The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่มพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รูปเล่มพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.5

รูปเล่มพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.5

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ คุ ๔.๐ 43

ข้นั ตอนการดาเนนิ การ

ผมู้ ีสิทธิ นายทะเบยี น ก กรมบญั ชกี ลาง โรงพยาบาล A
ผู้มีสทิ ธิ นายทะเบยี น ข โรงพยาบาล B
ผมู้ ีสทิ ธิ นายทะเบยี น ค ฐานข้อมลู ฐานขอ้ มูล โรงพยาบาล c
ผู้มีสิทธิ บคุ ลากรภาครฐั สวสั ดิการ
นายทะเบยี น ง
นายทะเบยี น จ โรงพยาบาล D
ผมู้ ีสทิ ธิ ผู้มีสทิ ธิ ผู้มีสทิ ธิ
โรงพยาบาล E

ผู้มสี ิทธิ
สง่ ใหท้ ุก 15 วัน (4 และ 18 ของเดือน)

ผ้มู ีสิทธ์ มารดา

สตู บิ ตั ร ทะเบียนบา้ น
(ผ้มู ีสทิ ธิ) (ผมู้ ีสิทธิ)

ชอบด้วย
กฎหมาย

ผ้มู สี ิทธิ บิดา

ทะเทยี บสมรส ทะเบียนรับรอง
(บดิ า-มารดา) บตุ ร(คร.11)

คาสั่งศาล

ชอบด้วย
กฎหมาย

สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 44

ผ้มู สี ทิ ธิ คสู่ มรส

ทะเบยี นสมรส ทะเบียนสมรส
ไทย ตา่ งประเทศ

ชอบด้วย สถานทูต/กงสุล/
กฎหมาย กระทรวงการ
ตา่ งประเทศ
ระบบเบิกจา่ ยตรง

ขอ้ ควรรู้เพอ่ื ใช้ในการสอื่ สาร
-สมัครจ่ายตรงไม่ได้/ถกู ตดั สิทธิจ่ายตรงจงเขา้ ใจว่ามีปญั หาเรือ่ งฐานข้อมูลไมเ่ ก่ียวข้อง กับ

โรงพยาบาล
-ติดตอ่ สว่ นราชการต้นสงั กัดเพ่ือตรวจสอบขอ้ มลู ให้ถูกตอ้ ง
-กรมบญั ชกี ลางเปน็ ผ้ดู แู ลระบบไม่สามารถปรับเพิม่ ข้อมูลได้โดยพลการ ตอ้ งดา เนนิ การ ผ่านส่วน

ราชการต้นสังกัดเท่าน้ัน
-สามารถสมคั รจ่ายตรงประเภทผู้ปวุ ยนอกใน รพ. รฐั ไดท้ กุ แห่ง แต่ผูป้ วุ ยในไม่ต้องสมัคร ใชไ้ ด้ทนั ที

หลกั การเบกิ คา่ รักษาพยาบาล

-การสรา้ งเสริมปูองกันโรค
• การสรา้ งเสรมิ สุขภาพปูองกันโรค และการตรวจสขุ ภาพประจา ปี ที่จํา เป็นและเหมาะสม

-การรักษาพยาบาล
• การใหบ้ ริการทางการแพทยแ์ กผ่ ้ปู ุวย ซึ่งบาดเจ็บหรอื ปวุ ยดว้ ยโรค และมี ความจาํ เปน็ ตอ่

สขุ ภาพทตี่ ้องบําบัดรักษาใหส้ ามารถดาํ รงชวี ิตต่อไปได้ท้ังนี้ไมร่ วมถึงการเสริมความงาม

ค่าตรวจสุขภาพประจาปี

-ขา้ ราชการ อายตุ ่ากว่า 35 ปี ตรวจได้ 16 รายการ ปลี ะ1 ครง้ั
-ลกู จา้ งประจา -ตรวจได้ 7 รายการ
-ผรู้ บั เบี้ยหวัดบานาญ อายมุ ากกว่า 35 ปี

-เบิกได้ตาม

ปีงบประมาณ

สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 45

การเขา้ รบั บรกิ าร
สถานพยาบาลของทางราชการ
•ผู้ปวุ ยนอก
•ผู้ปุวยใน
สถานพยาบาลของเอกชน
•การนดั ผ่าตัดล่วงหน้า
•การเขา้ รบั การรกั ษาในกรณเี จ็บปวุ ยฉกุ เฉิน
•การสง่ ตวั เข้ารบั การรักษาพยาบาลเป็นคร้ังคราว

ขัน้ ตอน (เขา้ เกณฑ์ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต)

เขา้ เกณฑ์ พ้นภาวะวกิ ฤตหรือครบ 72 ซม.(ยา้ ย ย้ายกลบั สถานพยาบาล
กลับเขา้ ระบบปกติ) ของทางราชการ
ยงั ไม่พ้นภาวะวกิ ฤต
ย้ายไมไ่ ด้

แจง้ ขอเตียง ไมป่ ระสงคย์ ้าย(รบั ผิดชอบค่าใช้จา่ ย) ไมม่ เี ตยี งของ
(ภายใน 24 ช่วั โมง) สถานพยาบาลของ
ทางราชการรับยา้ ย

การเบิกจ่าย (ไม่เข้าเกณฑ์ผู้ปว่ ยฉกุ เฉนิ วิกฤต)

- ไม่เขา้ เกณฑ์ (ฉกุ เฉินเร่งดว่ น/ฉกุ เฉนิ ไม่รุนแรง)
- ทดรองจา่ ยค่ารักษาพยาบาล
- ยน่ื เบิกสว่ นราชการตน้ สงั กัด

-คา่ เชา่ และคา่ อาหาร
-คา่ อุปกรณ์และอวัยวะเทยี ม
-คา่ รักษาพยาบาลอน่ื ๆ จ่ายจรงิ ครงึ่ หนึง่ ไมเ่ กิน 8,000 บาท

ใบประเมินคัดแยกผู้ปุวยฉุกเฉนิ + ใบเสรจ็ รับเงิน(ผูป้ วุ ยใน) + ใบรบั รอง
แพทย์(หากใบประเมินไม่ไดร้ ะบุระดับความฉุกเฉนิ )

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 46

สิทธิ และ ข้อจา กัดสิทธิ

สทิ ธิซา้ ซ้อน
สิทธหิ ลัก – หลกั (เจ้าของสิทธิ – เจ้าของสิทธ)ิ
•ผู้มสี ิทธเิ ลือกว่าจะใช้สิทธจิ ากหน่วยงานใด
•เลือกสทิ ธิจากหน่วยงานอ่นื แลว้ ใหห้ มดสิทธิตาม พรฎ. น้ี
•การเลือก การเปลี่ยนแปลงสิทธิเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ ท่ี กค. กาํ หนด (ว 377)

สิทธิซ้าซ้อน

สิทธหิ ลกั – รอง (เจ้าของสิทธิ – ผู้อาศยั สิทธิ)

•ตอ้ งใช้สิทธใิ นฐานะเจ้าของสิทธิ (ใช้สิทธหิ ลัก)

•เลือกสิทธไิ ม่ได้

•หากค่ารกั ษาท่ีไดร้ บั ต่ํากวา่ พรฎ.นี้ สามารถเบกิ ส่วนที่ขาดอยู่จากสทิ ธิได้

สิทธิซ้าซ้อน
สิทธริ อง – รอง (ผู้อาศัยสิทธิ – ผ้อู าศัยสิทธิ)

อตั ราค่าบริการสาธารณสุข

- หมวดที่ 1 คา่ ห้องและคา่ อาหาร
- หมวดที่ 2 ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณใ์ นการบา บัดรักษาโรค
- หมวดท่ี 3 คา่ ยาและสารอาหารทางเส้นเลือด
- หมวดท่ี 4 ค่ายากลับบ้าน
- หมวดท่ี 5 คา่ เวชภัณฑท์ มี่ ใิ ช้ยา
-หมวดท่ี 6 คา่ บริการโลหิตและส่วนประกอบของโลหิต
-หมวดท่ี 7 คา่ ตรวจวินจิ ฉัยทางเทคนิคการแพทย์และพยาธิวิทยา
-หมวดท่ี 8 ค่าตรวจวินิจฉยั และรกั ษาทางรงั สีรักษา
-หมวดที่ 9 คา่ ตรวจวินจิ ฉัยโดยวิธีพเิ ศษอื่น ๆ
-หมวดที่ 10 คา่ อุปกรณข์ องใช้และเคร่ืองมอื ทางการแพทย์
-หมวดที่ 11 ค่าทา หัตถการและวิสัญญี
-หมวดที่ 12 ค่าบริการทางการพยาบาล
-หมวดที่ 13 ค่าบริการทางทันตกรรม
-หมวดที่ 14 คา่ บริการทางกายภาพบาํ บัดและทางเวชกรรมฟื้นฟู

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐ 47

-หมวดที่ 15 ค่าบริการฝั่งเขม็ และค่าบริการการให้การบําบัดของผู้ประกอบโรคศลิ ปะอ่ืน
-หมวดท่ี 16 ค่าบริการอื่น ๆ ทีไ่ มเ่ กี่ยวกับการรักษาพยาบาลโดยตรง

หนงั สอื เวียนท่ีนา่ สนใจ

ค่าอวยั วะเทียมฯ และค่าบริการทนั ตกรรม (กค0431.2/ว 246 ลงวนัท่ี 16 มถิ นุ ายน 2559)
ปรบั เพ่ิมรายการ
• 11 รายการ
ปรบั เพ่ิมอตั ราเบิกจ่าย
• คา่ บริการ 46 รายการ
• คา่ ฟนั เทยี มถอดได้และอปุ กรณ์ 6 รายการ

ยกเลิกรายการ
• 10 รายการ

การส่งเบกิ ในระบบเบิกจา่ ยตรง
• ใหร้ ะบรุ หัสท้งั กรณีผูป้ ุวยนอกและผู้ปวุ ยใน

ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณใ์ นการบาบัดรกั ษาโรค

ปรบั อตั ราเบกิ จา่ ย
มผี ลใชบ้ งั คับตั้งแต่ วันที่ 1 ตลุ าคม 2559 เป็นต้นไป
ยกเลิกเง่ือนไขจํานวนทเี่ บกิ ได้และระยะเวลา(3 ปี/5ป)ี

