ งตอ่ เนือ่ งเม่ือข้นึ ทะเบียนในหลกั สูตรเป็น

ระยะเวลา 1 ใน 4 ของหลกั สตู ร

2. จานวนนักศึกษาแรกเขา้ ในหลกั สตู ร

หมายเหตุ : เครื่องหมาย (*) หมายถึง การประเมินความพึงพอใจของผ้จู ้างงานทีม่ ีตอ่ คณุ ลักษณะของบณั ฑติ (Percentage of Highly Satisfied
Employers) ดาเนนิ การโดยหลักสูตร ไม่มกี ารรวบรวมข้อมลู นาเขา้ ลาดบั ที่ 1 และ 2

23

ส่วนที

2

แผนการพลกิ โฉมสถาบนั อุดมศึกษา
ของมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2565 – 2569)

สว่ นท่ี 2
แผนการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยขอนแกน่

ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569)

2.1 จดุ เน้น ทิศทาง และเปา้ หมายตามสาขาความเช่ยี วชาญ

2.1.1 สาขาความเชี่ยวชาญท่มี ุ่งเนน้

ความเชย่ี วชาญด้านการเรยี นการสอน

สถานะปัจจุบนั (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ทแี่ สดงจดุ เด่น

เพ่ือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ชาติและสอดคล้องกับทิศทาง

ความต้องการการพัฒนากาลังคนของประเทศได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยได้ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ เพื่อการ

เปล่ียนแปลงด้านการศึกษา (Education Transformation)

ดงั ตอ่ ไปนี้

1) มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ด้านหลักสูตรและการเรียน 1) มีหลักสูตรที่สอดคล้องกับกระบวนทัศน์ใหม่ของ

การสอน จากที่เน้นการสอนความรู้ (Teaching Paradigm) มหาวิทยาลัย ท่ไี ดร้ บั การสนับสนนุ งบประมาณจากโครงการ

ไปเป็นกระบวนทัศน์ท่ีเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน บัณฑิตพนั ธ์ุใหม่ ในปี 2562-2564 จานวน 14 หลกั สตู ร

(Learning Paradigm) • นักศึกษาที่ได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติงานจริงใน

• มีการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติงานจริงใน สิ่งแวดล้อมจริงในโครงการสหกิจศึกษาและสหกิจ

สิ่งแวดลอ้ มจรงิ (Experiential Learning) โดยเชื่อมโยง ศึกษาอาเซียน เป็นจานวน 268 คน โดยงบประมาณ

การสร้างประสบการณ์ดังกล่าวรว่ มกับภาคเอกชน สนบั สนุน ปี 2562-2564 จานวน 12 ล้านบาท

• มกี ารพัฒนาหลักสูตรใหเ้ ปน็ หลกั สูตรนานาชาติ และเปน็ • มีหลักสูตรนานาชาติ และหลกั สตู ร 2 ปริญญามากข้ึน

ระบบ 2 ปรญิ ญาทรี่ ่วมกบั มหาวิทยาลัยในต่างประเทศ • อัตราการได้งานทาของบัณฑิตทั้งในประเทศและ

ต่างประเทศสงู ขน้ึ

• ผลการจัดอันดับ QS World Ranking: Teaching

เปน็ อันดบั 1 ของประเทศ

2) มีหลักสูตรที่มีการจัดกระบวนการทางการศึกษาเพื่อให้เกิด 1) มีหลักสูตรประเภท non-Degree ท่สี อดคลอ้ งกบั การจัดการ

การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Education) โดยเป็นการ กระบวนการทางการศึกษาเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

จัดการศึกษาในรูปแบบของการศึกษาในระบบ (Formal (Lifelong Education) ของมหาวิทยาลัย ท่ีได้รับการ

Education) ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ( Non-formal สนับสนุนงบประมาณจากโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ ในปี

Education) แ ล ะ ก าร ศึกษา ตามอัธยาศั ย ( Informal 2562-2564 จานวน 12 หลกั สตู ร

24

สถานะปจั จบุ นั (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ข้อมูลเชงิ ประจกั ษท์ แี่ สดงจุดเดน่

Education) ม่งุ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดแรงจูงใจที่จะเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 2) มผี ู้เรยี นกลุ่มอน่ื ท่ีนอกเหนอื จากนกั ศกึ ษาระบบปกติ มาเขา้

(Self-Direction Learning) และสามารถพัฒนาตนเองให้ เรียนหลกั สตู ร non-Degree เพอ่ื ทบทวนทักษะการทางาน

ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม การเมือง และ (Re-Skills) และเพิ่มทกั ษะในการทางาน (Up-Skills) ในปี

เศรษฐกิจของโลก โดยสามารถจัดไดท้ ้ังในรูปแบบ Degree, 2562-2564

Non-Degree หรอื อื่น ๆ

3) การพัฒนาหลักสูตรใหม่ (New Curriculum) เพ่ือสรา้ งอาชพี 1) จานวนหลักสูตรใหม่ ท่ีมีการบูรณาการระหว่างสาขาวิชา

ใหม่ตามความตอ้ งการของสังคม และบูรณาการขา้ มศาสตร์ จานวน 5 หลกั สูตร

• หลักสูตรบรู ณาการระหว่างสาขาวิชา ได้แก่

- สาขาวิชาวิทยาการข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์

คณะวทิ ยาศาสตร์

- สาขาวชิ าวิศวกรรมระบบอตั โนมตั ิ ห่นุ ยนต์ และ

ปัญญาประดษิ ฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์

• หลักสตู รบรู ณาการขา้ มศาสตร์ ไดแ้ ก่

- หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาผู้ประกอบการ

ดิจิทัล (ซ่ึงเกิดจากการบูรณาการระหว่าง 6 คณะ

ไ ด้ แ ก่ ค ณ ะ บ ริห ารธุรกิจแ ละกา รบัญ ชี ค ณะ

ศึกษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะ

เทคโนโลย)ี

- หลักสูตรนานาชาติ Master of Science Program In

International Technology and innovation

Management (ซึ่งเกิดจากความร่วมมือของวิทยาลัย

นานาชาติ คณะวิทยาศาสร์ คณะเทคโนโลยี และ

Science Park)

- หลักสูตร Master Degree in AI for Education (ซ่ึง

เกิดจากความร่วมมือของคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะ

วิทยาศาสตร์ คณะนติ ิศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะ

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์

คณะศึกษาศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ) https://vconf.kku.ac.th/ai-

experiential

25

สถานะปัจจุบัน (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ข้อมูลเชงิ ประจกั ษท์ ่ีแสดงจดุ เด่น

4) มีการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่มีออกแบบ 1) มีการจัดตง้ั หนว่ ยงานสนับสนนุ การจดั การเรยี นการสอน

บทเรยี นให้เนน้ การเรยี นรู้ด้วยตนเองของผเู้ รยี น มโี ครงสร้าง ออนไลนเ์ ตม็ รปู แบบ ดังต่อไปนี้

ของบทเรียนในสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างเวลาท่ีใช้ในการ • เตรียมการจัดต้ังหน่วยงาน KKU Academy เพ่ือ
พบผู้สอนทาง Virtual Classroom ในรูป คลิปวีดิโอ การ สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์เต็ม
อภิปราย การนาเสนองาน และมีระบบการบริหารจัดการ รปู แบบทั้งในระดบั มหาวิทยาลัย (Virtual University)
การเรียนรู้ภายใต้ระบบการบริหารจัดการการเรียนรู้
(Learning Management System: LMS) ท่ีบูรณาการท้ัง • เตรียมการจัดตั้งคลงั หน่วยกิตเพ่ือสนับสนุนท้ังการจดั
การเรียนปกติ และหลักสูตรเสริมเพ่ิมมากข้ึน และสามารถ การศึกษาตลอดชีวิต และการจัดการเรียนการสอน
เข้าเรียนได้ตลอดเวลา ทุกสถานท่ี มีประชาชนท่ัวไป และ แบบออนไลน์
กลุ่มคนทางานเขา้ มาเรียนร้แู ละใช้งานมากขึ้น
• มีจานวนผู้ใช้งานการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์มี
สดั ส่วนที่สงู ขึ้นทงั้ จากนักศึกษามหาวิทยาลยั ขอนแก่น

ประชาชนท่ัวไป และกล่มุ คนทางานมากข้นึ

5) นักศึกษามีทักษะท่ีพร้อมท้ังด้านการทางานเชิงวิชาชีพ และ 1) นักศึกษามหาวิทยาลยั ขอนแก่นได้รับการยอมรับในการเป็น

การเป็นผู้นาสังคม การทางานร่วมกับสังคมอย่างเต็ม เป็นผู้นาทัง้ ในระดับชมุ ชน ระดบั ประเทศ

