The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่มพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รูปเล่มพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.5

รูปเล่มพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.5

สรุปรายงานและประเมินผล

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.5 สู่ยคุ 4.0
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ระหว่างวนั ที่ 12 – 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2563
ณ หอประชมุ ประชาบดี สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5
และบรษิ ัทเกลือพิมาย จากัด อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา

กลุม่ นโยบายและยทุ ธศาสตร์
สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5

สารบัญ

หน้า

หลกั การและเหตุผล

กาหนดการ

สรปุ ผล

((((º> การบรรยาย เรื่อง จิตอาสาพระราชทาน “เราทาความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์” 1

วิทยากรโดย ปลัดอาเภอพมิ าย (นางพชั ราภา มหานิยม)

สรปุ ผล

((((º> การบรรยาย เร่อื ง หลักการทางานเพ่ือความโปร่งใส ถูกต้อง ปอ้ งกันการทจุ ริต 11

คอรปั ชั่น

วทิ ยากรโดย นายผดุง จตุรภักดิ์ ผทู้ รงคุณวุฒิ ปปช.

นายกฤตชัย พรมวัน เจ้าพนักงานป้องกันการทุจรติ ชานาญการ

สานักงาน ปปช.จงั หวดั นครราชสมี า

สรุปผล

((((º> การบรรยาย เรื่อง การบริหารงบประมาณ 16

วิทยากรโดย นางสาวจิตรลดา แก่นสาร นักวิชาการเงินและบัญชชี านาญการ

นางสาวพมิ ลรัตน์ พรหมพะเนาว์ นักวิชาการคลังปฏิบตั กิ าร

จ.อ.หญิงศิริไพร สนิ ประกอบ นักวิชาการคลังปฏบิ ัติการ

สานกั งานคลังจังหวัดนครราชสมี า

สรปุ ผล

((((º> การบรรยาย เรื่อง การมหี ัวใจบรกิ าร และการทางานเป็นทีม 53

วทิ ยากรโดย ผอู้ านวยการศูนย์สขุ ภาพชุมชนตาบลหนองขาม (นายสุชาติ บุญยภากร)

สรปุ ผล

((((º> การบรรยาย เรื่อง การดาเนินงานมาตรฐานการวดั คณุ ภาพองค์กร (ISO) ภาคเอกชน 56

วิทยากรโดย นางสาวรชั นี คงเมอื ง ผ้ชู ่วยผูจ้ ดั การแผนกสง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภัย

บรษิ ัทเกลือพิมาย จากัด

การสรุปผลการจดั โครงการ

((((º> สรปุ ผลการทดสอบความรกู้ ่อน – หลงั ทไ่ี ด้รบั จากการเข้าร่วมโครงการ 63

((((º> สรุปภาพรวมประมวลผลความพงึ พอใจ 68

สานกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 5

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.5 สู่ยุค 4.0
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

1. หลักการและเหตผุ ล
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางท่ีตั้งอยู่ในภูมิภาค

สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
ม่ันคงของมนุษย์ มีฐานะเทียบเท่ากอง หรือสานัก มีจานวนรวมท้ังสิ้น 11 แห่ง มีอานาจหน้าที่วิเคราะห์ วิจัย
พัฒนาวิชาการด้านการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ให้สอดคล้องกับพ้ืนที่และกลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริม
และสนับสนุนงานด้านวิชาการ องค์ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ ให้คาปรึกษาแนะนาแก่หน่วยงานบริการทุก
กลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ีให้บริการความรับผิดชอบของกระทรวงรวมท้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานท่ี
เก่ียวข้อง องค์กรภาคเอกชน และภาคประชาชน ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อม เพื่อคาดการณ์
แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคม และผลกระทบรวมทั้งให้ข้อเสนอแนะการพัฒนาสังคมและจัดทายุทธศาสตร์
ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด เป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศด้านการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เป็นศูนย์เรียนรู้
การพฒั นาสังคมและจดั สวัสดิการสงั คมในระดับพ้ืนทีก่ ล่มุ จังหวดั สนับสนุนการนิเทศงาน ติดตามประเมินผลการ
ดาเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบายและภารกิจของกระทรวง โดยทั้ง 11 สสว. แบ่งพ้ืนท่ีรับผิดชอบคลอบคลุม
พ้นื ที่ตามยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศท่ีมีการบรหิ ารจดั การเป็นยุทธศาสตรก์ ลุ่มจังหวดั 18 กล่มุ จังหวดั

องค์ประกอบท่ีมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาองค์กรประกอบด้วย 2 ด้านคือ ระบบใน
การทางานและการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร เพยี งแตม่ คี วามแตกต่างกนั คือ ระบบในการทางานเม่ือมีการปรับเข้า
สรู่ ะบบเรียบร้อยแล้วก็จบ แต่ศกั ยภาพของบุคลากรจะต้องมีการพัฒนาและปรับให้มีความเหมาะสมกับยุคสมัยท่ี
มกี ารเปลยี่ นแปลงไปตลอดเวลา การพฒั นาคุณสมบัติและประสิทธิภาพในการทางาน รวมถึงความรู้ในด้านต่างๆ
ของบุคลากรเป็นเร่ืองท่ีจะต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง เพื่อสามารถนาไปปรับใช้ในการทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล และค้มุ คา่

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 จึงได้กาหนดจัดโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
สสว.5 สู่ยคุ 4.0 เพือ่ ใหก้ ารดาเนนิ งานของบุคลากรมีการพัฒนาและสามารถปรับให้มีความเหมาะสมกับยุคสมัย
ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา รวมถึงพัฒนาความรู้ และประสิทธิภาพในการทางานให้กับบุคลากรมีการ
พฒั นาอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ให้สามารถนาไปปรับใชใ้ นการทางานได้อยา่ งมปี ระสิทธผิ ลตอ่ ไป
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพอื่ เป็นการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอยา่ งต่อเนื่อง
2.2 เพือ่ ใหบ้ คุ ลากรสามารถปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธิผลสงู ขนึ้
2.3 เพื่อให้บคุ ลากรสามารถนาความรูท้ ่ีไดร้ ับไปปรับใช้ในการทางานซ่งึ จะสง่ ผลดตี ่อองค์กรผรู้ บั บริการ
หรือผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี
3. สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ของสานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 5
3.1 สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ยทุ ธศาสตรบ์ ริหารจดั การองค์กรสูค่ วามเป็นผูน้ าทางสังคมด้วยหลกั ธรรมาภิบาล
3.2 สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ของสานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5

3.2.1 พัฒนาองค์ความรู้ วิชาการ วจิ ัยและนวตั กรรมทางสังคม
3.2.2 ขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ พม. สู่การปฏิบัติในระดบั พื้นที่

สานกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 5

4. เปา้ หมาย

บคุ ลากรของสานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 5 ประกอบดว้ ย

- ข้าราชการ จานวน 9 คน

- พนกั งานราชการ จานวน 8 คน

รวมท้งั สนิ้ 17 คน

5. วิธกี ารดาเนินงาน

5.1 เขยี นโครงการ

5.2 ขออนุมตั โิ ครงการ

5.3 ประสานวทิ ยากร

5.4 จดั เตรียมเอกสาร

5.5 ดาเนนิ การ

5.6 สรปุ รายงานและประเมินผลโครงการ

6. ระยะเวลา/สถานท่ดี าเนนิ การ

1) ดาเนนิ การระหวา่ งวันที่ 12 – 14 กุมภาพันธ์ 2563

2) สถานท่หี อประชมุ ประชาบดี สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5 และเหมอื งเกลือพิมาย

7. งบประมาณ

จานวนท้งั ส้ิน 22,070 บาท

ประกอบดว้ ย บคุ ลากรของสานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 5 จานวน 17 คน

และวทิ ยากรภาครฐั จานวน 4 คน

ลาดบั ที่ รายการคา่ ใชจ้ า่ ย จานวนเงิน

1 คา่ อาหารกลางวนั (21 คน × 120 บาท × 3 วนั ) 7,560

2 ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองดื่ม (21 คน × 6 ม้อื ๆ ละ 35 บาท) 4,410

3 ค่าวิทยากร

- ภาครัฐ (จานวน 4 คน × 3 ชม. × 600 บาท) 7,200

- ภาคเอกชน (จานวน 1 คน × 2ชม. × 1,200 บาท) 2,400

4 ค่าน้ามนั เชื้อเพลิงและหล่อลื่น 500

รวมเป็นเงนิ ทง้ั ส้นิ 22,070

8. ตวั ชี้วัดผลสาเร็จจากการดาเนินงาน
ผลผลติ
ตัวช้ีวดั เชิงปริมาณ
- ร้อยละจานวนผเู้ ขา้ รับการอบรม รอ้ ยละ 100
ตัวช้ีวดั เชิงคุณภาพ
1) บคุ ลากร มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการปฏิบตั ิงานเพ่ิมขึ้น (Increased Knowlage)
2) บคุ ลากรมีความรกั ความสามัคคี รว่ มมือรว่ มใจกนั เปน็ ทีม (Team work)
3) บุคลากรมีจิตสาธารณะในการปฏิบัตงิ านและช่วยเหลือผู้มารบั บรกิ าร (Public mind)
4) บุคลากรมีการใหบ้ รกิ ารผมู้ ารับบริการดุจญาติมิตร (Service mind)
5) บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจในระเบยี บการเบิกจ่ายและการจดั ซื้อจดั จา้ ง

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5

9. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ
9.1 บคุ ลากรสามารถนาความรทู้ ไี่ ดร้ บั ไปปรบั ใชก้ ับภาระงานทร่ี ับผิดชอบ
9.2 ประสทิ ธิผลจากการปฏิบัตงิ านของบคุ ลากรท่ีไดร้ ับการอบรมทาใหเ้ กดิ ผลสาเร็จขององค์กร

เพิ่มมากขนึ้
9.3 เกิดเปน็ องค์กรแหง่ การเรยี นรแู้ ละมีความเขม้ แขง็

10. การตดิ ตามและประเมินผล
- ใช้แบบสอบถาม
- ใช้แบบ Pre-test และ Post-test

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5

กาหนดการ
โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.5 ส่ยู คุ 4.0
ระหวา่ งวนั ที่ 12 - 14 กุมภาพนั ธ์ 2563
ณ หอประชมุ ประชาบดี สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5
และบรษิ ทั เกลือพิมาย จากัด อาเภอพิมาย จงั หวัดนครราชสมี า

*****************************

วันท่ี 12 กุมภาพนั ธ์ 2563 ลงทะเบียน ณ หอประชุมประชาบดี สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5
เวลา ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. พธิ เี ปดิ โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.5 สูย่ คุ 4.0
เวลา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. - ชีแ้ จงวัตถุประสงค์และเปา้ หมายของโครงการฯ
โดย หวั หนา้ กลุ่มนโยบายและยทุ ธศาสตร์ (นางอังศณุ ชิ ฐา ศริ พิ ูลวัฒนา)
เวลา ๐๙.๐๐ – 12.๐๐ น. สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 5
เวลา 12.๐๐ – 13.๐๐ น. - ประธานพิธีเปดิ โครงการฯ
เวลา ๑3.๐๐ – ๑6.๐๐ น. โดย ผูอ้ านวยการสานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5 (นางรชธร พลู สิทธ์)ิ
การบรรยาย เรอื่ ง จิตอาสาพระราชทาน เราทาความดี เพ่อื ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
เวลา ๑6.๐๐ – ๑6.3๐ น. โดย ปลัดพมิ าย (นางพชั ราภา มหานยิ ม)
วันท่ี 13 กุมภาพนั ธ์ 2563 พักรบั ประทานอาหารกลางวัน
เวลา ๐๘.3๐ – ๐9.0๐ น. การบรรยาย เร่ือง หลักการทางานเพื่อความโปร่งใส ถูกต้อง ปอ้ งกันการทจุ ริต คอรปั ช่นั
เวลา ๐๙.๐๐ – 12.๐๐ น. โดย นายผดงุ จตรุ ภกั ดิ์ ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ปปช.จงั หวดั นครราชสีมา

เวลา 12.๐๐ – 13.๐๐ น. นายกฤตชยั พรมวัน เจา้ พนักงานปอ้ งกนั การทจุ ริตชานาญการ
เวลา ๑3.๐๐ – ๑6.0๐ น. สานักงาน ป.ป.ช. จงั หวดั นครราชสีมา
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ และสรปุ บทเรียนจากการบรรยาย
เวลา ๑6.๐๐ – ๑6.3๐ น. โดย กลมุ่ การวิจยั และการพัฒนาระบบเครือขา่ ย สสว.5

ลงทะเบยี น ณ หอประชมุ ประชาบดี สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 5
การบรรยาย เร่อื ง การบริหารงบประมาณ
โดย นางสาวจติ รลดา แก่นสาร นักวิชาการเงินและบัญชีชานาญการ

นางสาวพมิ ลรัตน์ พรหมพะเนาว์ นักวชิ าการคลังปฏบิ ัตกิ าร
จ.อ.หญงิ ศิรไิ พร สนิ ประกอบ นกั วชิ าการคลังปฏบิ ัติการ
สานกั งานคลังจงั หวดั นครราชสีมา
พกั รับประทานอาหารกลางวัน
การบรรยาย เร่อื ง การมีหวั ใจบริการ (Service Mind) และการทางานเป็นทีม
โดย ผอู้ านวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชมุ ชนตาบลหนองขาม
(นายสชุ าติ บุญยภากร)
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และสรปุ บทเรยี นจากการบรรยาย
โดย กลุ่มการวิจยั และการพฒั นาระบบเครือขา่ ย สสว.5

สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5

วันท่ี 14 กุมภาพนั ธ์ 2563
เวลา ๐๘.0๐ – ๐8.3๐ น. ลงทะเบยี น ณ สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 5
เวลา ๐8.3๐ – 12.๐๐ น. การบรรยาย เร่ือง การดาเนนิ งานมาตรฐานการวดั คณุ ภาพองค์กร (ISO)

ภาคเอกชน
โดย นางสาวรัชนี คงเมือง ผชู้ ว่ ยผจู้ ดั การแผนกส่ิงแวดล้อมและความปลอดภยั
ประธานเจ้าหนา้ ทีฝ่ ่ายปฏิบัติการเกลือพมิ าย จากัด
เวลา 12.๐๐ – 13.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวนั
เวลา ๑3.๐๐ – ๑6.3๐ น. สรุปบทเรียนการดาเนนิ โครงการฯ
โดย กลมุ่ การวิจยั และการพฒั นาระบบเครอื ข่าย

กล่มุ นโยบายและยุทธศาสตร์
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 5

✿*゚‘゚・✿.。.:* *.:。✿*゚’゚・✿.。.:* *.:。✿✿*゚‘゚・✿.。.:* *.:。✿*゚’゚・✿.。.:* *.:。✿

สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ ส่ยู ุค ๔.๐ 1

การบรรยายเร่ือง จิตอาสาพระราชทาน “เราทาความดี เพ่อื ชาติ ศาสน์ กษัตริย์”

โดย ปลัดอาเภอพิมาย (นางพชั ราภา มหานยิ ม)

สรุปสาระสาคญั
จิตอาสาพระราชทาน “เราทาความดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษตั ริย์”
ความเปน็ มาของจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาริ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หน่วยราชการในพระองค์
904 ร่วมกันจัดโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริเพ่ือเป็นการเฉลิมพระเกียรติ และแสดง
ความสํานกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณของพระบาทสมเด็จพระมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ
สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ที่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ เพื่อประโยชน์สุขของ
ประชาชน ท้ังนี้เพื่อให้ประชาชนมีความสมัครสมานสามัคคี มีความสุข และประเทศชาติมีความมั่นคงอย่าง
ยั่งยืน โดยมีหน่วยราชการในพระองค์ 904 เป็นผู้กํากับดูแลการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก
ท้ังภาครัฐและเอกชน และให้จัดตั้งศูนย์อํานวยการใหญ่โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริ
มีหน้าท่ีควบคุม อํานวยการและประสานการปฏิบัติเพื่อให้การจัดกิจกรรมจิตอาสาพระราชทานตามแนว
พระราชดําริ เปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนื่องถกู ตอ้ งตามพระราโชบาย และสมพระเกยี รติ

ในระยะเร่ิมแรก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชปณิธานในการบําเพ็ญประโยชน์พื้นที่
ชมุ ชนโดยรอบพระราชวังดุสิตเป็นการทาํ ความดีด้วยหัวใจถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระมหา
ภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โดยหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์หน่วยทหาร
รักษาพระองค์ ข้าราชบริพารในพระองค์ฯ ร่วมกับประชาชนจิตอาสา “เราทําความดี เพ่ือชาติ ศาสน์

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 2

กษัตริย์” ร่วมกันดูแลและพัฒนารักษาพ้ืนที่จากชุมชนเล็กๆ รอบพระราชวังดุสิต ขยายสู่พ้ืนที่โดยรวมของ
ประเทศในการพัฒนาอยา่ งมน่ั คงและย่ังยนื สืบไป

ความหมายของ “จิตอาสา” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2542 ได้ให้
ความหมายของ “จิตอาสา” ดังน้ี

“จิต” เปน็ คํานาม หมายถงึ ใจ ส่ิงท่ีมหี นา้ ทร่ี ู้ คดิ และนึก
“อาสา” เปน็ คาํ กรยิ า หมายถงึ เสนอตวั เข้ารับทาํ
ดังนั้น “จิตอาสา” จึงหมายถึง จิตแห่งการให้ความดีงามทั้งปวงแก่เพ่ือนมนุษย์ โดยเต็มใจสมัคร
ใจอิ่มใจ ซาบซึ้งใจ ปีติสุข ท่ีพร้อมจะเสียสละเวลา แรงกาย แรงสติปัญญา เพ่ือสาธารณประโยชน์ในการทํา
กิจกรรมหรือสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่ืนโดยไม่หวังผลตอบแทน และมีความสุขท่ีได้ช่วยเหลือผู้อ่ืนเป็นจิตที่ไม่
นิง่ ดูดายเมือ่ พบเห็นปัญหา หรือความทุกข์ยากที่เกิดขึ้นกับผู้คน เป็นจิตท่ีมีความสุขเม่ือได้ทําความดีและเห็น
นํ้าตาเปลีย่ นแปลงเป็นรอยยิม้ เป็นจติ ที่เป่ียมด้วย “บุญ” คือความสงบเยือกเย็น และพลังแห่งความดี อีกท้ัง
ยังชว่ ยลด “อัตตา” หรอื ความเป็นตัวตนของตนเองลงได้
ความหมาย จิตอาสา “เราทําความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์” หมายถึง ประชาชนทุกหมู่เหล่าทั้ง
ในและต่างประเทศที่สมัครใจช่วยเหลือผู้อ่ืนยอมเสียสละเวลา แรงกายแรงใจ และสติปัญญาในการทํางานท่ี
เปน็ สาธารณประโยชน์ โดยไมห่ วงั ผลตอบแทนใดๆ จิตอาสาตามพระราโชบาย แบง่ เป็น 3 ประเภท ดังน้ี
1) จิตอาสาพฒั นา ได้แก่ กจิ กรรมจิตอาสาพระราชทานที่มีวตั ถุประสงค์เพ่ือพัฒนาท้องถิ่นของแต่ละ
ชุมชนให้มีคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมบําเพ็ญ สาธารณประโยชน์ การอนุรักษ์
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอํานวยความสะดวกและความปลอดภัยในการดํารงชีวิตประจําวัน การ
ประกอบอาชีพ รวมทั้งการสาธารณสขุ ฯลฯ แบ่งตามภารกจิ งานเป็น 8 กลุ่มงาน ดงั น้ี