การเบิกคา่ ยามะเร็ง 6 ชนดิ

ดว่ นทส่ี ุด ที่ กค.04172/ว. กาหนดยามะเรง็ 6 ชนดิ
69 ลงวนั ที่ 31 ส.ค.2549

ปรบั เปลย่ี นวิธกี ารเบกิ ด่วนทีส่ ดุ ที่ กค 0417/ว.
37 ลงวันท่ี 3 ก.ค.2550

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 48

ยามะเร็ง 6 ชนิด

Imatinib = มะเรง็ เม็ดเลือดขาวชนดิ เรอ้ื รงั และมะเรง็ ลา ไส้ชนิด gastrointestinal
stromaltumor (GIST)

Rituximab = มะเรง็ ต่อมนํ้าเหลอื ง
Trastuzumab = มะเร็งเตา้ นมระยะแพร่กระจาย
Bivacizumab = มะเร็งลาํ ไส้ใหญ่ระยะแพร่กระจาย
Erlotinib = มะเรง็ ปอดระยะแพรก่ ระจายท่ีไม่ตอบสนองต่อยา กลุ่ม Platinum
และDocetaxel แล้ว Gefitinib = มะเร็งปอดระยะแพร่กระจายที่ไม่ตอบสนองต่อยา กลุ่ม Platinum
และDocetaxelแลว้

การเบิกค่ายาสมนุ ไพร ยาแผนไทย

คณะกรรมการ แพทย์รบั รอง
ด่วนที่สุดท่ี กค 0422.2/ว 42 ลงวันท่ี 13 กุมภาพนั ธ์2552

เฉพาะในEDL
ด่วนที่สุดท่ี กค 0422.2/ว 45 ลงวันท่ี 11 มิถุนายน2552

เฉพาะในEDL เภสชั ตารับ รพ. และบัญชียา รพ.
ด่วนทสี่ ุดที่ กค 0422.2/ว 57 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม2552

เฉพาะในEDL สามญั ประจาบา้ น, เภสัชตา รบั รพ. และยาปรุงเฉพาะราย
ด่วนท่ีสุดที่ กค 0422.2/ว 33 ลงวันที่ 11 เมษายน2554

การเบิกค่ายา วิตามิน แรธ่ าตุ
(ด่วนท่ีสุด ท่ี กค. 0422.2/ว.45 ลงวนัที่ 11 มิถุนายน 2552)

วิตามนิ
• ข้ึนทะเบยี นเปน็ ยากับ อย.
• มคี ุณสมบัตใิ นการรกั ษาโรค
• เฉพาะในบัญชียาหลักแหง่ ชาติ

แร่ธาตุ
• ขนึ้ ทะเบียนเป็นยากับ อย.
• มคี ุณสมบตั ิในการรักษาโรค
• เฉพาะในบญั ชยี าหลกั แห่งชาติ

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 49

ยาอนั ตราย
• เบิกได้เฉพาะใชใ้ น รพ.
• ยกเว้น ยาทีใ่ ช้กบั ผ้ปู วุ ยล้างไต

สวสั ดิการเก่ยี วกับการศกึ ษาของบุตร

สถานศกึ ษาของเอกชน

(๑) สถาบันอดุ มศึกษาเอกชนตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

(๒) โรงเรยี นในระบบตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงเรียนเอกชน

ผมู้ สี ิทธิ
 ขา้ ราชการ ลกู จา้ งประจํา
 ลูกจา้ งชาวต่างประเทศ ทมี่ ีสัญญาจา้ ง จากเงิน งปม.
 ผไู้ ด้รับบาํ นาญปกติ ผู้ได้รบั บํานาญพิเศษเหตทุ ุพพลภาพทหารกองหนนุ มเี บี้ยหวัดของ
กระทรวงกลาโหม

ยกเวน้ ขา้ ราชการการเมือง ขา้ ราชการตํารวจชน้ั พลตํารวจ ซง่ึ อยู่ในระหว่างเข้ารบั การอบรมใน
สถานศกึ ษา ของสาํ นักงานตาํ รวจกอ่ นเขา้ ปฏิบัตหิ น้าท่ีราชการประจํา

ระเบยี บฯ กค. พ.ศ. ๒๕๖๐

ขอ้ ๕ “กรณคี ่สู มรสเปน็ ผูม้ ีสิทธทิ ั้ง ๒ ฝาุ ย ใหฝ้ าุ ยใดฝาุ ยหนงึ่ เป็นผ้ใู ช้สทิ ธเิ บิกเงินฯ สําหรบั บุตรทกุ
คน แตเ่ พยี งฝาุ ยเดียว...”

“กรณีคสู่ มรสอย่ตู ่างสว่ นราชการผเู้ บิก หรอื มกี ารเปลี่ยนแปลงผเู้ บิก ใหฝ้ ุายทีเ่ ป็นผูใ้ ช้สิทธเิ บกิ เงนิ ฯ ต้องแจง้
ใหส้ ่วนราชการ แจ้งการใชส้ ทิ ธใิ หส้ ่วนราชการคู่สมรสอีกฝุายทราบ และแจ้งดาํ เนนิ การตอบรบั ตามแบบที่
กรมบัญชีกลางกําหนด... ”

ขอ้ ๖“กรณผี ู้มีสิทธิไปช่วยปฏบิ ัติราชการตา่ งส่วนราชการผู้เบกิ ให้ยน่ื ใบเบิกเงนิ ฯ ณ สว่ นราชการท่ี
ไปชว่ ยปฏบิ ตั ิราชการ... แตต่ อ้ งมหี นงั สือแสดงเจตนาขอรบั เงนิ ฯ แจ้งต่อส่วนราชการที่ไปชว่ ยฯ และให้ส่งคู่
ฉบบั หนงั สอื ฯ ให้สว่ นราชการผ้เู บกิ ทราบดว้ ย”

สถานศึกษาของทางราชการ

๑) มหาวิทยาลยั หรือสถาบนั อุดมศึกษาท่เี รียกชื่ออย่างอ่ืนในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการหรือส่วน
ราชการอน่ื หรอื ทอี่ ยใู่ นกาํ กับของรัฐ

(๒) วทิ ยาลัยหรอื สถานศกึ ษาท่ีเรยี กชือ่ อยา่ งอน่ื ซง่ึ มฐี านะเทียบเทา่ วทิ ยาลยั ในสงั กัดหรอื อยใู่ น
กาํ กับของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรอื สว่ นราชการอนื่ ท่ี ก.พ. รับรองคณุ วฒุ ิ

(3) โรงเรยี นในสังกดั หรือ อยู่ในกาํ กบั ของกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลยั วิทยาลยั องคก์ าร
บรหิ ารสว่ นจงั หวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาํ บล กรุงเทพมหานครเมืองพทั ยา องค์กรปกครองสว่ น
ทอ้ งถ่ินอน่ื ท่ีมกี ฎหมายจัดต้ัง และให้หมายความรวมถึงโรงเรยี น ทเี่ รียกชอ่ื อย่างอื่นท่ีมีการจัดระดับชนั้ เรยี น
ด้วย

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ ส่ยู ุค ๔.๐ 50

(๔) โรงเรยี นในสงั กดั หรืออยู่ในกํากบั ของส่วนราชการอ่นื หรอื องคก์ ารของรฐั บาลที่ ก.พ. รบั รอง
คุณวุฒิ

(5) โรงเรียนในสังกดั สว่ นราชการทก่ี ระทรวงการคลังกําหนด

(6) สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ท่ีมกี ารจดั ระดับช้ันเรยี น ในสังกัดส่วนราชการ

สถานศกึ ษาของเอกชน

(๑) สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมาย วา่ ด้วยสถาบนั อุดมศึกษาเอกชน

(๒) โรงเรยี นในระบบตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงเรียนเอกชน

บุตรของผมู้ สี ิทธทิ ี่มีสิทธไิ ดร้ บั สวสั ดิการเกยี่ วกบั การศึกษาของบุตร

 บตุ รโดยชอบดว้ ยกฎหมาย
 อายุครบ ๓ ปี แตไ่ ม่เกิน ๒๕ ปี
 สทิ ธไิ ด้เพียง คนท่ี ๑ ถงึ คนที่ ๓

ยกเว้น บตุ รบญุ ธรรม

บุตรซึง่ บิดามารดายกใหเ้ ป็นบุตรบญุ ธรรมของผู้อื่นยกเวน้

การแทนท่ี
 ตาย
 กายพิการจนไม่สามารถเลา่ เรียนได้
 เปน็ คนไรค้ วามสามารถ
 เป็นคนเสมอื นไร้ความสามารถ
 วกิ ลจรติ
 ฟ่ันเฟือนไมส่ มประกอบก่อนอายุครบ ๒๕ ปีบรบิ รู ณ์การแทนที่...