ประสทิ ธิภาพ

6) นักศึกษามีความสามารถในการทางานแบบเครือข่ายทั้งใน 1) นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่ได้งานทาในต่างประเทศ

ประเทศและในต่างประเทศ มีความสามารถในการ มากขน้ึ อย่างมนี ยั สาคญั

ติดต่อส่ือสารกับชาวต่างประเทศ และสามารถทางานเป็น

ทีมในระดับโลกได้

ความเช่ียวชาญด้านการวจิ ัย

สถานะปจั จบุ ัน (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ข้อมลู เชงิ ประจกั ษท์ ี่แสดงจุดเด่น

1) สาขาท่ี 1 การแพทย์และสาธารณสุข 1) นักวิจัยได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ มีผลงานวิจัยที่มี

 การบรู ณาการองค์ความรแู้ ละการทางานกับทุกภาค คุณภาพ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในพ้ืนท่ีได้อย่างชัดเจนและ

สว่ นในการควบคุมพยาธิใบไมต้ ับและมะเรง็ ทอ่ น้าดใี น เป็นนโยบายประเทศได้ เช่นโครงการ Fluke free Thailand มี

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื การสร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยชั้นนาจานวนมาก เช่น

 การบูรณาการองคค์ วามรู้และการทางานกบั ทกุ ภาค Imperial college London, George Washington University,

สว่ นในการแกไ้ ขปญั หาโรคไตเรื้อรงั ในภาค Harvard university, National University of Singapore การ

ตะวันออกเฉียงเหนือ ผลิตชุดตรวจโรค เชิงพาณิชย์ เช่น พยาธิตัวจี้ด พยาธิใบไม้ใน

 การพัฒนานวตั กรรมชดุ ตรวจโรคเขตร้อน ได้แก่ โรค ปอด สตรองจิลอยดสิ แคปิลลาเรยี พยาธใิ บไม้ตับ เปน็ ตน้

พยาธิต่าง ๆ ท่พี บไดใ้ นเขตรอ้ น โรคไขเ้ ลือดออก และ

โรคจากเช้อื ไวรัสอื่น ๆ

26

สถานะปัจจุบนั (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ข้อมูลเชิงประจกั ษท์ ่แี สดงจุดเดน่

2) สาขาท่ี 2 พลงั งาน 2) นักวิจัยได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ รางวัลนักวิจัยดีเด่น

 พลังงานทดแทน เชน่ พลังงานทดแทนจากแกลบโดย แห่งชาติ ด้านเกษตรศาสตร์และชีววิทยา มีผลงานวิจัยท่ีมี

ใชน้ าโนซลิ กิ อนมาพฒั นาเปน็ ข้ัวแบตเตอรี่ คุณภาพ สามารถนาไปประยุกต์ใช้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้

 พลงั งานทดแทนจากออ้ ยและมนั สาปะหลงั ในการผลติ เช่น battery pilot plant โดยใช้วัสดุจากแกลบ มีความร่วมมือ

ไฮโดรมีเทนเพื่อเปน็ พลังงานทางเลอื ก กับภาคเอกชน เช่น PICO และอื่นๆ นอกจากน้ียังไปเพ่ิมรายได้

 การพฒั นาวัสดเุ ศษเหลอื จากการเกษตรและโรงงาน ให้กับเกษตรกร

อตุ สาหกรรมมาผลติ เปน็ พลังงานทดแทน

3) สาขาท่ี 3 การเกษตรสมยั ใหม่ 3) นักวิจัยได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ เช่น ไก่ 3 Low

 การพัฒนาและปรับปรุงสายพันธพ์ุ ืช เชน่ ขา้ วโพด อาหารคุณภาพ เกาตก์ ินได้

ถัวลิสง ขา้ ว ฯลฯ ( https: / / www. thaipost. net/ main/ detail/ 39785)

 การพัฒนาและปรบั ปรงุ สายพันธส์ุ ตั ว์เศรษฐกจิ เช่น ไก่ มีผลงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ สามารถนาไปนาไปใช้ประโยชน์เชิง

พ้ืนเมือง โคเน้ือ โคนม แมลง ฯลฯ พาณิชย์ มีความร่วมมือกับภาคเอกชน เบทาโก ZEN ประชารัฐ

ตะนาวศรี เช่น นม A2 ไก่ KKU1 ข้าวโพดม่วง และอ่ืนๆ และ

สง่ ผลใหก้ บั การเพ่ิมรายไดใ้ หก้ ับเกษตรกร ในพืน้ ท่ี

4) สาขาที่ 4 การศึกษาและการเรยี นรู้

• การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาทักษะสาหรับ • ม ห า วิทย าลัย ขอนแก่นร่วม กับ University of Tsukuba