1.1) จิตอาสาพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง ประชามีสุข หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่เข้าร่วมกิจกรรม
สาธารณประโยชน์ อาทิ การขุดลอกคูคลอง การดูแลรักษา ความสะอาดเรียบร้อยของศาสนสถาน หรือ
สถานท่สี าธารณะ การจดั เก็บผกั ตบชวา การปลูกต้นไม้ รวมท้ังการพัฒนาโครงการต่างๆ ท่ีสร้างความเป็นอยู่
ของชมุ ชนให้เขม้ แขง็ ประชาชนมคี วามสขุ อยา่ งย่ังยนื

1.2) จิตอาสางานประดิษฐ์ และเผยแพร่งานศิลปาชีพ หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่นําความรู้
ทางด้านศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน/ภูมิ ปัญญาท้องถ่ิน มาเผยแพร่ และถ่ายทอดเพื่อให้ประชาชนนําความรู้ที่
ได้รับไปพฒั นาใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อไป

1.3) จิตอาสาฝุายกิจกรรมการแสดงและนิทรรศการ หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่ปฏิบัติงาน
สนับสนุนในการจัดงานหรือกิจกรรมการแสดงและมีนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติ เพ่ือเผยแพร่พระราช
กรณียกิจ และเผยแพร่กิจกรรมจิตอาสาฯ เช่น กิจกรรมการแสดงดนตรีบริเวณพระลานพระราชวังดุสิต การ
จดั งานอนุ่ ไอรกั คลายความหนาว งานเถลงิ ศกสุขสนั ต์มหาสงกรานตต์ าํ นานไทย เปน็ ต้น

1.4) จิตอาสาฝุายแพทย์และสาธารณสุข หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่ปฏิบัติงานสนับสนุนและ
ช่วยอํานวยความสะดวกแก่แพทย์ พยาบาล รวมถึงช่วยอํานวยความสะดวกด้านการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ตลอดจนสง่ เสริมให้ประชาชนมคี วามร้คู วามเข้าใจในการดแู ลสุขภาพ

1.5) จิตอาสาฝุายทะเบียนและข้อมูล หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาท่ีให้คําแนะนํา และอํานวย
ความสะดวกประชาชนทมี่ าลงทะเบียนจิตอาสาฯ

1.6) จิตอาสาฝาุ ยกาํ ลงั บาํ รุงและสนบั สนุน หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่สนับสนุน อํานวยความ
สะดวก ดแู ลความเรยี บรอ้ ย จดั หาหรอื บรกิ ารอาหาร นํา้ ดื่ม ให้กับประชาชนท่เี ข้ารว่ มกิจกรรม/จิตอาสาที่เข้า
ร่วมปฏบิ ตั ิงาน

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 3

1.7) จิตอาสาฝุายประชาสัมพันธ์ หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาท่ีช่วยงานประชาสัมพันธ์
และใหบ้ รกิ ารข้อมูลการจัดกจิ กรรมจิตอาสาฯ รวมถงึ ชว่ ยดแู ลต้อนรบั ประชาชนท่มี าเขา้ ร่วมกิจกรรม

1.8) จิตอาสาฝุายรักษาความปลอดภัยและจราจร หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่สนับสนุน
และช่วยอํานวยความสะดวกในการสัญจรของประชาชน การแนะนําเส้นทางการแจ้งอุบัติเหตุการจราจร
ให้เจา้ พนักงานทราบ

2) จิตอาสาภัยพิบัติ ได้แก่ กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือเฝูา ตรวจ เตือน และ
เตรียมการรองรับภยั พบิ ัติท้งั ที่เกิดจากธรรมชาติ และเกดิ จากสาเหตอุ ื่นๆ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อประชาชนในพ้ืนที่
โดยรวมและการเข้าช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนจากภัยพิบัติดังกล่าว เช่น อุทกภัย วาต
ภัย อคั คภี ัย เปน็ ต้น

3) จติ อาสาเฉพาะกิจ ได้แก่ กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานท่ีมีวัตถุประสงค์ให้ปฏิบัติในงานพระราช
พธิ ี หรือการรับเสด็จในโอกาสต่างๆ เป็นการใช้กําลังพลจิตอาสาร่วมปฏิบัติกับส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องในการ
ช่วยเหลือ หรืออํานวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาร่วมงานรวมทั้งการเตรียมการ การเตรียมสถานท่ีและ
การฟ้นื ฟสู ถานทภ่ี ายหลงั การปฏิบตั ิในพระราชพิธี และการเสดจ็ ฯ นั้นๆ ให้เป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย

โครงสร้างและการบรหิ ารจดั การโครงการจิตอาสาพระราชทาน

โครงการจติ อาสาพระราชทาน มีโครงสรา้ งและการบริหารจดั การ ดังนี้
เพื่อให้ศูนย์อํานวยการใหญ่จิตอาสาพระราชทาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
ครอบคลมุ ทกุ กลุ่มงานทีร่ บั ผดิ ชอบตามพระราโชบาย จึงให้ดําเนนิ การ ดงั น้ี
1. ภารกิจ สง่ เสริมและสนบั สนุนการดําเนินงานในดา้ นเศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การพัฒนาประเทศ
อย่างย่ังยืน รวมท้ังการปูองกัน บรรเทา และช่วยเหลือประชาชนจากภัยพิบัติ เพ่ือให้เกิดความรัก ความ
สามัคคี ประชาชนมีสุข ตามแนวทางโครงการจิตอาสาพระราชทาน ตลอดจนกิจการอ่ืนๆ ตามที่ได้รับ
มอบหมายมีผู้อํานวยการศนู ย์ อาํ นวยการใหญ่จติ อาสาพระราชทาน (ผอ.ศอญ.จอส.904) เป็นผู้บังคับบัญชา
รับผิดชอบ
2. การแบ่งมอบ เป็นหนว่ ยดาํ เนินงานตามโครงการจิตอาสาพระราชทาน
3. ขอบเขตความรบั ผิดชอบและหนา้ ที่สาํ คัญ มดี ังนี้

3.1) ติดตามและส่งเสริมตลอดจนให้การสนับสนุนการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคประชาชนในการพัฒนาประเทศ ตามโครงการจิตอาสาพระราชทาน

3.2) วางแผน ดําเนินการ และประสานงานในการปูองกัน บรรเทา และช่วยเหลือประชาชน
จากภยั พิบัติ รวมทั้งฟื้นฟูพนื้ ท่ีจากสภาพภัยพิบัติ

3.3) ดําเนินการฝึกอบรมและพัฒนาขีดความสามารถของจิตอาสา และผู้ท่ีเข้าร่วมโครงการ
จติ อาสาพระราชทาน

3.4) จัดกิจกรรมทีก่ ่อใหเ้ กดิ ความรกั ความสามคั คี และความสํานกึ รับผิดชอบตอ่ สว่ นรวม

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 4

ภาพท่ี 1 ผงั โครงสรา้ ง โครงการจติ อาสาพระราชทาน
4. การจัด ศูนย์อํานวยการใหญ่จิตอาสาพระราชทาน (ศอญ.จอส.904) ประกอบด้วย สํานักงาน
ผ้บู งั คับบัญชาศูนย์อาํ นวยการใหญ่จิตอาสาพระราชทาน และสว่ นงาน จาํ นวน 3 หนว่ ย ดังน้ี

4.1) ฝุายอาํ นวยการจติ อาสา (ฝอ.จอส.)
4.2) โรงเรียนจติ อาสา (ร.ร. จอส.)
4.3) กองกําลงั จิตอาสา (กกล. จอส.)
5. สาํ นกั งานผู้บังคับบัญชาศนู ยอ์ ํานวยการใหญ่จิตอาสาพระราชทาน มีหน้าท่ี ควบคุม บังคับบัญชา
ปกครอง และกํากับดูแลการปฏิบัติงานโครงการจิตอาสาพระราชทาน ตลอดจนกิจการอ่ืนๆ ตามท่ีได้รับ
มอบหมาย
6. ฝุายอํานวยการจิตอาสา มีหน้าที่ วางแผน อํานวยการ ประสานงาน และกํากับดูแลการ
ปฏบิ ัตงิ านโครงการจิตอาสาพระราชทาน ตลอดจนกจิ การอ่ืนๆ ตามท่ีได้รบั มอบหมาย
7. โรงเรียนจิตอาสา มีหน้าที่ ให้การฝึกและศึกษารวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถให้กับผู้ที่เข้า
ร่วมโครงการจิตอาสาพระราชทาน เพ่อื ใหเ้ ปน็ กําลังหลกั ในการดาํ เนินกจิ กรรมจิตอาสาในพน้ื ท่ี
8. กองกําลังจิตอาสา มีหน้าที่ ควบคุม บังคับบัญชา อํานวยการและกํากับดูแลการปฏิบัติงาน
ของข้าราชการและประชาชนจิตอาสาท่ีเข้าร่วมโครงการจิตอาสาพระราชทาน ตลอดจนกิจการอ่ืนๆ ตามที่
ได้รับมอบหมาย

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 5

ภาพที่ 2 ผงั โครงสร้าง ศูนยอ์ ํานวยการจิตอาสาภาค (ศอ. จอส. ภาค)

ภาพท่ี 3 ผังโครงสร้าง ศนู ย์อํานวยการจิตอาสาจังหวัด.../กทม. (ศอ. จอส. จงั หวดั /กทม.)
สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐ 6

ภาพที่ 4 ผงั โครงสรา้ ง ศนู ยอ์ ํานวยการจติ อาสาอาํ เภอ.../เขต (ศอ. จอส. อําเภอ/เขต)

คณุ สมบตั ิและการบั สมคั รจติ อาสาพระราชทาน

คุณสมบัตเิ บือ้ งตน้ ของจติ อาสาพระราชทาน มี 4 ประการ ดังนี้
1. มสี ัญชาติไทย หรือผู้ท่พี ํานักอาศยั อยู่ในประเทศไทยโดยถูกต้องตามกฎหมาย
2. ไม่มีผลประโยชนแ์ อบแฝง
3. ไมเ่ บียดบงั เวลาราชการ
4. ไม่เสยี การเรยี น

คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องจิตอาสาพระราชทาน มี 7 ประการ ดงั นี้
1. มีความซ่อื สัตย์ เสยี สละ อดทนคํานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
2. มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดีตอ่ ผู้อน่ื เผ่อื แผ่และแบง่ ปัน
3. มีวนิ ยั และความรับผดิ ชอบ เคารพกฎหมายบ้านเมือง
4. มีกริยา วาจา สุภาพเรียบรอ้ ย
5. ไมด่ ม่ื สรุ า หรอื ใช้สารเสพตดิ อน่ื ใดในขณะปฏบิ ตั ิงาน
6. มีจติ ใจเข้มแขง็ และมที ัศนคติท่ดี ีในการปฏบิ ตั ิงานเพอื่ สว่ นรวม
7. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันดงี าม ผู้น้อยรจู้ ักการเคารพผู้ใหญ่

การแตง่ กายของจิตอาสาพระราชทาน
แต่งกายดว้ ยเสื้อพระราชทาน หรอื เสอ้ื สีสภุ าพที่ไม่มกี ารระบุช่ือหน่วยงาน องค์กร กลุ่มบุคคล บุคคล

ใดๆ กรณีนักเรียนนักศึกษาสามารถแต่งกายด้วยเครื่องแบบ หรือสวมใส่กระโปรง/กางเกงของสถานศึกษาได้
สวมหมวกแก๊ป และผ้าพันคอที่ได้รับพระราชทาน ติดบัตรประจําตัวจิตอาสาฯ โดยการแต่งกายต้องมีความ
รดั กมุ เพอื่ ใหม้ คี วามคลอ่ งตัวในการปฏบิ ตั ิงานโดยมขี ้อควรระวงั คอื

๏ จิตอาสาฯ ทล่ี งทะเบียนถกู ตอ้ งเท่านน้ั ที่สามารถแต่งกายตามท่ีกําหนดข้างตน้ ได้
๏ ชุดเครือ่ งแบบจติ อาสาฯ ไม่เปน็ มรดกตกทอด ไมส่ ามารถมอบต่อใหผ้ ้อู น่ื ได้
๏ หา้ มทาํ เลียนแบบ (เนื่องจากมีลขิ สทิ ธติ์ ามกฎหมาย) และห้ามจาํ หนา่ ยจา่ ยแจก

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ ส่ยู ุค ๔.๐ 7

การรับสมัครและการรบั ลงทะเบียน
คณุ สมบตั ิของผู้ทจ่ี ะสมคั รเป็นจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ มดี ังน้ี

1. มสี ญั ชาตไิ ทย หรอื ผู้ท่พี าํ นกั อาศยั อย่ใู นประเทศไทยโดยถูกต้องตามกฎหมาย
2. ไม่มีผลประโยชนแ์ อบแฝง
3. ไม่เบยี ดบงั เวลาราชการ
4. ไม่เสยี การเรียน
การรบั สมัครจติ อาสาพระราชทาน
ศูนย์อํานวยการใหญ่จิตอาสาพระราชทาน (ศอญ.จอส.พระราชทาน) กําหนดช่วงเวลาและสถานท่ี
การเปดิ รับสมัครในแต่ละรอบ
ขน้ั ตอนในการสมคั รและการลงทะเบยี น
กรอกข้อมูลส่วนบุคคล รายละเอียดที่กําหนดในใบสมัคร และยื่นเอกสารใบสมัครพร้อมกับบัตร
ประจําตัวประชาชนต่อเจ้าหน้าที่ และถ่ายภาพเพ่ือบันทึกไว้เป็นข้อมูลของจิตอาสา และเพื่อจัดทําบัตร
ประจาํ ตัว
เจ้าหน้าท่ีสัมภาษณ์ความถนัดในการทํางาน และทักษะในด้านต่างๆ ของผู้สมัครเพ่ือเป็นข้อมูล
สาํ หรับการจดั กลุ่มตามประเภทงานของจติ อาสาพระราชทาน ตามแนวพระราชดําริ
เข้าประจําที่ในสถานท่ีตามท่ีเจ้าหน้าที่กําหนด เพ่ือทําพิธีรับพระราชทานเคร่ืองแต่งกายชุดจิตอาสา
พระราชทานตามแนวพระราชดําริ ประกอบด้วย หมวก และผา้ พนั คอ

หลักสูตรการฝึกอบรมจติ อาสา 904

ประวัติความเปน็ มาของจิตอาสา
ตามที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงห่วงใย และทรงคํานึงถึงความอยู่ดีมีสุขของประชาชน

เป็นสําคัญ และพระองค์ทรงมีพระราชปณิธานแน่วแน่ท่ีจะทําให้ประเทศชาติ ม่ันคง เป็นปึกแผ่น มีความรัก
ความสามัคคีและประชาชน มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน ด้วยมีพระราชปณิธานที่จะสืบสานรักษา ต่อยอด
โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาํ ริ และแนวพระราชดาํ รติ า่ งๆ ในการบําบัดทุกข์บํารุงสุขให้ประชาชน และ
พฒั นาประเทศใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จัดโครงการจิตอาสาข้ึนในคร้ังแรกเม่ือวันพุธที่
21 มถิ นุ ายน พุทธศกั ราช 25602 ณ โรงเรียนสุโขทัย เขตดุสิต กทม. โดยมีพระราโชบาย ให้เริ่มทําจากจุด
เล็กไปใหญ่ โดยเรมิ่ จากการดูแลรักษาบ้าน และบริเวณรอบบ้านของตนเองให้สะอาดก่อนจึงเกิดโครงการจิต
อาสา เราทา ดี ด้วยหัวใจ นับต้ังแต่นัน้ เปน็ ต้นมา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทาน ให้มีการฝึกหลักสูตรจิตอาสา โดยในงานพระราชพิธี
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และงาน
“อุ่นไอรัก คลายความหนาว” มีประชาชนจํานวนมากได้สนใจลงทะเบียนเป็นจิตอาสาเฉพาะกิจ จํานวน
4 ล้านคนเศษ จึงจําเป็นต้องมีการคัดบุคคลเพื่อฝึกอบรมจิตอาสา เพ่ือให้เป็นผู้นําของจิตอาสาเหล่านั้นใน
ด้านต่างๆ และขยายผลให้มีทักษะการปฏิบัติงานปลูกฝังในเร่ืองความมั่นคง ในชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ในการ
เข้ารับการฝกึ หลักสูตรนี้ จะพจิ ารณาบคุ คลเขา้ รับการฝกึ อบรม และคัดเลือกวิทยากรให้เหมาะสม ให้มีช่ัวโมง
ในการทํางานและมีประสบการณ์เม่ือจบหลักสูตรจะได้บุคคลท่ีเป็นแนวร่วมในการช่วยพัฒนาและปูองกัน
ประเทศ และสรา้ งประชาชนที่มีความจงรกั ภักดตี ่อสถาบัน โดยแบง่ หลักสตู รเปน็ 3 ระดับ