การนบั ลาดับบุตร (มาตรา ๗ วรรค ๒)

 เรียงลาํ ดับการเกิด
 ท้งั นี้ ไม่วา่ เป็นบตุ รท่ีเกดิ จาการสมรสครง้ั ใด หรอื อยูใ่ นอาํ นาจปกครองของตน

หรอื ไม่
 ผู้มสี ิทธยิ งั ไมม่ ีบุตรหรือมบี ุตรยงั ไมถ่ ึง ๓ คน ต่อมามีบุตรแฝดทาํ ใหม้ บี ุตรเกนิ ๓

คน ให้ผูม้ ีสิทธไิ ด้รบั เงนิ สวสั ดิการเก่ยี วกบั การศึกษาของบตุ รคนที่ ๑ ถงึ คนสดุ ท้าย
แตบ่ ตุ รแฝดน้ันจะต้องเปน็ บุตรซ่ึงเกดิ จากค่สู มรส หรอื เปน็ บุตรของตนเองกรณี
หญิงเป็นผใู้ ชส้ ิทธิ

การนับอายุ

สถานศกึ ษา

กําหนดเปดิ เรียนภาคต้น ๑๖ พฤษภาคม – ๑๑ ตลุ าคม ของทกุ ปี

กําหนดเปิดเรียนภาคปลาย ๑ พฤศจิกายน –๑๕ มนี าคม ของทุกปี

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ ุค ๔.๐ 51

ตวั อย่าง
ด.ช. หนงึ่ เกิดวันท่ี ๑๒ ส.ค. ๒๕๕๒
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๕ เข้าเรียนระดบั ชนั้ อนุบาล ๑
สถานศึกษาเปดิ ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๕๕ วันท่ี ๑๖ พ.ค.๕๕
ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๕๕ มีสิทธหิ รอื ไม่ สถานศึกษา

การย่นื ขอเบิกเงินคา่ การศึกษาของบตุ ร
ผู้มีสิทธิ ผมู้ ีอํานาจอนุมตั ิ
ภายใน ๑ ปนี บั แตว่ ันเปดิ ภาคเรียนของแต่ละภาค สาหรับสถานศกึ ษาทเ่ี รยี กเก็บเป็นรายภาคเรียน

หรอื วนั เปดิ ภาคเรยี นภาคตน้ ของปีการศึกษา สาหรับสถานศกึ ษาเรียกเงนิ คา่ การศึกษาครง้ั เดียวตลอดปี
การยืน่ ขอเบกิ เงินค่าการศึกษาของบุตร

ผู้มสี ิทธิ ผมู้ อี าํ นาจอนุมัติ
ภายใน ๓๐ วัน นับแตว่ นั ออกหลักฐานการรบั เงินของสถานศึกษา/กรณีขอผ่อนผนั กบั สถานศกึ ษา
ภายใน ๑ ปี นับแตว่ นั ทราบผลคดหี รือกรณีถึงทส่ี ุด/ กรณีอยู่ระหวา่ งถูกสอบการยนื่ ขอเบิกเงินคา่
การศึกษาของบุตร
หลักเกณฑก์ ารจ่ายเงนิ สวัสดิการ เกยี่ วกับการศึกษาของบุตร

 สถานศึกษาของทางราชการ ระดับอนุบาล ถงึ อนุปริญญา ให้ได้รับเงินบาํ รุงการศึกษาเต็ม
จํานวน ทีไ่ ดจ้ า่ ยไปจรงิ ระดับปรญิ ญา ให้ได้รบั เงินบํารุงการศึกษา เต็มจํานวนทไ่ี ดจ้ ่ายไป
จรงิ

 สถานศึกษาของเอกชน ระดับไม่สูงกวา่ มธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่าให้ได้รับเงนิ ค่า
เลา่ เรยี น เต็มจํานวน ที่ได้จา่ ยไปจริง ระดบั อนุปริญญาหรือเทยี บเท่าและหลกั สูตรแยก
ต่างหากจากหลักสตู รปรญิ ญาตรี ให้ไดร้ ับเงนิ ค่าเล่าเรียน คร่ึงหน่ึง ของจํานวนทไ่ี ดจ้ า่ ยไป
จริง ระดับปรญิ ญาตรี ให้ได้รับเงินคา่ เลา่ เรยี นคร่ึงหน่ึงของจาํ นวนที่ไดจ้ า่ ยไปจริง

ประเภทและอตั ราการจา่ ยเงินสวัสดกิ ารเกีย่ วกับการศึกษาของบุตร
ดว่ นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๔๒๒.๓/ว๒๕๗ ลว.๒๘ มิ.ย.๒๕๕๙ ถือปฏิบตั ติ ้งั แต่ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ ระดับ

อนบุ าล ถงึ ระดบั ปริญญาตรี
 สถานศกึ ษาของทางราชการ
 สถานศึกษาของเอกชน ท่ไี ม่ไดร้ ับ / รบั เงินอดุ หนุนจากรฐั
(ว.๒๒ ลว.๑๒ ม.ค.๒๕๖๑ เพิม่ เตมิ สายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร)

สถานศกึ ษาของทางราชการ
๑. อนบุ าล หรอื ไม่เทียบเทา่ ไม่เกินปลี ะ ๕,๘๐๐ บาท
๒. ประถมศึกษาหรือเทียบเท่าไม่เกนิ ปลี ะ ๔,๐๐๐ บาท

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 52

๓. มัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเทา่ ไม่เกินปีละ ๔,๘๐๐ บาท

๔. มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช.ไมเ่ กนิ ปลี ะ ๔,๐๐๐ บาท

๕. อนปุ ริญญาหรือเทียบเทา่ ไม่เกินปีละ ๑๓,๗๐๐ บาท

๖. ปรญิ ญาตรี ไม่เกนิ ปีละ ๒๕,๐๐๐ บาท

สถานศกึ ษาเอกชน

ประเภทสามัญศกึ ษา ทไ่ี ม่รบั เงินอดุ หนุน

๑. อนุบาล หรอื ไมเ่ ทยี บเทา่ ไมเ่ กนิ ปีละ ๕,๘๐๐ บาท

๒. ประถมศึกษาหรือเทียบเท่าไม่เกนิ ปลี ะ ๔,๐๐๐ บาท

๓. มธั ยมศกึ ษาตอนต้นหรอื เทียบเท่าไม่เกินปีละ ๔,๘๐๐ บาท

๔. มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทยี บเท่าไม่เกนิ ปีละ ๔,๘๐๐ บาท

ประเภทสามญั ศึกษา ท่ีรับเงินอุดหนุน

๑. อนุบาล หรอื ไม่เทยี บเทา่ ไมเ่ กินปลี ะ ๔,๘๐๐ บาท

๒. ประถมศกึ ษาหรือเทียบเท่าไม่เกนิ ปีละ ๔,๒๐๐ บาท

๓. มัธยมศกึ ษาตอนต้นหรอื เทียบเทา่ ไม่เกนิ ปีละ ๓,๓๐๐ บาท

๔. มัธยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทยี บเท่าไม่เกนิ ปีละ ๔,๘๐๐ บาท

สถานศกึ ษาเอกชน
ประเภทอาชีวศึกษาหลักสตู ร ปวช.หรือเทียบเท่า ...ทีไ่ มร่ บั เงนิ / รับเงนิ อดุ หนนุ
1. คหกรรมหรือคหกรรมศาสตรไ์ ม่เกินปีละ ๑๖,๕๐๐ บาท / ๓,๔๐๐ บาท
2. พาณิชยก์ รรม หรือบรหิ ารธุรกิจไม่เกนิ ปีละ ๑๙,๙๐๐ บาท / ๕,๑๐๐ บาท
3. ศิลปหตั ถกรรม หรือศลิ ปกรรมไม่เกนิ ปีละ ๒๐,๐๐๐ บาท / ๓,๖๐๐ บาท
4. เกษตรกรรม หรอื เกษตรศาสตรไ์ ม่เกนิ ปีละ ๒๑,๐๐๐ บาท / ๕,๐๐๐ บาท
5. ชา่ งอตุ สาหกรรรมหรอื อุตสาหกรรมไม่เกนิ ปีละ ๒๔,๔๐๐ บาท / ๗,๒๐๐ บาท
6. ประมงไมเ่ กินปลี ะ ๒๑,๑๐๐ บาท / ๕,๐๐๐ บาท
7. อตุ สาหกรรมการท่องเทีย่ วไมเ่ กินปีละ ๑๙,๙๐๐ บาท / ๕,๑๐๐ บาท
8. อตุ สาหกรรมสิ่งทอไมเ่ กินปลี ะ ๒๔,๔๐๐ บาท / ๗,๒๐๐ บาท
9. เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารไม่เกนิ ปีละ ๒๒,๙๐๐ บาท /๕,๘๐๐ บาท
ประเภทอาชีวศกึ ษา หลกั สูตร ปวส.หรอื เทยี บเทา่
“เบกิ ได้ครง่ึ หน่งึ ของจาํ นวนทจ่ี ่ายจริง ปีการศึกษาละไม่เกนิ อตั ราทก่ี ําหนด”
๑. ชา่ งอุตสาหกรรม หรืออุตสาหกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร ทัศนศาสตร์
ไม่เกนิ ปีละ ๓๐,๐๐๐ บาท
๒. พาณิชย์กรรม หรือบริหารธูรกิจ ศลิ ปหัตถกรรม หรือศลิ ปกรรม เกษตรกรรม หรือเกษตรศาสตร์
คหกรรม หรือคหกรรมศาสตร์ อตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี ว
๓. หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรี เบิกได้ครึ่งหนึ่งของจาํ นวนท่จี า่ ยจรงิ ไม่เกินปีละ ๒๕,๐๐๐ บาท

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 53

๔. ระเบียบฯ กค. พ.ศ. 2560
ขอ้ 8 หลกั ฐานการรบั เงนิ ของสถานศึกษา “อยา่ งน้อยต้องมรี ายการ 5 รายการ”

(ชอ่ื ทอ่ี ย่/ู วันเดอื นปีท่ีรับเงิน/รายการรบั เงิน/จานวนเงินตวั เลข+ตวั อกั ษร/ลายมือชือ่ )
“กรณีผู้มสี ทิ ธทิ าหลกั ฐานการรบั เงินของสถานศึกษา สญู หาย ใหใ้ ช้สาเนาหลกั ฐานการรับ

เงินของสถานศึกษา ซง่ึ ผูร้ ับเงินของสถานศึกษารบั รองเป็นเอกสารได้”
ขอ้ 9“ใหผ้ ู้มีสทิ ธิได้รับเงินสวัสดิการฯ เป็นผูร้ ับรองการมสี ิทธขิ องตนเอง”
ข้อ 10 การยืน่ ใบเบิกเงนิ สวัสดิการ
ภายใน 1 ปีการศึกษา นบั แต่วันเปดิ ภาคเรียนแต่ละภาคกรณีเรียกเก็บเปน็ ภาค
ภายใน 1 ปีการศึกษา นบั แต่วนั เปดิ ภาคเรียนท่ี 1 ของปี กรณเี รียกเกบ็ คร้ังเดยี ว

การบรรยายเร่อื ง การมหี วั ใจบริการ และการทางานเปน็ ทีม

โดย ผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลนคิ มสร้างตนเอง (นายสุชาติ บุญยภากร)

