The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Finalแผนการพลิกโฉม-มข.65-69-ฉบับสภาเห็นชอบ4สค64 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by urairak_h, 2021-10-07 04:04:09

แผนพลิกโฉมมหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ. 2565-2569)

Finalแผนการพลิกโฉม-มข.65-69-ฉบับสภาเห็นชอบ4สค64 (1)

2

สรุปรายละเอยี ดความสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาตขิ องมหาวิทยาลยั ขอนแก่น

ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศ

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศร

1 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั : ยุทธศาสตรท์ ่ี 8 การพัฒน

(1) ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่พี ัฒนาแลว้ เศรษฐกิจ และนวัตกรรม :

เตบิ โตอย่างมเี สถยี รภาพและยั่งยนื และ (2) ประเทศไทยมี 8.2 เพิม่ ความสามารถในก

ขีดความสามารถในการแข่งขนั สูงขน้ึ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

เพื่อยกระดับความสามารถ

และบริการ และคุณภาพช

2 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน : ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 8 การพัฒน

(1) ประเทศไทยเปน็ ประเทศที่พัฒนาแล้ว เศรษฐกิจ และนวตั กรรม :

เติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยง่ั ยืน และ (2) ประเทศไทยมี 8.1 เพิม่ ความเขม้ แขง็ ด้าน

ขีดความสามารถในการแข่งขันสูงข้ึน ของประเทศ

3 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั : ยทุ ธศาสตร์ที่ 8 การพฒั น

(1) ประเทศไทยเปน็ ประเทศที่พัฒนาแลว้ เศรษฐกจิ และนวตั กรรม :

เติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยนื และ (2) ประเทศไทยมี 8.1 เพิ่มความเขม้ แข็งดา้ น

ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันสงู ขึ้น ของประเทศ

4 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั : ยุทธศาสตรท์ ี่ 8 การพฒั น

(1) ประเทศไทยเปน็ ประเทศทีพ่ ัฒนาแลว้ เศรษฐกจิ และนวตั กรรม :

เติบโตอยา่ งมเี สถียรภาพและย่ังยนื และ (2) ประเทศไทยมี 8.1 เพิม่ ความเข้มแขง็ ด้าน

ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั สูงขึ้น ของประเทศ

5 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน : ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การสร้าง

(1) ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว เศรษฐกิจ และแข่งขนั ไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน

เตบิ โตอย่างมเี สถยี รภาพและยง่ั ยืน และ (2) ประเทศไทยมี 3.2 การสรา้ งความเขม้ แข

ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันสงู ข้นึ

33

รษฐกิจฯ ฉบบั ที่ 12 มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ กลยทุ ธ์
นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั กลยุทธ์ที่ 1
ยทุ ธศาสตรก์ ารพลิกโฉม
ST01- ยุทธศาสตร์ด้านการวิจยั และพฒั นานวัตกรรม

การประยุกต์ใชว้ ิทยาศาสตร์ ST01- ยุทธศาสตร์ด้านการวจิ ัย และพัฒนานวัตกรรม กลยุทธ์ท่ี 2

ถการแข่งขันของภาคการผลติ
ชีวติ ของประชาชน
นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย

นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั ST01- ยุทธศาสตร์ด้านการวิจยั และพฒั นานวัตกรรม กลยทุ ธท์ ี่ 3

นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย ST01- ยุทธศาสตร์ด้านการวจิ ัย และพัฒนานวตั กรรม กลยุทธท์ ี่ 4

นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

งความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ ST01- ยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย และพฒั นานวตั กรรม กลยุทธ์ที่ 5
:
ข็งให้เศรษฐกจิ รายสาขา

3

ยทุ ธศาสตร์ประเทศ

ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนพฒั นาเศร

6 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน : ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพฒั น

(1) ประเทศไทยเป็นประเทศทพ่ี ัฒนาแล้ว เศรษฐกจิ และนวตั กรรม :

เตบิ โตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยนื และ (2) ประเทศไทยมี 8.2 เพิ่มความสามารถในก

ขดี ความสามารถในการแข่งขนั สงู ขึ้น เทคโนโลยี และนวัตกรรม

เพอ่ื ยกระดับความสามารถ

และบริการ และคณุ ภาพช

7 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน : ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 8 การพฒั น

(1) ประเทศไทยเปน็ ประเทศทพี่ ัฒนาแลว้ เศรษฐกจิ และนวัตกรรม :

เติบโตอย่างมเี สถียรภาพและยัง่ ยืน และ (2) ประเทศไทยมี 8.2 เพิม่ ความสามารถในก

ขีดความสามารถในการแขง่ ขันสงู ขึน้ เทคโนโลยี และนวตั กรรม

เพื่อยกระดับความสามารถ

และบรกิ าร และคณุ ภาพช

8 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การเสรมิ สรา้

ทรัพยากรมนุษย์ : 1.1 คนในสงั คมไทยทุกช่ว

(1) คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มีคณุ ภาพพร้อมสาหรับวถิ ชี วี ิตใน ความสามารถเพ่มิ ขึ้น

ศตวรรษที่ 21 และ (2) สงั คมไทยมีสภาพแวดล้อมทเ่ี อ้ือและ 1.2 ได้รบั การศึกษาทม่ี ีคณุ

สนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวติ และสามารถเรยี นรู้ด้วยตน

9 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สรา้

ทรพั ยากรมนุษย์ : 1.1 คนในสงั คมไทยทกุ ช่ว

(1) คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคณุ ภาพ ความสามารถเพมิ่ ข้ึน

พรอ้ มสาหรับวิถชี ีวิตในศตวรรษที่ 21 และ (2) สังคมไทยมี 1.2 ได้รบั การศึกษาท่มี ีคุณ

สภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้ือและสนบั สนุนต่อการพัฒนาคน และสามารถเรยี นรดู้ ้วยตน

ตลอดชว่ งชีวติ

34

มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

รษฐกจิ ฯ ฉบบั ท่ี 12 ยทุ ธศาสตร์การพลกิ โฉม กลยุทธ์
กลยทุ ธ์ที่ 1
นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั ST02- ยุทธศาสตร์ดา้ นความเป็นนานาชาติ
กลยทุ ธ์ที่ 2
การประยกุ ต์ใชว้ ิทยาศาสตร์ ST02- ยุทธศาสตร์ด้านความเป็นนานาชาติ
ม กลยทุ ธท์ ี่ 1
ถการแข่งขันของภาคการผลติ กลยุทธ์ท่ี 2
ชีวติ ของประชาชน
นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย

การประยุกตใ์ ชว้ ิทยาศาสตร์ ST03- ยุทธศาสตร์ด้านการผลิตกาลังคนระดบั สงู
ม เฉพาะทางตามความต้องการของประเทศ
ถการแข่งขันของภาคการผลิต
ชีวติ ของประชาชน
างและพัฒนาศักยภาพทนุ มนษุ ย์ :
วงวยั มที ักษะ ความรู้ และ

ณภาพสงู ตามมาตรฐานสากล ST03- ยุทธศาสตร์ดา้ นการผลติ กาลังคนระดับสงู
นเองอยา่ งต่อเนอื่ ง เฉพาะทางตามความตอ้ งการของประเทศ
างและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์ :
วงวัยมที กั ษะ ความรู้ และ

ณภาพสงู ตามมาตรฐานสากล
นเองอย่างต่อเนอ่ื ง

4

ยทุ ธศาสตร์ประเทศ

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศร

10 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การเสริม

ทรัพยากรมนุษย์ : มนษุ ย์ :

(1) คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ุณภาพ 1.1 คนในสงั คมไทยทกุ ช่ว

พร้อมสาหรับวิถีชวี ิตในศตวรรษที่ 21 และ (2) สงั คมไทยมี ความสามารถเพมิ่ ข้ึน

สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคน 1.2 ไดร้ ับการศึกษาทม่ี ีคณุ

ตลอดชว่ งชีวิต และสามารถเรยี นรดู้ ว้ ยตน

11 ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั : ยทุ ธศาสตร์ที่ 8 การพัฒน

(1) ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่พี ัฒนาแล้ว เศรษฐกิจ และนวตั กรรม :

เตบิ โตอย่างมเี สถยี รภาพและย่งั ยืน และ (2) ประเทศไทยมี 8.1 เพมิ่ ความเข้มแขง็ ด้าน

ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันสงู ขึ้น ของประเทศ

12 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน : ยทุ ธศาสตร์ที่ 8 การพัฒน

(1) ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่พี ัฒนาแลว้ เศรษฐกจิ และนวตั กรรม :

เติบโตอยา่ งมเี สถยี รภาพและยั่งยนื และ (2) ประเทศไทยมี 8.2 เพิม่ ความสามารถในก

ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั สงู ขน้ึ เทคโนโลยี และนวตั กรรม

เพอื่ ยกระดับความสามารถ

และบรกิ าร และคุณภาพช

35

รษฐกจิ ฯ ฉบับท่ี 12 มหาวิทยาลัยขอนแก่น กลยุทธ์
มสรา้ งและพัฒนาศักยภาพทนุ กลยุทธ์ท่ี 3
ยุทธศาสตร์การพลกิ โฉม
วงวัยมีทักษะ ความรู้ และ ST03- ยุทธศาสตร์ด้านการผลติ กาลังคนระดับสงู กลยุทธท์ ี่ 4
เฉพาะทางตามความตอ้ งการของประเทศ กลยุทธท์ ่ี 5

ณภาพสงู ตามมาตรฐานสากล ST03- ยุทธศาสตร์ดา้ นการผลติ กาลังคนระดบั สูง
นเองอย่างต่อเน่อื ง เฉพาะทางตามความต้องการของประเทศ
นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั

นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั ST03- ยุทธศาสตร์ดา้ นการผลิตกาลังคนระดับสูง
เฉพาะทางตามความต้องการของประเทศ
การประยุกตใ์ ช้วิทยาศาสตร์

ถการแขง่ ขันของภาคการผลติ
ชีวิตของประชาชน

5

2.1.3 เป้าหมายของการพลกิ โฉมมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

เปา้ หมายด้านการเรยี นการสอน
จากสถานการณ์โลกท่ีปัจจุบันแรงงานกาลังเผชิญกับการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่อีกครั้ง นอกจาก

การพยายามจะลดแรงงานคนโดยใช้ระบบอัตโนมัติ (automation) มาทางานแทนการเปลี่ยนแปลงครั้งท่ี 2 เป็น
ผลมาจากการลอ็ คดาวนจ์ าก COVID-19 ผลสารวจพบวา่ 43% ของธรุ กิจต่างๆ กาลังจะลดงานลงโดยใช้การบูรณา
การเทคโนโลยีเขา้ มาทางานแทน ในขณะที่ 41% พบวา่ จะทางานโดยการเพิม่ การจ้างงานท่มี คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะ
ด้าน จากสถานการณ์ตลาดแรงงานและธุรกิจต่างๆ ท่ีเปลี่ยนไปอย่างมากส่งผลกระทบท่ีทาให้หลักสูตรต่างๆ ใน
มหาวทิ ยาลัยผลติ บัณฑติ และกาลังคนท่ีไมส่ ามารถตอบสนองตลาดแรงงานในปจั จุบนั และในอนาคตได้

สปอว. จึงมีเป้าหมายในการพลิกโฉมระบบอุดมศึกษาให้เป็นระบบการศึกษาเพื่อสร้างบัณฑิตพันธ์ุ
ใหม่ให้เป็นวาระแห่งชาติ ซ่ึงมีความสาคัญมากในการตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ และตอบสนองต่อการ
เปลย่ี นแปลงของโลก ระบบอุดมศึกษาใหม่ต้องมีนวตั กรรม 1) ในการจดั การศกึ ษา 2) ในการพัฒนาคน ใหส้ ามารถ
ใช้นวัตกรรมได้และต้องพัฒนาคนให้เป็น “นวัตกร” และผู้ประกอบการนวัตกรรมท่ีสามารถออกแบบสร้าง
นวัตกรรมและนาไปใช้เชิงพานิชย์ ตามความต้องการในการพัฒนาประเทศท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคม (Demand
side innovations) ท่ีเกิดผลกระทบสูงด้านบวก ในการตอบโจทย์ท่ีท้าทายของสงั คม การเพิ่มขีดความสามารถใน
การแข่งขันของประเทศ รวมท้ังการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีและการลดความเหล่ือมล้าทางเศรษฐกิจและสังคม เปล่ียน
บทบาทของสถานศึกษาจากการเปน็ แหล่งเรียนรู้เป็น “แหลง่ สร้างสรรค์นวตั กร: Makerspace” ให้ผู้เรียนมีโอกาส
ในการเลือกสร้างนวัตกรรมท่ีตรงกับความใฝ่ฝัน (Passion) ของตนเอง ตามความถนัดและเป็นส่ิงที่ตนเองและโลก
ต้องการ รวมทั้งมีคุณธรรมเป็นฐาน เป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม และมีความย่ังยืน เปลี่ยนจุดมุ่งหมายการเรียนรู้แตล่ ะ
วิชาจากการเรียนให้มีความรู้เป็น “การเรียนเพ่ือความฉลาดรู้ทางเศรษฐกิจและสังคม” และ “การเรียนเพื่อเป็น
ผู้นาในการนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ อย่างมีนวตั กรรม: Real-life innovative application” และเปลย่ี น
มุมมอง กรอบความคิดนักศึกษาให้มี Outward mindset คือการมอง คนอ่ืนและส่วนรวมสาคัญกว่าตนเอง เปล่ียน
บทบาทของอาจารย์จากการเป็นผู้สอนหนังสือ มาเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงชีวิตนักศึกษาด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น
(1) ผู้ชีแ้ นะ (Coach) (2) ผอู้ อกแบบการเรียนรู้ (Learning designer) (3) ผู้สร้างนวัตกร (Innovator Creator)

เปล่ยี นมุมมองกรอบความคิดของอาจารย์เป็น Growth mindset คอื เชือ่ วา่ นกั ศึกษาทุกคนสามารถ
พัฒนาได้ เปล่ียนบทบาทของนักศึกษาจากการเปน็ ผเู้ รียนตามแผนการสอนของอาจารย์ มาเป็นผ้วู างแผนการเรียน
นาแผนการเรียนสู่การปฏิบัติ และมุ่งผลสัมฤทธ์ิท่ีจะไปสร้างการเปล่ยี นแปลงเชิงบวกต่อประเทศและโลก เน้นการ
เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในสถานท่ีจริง และจบแล้วเป็นบัณฑิตพันธุ์ใหม่ที่มีคุณภาพ ทางานได้จริง เป็นนวัตกร
และผปู้ ระกอบการนวตั กรรม

36

สาหรับ Skills for the Future หรือ ทักษะที่สาคัญในโลก AI คือ ทักษะท่ี AI ทาแทนไม่ได้ มี

อย่างน้อย 5 ทักษะ ประกอบด้วย (1) ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Skill) (2) ทักษะการบูรณาการ

เทคโนโลยี (Integration Skill) (3) ทกั ษะส่วนบุคคลและสังคม (Soft Skill) (4) ทกั ษะการคดิ ออกแบบกลยุทธ์เพ่ิม

มลู คา่ (Value-Added Development Skill) และ (5) ทกั ษะการสรา้ งความสุข (Well-Being Skill)

ส่วนคุณลักษณะของบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ประกอบด้วย (1) High level Quality Workforce and

Work Ready ( 2 ) Skilled and Competent, Flexible and Innovative ( 3 ) Able to Contribute to the

labor market, civil society and community development (4) Lifelong Learners (5) Entrepreneurial

Thinkers (6) Able to Communicate and Collaborate Effectively (7) Global Citizen

เพ่ือตอบสนองทิศทางการเปล่ียนแปลงดังกล่าวรวมทั้งยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายของรัฐบาล และทิศทาง

การดาเนินงานของ สปอว. ที่กล่าวข้างต้น มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้กาหนดเป้าหมายการพลิกโฉม รวมถึงการ

กาหนดยุทธศาสตร์ เพอื่ การเปลี่ยนแปลงดา้ นการศกึ ษา (Education Transformation) ดังตอ่ ไปนี้

เปา้ หมายการพลิกโฉมมหาวิทยาลยั ข้อมลู เชิงประจกั ษท์ ส่ี ะท้อนความสาเร็จ

1) การปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ด้านหลักสูตรและการเรียนการ 1) มีหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับกระบวนทัศน์ใหม่ของ

สอน จากที่เน้นการสอนความรู้ (Teaching Paradigm) ไปเป็น มหาวิทยาลัย ท่ีได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก

กระบวนทัศน์ท่ีเน้นการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองของผู้เรยี น (Learning โครงการบณั ฑิตพนั ธ์ใุ หม่เพิม่ ข้นึ ทุกคณะ

Paradigm) มีการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติงานจริงใน 2) นักศึกษาท่ีได้เรียนร้โู ดยการปฏบิ ัตงิ านจริงในส่ิงแวดลอ้ ม

ส่ิงแวดล้อมจริง (Experiential Learning) ในโครงการ CWIE: จริงในโครงการสหกิจศึกษาบูรณาการทางานของ

(Cooperative Work Integrated Education) โดยเช่ือมโยง สปอว. และ โครงการสหกิจศึกษานานาชาติของ