หลกั สตู รการฝึกอบรมจิตอาสา แบง่ เปน็ 3 ระดับ ได้แก่

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 8

1. หลกั สตู รท่ัวไป มีระยะเวลาฝึกอบรม จํานวน 7 วนั
2. หลกั สูตรหลักประจาํ มีระยะเวลาฝกึ อบรม จํานวน 6 สัปดาห์
3. หลักสูตรพิเศษ มรี ะยะเวลาฝกึ อบรม จาํ นวน 3 เดอื น
ปัจจุบันได้ดําเนินการฝึกไปแล้ว คือ หลักสูตร “หลักประจํา” รุ่นที่ 1 พระราชทานช่ือรุ่นว่า “เป็น
เบ้าเปน็ แมพ่ มิ พ์” โดยมขี ้าราชการ ทหาร ตํารวจ ทง้ั 4 เหลา่ ทัพ เข้ารบั การฝกึ อบรมในห้วงเดือนมีนาคมถึง
เดือนเมษายนที่ผ่านมา โดยทําการฝึก ณ พื้นที่กองพันฝึกส่วนหลัง กองบัญชาการทหารมหาดเล็กราชวัลลภ
รกั ษาพระองค์ เขตพระราชฐานในพระองค์ “วิภาวดี” ทงั้ ได้ทรงพระกรุณาวินจิ ฉัยเน้ือหาทุกวิชาของหลักสูตร
และพระราชทานพระราชทรัพย์ในการพัฒนาปรับปรุงสถานที่ฝึกและค่าใช้จ่าย พระราชทานเส้ือ เคร่ืองช่วย
ฝกึ และพระราชทานอาหารตลอดห้วงการฝกึ
วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝกึ
1. เพ่ือเป็นวิทยากรช้ันเลิศ สามารถอบรมขยายผลให้เหล่าทัพของตนเอง และพื้นที่ ที่ได้รับ
มอบหมาย
2. เป็นแกนนําให้กับจิตอาสาทั่วไป เพื่อทําหน้าที่จิตอาสา 3 ประเภท ได้อย่างมีประสิทธิผลรวมถึง
ให้ข้อเสนอแนะงานด้านจิตอาสาหลายๆ ด้าน นําเทคนิคท่ีได้รับการอบรมจากหลักสูตรน้ีไปช่วยเหลือ
ประชาชนตอดจนภัยพบิ ตั ติ า่ งๆ โดยเน้น 4 ดา้ น ได้แก่ ปจั จัย 4, การศึกษา, การรกั ษาพยาบาล และอาชีพ
3. ต้องทราบปัญหาภาพรวมของประเทศ และสามารถสืบสภาพปัญหาในพ้ืนที่ ให้ข้อเสนอแนะ
งานจติ อาสาในภูมภิ าค เพ่อื ใหท้ างศูนย์อํานวยการใหญม่ าวเิ คราะห์ช่วยเหลืออยา่ งเปน็ รูปธรรมต่อไป
4. เพ่อื ให้มีองค์ความรู้ มีวินัย และบคุ ลกิ ภาพตลอดจนทักษะช่วยเหลือประชาชน นําไปสู่การพัฒนา
ประเทศชาติ และเป็นมวลชนท่เี ปน็ ตวั อย่างทีด่ ขี องประเทศชาตติ อ่ ไป
5. สามารถเป็นครฝู กึ จติ อาสาในร่นุ ตอ่ ไป
คณุ สมบัตขิ องผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรม
1. เป็นผู้ที่มีทศั นคตทิ ่ีดีต่อชาติ ต่อสถาบนั และมีความสมคั รใจ เปน็ ที่ยอมรับขององค์กร และมีความ
เสียสละ คาํ นงึ ถึงผลประโยชน์สว่ นรวม
2. เป็นบุคคลที่ได้รับการตรวจสอบพฤติกรรม จากหน่วยงานของรัฐแล้วว่าไม่เป็นภัยต่อความม่ันคง
ของชาติ
3. เปน็ ผทู้ ไี่ ด้รับการอนุมตั ิให้เขา้ รับการศึกษาตามสายการบังคับบัญชา หรือจากผู้บริหารระดับสูงสุด
ขององค์กร และผู้ที่ศึกษาหลักสูตรให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติงานของทางราชการ โดยหน่วยงานต้นสังกัด
สามารถจดั หาบคุ คลอืน่ ปฏบิ ัติหนา้ ทแ่ี ทนได้
4. เป็นผู้ทม่ี ีสขุ ภาพรา่ งกายสมบรู ณ์แข็งแรง และสามารถเข้ารับการศึกษาได้ตลอดหลักสูตร ไม่มีโรค
ประจาํ ตัวหรอื อยูใ่ นระหวา่ งภาวะตั้งครรภ์
5. เป็นผู้ที่หน่วยงานต้นสังกัดพิจารณาแล้วว่าเป็นบุคคลช้ันดีเลิศ และมีความสามารถท่ีจะเป็น
ประโยชน์ต่อการพฒั นาประเทศในอนาคต
หลักสูตรหลักประจํา เน้นการฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การแลกเปล่ียน
ประสบการณ์ และการศึกษาเป็นคณะเน้นฝึกการปฏิบัติ ฟังบรรยายจากผู้มีประสบการณ์จากหน่วยงานและ
วิทยากรท่มี คี วามสามารถ โดยมีระยะเวลาการฝึกอบรม จาํ นวน 6 สัปดาห์ แบ่งเป็น 6 หมวดวิชา รวมทั้งสิ้น
จํานวน 462 ชวั่ โมง ดังน้ี (ตามภาคผนวก 4 แถลงหลกั สูตรจิตอาสา)
1) หมวดวิชาที่ 1 วชิ าทหารท่วั ไป จํานวน 27 ช่ัวโมง เน้นการฝึกให้ร่างกายแข็งแรง รู้คําส่ังภารกิจ
รู้หนา้ ท่ี รู้วินัยทหารทว่ั ไป ร้จู กั ระเบยี บวินัย มคี วามคิดทีเ่ ปน็ ระบบ

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 9

2) หมวดวิชาท่ี 2 วิชาการอบรมความรู้ (อุดมการณ์/สถาบันพระมหากษัตริย์) จํานวน 85 ช่ัวโมง
เพื่อให้ทราบถึงประวัติศาสตร์ของชาติไทย โดยเฉพาะพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พระองค์ทรงแบกรับพระราชภารกิจที่ยิ่งใหญ่ในการคุ้มครองความปลอดภัยให้กับ
บ้านเมอื ง ในการเผชิญกับภัยคุกคามตง้ั แตอ่ ดตี เช่น การล่าอาณานิคมของประเทศตะวันตก การแพร่อิทธิพล
ของลัทธคิ อมมวิ นิสตใ์ นยุคสงครามเย็น รวมถงึ ปญั หาความยากจนของพสกนิกรท่ัวทงั้ ประเทศ

3) หมวดวชิ าท่ี 3 วชิ าการอบรมความรู้ (ดา้ นจิตอาสา) จํานวน 80 ช่ัวโมง เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรม
ได้มีแนวทางในการปฏิบัติที่ถูกต้อง มีมาตรฐานเพ่ือพัฒนาบุคลากรให้มีขีดความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่
ต่างๆ ในกล่มุ งานจิตอาสาทัง้ 3 ประเภท ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

4) หมวดวิชาท่ี 4 วิชาชีพ (เลือก) 1 วิชา จํานวน 30 ช่ัวโมง เป็นวิชาชีพท่ีให้ผู้เข้ารับการฝึกเลือก
คนละ 1 วิชา เพอ่ื ใหม้ คี วามร้ไู ปชว่ ยเหลือกจิ กรรมจิตอาสาด้านต่างๆ ผู้รับการฝึกจะได้รับใบประกาศนียบัตร
รับรอง ขีดความสามารถ ประกอบดว้ ยทางด้านวิชาช่าง ดงั นี้

๏ ช่างไฟฟูา
๏ ชา่ งเดินสายไฟ
๏ ช่างไม้
๏ ช่างประปา
๏ ช่างปูน
๏ ชา่ งสี
๏ ชา่ งเครอ่ื งยนต์ขนาดเล็ก (เน้นเคร่ืองมอื การเกษตร) โดยมวี ทิ ยากรจากสถาบันพัฒนาฝีมือ
แรงงาน 1 จงั หวดั สมทุ รปราการ เปน็ ผู้สอน
๏ แกะสลกั ผัก และผลไมส้ ด
๏ การจดั ดอกไมส้ ด และการรอ้ ยมาลยั
๏ การปกั พมุ่ โดยมวี ิทยากรจากโรงเรยี นช่างฝีมอื ในวงั หญิงเป็นอาจารยใ์ นการสอน
๏ การทําอาหารไทย
๏ การทาํ ขนมไทย อาหารว่างท่ีมีประโยชน์ (เชน่ วิชาทําขนมครก)
๏ ศาสตร์ในการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร (ใช้รถครัวสนามเคลอ่ื นท่ี)
โดยมีวิทยากรจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร และศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรี และ
ครอบครัวภาคกลาง จังหวัดนนทบรุ ี เป็นผสู้ อน
5. หมวดวิชาที่ 5 วิชาศาสตร์พระราชา จํานวน 90 ชั่วโมง คิดโดยให้มีความเข้าใจว่ าศาสตร์
พระราชา คือ 4 ข้อ ได้แก่ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระ
มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ให้เข้าใจหลักการขั้นตอนของการทรงงาน และโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ เพ่ือนําไปแกไ้ ขปญั หาใหก้ ับประชาชนของพระองค์ผู้รับการฝึกจะได้รับการฝึกอบรม
เพ่ือศึกษาองค์ความรู้ของพระราชา ต้องรู้ว่าศาสตร์พระราชาคืออะไร ท่ีทรงช่วยเหลือปวงชนชาวไทย เป็น
การวางแนวทาง แนวคดิ ทฤษฎี เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา และหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เริ่มที่การเข้าใจก่อน
เข้าใจปัญหา เข้าใจสถานการณ์ เข้าใจภารกิจ รวมท้ังกลุ่มอาชีพต่างๆ ท่ีนําหลักศาสตร์พระราชาไปสู่การ
ปฏิบัติจนประสบความสําเร็จ
6. หมวดวิชาที่ 6 การฝึกปฏิบัติและการศึกษาดูงานพ้ืนที่จริง จํานวน 150 ช่ัวโมง เป็นหมวดวิชา
ท่ีมุ่งเน้นให้ทราบถึงปัญหาของประชาชนและเกษตรกร ว่าคืออะไร จะแก้อย่างไร และที่สําคัญจะต้องนํา
ภาคทฤษฎีมาปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยให้ผู้รับการฝึกได้เรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ ส่ยู ุค ๔.๐ 10

ในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และนําลงสู่การปฏิบัติ โดยมีเปูาหมาย
เพือ่ การพัฒนามนุษย์ และรับทราบประเด็นปลีกย่อยเพ่ิมเติมในการปฏิบัติ รวมถึงประเด็นปัญหาของผู้ที่เคย
ปฏิบัติก่อให้เกิดความคิดในการต่อยอดจากเดิม ผู้รับการฝึกจะได้ศึกษาดูงานโครงการส่วนพระองค์สวน
จิตรลดา, พระบรมมหาราชวัง, หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ บ้านอ่างตะแบก จังหวัดฉะเชิงเทรา,
โครงการช่ังหัวมันอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี และศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอ้ือง อําเภอ
บา้ นบงึ จังหวัดชลบรุ ี

พระมหากรุณาธิคุณท่ีรงพระราชทาน ซ่ึงในระหว่างการฝึกอบรมผู้รับการอบรมจะได้รับ พระมหา
กรุณาธิคุณพระราชทานเครื่องแบบจิตอาสา ประกอบด้วย เส้ือจิตอาสา, หมวกสีฟูา, ผ้าพันคอสีเหลือง
ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์ของ “จิตอาสา 904” และเอกสารตําราประกอบการฝึกอบรมให้กับผู้รับการฝึก อีกทั้ง
พระราชทานเลี้ยงอาหารประจําวันและอาหารว่าง ให้กับผู้รับการฝึกในแต่ละวัน พระราชทานเลี้ยงอาหาร
พเิ ศษในวันสําคญั และวันเยยี่ มญาติ ซง่ึ ได้พระราชทานเล้ียงให้กับญาติของผู้รับการฝึกด้วย และหากผู้รับการ
ฝึกเจ็บปุวยในระหว่างรับการฝึก ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานแจกันดอกไม้และของเย่ียมให้แก่
ผู้ปุวย โดยในรุ่นท่ี 1/16 ท่ีผ่านมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ให้พลอากาศเอกสถิตพงษ์ สุขวิมล ราชเลขานุการในพระองค์ เป็นผู้แทนพระองค์ไปเป็นประธานในพิธีปิด
หลักสูตร และมอบประกาศนียบตั รพร้อมกบั เครือ่ งหมายหลักสตู รจติ อาสา 904 ใหก้ บั ผ้สู าํ เรจ็ การอบรม
ความหมายของเครอ่ื งหมาย จติ อาสา มอี งคป์ ระกอบและความหมาย ดังนี้

พระมหาพิชัยมงกุฎ หมายถึง พระบารมี และพระมหากรุณาธิคุณ แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ ัว อันแผ่ไพศาล

พระปรมาภไิ ธย ย่อ ว.ป.ร. หมายถงึ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ดาวเบื้องซ้าย หมายถงึ ขา้ ราชการ
ดาวเบื้องขวา หมายถึง ประชาชน
เปน็ สีเดยี วกนั หมายถึง ไมแ่ บง่ แยก
รวมความหมาย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว ข้าราชการ และประชาชน ไม่เคยแยกจากกนั
ปีก หมายถึง พระบารมีท่ีทรงโอบอุม้ และนาํ มาเพื่อความเจรญิ รงุ่ เรอื งแหง่ ประเทศชาติไปพร้อมกัน
ผ้าแพร ประดับด้วยคําขวัญพระราชทาน “เราทาความ ดี ด้วยหัวใจ” หมายถึง ทรงพระราชทาน
พระราชปณิธาน และความมุง่ ม่ันทีจ่ ะทาํ ความดีของทุกคน
ภายหลังจากสําเร็จการฝึกอบรม ผู้รับการฝึกจะพบกับความเปลี่ยนแปลงในตนเอง จะเข้าใจ
ความหมายอย่างลึกซึ้งของคําว่า จิตอาสาตามพระราชปณิธาน เป็นจิตแห่งการให้ความดีงามท้ังปวงแก่เพื่อน
มนุษย์โดยเต็มใจ สมัครใจช่วยเหลือผู้อ่ืน ยอมเสียสละเวลา แรงกาย แรงใจ และสติปัญญา ในการทํางานที่
เป็นสาธารณประโยชน์ โดยไม่หวังผลตอบแทนใดๆ เป็นจิตท่ีเปี่ยมด้วย “บุญ” คือความสงบเยือกเย็น และ
พลงั แหง่ ความดี อีกทงั้ ยงั ชว่ ยลด “อตั ตา” หรอื ความเป็นตัวตนของตนเองลงได้
ซงึ่ ผู้รับการฝึกจะนําองค์ความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปขยายผล ต่อยอด ปฏิบัติงานเป็นวิทยากร จิต
อาสาในการบรรยายความรู้ให้กับข้าราชการในสังกัดของวิทยากร ให้กับประชาชนในพ้ืนที่รอบหน่วยงาน ชุมชน
ต่างๆ และเป็นแกนนําให้กับจิตอาสาท่ัวไป เพื่อสนองตอบพระราโชบายและพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ท่ีทรงห่วงใย ทรงคํานึงถึงความอยู่ดีมีสุขของประชาชนเป็นสําคัญ ประเทศชาติม่ันคง เป็นปึกแผ่น
และประชาชนของพระองคม์ คี วามรัก ความสามัคคี มชี วี ิตความเป็นอย่ทู ี่ดขี ึน้ และดว้ ยพระราชปณธิ านแนว่ แนท่ จี่ ะ
สืบสาน รักษา ต่อยอด โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ และแนวพระราชดําริต่างๆ จากพระราชบิดาในการ
บําบดั ทกุ ข์ บาํ รุงสขุ ให้ประชาชน และพัฒนาประเทศให้เจริญกา้ วหนา้ ต่อไป

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 11
การบรรยายเร่อื ง หลักการทางานเพอ่ื ความโปรง่ ใส ถกู ตอ้ ง ปอ้ งกนั การทจุ รติ คอรปั ชัน่

โดย นายผดงุ จตุรภกั ด์ิ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ และนายกฤตชัย พรมวนั เจ้าพนักงานป้องกันการทจุ ริตชานาญการ
สานกั งาน ปปช.จังหวดั นครราชสีมา

สรุปสาระสาคญั

หลกั การทางานเพื่อความโปรง่ ใส ถูกต้อง ป้องกนั การทุจรติ คอรัปช่นั
หลักการทํางาน การปฏิบัติตน ทําอย่างไรเพ่ือปูองกันการผิดกฎ ผิดระเบียบจนเกิดการฟูองร้อง จน

นําไปสู่การเกิดการทุจริตข้ึน ซึ่งสาเหตุส่วนหน่ึงเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น การนํารถจักรยานยนต์
ของทางราชการไปใชส้ ่วนตวั การนําอุปกรณ์ เครื่องมอื ของทางราชการไปใชส่ ว่ นตัว

ทําอย่างไรเพอ่ื ปอู งกนั การทุจริต เพื่อไม่ใหเ้ กดิ ขึ้นในสงั คมไทย โดยเร่ิมตั้งแต่
1. ในครอบครัว
2. ในหนว่ ยงาน
3. ในสังคม
คานยิ ามตามนโยบายต่อตา้ นการทจุ ริตคอรร์ ปั ชนั่
“เจา้ หน้าทขี่ องรฐั ” หมายความว่า ข้าราชการหรือพนกั งานสว่ นทอ้ งถิ่นซึง่ มตี ําแหนง่ หรอื เงินเดือน
ประจํา ผู้ปฏบิ ัตงิ านในหน่วยงานของรฐั หรือในรฐั วสิ าหกิจ ผู้บรหิ ารทอ้ งถน่ิ รองผูบ้ ริหารทอ้ งถน่ิ ผู้ช่วย

สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ ุค ๔.๐ 12

ผู้บรหิ ารทอ้ งถนิ่ และสมาชิกสภาทอ้ งถนิ่ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เจ้าพนักงาน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ย
ลักษณะปกครองท้องที่ หรือเจา้ พนกั งานอน่ื ตามที่กฎหมายบัญญัตแิ ละใหห้ มายความรวมถงึ กรรมการ
อนกุ รรมการ ลูกจ้างของสว่ นราชการ หนว่ ยงานของรัฐ หรือรฐั วสิ าหกจิ และบุคคลหรือคณะบุคคลบรรดาซึ่ง
มกี ฎหมายกําหนดใหใ้ ชอ้ ํานาจหรอื ไดร้ บั มอบให้ใชอ้ ํานาจทางปกครอง ท่จี ัดต้ังขน้ึ ในระบบราชการ
รฐั วสิ าหกิจ หรือกิจการอ่ืนของรัฐด้วย แตไ่ มร่ วมถงึ ผดู้ าํ รงตําแหนง่ ทางการเมือง ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญ ผู้
ดาํ รงตาํ แหน่งในองค์กรอิสระ และคณะกรรมการ ป.ป.ช.

“ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สีย” หมายความว่า บุคคลหรอื กลุ่มบุคลท่ีได้รับผลกระทบจากการดําเนินธุรกจิ ทง้ั
ทางตรงและทางอ้อม หรือมผี ลประโยชน์ใดๆ กบั การดาํ เนินธุรกจิ

“การทุจริตคอรร์ ปั ชน่ั ” หมายความวา่ การใชอ้ ํานาจทไ่ี ด้มาหรอื การใช้ทรัพย์สินท่ีมีอย่ใู นทางมิชอบ
เพอื่ ประโยชนข์ องบริษัท ตนเอง หรือผู้เกีย่ วข้อง หรือก่อให้เกดิ ความเสียหายต่อประโยชน์ของผู้อื่น รูปแบบ
ของการทุจริตคอรร์ ปั ชน่ั ใหห้ มายรวมถงึ สนิ บน สง่ิ ของที่มีมูลค่า สิง่ ของหรือประโยชนอ์ ่ืนใด การมี
ผลประโยชนท์ บั ซ้อนระหว่างเอกชนกบั หนว่ ยงานของรัฐ และระหว่างบุคคลหรอื กิจการในเอกชน ดว้ ยกนั เอง

“การติดสินบน” หมายความวา่ การเสนอ การสัญญา หรือการมอบ รวมทั้งการเรยี กรอ้ ง หรือรบั
ผลประโยชน์ที่เกี่ยวขอ้ งกับสง่ิ ของท่ีมีมูลค่า ไม่วา่ จะโดยตรงหรือโดยอ้อมเพ่ือให้ไดม้ าซ่งึ ธุรกจิ หรอื เพ่ือรกั ษา
ผลประโยชน์อื่นใดอนั ไมเ่ หมาะสมตามหลักจรรยาบรรณธรุ กิจ

“ส่งิ ของหรือประโยชนอ์ ่นื ใด” หมายความว่า เงิน ทรพั ย์สนิ หรือประโยชนอ์ น่ื ใด ท่ีใหแ้ ก่กนั เพื่อ
อธั ยาศัยไมตรีทีใ่ หเ้ ปน็ รางวัล หรือใหเ้ ปน็ สนิ นํา้ ใจ การให้สทิ ธพิ เิ ศษ ตลอดจนการออกค่าใช้จ่ายในการ
เดินทางหรือท่องเทยี่ ว ค่าที่พัก คา่ อาหาร หรอื สง่ิ อืน่ ใดในลักษณะเดยี วกนั และไมว่ า่ จะให้เป็นบตั ร ต๋ัวหรอื
หลกั ฐานอ่ืนใด

การทุจริต (Corruption) หมายถึง การใช้อํานาจที่ได้มาหรือการใช้ทรัพย์สินที่มีอยู่ในทาง
มิชอบ เพ่ือประโยชน์ส่วนตนหรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อประโยชน์ของผู้อ่ืน การทุจริตอาจเกิดได้หลาย
ลักษณะอาทิ การติดสินบนเจ้าพนักงานด้วยการชักชวนการเสนอการให้หรือการรับสินบน ทั้งท่ีเป็นเงินและ
ส่ิงของ การมีผลประโยชน์ทับซ้อน การฉ้อฉล การฟอกเงิน การยักยอกการปกปิดข้อเท็จจริง การขัดขวาง
กระบวนการยุตธิ รรม การคา้ ภายใต้แรงอทิ ธพิ ล ทงั้ น้ี การทุจริตดังกล่าวมิได้หมายความถึงเพียงความสัมพันธ์
ระหว่างเอกชนกับหน่วยงานของรัฐเท่าน้ัน แต่ยังครอบคลุมถึงธุรกรรมระหว่างบุคคลหรือกิจการในระหว่าง
ภาคเอกชนดว้ ยกนั เองด้วย

สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เป็นสํานักงาน
เลขานุการของคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่เป็นอิสระ มีฐานะ
เทียบเท่ากรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีเลขาธิการคณะกรรมการปูองกันและ
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นผู้บังคับบัญชาข้ึนตรงต่อประธานกรรมการปูองกันและปราบปรามการ
ทุจรติ แหง่ ชาติ

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 13

กฎหมาย ป.ป.ช. ฉบับใหม่ หรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปูองกันและ
ปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561 กําหนดให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจตรวจสอบการดําเนินการของ
หน่วยงานรัฐ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การดําเนินโครงการต่างๆ หากการดําเนินการนั้น “อาจจะมีการทุจริต”
หรอื “ส่อว่าจะมกี ารทจุ รติ ” เกดิ ขึ้น

โดยกําหนดไว้ในมาตรา 35 ซึง่ มีรายละเอยี ดดังนี้

มาตรา 35 ในกรณีท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการดําเนินการอย่างใดใน
หน่วยงานของรัฐอันอาจนําไปสู่การทุจริตหรือส่อว่าอาจมีการทุจริต ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการ
ตรวจสอบโดยเร็ว ถ้าผลการตรวจสอบปรากฏว่ากรณีมีเหตุอันควรระมัดระวัง คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจมี
มติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของคณะกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ มีหนังสือแจ้งให้หน่วยงาน
ของรฐั ดงั กลา่ วและคณะรฐั มนตรีทราบ พรอ้ มดว้ ยขอ้ เสนอแนะแนวทางการแก้ไข

หน่วยงานของรัฐและคณะรัฐมนตรีมีหน้าที่ต้องดําเนินการตามควรแก่กรณีเพื่อปูองกันมิให้เกิดการ
ทุจริตหรือเกิดการเสียหายต่อประโยชน์ของรัฐหรือประชาชนโดยเร็ว และถ้าไม่เก่ียวกับความลับของทาง
ราชการให้เปดิ เผยให้ประชาชนทราบเป็นการท่ัวไป

จากบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายมาตราดังกลา่ ว เรียกได้วา่ ป.ป.ช. สามารถตรวจสอบการดําเนินงานของ
หนว่ ยงานรัฐได้ ต้ังแต่ตน้ เพยี งแคม่ เี หตุอนั ควรสงสยั วา่ จะมกี ารทุจรติ

คาํ ถามคือ “เหตุอันควรสงสยั ว่าจะมกี ารทุจริต”ท่ีวา่ น้ี คืออะไร กินความครอบคลมุ มากน้อยเพียงใด?

ถ้าว่ากนั ตามตัวบท คณะกรรมการ ป.ป.ช. สามารถยกเหตุอันควรสงสัยข้ึนมาได้เลย และมอบหมาย
บุคคล คณะบคุ คลหรอื หน่วยงานภายในดําเนนิ การตรวจสอบต่อไป

แล้วอย่างนี้ บุคคล คณะบุคคล หรือหน่วยงานภายใน สํานักงานป.ป.ช. จะสามารถยกเหตุอันควร
สงสยั ขนึ้ มา แล้วเสนอให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาวา่ เห็นควรดาํ เนินการตรวจสอบตอ่ ไปหรอื ไม่?

คาตอบคอื ได้

สํานักงาน ป.ป.ช. ในฐานะหน่วยธุรการของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีการปรับโครงสร้างการแบ่ง
ส่วนราชการใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับหน้าที่และอํานาจตามกฎหมายใหม่ โดยกําหนดให้มี “สํานักเฝูาระวัง
และประเมินสภาวการณ์ทุจรติ ” ทาํ หน้าท่ีรวบรวมข้อมูล ศึกษา วเิ คราะห์ และยกเหตุผลอันควรสงสัย รวมถึง
ทาํ หนา้ ท่ใี นการตรวจสอบตามมาตรา 35 เม่ือคณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ติใหด้ ําเนนิ การตรวจสอบด้วย

ต่อมาเม่ือตรวจสอบพบว่า “มีเหตุอันควรระมัดระวัง” ก็จะต้องแจ้งให้หน่วยงานของรัฐผู้รับผิดชอบ
ดําเนินโครงการน้ันๆและคณะรฐั มนตรีไดร้ ับทราบ พร้อมด้วย “ขอ้ เสนอแนะแนวทางการแกไ้ ข”

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 14

“เหตุอันควรระมัดระวัง” ท่ีว่านี้ คือ หากไม่มีการทบทวน ปรับปรุง หรือแก้ไขบางส่วนหรือทั้งหมด
ในกระบวนการดําเนินงานก็อาจจะทําให้เกิดการทุจริต หรือเกิดความเสียหายต่อประโยชน์ของรัฐหรือ
ประชาชนได้

ปัจจัยสําคัญประการหน่งึ คือ ความรว่ มมอื ของทุกภาคสว่ น มาตรการทางกฎหมายดังกล่าว เป็นเพียง
ปัจจัยหน่ึงท่ีจะช่วยให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. สามารถดําเนินการตรวจสอบความผิดปกติต้ังแต่เนิ่นๆโดยไม่
จําเป็นต้องรอใหก้ ารทุจรติ ข้ึนเสยี ก่อน

สําหรับภาคส่วนอ่ืนๆท้ังภาคประชาชน ภาคธุรกิจเอกชน ส่ือมวลชน และเจ้าหน้าท่ีของรัฐใน
หน่วยงานตา่ งๆสามารถเข้ามามสี ว่ นร่วมในการดําเนินการในดา้ นนไ้ี ด้โดยการชว่ ยกนั สอดสอ่ ง เฝูาระวัง และชี้
ช่องแจ้งเบาะแสการทุจริต มีโครงการของรัฐโครงการใดบ้างที่ลงไปในพื้นที่ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบโครงการ
คือใคร มีความรับผิดชอบหรือความไม่ชอบมาพากลในการดําเนินการอย่างไร ก็สามารถแจ้งข้อมูลไปยัง
สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค หรือ สํานักงาน ป.ป.ช. ส่วนกลาง เพ่ือให้ดําเนินการต่อไป ซึ่งหากตรวจสอบแล้ว
พบว่าเป็นกรณีการทุจริต ก็จะดําเนินการตามที่ระเบียบและกฎหมายให้อํานาจไว้เพื่อหาตัวผู้กระทําผิดมา
ลงโทษ แต่หากเป็นกรณีท่ียังไม่มีการทุจริตหรือเป็นกรณีที่สามารถจะช่วยกันระงับยับยั้งมิให้เกิดความ
เสียหายตอ่ ทางราชการหรือประชาชน สํานักงาน ป.ป.ช. ก็จะพิจารณาดําเนินการตามหน้าที่และอํานาจท่ีได้
กล่าวไปขา้ งตน้ หรือดําเนินการอน่ื ๆ ตามความเหมาะสมแกก่ รณตี อ่ ไป

สาเหตุหนึ่งท่ีทําให้ปะเทศไทยยังเป็นประเทศกําลังพัฒนา และเกิดความขัดแย้งระหว่างคนไทย
ด้วยกัน คือ การขัดแย้งกันทางด้านผลประโยชน์ เกิดการทุจริตฉ้อราษฎร์เป็นปัญหาท่ีฝังรากลึกในสังคมไทย
มายาวนาน การทุจริตเป็นอาชญากรรมร้ายแรงชนิดหนึ่งท่ีส่งผลกระทบต่อทุกคนในประเทศ แม้ว่าจะมี
หน่วยงานที่รับผิดชอบในการปูองกันและปราบปรามการทุจริต แต่ก็ยังไม่สามารถต้านทานความพยายาม
แทรกแซงและสกัดก้ันผู้ทุจริตที่มีอํานาจเหนือกว่า จึงเป็นหน้าที่ของทุกภาคส่วนท่ีจะต้องให้ความร่วมมือกัน
เพื่อหยุดยั้งการกระทําดังกล่าวที่อาจก่อผลเสียแก่ทุกภาคส่วนในสังคม ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และ
ส่ิงแวดล้อม กลา่ วคอื การทจุ ริตไดส้ ่งผลท้ังทางตรงและทางออ้ มตอ่ การทําธุรกิจ ทําให้ต้นทุนสูงข้ึน ระบบการ
แข่งขันลดลง เกิดความไม่ไว้วางใจและความขัดแย้งระหว่างองค์กรทําให้ภาคธุรกิจสูญเสียประโยชน์ในท่ีสุด
และในบางครัง้ การทุจริตยังทําให้ประชาชนได้รับการบริการสาธารณูปโภคจากหน่วยงานรัฐท่ีไม่เท่าเทียมกัน
ด้วย ทําให้เกิดการแตกแยกในสังคม ขาดการทําประโยชน์เพ่ือส่วนรวม มุ่งแต่ประโยชน์ส่วนตน ทําให้
ประชาชนบางสว่ นที่ทาํ เพื่อสังคมเมอ่ื เห็นผทู้ ีก่ ระทําการทจุ รติ หรอื มกี ารจ่ายสินบนแก่เจ้าหน้าที่กลับได้รับการ
บริการที่ดีและรวดเร็วมากขึ้น ก็หันมาทําตามกันกลายเป็นธรรมเนียมที่ต้องถือปฏิบัติ ซึ่งเป็นส่ิงที่ไม่ถูกต้อง
ทําให้ปัญหาการทุจริตขยายเป็นวงกว้างอย่างรวดเร็ว สังคมเสื่อมโทรม และส่งผลกระทบต่อการพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 15

“เราจะแก้ไขปัญหาปญั หาการทุจรติ อย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ความยั่งยนื ได้อยา่ งไร”
การแก้ไขปัญหาต้องดําเนินการหลายปัจจัยด้วยกัน เช่น การปรับปรุงข้อกฎหมายที่มีช่องโหว่ให้
เจ้าหน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน การบังคับใช้กฎหมายท่ียังไม่เข้มงวดเท่าท่ีควร ระบบการบริหาร
ราชการ การลดการใช้ดุลยพนิ ิจของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ การปรับเปลี่ยนและปลูกจิตสํานึกให้แก่คน
ทุกช่วงวัยเพื่อสร้างภูมิต้านทาน การสร้างจิตสํานึกให้ข้าราชการเห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน การ
นําเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบตั ิงานเพือ่ ลดการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าท่ี เช่น ระบบจัดซ้ือจัดจ้าง ระบบบัตร
ควิ ระบบการแจ้งเบาะแสผ่านช่องทางต่างๆ ทั้งน้ีปัจจัยสําคัญประการหนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหาการทุจริตได้
อย่างยั่งยนื คอื การมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในการต่อต้านการทุจริต โดยเฉพาะบทบาทของภาคประชาชน
ซึ่งถือเป็นกลไกสําคัญในการร่วมตรวจสอบ ร่วมเปิดเผยข้อเท็จจริงผ่านช่องทางต่างๆ ถ่วงดุลอํานาจรัฐและ
รักษาผลประโยชน์ส่วนรวมของคนในสังคม
สุดท้ายน้ี พวกเราทุกคนในฐานะประชาชนคนไทยที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการทุจริต ไม่ว่าจะ
เป็นการได้รบั บริการสาธารณะทดี่ อ้ ยคุณภาพจากงบประมาณแผ่นดินที่ถูกยักยอกไป โดยผู้มีอํานาจ หรือการ
ถูกเรียกรับสินบนจากการใหบ้ รกิ ารในภาครัฐ ซึ่งไม่เพียงแต่จะส่งผลกระทบแค่ในระดับประเทศเท่านั้น แต่ยัง
ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของประเทศไทยท่ียังมีการทุจริตในระดับรุนแรงต่อสายตานานาชาติอีกด้วย พวกเราทุก
คนควรตระหนักถึงผลกระทบของการทุจรติ การมสี ทิ ธิในการรบั รขู้ ้อมูลขา่ วสารและสิทธิในการตรวจสอบการ
ดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ท่สี ําคญั ทสี่ ดุ คอื การทจุ รติ เกดิ ขน้ึ ได้ทกุ พื้นท่ีในประเทศ หน่วยงานภาครัฐท่ี
มีอํานาจหน้าที่ในการต่อต้านการทุจริตจึงไม่สามารถที่จะดําเนินการต่อต้านการทุจริตได้เพียงลําพัง ดังน้ัน
พวกเราทุกคนถือเป็นพลงั สาํ คัญในการเปน็ ผเู้ ฝูาระวงั และผ้แู จง้ เบาะแสการทุจริต หากพบเห็นการกระทําการ
ทุจรติ อย่ารอชา้ ค่ะ กดโทรศัพท์มาที่ หมายเลข 1205 สายด่วนแจ้งเบาะแสการทุจริตของสํานักงาน ป.ป.ช.
มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งเพ่ือทําใหป้ ระเทศไทยของเราเป็น “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทงั้ ชาติตา้ นทุจรติ ”

สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 16

การบรรยายเร่อื ง การบริหารงบประมาณ

โดย สานกั งานคลังจงั หวดั นครราชสมี า

สรุปสาระสาคัญ

บรรยายเรอ่ื ง การจดั ซือ้ จดั จ้าง โดย นางสาวพิมลรตั น์ พรหมพะเนาว์ นักวิชาการคลังปฏบิ ัตกิ าร
พระราชบญั ญัติการจักซ้ือจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั พ.ศ.2560 ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ย

การจดั ซอ้ื จัดจ้างและการบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ.2560

ภาพรวมกระบวนการจดั ซ้ือจัดจา้ งและบริหารงานพสั ดุ

งบประมาณ -กาหนดความต้องการและจดั ทารายละเอยี ด
- ออกแบบรายการงานกอ่ สร้าง

จัดทาและประกาศ กาหนด/ทบทวนคณุ ลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุ (SPEC.)
เผยแพร่แผนฯ หรือแบบรูปรายการงานกอ่ สร้าง

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐ 17

-ก่อสร้ างงาน กาหนดราคากลาง
-ไมใ่ ช่งานกอ่ สร้าง
เตรียมการและจดั ทาเอกสารจดั ซือ้ จัดจา้ ง
ประกาศเชิญชวนทั่วไป
คดั เลอื ก เฉพาะเจาะจง

จดั ซอื้ จัดจ้าง เบกิ จา่ ยเงิน

-ซือ้ จ้าง ควบคุมพสั ดุ
-จ้างที่ปรึกษา จาหน่ายพสั ดุ
-จ้างออกแบบหรือควบคมุ งานกอ่ สร้าง
- เชา่
-แลกเปลย่ี น