สรปุ สาระสาคญั

การมหี วั ใจบริการ(Service Mind)
การบรกิ าร (Service) คอื การใหค้ วามช่วยเหลอื หรือการดําเนินการเพื่อประโยชน์ของผู้อนื่
การบริการท่ีดี ผู้รบั บรกิ ารจะไดร้ บั ความประทบั ใจและเกิดความชนื่ ชม หน้าไม่งอ รอไม่นาน บริการ

สะดวก หรอื ย้มิ งาม ถามไถ เต็มใจบริการ เปน็ ต้น
งานบริการ คือ
- การมคี วามรับผิดชอบต่อองคก์ ร
- การสร้างภาพพจน์ท่ดี ตี ่อองคก์ ร
สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ คุ ๔.๐ 54

- การทาํ งานเปน็ ทีม
- การมีวินยั ในตนเอง
- การทํางานบนความคาดหวังของผรู้ บั บริการ
บริการยอดเย่ยี ม ควรมี ย้ิมเอาใจใส่ บรกิ ารทนั ใจ สมัครใจอาสา รกั ษาภาพพจน์ไว้ กริ ยิ าอ่อนหวาน
และกระตือรือรน้ ส่วนบรกิ ารยอดแย่ เช่น หน้ายักษ์ ชกั ช้า ยกั ท่า ไม่อาสาพาไป ไร้ภาพพจน์ที่ดี วจีเลวรา้ ย
ไม่สนใจใดๆ
สรุปงานบรกิ าร คอื
- งานที่ต้องพฒั นาให้กา้ วหน้าอยเู่ สมอ
- งานแก้ปญั หาให้กับผู้รับบริการ
- งานสรา้ งประสบการณ์ความประทับใจ
- งานสร้างสายสมั พนั ธแ์ ห่งมิตรภาพ
- งานแห่งความสุขที่ได้ชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื
คนท่ีจะบริการผอู้ ื่นไม่ดี คือ พวกหลงตวั เอง และพวกชอบสงสารตวั เอง สว่ นคนที่จะบริการผู้อืน่ ไดด้ ี
คอื พวกมีสัญชาตญิ าณพ่อแม่ พวกมคี วามรักมนุษย์ พวกมีคุณธรรมส.ุ และพวกพอใจบริการ
บคุ ลกิ ไม่ได้อยู่ที่ความสวยหรอื หล่อ บุคลกิ ภายนอกมี 4 อยา่ ง คือ
- รูปรา่ งหน้าตา
- การแต่งเนอื้ แต่งตัว
- กริ ยิ าทา่ ทาง
- การพดู จา
ส่ิงท่ีไม่ควรทา เช่น ล้วง แคะ แกะ เกา หาว ยัก โยก ถอนและค้อน
ขนั้ ตอนการใหบ้ รกิ ารท่พี ึ่งใจ
- ย้ิม
- ไหว้
- ไถ่ถาม
- แนะนาํ
- ให้บรกิ าร
- งานเรียบร้อย
การบริการจะประสบความสาเรจ็ ตอ้ งมหี ัวใจบริการ
การใช้ภาษาเพ่ือพัฒนาการบริการ
1. มองหนา้
2. สบตา
3. ยิม้ แย้ม
4. ทักทาย
5. ไถ่ถาม
6. รบั ฟัง
7. บรกิ าร
การทางานเปน็ ทมี
T =Together

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 55

E = Everyone

A = Achieves

M = More

Together Everyone Achieves More ทกุ คนรว่ มกัน ผลงานย่ิงใหญก่ วา่

Teamwork

T = Trust ไวใ้ จกัน

E = Emphaty เห็นใจกัน

A = Assistance ชว่ ยเหลือกนั

M = Mutual Goal เพื่อเปูาหมายเดียวกนั

W = Winner บรรลเุ ปาู หมาย

O = Organization ร่วมมือ

R = Reward รางวัล

K = Kidding มกี ารผอ่ นคลาย

ลกั ษณะทสี่ าํ คัญของทมี 4 ประการ ไดแ้ ก่

1. การมีปฏิสมั พันธท์ างสงั คมของบุคคล

2. มจี ดุ มุ่งหมายและเปูาหมายร่วมกนั

3. การมโี ครงสร้างของทีม / กลมุ่

4. สมาชกิ มีบทบาทและมคี วามรสู้ กึ รว่ มกัน

การทํางานร่วมกบั ผอู้ ืน่ อย่างมีความสขุ

1. Positive Thinking คดิ แต่ทางบวก

2. Smile ยิม้ แย้มแจม่ ใส สรา้ งความประทบั ใจ

3. Yours จริงใจใหก้ ัน ชว่ ยเหลือการงาน

4. Compromise สมานสามคั คี ด้วยการประนปี ระนอม

5. Human Relations สัมพันธ์ทดี่ ี สร้างมติ รผูกพัน

6. Oral Communication สอื่ สารชัดเจน แกไ้ ขข้อขดั แยง้

ลกั ษณะของสมาชิกภายในทมี

- เปน็ นักคดิ

- เป็นนักจดั องค์กร

- เป็นนกั ปฏิบตั กิ าร

- เปน็ สมาชิกของทมี

- เปน็ นักตรวจสอบ

- เป็นนักประเมินผล

บทบาทของสมาชิกในการสรา้ งทีม

- เปน็ ผใู้ ห้ Contributor

- เป็นส่อื กลาง Communicator

- เปน็ ผู้ประสาน Coordinator

- เป็นผสู้ งสัย Challenger

กลยทุ ธ์การทาํ งานเปน็ ทีม

สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ คุ ๔.๐ 56

- รว่ มใจ (heart) Feel like a team
- ร่วมคิด (head) Think like a team
- รว่ มทาํ (hand) Work like a team
ปัจจยั สู่ความสําเรจ็ ในการทํางานเป็นทมี
1. บรรยากาศของการทํางานมคี วามเป็นกันเอง
2. ความไว้วางใจกัน (trust)
3. มีการมอบหมายงานอยา่ งชดั เจน
4. บทบาท (role)
5. วธิ ีการทาํ งาน (work procedure)

5.1 การสือ่ ความ (communication)
5.2 การตัดสินใจ (decision making)
5.3 ภาวะผู้นาํ (leadership)
5.4 การกาํ หนดกติกา หรอื กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่จะเอ้ือต่อการทํางานรว่ มกนั ให้บรรลุ
เปูาหมาย
6. การมีส่วนร่วมในการประเมินผลการทาํ งานของทมี
7. การพัฒนาทีมงานใหเ้ ข้มแข็ง
7.1 พัฒนาศกั ยภาพทีมงาน ดว้ ยการสร้างแรงจงู ใจทางบวก
7.2 การให้รางวลั

การบรรยายเรอ่ื ง การดาเนนิ งานมาตรฐานการวัดคุณภาพองคก์ ร (ISO) และการศกึ ษาดูงาน

โดย นางสาวรชั นี คงเมือง ผชู้ ่วยผจู้ ดั การแผนกสิง่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐ 57

สรุปสาระสาคญั
บริษทั เกลอื พิมาย จากดั (Pimai Salt Co.,Ltd)

ประวตั คิ วามเป็นมา
บริษัท อุตสาหกรรมเกลือบริสุทธ์ิ จํากัด เป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างกลุ่มผู้ถือหุ้นคนไทยกับ

บริษัท อาซาฮี กล๊าส จํากัด จากประเทศญ่ีปุนและบริษัท โซลเว่ เอส เอ จํากัด จากประเทศเบลเย่ียม โดยมี
บริษัท เกลือพิมาย จํากัด เป็นผู้ผลิตวัตถุดิบ มีที่ตั้งโรงงานอยู่ท่ี อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
เพ่ือตอบสนองความต้องการของตลาดโลกทําการผลิตด้วยเคร่ืองจักรและอุปกรณ์ทันสมัย ตลอดจน
เทคโนโลยชี ั้นสูงเพอ่ื ให้ไดเ้ กลอื บรสิ ุทธ์ิ คณุ ภาพสงู ไดม้ าตรฐานและถูกหลักอนามัย

ในปัจจุบัน จัดเป็นโรงงานผลิตเกลือบริสุทธิ์ที่ได้มาตรฐาน เป็นแห่งแรกในประเทศไทยและทันสมัย
ท่ีสดุ ในเอเชีย โดยมีกําลงั การผลติ สูงถงึ ปลี ะ 1,550,000 ตนั

เกลือ (SALT) เป็นสิ่งจําเป็นต่อสิ่งมีชีวิตที่มนุษย์รู้จักใช้มาต้ังแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และมีความ
เกยี่ วเนื่องกับประวัติการตง้ั ถน่ิ ฐานการสร้างอาณาจักรของหลายชนชาติ เกลือจึงเปน็ สินคา้ ยุทธปัจจัยมาตั้งแต่
สมยั โบราณ มนษุ ย์รจู้ ัการทาํ เกลอื ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ราว 10,000 ปี ก่อน คริสต์ศักราช ท้ังเกลือ
สนิ เธาว์ในแผน่ ดินและเกลือสมทุ รแถบชายทะเล

การผลิตเกลือสินเธาว์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการทํามานับพันปี จึงมีคํากล่าว่า “วัฒนธรรม
การทําเกลือสินเธาว์อยู่คู่กับภาคอีสานไทย” โดยช้ันเกลือหินจะเกิดจาการระเหยของนํ้าทะเล ในสมัยดึกดํา
บรรพ์ ครอบคลุมพื้นท่ีตลอดทัง้ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ หรืออีสานของประเทศไทย แบง่ ได้ 2 แอ่งใหญ่

1. แอ่งเหนือ เรียกว่า แอ่งสกลนคร คลุมพ้ืนท่ี จังหวัดอุดรธานี หนองคาย สกลนคร และนครพนม
เปน็ เนอ้ื ทีป่ ระมาณ 17,000 ตารางกิโลเมตร

2. แอ่งใต้ เรียกว่า แอ่งโคราช คลุมพื้นที่ จังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม กาฬสินธ์ุ ร้อยเอ็ด
ยโสธร อุบลราชธานี สุรินทร์ นครราชสีมา และบุรีรัมย์ เป็นเน้ือท่ีประมาณ 33,000 ตารางกิโลเมตร
ปริมาณสํารองเหลอื 2 แอ่ง รวม 18 ล้านลา้ นตัน