การสร้างประสบการณ์ดังกล่าวร่วมกับภาคเอกชน รวมทั้งการ มหาวทิ ยาลัยในทุกคณะ

พัฒนาหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรนานาชาติ และเป็นระบบ 2 3) อัตราการได้งานทาของบัณฑิตทั้งในประเทศและ

ปริญญาทรี่ ่วมกบั มหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ต่างประเทศสูงขนึ้

4) ผลการจัดอันดับ QS World Ranking: Teaching เป็น

อันดับ 1 ของประเทศ

5) มหี ลกั สูตรนานาชาติ และหลกั สูตร 2 ปริญญามากขนึ้

2) หลักสูตรที่มีการจัดกระบวนการทางการศึกษาเพื่อให้เกิดการ 1) มีหลักสูตรประเภท Non-Degree ที่สอดคล้องกับการ

เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Education) โดยเป็นการจัด จัดการกระบวนการทางการศึกษาเพ่ือให้เกิดการเรยี นรู้

การศึกษาในรูปแบบของการศึกษาในระบบ (Formal ตลอดชีวิต (Lifelong Education) ของมหาวิทยาลัย ท่ี

Education) การศึกษานอกระบบ (Non-formal Education) ได้รบั การสนบั สนุนงบประมาณจากโครงการบัณฑิตพนั ธ์ุ

และการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) มุ่งให้ ใหมเ่ พม่ิ ขึ้นในทกุ คณะ

ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Direction 2) มีผู้เรียนกลุ่มอื่นท่ีนอกเหนือจากนักศึกษาระบบปกติ

Learning) แ ล ะ ส าม ารถพัฒนา ตนเองให้ก้ าวทันความ มาเข้าเรียนหลักสูตร Non-Degree เพื่อทบทวนทักษะ

เปล่ียนแปลงของสังคม การเมือง และเศรษฐกิจของโลก โดย การทางาน (Re-Skills) และเพ่ิมทักษะในการทางาน

สามารถจดั ไดท้ ง้ั ในรูปแบบ Degree, Non-Degree หรอื อน่ื ๆ (Up-Skills) เพิม่ ขึ้นในทุกคณะ

37

เปา้ หมายการพลกิ โฉมมหาวทิ ยาลัย ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ทีส่ ะทอ้ นความสาเรจ็

3) การพฒั นาหลักสตู รใหม่ (New Curriculum) เพื่อสรา้ งอาชีพ 1) จานวนหลักสูตรใหม่ ทีม่ กี ารบรู ณาการระหว่างสาขาวชิ า

ใหมต่ ามความต้องการของสงั คม ในทุกคณะ และหลักสูตรที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์

เพิม่ ขึ้นอีก จานวน 5 หลกั สูตร ได้แก่

• Master Degree in AI for Education

• หลักสูตร AI in Health Care

• หลกั สตู ร Gerontology

• หลักสตู ร High speed Train Engineering

• หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา

วิศวกรรมระบบอัตโนมตั ิ หุ่นยนต์ และปญั ญาประดิษฐ์

คณะวศิ วกรรมศาสตร์

4) การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่มีออกแบบบทเรียนให้ 1) มีการจดั ตัง้ หนว่ ยงานสนับสนนุ การจดั การเรยี นการสอน

เนน้ การเรียนรู้ด้วยตนเองของผ้เู รียน มีโครงสร้างของบทเรียนใน ออนไลน์เตม็ รปู แบบ ดังตอ่ ไปนี้

สัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างเวลาท่ีใช้ในการพบผู้สอนทาง • ให้ KKU Academy สนับสนนุ การจดั การเรียนการสอน
Virtual Classroom ในรูป คลปิ วดี โิ อ การอภิปราย การนาเสนอ แบบออนไลน์เต็มรูปแบบท้ังในระดับมหาวิทยาลัย
งาน และมี Platform ที่มีระบบการบริหารจัดการการเรียนรู้ (Virtual University) และเช่ือมโยงกับหน่วยผลิต
(Learning Management System: LMS) ที่บูรณาการท้ังการ Production ระดับคณะและหน่วยงานเพ่ือสนับสนุน
เรียนปกติ และหลักสตู รเสรมิ เพ่ิมมากข้ึน และสามารถเข้าเรียน การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ของหลักสูตรต่างๆ
ได้ตลอดเวลา ทุกสถานท่ี มีประชาชนทั่วไป และกลุ่มคนทางาน
เขา้ มาเรยี นรู้และใช้งานมากขน้ึ • ให้คลังหน่วยกิตสนับสนุนทั้งการจัดการศึกษาตลอด
ชีวิต และการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์

• มีจานวนผู้ใช้งานการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์มี

สัดส่วนที่สูงข้ึนท้ังจากนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประชาชนท่ัวไป และกลุม่ คนทางานมากข้นึ

5) พัฒนารายวิชาศึกษาท่ัวไปที่เน้นทักษะที่จาเป็นสาหรับ 1) การพัฒนารายวิชา GE 341 511 Computational &

การปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรมยคุ ท่ี 4 โดยเน้นการจดั การเรียนการสอน Statistical Thinking for ABCD การคิดเชิงคานวณและเชิง

แบบออนไลน์ และผา่ น Platform การเรียนรู้ สถิติสาหรับเอบีซีดี และ รายวิชา GE 341 512 ABCD for

https://vconf.kku.ac.th/ai-experiential all profession เอบีซีดสี าหรบั ทุกวิชาชีพ สาหรบั นกั ศึกษา

ทกุ คนท่จี ะเขา้ เรยี นตั้งแตป่ กี ารศึกษา 2565

6) นักศึกษามีทักษะที่พร้อมท้ังด้านการทางานเชิงวิชาชีพ และการ 1) นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับการยอมรับในการ

เปน็ ผนู้ าสังคม การทางานร่วมกบั สงั คมอยา่ งเตม็ ประสิทธภิ าพ เป็นเป็นผู้นาท้ังในระดบั ชุมชน ระดับประเทศ

7) นักศึกษามีความสามารถในการทางานแบบเครือข่ายทั้งใน 1) นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นท่ีได้งานทาใน

ประเทศและในตา่ งประเทศ มคี วามสามารถในการติดต่อสอ่ื สาร ตา่ งประเทศมากขึ้นอยา่ งมีนยั สาคัญ

กับชาวต่างประเทศ และสามารถทางานเป็นทีมในระดบั โลกได้

38

เปา้ หมายดา้ นการวิจัย

เป้าหมายการพลกิ โฉมมหาวิทยาลัย ข้อมลู เชงิ ประจกั ษท์ ีส่ ะทอ้ นความสาเร็จ

1) มีการสร้างโครงการวิจัยขนาดใหญ่ (Research programs) ที่ 1) มีโครงการวิจัยขนาดใหญ่ท่ีสามารถชี้นานโยบายของ

บูรณาการหลายสาขาวิชาเพื่อตอบสนองความต้องการของ สังคม ภาครัฐ และทิศทางของงานวิจัยรวมถึงการ

ชมุ ชน และประเทศ ผลักดนั เชิงนโยบายระดับนานาชาติ

2) มกี ารวิจัยเชงิ ลึกที่สามารถตอ่ ยอดไปส่นู วตั กรรมในทุกระดับ 1) การจดั อนั ดับโลกด้านผลงานวจิ ัย

3) มีนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่เกิดจากองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัย 1) จานวนนวตั กรรมเชงิ พาณชิ ย์

เกิดข้ึนจานวนมาก 2) รายไดจ้ ากนวัตกรรมเชิงพาณชิ ย์

เปา้ หมายดา้ นการบรกิ ารวิชาการ

เปา้ หมายการพลกิ โฉมมหาวิทยาลัย ข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ที่สะทอ้ นความสาเร็จ

1) มหาวิทยาลัยขอนแก่นมีสถานบริการท่ีใช้องค์ความรู้ของ 1) มีโรงพยาบาลขนาดใหญ่เป็นลาดับต้นๆของประเทศ

มหาวิทยาลัยด้านการแพทย์และสาธารณสุขท่ีใหญ่ที่สุดใน และได้รบั การรับรองมาตรฐานระดบั โลก

ประเทศ ได้รับการยอมรับในระดับโลก และเป็นที่พ่ึงของ

ประชาชนในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และอนุภูมภิ าคลุม่ น้าโขง

2) มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางในการแก้ปัญหาสาคัญของอนุ 1) โรค และปัญหาประจาถิ่นได้รับการแก้ไข และควบคุม

ภูมิภาคลุ่มน้าโขง ท้ังด้านการกาหนดนโยบายการลงมือปฏิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น โรคมะเร็งท่อน้าดี โรคเมลิ

และการกากบั ติดตาม ออย์โดสิส โรคพยาธิ โรคไตเส่ือม ภาวะความยากจน

ความเหล่ือมล้าด้านรายได้ และการเข้าถึงบริการ

สาธารณสุข เปน็ ตน้

3) สรา้ งโครงการบริการวชิ าการท่เี นน้ การสรา้ งคณุ คา่ ร่วมดา้ น 1) มีการยกระดับความเปน็ อยู่ของประชาชน รวมทง้ั พัฒนา

เศรษฐกจิ และสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา สุขภาพและสังคมส่ิงแวดล้อมของ

ประชาชน เพื่อสร้างโอกาสในการเพ่ิมรายได้ และลด

รายจ่ายของประชาชน โดยการพัฒนาอาชีพหลัก และ

ส่งเสริมให้มีอาชีพเสริมอย่างย่ังยืน พร้อมเสริมสร้างสุข

ภาวะทีด่ ีแกช่ ุมชน ให้ความสาคญั ในการสรา้ งเสริมความ

เขม้ แขง็ ดา้ นสุขภาพอนามยั การจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม

4) การสร้างโครงการบรกิ ารวชิ าการทใี่ ช้ความรู้ เทคโนโลยี และ 1) มีโครงการที่มุ่งเน้นพัฒนาชุมชนและสังคมเพ่ือความ

นวตั กรรมเพ่อื การพัฒนาอยา่ งยั่งยนื (SDG) ย่ังยืนที่ได้มีการนาความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมไป

ใชใ้ นการพัฒนา

39

เปา้ หมายด้านการทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษท์ ่ีสะทอ้ นความสาเร็จ
1) มฐี านขอ้ มลู ดา้ นวฒั นธรรมลมุ่ นา้ โขง
เปา้ หมายการพลกิ โฉมมหาวิทยาลยั 2) มกี ารสร้างเครอื ขา่ ยการทานุบารงุ ศิลปวฒั นธรรมอยา่ ง
1) มหาวิทยาลยั เปน็ ศูนยก์ ลางองค์ความรู้ดา้ นวฒั นธรรมอสี าน
ตอ่ เน่ืองและย่ังยืน
และกลมุ่ ประเทศในอนภุ มู ภิ าคลมุ่ นา้ โขง 1) มหาวิทยาลัยเปน็ ศูนย์ในการจดั งานเทศกาลเชิงอนุรักษ์

2) มกี ารจัดงานเทศกาลด้านการอนุรักษว์ ัฒนธรรมใน วฒั นธรรมของอนภุ มู ิภาค และชว่ ยกระตนุ้ เศรษฐกิจของ
ระดบั ประเทศอยา่ งต่อเนื่อง และเป็นระบบ ภูมิภาคอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

เป้าหมายด้านอืน่ ๆ

เปา้ หมายการพลกิ โฉมมหาวิทยาลยั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ทส่ี ะท้อนความสาเรจ็

1) เป็นต้นแบบด้านการบริหารมหาวิทยาลัยสู่ความย่ังยืนของ 1) ได้รับรางวัล Thailand Quality Award เป็นมหาวิทยาลัย

ประเทศ แรก

2) เปน็ มหาวิทยาลยั ตัวอยา่ งดา้ นธรรมาภิบาลของประเทศ 1) ได้รับรางวัลเกรด AA ด้านคุณธรรมและความโปร่งใส

ของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม

การทุจรติ แหง่ ชาติ เปน็ มหาวิทยาลัยแรก

3) บริหารจัดการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ และใช้ paperless 1) ผลติ ภาพของบุคลากรสูงท่สี ุดในประเทศ

ทง้ั ระบบ

2.2 การปฏริ ูประบบบริหารในสถาบนั อดุ มศกึ ษา

2.2.1 ด้านการบริหารบุคลากร
มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ มแี ผนในการพัฒนาบุคคลากรด้านการวิจยั มรี ะบบการคัดเลือกเพ่ือให้ได้บุคลากรท่ี

มีคุณภาพด้านการวิจัย ทั้งนักวิจัยไทย และ ชาวต่างชาติ กระบวนการพัฒนาศักยภาพและความสามารถด้วย
talent mobility กับมหาวิทยาลัยช้ันนาในต่างประเทศ มีการประเมินผลงานโดยจัดทาเป็น TOR มีการออก
แผนการสนับสนุนใหน้ ักวิจัยของมหาวิทยาลัยไปทาวิจัยในมหาวทิ ยาลัยชั้นนาของโลก และสร้างผลงานวิจยั ตพี ิมพ์
ในวารสาร Q1 ร่วมกัน มีการปรับปรุงระเบียบการจ้างผู้เช่ียวชาญชาวต่างชาติและการรับนักวิจัยหลังปริญญาเอก
ชาวต่างชาติได้

40

2.2.2 ด้านแผน ระบบการเงินและงบประมาณ
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยขอนแก่นมีการจัดทาระเบียบการจ้างนักวิจัยสมรรถนะสูงและเมธีวิจัยอาวุโสรองรับ

โดยมกี ารกาหนดกรอบจานวนและงบประมาณเป็นแผนต่อเนอื่ งลว่ งหน้าทกุ 3 ปี มีการจดั ทาแผนงานจากฝ่ายวิจัย
ผ่านฝ่ายทรัพยากรบุคคล และนาเสนอฝ่ายแผนยุทธศาสตร์ และผ่านการเห็นชอบด้านกรอบงบประมาณโดย
กรรมการเงินรายได้มหาวิทยาลัย มีประกาศด้านการคัดเลือกและการประเมินผลงานรองรับ โดยต้ังเป็น
คณะกรรมการในการประเมินในแต่ละปี โดยมีอธิการบดีเป็นประธาน และมีรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและ
บัณฑิตศึกษาเป็นรองประธาน ร่วมกับคณบดี และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีเกี่ยวข้อง การประเมินผลงานและการ
ตอ่ สัญญาจะเป็นไปตามข้อตกลง (TOR) และผลลัพธ์ (result) ด้านการวิจัย สาหรบั การรับและคดั เลือกผู้เชีย่ วชาญ
ชาวต่างประเทศ จะออกเป็นประกาศและการดาเนินงานผ่านฝ่ายการต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริม
นกั วจิ ัยรุ่นใหม่ นกั วจิ ยั บัณฑิตศึกษาระดบั ปริญญาเอก และนักวจิ ยั หลังปริญญาเอก มีการวางแผนด้านจานวนและ
กรอบงบประมาณโดยจัดทาเป็นแผนงบประมาณขอสนับสนุนการใช้เงินรายได้ผ่านฝ่ายวิจัย การออกระเบียบและ
ประกาศท่ีเกี่ยวขอ้ งผา่ นความเหน็ ชอบโดยคณะกรรมการวจิ ัยและฝา่ ยบัณฑิตศึกษา

ตัวอย่างเช่น ภายใต้โครงการพลกิ โฉมมหาวทิ ยาลัยขอนแก่นฯ ฝ่ายวิจัยวางแนวทางในการจัดสรรนักวจิ ยั
ในทุกระดับผ่านโปรแกรมวิจัย (research program) ศูนย์วิจัยและสถาบันวิจัย โดยกาหนดผลลัพธ์บังคับเป็นการ
ตีพิมพผ์ ลงานในวารสารในกลุ่ม Q1 และการเพ่ิมกาลังนักวิจัยอย่างมีเป้าหมายเพื่อให้โปรแกรมวิจัย ศูนยว์ ิจยั และ
สถาบันวิจัย มีการดาเนินการได้อย่างต่อเนื่องและมีโจทย์วิจัยที่ชัดเจนด้วย นอกจากน้ียังมีการวางแผนการใช้
งบประมาณเงินรายได้เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูงข้ึนในหลากหลายรูปแบบ การเพ่ิมวงเงินทุน
ผชู้ ว่ ยวิจยั ทนุ การทาวจิ ัย ใหก้ ับนกั วจิ ยั ระดบั ปรญิ ญาเอก หลงั ปริญญาเอก และนักวิจัยร่นุ ใหม่ โดยกาหนดผลลัพธ์
ที่ท้าทายสู่การตีพิมพ์วารสารในกลุ่ม Q1/Q2 รวมถึงให้รางวัลและค่าตอบแทน (incentives) เพ่ือเป็นแรงจูงใจ
ให้แก่นักวิจัยท่ีทาผลงานตีพิมพ์ในวารสารในกลุ่ม Q1 และ Top 10% การมีนักวิจัยร่วมจากมหาวิทยาลัยชั้นนา
ของโลกให้กบั มหาวทิ ยาลัย นอกเหนอื จากพันธกจิ พืน้ ฐาน
2.2.3 ด้านกฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั หลักเกณฑ์

มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับความเห็นชอบจากกรมบัญชีกลางในการออกระเบียบด้านการใช้เงินเพื่อการ
วิจัยและบริการวิชาการ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยเม่ือวันท่ี 1 มิถุนายน 2563 เป็นข้อบังคับที่
ช่วยส่งเสริมให้ผู้บริหารและนักวิจัยมีความคล่องตัวในการใช้งบประมาณเพ่ือการวิจัยและการบริการวิชาการใน
แบบอุดหนุนทั่วไป เพื่อการจัดหาวัสดุวิจัย และการจ้างเหมาผู้ช่วยวิจัย จากเงินทุนวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มกี ารออกประกาศย่อยเรื่อง วงเงินการอนมุ ัติ แนวทางการตรวจสอบและกากบั เพอื่ ใหม้ คี วามถกู ต้องโปร่งใส

มหาวิทยาลัยขอนแก่นออกประกาศมอบอานาจจากอธิการบดีให้รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา
ให้ปฏิบัติการ ลงนามในเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย และการอนุมัติทุนวิจัยท้ังภายในและภายนอก เป็นการลด
ข้ันตอน เกิดความคล่องตัว และนักวิจัยได้รับเงินทุนจากภายนอกได้รวดเร็วข้ึน และภายใต้โครงการพลิกโฉม

41

มหาวิทยาลัยฯ มหาวิทยาลัยมีแนวทางด้านการลงนามในสัญญาด้วยระบบดิจิตอล (กาลังทาความร่วมมือกับ สวก)
การจัดการทุนวิจัยภายนอกผ่านระบบดิจิตอลและ visual account เพ่ือเพ่ิมความคล่องตัว โปร่งใส และสามารถ
ตรวจสอบได้แบบ real-time ใหก้ บั ผไู้ ดร้ บั สทิ ธิ์

ด้านบคุ ลากร ปัจจุบัน นักวิจัยหลังปรญิ ญาเอก นักวจิ ัยอาวโุ ส เมธีวจิ ัยอาวโุ ส ของมหาวิทยาลยั ขอนแก่น จะใช้
ขอ้ สญั ญาการเป็นลูกจ้างชว่ั คราว) ซงึ่ ในดา้ น reputation การนับจานวนนักวจิ ัยเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดลาดับโลก สิทธิ์
ประโยชน์และสวัสดิการ จึงมคี วามแตกต่างจากพนักงานทั่วไป มหาวทิ ยาลัยขอนแก่นมีแนวทางการพัฒนาระเบียบและ
การออกข้อบังคับในการกรอบพนักงานมหาวิทยาลัยในตาแหน่งนักวิจัย ท่ีชัดเจน ซ่ึงอาจเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยใน
ตาแหนง่ นักวจิ ัย ตามโครงการ (by project) หรอื สัญญารายปี หรือ ราย 3-5 ปี เปน็ ต้น
2.2.4 ดา้ นระบบธรรมาภิบาล

มหาวิทยาลัยขอนแก่นให้ความสาคัญกับการบริหารงานวิจัยด้วยระบบธรรมาภบิ าล ในทุกระดับ การออก
ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการทุนวิจัย บุคลากรด้านการวิจัย การดาเนินงานวิจัย
การส่งเสริมการวิจัย ต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการท่ีเก่ียวข้อง ก่อนเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร
มหาวิทยาลัยสภามหาวิทยาลยั หรือผบู้ รหิ ารระดับสูงที่เก่ียวข้อง มีการตงั้ หน่วยงานและคณะกรรมการบริหารเพื่อ
กากับดูแลด้านจริยธรรมของนักวิจัยและส่งเสริมการทาวิจัยให้มีมาตรฐานและคุณภาพ ได้แก่ ศูนย์จริยธรรมการ
วิจัยในมนุษย์ คณะกรรมการจรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือพิจารณาข้อเสนอ
โครงการวิจัยที่ต้องมีการดาเนนิ การวิจยั กับมนษุ ย์และสัตว์ทดลอง มกี ารจดั ตงั้ คณะกรรมการกากบั ดแู ลของเสียทาง
เคมีจากห้องปฏิบัติการและขับเคลื่อนการพัฒนาห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้มาตรฐาน คณะกรรมการ
จรยิ ธรรมการวิจยั เพ่ือพิจารณาข้อพิพาทด้านผลงานการวจิ ยั อย่างเป็นระบบ การให้รางวลั ค่าตอบแทน ที่เกย่ี วขอ้ ง
กับงานวิจัย เป็นไปด้วยความโปร่งใส โดยการยกร่างถูกกลั่นกรองตามลาดับขั้น จากคณะกรรมที่เกี่ยวข้อง สู่คณะ
กรรมบรหิ าร เพ่ืออกเป็นข้อบงั คับหรือประกาศ จากนน้ั มีการตั้งคณะกรรมการเพ่ือพจิ ารณาและกากับติดตาม โดย
มอี งค์ประกอบเป็นผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งตามเหมาะสม

2.3 แผนพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา แผนการผลิตกาลังคนระดับสูงเฉพาะทาง
ตามความตอ้ งการของประเทศ หรอื แผนพัฒนาสถาบนั อุดมศกึ ษาด้านอืน่ ของมหาวิทยาลยั ขอนแก่น

การพลิกโฉมสถาบันอุดมศึกษา (Reinventing University) คือ การปฏิรูปสถาบันอุดมศึกษา ให้สามารถ
จัดการศึกษา วิจัย และผลิตบัณฑิตให้ตอบโจทย์ความต้องการของประเทศตามศักยภาพและ ความถนัด เพ่ือเป็น
หัวจักรในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม อันนาไปสู่ ความย่ังยืน ส่ิงที่
สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องทาคือการปฏิรูประบบการบริหาร ปรับเปลี่ยนหลักสูตรและ การเรียนการสอนให้
ทันสมัย ผลิตกาลังคนคุณภาพสูงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นผู้มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีปัญญา

42

และคุณธรรม ยกระดับการวิจัยและสร้างนวัตกรรมให้มีความเป็นเลิศ รวมท้ังเพิ่มขีดความสามารถในการเป็น
ผู้ประกอบการของบัณฑิต (Entrepreneur) และเพ่ิมโอกาส “การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ” ของคนทกุ ช่วงวัย

ท้ังนี้ มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้กาหนดทิศทาง แผนการดาเนินงานเพ่ือการปฏิรูประบบการบริหารจัดการ
มหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพ ให้มีเป้าหมายท่ีชัดเจน ใช้หลักธรรมาภิบาล มีระบบประกันคุณภาพการจัด
การศึกษา การมีส่วนร่วมของบุคลากรและการทางานแบบร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังในระดับชาติและ
นานาชาติ ตามแนวทางหลักในการจัดทาแผนพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา แผนการผลิตกาลังคน
ระดับสูงเฉพาะทางตาม ความต้องการของประเทศ หรอื แผนพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาด้านอน่ื ดังนี้

1. การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ได้แก่ เทคโนโลยีและระบบแวดล้อมสาหรับการเพิ่มคุณภาพ
การเรียนการสอนสมัยใหม่และเน้นประสิทธิภาพการเรียนรู้ในสถานการณ์โรคระบาดของ COVID-19 การพัฒนา
หลักสูตรตามทิศทางของกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา เช่น หลักสูตรท่ีมีมาตรฐานระดับนานาชาติ หลักสูตรการพัฒนา
บุคลากรในอุตสาหกรรม หรือหลักสูตรพัฒนาบุคลากรในท้องถ่ิน การ Upskill/Reskill คนในวัยทางาน โดยเน้น
ความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเป็นตัวต้ังและเสริมด้วยการทางานร่วมกับพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง การพัฒนา
วิธีการเรียนรู้ของนิสติ นักศกึ ษา เชน่ active learning และอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง

2. การพัฒนาและแสวงหาบุคลากร ได้แก่ การพัฒนาทักษะ (Upskill/Reskill) อาจารย์ เพ่ือตอบสนอง
ต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21 การจ้างผู้เชี่ยวชาญการวิจัยระดับโลก ทั้งแบบเต็มเวลา (Full-time) และไม่เต็มเวลา
(Adjunct & Visiting Scholar) ทุนบัณฑิตศึกษาและนักวิจัยหลังปริญญาเอก (Postdoctoral Fellows) และอื่น ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง

3. ความเป็นนานาชาติ ได้แก่ การสร้างเครือข่ายกบั สถาบนั อดุ มศึกษาช้ันนาระดับโลก ในกลุม่ ท่ีเกย่ี วข้อง
ท่ีเป็นรูปธรรมในลักษณะ strategic partner มีรายละเอียดความร่วมมือท่ีชัดเจน โดยสถาบันอุดมศึกษาควรระบุ
สถาบันอุดมศกึ ษาและกจิ กรรมความร่วมมือทส่ี อดคล้องกับทิศทางและจุดเนน้ ของสถาบนั อุดมศึกษาและประเทศ
เช่น การวิจัยร่วม การแลกเปลี่ยนบุคลากร นักศึกษา หลักสูตรร่วม เป็นต้น ทุนการศึกษาให้ประเทศในกลุ่มที่ขาด
แคลน เช่น ASEAN เปน็ ตน้ เพือ่ ดึงนสิ ติ นักศกึ ษาระดับมนั สมองจากทว่ั โลกมาเรยี น และศึกษาวิจยั ในประเทศไทย
การจัดประชุมวิชาการระดับโลกท่สี ามารถดึงนกั วจิ ยั ท่ีมีชอ่ื เสยี งระดบั โลกให้เข้ารว่ มได้ และอืน่ ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

4. การบริหารงานวิจัยและนวัตกรรม ได้แก่ ระบบการบริหารและจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญาเพ่ือ
ขับเคล่ือนการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ การผลักดันศูนย์วิจัยให้สู่ระดับโลก เช่น การดึงดูดนักวิจัยระดับโลก
มาร่วมงาน การส่งเสริมให้แสวงหาทุนวิจัยระดับนานาชาติ และกิจกรรมความร่วมมือกับสถาบันวิจัยชั้นนาระดับ
โลก ระบบบริหารกลุ่มวิจัยภายในสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มยุทธศาสตร์และจุดเน้นสถาบันอุดมศึกษาโดย
สอดคลอ้ งกับระบบทนุ วิจยั งบประมาณแผ่นดนิ ทีจ่ ัดสรรเปน็ block grant และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

5. การสร้างแพลทฟอร์มความร่วมมือ ได้แก่ การสร้างเครือข่ายกับหน่วยงาน/เอกชน/ชุมชนตามกลุ่ม
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นสถาบันอุดมศึกษา ในลักษณะจตุรภาคี การรวมกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือขับเคล่ือน
เป้าหมายหรือทศิ ทางของประเทศท้ังการสร้างความเป็นเลิศและกาลังคนที่ร่วมกนั และอืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

43

การจัดทาแผนการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) เป็นแผนที่มีเป้าหมายใน
การพลิกโฉมเพ่ือความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยและสร้างกาลังคนขั้นสูงตามความต้องการของประเทศ ซง่ึ มหาวิทยาลัย
เป็นแนวหน้า (Forefront) ในการขับเคล่ือนประเทศสู่ Value-based Economy มุ่งพัฒนาผลงานวิจัยให้มีคุณภาพ
สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อนาไปแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมทั้งได้รับการยอมรับทั้งใน
ระดับชาติและนานาชาติ ตลอดจนการขับเคลื่อนให้เป็นองค์กรท่ีมีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยไดก้ าหนด
แผนการดาเนินงาน ประกอบดว้ ย 3 ยุทธศาสตร์ 12 กลยทุ ธ์ และ 29 แผนงาน/โครงการ ดงั นี้

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ดา้ นการวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรม
(5 กลยทุ ธ์ 19 แผนงาน/โครงการ)

กลยุทธ์ที่ 1 สร้างและพัฒนากาลังคนด้านงานวิจัยศักยภาพสูงท่ีเป็นความต้องการของโลก
มหาวิทยาลัยขอนแกน่ มีความโดดเดน่

กลยทุ ธ์ท่ี 2 สง่ เสรมิ ให้มีการตพี ิมพ์ผลงานทม่ี ีคุณภาพและไดร้ ับการอา้ งอิงสูง
กลยุทธท์ ่ี 3 สร้างระบบนิเวศของการวิจัย (Research Ecosystem) และความร่วมมือกับ

ตา่ งประเทศ
กลยทุ ธท์ ่ี 4 สร้างระบบนิเวศสาหรับการสรา้ งนวตั กรรม (Innovation Ecosystem )
กลยุทธท์ ี่ 5 เพิ่มจานวนลงทุน หรอื รว่ มลงทุน (startup/ venture capital)
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ดา้ นความเปน็ นานาชาติ
(2 กลยุทธ์ 3 แผนงาน/โครงการ)
กลยุทธท์ ่ี 1 สนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ global learners, global alumni, and global

staff รวมท้งั การสนับสนนุ เพอื่ การจัดอนั ดับ World University Ranking ทีส่ ูงขน้ึ
กลยุทธท์ ี่ 2 สนบั สนนุ และสง่ เสริมเครือขา่ ยคุณภาพระดับโลก ระบบนิเวศน์ และความร่วมมือ

กับคู่ความร่วมมือระดับโลก (Global Quality Network & Ecosystem) รวมทั้ง
สร้างสภาพแวดล้อมความเป็นนานาชาติ (International environment)
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ดา้ นการผลติ กาลงั คนระดบั สงู เฉพาะทางตามความต้องการของประเทศ
(5 กลยุทธ์ 7 แผนงาน/โครงการ)
กลยุทธท์ ี่ 1 การพัฒนาหลกั สตู รสูก่ ระบวนทัศนใ์ หม่ (Learning Paradigm)
กลยุทธ์ที่ 2 การจัดการศึกษาตลอดชวี ติ (Lifelong Education)
กลยทุ ธ์ท่ี 3 การพัฒนาหลักสูตรใหม่ (New Curriculum) เพ่ือสร้างอาชีพใหม่ตามความ
ต้องการของสงั คม
กลยุทธท์ ี่ 4 การเตรียมความพรอ้ มประเทศสาหรับเทคโนโลยีใหมส่ าหรับอนาคต
กลยุทธท์ ี่ 5 การให้บรกิ ารดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทัลเชงิ ลกึ ขัน้ สงู

44

รายละเอยี ดแผนการพลกิ โฉมมหาวิทยาลัยขอนแกน่
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569)

(3 ยุทธศาสตร์ 12 กลยทุ ธ์ และ 29 แผนงาน/โครงการ)

45

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1
ดา้ นการวิจยั และพฒั นานวตั กรรม

46

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1
ด้านการวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม

ประเทศไทยต้องการให้มหาวิทยาลัยเป็นแนวหน้าในการขับเคล่ือนประเทศสู่ Value-based Economy การพัฒนา
องค์ความรู้จากงานวิจัยเพ่ือตอบโจทย์ประเทศ ด้วยนโยบายการพัฒนาประเทศตามกรอบแนวคิด “ประเทศไทย 4.0”
ที่ต้องการเห็นการเจริญเติบโตในสามมิติ ได้แก่ competitive growth, inclusive growth และ green growth ซึ่ง
จาเป็นต้องอาศัยการขับเคล่ือนผ่านมหาวิทยาลัยหลักของประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่นก่อตั้งโดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือ
พัฒนากาลังคนและองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้ประชาชนท่ีมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น กว่าครึ่ง
ศตวรรษของผลสาเร็จตามพันธกจิ ของมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ได้แก่ 1) การผลติ บัณฑิตทง้ั ในระดบั ปรญิ ญาตรี โท และเอก
2) การสรา้ งองคค์ วามรู้และนวัตกรรมผ่านการวิจัย 3) การบริการวิชาการส่สู งั คม รวมถงึ การถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ู่ชุมชน 4)
การอนรุ กั ษส์ ่งเสรมิ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ กอปรกบั การขับเคลือ่ นมหาวิทยาลยั ผา่ นการเป็น “มหาวิทยาลัย
แห่งการวิจัย”ตามวิสัยทัศน์ท่สี อดรับกับแผนการพฒั นาประเทศและการเปล่ียนแปลงของโลก (global change) ด้วยการ
สนับสนุนส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยตีพิมพ์ในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์
การแพทย์ มาอย่างต่อเน่ือง การนาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์กับสังคม
และชุมชนมาตลอด ทาใหป้ ัจจุบันมหาวิทยาลยั ขอนแก่นไดร้ บั การยอมรบั เป็น มหาวทิ ยาลัยหลกั ของภูมิภาค มหาวิทยาลัย
ชั้นนาของประเทศและภูมิภาคอาเซียน ในปี ค.ศ. 2020-2021 (ข้อมูล ณ 12 June 2021) มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับ
การจัด “ลาดับโลก” QS World University Ranking ใน 6 สาขา ได้แก่ QS WUR by broad subject area 1 สาขา ท่ี
มีลาดับดีข้นึ ได้แก่ Life science and medicine (401-450) และ by specific subject 5 สาขา คือ ได้แก่ Agriculture
and Forestry (201-250), Pharmacy & Pharmacology (201-250), Medicine (351-400), Biological Sciences
(451-500) และ Chemistry (551-600) และมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับการจัด “ลาดับท่ี 1 ของประเทศ” จาก World
University Ranking THE for SDG impact (Quality Education) ติดต่อกันในปี 2019, 2020 และ 2021 แสดงให้เห็น
ว่าผลงานของมหาวิทยาลยั ขอนแก่นส่งผลกระทบต่อสงั คมตามกรอบ Sustainable Development Goal (SDG) และเป็น
มหาวทิ ยาลยั ทีม่ กี ารผลติ กาลงั คน สรา้ งองค์ความร้ดู ้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ถา่ ยทอดสกู่ ารพัฒนา
สังคมเพื่อความยั่งยืนของประเทศอย่างแท้จริง มีความโดดเด่นและเป็นที่ยอมรับด้านการวิจัยระดับชาติและนานาชาติ
หลายด้าน ได้แก่ การแก้ปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งทอ่ น้าดี โรคธาลัสซีเมีย โรคติดเช้ือเขตร้อน ด้าน multi-
omics (genomics, proteomics, pharmacogenomics, metabolomics, microbiomes, etc.) ก า ร พั ฒ น า
สายพันธพ์ุ ืชและสัตวท์ มี่ ีสารสาคญั ทางสขุ ภาพ ฯลฯ รวมถึงการสรา้ งองคค์ วามร้แู ละนวตั กรรมในรปู สถาบันวจิ ัย และ
ศูนย์วิจยั เฉพาะทางกว่า 20 ศูนย์