การทิ้งงาน (ม.109)
1. เปน็ ผทู้ ี่ได้รับการคัดเลือกแล้วไม่ยอมไปทาํ สญั ญาหรือข้อตกลงเปน็ หนังสือหน่วยงานของรัฐ

ภายในเวลาท่ีกาํ หนด
2. คู่สญั ญาของหนว่ ยงานของรัฐหรอื ผ้รู ับจ้างช่วงท่ีหนว่ ยงานของรัฐอนุญาตให้รบั ช่วงงาน

ได้ ไม่ปฏิบัตติ ามสัญญาหรือข้อตกลงเปน็ หนังสือ
3. เมือ่ ปรากฏว่าผู้ย่นื ขอ้ เสนอหรอื คูส่ ญั ญาของหนว่ ยงานของรัฐกระทําการอันมลี ักษณะ

เป็นการขดั ขวาวการแข่งขันราคาอย่างเปน็ ธรรม หรอื กระทําการโดยไมส่ ุจริต
4. เมื่อปรากกฎวา่ ผลการปฏิบัติตามสัญญาของที่ปรกึ ษา หรือผใู้ หบ้ รกิ ารออกแบบฯมี

ข้อบกพร่อง ผดิ พลาด หรือก่อใหเ้ กิดความเสียหายแกห่ น่วยงานของรัฐอย่างร้ายแรง
5. ผใู้ หบ้ ริการงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสรา้ งมสี ่วนได้เสียกบั ผู้ประกอบการงาน

กอ่ สร้าง 6. การกระทําอน่ื ที่กาํ หนดในกฎกระทรวง

กระบวนการพิจารณาอทุ ธรณ์

สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สูย่ คุ ๔.๐ 18

ผู้อุทธรณ์
ผทู้ ีไ่ ม่ไดถ้ ูกประกาศผลเป็นผชู้ นะ ใหย้ นื่ อุทธรณ์ ภายใน 7 วันทําการ นับแต่วันประกาศผล ในระบบ
เครือข่ายสารสนเทศของกรมบญั ชกี ลาง (ม.117)
หน่วยงานของรัฐ
พจิ ารณาและวินิจฉยั ใหแ้ ลว้ เสร็จภายใน 7 วนั ทาํ การ นับแตว่ ันท่ีไดร้ บั อุทธรณ์
-กรณเี หน็ ดว้ ย

ดาํ เนนิ การตามความเหน็ นั้นภายในกาํ หนดเวลา
- กรณีไมเ่ หน็ ด้วย

รายงานไปยังคณะกรรมการพิจารณาอทุ ธรณ์ ภายใน 3 วนั ทาํ การ (ม.118)
คกก.พิจารณาอุทธรณ์
วินิจฉยั ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน 30 วัน(ไมเ่ สรจ็ ขยายได้) 2 คร้งั ๆ ละไม่เกิน 15 วัน

-อทุ ธรณ์ฟังขนึ้ และมเี หตุผล อย่างมนี ยั สําคัญ ใหด้ ําเนนิ การใหม/่ เรม่ิ จากข้นั ตอนตามท่ี
เหน็ สมควร -อทุ ธรณฟ์ ังไม่ขึน้ หรอื ไม่มผี ลอยา่ งมนี ้อยสาํ คัญ ให้ดาํ เนนิ การตอ่ ไป

-การวินจิ ฉยั เป็นทสี่ ุด
- มีสิทธฟิ ูองคดตี ่อศาล(ม.119)

ประเภทของพัสดุ - ครภุ ัณฑ์
สินคา้ -ส่งิ ปลกู สร้าง
-วัสดุ
-ท่ดี ิน

และทรัพย์สินอื่นใด รวมทั้งงานบริการที่รวมอยู่ในสินคา้ น้นั ด้วย แตม่ ลู ค่าของงานบริการตอ้ งไม่สูงกว่ามูลค่า
ของสินค้านนั้

งานจา้ งทปี่ รึกษา
- งานจ้างบรกิ ารจากบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล
-เพอื่ เปน็ ผู้ปรกึ ษาหรือแนะนา แก่หน่วยงานของรัฐในด้านวิศวกรรม สถาปตั ยกรรม ผังเมือง

กฎหมาย เศรษฐศาสตร์ การเงิน การคลัง ส่ิงแวดล้อม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สาธารณสุข ศิลปวฒั นธรรม
การศึกษาวิจยั หรือดา้ นอ่ืนท่ีอย่ใู นภารกจิ

งานจ้างออกแบบ หรือควบคุมงาน กอ่ สร้าง
- งานจ้างบริการจากบุคคลธรรมดา หรอื นิติบุคคล
- เพอื่ ออกแบบหรอื ควบคุมงานกอ่ สร้าง

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 19

การประกาศผลผชู้ นะ& การลงนามในสญั ญา
มาตรา66 ใหป้ ระกาศผลผู้ชนะการจดั ซื้อจดั จา้ งหรือผู้ได้รับการคัดเลือกและเหตุผลสนบั สนนุ ใน

ระบบของกรมบญั ชกี ลางและของหนว่ ยงานของรัฐ และให้ปิดประกาศโดยเปดิ เผย ณ สถานท่ปี ิดประกาศของ
หน่วยงานของรัฐนัน้

การลงนามในสญั ญาจัดซื้อจัดจา้ งจะกระทําไดต้ ่อเม่ือลว้ งพ้นระยะเวลาอุทธรณต์ ามมาตรา 117
หรือในกรณที ม่ี ีการอุทธรณ์ เมื่อหน่วยงานของรัฐไดร้ ับแจง้ จากคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณใ์ หท้ าํ การ
จดั ซื้อจัดจา้ งต่อไปได้ เวน้ แต่

1. การจดั ซ้ือจดั จ้างท่ีมคี วามจาํ เป็นเร่งดว่ นตามมาตรา 569(1) (ค)
2. จดั ซือ้ จัดจ้างโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจง
3. การจดั ซ้ือจดั จา้ งที่มวี งเงนิ เล็กนอ้ ยท่ีกําหนดในกฎกระทรวงทีอ่ อกตามมาตรา 96 วรรค
สอง(ไม่เกิน100,00 บาท)

4. มผี ูย้ น่ื ข้อเสนอและผา่ นการพิจารณา รายเดียว (หนังสือคณะกรรมการวนิ ิจฉัยฯ
ด่วนที่สุด ที่กค 0405.2/ว 453 ลว.28 พย.60)

แบบสัญญาท่ีคณะกรรมการนโยบายกาหนด
1. สญั ญาจ้างก่อสรา้ ง
2. สัญญาซ้อื ขาย
3. สัญญาจะซื้อจะขายราคาคงท่ีไมจ่ ํากัดปรมิ าณ
4. สัญญาซือ้ ขายและอนญุ าตใหใ้ ชส้ ทิ ธใิ นโปรมแกรมคอมพิวเตอร์
5. สัญญาเช่าคอมพวิ เตอร์
6. สญั ญาจา้ งบริการบํารงุ รกั ษาและซ่อมแซมแก้ไขคอมพิวเตอร์
7. สัญญาจ้างทําความสะอาดอาคาร
8. สญั ญาจา้ งให้บริการรกั ษาความปลอดภยั
9. สญั ญาแลกเปลย่ี น
10. สญั ญาเชา่ รถยนต์
11. สญั ญาเช่าเคร่ืองถา่ ยเอกสาร
12. สญั ญาซ้อื ขายคอมพิวเตอร์
13. สัญญาจ้างออกแบบและควบคมุ งานก่อสรา้ ง
14. สญั ญาจา้ งผู้เช่ยี วชาญรายบุคคลหรอื จา้ งบรษิ ทั ทป่ี รกึ ษา

วิธกี ารจัดซ้อื จดั จา้ ง วิธปี ระกาศเชญิ ชวนท่ัวไป ข้อ (29)
วิธีตลาดเล็กทรอนิกส์ (e-market)
รายละเอียดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของพัสดุ ท่ีไม่ซับซอ้ น เป็นสินค้าหรอื งานบริการที่มีมาตรฐานซึง่

กาํ หนดไวใ้ นระบบ ข้อมูลสนิ ค้า (e -catalog)

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ ส่ยู คุ ๔.๐ 20

1. เสนอราคาโดยใบเสนอราคา (เกิน 500,000 –5ลา้ นบาท)
2. ประมูลอิเล็กทรอนกิ ส์ (เกิน 5 ลา้ นบาท)
วธิ ีประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-bidding)
สนิ ค้าหรอื บริการที่ไม่ได้กําหนด รายละเอียดคุณลกั ษณะเฉพาะไว้ใน ระบบ e-catalog ซง่ึ มี

วงเงินเกิน500,000บาท
สอบราคา
การซื้อหรือจ้าง ซึง่ มีวงเงิน เกนิ 500,000บาท แต่ไมเ่ กิน 5,000,000บาท * เปน็ กรณที ี่

มีข้อจํากัดในการใช้ สญั ญาณอินเตอรเ์ น็ต ทํา ใหไ้ ม่สามารถ ดา เนนิ การผ่านระบบด้วย วิธeี -market หรือ
วิธี e –biddingได้

วิธกี ารจัดซอื้ จัดจ้าง
(วิธีคดั เลอื ก ม.56(1))
ก.ใช้วธิ ีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปแลว้ ไม่มีผู้ยนื่ ข้อเสนอ หรือขอ้ เสนอไม่ไดร้ ับการคัดเลือก
ข.พสั ดุที่มีคณุ ลักษณะเป็นพิเศษหรอื ซับซอ้ น หรือตอ้ งผลติ กอ่ สรา้ ง หรใื หบ้ ริการโดยผปู้ ระกอบการ

ทีม่ ฝี ีมือโดยเฉพาะ หรอื มีความชาํ นาญเป็นพเิ ศษ หรอื มที ักษะสงู และผู้ประกอบการมีจาํ นวนจาํ กัด
ค. มีความจาํ เป็นเร่งดว่ น อันเนอ่ื งมาจากเกิดเหตกุ ารณ์ท่ีไม่อาจคาดหมายได้
ง. ลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจํากดั ทางเทคนคิ ทีจ่ ําเปน็ ตอ้ งระบยุ ห่ี อ้ เปน็ การเฉพาะ
จ. ตอ้ งซอื้ โดยตรงจากต่างประเทศหรือดาํ เนินการโดยผ่านองค์การระหวา่ งประเทศ
ฉ. ใช้ในราชการลับ หรอื เปน็ งานทต่ี อ้ งปกปดิ เปน็ ความลบั ของทางราชการ หรอื เกยี่ วกับ

ความมั่นคงของประเทศ
ช. งานจ้างซอ่ มพสั ดุทีจ่ าํ เปน็ ถอดตรวจใหท้ ราบความชํารุดเสยี หายเสยี กอ่ น จังจะประมาณ

คา่ ซ่อมได้ ซ. กรณีอนื่ ที่กําหนดในกฎกระทรวง(พสั ดุทร่ี ัฐต้องการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ )

อานาจในการส่งั ซือ้ หรือส่ังจ้าง (ข้อ 84-86)

หวั หน้าหน่วยงานของรฐั ผมู้ อี านาจเหนือขน้ึ ไปหนง่ึ ชั้น

วธิ ีประกาศเชิญชวนทว่ั ไป ไม่เกิน 200,000,000 บาท เกิน 200,000,000 บาท

วธิ ีคดั เลือก ไมเ่ กิน 100,000,000 บาท เกนิ 100,000,000 บาท

วิธีเฉพาะ ไมเ่ กนิ 50,000,000 บาท เกนิ 50,000,000 บาท

ข้อ 79 การซื้อจา้ งตามมาตรา 56(2) (ข) (วงเงิน 50,000 บาท) ใหห้ ัวหนา้ เจา้ หนา้ ท่ีซ้อื จ้างได้ภายในวงเงิน
ที่ไดร้ ับความเห็นชอบ

สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สูย่ ุค ๔.๐ 21

การจัดทารา่ งขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุหรอื แบบรูปรายการงาน
ก่อสร้าง (ขอ้ 21)

- ในการซ้ือหรือจา้ งทีม่ ิใชก่ ารจา้ งก่อสรา้ งใหห้ ัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐแต่งต้ังคณะกรรมการขึ้นมา
คณะหน่ึง หรอื มอบหมายให้ เจ้าหนา้ ทีห่ รือบคุ คลใดบุคคลหนึง่ จัดทําร่างขอบเขตของงานหรอื รายละเอยี ดคุณ
ลกั ษณะเฉพาะของพัสดุทจ่ี ะซื้อหรอื จา้ งรวมทั่ง กาํ หนดหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ (เพ่ือไป
กําหนดในรายงานขอซอื้ ขอจ้างตามข้อ 22(2)และ(7))

- ในการจา้ งก่อสร้างให้หัวหน้าหนว่ ยงานของรฐั แต่งต้ังคณะกรรมการขึ้นมาคณะหนึ่งหรือมอบหมาย
ใหเ้ จ้าหน้าทีห่ รือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง จัดทําแบบรปู รายการงานกอ่ สรา้ ง หรือจะดําเนนิ การจ้างตามความใน
หมวด 4งานจ้างออกแบบหรือควบคมุ งานก่อสร้างก็ได้

- องค์ประกอบ ระยะเวลาการพิจารณา และการประชมุ ของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งและวรรค
สอง ใหเ้ ปน็ ไปตามท่หี ัวหน้า หนว่ ยงานของรัฐกําหนดตามความจาํ เป็นและเหมาะสม

องค์ประกอบของคณะกรรมการ (ข้อ 26)
- ประธาน 1 คน
- กรรมการอ่ืนอย่างน้อย 2 คน
ยกเว้น งานจ้างท่ปี รกึ ษา กรรมการ อยา่ งน้อย 4คน
แต่งต้ังจากข้าราชการ ลกู จ้างประจํา พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัยพนกั งานของรฐั

พนักงานหน่วยงานของรฐั หรอื ทีเ่ รยี กชื่ออยา่ งอนื่ โดยคํานึงถึงลักษณะหน้าทแี่ ละความรับผิดชอบของผูท้ ่ี
ได้รับแตง่ ตั้งเป็น สาํ คัญ ในกรณีจาํ เปน็ หรือเพือ่ ประโยชน์ของหน่วยงานของรฐั จะแต่งต้ัง บุคคลอ่นื รว่ มเป็น
กรรมการด้วยก็ได้ แตจ่ าํ นวนกรรมการที่เป็น บคุ คลอ่ืนจะต้องไม่มากกวา่ จํานวนกรรมการตามวรรคหน่งึ

การประชุมของคณะกรรมการ (ขอ้ 27)
องค์ประชมุ
ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่าก่ึงหนง่ึ และประธานจะต้องอยู่ดว้ ยทกุ คร้ัง
มตกิ รรมการ
ถอื เสยี งข้างมาก –ถ้าเสยี งเท่ากนั ใหป้ ระธานออกเสียง เพ่ิมอีก 1เสียงยกเวน้
-คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ -ตอ้ งใช้มติเอกฉันท์- กรรมการของคณะใดไม่เห็นดว้ ยกับมตขิ อง

คณะกรรมการ ใหท้ ําบันทึกความเหน็ แย้งไวด้ ว้ ย
ยกเว้น
คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ –ต้องใชม้ ตเิ อกฉนั ท์

วธิ ีการจัดซอื้ จัดจ้าง
วิธเี ฉพาะเจาะจง (ม.56(2))
ก. ใช้ทั้งวิธีประกาศเชญิ ชวนท่ัวไปและวิธีคดั เลือก หรอื ใช้วิธคี ดั เลอื กแลว้ แตไ่ มม่ ีผู้ยน่ื ข้อเสนอ หรือ

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 22

ขอ้ เสนอไม่ได้รบั การคดั เลือก
ข. การจัดซื้อจดั จา้ งพสั ดุท่ีการผลติ จําหน่าย หรือใหบ้ ริการทัว่ ไป และมวี งเงนิ ในการจัดซื้อจดั จ้าง

ครงั้ หน่งึ ไมเ่ กนิ วงเงินตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง
ค. มีผปู้ ระกอบการทีม่ คี ุณสมบัตโิ ดยตรงเพียงรายเดียว หรือผปู้ ระกอบการซ่ึงเปน็ ตวั แทนจําหนา่ ย

หรือ ตวั แทนผใู้ หบ้ ริการโดยชอบดว้ ยกฎหมายเพยี งรายเดียวในประเทศ และไม่มีพัสดุอ่นื ทีจ่ ะใชท้ ดแทนได้
ง. มคี วามจาํ เป็นตอ้ งใช้พัสดุโดยฉุกเฉินเนื่องจากอบุ ัติภัยหรือธรรมชาตพิ บิ ตั ภิ ัยและการจัดซ้อื จดั จา้ ง

โดย วิธปี ระกาศเชิญชวนทัว่ ไปหรือวิธคี ัดเลือกอาจกอ่ ให้เกิดความล่าช้าและอาจทาํ ใหเ้ กิดความเสียหาย
ร้ายแรง จ. เป็นพสั ดุทเี่ ก่ยี วพันกบั พสั ดุท่ีได้จัดซื้อจดั จา้ งไว้ก่อนแลว้ และมีความจําเปน็ ต้องจัดซ้ือจัดจา้ ง
เพิ่มเติม โดยมลู คา่ ของพสั ดุท่ีจดั ซือ้ จัดจา้ งเพิ่มเติมจะต้องไม่สูงกว่าพสั ดุท่ีไดจ้ ัดซื้อจัดจา้ งไว้กอ่ นแลว้

ฉ. เป็นพสั ดุทจ่ี ะขายทอดตลาด โดยหนว่ ยงานของรัฐ องค์การระหว่างประเทศหรอื หนว่ ยงานของ
ตา่ งประเทศ

ช. ที่ดนิ หรอื สง่ิ ปลูกสร้างที่จาํ เป็นต้องซื้อเฉพาะแห่ง
ซ. กรณอี ่ืนที่กําหนดในกฎกระทรวง (พสั ดุทร่ี ฐั ตอ้ งการส่งเสริมสนบั สนุน)

คณะกรรมการซอ้ื หรอื จา้ ง (ข้อ 25)
- คณะกรรมการ ซื้อหรือจ้าง โดยวิธเี ฉพาะเจาะจง (ยกเวน้ ม.56(2)(ข)
- คณะกรรมการ ตรวจรับพัสดุ ในงานซอ้ื หรือจ้าง
- คณะกรรมการ พิจารณาผลการประกวดราคา อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-bidding)
- คณะกรรมการ พิจารณาผล การสอบราคา
- คณะกรรมการ ซื้อหรือจ้าง โดยวิธคี ัดเลือก
1. ให้คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณาต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐภายในเวลาท่ี