ศตวรรษที่ 21 โดยใช้นวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียน ประเทศญี่ปุ่น รับผิดชอบโครงการ APEC-Lesson Study

(Lesson Study) ใน APEC HRDWG ภายใต้ APEC HRDWG (https://www.criced.tsukuba.ac.jp/en/)

ต้งั แต่ปี 2006 - ปจั จุบัน นับเป็นโครงการเดียวที่ยาวนานทส่ี ดุ ใน

เอเปค โดยดาเนินการร่วมกับสานักยุทธศาสตร์อุดมศึกษา

ต่างประเทศของ สกอ.(เดิม) และกระทรวงการต่างประเทศ

ปจั จุบนั มีสมาชกิ เข้าร่วมทั้งหมด 21 สมาชกิ ในกลมุ่ เอเปค มกี าร

บันทึกใน Joint Statement ของการประชุมรัฐมนตรีเอเปคใน

ปี 2012 ที่เมืองเคียงจู ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ชื่นชม

University of Tsukuba ประเทศญ่ีปุ่น และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ท่ีดาเนินโครงการดังกล่าวและส่งผลกระทบต่อการใช้นวัตกรรม

การสอนคณติ ศาสตรใ์ นโรงเรียนของสมาชิกในกลมุ่ เอเปค

27

สถานะปจั จุบนั (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษท์ แ่ี สดงจุดเด่น

• โครงการวจิ ยั และพัฒนาทกั ษะการคิดที่จาเป็นสาหรับ • ในปี 2019 ได้รับอนุมัติจาก APEC HRDWG ให้ดาเนินโครงการ

การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคท่ี 4 (Thinking Skills for HRD 01/2018 InMside I “Inclusive Mathematics for

the 4th Industrial Revolution) Sustainability in a Digital Economy” Project time

period: January 1, 2019 – December 31, 2020

• ในปี 2020 ได้รับอนุมัติจาก APEC HRDWG ให้ดาเนินโครงการ
HRD 05/2019 InMside II “Informatics and Data Science
Education Reform for Digital, Inclusive and Sustainable
Society” Time period covered in report: April, 2020 –
March, 2021 ซึ่งโครงการทง้ั สองได้รับการประเมนิ ว่ามคี วามสาคัญ

เป็นอันดบั 1 ใน APEC HRDWG

• บันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื ทางวชิ าการ (MOU) ระหว่างบริษทั
Toyo System ประเทศญปี่ ุ่น, The Mathematics Certification
Institute ประเทศญปี่ ุ่น,มลู นิธิการศึกษาเพื่อการพฒั นาทกั ษะ

การคดิ และมหาวิทยาลยั ขอนแกน่

• โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
รว่ มกับ National Institute for School Teachers and Staff

Development ประเทศญี่ปนุ่

• โครงการ 30 ปี (2000 – 2030) เพื่อการวิจัยและ • ร่วมจดั ตงั้ ศูนยค์ วามเป็นเลิศดา้ นคณติ ศาสตรร์ ่วมกับ จฬุ าลงกรณ์

พัฒนานวัตกรรมด้านคณิตศาสตรศึกษาสาหรับ มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยมหิดล และวิจัยและพัฒนา

ประเทศไทย วิ ช า ชี พ ค รู ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ แ ท น ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม ร ะ ย สั้ น

(http://cem.sc.mahidol.ac.th/)

• ผลิตนักคณิตศาสตรศึกษาจานวน 40 คน และทางานร่วมกันใน
เครอื ข่ายสถาบันผลติ จานวน 14 แห่งทั่วประเทศ

• ดาเนินโครงการ CANP Project ร่วมกับ กัมพูชา เวียดนาม และ สปป.