ปัจจุบันมหาวิทยาลัยขอนแก่นมีนโยบายปรับเปลี่ยนการวิจัย (Research Transformation) จากการทางาน
วิจัยตามความสนใจของนักวิจัย (Supply side) เป็นการทาวิจัยตามความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์หรือตามปัญหาของ
ประเทศ (Demand side) เปลี่ยนเป้าหมายการทาวิจัยให้ไกลกว่าการตีพิมพ์ มีการพัฒนาต่อยอดผลงานวิจัยไปสู่การ
นาไปใช้จริง เกิดผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม ท่ีสร้างมูลค่า (Translation research) เปล่ียนการทาวิจัยเป็นกลุ่มหรือ

47

โครงการเดี่ยว (Single project) เป็นการทางานวิจัยเป็นทีม ในรูปแบบโปรแกรมวิจัยและคลัสเตอร์วิจัย (Research
program / Research clusters) ที่มุ่งสร้างเครือข่ายวิจัยร่วมแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ เกิดเครือข่ายร่วมวิจัย
ตา่ งประเทศ (International collaboration) และภาคอตุ สาหกรรม (Industrial collaboration) มีการวจิ ัยอย่างตอ่ เน่ือง
เพ่ือตอบโจทย์ปัญหาขนาดใหญ่และเปน็ ความต้องการของประเทศ แหล่งทุน และภาคอุตสาหกรรม เพอื่ สรา้ งผลงานวิจัยท่ี
มีคุณภาพสูง (High performance research) และตอบโจทยใ์ หญ่ที่มีผลกระทบสูง (High impact research) สอดคล้อง
กับเปล่ียนแปลงนโยบายด้านวิจัยของประเทศ ที่ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ในการเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันกับประเทศอ่ืน เพื่อยกระดับรายได้ของประชากรให้หลุดพ้นจากประเทศกับดักรายได้ปาน
กลาง ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ด้านการวิจัยและพัฒนานวตั กรรมจะสง่ ผลให้มหาวิทยาลยั ขอนแก่นสรา้ งผลงานวิจยั ท้ังในรปู ของ
การตีพิมพ์ระดับนานาชาติที่มีคุณภาพและผลกระทบสงู การสร้างเครือข่ายร่วมวิจัยกับสถาบนั วิจัยชั้นนาระดับโลก สร้าง
บุคลากรที่เชี่ยวชาญการวิจัยระดับโลกเพื่อผลิตผลงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ ส่งเสริมความเป็นนานาชาติ และการยอมรับใน
ระดบั โลก

กลยุทธ์/เปา้ หมาย กลยุทธ์ เปา้ หมาย

ท่ี

1 สร้างและพัฒนากาลังคนด้านงานวิจัยศักยภาพสูงที่เป็น สร้างงานวิจัยมุ่งเป้าตามลาดับความสาคัญ (Clear

ความต้องการของโลก และมหาวิทยาลัยขอนแก่นมีความ Strategic research priority) สรา้ งโครงการวจิ ัยขนาดใหญ่ที่

โดดเด่น มีผลกระทบสูงและเป็นความต้องการในอนาคต ได้ผลิตภัณฑ์

2 ส่งเสริมให้มีการตีพิมพ์ผลงานที่มีคุณภาพและได้รับ หรือนวัตกรรมท่ีมีมูลค่า ( Translation research) เกิด
เครือข่ายวิจัยบูรณาการวิจัยข้ามศาสตร์ (Multidisciplinary
การอ้างองิ สงู
research)
3 สร้างระบบนิเวศของการวิจัย (Research Ecosystem) มี ก า ร น า ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ไ ด้ จ ริ ง ( Implementation
และความร่วมมือกบั ตา่ งประเทศ
research) และเกิดเครอื ข่ายร่วมมือวิจัยกบั สถาบันวิจัยชั้นนา

ระดับโลก

4 สร้างระบบนิเวศสาหรับการสร้างนวัตกรรม (Innovation สร้างนวัตกรรมที่มีมูลค่าสูงทางเศรษฐกิจและสังคมตอบ

Ecosystem) เพือ่ รองรบั อุตสาหกรรมเปา้ หมาย โจทย์อุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ

5 เพิ่มจานวนผู้ประกอบการ หรือลงทุน หรือร่วมลงทุน
(Startup/venture capital) ในองค์ความรู้ เทคโนโลยี
ส่ิงประดิษฐ์ วิจัยและนวัตกรรม ของมหาวิทยาลยั ขอนแก่น
ผ่านระบบบริหารจัดการธุรกิจนวัตรรมเชิงพาณิชย์
(Business Innovation unit)

48

แผนงาน/โครงการ

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยทุ ธ์/แผนงาน/โครงการ ผลลพั ธ์
(Key Result) ผลงาน คา่ เปา้ หมาย (ปีงบประมาณ) ผูร้ บั ผดิ ชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

กลยทุ ธท์ ี่ 1 สร้างและพฒั นากาลงั คนดา้ นงานวจิ ยั ศักยภาพสูงทเี่ ป็นความตอ้ งการของโลก และมหาวิทยาลยั ขอนแก่นมคี วามโดดเด่น

1.1 พัฒนาศกั ยภาพและเพม่ิ จานวน • อัตราการอ้างอิงของ 4.27 4.50 5.00 5.50 6.00 6.50 ฝ่ายวิจยั และ
บัณฑิตศึกษา
นักวิจยั ดา้ นมะเร็งและโรคเขตรอ้ น ผลงานที่ได้รับการ

ให้สามารถตพี ิมพผ์ ลงานในวารสาร ตีพิมพ์ (Citation

ระดบั Tier1 และ Q1 /Publication)

• คา่ เฉลี่ยจานวนครงั้ ที่ 4.04 4.10 4.20 4.30 4.40 4.50
ได้รบั การอ้างองิ เท่ากบั
หรือมากกวา่ จานวน
ผลงานวจิ ยั (H-index
Faculty)

1.2 แสวงหาผูเ้ ชีย่ วชาญดา้ นการวจิ ยั • การเคลื่อนย้ายของ 5.04 5.10 5.30 5.50 5.70 5.90 ฝา่ ยวจิ ยั และ
บัณฑิตศึกษา
โรคมะเรง็ และโรคเขตรอ้ นในระดับ อาจารย/์ นักวจิ ยั และ
76
โลก (อันดับ 1 ใน 200 QS WUR) นกั ศกึ ษา (Staff &

เพอ่ื รว่ มสรา้ งผลงานวิจยั Student Mobility)

คุณภาพสงู และสง่ เสริมความเป็น • ชือ่ เสยี งของสถาบัน 71.40 72 73 74 75
นานาชาติ
อุดมศึกษา(Academic

Reputation)

1.3 แสวงหานกั วจิ ัยระดบั โลกท่ีมี • อตั ราการอา้ งองิ ของ 4.27 4.50 5.00 5.50 6.00 6.50 ฝ่ายวจิ ัยและ
บัณฑติ ศึกษา
ผลงานวจิ ยั ขนั้ แนวหน้า (Frontier ผลงานที่ไดร้ ับการ
4.50
research) มาเปน็ Adjunct ตีพมิ พ์ (Citation

Professor เพอ่ื ร่วมผลิตผลงานกับ /Publication)

นักวจิ ยั มหาวิทยาลัยขอนแกน่ • ค่าเฉลีย่ จานวนครั้งที่ 4.04 4.10 4.20 4.30 4.40

ไดร้ บั การอา้ งองิ เท่ากบั

หรอื มากกว่าจานวน

ผลงานวิจัย (H-index

Faculty)

1.4 แลกเปลีย่ นนักวิจัย มข. กับสถาบัน • การเคล่ือนยา้ ยของ 5.04 5.10 5.3 5.5 5.7 5.9 ฝา่ ยวจิ ยั และ
ช้ันนาของโลก (อันดับ 1 ใน 200 อาจารย์/นักวจิ ยั และ บณั ฑิตศึกษา
QS WUR) เพอ่ื การพัฒนาทกั ษะ นกั ศึกษา (Staff &
เทคโนโลยีช้ันสูงหรอื เทคโนโลยี Student Mobility)
อนาคต

49

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยุทธ์/แผนงาน/โครงการ ผลลัพธ์
(Key Result) ผลงาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) ผรู้ บั ผดิ ชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

1.5 สนับสนนุ ทุนวิจยั นักศึกษาปรญิ ญา • อัตราการอา้ งองิ ของ 4.27 4.50 5.00 5.50 6.00 6.50 ฝา่ ยวิจัยและ
เอกและนกั วจิ ยั หลังปรญิ ญาเอก ผลงานทไี่ ด้รบั การ บัณฑิตศึกษา
สาขา Science & Technology ตพี มิ พ์ (Citation
และ Health Science ด้านการ /Publication)
วิจยั ข้ันแนวหน้า (Frontier
research) และการวจิ ัยพืน้ ฐาน
(Basic research) ท่ี มข. มี
ศักยภาพสูง

1.6 พฒั นานกั วิจัยท่ีทางานทางด้าน • ชอื่ เสยี งของ 71.40 72 73 74 75 76 ฝ่ายวิจัยและ
Cancer cell therapy, สถาบันอุดมศึกษา บัณฑติ ศึกษา
Translation medicine และ (Academic
Precision medicine Reputation)

1.7 สนบั สนุนแบบทา้ ทายรางวัล • ชอ่ื เสยี งของ 71.40 72 73 74 75 76 ฝา่ ยวจิ ยั และ
4.27 4.50 5.00 5.50 6.00 บณั ฑิตศกึ ษา
นักวจิ ัยทต่ี พี ิมพใ์ นวารสารชัน้ นา สถาบนั อุดมศึกษา
6.50
ของโลก เช่น Science, Nature, (Academic

Lancet, New England Journal Reputation)

หรือเทยี บเทา่ หรือวารสารท่ีมีค่า • อตั ราการอา้ งองิ ของ
IF 20 ขึ้นไป
ผลงานทีไ่ ด้รับการ

ตพี ิมพ์ (Citation

/Publication)

1.8 ระบบการสง่ เสรมิ นักวิจยั ให้ไดร้ ับ • รางวัลยกยอ่ งเชิดชู 13.41 14 15 16 17 18 ฝ่ายวิจยั และ
บณั ฑิตศึกษา
รางวัลเชิดชูเกยี รตดิ ้านการวจิ ัยใน เกยี รตริ ะดบั ระดบั ชาติ

ระดับชาติหรือนานาชาติ และ/หรอื นานาชาติ

ของบคุ ลากร (Prize

winner)

50

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยทุ ธ์/แผนงาน/โครงการ ผลลัพธ์
(Key Result) ผลงาน คา่ เปา้ หมาย (ปีงบประมาณ) ผรู้ ับผดิ ชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

กลยุทธท์ ่ี 2 ส่งเสริมใหม้ ีการตพี ิมพ์ผลงานทม่ี คี ุณภาพและไดร้ บั การอา้ งอิงสูง

2.1 ส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยตีพิมพ์ • อัตราการอา้ งองิ ของ 4.27 4.50 5.00 5.50 6.00 6.50 ฝา่ ยวจิ ยั และ
บณั ฑติ ศกึ ษา
ในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และ ผลงานทีไ่ ด้รบั การ
4.50
เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ก ลุ่ ม ส า ข า ตพี มิ พ์ (Citation

วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ใน 7 สาขา /Publication)

ที่มีความเปน็ ได้ในการจัดลาดับโลก • คา่ เฉลีย่ จานวนครั้งที่ 4.04 4.10 4.20 4.30 4.40
ตามสาขา (World Ranking by 7 ไดร้ บั การอา้ งอิงเท่ากบั
Subject) ดังน้ี
หรอื มากกว่าจานวน
(1) การเพิ่มจานวนผลงานวิจัย ผลงานวิจัย (H-index
ตีพิมพ์ใน Q1-Q2 และTier1 ที่มี Faculty)
ค่า impact factor ในสาขาที่มี

ความเป็นได้ในการจัดลาดับโลก

โดยนักวิจัย มข. เป็นเจ้าของ

ผลงาน และเป็น Co-author

ร่วมกับสถาบัน QS WUR อันดับ

1 ใน 100

(2) การเพ่ิมจานวนผลงานวิจัย

ตีพิมพใ์ นสาขาท่มี ีความเป็นได้ใน

การจัดลาดับโลกตามสาขาที่

ตีพิมพ์ในปี ค.ศ.2022 และได้รับ

ก า ร อ้ า ง อิ ง ( Citation) ใ น

ฐานข้อมูล SCOPUS ในปี ค.ศ.

2022 โดยนักวิจัย มข. เป็น

เจ้าของผลงาน และนักวิจัย มข.

เปน็ Co-author

กลยุทธท์ ี่ 3 สรา้ งระบบนิเวศของการวจิ ยั (Research Ecosystem) และความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ

3.1 ส่งเสริมความร่วมมือด้านการวิจัย ด้าน • ความร่วมมือวิจัย 32.61 34 36 38 40 42 ฝา่ ยวจิ ัยและ
บัณฑิตศกึ ษา
มะเร็งและโรคเขตร้อนระหว่างนักวิจัย ระดับนานาชาติ

มข. กับสถาบันช้ันนาระดับโลก อันดับ (Active

1 ใน 100 - 200 QS WUR ดังน้ี International

(1) การพัฒนาศูนย์สตั วท์ ดลองภาค Research

ตะวันออกเฉียงเหนือ มข. เพอ่ื ผลิต Collaboration)

51

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยทุ ธ/์ แผนงาน/โครงการ ผลลพั ธ์
(Key Result) ผลงาน คา่ เปา้ หมาย (ปีงบประมาณ) ผรู้ ับผิดชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

หนตู ้นแบบจาลองเสมือนผปู้ ่วย • การเคลอ่ื นยา้ ยของ 5.04 5.10 5.3 5.5 5.7 5.9

(Thai-PDX; Patient-derived อาจารย์ & นกั ศึกษา

xenograft model) เพ่ือสนับสนุน (Staff & Student

การวิจัยด้านการรกั ษามะเรง็ แบบ Mobility)

แม่นยารายบุคคล • อตั ราการอ้างอิงของ 4.27 4.50 5.00 5.50 6.00 6.50

(2) การสง่ เสรมิ ใหส้ ถาบันวจิ ัย ผลงานท่ีไดร้ ับการ

วิทยาศาสตร์สขุ ภาพลุ่มน้าโขง ใน ตีพมิ พ์ (Citation/
โครงการคลงั ตัวอยา่ งชีวภาพ มี Publication)
จานวนการเกบ็ รักษา
biospecimenผู้ปว่ ยมะเรง็ ท่อน้าดี • ค่าเฉลย่ี จานวนคร้งั ที่ 4.04 4.10 4.20 4.30 4.40 4.50
มะเรง็ อื่นๆ และโรคติดเช้อื สาหรับ ได้รบั การอ้างองิ เท่ากับ
งานวจิ ัยและสรา้ งนวตั กรรมไปใช้ หรอื มากกวา่ จานวน
ประโยชนม์ ากข้ึน ผลงานวิจัย (H-index
Faculty)
(3) การเพ่ิมจานวนโครงการวจิ ยั ด้าน
• งบประมาณด้านการ 557,816 560,000 570,000 580,000 590,000 600,000
โรคมะเรง็ และโรคเขตร้อน ภายใต้ วิจัยตอ่ หัวของ /คน
สถาบันวิจัยพยาธใิ บไม้ตับและ
มะเรง็ ท่อน้าดี หรอื สถาบนั วจิ ัย บคุ ลากร (Research
วิทยาศาสตร์สขุ ภาพลุ่มน้าโขง หรอื Funding/Faculty)

ศนู ย์วิจยั และบริการตรวจ

วินจิ ฉยั โรคติดเช้อื ระบาดใหมแ่ ละ

เมลิออยโดสิส หรือแพลทฟอร์ม

Multi-Omics ของ มข. ให้มกี าร

สรา้ งความรว่ มมอื กับเครือข่าย

สถาบันช้ันนาของโลก 1 ใน 100

QS WUR เพือ่ สร้างผลงานวิจยั

ตพี มิ พ์ในQ1/Tier 1 หรอื พฒั นาสู่

การสรา้ งนวัตกรรมท่ยี ืน่ จดสิทธิ

ทางปญั ญาและนาไปใชป้ ระโยชน์

ด้านโรคมะเร็งทอ่ นา้ ดี, Point of

caretest fortropical infectious

disease, Medic-omics,Nutri-

omics, Pharmacogenomic,

Microbiomes

52

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยุทธ/์ แผนงาน/โครงการ ผลลพั ธ์
(Key Result) ผลงาน คา่ เปา้ หมาย (ปีงบประมาณ) ผู้รับผิดชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