กาํ หนด 2.**ห้าม**กรรมการe-bidding/ พจิ ารณาผลการสอบราคา/ ซ้ือหรอื จ้างโดยวิธีคัดเลือก
เปน็ กรรมการตรวจรบั พัสดุ

การกาหนดคณุ ลักษณะเฉพาะของพัสดุ (ม.9)
ห้าม กําหนดใกลเ้ คียงยหี่ ้อใด ยหี่ ้อหนึง่ หรอื ของผขู้ ายรายใด รายหนึ่งโดยเฉพาะ
เวน้ แต่ มยี ห่ี อ้ เดยี ว หรอื ต้องใชอ้ ะไหล่ของ ย่หี ้อใด ใหร้ ะบุย่ีห้อนั้นได้

เทคนคิ คุณภาพ

วตั ถุประสงค์

สงค์
Specification

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ คุ ๔.๐ 23

รายละเอียดของรายงานขอซอื้ /จ้าง (ข้อ 22)
(1) เหตผุ ลความจําเป็นที่ต้องซื้อหรือจ้าง
(2) ขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุ หรอื แบบรูปรายการงานกอ่ สร้าง ที่จะซ้ือ
หรอื จา้ ง แลว้ แตก่ รณี
(3) ราคากลางของพัสดุทจี่ ะซอื้ หรืองานทจี่ ะจ้าง (ตามคา นยิ ามราคากลางทก่ี าํ หนดในพรบ.)
(4) วงเงนิ ท่ีจะซ้ือหรอื จ้าง โดยให้ระบวุ งเงินงบประมาณ ท่จี ะซื้อหรือจ้างในคร้ังนั้น
(5) กาํ หนดเวลาทีต่ ้องการใชพ้ ัสดนุ น้ั หรือให้งานน้ันแลว้ เสรจ็
(6) วิธจี ะซอ้ื / จ้าง และเหตุผลทตี่ ้องซ้ือ/จ้างโดยวิธีนั้น
(7) หลักเกณฑก์ ารพิจารณาคดั เลอื กขอ้ เสนอ (เกณฑ์ราคา / เกณฑค์ ุณภาพประกอบราคา)
(8) ขอ้ เสนออน่ื ๆ เชน่ การขออนุมตั แิ ต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ ที่จาํ เป็นในการซอ้ื หรือจา้ งการ ออกเอกสาร
ซอื้ หรือจ้างและประกาศเผยแพร่

การจัดทาขอ้ ตกลงเปน็ หนงั สือ (สัญญาลดรปู )
มาตรา 96 หนว่ ยงานรัฐ อาจทา ข้อตกลงเป็น หนังสอื โดยไมท่ า ตาม แบบสญั ญาท่ี คณะกรรมการนโยบาย
กําหนดก็ได้ (เชน่ ใบสั่งซื้อ/ จ้าง หรอื บันทึกข้อตกลง) ในกรณีดงั ต่อไปน้ี
1.การจดั ซอ้ื จัดจา้ งโดยวิธคี ัดเลอื กตามมาตรา 56 (1) (ค) (จําเป็นเรง่ ด่วน) หรอื การจัดซื้อจดั จา้ ง โดยวธิ ี
เฉพาะเจาะจง ตามมาตรา 56(2) (ข) (500,000บาท) (ง) หรือ (ฉ) หรือการจ้างท่ีปรึกษา โดยวิธี
เฉพาะเจาะจงตามมาตรา 70(3) (ข) (500,000บาท)

2. การจดั ซอื้ จัดจา้ งจากหนว่ ยงาน
รฐั (ข้อ 169ในกรณีทหี่ นว่ ยงานของรัฐเป็นผยู้ ่นื ขอ้ เสนอหรอื เป็น คู่สญั ญาไมต่ ้องวางหลักประกนั )

3. กรณที ีค่ สู่ ัญญาสามารถสง่ มอบพัสดไุ ด้ครบถว้ นภายใน 5วันทา การ นบั แต่วันถัดจากวันทา ขอ้ ตกลง
4. การเช่าทผี่ เู้ ช่าไม่ต้องเสียเงินอน่ื ใดนอกจากค่าเช่า
5. กรณอี ื่นตามทค่ี ณะกรรมการนโยบายประกาศในราชกิจจานุเบกษา

การจัดทาบนั ทึกรายงานผลการพิจารณา
เมื่อสิ้นสดุ กระบวนการจดั ซ้ือจดั จา้ งในแต่ละโครงการ ให้หนว่ ยงานของรัฐ จดั ให้มีการบันทึกรายงานผลการ
พจิ ารณา รายละเอียดวิธีการและข้ันตอนการจดั ซื้อจัดจา้ ง พร้อมท้ังเอกสารหลักฐานประกอบ โดยตอ้ งมี
รายการดังต่อไปน้ี

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ ส่ยู ุค ๔.๐ 24

รายงานขอซอ้ื เอกสารเกีย่ วกบั การรับฟงั ความ คดิ เหน็ รา่ ง ประกาศและเอกสารเชิญ ขอ้ เสนอของผยู้ ่ืน
หรือ ขอจา้ ง ขอบเขตของงานหรือ รายละเอียดคุณ ชวน หรือหนังสอื เชิญชวน ข้อเสนอทกุ ราย
ลักษณะเฉพาะของพัสดุทจี่ ะซอ้ื หรอื จา้ งและ และเอกสารอื่นทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
ผลการพิจารณาในเรือ่ งนัน้ (ถา้ ม)ี

บันทึกรายงาน สัญญาหรอื ข้อตกลง เปน็ ประกาศผลการพจิ ารณา บันทึกรายงานผล
การตรวจรบั พัสดุ หนังสอื รวมทงั้ การแกไ้ ข คัดเลือกผู้ชนะการจดั ซอ้ื การ พจิ ารณา
สญั ญาหรอื ข้อตกลง จัดจา้ งหรือผไู้ ดร้ บั การ คดั เลอื กขอ้ เสนอ
ราคากลาง เป็นหนังสอื (ถ้าม)ี
คัดเลือก

ราคาเพ่ือใช้เปน็ ฐานสาํ หรับเปรียบเทยี บราคาทีผ่ ยู้ นื่ ขอ้ เสนอไดย้ ่นื ข้อเสนอไวซ้ งึ่ สามารถจัดซอื้ จดั จา้ งไดจ้ รงิ
ตามลําดับ ดังต่อไปน้ี

1. ราคาที่ได้มาจากการคาํ นวณตามหลักเกณฑท์ ค่ี ณะกรรมการราคากลางกําหนด
2. ฐานข้อมลู ราคาอ้างองิ ของกรมบัญชกี ลาง
3. ราคามาตรฐานของสาํ นกั งบประมาณหรอื หน่วยงานอื่น
4. สืบราคาจากทอ้ งตลาด
5. ราคาทีเ่ คยซอ้ื หรือจ้างครั้งหลังสุดภายใน 2 ปีงบประมาณ
6. ราคาตามหลักเกณฑ์อืน่ ของหน่วยงานของรฐั
กรณที ม่ี รี าคาตาม (1) ให้ใช้ราคาตาม (1) กอ่ น / กรณีไมม่ ีราคาตาม (1) แต่มีราคาตาม (2)
หรอื (3) ให้ใช้ราคาตาม (2) หรือ (3) / กรณีท่ไี ม่มรี าคาตาม (1) (2) และ (3) ใหใ้ ช้ราคาตาม (4) (5) หรือ

(6) ➢ จะใช้ราคาใดให้คาํ นงึ ถงึ ประโยชน์ของหนว่ ยงานของรัฐเป็นสําคัญ

ขั้นตอนการซื้อหรอื จา้ ง
แผนการจัดซอื้ จดั จา้ ง (ขอ้ 11)

ประกาศเผยแพร่แผนฯ
แต่งต้งั ผู้กาหนดคุณลักษณะ(ข้อ 21)
ทารายงานขอซอ้ื /จา้ ง(ข้อ 22)
ดาเนนิ การจดั หา

วิธจี ัดซื้อจัดจ้างทว่ั ไป 3 วิธ(ี วธิ ปี ระกาศเชญิ ชวน วิธีคดั เลือก วธิ ีเฉพาะเจาะจง)

สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ ุค ๔.๐ 25

ขออนุมตั ิสั่งซ้ือ/จา้ ง
ผูม้ อี านาจอนุมัตสิ ัง่ ซ้ือหรือสั่งจา้ ง
(1) หวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐ
(2) ผู้มีอํานาจเหนือขึน้ ไปหน่ึงชนั้

การทาสัญญา
หัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐ

การตรวจรบั พัสดุ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

สรปุ กฎหมายทเี่ กีย่ วข้อง

-พระราชบัญญตั ิการจัดซื้อจัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560
-กฎกระทรวง
- ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการจดั ซอ้ื จดั จ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
- หนงั สือเวียน
-ประกาศคณะกรรมการชุดตา่ ง ๆ
-กฎหมายอื่นที่เก่ียวข้อง

-มติคณะรฐั มนตรี
-ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
-พระราชบัญญตั ิควบคมุ อาคาร
-ฯลฯ

ประเภทของพัสดุ

สนิ ค้า

งานบรกิ าร งานจา้ ง
ก่อสรา้ ง
พัสดุ
งานจา้ ง
งานจา้ งท่ี ออกแบบหรอื
ปรกึ ษา ควบคมุ งาน

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 26

บรรยายเร่ือง ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยค่าใช้จา่ ยในการฝกึ อบรมการจดั งาน และการประชุม
ระหวา่ งประเทศ พ.ศ. 2549และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม

ระเบียบทม่ี ผี ลบังคับใช้

1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุม
ระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549

2. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุม
ระหว่างประเทศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552

3. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุม
ระหว่างประเทศ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555

หนังสือสงั่ การ/หนงั สือเวยี นทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

หนงั สอื สานกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี ด่วนที่สดุ
ท่ี นร 0506/ว24ลงวันที่ 6ก.พ. 2556
หนงั สอื กระทรวงการคลงั ด่วนทสี่ ุด
ท่ี กค 0406.4/ว5 ลงวันที่ 14 ม.ค. 2556

* การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงานและการประชุมระหว่างประเทศ
นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในระเบียบหรือกาหนดไว้แล้วไม่สามารถปฏิบัติได้ ให้
หวั หน้าส่วนราชการขอทาความตกลงกับกระทรวงการคลงั

นิยาม “ส่วนราชการ”

สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม
ส่วนราชการท่เี รยี กชอ่ื อยา่ งอน่ื ที่มฐี านะเปน็ หรือเทียบเท่า
กระทรวง ทบวง กรม
ส่วนราชการท่ีเรียกชือ่ อย่างอื่น ทไี่ ม่มฐี านะเปน็ กรม
แตม่ ีหัวหนา้ สว่ นราชการซ่ึงมฐี านะเปน็ อธบิ ดี

นิยาม

“ บุคลากรของรัฐ ” หมายถึง ข้าราชการทุกประเภท รวมทั้งพนักงาน ลูกจ้างของส่วนราชการ
รัฐวิสาหกิจ หรอื หนว่ ยงานอนื่ ของรฐั
“ เจ้าหน้าท่ี ” หมายถึง บุคลากรของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานตามระเบียบนี้และให้
หมายความรวมถึงบุคคลอนื่ ทไี่ ดร้ บั แต่งต้ังใหป้ ฏิบัติงานและเจา้ หนา้ ที่รักษาความปลอดภัย

นิยาม “การฝึกอบรม”

- การอบรม
- การประชุม การสัมมนา ทางวิชาการหรอื เชงิ ปฏบิ ัติการ

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐ 27

- การบรรยายพิเศษ
- การฝกึ ศกึ ษา การดงู าน การฝึกงาน

* โดยมีโครงการหรือหลักสูตร และช่วงเวลาจัดที่แน่นอน ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา
บคุ คลหรอื เพ่มิ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

* โดยไม่มกี ารรับปริญญาหรอื ประกาศนียบตั รวชิ าชพี

การฝึกอบรมแบ่งออกเป็น 3 ประเภท

“การฝึกอบรมประเภท ก” หมายความว่า การฝึกอบรมท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินก่ึงหนึ่งเป็น
บคุ ลากรของรฐั ซง่ึ เป็นข้าราชการตาํ แหน่งประเภท

ท่ัวไป : ทักษะพิเศษ
วิชาการ : เชย่ี วชาญ, ทรงคุณวฒุ ิ
อานวยการ สงู
บริหาร : ต้น, สงู
“การฝึกอบรมประเภท ข” หมายความว่า การฝึกอบรมท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินก่ึงหนึ่งเป็น
บุคลากรของรฐั ซง่ึ เป็นข้าราชการตําแหน่งประเภท
ท่ัวไป : ปฏบิ ตั งิ าน, ชํานาญงาน, อาวโุ ส
วิชาการ : ปฏิบัติการ, ชาํ นาญการ ชาํ นาญการพเิ ศษ
อานวยการ : ตน้
“การฝึกอบรมบุคคลภายนอก” หมายความว่า การฝึกอบรมท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งไม่ใช่
บุคลากรของรฐั

นยิ าม “การดงู าน”

“การเพิ่มพูนความรหู้ รอื ประสบการณด์ ้วยการสังเกตการณ์”
* โดยกําหนดไว้ในโครงการหรอื หลักสูตรการฝกึ อบรม หรือกาํ หนดไวใ้ นแผน
* โครงการหรือหลกั สูตรการฝึกอบรมเฉพาะการดงู านในประเทศซง่ึ หน่วยงานของรฐั จัดขึน้

ค่าใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรมมี 2 ส่วน

 ส่วนที่ 1 คา่ ใชจ้ ่ายของส่วนราชการท่ีจัดการฝกึ อบรม
 ส่วนท่ี 2 คา่ ใชจ้ ่ายของผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม
ส่วนที่ 1 ค่าใช้จา่ ยของส่วนราชการทจ่ี ัดการฝกึ อบรม (ข้อ 8วรรคหนง่ึ )
 โครงการ / หลกั สูตร การฝกึ อบรม ทสี่ ่วนราชการจดั หรือจัดรว่ มกับหน่วยงานอ่ืน
ตอ้ งไดร้ ับอนุมัตจิ ากหัวหน้าส่วนราชการ

บุคคลที่จะเบิกจา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรมตามระเบยี บน้ี

(1) ประธานในพิธีเปดิ หรือพธิ ีปิดการฝกึ อบรม แขกผมู้ เี กียรติ และผตู้ ิดตาม
(2) เจา้ หนา้ ที่
(3) วทิ ยากร
(4) ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม
(5) ผู้สังเกตการณ์
* บคุ คลอืน่ ที่มใิ ช่ 1 ใน 5 นี้ ไม่สามารถเบิกจา่ ยค่าใช้จา่ ยตามระเบียบน้ีได้

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐ 28

ค่าใชจ้ า่ ยของสว่ นราชการทจี่ ัดการฝกึ อบรม

คา่ ใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรมมี 2 ประเภท
1. คา่ ใชจ้ ่าย ท่เี ปน็ ดุลพนิ จิ หวั หนา้ ส่วนราชการ (เบกิ ไดเ้ ท่าทีจ่ ่ายจรงิ )
(1) คา่ ใชจ้ ่ายเกย่ี วกับการใชแ้ ละการตกแตง่ สถานทีฝ่ ึกอบรม
(2) ค่าใชจ้ า่ ยในพิธเี ปดิ ปดิ การฝกึ อบรม
(3) ค่าวสั ดุ เคร่ืองเขยี นและอปุ กรณ์
(4) คา่ ประกาศนยี บัตร
(5) คา่ ถ่ายเอกสาร ค่าพมิ พเ์ อกสารและสง่ิ พมิ พ์
(6) ค่าหนังสอื สาหรบั ผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรม
(7) คา่ ใช้จา่ ยในการติดตอ่ สอ่ื สาร
(8) ค่าเชา่ อปุ กรณ์ต่างๆ ในการฝึกอบรม
(9) คา่ อาหารว่างและเครื่องด่มื *

*ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม

เบิกจา่ ยโดยใชด้ ลุ พนิ จิ ได้เท่าท่ีจ่ายจริง ตามความจาเป็น เหมาะสม และประหยัด เพื่อประโยชน์
ของทางราชการ
มติ ค.ร.ม.จดั ทสี่ ถานท่รี าชการเบิกได้ไมเ่ กิน 35 บาท สถานท่เี อกชนไม่เกิน 50 บาท
(หนังสอื สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506/ว 24ลงวันที่ 6 กุมภาพนั ธ์ 2556)
ขอ้ (9)
* แม้ค่าใช้จ่ายรายการนี้จะสามารถเบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง ตามความจาเป็น แต่ขณะนี้
มาตรการประหยัดยังใช้บังคับอยู่ จึงต้องเป็นไปตามมาตรการประหยัด ถ้าจัดท่ีสถานที่ราชการ
เบิกได้ไม่เกิน 35 บาท สถานท่ีเอกชนไม่เกิน 50 บาท (หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ด่วนที่สุด ท่ี นร 0506/ว24 ลงวันที่ 6 กุมภาพนั ธ์ 2556)
* หากส่วนราชการผู้จัดการฝึกอบรมไม่สามารถปฏิบัติตามมาตรการประหยัดได้ ต้องขออนุมัติ
หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณเพ่ือขอเบิกจ่ายเกินกว่าท่ีกาหนดไว้ตามมาตรการ
ประหยัด
คา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรมมี 2 ประเภท

2. ค่าใช้จา่ ยตามหลกั เกณฑแ์ ละมีอตั รากําหนด
(10) ค่ากระเปา๋ หรอื สิ่งท่ีใช้บรรจเุ อกสารสาหรับผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม
(เบกิ จ่ายไดเ้ ท่าทจี่ ่ายจริงไม่เกนิ ใบละ 300 บาท)
(11) ค่าของสมนาคุณในการดูงาน (เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริงแห่งละไม่เกิน 1,500
บาท)
(12) ค่าสมนาคุณวทิ ยากร
(13) คา่ อาหาร
(14) คา่ เชา่ ทพ่ี ัก
(15) ค่ายานพาหนะ

(12) คา่ สมนาคณุ วิทยากร

หลักเกณฑแ์ ละอัตราการเบกิ จา่ ยคา่ สมนาคุณวิทยากร

สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 29

 บรรยายไม่เกิน 1คน

 อภิปราย/สัมมนาเป็นคณะไม่เกนิ 5คน

 แบง่ กล่มุ

-ฝึกภาคปฏบิ ตั ิ

-อภปิ ราย จ่ายได้ไมเ่ กนิ กลุ่มละ 22คน

-ทากิจกรรม

 วิทยากรเกนิ ท่ีกําหนดใหเ้ ฉลยี่ จ่าย

การนบั เวลาบรรยาย -ไมน่ ้อยกวา่ 50 นาที 1ช่วั

-ไมน่ ้อยกว่า 25 นาที แต่ไม่ถึง 50 นาที ครึ่งชม.