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 58

การนาเทคโนโลยมี าใช้ผลิตเกลือ

ในปี พ.ศ. 2523 บรษิ ทั ฯ เริ่มศึกษาโครงการการผลิตเกลือบริสุทธิ์จากเกลือหิน โดยใช้เทคโนโลยีท่ี
สะอาดและทันสมัยทส่ี ดุ จากยุโรป เพื่อพัฒนาการทําเหมืองเกลือหินภาคใต้ดิน (UNDER GROUND) และการ
เคี่ยวน้ําเกลือซ่ึงถือว่าเป็นภาคบนดิน (ABOVE GROUND) โดยมีเปูาหมายหลัก คือ “ได้คุณภาพ ปริมาณ
และไมม่ ปี ัญหากับสิ่งแวดล้อม”

บริษัทได้ใช้เงินลงทุนหลายร้อยล้านบาทกับความพยายามของเจ้าหน้าท่ีฝุายต่างๆ โดยการใช้
เทคโนโลยีท่ีทันสมัยภาคใต้ดิน คือการทําเหมืองละลาย (SOLUTION MINING) ซ่ึงสามารถกําหนดผลผลิต
ทศทาง รปู ร่าง ของโพรงเกลือได้อยา่ งถูกต้องและแมน่ ยาํ

สําหรับภาคบนดิน คือการเค่ียวน้ําเกลือซึ่งใช้ระบบการผลิตที่เรียกว่า MECHANICAL VAPOUR
RECOMPRESSION ซ่ึงเป็นระบบที่นําไอน้ําที่เกิดขึ้นจากการระเหยนํ้าเกลือ กลับมาใช้ใหม่ จึงทําให้ลด
ปรมิ าณการใชน้ ําและพลงั งานในการผลติ ผลผลิตทีไ่ ดเ้ ปน็ เกลอื ทมี่ ีคุณภาพดี ไมม่ ีผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม

ความรเู้ รือ่ งเกลอื บรสิ ทุ ธิ์

ชนดิ ของเกลอื ในประเทศไทย

เกลอื บริสทุ ธ์ิ

บรษิ ัท อุตสาหกรรมเกลอื บรสิ ุทธ์ิ จาํ กัด ซึ่งเป็นผู้ผลติ เกลอื บรสิ ุทธริ์ ายแรกท่ีใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย
และเอเชีย โรงงานตั้งอยู่ อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ใช้เทคโนโลยีการผลิตท่ีทันสมัย มีกําลังการผลิต
1,550,000 ตันตอ่ ปี ผลิตเกลอื บรสิ ทุ ธคิ์ ุณภาพสงู ขาว สะอาด บริสทุ ธิ์

เกลอื ทะเล

เกลือทะเลทํากันมากในบริเวณใกล้ทะเล เช่น จังหวัดสมุทรสาคร เพชรบุรี ฉะเชิงเทรา และชลบุรี
โดยมากจะทาํ นาเกลอื ปีละ 2 ครัง้ ในประเทศไทยมีอากาศแห้งแล้งติดต่อกันเป็นเวลาประมาณคร่ึงปี ดังนั้น
การทํานาเกลือจงึ เร่มิ ตง้ั แต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดอื นพฤษภาคม

การทาํ นาเกลือใช้หลัก “การระเหยและการตกผลึก” โดยการให้น้ําทะเลระเหยไปด้วยความร้อนจาก
แสงแดดจนเหลอื น้ําปริมาณนอ้ ยท่สี ดุ ซึ่งเมื่อถึงจดุ อมิ่ ตวั ของเกลือจะทาํ ให้เกลือเกดิ การตกผลึกออกมา

เกลอื สนิ เธาว์

ผลิตได้จากแหล่งน้ําเค็มลึกประมาณ 50 เมตร พบอยู่ตามพ้ืนดินแถบภาคอีสาน เช่น จังหวัดชัยภูมิ
มหาสารคาม ยโสธร อบุ ลราชธานี และอุดรธานี สกลนคร

เกลือบริสทุ ธิ์ คอื อะไร

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ ส่ยู ุค ๔.๐ 59

ผลิตภัณฑ์ท่ีประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์เป็นส่วนสําคัญ เหมาะสําหรับใช้บริโภคและการผลิตใน
อุตสาหกรรม มีลักษณะเป็นผงหรือผลึกละเอียดสีขาวได้จากเกลือหินใต้ดิน หรือจากน้ําเกลือธรรมชาติและ
ผา่ นกรรมวิธที าํ ให้บรสิ ุทธ์ิ
กระบวนการทาให้เกลอื บริสุทธิ์

เร่มิ ต้ังแต่การเตรยี มน้าํ เกลือดบิ เมื่อดดู นาํ้ เกลอื มาจากใต้ดินแล้วจะนําน้ําเกลือดิบมาที่บ่อพัก เพื่อให้
สิ่งปลอมปนและโลหะหนักซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกายตกตะกอนสู่ก้นบ่อ จนได้น้ําเกลือดิบท่ีบริสุทธ์ิ จึงผ่าน
กระบวนการเคยี่ วเกลอื และสะบดั น้ําออก
คุณลักษณะของเกลือบริสทุ ธ์ิ

ต้องเป็นเกลือท่ีมีเปอร์เซ็นต์ของโซเดียมคลอไรด์ ไม่น้อยกว่า 97% (บนมาตรฐานแห้ง) และเป็นผง
หรอื ผลึกละเอยี ด สีขาว ปราศจากสิง่ แปลกปลอมที่มองเห็นได้ และบรรจุในภาชนะที่สะอาดแข็งแรง ทนทาน
ปิดสนทิ และกนั ความชนื้ ได้
ขอ้ ดขี องเกลือบรสิ ทุ ธ์ิ

มีเม็ดเกลือท่ีขาว สะอาด ปราศจากสิ่งปลอมปน ความชื้นตํ่า ทําให้ม่ันใจในการนําไปใช้งานท้ังด้าน
อุตสาหกรรมและการบริโภคในครวั เรอื น
เกลือบริสุทธอิ์ ยใู่ กล้ตัวคุณ

เป็นท่ีต้องการของโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรรมห้อง
เย็น อตุ สาหกรรมซอสซอี วิ๊ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ระบบนํา้ ในโรงงานและอ่นื ๆ อกี มากมาย

นอกจากน้ียังพบว่าผลิตภัณฑ์ท่ีอยู่ใกล้ตัวเราหลายๆ ชนิด มีส่วนประกอบของเกลือบริสุทธ์ิอย่างท่ี
เราคาดไมถ่ ึง เชน่ นํา้ ยาล้างจาน แชมพู เปน็ ต้น
ประโยชน์ของเกลือบริสทุ ธ์ิ

มนุษย์
- มนุษย์บริโภคเกลือทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การหมักปลา, ซีอิ๊ว, นํ้าปลา, การปรุง

อาหาร เป็นตน้
- เกลือมีความสําคญั ต่อรา่ งกายมนุษยเ์ ปน็ อย่างย่ิง

สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 60

- หากมนุษย์ได้รับเกลือเสริมไอโอดีนไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย จะทําให้เกิด
อาการคอพอก โรคเอ๋อ และทําให้ระดับสติปัญญา (IQ) พัฒนาต่ํากว่าปกติ และมีพัฒนาการทางร่างกายตํ่า
กว่าเกณฑ์

สตั ว์
- เกลอื มคี วามสาํ คญั มากกบั สตั ว์เช่นเดยี วกบั มนุษย์
- สัตว์กินพืช ได้รับเกลือจากการกินโปุง เช่น ช้าง ช้างปุา เก้ง กวางปุา วัวแดง กระทิง เลียงผา หมู
ปาุ เปน็ ตน้
- ใชใ้ นกระบวนการดํารงชวี ิต ตลอดจนการเจรญิ เติบโตและการสบื พันธุ์

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 61

การผลติ เกลอื ในประเทศไทย
ผบู้ ริโภคโดยสว่ นใหญ่ใกลแ้ ถบชายทะเลยังมีความเข้าใจว่าเกลือทผี่ ลิตในประเทศไทยมีเพียง 2 ชนิด

คือ

เกลือทะเล ผลติ จากนํ้าทะเล ในแถบจงั หวดั สมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม เพชรบุรี

เกลอื สนิ เธาว์ ผลติ จากน้าํ เค็มใต้ดิน ในแถบจงั หวัดในภาคอีสานตอนบน เช่น อุดรธานี และ สกลนคร

ซึ่งมีวิธีการผลิตโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยการดึงนํ้าเค็มมาตากบนนาเกลือและใช้ความร้อนจาก
แสงอาทติ ยเ์ พ่อื ให้เกลอื ตกผลึกเปน็ เม็ดเกลอื โดยไมม่ กี ระบวนการท่ีทําให้เกลือสะอาดก่อนจัดจําหน่าย จึงทํา
ให้เกลือท้ังสองชนิดน้ี พบสิ่งปลอมปนและมีความช้ืนสูง ซ่ึงไม่เหมาะสําหรับการนําไปผลิตในอุตสาหกรรม
อาหารทเ่ี น้นเกลือที่สะอาด คณุ ภาพสงู

เกลอื บริสทุ ธิ์

ด้วยเหตุนี้จึงเป็นจุดเร่ิมต้นให้บริษัทริเร่ิมพัฒนาการผลิตเกลือบริสุทธ์ิข้ึน เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้าท่ีต้องการเกลือที่ขาวสะอาด โดยในปี 2531 บริษัทฯ ได้ต้ังโรงงานเพื่อผลิตเกลือบริสุทธิ์
เป็นรายแรกในประเทศไทย โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตท่ีมีกระบวนการทําให้เกลือขาว สะอาด ดึงเอาสิ่ง
ปลอมปนและโลหะหนักออก เพื่อใหไ้ ดเ้ กลอื บริสุทธ์ิที่เหมาะสมสาํ หรับการใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ ท่ีเน้นด้าน
คณุ ภาพ