3.2 สรา้ งแพลตฟอรม์ การวิจัยใหม่ • อตั ราการอ้างอิงของ 4.27 4.50 5.00 5.50 6.00 6.50 ฝ่ายวิจยั และ
Cannabis solution platform, ผลงานทไี่ ดร้ ับการ บัณฑิตศึกษา
Multi-omics platform, ตพี ิมพ์ (Citation/
Functional food and food Publication) 557,816 560,000 570,000 580,000 590,000 600,000
safety platform, and /คน
Precision medicine platform • งบประมาณดา้ นการ
วิจยั ตอ่ หวั ของ
บคุ ลากร (Research
Funding/Faculty)

3.3 โครงการจดั ตง้ั สถาบันวิจยั และ • ช่อื เสยี งของ 71.40 72 73 74 75 76 ฝ่ายวิจยั และ

นวัตกรรมโรคมะเร็งและโรคเขต สถาบนั อุดมศกึ ษา บณั ฑิตศกึ ษา

ร้อน เพือ่ เป็นหน่วยงานในการ (Academic

สรา้ งองค์ความรู้เผยแพรแ่ ละนา Reputation)

งานวิจัย นวัตกรรมไปใชป้ ระโยชน์ • อตั ราการอ้างอิงของ 4.27 4.50 5.00 5.50 6.00 6.50

ผลงานท่ไี ดร้ บั การ

ตีพิมพ์ (Citation/

Publication

3.4 พัฒนาศูนยใ์ หบ้ รกิ ารวิจยั บรกิ าร • ชอื่ เสียงของ 71.40 72 73 74 75 76 ฝา่ ยวิจัยและ
วิชาการและเทคโนโลยแี บบครบ สถาบันอุดมศึกษา บัณฑิตศึกษา
วงจร (KKU Research solution (Academic
center) ในระดบั อาเซียน Reputation) 557,816 560,000 570,000 580,000 590,000 600,000
/คน
• งบประมาณด้านการ
วจิ ยั ตอ่ หวั ของ
บคุ ลากร (Research
Funding/Faculty)

53

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยุทธ/์ แผนงาน/โครงการ ผลลัพธ์
(Key Result) ผลงาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) ผู้รับผิดชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

กลยุทธท์ ่ี 4 สรา้ งระบบนเิ วศสาหรับการสร้างนวัตกรรม (Innovation Ecosystem )

4.1 การส่งเสริม นักศกึ ษา นกั วจิ ัย • จานวนนกั ศกึ ษาหรือ 3 3 4 5 6 7 ฝ่ายนวัตกรรม
และวสิ าหกิจ
ตลอดจนบุคลากรของ บณั ฑิตศกึ ษาทีเ่ ปน็
15 ฝา่ ยนวัตกรรม
มหาวิทยาลัย ให้มีความเป็น ผู้ประกอบการใหม่ และวิสาหกิจ/
ส่วนงาน
นกั นวตั กร และความเป็น 11 11 12 13 14
ผปู้ ระกอบการ (Innovator and • จานวนหลกั สูตร/
โปรแกรมทใ่ี ช้
entrepreneurship process)
เทคโนโลยหี รอื
และสร้างหรือพัฒนานวตั กรรม
นวตั กรรมเพอ่ื พฒั นา
อยา่ งเปน็ ระบบ อบรม
deign/idea thinking / business ความเป็น
ผู้ประกอบการ
model / canvas

model/technology canvas/

Intellectual property/ digital

market/ feasibility /research

market/ การจดั hackathon/

การบูรณาการขา้ มศาสตร์/

สนับสนุนทุนทาต้นแบบและ

ทดลองตลาด

4.2 โครงการจัดตั้งศูนย์นวัตกรรม • จานวนผลงานท่ียน่ื 327 337 347 357 367 377 ฝ่ายนวัตกรรม
(Innovation center) ทรัพย์สินทางปัญญา และวสิ าหกจิ
เช่น Healthcare innovation
center

4.3 ศนู ยบ์ ริหารจดั การนวัตกรรมเชิง • จานวนทรพั ย์สินทาง 10 11 12 13 14 15 ฝา่ ยนวัตกรรม
และวสิ าหกิจ
พาณชิ ย์ (Business Innovation ปญั ญาท่นี าไปใช้

center) ประโยชนเ์ ชิงพาณิชย์

• จานวนทรัพย์สินทาง 62 49 52 53 62 64 ฝา่ ยนวัตกรรม
ปัญญาท่มี ีการ และวิสาหกิจ
licensing โดย
ผ้ปู ระกอบการ
(โครงการที่ active
เพ่ิมขึน้ ร้อยละ 5)

54

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยุทธ/์ แผนงาน/โครงการ ผลลัพธ์
(Key Result) ผลงาน คา่ เปา้ หมาย (ปีงบประมาณ) ผรู้ ับผิดชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

4.4 พฒั นานวตั กรรมตอบโจทย์ • จานวนเงินทุนท่ีไดร้ ับ 50 75 100 125 150 200 ฝ่ายนวัตกรรม
อุตสาหกรรมเป้าหมายของ จากภาครฐั และเอกชน และวสิ าหกิจ
ประเทศ 12s curve industries เพื่อส่งเสรมิ
เชน่ วัสดุการแพทย์ เครอื่ งมือ อตุ สาหกรรมเป้าหมาย
แพทย์ ชุดตรวจโรคเขตรอ้ น (ลา้ นบาท)
อาหารเพื่อสุขภาพ พลงั งาน
สะอาด

4.5 พัฒนาความร่วมมือกบั ภาคเอกชน • จานวนความรว่ มมอื 10 11 13 14 15 16 ฝ่ายนวัตกรรม
และวสิ าหกิจ
อุตสาหกรรมเพ่ือนาผลงานไปใช้ เครือข่ายเอกชนหรอื

ประโยชนเ์ ชิงพาณชิ ย์ อุตสาหกรรม

กลยทุ ธท์ ี่ 5 เพ่มิ จานวนลงทนุ หรอื รว่ มลงทุน (startup/ venture capital)

5.1 การเพ่ิมผปู้ ระกอบการ หรือลงทุน • จานวน ผู้ประกอบการ 10 10 10 10 10 10 ฝา่ ยนวัตกรรม
และวสิ าหกิจ
หรอื รว่ มลงทุน (startup/ ใหม่ การลงทนุ ร่วมทุน

venture capital) ในองค์ความรู้ ที่ใชอ้ งค์ความรู้

เทคโนโลยี สง่ิ ประดิษฐ์ วิจยั และ เทคโนโลยี และ

นวตั กรรมของ มข. เชน่ นวัตกรรมของ มข.

- การลงทุนหรือร่วมทุนหรือ

startup ด้าน Healthcare

Agriculture & food, Green

and sustainable energy

55

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2
ด้านความเปน็ นานาชาติ

56

ยุทธศาสตร์ที่ 2
ด้านความเปน็ นานาชาติ

การนามหาวิทยาลัยขอนแก่นสู่ความเป็นนานาชาติเป็นสง่ิ ที่จะช่วยให้มหาวทิ ยาลัยสามารถพัฒนาทั้งดา้ น
การจัดการศึกษา การวิจัย และการบริการ ให้มีความก้าวหน้าอย่างก้าวกระโดด รวมท้ังจะช่วยให้
มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นที่รู้จักในสังคมนานาชาติซ่ึงจะส่งผลดีต่อการจัดอันดับของม หาวิทยาลัย
(World University Ranking) การวางแผนการสร้างความร่วมมือกับนานาชาติจะแบ่งออกเป็น 3 ด้าน
(Triage partnership scheme) คือ 1) การจับมือกับมหาวิทยาลัยในประเทศ (Local connection) เพ่ือทา
โครงการร่วมกันในการสร้างความร่วมมือกับสถาบันในต่างประเทศ 2) การสร้างความร่วมมือกับสถาบันในภมู ภิ าค
อาเซยี น (Regional networking) 3) รว่ มมอื กับมหาวทิ ยาลยั ทอี่ ย่ใู น World ranking 400 อันดับแรกของโลก

กลยทุ ธ์/เปา้ หมาย กลยทุ ธ์ เปา้ หมาย

ที่

1 สนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ global learners, มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นมหาวิทยาลัยท่ีโดดเด่นบน

global alumni, and global staff เวทีโลก

2 สนับสนุนและส่งเสริมเครือข่ายคุณภาพระดับโลกและระบบ
นิเวศน์ รวมท้ังความร่วมมือกับคู่ความร่วมมือระดับโลก
(Global Quality Network & Ecosystem)

แผนงาน/โครงการ

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยุทธ์/แผนงาน/โครงการ ผลลพั ธ์
(Key Result) ผลงาน คา่ เปา้ หมาย (ปีงบประมาณ) ผู้รับผิดชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

กลยทุ ธท์ ี่ 1 สนบั สนนุ และส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของ global learners, global alumni, and global staff รวมทัง้ การสนบั สนนุ
เพอื่ การจัดอนั ดับ World University Ranking ที่สงู ขึ้น

1.1 การเพิ่มจานวนและการมสี ่วนรว่ ม • การเคลอ่ื นยา้ ยของ 5.04 5.10 5.3 5.5 5.7 5.9 ฝ่ายการ

สาหรบั ผู้เรยี นท่วั โลกและการสนับสนนุ อาจารย์/นกั วจิ ยั ต่างประเทศ

เพือ่ การจัดอันดับ World University และนักศกึ ษา (Staff

Ranking ที่สูงข้ึน (Active Approach & Student

for Global Learners and World Mobility)

University Ranking)

57

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยทุ ธ/์ แผนงาน/โครงการ ผลลพั ธ์
(Key Result) ผลงาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) ผรู้ บั ผิดชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

กลยุทธท์ ี่ 2 สนบั สนนุ และส่งเสรมิ เครอื ขา่ ยคณุ ภาพระดับโลก ระบบนิเวศน์ และความร่วมมอื กบั คู่ความร่วมมอื ระดับโลก
(Global Quality Network & Ecosystem) รวมท้ังสร้างสภาพแวดลอ้ มความเป็นนานาชาติ (International environment)

2.1 การสร้างและสนบั สนนุ เครือข่ายความ • ชือ่ เสยี งของ 71.40 72 73 74 75 76 ฝ่ายการ

ร่วมมอื ทางวิชาการและวจิ ยั ทเี่ ป็นเลิศใน สถาบันอุดมศึกษา ต่างประเทศ

ระดบั โลกอยา่ งยง่ั ยืน (Building & (Academic

Sustaining World Class Academic Reputation)

and Research Collaboration)

2.2 การส่งเสรมิ ความเป็นนานาชาตแิ ละการ • การเคลอ่ื นย้ายของ 5.04 5.10 5.3 5.5 5.7 5.9

สรา้ งความเขม้ แข็งด้านสมรรถนะสากล อาจารย/์ นกั วิจยั

และโลกทัศน์นานาชาติ และนักศกึ ษา

(Empowerment on (Staff & Student

Internationalization and Global Mobility)

Perspectives)

58

ยุทธศาสตร์ท่ี 3
ดา้ นการผลติ กาลังคนระดับสงู เฉพาะทาง

ตามความต้องการของประเทศ

59

ยุทธศาสตรท์ ี่ 3
ดา้ นการผลิตกาลังคนระดับสงู เฉพาะทางตามความตอ้ งการของประเทศ

การผลิตกาลังคนระดับสูงของประเทศไทยถือเป็นการพลิกโฉมการอุดมศึกษาไทย เพื่อตอบสนองความ
ต้องการ การพัฒนากาลังคนท่ีมีสมรรถนะ สามารถพัฒนานวัตกรรมและขับเคลื่อนภาคการผลิตสู่ Thailand 4.0
โดยเป็นการจัดการศึกษาที่เน้นการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริงกับภาคการผลิต (Experiential Learning) และ
สามารถประยุกต์ใช้วชิ าการข้ันสูงกบั การปฏบิ ัตจิ ริงโดยเฉพาะส่ิงอุบัติใหม่ท่ีไมเ่ คย “มหี รอื เห็น” มาก่อนได้ ซง่ึ เป็น
การเปลี่ยนระบบการอุดมศึกษาจากรูปแบบเดิม ไปสู่การอุดมศึกษาไทยท่ีสามารถตอบสนอง “การเรียนรู้วิชาการ
ข้นั สงู เพื่อการปฏิบัติงานได้” ตลอดชว่ งชวี ติ การทางานของตลาดแรงงาน

กลยทุ ธ/์ เปา้ หมาย กลยุทธ์ เปา้ หมาย

ท่ี

1 การพัฒนาหลักสูตรสู่กระบวนทัศน์ใหม่ (Learning เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถคิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์
Paradigm) สังเคราะห์ความรู้ได้ เพ่ือให้สามารถสร้างเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม และเปน็ ผนู้ าในการเปลย่ี นแปลง
2 การจดั การศึกษาตลอดชีวติ (Lifelong Education)
เพื่อยกระดับขีดความสามารถของประชาชนทุกช่วงวัย
3 การพัฒนาหลักสูตรใหม่ (New Curriculum) เพื่อสร้าง ด้วยการพัฒนาทักษะใหม่ๆ รวมทั้งปรับและยกระดับ
อาชีพใหมต่ ามความตอ้ งการของสงั คม ทักษะเดิม (New/Re/Up Skills)

4 การเตรียมความพร้อมประเทศสาหรับเทคโนโลยีใหม่ เ พ่ื อ ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร ใ ห ม่ โ ด ย เ น้ น ห ลั ก สู ต ร ท า ง ด้ า น
สาหรับอนาคต วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ เพ่อื
สร้างกาลังคนระดับสูงท่ีเป็นความต้องการของสังคมและ
5 การใหบ้ ริการดา้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเชิงลกึ ขนั้ สูง ภาคอตุ สาหกรรมในปจั จุบันและอนาคต

พัฒนาพ้ืนฐานกาลังคนให้มีความพร้อมกับเทคโนโลยีใหม่
ที่ส่งผลกระทบสูงต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและ
สังคมโลก

60

แผนงาน/โครงการ

(1) (2) (3) (4) (5)
กลยุทธ์/แผนงาน/โครงการ ผลลัพธ์
(Key Result) ผลงาน คา่ เป้าหมาย (ปีงบประมาณ) ผ้รู ับผิดชอบ

ปจั จบุ นั 2565 2566 2567 2568 2569

กลยุทธ์ท่ี 1 การพัฒนาหลักสตู รสู่กระบวนทศั นใ์ หม่ (Learning Paradigm)

1.1 การพัฒนาหลักสูตรสู่กระบวนทัศน์ใหม่ • ชอ่ื เสยี งของสถาบนั 71.40 72 73 74 75 76 ฝา่ ยการศึกษา

(Learning Paradigm) อุดมศกึ ษา (Academic และบริการ

Reputation) วิชาการ

กลยทุ ธท์ ่ี 2 การจดั การศึกษาตลอดชวี ิต (Lifelong Education)

2.1 การจัดการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong • ชอ่ื เสยี งของสถาบัน 71.40 72 73 74 75 76 ฝ่ายการศกึ ษา

Education) อดุ มศึกษา (Academic และบรกิ าร

Reputation) วิชาการ

กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาหลักสตู รใหม่ (New Curriculum) เพอื่ สรา้ งอาชพี ใหมต่ ามความต้องการของสงั คม

3.1 ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ ห ม่ ( New • ชือ่ เสยี งของสถาบัน 71.40 72 73 74 75 76 ฝา่ ยการศึกษา

Curriculum) เพื่อสร้างอาชีพใหม่ตาม อดุ มศกึ ษา (Academic และบรกิ าร

ความตอ้ งการของสงั คม Reputation) วชิ าการ

กลยุทธท์ ี่ 4 การเตรียมความพร้อมประเทศสาหรบั เทคโนโลยใี หมส่ าหรบั อนาคต

4.1 พัฒนาหลกั สูตรและงานวิจยั ดา้ นควอนตมั • ชื่อเสยี งของสถาบัน 71.40 72 73 74 75 76 ฝ่ายดจิ ิทลั

ฟสิ ิกส์และควอนตัมคอมพิวต้ิง อดุ มศึกษา (Academic

4.2 จดั กจิ กรรมส่งเสริมความเขา้ ใจและพัฒนา Reputation)

ความรู้ด้านควอนตัมคอมพิวต้งิ

4.3 พฒั นาหลกั สูตรระดบั ปริญญา และ จัด
กิจกรรมพัฒนาทักษะดา้ นความม่นั คง
ปลอดภยั ไซเบอร์ (Cyber Security) เพ่อื
สรา้ งความพรอ้ มในการปอ้ งกนั ตรวจสอบ
และแกป้ ญั หาดา้ น Cyber Security ให้
ทนั สมัยอยเู่ สมอ

กลยทุ ธท์ ่ี 5 การให้บรกิ ารดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทัลเชงิ ลึกขั้นสงู

5.1 ให้บรกิ าร A.I As A Services (AAAS) • ชื่อเสยี งของสถาบนั 71.40 72 73 74 75 76 ฝา่ ยดิจทิ ัล
อุดมศึกษา (Academic
Reputation)