ลาวต้งั แต่ 2013 – ปจั จุบนั (https://www.mathunion.org/icmi)

• เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมจัดการประชุม The International
Psychology of Mathematics Education ค ร้ั ง ท่ี 44 ใ น

รูปแบบ Full Virtual Conference เป็นคร้ังแรกของโลก ในปี
2020-2021 มีนักวิชาการด้านคณิตศาสตรศึกษาจาก 56
ประเทศเข้ารว่ ม 661 คน (https://pme44.kku.ac.th)

28

สถานะปจั จุบนั (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ท่แี สดงจดุ เด่น

• การพัฒนาบทเรียนโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพ่ือให้ • การได้รับเชิญเป็นวิทยากรด้านการศึกษาจากท่ัวประทศ

เกิด Smart Learning ของผเู้ รียน มีเครือข่ายความร่วมมือจากภาคการศึกษาในการจดั ทาอบรมครู

เป็นแหล่งข้อมูลด้านการเรียนการสอนสมัยใหม่ การมีเครือข่าย

ท่ัวประเทศ มี application และ คู่มือการเรียนการสอนที่พรอ้ ม

นาไปใช้ในการปรับหลักสูตรท่ัวประเทศ

ความเชีย่ วชาญดา้ นการบรกิ ารวิชาการ

สถานะปัจจุบัน (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษท์ แี่ สดงจุดเด่น

1) มีการนาองค์ความรู้ของหลายสาขาวิชาเพ่ือการบริการ 1) มีการต้ังโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ศูนย์หัวใจสิริกิต์ิฯ โรงพยาบาล

ประชาชน ทันตกรรม โรงพยาบาลสัตว์ ท่ีให้บริการรักษาพยาบาลกับผู้ป่วย

มากกวา่ 1 ลา้ นรายต่อปี

2) มีการประยุกตอ์ งค์ความรู้เพื่อแกไ้ ขปญั หาชมุ ชน 2) มีการนาผลงานวิจยั ไปประยุกตใ์ นการแกป้ ญั หาชมุ ชนทเี่ ปน็ โรคประจาถ่นิ

เช่น มะเรง็ ท่อนา้ ดี โรคไตเส่อื ม โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคพยาธิ เปน็ ตน้ ซ่งึ ได้

พฒั นาเป็นนโยบายในการแกป้ ัญหาของรัฐบาล

 การอบรมบุคลากรทางการแพทย์ตรวจอัลตร้าซาวด์ ตรวจอจุ จาระ

ให้ความรู้เรื่องพยาธิใบไม้ตับร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขในพ้ืนท่ี

พื้นที่ อีสานและเหนอื (https://cloud.cascap.in.th/)

 CKD mobile Application รักษ์ไต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ควบคุม

การทางานของตู้ตรวจสุขภาพอัจฉริยะสุขศาลา คู่มือการปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมเพ่ือชะลอไตเสือ่ ม ระบบข้อมูลสารสนเทศ ฐานข้อมูลผู้ป่วย

และกลุ่มเส่ียง เพื่อเพ่ิมศักยภาพในการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่ใน

โรงพยาบาล รวมถงึ เชื่อมต่อและประสานงานระหว่างหน่วยบริการเพ่ือ

กากับติดตามผลการดูแลรักษา ตลอดจนการส่งต่อผู้ป่วย การให้

ความรู้เก่ียวกับโรคไต และการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคไต ถูกเผยแพร่

ไปยังประชาชนในเขตสุขภาพที่ 7, 8, 9 และจังหวดั พัทลงุ ผู้ป่วยโรคไต

เรื้อรังท่ีได้รับการดูแลแบบองค์รวม จานวน 200,000 รายต่อปี

(https://ckd.kku.ac.th/?page_id=91)

 โรคลมชัก การสร้างapplication ในการบริการอย่างทันท่วงที จัด

อบรมทาส่อื ตา่ ง(https://epilepsy.kku.ac.th/)

- การดูแล จัดอบรม บุคคลากร และผู้เก่ียวข้องกับผู้ป่วยแบบ

ประคับประคอง(http://karunruk.org/main/)

- ปากแหว่งเพดานโหว่ (http://www.tawanchai-foundation.org/

29

สถานะปัจจุบัน (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ข้อมลู เชิงประจกั ษท์ แ่ี สดงจุดเดน่

3) มีการพัฒนาชุมชนการเรียนรูเ้ ชิงวิชาชีพโดยใช้โรงเรียนเปน็ 3) การพัฒนาวิชาชีพครูเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยใช้โรงเรียนเป็น

ฐาน (School-based Professional Learning Community : ฐานเน้นการเปลี่ยนแปลงทั้งโรงเรียนท่ีดาเนินการต่อเนื่องมาตั้งแตป่ ี

PLC) โดยใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) 2549 จนถึงปัจจุบันมีโรงเรียนที่ใช้นวัตกรรม 300 โรงเรียนทั่ว

และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ประเทศท้ังในเขตพ้ืนที่ทรงงานดอยตุง โรงเรียนในเขตสามชายแดน

ใต้ โรงเรียนในเขตพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา จังหวัด ระยอง และศรี

สะเกษ มีครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีใช้นวัตกรรมประมาณ

8,000 คน ซ่ึงรวมถึงครูมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า มีนักเรียนท่ีได้

เ รี ย น รู้ โ ด ย ใ ช้ น วั ต ก ร ร ม ป ร ะ ม า ณ 100,000 ค น

(http://hotmath.project.kku.ac.th/portfolio_02-new.html)

นอกจากน้ยี งั เผยแพร่นวตั กรรมในเขต อนภุ ูมิภาคลุม่ น้าโขง ได้แก่ ใน

สปป. ลาว เชน่ ทปี่ ากเซ สะหวันนะเขต และเวยี งจันทน์ และกัมพชู า

เช่นโรงเรียน Next Generation School

4) การถา่ ยทอดการเรียนการสอนและการพฒั นาบทเรยี นโดย 4) การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

ใช้เทคโนโลยีสมัยเพ่ือประยุกต์ใช้ให้เกิด Smart Learning ภาษาอังกฤษ (application และคู่มือสอน เรียน) การพัฒนา

ข อ ง นั ก เ รี ย น ใ ห้ กั บ นั ก เ รี ย น แ ล ะ ค รู ใ น ภ า ค สมรรถนะครูในการสอนด้วยนวัตกรรม KKU Smart Learning ใน

ตะวันออกเฉียงเหนือ ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ ร ว ม ทั้ ง ห ม ด 203 โ ร ง เ รี ย น

(https://www.kkusmartlearning.com/main/)

ความเชีย่ วชาญดา้ นการทานุบารงุ ศิลปวัฒนธรรม

สถานะปจั จบุ ัน (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษท์ ีแ่ สดงจดุ เดน่

1) มหาวทิ ยาลยั เป็นศนู ย์กลางองค์ความรดู้ ้านวฒั นธรรมอสี าน 1) มีฐานข้อมลู ดา้ นวฒั นธรรมลมุ่ นา้ โขง

และกลุ่มประเทศในอนุภูมิภาคลุม่ น้าโขง 2) มกี ารสรา้ งเครือข่ายการทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมอยา่ งต่อเนื่อง

3) เป็นศูนย์กลางงานด้านประเพณีวัฒนธรรมแห่งอีสาน เช่น งานบุญ

สมมาบชู าน้า งานบญุ เดอื น 5 เป็นตน้

2) มีการจัดงานเทศกาลด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรมใน 2) มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์ในการจัดงานเทศกาลเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรม

ระดบั ประเทศอย่างตอ่ เนือ่ ง และเป็นระบบ ของอนุภมู ภิ าค และช่วยกระตุ้นเศรษฐกจิ ของภมู ิภาคอยา่ งต่อเนอื่ ง

30

ความเช่ยี วชาญดา้ นอ่ืน ๆ

สถานะปัจจบุ ัน (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564) ข้อมูลเชิงประจกั ษท์ ีแ่ สดงจุดเด่น

1) มีระบบบริหารจดั การองคก์ รทมี่ ีประสิทธภิ าพและเชอื่ มโยง 1) มหาวทิ ยาลัยขอนแก่นไดร้ บั รางวัล Thailand Quality Class ของ

กระบวนการทางาน สานักงานรางวลั คณุ ภาพแห่งชาตเิ ป็นทแี่ รก และกาลังมีการ

ปรบั ปรุงระบบการบรหิ ารจดั การองค์กรท้ังระบบดว้ ย ERP

2) มกี ารสง่ เสรมิ กระบวนการธรรมาภบิ าลในทกุ ภาคสว่ นของ 2) ได้รบั รางวลั องค์กรเกรด A ดา้ นคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส ของ

การทางาน สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

3) มกี ารนาระบบสารสนเทศเพือ่ ใช้สนับสนนุ การบรหิ าร 3) มหาวิทยาลยั ขอนแก่นได้รบั รางวลั องคก์ รโปร่งใสระดบั ประเทศ ใน
องค์กร และมรี ะบบกากบั ดแู ลทม่ี ปี ระสิทธภิ าพสงู งานมอบรางวลั องค์กรโปรง่ ใส ครง้ั ท่ี 8 (NACC Integrity
Awards)

31

2.1.2 ความสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ประเทศ

32


Click to View FlipBook Version