ความแตกตา่ งระหว่างการผลติ เกลือบริสุทธ์ิกับเกลือทวั่ ไป

เกลือบริสุทธิ์ เกลือทะเล / เกลอื สินเธาว์

เทคโนโลยกี ารผลิตท่ีทันสมยั จากยโุ รป ผลิตแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น
ขาว สะอาด ปราศจากส่ิงปลอมปน มีส่งิ ปลอมปน ดิน กรวด ทราย ในนาเกลอื
เมด็ ร่วนละเอยี ดสมา่ํ เสมอ เมด็ หยาบ ใหญ่ เลก็ ไมเ่ ทา่ กนั
มีความชนื้ ต่ําไมเ่ กิน 2% มีความชื้นสงู 8- 10%
สามารถผลติ ได้ท้งั ปี ผลติ ได้แคช่ ่วงเดอื นมกราคมถึงเมษายนของทุกปี
ราคาคงท่ีแนน่ อน สามารถควบคมุ ตน้ ทุนการผลิตไดง้ า่ ย ราคาขน้ึ ลง ผนั ผวนตามฤดกู าลผลิต
ปริมาณไอโอดนี ไดม้ าตรฐาน ค่าไอโอดนี เปล่ียนแปลง เกลอื มีความชนื้ สงู ทําให้ค่าไอโอดีนไม่คงท่ี
น้อยเพราะความชืน้ ต่าํ และใช้หวั สเปรยไ์ อโอดีนที่ เปลยี่ นแปลงงา่ ย

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 62

ควบคมุ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ - ทําใหเ้ กดิ ดินทรดุ ถลม่ กระทบตอ่ ชุมชนและ
รกั ษาส่ิงแวดล้อม ส่ิงแวดล้อม
- การตม้ เกลือจากแกลบทําให้เกิดมลพิษทางอากาศ

ข้ันตอนการผลิตเกลือ

การทําเหมืองละลาย (SOLUTION MINING) เป็นการผลิตน้ําเกลือโดยอัดนํ้าเจือลงไปเพ่ือละลาย
เกลือหินในชั้นเกลือ (LEACHING) นํ้าเกลือที่เกิดจากการละลายจะถูกแรงดันย้อนขึ้นมาถึงปากบ่อ น้ําเกลือ
สว่ นหน่ึงจะขังอยใู่ นโพรงนา้ํ เกลือท่ีเกิดขึ้นเพราะเกลือถูกละลายไป โพรงน้ีจะมีขนาดใหญ่มากขึ้นตามปริมาณ
ของเกลอื ทถ่ี กู ละลาย การผลติ นํา้ เกลอื จะถูกวางแผนคํานวณไว้ล่วงหน้า เมื่อโพรงเกลือถูกละลายจนถึงขนาด
ท่อี อกแบบไว้แล้ว ก็จะหยุดการละลายเพ่ือปูองกันโพรงขนาดใหญ่เกินท่ีจะรับนํ้าหนักของดินที่อยู่เหนือโพรง
ได้และไม่ทําให้เกิดการทรุดตัวของดินชั้นบน การควบคุมรูปร่างของโพรงจะต้องควบคุมตลอดเวลาและใช้
เทคนิคท่ีเรียกว่า LEACHING BY BLANKET CONTROL เพ่ือให้ได้ขนาด รูปร่างของโพรงตามที่ออกแบบไว้
และปูองกันการเชอ่ื มต่อระหวา่ งโพรง ซง่ึ จะทาํ ใหโ้ พรงแข็งแรง ไม่เกดิ การยุบตัวลงตลอดไป

การทําน้ําเกลือให้บริสุทธ์ิ (BRINE PURIFICATION) น้ําเกลือดิบท่ีสีส่ิงเจือปนติดมา เช่น แคลเซียม
แมกนีเซียม ซัลเฟต จะถูกกํากัดออกด้วยการเติมสารเคมีในถังนํ้าปฏิกิริยา และตกตะกอนสิ่งเจือปนออก
นํา้ เกลอื ท่ไี ดจ้ ะเปน็ นา้ํ เกลือบริษทั บริสทุ ธ์ซิ ง่ึ จะถูกสง่ ไปยังหม้อตอ่ ไป

การเค่ียวเกลือ (EVAPORATION) น้ําเกลือบริสุทธิ์จะถูกทําให้ร้อนโดยผ่านเคร่ืองแลกเปล่ียนความ
ร้อนนาํ้ เกลือที่ร้อนข้ึนจนเกอื บเดือดจะผา่ นเข้าสู่หม้อเค่ียวทางท่อหมุนเวียนของหม้อเคี่ยว ซ่ึงติดอยู่กับเครื่อง
แลกเปลย่ี น ความร้อนตัวใหญ่ (STEAM CHEST) น้าํ เกลือเมอื่ ได้รบั ความร้อนจากไอน้ําผ่านเคร่ืองแลกเปล่ียน
ความรอ้ นตวั ใหญ่ จะเดือดและระเหย ไอนาํ้ ในหมอ้ เคี่ยว ทาํ ใหน้ า้ํ เกลอื มีความเข้มข้นมากข้ึนเกิดผลึกเป็นเม็ด
เกลอื ไหลลงสู่ดา้ นล่าง หมอ้ เค่ียว ผา่ นไปสู่เครอื่ งสะบดั แหง้ จะไดเ้ กลือไหลลงสู่สายพานลําเลียงเกลือ ลําเลียง
ไปเกบ็ ไวใ้ นโกดงั (โรงเกบ็ เกลอื ) เพอ่ื รอการขนสง่ ไปยังผใู้ ชง้ าน

ผลิตภัณฑเ์ กลือ (PRODUCT) เกลือบรสิ ทุ ธ์ทิ ่ผี ลิตได้ จะแบ่งออกเป็น 2 ชนดิ ดงั น้ี

เกลอื อตุ สาหกรรม มคี วามบริสุทธิ์ 99.9% และมคี วามชื้อ ไม่เกิน 2.5% โดยนํ้าหนัก ซ่ึงจะเก็บไว้
ภายในโกดงั เก็บเพ่อื รอการขนส่ง นําไปเป็นวัตถุดินในการผลิตโซดาไฟ คลอรีน อุตสาหกรรมอาหารและอ่ืนๆ
เกลือบริโภค ซึ่งเปน็ เกลือทีใ่ ชป้ ระกอบอาหาร มีความบริสทุ ธิ์มากกว่า 99.9% และมคี วามชือ้ ไมเ่ กิน 0.15%
โดยน้ําหนัก โดยลําเลียงเกลือเข้าสู่เครื่องเติมไอไอดีน ผ่านเข้าเคร่ืองอบแห้ง เพ่ือระเหยเอาน้ําส่วนเกินออก

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐ 63

เกลือที่ผ่านการอบแห้งจะถูกเก็บไว้ในไซโล บริษัทอุตสาหกรรมเกลือบริสุทธ์ิจํากัด เพ่ือบรรจุและจําหน่ายใน
นามของบริษทั อุตสาหกรรมเกลอื บรสิ ทุ ธ์ิ จาํ กัด
การดแู ลควบคุมการผลิต

การควบคมุ การละลายเกลอื หินและการผลติ เกลือบรสิ ุทธิ์ จะใชเ้ ทคโนโลยีทที่ ันสมยั และบุคลากรท่ีมี
ประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ไร้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและได้คุณภาพมาตรฐาน ซึ่งบริษัทได้รับกา
รบั รอง ISO 9001, ISO 14001, OHSAS/TIS 18001, ISO/IEC 17025, GMP, HACCP, Halal
การควบคมุ เพอื่ ลดผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม

- การปลูกต้นไม้ชนิดต่าง ๆรอบพื้นที่ตามแผนฟ้ืนฟูท่ีทางสํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
เหน็ ชอบแลว้

- การตรวจสอบคณุ ภาพนา้ํ ผวิ ดินและดินรอบเขตพนื้ ทป่ี ระทานบตั ร ทกุ 2 เดอื น
- การตรวจสอบโพรงเกลือ โดยวธิ ี SONAR SURVEY โดยผ้เู ช่ยี วชาญชาวเยอรมัน ทกุ 2 ปี
- การสร้างหมุดตรวจสอบระดับ เพื่อตรวจสอบการทรุดตัว โดยเจ้าหน้าท่ีกรมทรัพยากรธรณี ทุก 6
เดือน รอบเขตพื้นท่ปี ระทานบัตร

สรุปผลแบบทดสอบความรู้ก่อน – หลงั
โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.5 สู่ยุค 4.0
ณ หอประชุมประชาบดี สานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5
และบริษทั เกลือพิมาย จากดั อาเภอพมิ าย จังหวดั นครราชสีมา

แบบทดสอบกอ่ น – หลัง เข้าร่วมกจิ กรรม มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เป็นการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรอยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง เพื่อใหบ้ คุ ลากรสามารถปฏิบัติงานได้อยา่ งมีประสิทธิผลสงู ข้นึ เพ่อื ให้บุคลากรสามารถนาํ ความรูท้ ี่
ได้รบั ไปปรบั ใช้ในการทํางานซงึ่ จะสง่ ผลดตี อ่ องคก์ รผูร้ ับบริการ

ผู้ทาํ แบบทดสอบก่อนเข้าร่วมกิจกรรม จํานวน 23 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 ของจํานวนผเู้ ขา้ รว่ ม
กจิ กรรมท้ังหมด และผูท้ ําแบบทดสอบหลงั เข้าร่วมโครงการ จาํ นวน 23 คน ทําการทดสอบแบบสอบถาม
จํานวน ๓0 ขอ้ ซงึ่ คะแนนทดสอบสามารถสรปุ ได้ดังน้ี

แบบทดสอบก่อนเข้าร่วมกิจกรรม คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมไดค้ ะแนนสงู สดุ
๒๘ คะแนนและคะแนนตาํ่ สดุ 10 คะแนน

สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 64

แบบทดสอบหลงั เขา้ ร่วมกิจกรรม คะแนนเต็ม 30 คะแนน ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมไดค้ ะแนนสูงสดุ
30 คะแนน และคะแนนตํ่าสุด 18 คะแนน