61

สว่ นที

3

การนําแผนไปสู่การปฏบิ ัติ
และการกํากบั ตดิ ตามประเมินผล

ส่วนที่ 3
การนาแผนไปสู่การปฏิบตั ิ และการกากบั ตดิ ตามประเมนิ ผล

แผนการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) เป็นแผนท่ีมีเป้าหมายในการ
พ ลิ ก โ ฉ ม เพ่ื อ ค ว า ม เป็ น เลิ ศ ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ล ะ ส ร้ า ง ก า ลั ง ค น ขั้ น สู ง ต า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ป ร ะ เท ศ
ซ่ึงมหาวิทยาลัยเป็นแนวหน้า (Forefront) ในการขับเคลื่อนประเทศสู่ Value-based Economy มุ่งพัฒนา
ผลงานวิจัยให้มีคุณภาพสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้เพ่ือนาไปแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน สังคม และประเทศชาติ
รวมท้ังได้รับการยอมรับทั้งในระดับชาตแิ ละนานาชาติ ตลอดจนการขับเคลื่อนให้เป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการ
อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยได้กาหนดแผนงานต่าง ๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์ 3 ด้าน ซึ่งได้ดาเนนิ การใหม้ ีความสอดคลอ้ ง
และเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรข์ องประเทศ ทั้งน้ี เพ่ือให้บรรลคุ วามสาเร็จของการขับเคล่ือนแผนยทุ ธศาสตรฯ์ สู่การ
ปฏิบัติ มหาวิทยาลัยจะได้มีการสร้างความชัดเจนของแผนยุทธศาสตร์ฯ และการบริหารจัดการแผนยุทธศาสตร์สู่
การปฏิบัติ โดยการสร้างความรับรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงภารกิจ และความรับผิดชอบร่วมกันของทุกภาคส่วน
ของมหาวิทยาลยั เพื่อให้การขับเคลอ่ื นเกดิ ประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน มแี นวทาง ดงั น้ี

3.1 การรบั ฟังความคิดเห็นจากผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม มหาวิทยาลัยจะดาเนินการนาแผนยุทธศาสตร์ฯ รับฟังความคิดเห็นจากภาค
ส่วนต่าง ๆ ประกอบด้วย (1) กลุ่มผู้บริหารคณะ วิชา ศูนย์ สถาบัน สานัก (2) กลุ่มผู้อานวยการ/เลขานุการคณะ
ศูนย์ สถาบัน สานกั (3) กลุ่มสภาคณาจารย์ สภาข้าราชการ พนกั งานและลูกจ้าง และชมรมพนักงานมหาวิทยาลัย
(4) กลุ่มภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนท่ัวไป (5) กลุ่มนักศึกษา นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยจะได้นาเสนอต่อที่
ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น และท่ีประชุมสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อพิจารณาให้
ข้อคิดเห็นเสนอแนะ ในการนาเอาข้อคิดเห็นต่าง ๆ ไปปรับปรุงให้แผนยุทธศาสตร์ฯ มีความสมบูรณ์ สามารถนาไป
ปฏิบตั ไิ ด้ และได้รบั ความรว่ มมือจากทกุ ภาคส่วน

3.2 การเชอ่ื มโยงจากยุทธศาสตร์สูก่ ารจดั ทาโครงการและแผนงบประมาณ

ในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ 4 ปีของมหาวทิ ยาลัยจะมีการเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ วิสัยทัศน์ และ
นโยบายของสภามหาวิทยาลัย หลังจากน้ันจะมีการกาหนดผู้รับผิดชอบของแต่ละกลยุทธ์โดยจะมอบหมายให้รอง
อธิการบดีแต่ละฝ่าย หัวหน้าส่วนงานและหน่วยงานจัดทาแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
และตัวชี้วัดท้ังหมดมีการถ่ายทอดตามลาดับจนถึงส่วนงานและรายบุคคล รวมท้ังผู้ส่งมอบและคู่ความร่วมมือ
ตั้งแต่ปี 2562 ได้ใช้วิธีการถ่ายทอด OKRs แทน KPIs และเปลี่ยนจากการถ่ายทอดจากบนลงล่าง (Top down)

62

เป็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายร่วมกัน รวมท้ังมอบหมาย OKRs ที่เป็นไปตามจุดแข็งและสอดคล้องกับบริบทของ
แต่ละคณะ/ส่วนงาน โดยแผนปฏิบัติการจะมีการนามาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมผู้บริหารระดับสูง พร้อมทั้ง
งบประมาณของแผนปฏิบัตกิ ารและโครงการ แล้วจงึ เสนอขอความเห็นชอบต่อสภามหาวิทยาลัย หลังจากนั้นจะมี
การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการประจาปีไปยังส่วนงาน ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และคู่ความร่วมมือ ซึ่งงบประมาณในการ
ดาเนินมาจากงบประมาณแผ่นดิน งบประมาณเงินรายได้ การสนับสนุนของหน่วยงานภายนอกทั้ งภาครัฐ
ภาคเอกชน มูลนิธิ/บุคคล กองทุน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จะมีการจัดสรรอย่างเหมาะสมตามลาดับ
ความสาคัญของการขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุพันธกิจ โดยการจัดสรรทรัพยากรเพื่อขับเคลื่อนองค์กร มีการ
ดาเนินการคู่ขนานไปกับกระบวนการจัดทาแผนปฏิบัติการ โดยรองอธิการบดี และหัวหน้าส่วนงานจะจัดทา
แผนปฏิบัติการ งบประมาณของแผนปฏิบัติการ และแผนความต้องการบุคลากรมาพร้อมกัน ซึ่งจะมีการพิจารณา
ลาดับความสาคัญของการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ โดย 1) พิจารณาความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา
มหาวิทยาลัย 3 ด้าน (People, Ecological, Spiritual) และพันธกิจหลัก 2) พิจารณาจากสภาพปัญหาและ
เร่งด่วนจาเป็นของส่วนงาน 3) พิจารณาผลการดาเนินงาน และผลการใช้จ่ายงบประมาณในปีท่ีผ่านมา 4)
พิจารณาความต่อเนื่องหรือมีภาระผูกพัน และเมื่อมีการอนุมัติแผนปฏิบัติการก็จะอนุมัติงบประมาณและ
อตั รากาลังไปในคราวเดียวกัน และเพ่ือให้องค์กรมีความคล่องตัวได้มีกระบวนการจัดเตรียมงบประมาณส่วนกลาง
รวมถึงอัตรากาลังส่วนกลางในกรณีที่ต้องมีการปรับแผนปฏิบัติการ และหรือมีโครงการเร่งด่วนในระหว่าง
ปีงบประมาณไว้อย่างเพียงพอ และหากมีความจาเปน็ ตอ้ งใชง้ บประมาณและหรืออตั รากาลังเพมิ่ เติม จะดาเนินการ
โดยขออนมุ ัตสิ ภามหาวิทยาลัยเปน็ คราวๆ ไป

3.3 การถา่ ยทอดเปา้ ประสงคแ์ ละตัวช้ีวัดจากระดับมหาวิทยาลยั สรู่ ะดับหน่วยงาน

เพ่ือให้การดาเนินงานของท้ังมหาวิทยาลัยไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกัน จะได้มีการแผนงาน
ต่าง ๆ สู่คณะ ศูนย์ สถาบัน สานัก วิทยาลัย กอง/สานักงาน หรือสานักวิชาต่าง ๆ โดยให้คณะ/หน่วยงาน
พิจารณาตามศักยภาพและความเชี่ยวชาญเพ่ือนาไปจัดทาแผนปฏิบัติการ 4 ปี และแผนปฏิบัติการประจาปีให้มี
ความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับทิศทางการบริหารของมหาวิทยาลัย นอกจากน้ี มหาวิทยาลัยจะได้นาไปตัวช้ีวัด
และเป้าหมายต่าง ๆ ของแผนยุทธศาสตร์ไปใช้ประกอบการจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการระหว่าง
มหาวิทยาลัยกับหน่วยงานระดับคณะหรือเทียบเท่า และคารับรองการปฏิบัติราชการระหว่างคณะหรือเทียบเท่า
กับหน่วยงานภายในขององค์กร โดยการกาหนด ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายท่ีสาคัญให้สอดคล้องกับแผนงานต่าง
ของมหาวิทยาลัย มีการตดิ ตามผลลพั ธ์สาคัญทกุ 3 เดอื น

มหาวิทยาลัยกาหนดระดับของการกาหนดค่าเป้าหมายและการเทียบเคียงผลการดาเนินงานเป็น 3
ระดบั คือ 1) ระดบั วิสัยทัศน์มีตัวชี้วัดเทียบเคียงโดยใช้การจัดอันดบั มหาวทิ ยาลัย ทัง้ ในระดับโลก ระดับทวปี และ

63

ระดับประเทศ ใช้ข้อมูลหลักจาก QS และ THE ranking เป็นตัวเทียบเคียงหลัก 2) ระดับยุทธศาสตร์ มีผลลัพธ์
สาคัญ 84 ตัว โดยมีการกาหนดค่าเป้าหมาย และคู่เทียบโดยผ่านกระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ขั้นตอนท่ี 1
ระยะท่ี 3 ตามแผนภาพท่ี 2.1-1 3) ระดับกระบวนการทางาน ซ่ึงได้มาจากการทบทวนกระบวนการทางานท้ัง
กระบวนการทางานหลัก และกระบวนการทางานสนับสนุน รวมถึงการบริหารความเส่ียงของมหาวิทยาลัย มี
แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่สาคัญทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน โดยในปี 2563 มีการปรับปรุงกระบวนการ
รวบรวมตัวชี้วัด การกาหนดค่าเป้าหมายและคู่เทียบ โดยมีคณะกรรมการบริหารข้อมูลเพ่ือการบริหารองค์กร
รวบรวม วิเคราะห์ กล่ันกรองค่าเป้าหมายและคู่เทียบในภาพรวม และเสนอต่อผู้บริหารที่รับผิดชอบพันธกิจ
รวมถึงหวั หนา้ สว่ นงานเพ่อื นาขอ้ มูลไปใช้ในการบริหารองค์กรผา่ นระบบ KKU DNA

3.4 การตดิ ตามและประเมินผล

การติดตามและประเมินผลจะมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่องทั้งกา รประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน/
โครงการ โดยแบ่งช่วงระยะเวลาในการติดตามเป็นระยะทุก 3 เดือน หากไม่เป็นไปตามเป้าหมายจะมีการปรับ
แผนปฏิบตั ิการ และโครงการเพ่ือขับเคล่ือนให้บรรลุผลลัพธ์สาคัญท่ีได้ต้ังไว้ เม่ือถึงรอบส้ินปี โดยจะมีการนาข้อมูล
สารสนเทศเก่ียวกับตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ เข้าสู่ระบบและกลไกของการประกันคุณภาพของ
มหาวิทยาลัย เพื่อให้ผู้บริหารได้มีระบบในการติดตามข้อมูลความคืบหน้าในการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้
เป็นข้อมูลในการประเมินผลการดาเนินงานรวมทั้งเพื่อเป็นข้อมูลสาหรับการปรับเปล่ียนยุทธศาสตร์ให้เหมาะสม
และสอดคล้องกับสภาวการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา โดยวางระบบการวิเคราะห์และทบทวนผลการ
ดาเนินงานเป็น 3 ระดับ คือ ผลลัพธ์สาคัญระดับวิสัยทัศน์ ผลลัพธ์สาคัญระดับยุทธศาสตร์ และผลลัพธ์สาคัญ
ระดับกระบวนการ ผลลัพธ์ระดับกระบวนการทางานจะถูกทบทวนโดยผู้รับผิดชอบกระบวนการท่ีเก่ียวข้อง คือ
รองอธิการบดีและหัวหน้าส่วนงานท่ีเก่ียวข้องตามรอบของการรายงานผลลัพธ์สาคัญ นอกจากน้ันคณะกรรมการ
บริหารข้อมูลฯจะมีการติดตามผลการดาเนินการร่วมกับกองยุทธศาสตร์ และกองพัฒนาคุณภาพในการติดตาม
ผลลพั ธส์ าคัญทต่ี ่ากวา่ ค่าเป้าหมาย หรือต่ากว่าการคาดการณ์เพ่อื รายงานตอ่ ทปี่ ระชุมผบู้ รหิ ารตามรอบของตัวชวี้ ัด
ตอ่ ไป ส่วนผลลัพธ์สาคัญระดับวิสัยทัศน์และระดับยุทธศาสตร์จะมีติดตามข้อมูลเป็นรายเดอื น มีการวเิ คราะห์และ
รายงานผลการดาเนินการภาพรวมเป็นรายไตรมาส ต่อผู้บริหารระดับสูง และคณะกรรมการประเมินอธิการบดี
รวมถึงมีการทบทวนรายปีในข้ันตอนท่ี 1 ระยะท่ี 1 ของกระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์เพ่ือใช้ในการค้นหา
โอกาสเชิงกลยุทธ์ ความเข้มแขง็ เชิงกลยุทธ์ และการทบทวน และคน้ หาสมรรถนะหลักใหมท่ ีอ่ าจเกดิ ขนึ้ จากผลการ
ดาเนินงานอย่างเป็นระบบ รวมถึงทบทวนสมรรถนะหลัก และบริบทเชิงกลยุทธ์เดิมเพื่อใช้ในกระบวนการจัดทา
แผนยุทธศาสตรข์ องปถี ดั ไป

64

มหาวิทยาลัยประเมินความสาเร็จของผลการดาเนินการทั้ง 3 ระดับของผลลัพธ์สาคัญตามการบรรลุ
เป้าหมายที่ตั้งไว้ และมีการเทียบเคียงกับคู่เทียบที่สาคัญ หากมีการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมภายนอกก็จะมี
กระบวนการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ และผลลัพธ์สาคัญ เช่น ในปี 2563-2564 เกิดสถานการณ์โควิด 19 สภา
มหาวิทยาลัยได้มีการเชิญประชุมสัมมนาเพ่ือปรับแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ และผลลัพธ์สาคัญเชิง
ยทุ ธศาสตร์ รวมถงึ ผลลพั ธ์สาคญั ทใ่ี ช้ในการติดตามผลการดาเนินการของอธิการบดี

สภามหาวทิ ยาลัยมีการตดิ ตามผลการดาเนินการขององคก์ รผ่านการต้ังคณะกรรมการประเมินอธิการบดี
โดยมีการติดตามผลลัพธ์สาคัญ 25 ตัว รวมถึงการประเมินจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของมหาวิทยาลัยอย่างรอบด้าน
มีการติดตามประเมินเป็นรอบ ทุก 3 เดือน และรายงานผลการดาเนินการเป็นรายไตรมาสต่อสภามหาวิทยาลัย
นอกจากน้ัน อธิการบดียังต้องรายงานผลการปฏิบัติงานในท่ีประชุมสภามหาวิทยาลยั ทุกเดือนตามแผนปฏิบัติการ
ประจาปที ผี่ ่านการรับรอง

อธิการบดีมีการถ่ายทอดผลลัพธ์สาคัญประจาปีไปยังหัวหน้าส่วนงานหลังมีการจัดทาแผนปฏิบัติการ
ประจาปี โดยหัวหน้าส่วนงานจะต้องมีการรายงานผลลัพธ์สาคัญเข้ามาในระบบ KKU DNA ตามรอบของแต่ละ
ตัวช้ีวัด และรายงานภาพรวมราย 6 เดือน เพ่ือใช้ในการติดตาม วิเคราะห์ผล และนาไปปรับปรุงการดาเนินการ
สว่ นตัวชว้ี ดั ทรี่ ับผิดชอบโดยฝ่ายต่าง ๆ จะเนน้ การเชือ่ มโยงระบบฐานขอ้ มูลเพื่อนาข้อมลู เข้าในระบบ KKU DNA

กรณีต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยมีแนวทางดาเนินการ ดังนี้ 1. การเปลี่ยนแปลง
จากสถานการณ์ปกติท่ัวไป จากการติดตามดาเนินงานตามแผนและปรับแผนปฏิบัติการในอานาจความรับผิดชอบ
ของรองอธิการบดี/คณบดี/หัวหน้าส่วนงานท่ีเก่ียวข้อง โดยจะต้องมีการรายงานการปรับแผนมายังฝ่ายวางแผน
ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และทีป่ ระชุมผู้บริหารระดับสูง 2. การเปล่ียนแปลงแผนท่ีเป็นกรณีเร่งด่วนฉุกเฉินท่ี
เกี่ยวข้องกับนโยบายจะมีการนัดประชุมกรรมการสภามหาวิทยาลัย/กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย/กรรมการ
วางแผนยทุ ธศาสตรเ์ ป็นวาระพิเศษ 3. การปรับแผนจากผลการติดตามตัวช้ีวัดโดยคณะกรรมการติดตามและกากับ
ดูแลฐานข้อมูลตัวชี้วัด เสนอต่อท่ีประชุมผู้บริหารระดับสูง ทั้งนี้หากมีการปรับเปล่ียนแผนปฏิบัติการจะมีการ
ประชุมชี้แจงความเข้าใจไปยังส่วนงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องผ่านท่ีประชุมผู้บริหารมหาวิทยาลัยเพื่อให้มีการปฏิบัติที่
ถกู ต้องสอดคลอ้ งไปในแนวทางเดยี วกัน

65

ภาคผนวก ก

เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๒๑ ก หน้า ๑ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ราชกิจจานุเบกษา