(ไม่ต้องหักเวลาพักรับประทานอาหารว่างออกจากเวลาบรรยาย)อัตราค่า

สมนาคุณวิทยากร

อัตราค่าสมนาคณุ วิทยากร* วิทยากรเป็นบุคลากรของรฐั

ประเภท ก ไมเ่ กินชวั่ โมงละ 800บาท

ประเภทขและบคุ คลภายนอกไมเ่ กินชวั่ โมงละ600บาท

* วิทยากรมใิ ชบ่ ุคลากรของรฐั

ประเภท ก ไม่เกนิ ชั่วโมงละ 1,600บาท

ประเภท ข และบคุ คลภายนอก ไมเ่ กนิ ช่ัวโมงละ 1,200บาท

* กรณีจาเป็นต้องใช้วิทยากรที่มีความรู้ความสามารถและ

ประสบการณเ์ ป็นพิเศษ

จะจ่ายสูงกว่านี้ได้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ

เจ้าของงบประมาณ

ตวั อยา่ ง

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 30

(13) ค่าอาหาร

หลกั เกณฑ์และอตั ราการเบกิ จา่ ยคา่ อาหารในการฝึกอบรม (บาท: วนั : คน)

สถานทรี่ าชการ สถานที่เอกชน หมายเหตุ

ครบมอื้ ไม่ครบมือ้ ครบมื้อ ไมค่ รบมือ้

ฝกึ อบรม ไมเ่ กนิ ไมเ่ กิน ไมเ่ กนิ 1 ไม่เกิน หนงั สือ
กระทรวงการคลัง
ประเภท ก 700 500 000 700
ที่ กค 0406.4/ว5
ไม่เกนิ ไม่เกิน ไมเ่ กิน ไมเ่ กิน ลว. 14 มค56

850 600 1,200 850

ฝกึ อบรม ไม่เกิน ไม่เกนิ ไมเ่ กิน 800 ไมเ่ กนิ

ประเภท ข 500 300 ไม่เกิน 950 600

ไม่เกนิ ไม่เกิน ไม่เกิน

600 400 700

ฝึกอบรม ไม่เกิน ไม่เกิน ไมเ่ กนิ 800 ไม่เกิน ระเบยี บอบรม ฉ 3

บุคคลภายนอก 500 300 600

(14) คา่ เช่าทพี่ ัก

หลักเกณฑก์ ารเบิกจา่ ยคา่ ที่พัก
1. การจดั ทพี่ กั ใหแ้ ก่ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม สาหรับการฝกึ อบรมประเภท ข

และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ให้พักรวมกันต้ังแต่ 2 คนขึ้นไปโดยให้พักห้องพักคู่ เว้นแต่ เป็น
กรณีทีไ่ มเ่ หมาะสมหรอื มีเหตุจาเป็นไม่อาจพักรวมกบั ผู้อืน่ ได้

2. การจัดที่พักให้แก่ผู้สังเกตการณ์หรือเจ้าหน้าที่ ตําแหน่งประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน
ระดับชํานาญงาน ระดบั อาวโุ ส ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ ระดับ
ชาํ นาญการพิเศษ และตําแหนง่ ประเภทอานวยการระดับต้น ให้พักรวมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้น ไปโดยให้
พกั ห้องพักคู่ เวน้ แต่ เปน็ กรณที ี่ ไม่เหมาะสมหรอื มีเหตจุ าเปน็ ไมอ่ าจพักรวมกับผู้อื่นได้

หลกั เกณฑ์การเบกิ จา่ ยค่าท่พี กั (ตอ่ )
3. ผู้สังเกตการณ์หรือเจ้าหน้าท่ี ตําแหน่งประเภทท่ัวไป ระดับทักษะพิเศษ ตําแหน่ง

ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ ระดับทรงคุณวุฒิ ตําแหน่งประเภทอํานวยการ ระดับสูง และ
ตําแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น ระดับสูง ให้พัก 2 คนต่อห้องก็ได้ หรือจะจัดให้พักห้องพักคน
เดยี วกไ็ ด้

สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ ส่ยู ุค ๔.๐ 31

4. การจัดท่ีพักให้แก่ประธานในพิธีเปิดหรือพิธีปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติ และ
ผตู้ ดิ ตาม หรอื วิทยากร ใหพ้ ักห้องพักคนเดียว หรือพักห้องพักคู่ก็ได้ และเบิกจ่ายค่าเช่าท่ีพักได้เท่าท่ี
จ่ายจรงิ

อัตราค่าเช่าท่ีพกั ในการฝึกอบรม หมายเหตุ
ประเภทการฝกึ อบรม คา่ เช่าห้องพักคนเดียว ค่าเช่าห้องพักคู่
หนังสือ
(บาท/วัน/คน) (บาท/วนั /คน) กระทรวงการคลัง ที่
กค0406.4/ว 5
ฝกึ อบรมประเภท ก ไมเ่ กิน 2,000 ไม่เกนิ 1,100
ลว. 14 มค56
ไม่เกนิ 2,400 ไม่เกนิ 1,300
ระเบยี บอบรม ฉ 3
ฝกึ อบรมประเภท ข ไมเ่ กิน 1,200 ไม่เกิน 750

ไมเ่ กิน 1,450 ไม่เกนิ 900

ฝึกอบรม ไมเ่ กิน 1,200 ไม่เกิน 750
บคุ คลภายนอก

(15) ค่า
ยานพาหนะ
หลกั เกณฑ์การเบกิ จ่ายคา่ ยานพาหนะ
1. กรณใี ช้ยานพาหนะของส่วนราชการผู้จดั /ยมื จากสว่ นราชการอน่ื /หน่วยงานอื่น
เบกิ ค่านา้ มนั เทา่ ทจ่ี า่ ยจรงิ
2. ใชย้ านพาหนะประจาทาง/เชา่ เหมายานพาหนะ ใหจ้ ดั ประเภทยานพาหนะ ดงั นี้
- การฝึกอบรมประเภท ก จดั ตามสทิ ธขิ ้าราชการ ประเภทบริหารระดบั สูง เวน้ แต่ กรณี
เดินทางโดยเคร่ืองบนิ ใชช้ ัน้ ธุรกิจ แตถ่ ้าเดนิ ทางชน้ั ธุรกจิ ไม่ได้ให้ใช้ชนั้ หน่ึง
- การฝึกอบรมประเภท ข จดั ตามสทิ ธขิ า้ ราชการประเภทท่ัวไประดับชานาญงาน
- การฝกึ อบรมบุคคลภายนอก จัดตามสทิ ธิข้าราชการ ประเภททวั่ ไประดับปฏิบัติงาน
** ทั้งน้ี ให้เบิกจ่ายค่ายานพาหนะไดเ้ ท่าที่จา่ ยจรงิ ตามความจาเป็น เหมาะสมและประหยัด
หลักเกณฑก์ ารเบิกจ่ายค่าพาหนะ (ต่อ)

3. กรณีเชา่ เหมายานพาหนะตอ้ งดาเนนิ การตามพระราชบัญญัติ
การจดั ซื้อจัดจ้างและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 ดว้ ย

4. กรณวี ทิ ยากรมีถน่ิ ทอี่ ยู่ในทอ้ งท่ีเดียวกับสถานที่จัดการฝึกอบรม
ส่วนราชการทจี่ ดั การฝึกอบรมจะเบกิ จ่ายเงนิ คา่ พาหนะรบั จ้าง

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 32

ไป - กลบั ให้แก่วิทยากรแทนการจดั รถรับส่งวทิ ยากรได้ โดยให้
ใช้แบบใบสําคัญรับเงินสาหรบั วทิ ยากร

กรณสี ว่ นราชการทีจ่ ดั การฝึกอบรมไม่จัดอาหาร / ทพ่ี กั / ยานพาหนะทงั้ หมดหรือจดั ใหบ้ างส่วน

กรณีสว่ นราชการผู้จดั ไมจ่ ดั อาหาร / ที่พัก / ยานพาหนะทั้งหมดหรือจัดให้บางส่วน ให้สว่ น
ราชการผจู้ ดั จ่ายคา่ ใชจ้ ่ายท้ังหมดหรือสว่ นที่ขาดตามหลกั เกณฑ์และวิธีการท่ีกาํ หนดไว้ในพระราช
กฤษฎกี าค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทาง ใหแ้ ก่

- ประธาน แขกผู้มีเกยี รติ และผู้ติดตาม
- วทิ ยากร
- เจา้ หนา้ ที่
- ผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมและผ้สู ังเกตการณ์ ทเ่ี ปน็ บุคลากรของรฐั ให้เบิกจากต้นสงั กัด ตาม
หลักเกณฑ์และวิธกี ารท่ีกาํ หนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ
ยกเว้น 1 . คา่ เชา่ ที่พัก ใหเ้ บิกจ่ายตามหลักเกณฑแ์ ละอตั ราตามระเบียบนี้ ขอ้ 16 (เบกิ จ่ายเทา่ ที่
จา่ ยจรงิ เท่านน้ั )
2. ค่าเบี้ยเลย้ี ง

กรณสี ว่ นราชการทจ่ี ัดการฝึกอบรมไมจ่ ัดอาหาร / ท่ีพัก / ยานพาหนะทั้งหมดหรอื จดั ใหบ้ างส่วน (ต่อ)

การคํานวณเบย้ี เลีย้ งเดินทาง ให้นบั เวลาต้ังแต่ออกจากท่ีอยู่/ที่ทางาน จนกลับ
ถึงท่ีอย/ู่ ทีท่ างาน
ให้นบั 24ชั่วโมงเป็น 1วัน ถ้าไม่ถงึ หรือเกนิ กวา่ 24 ช่ัวโมง และสว่ นที่ไม่ถงึ หรอื เกิน 24
ชวั่ โมงนั้นเกินกว่า 12 ชัว่ โมง ให้ถอื เปน็ 1 วัน แลว้ นาจานวนวัน ท้งั หมดคณู กับอัตราเบี้ย
เล้ียงเดนิ ทาง
กรณที ่ีมีการจดั อาหารให้บางม้อื ให้หักคา่ เบ้ยี เลย้ี งที่คํานวณไดม้ ื้อละ 1 ใน 3 ของ อัตรา
เบ้ียเลีย้ งเดินทางต่อวัน
กรณีจดั ฝกึ อบรมบุคคลภายนอก และส่วนราชการ
ไม่จดั อาหาร/ที่พกั /ยานพาหนะ ทง้ั หมดหรือจดั ให้บางสว่ น
 ใหจ้ า่ ยเงินใหแ้ กผ่ เู้ ขา้ ฝึกอบรมทมี่ ิใช่บคุ ลากรของรัฐ ดังน้ี
* คา่ อาหาร

- ไม่จดั อาหารท้ัง 3 มื้อจา่ ยไมเ่ กิน240บาท/วัน/คน
- จดั อาหารให้ 2 ม้ือจา่ ยไมเ่ กิน 80 บาท/วนั /คน
- จดั อาหารให้ 1 มือ้ จ่ายไมเ่ กิน160บาท/วัน/คน
* คา่ เช่าทพี่ ัก กรณีไมจ่ ดั ท่ีพักให้ เหมาจ่ายไม่เกิน 500บาท/วัน/คน
* ค่าพาหนะเดินทาง ให้เบิกจ่ายจริงตามสิทธขิ า้ ราชการประเภททว่ั ไป ระดับปฏบิ ัตงิ าน
(หา้ มเบิกคา่ เครื่องบนิ )
* การเบกิ จา่ ยค่าใช้จา่ ย ใหใ้ ช้แบบใบสําคัญรับเงินค่าใช้จ่ายในการฝกึ อบรมบุคคลภายนอก
เอกสารหมายเลข 2 ตามระเบยี บนี้ เป็นหลกั ฐานการจ่าย

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 33

ตัวอยา่ ง

ค่าเครอื่ งแต่งตวั ในการเดินทางไปฝกึ อบรมในต่างประเทศ
 เบกิ ได้เฉพาะผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมท่ีเปน็ บุคลากรของรฐั /เจ้าหนา้ ท่ี

การฝกึ อบรมบคุ คลภายนอกให้จัดไดเ้ ฉพาะการฝกึ อบรมในประเทศเทา่ นัน้
กรณีผู้จดั จา้ งจดั ฝึกอบรมไม่วา่ ทัง้ หมดหรอื บางสว่ น

 ให้ดาเนินการตามหลกั เกณฑ์ / อัตราค่าใช้จ่าย
ตามท่รี ะเบียบกาํ หนด

 วิธีการจดั จ้าง ตามพระราชบัญญตั ิการจดั ซื้อจดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.
2560

 การจา่ ยคา่ ใช้จา่ ย ให้ใช้ใบเสรจ็ รบั เงนิ ผ้รู ับจ้างเป็น
หลักฐานการจ่าย

 กรณีจา่ ยตรงใหผ้ ู้รบั จ้าง/ผู้มสี ทิ ธิ ใหใ้ ช้รายงานในระบบเป็นหลกั ฐานการจา่ ย

สว่ นท่ี 2 ค่าใชจ้ า่ ยของผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรม
ในการสง่ บุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมให้ส่วนราชการต้นสังกัดอนมุ ตั ิเฉพาะผปู้ ฏบิ ตั หิ น้าท่ี
เก่ียวข้อง หรือเปน็ ประโยชน์ต่อสว่ นราชการนนั้ ตามจานวนที่เหมาะสมคํานึงถงึ ความจา
เป็น และเหมาะสมในการปฏบิ ตั ิงาน

ค่าใช้จา่ ยของผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม

คา่ ลงทะเบียน เบิกเทา่ ทจ่ี า่ ยจริงตามท่ีส่วนราชการจดั การฝึกอบรม
เบี้ยเล้ยี ง คา่ ท่ีพัก ค่าพาหนะในการเดนิ ทางเข้ารบั การฝึกอบรม

- ถ้าคา่ ลงทะเบยี นรวมไว้หมดแล้วหรือผู้จดั ออกให้ทั้งหมดต้องงดเบิก

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 34

- ถ้าค่าลงทะเบียนไมร่ วมคา่ ใช้จ่ายดงั กลา่ ว หรือผจู้ ัดไม่จัดอาหาร ทพ่ี ัก ค่า
ยานพาหนะทั้งหมดหรือรบั ผิดชอบบางสว่ น ให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมเบิกคา่ ใช้จา่ ยท้ังหมด หรือเฉพาะ
ในส่วนที่ไมไ่ ดอ้ อกใหต้ ามพระราชกฤษฎกี าค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ ยกเวน้ ค่าเช่าทพี่ กั
เบกิ ตามระเบียบ
ค่าใช้จ่ายท่ีผู้จัดการฝกึ อบรมไม่จดั ใหแ้ กผ่ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรม

 คา่ ทพี่ ัก เบกิ ได้เทา่ ท่ีจ่ายจริงตามอัตราในข้อ 16
 ค่าเบ้ียเลีย้ ง ใหค้ าํ นวณตามหลกั เกณฑใ์ นระเบยี บฝึกอบรม
ยกเวน้
 คา่ ยานพาหนะ ให้เบิกไดต้ ามสทิ ธิของผ้เู ข้ารับการฝึกอบรม
แต่ละคนตามหลกั เกณฑ์และวิธีการในพระราชกฤษฎกี าค่าใช้จา่ ย
ในการเดนิ ทางไปราชการ
คา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร

กฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวขอ้ ง

 พระราชกฤษฎกี ารคา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2526และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเติม
 ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการเบกิ คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 และที่

แก้ไขเพิม่ เติม
 หนงั สือเวียนทเี่ กี่ยวข้อง

ลักษณะการเดินทาง
1. ไปราชการชว่ั คราว
2. ไปราชการประจา
3. กลบั ภมู ลิ าเนา

สิทธิไดร้ ับคา่ ใชจ้ ่ายเกดิ ขึ้นตง้ั แต่วันไดร้ บั อนมุ ตั เิ ดินทาง / วนั ท่อี อกจากราชการ

ผมู้ ีอานาจอนุมตั ิ : อนมุ ัติระยะเวลาเดนิ ทางล่วงหน้า/หลังเสร็จสน้ิ การปฏบิ ตั ิราชการ ตามความจาเป็น
ผ้ไู ด้รับอนุมตั ใิ หล้ ากจิ / พักผ่อน ต้องขออนุมัติ ระยะเวลาดงั กล่าวในการเดินทางด้วย

เดนิ ทางไปราชการชว่ั คราว

ปฏบิ ตั ริ าชการปกตินอกท่ตี ้ังสานกั งาน
สอบคดั เลือก รบั การคัดเลอื ก
ช่วยราชการ รกั ษาการในตาแหนง่ รักษาราชการแทน
ข้าราชการประจาตา่ งประเทศระหว่างอยใู่ นไทย
เดนิ ทางข้ามแดนชัว่ คราวตามข้อตกลงระหว่างประเทศ

สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 35

ค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางชั่วคราว

เบย้ี เลยี้ งเดินทาง
คา่ เช่าท่ีพัก
คา่ พาหนะ
คา่ ใช้จ่ายอืน่ ท่จี าเป็นต้องจา่ ย เน่อื งในการเดินทางไปราชการ

อัตราค่าเบีย้ เลย้ี ง (เหมาจา่ ย) ในประเทศ

ประเภท : ระดับ อตั รา/บาท
240
ทว่ั ไป : ปฏบิ ัติงาน , ชานาญงาน , อาวุโส
วชิ าการ : ปฏิบัตกิ าร , ชานาญการ , ชานาญการพิเศษ 270
อานวยการ : ตน้
ทวั่ ไป : ทกั ษะพเิ ศษ
วชิ าการ : เชย่ี วชาญ , ทรงคุณวฒุ ิ
อานวยการ : สงู
บรหิ าร : ต้น , สงู
*เบกิ ไดไ้ มเ่ กิน 120วัน นับแต่วันที่ออกเดนิ ทาง ถา้ เกนิ ขอปลดั กระทรวง