ดงั น้นั เมือ่ ทําการทดสอบผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมท้ังก่อนและหลัง ทําให้ทราบวา่ กลุ่มเปูาหมายมคี วามรู้
ความเขา้ ใจด้านจติ อาสา การบรกิ ารทดี่ ีและการทาํ งานเป็นทีม รวมถงึ ระเบยี บเบกิ จา่ ยการเดนิ ทางไปราชการ
การจัดฝกึ อบรม

ตารางแสดงรายละเอียดของคะแนนการทดสอบก่อน – หลงั เขา้ ร่วมโครงการ

แบบทดสอบกอ่ น (Pre-test) แบบทดสอบหลัง (Post-test)

จานวนผ้เู ขา้ ร่วม จานวนผูเ้ ขา้ รว่ ม

คะแนนท่ีได้ กิจกรรม ร้อยละ คะแนนที่ได้ กิจกรรม ร้อยละ

ท่ไี ด้คะแนน (คน) ที่ไดค้ ะแนน (คน)

10 1 4.00 18 2 8.00

11 1 4.00 20 2 8.00

17 1 4.00 24 2 8.00

19 3 12.00 26 3 12.00

20 1 4.00 28 8 32.00

21 1 4.00 30 8 32.00

22 4 16.00

แบบทดสอบก่อน (Pre-test) แบบทดสอบหลัง (Post-test)

จานวนผเู้ ขา้ รว่ ม จานวนผ้เู ขา้ ร่วม

คะแนนท่ไี ด้ กิจกรรม ร้อยละ คะแนนทไ่ี ด้ กิจกรรม ร้อยละ

ทีไ่ ดค้ ะแนน (คน) ท่ไี ด้คะแนน (คน)

23 2 8.00

24 4 16.00

26 2 8.00

27 3 12.00

28 2 8.00

รวม 25 คน 100 รวม 25 คน 100

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 65

สรุปภาพรวมประมวลผลความพงึ พอใจและความไมพ่ ึงพอใจ
โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.5 สู่ยคุ 4.0

ณ หอประชุมประชาบดี สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5
และบรษิ ทั เกลือพิมาย จากัด อาเภอพิมาย จงั หวัดนครราชสมี า

การประมวลผลความพึงพอใจของกลุ่มเปูาหมายต่อการดําเนินโครงการพัฒนาบุคลากร สสว.5
สู่ยุค 4.0 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ซึ่งสามารถสรุป
การประมวลผลออกเปน็ 3 สว่ น ดังนี้
สว่ นที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

1.1 กลุ่มเปาู หมายส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 69.6 และเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ
30.4

1.2 กลุ่มเปาู หมายสว่ นใหญ่เป็นพนกั งานราชการ คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.5 เปน็ ขา้ ราชการคดิ เป็นรอ้ ย
ละ 34.8 และเป็นพนกั งานจ้างเหมา ร้อยละ 21.7

1.3 กลมุ่ เปาู หมายสว่ นใหญ่มกี ารศึกษาในระดับปริญญาตรี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 65.2 รองลงมาใน
ระดับตา่ํ กว่าปริญญาตรี คิดเปน็ รอ้ ยละ 21.7 และสูงกว่าปรญิ ญาตรี คดิ เปน็ ร้อยละ 13.0

1.4 กล่มุ เปูาหมายส่วนใหญม่ อี ายุระหวา่ ง 41-50 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 43.5 รองลงมาอายุระหวา่ ง
31-40 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 30.4 และมีอายุ ระหว่าง 20-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.4
สว่ นที่ 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการ

2.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ ดงั น้ี
ก่อนการอบรม ค่าเฉลย่ี เท่ากับ 3.26 หรอื คดิ เป็นร้อยละ 65.20
หลังการอบรม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.39 หรือคิดเปน็ ร้อยละ 87.8

2.2 ด้านความพงึ พอใจของผรู้ ่วมอบรม
1) ความเหมาะสมของระยะเวลาที่จดั ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.22 หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 84.4
2) ความเหมาะสมของสถานทจ่ี ัดอบรม คา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 4.43 หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 88.6

สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ ส่ยู คุ ๔.๐ 66

3) ความพร้อมของอปุ กรณโ์ สตทัศนูปกรณ์ในการอบรม ค่าเฉลีย่ เทา่ กบั 4.39 หรอื คดิ เปน็
ร้อยละ 87.8

4) หวั ข้อการอบรม
4.1) หวั ขอ้ การอบรมมีความน่าสนใจ คา่ เฉล่ยี เท่ากบั 4.39 หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 87.8
4.2) หวั ข้อตรงกบั ความต้องการ/เหมาะสมกับผรู้ ับการอบรม ค่าเฉลีย่ เท่ากบั 4.26 หรอื

คิดเป็นรอ้ ยละ 85.2
4.3) หัวขอ้ มีประโยชน์ นาํ ไปใชไ้ ด้ ค่าเฉลยี่ เทา่ กบั 4.43 หรือคดิ เป็นร้อยละ 88.6

5) ความเหมาะสมของวทิ ยากรกับหัวข้อการอบรม
5.1) ความรู้ ความเชย่ี วชาญของวทิ ยากร เหมาะสมกับหวั ข้อการอบรม ค่าเฉลย่ี เทา่ กับ

4.52 หรือคดิ เป็นร้อยละ 90.4
5.2) การบรรยายของวทิ ยากรตรงประเดน็ ชดั เจน เข้าใจง่าย คา่ เฉลีย่ เท่ากับ 4.52 หรอื

คดิ เป็นร้อยละ 90.4
5.3) เปดิ โอกาสให้ซกั ถาม ตอบข้อซักถามไดช้ ดั เจน ค่าเฉลีย่ เท่ากบั 4.48 หรอื คดิ เปน็

รอ้ ยละ 89.6
2.3 ดา้ นการอํานวยความสะดวก
1) เอกสาร คา่ เฉลี่ยเทา่ กบั 4.17 หรือคิดเป็นร้อยละ 83.4
2) โสตทัศนปู กรณ์ ค่าเฉล่ียเทา่ กับ 4.22 หรือคดิ เป็นร้อยละ 84.4
3) เจา้ หนา้ ทีส่ นบั สนนุ ค่าเฉลีย่ เทา่ กบั 4.57 หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 91.4
4) อาหาร เครือ่ งด่มื และสถานที่ ค่าเฉลยี่ เท่ากบั 4.65 หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 93
2.4 ดา้ นผลท่ีไดร้ ับและการนําไปใช้
1) ผลทไี่ ด้รบั ตรงตามวตั ถุประสงคก์ ารอบรม สามารถนาํ ไปใชไ้ ด้ ค่าเฉลีย่ เทา่ กับ 4.43 หรอื

คดิ เป็นร้อยละ 88.6
2) สง่ิ ทไ่ี ด้รับเกดิ ประโยชน์ สามารถนาํ ไปประยุกตใ์ ช้ได้ ค่าเฉล่ยี เท่ากับ 4.39 หรือคิดเป็น

รอ้ ยละ 87.8
2.5 ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ ค่าเฉล่ียเทา่ กับ 4.35 หรือคิดเป็นร้อยละ 87

สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐ 67

สว่ นที่ 3 ข้อเสนอแนะ
3.1 สง่ิ ที่ทา่ นพงึ พอใจในการเข้ารว่ มโครงการ
กลุ่มเปูาหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพ เนื่องจากเป็นการ

พัฒนาความรู้ในการปฏิบัติงานและสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติงานประจําได้จริง และเกิด
ประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงวิทยากรในการบรรยายเป็นผู้มีความรู้ ความเช่ียวชาญในแต่ละเรื่อง ทําให้ผู้เข้า
รบั การอบรมไดค้ วามรอู้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพของตนเอง

3.2 ส่ิงทีค่ วรเสนอแนะนําไปพัฒนาการจดั โครงการในโอกาสตอ่ ไป
1) กลุ่มเปูาหมายตอ้ งการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง การจัดซื้อจัดจ้าง ระเบียบการเบิก

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม รวมถึงสิทธิค่ารักษาพยาบาลและ
การศกึ ษาบุตร ตลอดจนสามารถนาํ ไปใช้ได้อย่างเหมาะสมพร้อมท้ังการแลกเปลี่ยนความรู้ในการปฏิบัติงานที่
เกย่ี วข้องจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงจะสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการส่งผลให้บุคลากรของสํานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 5 เกิดความเข้าใจในการปฏิบัติงานและสามารถสนับสนุนการขับเคลื่อนภารกิจของ
สํานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป

2) กล่มุ เปูาหมายต้องการให้มีการจัดโครงการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเน่ือง ซึ่งการจัดฝึกอบรม
อย่างต่อเนื่องยังเป็นการสร้างกําลังใจและทัศนคติที่ดีในการทํางาน อีกท้ังยังเป็นการเพิ่มทักษะในหน้าท่ีการ
งาน เนื่องจากการฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตรจะสร้างความรู้ความชํานาญทางวิชาการแก่บุคลากรขององค์กร
รวมถงึ ชว่ ยใหบ้ คุ ลากรขององคก์ รรสู้ กึ ผ่อนคลายจากสภาวะตงึ เครยี ดที่เกดิ จากการทํางาน นอกจากน้ียังแสดง
ใหเ้ ห็นวา่ องคก์ รมคี วามใสใ่ จและพร้อมส่งเสริมบุคลากรให้มีความก้าวหน้าในอาชีพการงาน ซึ่งทําให้บุคลากร
มีกาํ ลงั ใจท่จี ะทํางานใหด้ ีมีประสทิ ธภิ าพเพ่ือองคก์ รมากข้ึน

สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ ส่ยู ุค ๔.๐ 68

ตารางแสดงรายการประเมนิ ความพงึ พอใจต่อการดาเนนิ งาน
โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.5 สู่ยุค 4.0

ณ หอประชมุ ประชาบดี สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5
และบรษิ ทั เกลือพิมาย อาเภอพิมาย จงั หวัดนครราชสีมา