กฎกระทรวง

การจดั กลมุ่ สถาบนั อดุ มศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๖๔

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๔ วรรคหน่ึง และมาตรา ๒๔ วรรคสาม
แห่งพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา
วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปนี้

ขอ้ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“ภารกิจ” หมายความว่า การปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์ หน้าท่ีและอานาจ
ทส่ี ถาบันอุดมศกึ ษามีอยตู่ ามกฎหมาย
“พันธกิจ” หมายความว่า พันธะท่ีสถาบันอุดมศึกษากาหนดขึ้นและประกาศต่อสาธารณะ
ตามมาตรา ๒๒ โดยประกอบด้วยเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ในการปฏิบัติภารกิจ
เพ่ือให้เกิดผลลัพธแ์ ละผลสมั ฤทธ์ติ ามท่ไี ดว้ างไว้
“พันธกิจหลัก” หมายความว่า พันธะที่สถาบันอุดมศึกษา ส่วนราชการหรือส่วนงานภายใน
สถาบนั อุดมศึกษาต้องปฏบิ ัติตามกลมุ่ สถาบนั อดุ มศกึ ษาซ่ึงรฐั มนตรปี ระกาศใหส้ งั กัดตามกฎกระทรวงนี้

หมวด ๑
หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการจัดกลมุ่

ข้อ ๒ ในการประกาศกาหนดให้จัดสถาบันอุดมศึกษาท้ังหมดหรือบางส่วนออกเป็นกลุ่ม
ให้รัฐมนตรีคานึงถึงจุดมุ่งหมาย พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ศักยภาพ และผลการดาเนินการท่ีผ่านมา
ของสถาบันอุดมศกึ ษาประกอบด้วย

การประกาศใหส้ ถาบนั อุดมศึกษาใดทั้งสถาบันอยู่ในกลุ่มใดตามวรรคหนง่ึ ให้คานึงถึงศักยภาพ
และความพร้อมของคณะวิชาทั้งหมดท่ีมีอยู่ในสถาบันอุดมศึกษาน้ัน ในกรณีท่ีคณะวิชาส่วนใหญ่
ไม่มีศักยภาพและความพร้อมท่ีจะอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาซึ่งจะประกาศน้ัน รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการการอุดมศึกษาอาจดาเนินการตามข้อ ๕ ก่อนได้ และเมื่อคณะวิชาส่วนใหญ่
มศี ักยภาพและความพร้อมท่ีจะอยใู่ นกลุ่มสถาบนั อุดมศกึ ษานน้ั รฐั มนตรอี าจประกาศใหส้ ถาบนั อดุ มศึกษานน้ั

เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๒๑ ก หน้า ๒ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ราชกจิ จานเุ บกษา

ทั้งสถาบันอยู่ในกลุ่มนั้นได้ และให้ประกาศจัดกลุ่มส่วนราชการหรือกลุ่มส่วนงานภายใน
ของสถาบนั อดุ มศกึ ษานัน้ ตามขอ้ ๕ สน้ิ ผลลง

ขอ้ ๓ ใหจ้ ดั สถาบนั อุดมศกึ ษาเป็นกลมุ่ ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) กลมุ่ พฒั นาการวิจัยระดบั แนวหน้าของโลก
(๒) กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม
(๓) กลมุ่ พฒั นาชมุ ชนทอ้ งถ่นิ หรือชมุ ชนอ่นื
(๔) กลุม่ พฒั นาปญั ญาและคุณธรรมดว้ ยหลกั ศาสนา
(๕) กลุ่มผลติ และพฒั นาบคุ ลากรวิชาชีพและสาขาจาเพาะ

(๖) กล่มุ อ่ืนตามที่รฐั มนตรีประกาศกาหนด
ข้อ ๔ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ไม่อยู่ในสังกัดของกระทรวงท่ีประสงค์จะเลือกสังกัดกลมุ่
ตามข้อ ๓ จะต้องดาเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด
โดยขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
การดาเนนิ การตามวรรคหนง่ึ ตอ้ งขอความเห็นจากสานักงบประมาณด้วย
ข้อ ๕ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษาอาจประกาศกาหนด
ให้จัดกลุ่มส่วนราชการหรือกลุ่มส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษาแห่งใดออกเป็นกลุ่มได้ โดยคานึงถึง
จุดมุ่งหมาย พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ศักยภาพ และผลการดาเนินการท่ีผ่านมาของสถาบันอุดมศึกษา
ประกอบด้วย
ข้อ ๖ กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามข้อ ๒ และกลุ่มส่วนราชการหรือกลุ่มส่วนงานภายใน
ของสถาบนั อุดมศกึ ษาตามขอ้ ๕ นอกจากตอ้ งปฏบิ ัตติ ามภารกจิ และพนั ธกจิ ของสถาบนั อุดมศึกษาแล้ว
ยังต้องปฏิบัติตามพันธกิจหลักและยุทธศาสตรข์ องกลมุ่ ทต่ี นสงั กัดตามขอ้ ๓ ด้วย

ข้อ ๗ กลุ่มสถาบนั อุดมศกึ ษาตามข้อ ๓ (๑) มีพนั ธกิจหลักและยุทธศาสตร์ทีม่ ุ่งสกู่ ารวิจัย
ทมี่ คี ุณภาพระดบั สากลและสามารถแข่งขันในระดบั นานาชาติได้ โดยตอ้ ง

(๑) เน้นการวิจัยข้ันสูงและการผลิตนักวิจัย เป็นผู้นาทางความรู้ของประเทศ ในระดับ
ปริญญาเอกหรอื หลงั ปริญญาเอกท่ีมวี ทิ ยานพิ นธ์ หรือผลงานวจิ ัยระดบั นานาชาตใิ นหลายกลมุ่ สาขาวิชา

(๒) มุ่งค้นคว้าเพื่อสรา้ งองค์ความรู้ ทฤษฎี และข้อค้นพบใหม่เพ่ือขยายพรมแดนของความรู้
และสร้างความกา้ วหน้าทางวชิ าการทล่ี ุ่มลึกในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ

(๓) สร้างนวัตกรรมท่ีมมี ูลค่าสูงทางเศรษฐกจิ และสังคมจากผลงานวจิ ัยและองค์ความรู้ข้ันสงู
ข้อ ๘ กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามข้อ ๓ (๒) มีพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ที่มุ่งสู่
การจัดการการศึกษาเพ่ือเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมเพ่ือตอบโจทย์
ของประเทศในการพฒั นาเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และบรกิ าร โดยต้อง
(๑) สร้างและพัฒนาศกั ยภาพผู้เรยี นที่มคี วามร้แู ละความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีให้สามารถ
นาองคค์ วามรู้ไปประยุกตเ์ พอ่ื สรา้ งผลงานและพัฒนาผลิตภัณฑ์

เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๒๑ ก หน้า ๓ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ราชกจิ จานุเบกษา

(๒) สร้างนวัตกรรมเพ่ือนาไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือสาธารณประโยชน์ เพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม
ตลอดหว่ งโซม่ ลู คา่ ในภาคการผลติ และบรกิ าร

(๓) ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนท้ังในประเทศและต่างประเทศเพ่ือสนับสนุน
และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม

(๔) เน้นการเรียนการสอนควบคู่กับการปฏิบัติการจริงเพ่ือพัฒนาสมรรถนะและทักษะ
ในการทางาน

ข้อ ๙ กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามข้อ ๓ (๓) มีพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ที่มุ่งสู่
การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และชุมชนท่ีมีวัตถุประสงค์หรือประโยชน์ร่วมกัน การเป็นแหล่งเรียนรู้
ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีเพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน และการให้ประชาชนมีโอกาสเรียนรู้
ตลอดชวี ิตอนั จะนาไปสกู่ ารพัฒนาท่ยี ง่ั ยืน โดยต้อง

(๑) เน้นการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและการสร้างศักยภาพให้สถานศึกษา องค์กรในชุมชน
และประชาชนมีความเข้มแขง็ ในการพัฒนาการศกึ ษา เศรษฐกจิ และสงั คมในชุมชน

(๒) ผลิตบัณฑิตและเป็นแหล่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรในพื้นที่ให้มีจิตสานึกและความรู้
ความสามารถเพือ่ เปน็ หลักในการขับเคลือ่ น พฒั นา และเปลีย่ นแปลงในระดับพืน้ ที่

(๓) ดาเนินการวิจยั และสร้างนวตั กรรมเพอ่ื นาความรู้ท่ไี ด้ไปใชใ้ นการพฒั นาชมุ ชน
(๔) สืบสานและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน ประยุกต์และพัฒนา
ศิลปวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ให้เขา้ กบั ยุคสมยั เพื่อเพิม่ คุณคา่ และมลู คา่
(๕) สง่ เสรมิ การสบื ทอดและพฒั นาความรู้จากผูม้ ีภูมปิ ัญญาด้านศลิ ปวัฒนธรรมและภมู ิปญั ญา
ของท้องถน่ิ
ข้อ ๑๐ กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามข้อ ๓ (๔) มีพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ที่มุ่งสู่
การพฒั นาปัญญาดว้ ยหลกั ศาสนาผสานกบั หลกั วิชาการ โดยต้อง
(๑) มุ่งพัฒนาบัณฑิตให้เป็นผู้มีสติ ปัญญา และคุณธรรม ด้วยการจัดการเรียนการสอน
ทผ่ี สานหลกั ศาสนากบั หลักวชิ าการ
(๒) ให้ความสาคญั กับการวิจัยและการสร้างนวัตกรรมโดยยึดหลักศาสนา ปรับใช้หลักศาสนา
ให้เหมาะกับสังคมท่ีเปลี่ยนไป และสร้างหลักวิชาการที่สอดคล้องกับหลักศาสนาเป็นทางเลือกคู่กับ
หลกั วิชาการของประเทศตะวนั ตก
(๓) นาหลักธรรมคาสอนของศาสนาต่าง ๆ มาชี้นาสังคมโดยมุ่งพัฒนาจิตใจ สติ ปัญญา
และพฤติกรรมของประชาชนเพื่อให้เกิดสนั ติสุขและความสามัคคีของคนในชาติ

ข้อ ๑๑ กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามข้อ ๓ (๕) มีพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ที่มุ่งสู่

การผลิตและพัฒนาบัณฑิตที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะทาง มีความสามารถทางวิชาชีพระดับสูง หรือ

บัณฑิตสาขาจาเพาะตามความต้องการของประเทศในแต่ละขณะ พัฒนาความรู้และนวัตกรรม

รวมทั้งถ่ายทอดความรเู้ ชงิ ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ โดยตอ้ งเน้นการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้

เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๒๑ ก หน้า ๔ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ราชกิจจานเุ บกษา

ทักษะ และทัศนคติที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ หรือจรรโลงศิลปะและวัฒนธรรม
มีความสามารถในการเรยี นรู้และยกระดับสมรรถนะทางวิชาชพี อย่างต่อเนอื่ งตลอดชวี ิต

ขอ้ ๑๒ รัฐมนตรีอาจประกาศกาหนดพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์เพิ่มเติมให้สอดคล้องกับ
ยุคสมยั และความตอ้ งการของประเทศอกี ได้

ข้อ ๑๓ สภาสถาบันอุดมศึกษาอาจเลือกสังกัดกลุ่มตามข้อ ๓ ได้ โดยต้องประเมินตนเอง
ตามตัวช้ีวัดศักยภาพองค์กรและตัวช้ีวัดผลการดาเนินงานของแต่ละกลุ่มตามที่คณะกรรมการ
การอดุ มศกึ ษากาหนด

ให้สภาสถาบันอุดมศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการซึ่งอย่างน้อยต้องมีผู้แทนของสานักงาน
ปลัดกระทรวงอยู่ด้วย เพื่อประมวลข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาและ
ทาการประเมินตนเองตามวรรคหน่งึ

เมื่อสภาสถาบันอุดมศึกษาได้รับผลการประเมินตนเองของสถาบันอุดมศึกษา และได้เลือก
สังกัดกลุ่มตามข้อ ๓ แล้ว ให้คณะกรรมการตามวรรคสองจัดทาแผนการพัฒนาความเป็นเลิศ
ของสถาบันอุดมศึกษา แผนการผลิตกาลังคนระดับสูงเฉพาะทางตามความต้องการของประเทศ หรือ
แผนพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาด้านอื่น เพื่อการจัดสรรงบประมาณตามมาตรา ๔๕ เพื่อนาเสนอ
สภาสถาบันอุดมศึกษาตอ่ ไป

ข้อ ๑๔ เมื่อสภาสถาบันอุดมศึกษาดาเนินการตามข้อ ๑๓ แล้ว ให้เสนอผลการประเมิน
ตนเองและแผนการพฒั นาความเปน็ เลิศของสถาบันอดุ มศึกษา แผนการผลติ กาลังคนระดับสงู เฉพาะทาง
ตามความต้องการของประเทศ หรือแผนพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาด้านอื่น ต่อสานักงานปลัดกระทรวง
เพือ่ กลน่ั กรองใหแ้ ล้วเสร็จภายในหกสิบวนั และนาเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพจิ ารณาต่อไป

ในการกลั่นกรองเรื่องตามวรรคหนึ่ง สานักงานปลัดกระทรวงอาจแต่งตั้งคณะกรรมการ
กลั่นกรองการจัดสถาบันอุดมศึกษาเป็นกลุ่มซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยผู้แทนจากสานักงบประมาณ
สานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ และสานักงาน
คณะกรรมการส่งเสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม เพอื่ พิจารณาให้ความเหน็

ข้อ ๑๕ เมื่อคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้รับผลการประเมินตนเองและแผนการพัฒนา
ความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา แผนการผลิตกาลังคนระดับสูงเฉพาะทางตามความต้องการ
ของประเทศ หรือแผนพฒั นาสถาบันอุดมศึกษาด้านอน่ื ตามข้อ ๑๔ แลว้ ให้คณะกรรมการการอดุ มศึกษา
พิจารณาให้ความเหน็ ในการขอเข้าสังกัดกล่มุ ของสถาบนั อุดมศกึ ษาให้แล้วเสรจ็ โดยเรว็ และให้สานักงาน
ปลดั กระทรวงสง่ ความเหน็ ของคณะกรรมการการอุดมศกึ ษาไปยังสถาบนั อุดมศกึ ษา

เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๒๑ ก หน้า ๕ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๔
ราชกจิ จานุเบกษา

ในกรณีที่สภาสถาบันอุดมศึกษาเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับความเห็นของคณะกรรมการ

การอุดมศกึ ษา ให้แจ้งความเหน็ นั้นพร้อมเหตุผลต่อสานกั งานปลดั กระทรวงภายในสามสบิ วนั นับแต่วันท่ี

ได้รับความเหน็ ของคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา

ให้สานักงานปลัดกระทรวงเสนอความเห็นของคณะกรรมการการอุดมศึกษาและความเห็น

ของสถาบันอุดมศึกษาตามวรรคสองต่อรัฐมนตรี เพ่ือประกอบการพิจารณาประกาศกาหนด

ให้สถาบันอดุ มศึกษาสังกดั กลมุ่ สถาบันอดุ มศึกษา

ข้อ ๑๖ ให้นาความในข้อ ๑๓ ข้อ ๑๔ และข้อ ๑๕ มาใช้บังคับแก่การจัดกลุ่ม

ส่วนราชการหรอื กลมุ่ ส่วนงานภายในของสถาบนั อุดมศกึ ษาตามข้อ ๕ ด้วยโดยอนโุ ลม และใหร้ ฐั มนตรี

ประกาศให้กลุ่มส่วนราชการหรือกลุ่มส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษาอยู่ในกลุ่มดังกล่าว

โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ขอ้ ๑๗ ให้สานักงานปลัดกระทรวงแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา และ

การจัดกลุ่มส่วนราชการหรือกลุ่มส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษาตลอดจนข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องไปยัง
สานักงบประมาณและสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อนาเสนอ
คณะกรรมการส่งเสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม ตามกฎหมายวา่ ด้วยสภานโยบายการอดุ มศกึ ษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ เพื่อประโยชน์ในการจัดสรรงบประมาณสาหรับการพัฒนา
วิทยาศาสตร์ การวิจัยและการสร้างนวัตกรรมของสถาบันอุดมศึกษาจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์
วจิ ัยและนวตั กรรม ตอ่ ไป

ข้อ ๑๘ ให้สานักงานปลัดกระทรวงจัดให้มีการทบทวนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา และการกาหนดมาตรการส่งเสรมิ สนับสนุน ประเมินคุณภาพ กากับดแู ล
และการจัดสรรงบประมาณแก่กลุ่มสถาบันอุดมศึกษา อย่างช้าทุกห้าปี เพ่ือนาเสนอต่อคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาหรือคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา แล้วแต่กรณี ก่อนนาเสนอรัฐมนตรี
เพอื่ พิจารณาตอ่ ไป

ขอ้ ๑๙ สถาบนั อดุ มศกึ ษาท่ีไม่ได้สงั กดั กลุ่มใดตามกฎกระทรวงน้ี ให้ดาเนนิ การตามนโยบาย
ยุทธศาสตร์ และแผนดา้ นการอุดมศึกษา รวมถงึ ภารกิจ วัตถปุ ระสงค์ และพันธกิจตามกฎหมายจดั ตง้ั
สถาบนั อดุ มศึกษานั้น