ค่าเชา่ ท่ีพัก (ม.17)

* จาเป็นต้องพักแรม
หา้ มเบิก กรณีพกั ในยานพาหนะ หรือทางราชการจดั ท่ีพักให้
* ผู้เดนิ ทางเบกิ คา่ เชา่ ทพี่ ัก เหมาจ่าย หรือจ่ายจริง
* ทอ้ งท่ที ่ีมีคา่ ครองชพี สูง / เป็นแหล่งท่องเที่ยว หวั หน้าส่วนราชการอนุมตั ิ ใหเ้ บิกเพ่ิมไดไ้ ม่เกนิ 2525
%
* การเดินทางไปราชการเป็นหม่คู ณะต้องเลือกเบกิ ค่าเช่าที่พักในลักษณะเดียวกนั ทั้งคณะ
* เบกิ ได้ไม่เกิน 120 วนั นบั แตว่ นั ท่ีออกเดนิ ทาง ถ้าเกนิ ขอปลดั กระทรวง

คา่ เชา่ ทพ่ี กั ในประเทศ (เหมาจา่ ย)

ประเภท : ระดับ อัตรา/บาท
800
ทัว่ ไป : ปฏบิ ัติงาน , ชานาญงาน , อาวุโส
วิชาการ : ปฏิบตั กิ าร , ชาราญการ , ชานาญการพิเศษ
อานวยการ : ต้น

สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สูย่ คุ ๔.๐ 36

ทัว่ ไป : ทกั ษะพเิ ศษ 1,200
วชิ าการ : เช่ียวชาญ : ทรงคุณวฒุ ิ
อานวยกาสร : สงู
บริหาร : ต้น , สงู

คา่ เชา่ ที่พักในประเทศ (จา่ ยจริง)

ประเภท : ระดับ อัตรา/บาท
ห้องพักคนเดยี ว ห้องพกั คู่
ท่วั ไป : ปฏิบัติงาน , ชานาญงาน , อาวโุ ส
วิชาการ : ปฏบิ ตั ิการ , ชานาญการ , ชานาญการพเิ ศษ 1,500 850
อานวยการ : ต้น
ทั่วไป : ทกั ษะพเิ ศษ 2,200 1,200
วชิ าการ : เชย่ี วชาญ
อานวยการ : สงู 2,500 1,400
บรหิ าร : ตน้
วชิ าการ : ทรงคุณวฒุ ิ
บริหาร : สงู

คา่ เช่าทพ่ี ักในประเทศ (จา่ ยจรงิ )

- ตาแหนง่ ประเภททั่วไป :ระดบั ปฏิบัติงาน, ชานาญงาน, อาวุโส
- ประเภทวชิ าการ :ระดบั ปฏิบัติการ, ชานาญการ, ชานาญการพเิ ศษ
- ประเภทอานวยการ : ระดบั ตน้ ลงมา
ใหพ้ กั คู่ เว้นแต่ ไม่เหมาะสมหรอื มีเหตุจาเปน็

1. ตา่ งเพศมไิ ด้เป็นคู่สมรส
2. เป็นโรคติดต่อ
3. มสี ทิ ธิการเบกิ ตา่ งอตั รากนั
4. ข้อกาหนดพิเศษของทหาร/ ตารวจ

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 37

หลักฐานการเบกิ ค่าเช่าทพ่ี ักเท่าทจ่ี า่ ยจรงิ

กรณีติดต่อกบั โรงแรม หรือที่พกั แรม
ใหใ้ ช้ใบเสรจ็ รบั เงิน หรือใบแจง้ รายการของโรงแรม
(รบ. กค. ข้อ 23)

กรณตี ดิ ต่อกบั ตวั แทนจาหน่าย
ใหใ้ ช้ ใบเสรจ็ รับเงินของตัวแทนจาหน่าย หรือ พิมพ์ออกจากระบบอเิ ล็กทรอนิกส์
(ด่วนทสี่ ดุ ที่ กค 0408.4/ว 165ลงวันที่ 22ธ.ค. 2559)

คา่ พาหนะ

 คา่ โดยสาร ค่าเชา่ ยานพาหนะ
 ค่าเชอื้ เพลิง ค่าระวางบรรทุก
 ค่าจ้างคนหาบหามส่งิ ของ

ของผ้เู ดนิ ทาง
นิยาม “พาหนะประจาทาง”

บรกิ ารทั่วไปประจา
เสน้ ทางแนน่ อน
คา่ โดยสาร คา่ ระวางแน่นอน

ค่าพาหนะ (ต่อ)

หลกั ปกติ ใหใ้ ชย้ านพาหนะประจาทางเบิกเทา่ ทจี่ า่ ยจรงิ และประหยัด
ข้อยกเวน้

 ไม่มีพาหนะประจาทาง
 มีแต่ต้องการความรวดเรว็ เพื่อประโยชนร์ าชการ
 ใชพ้ าหนะอ่นื ได้ (พาหนะรบั จ้างฯ) แต่ต้องช้ีแจง

เหตผุ ล ความจาเปน็
คา่ พาหนะรบั จา้ ง (ต่อ)

ไป-กลับ ระหว่าง ทอี่ ยู่ ท่ีพัก กบั สถานทปี่ ฏิบัตริ าชการ (ยกเว้นการสอบคัดเลือก) ภายใน
จงั หวดั เดียวกัน วนั ละไม่เกินสองเท่ียว
ภายในเขต กทม.

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สูย่ ุค ๔.๐ 38

พาหนะส่วนตัว

 ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากผู้บงั คับบญั ชา และต้องใช้พาหนะสว่ นตัวตลอดเส้นทาง จึงจะมสี ทิ ธิเบิก
เงนิ ชดเชย

 อัตราเงนิ ชดเชย
> รถยนต์ กม. ละ 4 บาท
> รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท

 คานวณระยะทางตามเส้นทางกรมทางหลวง/หน่วยงานอ่ืน
ถ้าไมม่ ใี ห้ผ้เู ดินทางรับรองตัวเอง เสน้ ทางสนั้ ตรงและปลอดภยั

เครอื่ งบิน

หัวหนา้ ส่วนราชการระดับกระทรวง หรอื เทยี บเท่า ชน้ั ธุรกิจ
รองปลัดกระทรวง – ชานาญการ ชานาญงาน ชัน้ ประหยดั

ผ้ดู ารงตาแหนง่ วิชาการระดับปฏิบัติการและท่ัวไประดับ
ปฏิบตั ิงาน เฉพาะกรณีมคี วามจาเป็นรบี ดว่ นเพื่อประโยชนแ์ ก่
ทางราชการ (เบกิ ได้ช้ันประหยดั )

ไม่เข้าหลกั เกณฑ์ขา้ งตน้ จะเบิกไดไ้ มเ่ กนิ ภาคพื้นดนิ ระยะเดยี วกันตามสิทธขิ องผู้เดินทาง
การซื้อบัตรโดยสารเคร่อื งบิน

(ด่วนทส่ี ดุ ที่ กค 0408.4/ว 165 ลว. 22ธ.ค. 59)

 บริษทั สายการบนิ หรือตัว
 แทนจาหนา่ ย หรือ
 ผู้ประกอบธุรกจิ นาเทย่ี ว หรือ
 ผ่านระบบอเิ ล็กทรอนิกส์
เบกิ ค่าพาหนะ ค่าสมั ภาระ และคา่ ธรรมเนียมหรือคา่ บรกิ าร ทีส่ ายการบินเรียกเก็บได้ ยกเวน้ คา่ บรกิ าร
เลือกที่น่ัง ค่าอาหารและเครื่องด่ืม ค่าประกันชีวิตหรือคา่ ประกันภยั ภาคสมัครใจ

หลักฐานการเบกิ คา่ เคร่ืองบิน

 กรณีสว่ นราชการ ให้ใช้ ใบแจ้งหน้ี
 กรณผี ้เู ดนิ ทาง ใหใ้ ช้

ใบเสรจ็ รับเงนิ ของสายการบิน/ตัวแทนจาหนา่ ย/ผปู้ ระกอบธุรกจิ นาเทีย่ ว หรือ
ใบรบั เงนิ ท่ีแสดงรายละเอียดการเดินทาง

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐ 39

หรอื ท่ีพิมพ์ออกจากระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
เดนิ ทางไปราชการประจา

1. ประจาตา่ งสานกั งาน/รักษาการในตาแหน่ง/รักษาราชการแทนเพอ่ื ดารงตาแหน่งใหม่ ณ สานักงาน
ใหม่
2. ประจาสานกั งานเดมิ ในท้องท่ใี หม่ (ยา้ ยสานักงาน)
3. ไปปฏิบัตงิ าน/ชว่ ยราชการมีกาหนดเวลาต้ังแต่ 11ปขี ึ้นไป
4. ไปชว่ ยราชการทีไ่ ม่อาจกาหนดเวลาสิ้นสุด/ไมถ่ ึง 1 ปีตอ่ มาสั่งให้ช่วยราชการต่อที่เดมิ เวลาตงั้ แต่
วนั ทีค่ รบ 11 ปเี ป็นต้นไป

คา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการประจา

เบี้ยเลีย้ งเดินทาง
ค่าขนยา้ ยสิง่ ของส่วนตวั
คา่ ใชจ้ า่ ยอืน่ ท่จี าเปน็ ฯ
คา่ เชา่ ท่ีพัก
คา่ พาหนะ
*ค่าใช้จา่ ยจะเบกิ ไดต้ อ้ งมิใช่การเดินทางตามคาร้องขอของตวั เอง
*ไปประจาต่างสงั กดั เบกิ จากสงั กัดใหม่
สิทธิในการเบกิ
ผ้เู ดินทาง
บคุ คลในครอบครัว
 คู่สมรส
 บุตร
 บิดามารดา (ของตนเอง + คู่สมรส)
 ผู้ติดตาม

วชิ าการปฏบิ ตั กิ าร ทั่วไปปฏิบัตงิ านและชานาญงาน 11คน
บรหิ ารต้นและสูง อานวยการต้นและสูง วิชาการชานาญการข้ึนไป ทั่วไปอาวุโส
และทักษะพิเศษ ไม่เกนิ 22คน

สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ ส่ยู ุค ๔.๐ 40

เดนิ ทางกลับภมู ลิ าเนาเดมิ

ภูมิลาํ เนาเดิม

ทอ้ งที่เริม่ รับราชการ
กลับเข้ารบั ราชการใหม่
กรณีพเิ ศษ
ท้องท่ีอ่ืนซ่งึ มใิ ช่ภมู ลิ าเนาเดมิ
แตม่ คี า่ ใช้จา่ ยไม่สงู กวา่
อธบิ ดี/ผวู้ ่าราชการจงั หวดั อนุมตั ิ

ค่าใช้จ่ายเดินทางกลบั ภมู ิลาเนา

* ออกจากราชการ, เลกิ จ้าง
* ตาย สิทธติ กแกท่ ายาทท่อี ยูก่ ับ ขรก.ขณะทีต่ าย
* ถกู ส่งั พกั ราชการ โดยไมร่ อผลสอบสวน
* ใชส้ ิทธิเบิกไปท้องที่อืน่ ได้รบั อนุญาตจาก ผู้บังคบั บัญชา
* เดินทางและขนยา้ ยภายใน 180 วัน
นบั แต่ออก, เลกิ จ้าง, ตาย (ถา้ เกนิ ตกลง กค.)

สทิ ธใิ นการเบกิ

ตนเองและบุคคลในครอบครัว

1 ค่าเช่าทพ่ี ัก ตามอตั รา

2 คา่ พาหนะ ในตาแหน่ง

3 ค่าขนย้ายส่ิงของส่วนตวั สดุ ทา้ ย

สวสั ดกิ ารรักษาพยาบาลข้าราชการ

เนือ้ หา

๏ ระบบสุขภาพของประเทศไทย

๏ ฐานข้อมลู บุคลากรภาครัฐและระบบเบกิ จ่ายตรง

๏ หลกั การเบิกคา่ รักษาพยาบาล

๏ สิทธิ และขอ้ จํากัดสทิ ธิ

๏ อตั ราคา่ บริการสาธารณสขุ

๏ หนงั สอื เวียนทน่ี า่ สนใจ

ระบบสขุ ภาพของประเทศไทย

• สทิ ธิประกันสังคม

• สิทธอิ งค์กรอสิ ระ

• สทิ ธหิ ลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 41

• สิทธสิ วสั ดิการขา้ ราชการ

• สิทธริ ฐั วสิ าหกิจ

• สทิ ธทิ อ้ งถิ่น

ระบบสวสั ดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ

“สวสั ดิการ” คอื ผลประโยชน์ทร่ี ัฐจัดให้กบั ขา้ ราชการ ทัง้ นี้ การเปลยี่ นแปลง เพม่ิ ลด สวัสดกิ ารน้นั ขึน้ อยู่กับ

สถานการณท์ างการคลังของรัฐในขณะนั้นๆ กรมบญั ชกี ลางในฐานะหนว่ ยงานทกี่ าํ กับดูแลด้านสวัสดิการ จึงมี

หน้าที่บริหารจัดการสวัสดิการให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้งบประมาณอย่างเหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุด

เชน่ คา่ เลา่ เรยี น ค่ารกั ษาพยาบาล และเงนิ เพิ่มพเิ ศษ (พ้ืนท่ีพเิ ศษ) เป็นตน้

ระบบสวัสดกิ ารเดมิ

ปี 2543 การเบิกจา่ ยค่ารักษา ผปู้ วุ ยใน : วางฎีกา ณ กรมบัญชกี ลาง/สาํ นักงานคลังจังหวดั (ระบบเอกสาร)

ผูป้ วุ ยนอก : ทดรองจ่าย และนําใบเสรจ็ มาวางเบกิ ทต่ี น้ สงั กดั

ปี 2544 ครม. มีมติใหก้ รมบัญชกี ลาง ปฏริ ูประบบสวัสดกิ ารรักษาพยาบาล

ปี 2545 เรมิ่ ดาํ เนนิ การตาม มติ ครม.

ระบบสวัสดิการหลังการปฏริ ปู

ปี 2545 จ่ายตรงผู้ปุวยใน

ปี 2547 จา่ ยตรงผ้ปู วุ ยนอก 4 โรคเร้ือรงั

ปี 2549 จ่ายตรงผปู้ ุวยนอกผ้รู บั บํานาญ

ปี 2550 จ่ายตรงผปู้ วุ ยนอกเตม็ ระบบ, จา่ ยตรงผปู้ ุวยในดว้ ย DRGs, ประกาศอตั ราคา่ บริการ

ปี 2553 พระราชกฤษฎีกาฉบบั ใหม่

ปี 2554 นาํ ร่องโรงพยาบาล 32 แหง่

ปี 2555 บรู ณาการ 3 กองทนุ

ท่ีมาของกฎหมาย

พระราชบญั ญตั ิ การกําหนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับการจ่ายเงินบางประเภทตามงบประมาณรายจ่าย พ.ศ.

2518

พระราชกฤษฎกี า เงินสวสั ดิการเก่ยี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553

เงินสวัสดิการเก่ยี วกับการรักษาพยาบาล (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2555

หลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยวิธีการเบิกจ่ายเงินสวั สดิการเกี่ยวกับการ

รักษาพยาบาล พ.ศ. 2553

หนงั สือเวยี นต่างๆ

ผูม้ ีสิทธิ และบคุ คลในครอบครวั

ผูม้ ีสิทธิ บุคคลในครอบครวั

• เจา้ ของสิทธ/ิ ผู้ทรงสทิ ธิ • ผอู้ าศัยสิทธิ

• สิทธิท่เี กิดจากบุคคลดังกล่าวรบั ราชการหรอื รับเบยี้ หวดั บํานาญ • ชอบด้วยกฎหมาย (มหี ลกั ฐาน

(ขา้ ราชการ, ลกู จา้ งประจํา, ลูกจา้ งชาวต่างชาติ, ผูร้ ับบาํ นาญปกติ ทางราชการรับรอง)

ผ้รู บั บํานาญพิเศษเหตุทุพลภาพ, ผรู้ ับเบ้ียหวัด) (บดิ า, มารดา, คสู่ มรส, บุตร 3 คน)

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 42

การเกดิ สทิ ธิ และหมดสิทธิ บุคคลในครอบครัว เกดิ สิทธิ
ผมู้ ีสิทธิ เกดิ สิทธิ • ตามผูม้ ีสทิ ธิ
• วนั รับราชการ • ตามกฎหมาย (สมรส รับรองบตุ ร เกดิ ฯลฯ)
• วันรบั เบย้ี หวัดบํานาญ หมดสิทธิ
หมดสทิ ธิ • ตามผมู้ ีสทิ ธิ
• ลาออก • เสียชีวติ • ตามกฎหมาย (เสยี ชีวติ หย่า บรรลนุ ติ ิภาวะ ฯลฯ)
• เกษยี ณ • ไล่ออก
• พักราชการ

บุตรชอบดว้ ยกฎหมาย ลาดบั ที่ 1-3
เกิดสทิ ธิ “คลอด” หมดสิทธิ “บรรลนุ ิติภาวะ” การบรรลนุ ิตภิ าวะ • อายุ (ครบ 20 ปบี ริบูรณ)์

• จดทะเบียนสมรส
เงอื่ นไขของบตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย
1) เรยี งลําดับการเกิด
2) ไม่รวมบุตรบญุ ธรรม
3) แทนทเี่ ฉพาะตายกอ่ นบรรลุนติ ิภาวะ
4) บุตรไร้/เสมอื นไร้ความสามารถ

กรณีบุตรแฝด หากผู้มีสิทธิหรือคู่สมรสของผู้มีสิทธิท่ียังไม่มีบุตร หรือมีบุตรแล้วแต่ยังไม่ครบ 3 คน
ถ้าตอ่ มามบี ุตรแฝดและทําใหม้ บี ตุ รเกดิ 3 คน กใ็ หเ้ บกิ ค่ารกั ษาพยาบาลให้กับบุตรได้ทงั้ หมด
การจัดทาฐานข้อมลู บุคลากรภาครฐั

ให้ผู้มีสิทธิมีหน้าที่รายงานข้อมูลของตนเอง และบุคคลในครอบครัวต่อส่วนราชการเจ้าสังกัดพร้อม
รับรองความถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี กค. กําหนด (มาตรา 5 วรรค 2) (หนังสือกรมบัญชีกลาง
ดว่ นท่ีสุด ท่ี กค 0422.2/ว 376 ลงวันที่ 30 ก.ย. 2553)

สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕


Click to View FlipBook Version