หมวด ๒
มาตรการการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ

ข้อ ๒๐ มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนท่ีรัฐมนตรีจะกาหนดให้แก่กลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
มดี งั นี้

(๑) มาตรการท่วั ไป
(๒) มาตรการเพมิ่ เตมิ

เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๒๑ ก หน้า ๖ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ราชกิจจานเุ บกษา

ข้อ ๒๑ มาตรการทวั่ ไป มดี ังต่อไปนี้
(๑) พัฒนาระบบการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษา กลไกการเงินและงบประมาณ
โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือนวตั กรรมอื่น เพื่อให้เป็นไปตามหลกั การจัดการอดุ มศกึ ษา และเพื่อให้
เกิดธรรมาภิบาล รวมทั้งพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรใหท้ ันตอ่ การเปลยี่ นแปลงของโลก
(๒) พัฒนาระบบการผลิตบัณฑิต กาลังคน และการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของประเทศและรองรับการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยเน้นการร่วมมือกับ
ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และชุมชน ในการดาเนนิ การดงั กลา่ ว
(๓) ปรับปรุงและพัฒนาระบบวิจัยและนวัตกรรมของสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือให้ภาคเอกชน

ภาคประชาสังคม และชุมชน นาไปใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างแทจ้ ริง และส่งเสริมผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ผู้ประกอบการ
(๔) สร้างเสริมบุคลากรศักยภาพสูงและส่งเสริมให้บุคลากรดังกล่าวไปทาการเรียนการสอน

การวิจัย และการสร้างนวัตกรรมในหน่วยงานอ่ืนท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน โดยให้ถือว่า
เป็นการปฏิบตั ิหน้าท่ใี นสถาบนั อุดมศึกษาตน้ สงั กัดและใหไ้ ดร้ ับคา่ ตอบแทน ตลอดจนสามารถนาผลงาน
มาใช้ในการย่ืนขอตาแหน่งทางวิชาการได้ รวมท้ังส่งเสริมให้มีการนาบุคลากรซึ่งมีประสบการณ์
และมีศักยภาพสูงจากภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และชุมชน มาร่วมในการจัดการศึกษา การวิจัย
และนวตั กรรม

(๕) ให้บุคลากรนาผลงานทีไ่ ด้จากการปฏิบตั ิหน้าท่ีไปหาประโยชนท์ างเศรษฐกิจได้ โดยอาจมี
หรือไม่มีการแบ่งผลประโยชน์กับสถาบันอุดมศึกษาท่ีตนสังกัด ตามระเบียบของสถาบันอุดมศึกษา
ตน้ สงั กดั ของตน

ขอ้ ๒๒ มาตรการเพิ่มเติม มดี ังต่อไปนี้
(๑) ให้ทุนหรือสนับสนุนให้บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบัติหน้าที่ในต่างประเทศ

หรือในหน่วยงานท่ีมีช่ือเสียงระดับโลกท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน โดยให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติหน้าท่ี
ในสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัดและให้ได้รับค่าตอบแทน ตลอดจนสามารถนาผลงานมาใช้ในการขอ
ตาแหนง่ ทางวิชาการได้

(๒) ส่งเสริมการดึงดูดบุคลากรซ่ึงมีความสามารถสูงท้ังที่มีหรือไม่มีสัญชาติไทยให้เข้ามา
ดาเนินการวิจัยและสร้างนวัตกรรมในประเทศ เป็นท่ีปรึกษาโครงการวิจัยและนวัตกรรม โดยมี
แรงจูงใจต่าง ๆ และการได้รับค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายอ่ืนในอัตราที่แข่งขันกับต่างประเทศได้
รวมทั้งส่งเสริมให้บุคลากรซึ่งมีหรือไม่มีสัญชาติไทยดาเนินการวิจัยและสร้างนวัตกรรมในต่างประเทศ
เพ่ือใหไ้ ด้งานวิจยั และนวตั กรรมทม่ี คี ณุ ภาพ

(๓) ส่งเสริม นิสิต นักศึกษา และบุคลากรท่ีมีความสามารถพิเศษในด้านต่าง ๆ ให้ได้รับ
การพัฒนาความสามารถ โดยมีหน่วยหรือกลไกในการเพาะบ่มความสามารถพิเศษของนิสิต นักศึกษา
และบุคลากร รวมถึงมกี ารให้ทนุ สาหรบั บคุ คลดงั กล่าว เพ่อื สนบั สนุนอยา่ งเพียงพอและเหมาะสม

(๔) มาตรการเฉพาะที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการการอุดมศึกษา

เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๒๑ ก หน้า ๗ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ราชกิจจานุเบกษา

ข้อ ๒๓ เม่ือสถาบันอุดมศึกษาใดได้รับการจัดให้สังกัดกลุ่มและได้รับการส่งเสริม
และสนับสนุนตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็นระยะเวลาตามท่ีรัฐมนตรีกาหนดแล้ว สถาบันอุดมศึกษา
อาจเสนอเหตุผลและความจาเป็นเพื่อขอเปล่ียนการสังกัดกลุ่มได้ ในการนี้ ให้นาความใน ข้อ ๑๓
ข้อ ๑๔ และข้อ ๑๕ มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม

หมวด ๓
การประเมินคณุ ภาพ

ข้อ ๒๔ นอกจากมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ัวไปที่รัฐมนตรีโดยข้อเสนอแนะและ
ความเห็นชอบของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากาหนดแล้ว ให้กาหนดมาตรฐาน
การอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเพื่อประโยชน์ในการประเมินคุณภาพ
ของสถาบนั อดุ มศึกษาตามกฎกระทรวงน้ี

ขอ้ ๒๕ นอกจากการประเมินคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย
การอุดมศึกษาแล้ว ให้คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษาประเมนิ คุณภาพการปฏิบัตติ ามพันธกิจหลกั
และยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษาตามมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีกาหนดในข้อ ๒๔ ท้ังนี้
ตามหลักเกณฑ์การประเมิน วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
ประกาศกาหนด

หากสถาบันอุดมศึกษาไม่ผ่านการประเมินตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการมาตรฐาน
การอุดมศึกษาให้คาแนะนาและให้ความชว่ ยเหลือแก่สถาบนั อุดมศึกษานั้น เพื่อปรับปรุงการดาเนนิ การ
ให้เป็นไปตามพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ภายในระยะเวลาท่ีคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
กาหนดซ่ึงต้องไม่น้อยกว่าสองปี โดยอาจมอบหมายให้สานักงานปลัดกระทรวงสนับสนุน
สถาบันอุดมศึกษาเพ่ือปรับปรุงการดาเนินการก็ได้ หากสถาบันอุดมศึกษาน้ันไม่สามารถปรับปรุงได้
ภายในระยะเวลาดังกล่าว ให้คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษาเสนอผลการประเมิน
ต่อคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพือ่ ใหค้ าแนะนาและขอ้ เสนอแนะต่อรฐั มนตรีต่อไป

หมวด ๔
การปฏริ ปู ระบบควบคมุ และกากบั ดแู ลสถาบันอุดมศึกษา

ขอ้ ๒๖ รัฐมนตรีโดยขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการการอุดมศกึ ษาอาจเสนอใหส้ ภานโยบาย
เสนอตอ่ คณะรฐั มนตรเี พ่ือปฏริ ูประบบควบคุมและกากบั ดูแลของส่วนราชการทม่ี หี นา้ ทคี่ วบคุมและกากบั
ดูแล เพอื่ ให้สถาบนั อุดมศึกษาสามารถบรรลุพนั ธกจิ หลกั และยทุ ธศาสตรข์ องกลุ่มสถาบนั อดุ มศึกษาทต่ี น
สงั กัดในเรื่อง ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) ปฏิรูปการบริหารงานบุคคล โดยส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถขอรับงบประมาณ
สนับสนุนพิเศษสาหรับให้ทุนพัฒนาคณาจารย์และนักวิจัย การจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญพิเศษจากตา่ งประเทศ

เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๒๑ ก หน้า ๘ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ราชกจิ จานเุ บกษา

โดยสามารถเบิกจ่ายค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายอ่ืนในอัตราพิเศษได้ และการใช้บุคลากรร่วมกันระหว่าง
สถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานในระบบวิจยั และนวัตกรรม และภาคเอกชน รวมทง้ั สง่ เสรมิ ความก้าวหนา้
ทางอาชีพของผู้ดารงตาแหน่งทางวิชาการและนักวิจัยให้ทัดเทียมกับผู้ดารงตาแหน่งอานวยการ
และบรหิ าร ทงั้ คา่ ตอบแทนและสทิ ธิประโยชนอ์ ่นื ในตาแหนง่

(๒) ปฏิรูปเพื่อการส่งเสริมผู้ประกอบการรายใหม่ โดยส่งเสริมให้มีการจัดทาระบบข้อมูล
ด้านวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือให้เอกชนนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ และเปิดโอกาสให้
คณาจารย์ นักวจิ ัย และนกั ศึกษาเป็นเจ้าของทรพั ยส์ ินทางปัญญาและมีสทิ ธใิ ชป้ ระโยชน์จากผลงานวจิ ัย
และนวัตกรรมเพื่อประกอบกิจการเชิงพาณิชย์หรือสาธารณประโยชน์โดยมีหรือไม่มีค่าตอบแทน
รวมทงั้ เป็นผ้จู ดั การของกจิ การใหม่นน้ั

(๓) ปฏิรูปการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุ โดยเสนอให้มีการตราพระราชกฤษฎีกา
ยกเว้นมิให้นากฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริห ารพัสดุภาครัฐมาใช้บังคับหรือ
ให้สถาบันอดุ มศึกษาออกระเบยี บเกีย่ วกบั การจัดซอ้ื จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุขึน้ ใช้เอง และให้หน่วยงาน
ของรัฐจัดซ้ือจัดจ้างสินค้าหรือบริการท่ีเกิดจากการใช้ผลงานวิจัยและนวัตกรรม รวมทั้งเสนอมาตรการ
ให้ผู้ซื้อสินค้าหรือบริการท่ีใช้ผลงานวิจัยและนวัตกรรมได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล
และอากรตา่ ง ๆ

(๔) ปฏิรูปการลงทุนและการร่วมลงทุน โดยให้สถาบันอุดมศึกษาลงทุนจัดตั้งนิติบุคคล
หรือร่วมลงทุนกับผู้เป็นเจ้าของผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมหรือบุคคลอื่นซึ่งนาผลงานวิจัยหรือนวัตกรรม
ไปใชป้ ระโยชน์ รวมท้งั ได้รับการสง่ เสริมการลงทุนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งเสรมิ การลงทุน

(๕) ปฏิรูปเพ่ือการถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยกาหนดให้หน่วยงานของรัฐที่มีนิติสัมพันธ์
กับหน่วยงานต่างประเทศหรือหน่วยงานภาคเอกชนต้องมีข้อตกลงการถ่ายทอดเทคโนโลยีและ
ใหส้ ถาบนั อดุ มศึกษาจัดบคุ ลากรเพ่อื รว่ มในโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีน้นั

(๖) ปฏิรปู ด้านอืน่ ตามที่รฐั มนตรีโดยความเห็นชอบของสภานโยบายกาหนด
เพื่อประโยชน์แห่งการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาอย่างต่อเน่ือง การดาเนินการตามวรรคหน่ึง
อาจกาหนดระยะเวลาในการส่งเสริมไว้ด้วยกไ็ ด้
เม่ือคณะรัฐมนตรีมีมติให้ความเห็นชอบการปฏิรูปตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐ
ซ่ึงมีหน้าที่และอานาจตามกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ดาเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือ
ข้อบังคับ เพื่อลดหรือเลิกข้อจากัดต่าง ๆ ท่ีเป็นอุปสรรคต่อการปฏิรูปตามวรรคหนึ่ง และดาเนินการ
ตามหน้าท่ีและอานาจเพื่อให้การปฏิรูปตามวรรคหนึ่งบรรลุผล โดยรายงานให้คณะรัฐมนตรีทราบ
ตามระยะเวลาทค่ี ณะรฐั มนตรีกาหนด

ขอ้ ๒๗ ใหส้ านักงานปลัดกระทรวงแจ้งมาตรการสง่ เสรมิ สนบั สนุนตามข้อ ๒๑ และข้อ ๒๒

และการปฏิรูประบบควบคุมและกากับดูแลสถาบันอุดมศึกษาตามข้อ ๒๖ ให้สานักงานการตรวจเงิน

แผน่ ดนิ ทราบดว้ ย

เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๒๑ ก หน้า ๙ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๔
ราชกิจจานุเบกษา

หมวด ๕
การจดั สรรงบประมาณใหแ้ กส่ ถาบนั อดุ มศกึ ษา

ขอ้ ๒๘ การจัดสรรงบประมาณให้แก่สถาบันอุดมศึกษาท่ีได้รับการประกาศจัดกลุ่มตามข้อ ๒
ต้องจัดสรรให้สอดคลอ้ งกบั การจัดกลุ่มสถาบนั อดุ มศกึ ษาและผลการประเมินคณุ ภาพตามข้อ ๒๕

การขอรับการจัดสรรงบประมาณตามวรรคหน่ึง สถาบันอุดมศึกษาอาจเสนอโครงการ
ตามแผนการพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา แผนการผลิตกาลังคนระดับสูงเฉพาะทาง
ตามความตอ้ งการของประเทศ หรอื แผนพัฒนาสถาบันอุดมศกึ ษาด้านอ่นื ตามข้อ ๑๓ ต่อคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาเพื่อเสนอแนะและให้ความเห็นชอบ แล้วเสนอให้รัฐมนตรีพิจารณาให้คาแนะนา
แก่คณะกรรมการพิจารณางบประมาณด้านการอุดมศึกษาและคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ
ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจยั และนวตั กรรมแหง่ ชาติ เพ่ือพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณให้สถาบนั อุดมศึกษาน้นั เป็นพเิ ศษ

สถาบันอุดมศึกษาท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณตามวรรคสอง ต้องทาข้อตกลงการพัฒนา
การอุดมศึกษากับสานักงานปลัดกระทรวง โดยสานักงานปลัดกระทรวงอาจกาหนดเงื่อนไขและตัวชี้วัด
ใหส้ ถาบันอดุ มศึกษาปฏิบตั ไิ ด้

ให้นาความในวรรคสามมาใช้บังคับแก่การเสนอโครงการเพื่อขอรับเงินอุดหนุนจากกองทุน
สง่ เสริมวทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ตามกฎหมายวา่ ด้วยสภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ เพื่อใช้ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม
ของสถาบันอุดมศึกษาด้วย โดยให้ทาคารับรองการปฏิบัติตามเงื่อนไขการพัฒนาวิทยาศาสตร์ วิจัย
และนวตั กรรมกบั สานกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตามกฎหมายว่าดว้ ย
สภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

ขอ้ ๒๙ สถาบันอุดมศึกษาอาจเสนอโครงการเพื่อขอรับการส่งเสริมและสนับสนุน
การดาเนินงานตามข้อ ๒๑ และข้อ ๒๒ ต่อคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพ่ือเสนอแนะและ
ให้ความเห็นชอบแล้วเสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้คาแนะนาแก่คณะกรรมการพิจารณางบประมาณ
ด้านการอุดมศกึ ษา ตามกฎหมายวา่ ด้วยสภานโยบายการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมแหง่ ชาติ

ใหน้ าความในขอ้ ๒๘ วรรคสาม มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม

หมวด ๖
การตดิ ตามผลสมั ฤทธ์ิ

เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๒๑ ก หน้า ๑๐ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ราชกิจจานุเบกษา

ขอ้ ๓๐ ให้สานักงานปลัดกระทรวงจัดให้มีการติดตามผลสัมฤทธ์ิของการจัดกลุ่ม
สถาบันอุดมศึกษาและผลสัมฤทธ์ิของมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ประเมินคุณภาพ กากับดูแล
และการจัดสรรงบประมาณตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา และให้เสนอรายงานต่อคณะกรรมการ
การอุดมศกึ ษาเพื่อเสนอรฐั มนตรีต่อไปทกุ ปงี บประมาณ

เพ่ือลดภาระของสถาบันอุดมศึกษาเน่ืองจากการประเมิน ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง
สานักงานปลัดกระทรวงต้องใช้ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินคุณภาพตามข้อ ๒๕ หรือข้อมูลที่ได้จาก
การประเมินอ่ืนมาใช้ประกอบการพิจารณา ท้ังนี้ การขอข้อมูลจากสถาบันอุดมศึกษาเพ่ิมเติมตอ้ งไม่ซา้ ซ้อน
กับข้อมูลในการประเมนิ อ่ืน

ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 22 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖4
เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม

เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๒๑ ก หน้า ๑๑ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ราชกจิ จานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๒๔ วรรคสาม
แห่งพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ บัญญัติให้การจัดสถาบันอุดมศึกษาเป็นกลุ่มและ
การกาหนดมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ประเมินคุณภาพ กากับดูแล และจัดสรรงบประมาณ
ให้สอดคล้องกับการจัดกลุ่มดังกล่าว เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
เพื่อให้การพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบั นอุดมศึกษาและการผลิตกาลังคนระดับสูงเฉพาะทาง
ตามความต้องการของประเทศ รวมท้ังการพัฒนาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเกิดผลสัมฤทธ์ิอย่างแท้จรงิ
จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงน้ี


Click to View FlipBook Version