รายการประเมิน ค่าเฉลย่ี แปร
ความพึงพอใจ ความหมาย
ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ
ความรเู้ กี่ยวกบั หวั ข้อการอบรม กอ่ นการอบรม 3.26 ปานกลาง
ความร้เู กีย่ วกบั หัวข้อการอบรม หลังการอบรม 4.39 มาก
3.83 มาก
เฉลีย่
ดา้ นความพึงพอใจของผเู้ ขา้ ร่วมอบรม 4.22 มาก
1. ความเหมาะสมของระยะเวลาทจ่ี ดั 4.43 มาก
2. ความเหมาะสมของสถานทีจ่ ัดอบรม 4.39 มาก
3. ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนปู กรณ์ในการอบรม
4. หัวขอ้ การอบรม 4.39 มาก
4.26 มาก
4.1) หวั ขอ้ การอบรมมีความนา่ สนใจ 4.43 มาก
4.2) หวั ข้อตรงกบั ความต้องการ/เหมาะสมกับผู้รบั การอบรม
4.3) หวั ข้อมีประโยชน์ นําไปใช้ได้ 4.53 มากท่สี ุด
5. ความเหมาะสมของวทิ ยากรกับหัวข้อการอบรม
5.1) มคี วามรู้ ความเชย่ี วชาญของวิทยากร เหมาะสมกบั หวั ขอ้ การ 4.52 มากทีส่ ดุ
อบรม 4.48 มาก
5.2) การบรรยายของวิทยากรตรงประเดน็ ชดั เจน เข้าใจงา่ ย 4.41 มาก
5.3) เปิดโอกาสใหซ้ กั ถาม ตอบข้อซักถามไดช้ ดั เจน
4.17 มาก
เฉลย่ี 4.22 มาก
ด้านการอานวยความสะดวก 4.57 มากที่สุด
1. เอกสาร 4.65 มากที่สดุ
2. โสตทศั นูปกรณ์ 4.41 มาก
3. เจ้าหนา้ ทีส่ นบั สนนุ
4. อาหาร, เครอื่ งด่ืมและสถานที่ 4.43 มาก
4.39 มาก
เฉลี่ย 4.41 มาก
ด้านผลท่ีไดร้ ับและการนาไปใช้ 4.35 มาก
1. ผลท่ไี ด้รับตรงตามวัตถปุ ระสงคก์ ารอบรม สามารถนําไปใชไ้ ด้
2. ส่ิงทไี่ ดร้ บั เกดิ ประโยชน์ สามารถนําไปประยุกต์ใชไ้ ด้

เฉลีย่
ความพงึ พอใจของท่านตอ่ ภาพรวมของโครงการ

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐ 69

รายละเอยี ดประเมินผลการดาเนินงาน
โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากร สสว.5 สู่ยคุ 4.0
ณ หอประชมุ ประชาบดี สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5
และบริษทั เกลือพิมาย จากดั อาเภอพมิ าย จังหวัดนครราชสีมา

จากการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.5 สู่ยุค 4.0 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
สําหรับบุคลากรสํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 ประกอบด้วย ข้าราชกรและพนักงานราชการ
ระหว่างวันที่ 12 – 14 กุมภาพันธ์ 2563 มีข้าราชการ พนักงานราชการ และพนักงานจ้างเหมา
กลมุ่ เปูาหมายจาํ นวน 17 คน

การประเมินผลการจัดโครงการ ประเมินจากข้าราชการ พนักงานราชการ และพนักงานจ้างเหมา
สาํ นกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 ท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม โดยใช้แบบสอบถามซ่ึงแบบสอบถามท่ีใช้ในการ
ประเมิน แบง่ ข้อมลู ในการเกบ็ รวบรวมออกเป็น 3 สว่ น ได้แก่

สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป ได้แก่ เพศ ประเภทเจ้าหนา้ ท่ีในหน่วยราชการ วุฒิการศึกษา อายุ
ส่วนที่ 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการ แบง่ ออกเป็น 4 ดา้ น ได้แก่

2.1 ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ
1) ความรเู้ กยี่ วกบั หวั ขอ้ การอบรม ก่อนการอบรม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.26 หรือคิดเป็น

รอ้ ยละ 65.20
2) ความรู้เก่ยี วกับหวั ข้อการอบรม หลังการอบรม ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.39 หรือคิดเป็น

ร้อยละ 87.80
2.2 ด้านความพงึ พอใจของผู้เขา้ รว่ มอบรม
1) ความเหมาะสมของระยะเวลาที่จัด คา่ เฉล่ียเท่ากับ 4.21 หรอื คิดเป็นร้อยละ

84.20
2) ความเหมาะสมของสถานทีจ่ ัดอบรม คา่ เฉล่ียเทา่ กับ 4.43 หรือคดิ เปน็ รอ้ ยละ

88.60
3) ความพร้อมของอปุ กรณโ์ สตทศั นปู กรณ์ในการอบรม ค่าเฉล่ยี เท่ากับ 4.39 หรอื

คดิ เป็นร้อยละ 87.80
4) หัวข้อการอบรม
4.1) หวั ข้อการอบรมมีความน่าสนใจ คา่ เฉลีย่ เทา่ กับ 4.39 หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ

87.80
4.2) หวั ข้อตรงกบั ความต้องการ/เหมาะสมกับผรู้ ับการอบรม คา่ เฉล่ียเท่ากบั

4.26 หรอื คิดเป็นร้อยละ 85.20
4.3) หวั ข้อมปี ระโยชน์ นําไปใช้ได้ คา่ เฉล่ียเท่ากับ 4.43 หรอื คดิ เป็นร้อยละ

88.60
5) ความเหมาะสมของวิทยากรกับหวั ข้อการอบรม
5.1) ความรู้ ความเชยี่ วชาญของวิทยากร เหมาะสมกับหัวขอ้ การอบรม คา่ เฉล่ีย

เท่ากบั 4.52 หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.40
5.2) การบรรยายของวิทยากรตรงประเด็น ชดั เจน เข้าใจง่าย ค่าเฉลย่ี เท่ากับ

4.52 หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.40

สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐ 70

5.3) เปิดโอกาสใหซ้ ักถาม ตอบข้อซักถามได้ชัดเจน คา่ เฉลีย่ เท่ากับ 4.47 หรือ
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 89.40

2.3 ด้านการอํานวยความสะดวก
1) เอกสาร ค่าเฉล่ยี เท่ากบั 4.17 หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 83.40
2) โสตทศั นูปกรณ์ ค่าเฉลยี่ เทา่ กบั 4.21 หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 84.20
3) เจ้าหน้าท่สี นับสนนุ ค่าเฉลย่ี เท่ากับ 4.56 หรือคดิ เป็นร้อยละ 91.20
4) อาหาร เคร่ืองดืม่ และสถานท่ี ค่าเฉล่ียเทา่ กบั 4.65 หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 93.00

2.4 ดา้ นผลทไ่ี ดร้ ับและการนาํ ไปใช้
1) ผลท่ไี ดร้ บั ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์การอบรม สามารถนาํ ไปใชไ้ ด้ คา่ เฉลย่ี เทา่ กบั

4.43 หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 88.60
2) สงิ่ ท่ีได้รับเกิดประโยชน์ สามารถนําไปประยกุ ตใ์ ช้ได้ ค่าเฉลี่ยเทา่ กับ 4.39 หรอื

คดิ เป็นรอ้ ยละ 87.80
2.5 ความพงึ พอใจของท่านตอ่ ภาพรวมของโครงการ คา่ เฉลี่ยเทา่ กับ 4.34 หรือคดิ เป็น

ร้อยละ 86.80
สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ (คําถามปลายเปดิ )
3.1 สง่ิ ท่ีท่านพงึ พอใจในการเขา้ รว่ มโครงการ
3.2 สง่ิ ทีค่ วรเสนอแนะนาํ ไปพัฒนาการจดั โครงการในโอกาสตอ่ ไป
การเก็บรวบรวมข้อมูล
เกบ็ รวบรวมข้อมูลจากกล่มุ เปูาหมายทเี่ ข้ารว่ มโครงการ จาํ นวน 25 คน รายละเอยี ด ดงั น้ี
1) วนั ที่ 12 กมุ ภาพันธ์ 2563 กลุม่ เปาู หมายทุกคนเข้าร่วมโครงการ (25 คน)

ณ หอประชมุ ประชาบดี สํานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 5 อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
2) วันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 2563 กลุ่มเปูาหมายทุกคนเข้าร่วมโครงการ (25 คน)

ณ หอประชุมประชาบดี สาํ นักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 5 อําเภอพมิ าย จังหวดั นครราชสมี า
3) วนั ท่ี 14 กมุ ภาพันธ์ 2563 กล่มุ เปูาหมายทุกคนเขา้ ร่วมโครงการ (23 คน)

ณ บรษิ ัทเกลือพิมาย จาํ กดั อําเภอพมิ าย จงั หวดั นครราชสีมา
โดยแจกแบบทดสอบก่อนการอบรม ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 ณ หอประชุม

ประชาบดี สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา จํานวน 25 ชุด
ได้รับแบบทดสอบกลับคืนมาจํานวน 25 ชุด แจกแบบทดสอบหลังการอบรมและแบบสอบถาม จํานวน
25 ชดุ ไดร้ ับแบบจํานวน 25 ชุด แจกแบบประเมินความพึงพอใจ จํานวน 25 ชุด ได้รับแบบประเมินความ
พึงพอใจ จาํ นวน 23 ชดุ เน่ืองจากบุคลากรจํานวน 2 คน ติดภารกจิ เร่งด่วน

วเิ คราะห์ข้อมูล
นาํ แบบสอบถามท่ีได้รบั มาตรวจสอบความถูกต้องแลว้ นํามาวเิ คราะห์ ดังน้ี
- วเิ คราะหโ์ ดยใช้โปรแกรมสาํ เร็จรูป SPSS for Windows
- ขอ้ มลู ท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยใช้สถิติแบบแจกแจงความถ่ี

(Frequency) และร้อยละ (Percentage)
- วิเคราะหค์ า่ เฉลีย่ (Mean) สําหรับแปลความหมายคะแนนเฉลีย่ ของแบบสอบถามรายข้อ

ดําเนินการโดยประเมินระดับคะแนนซ่ึงใชเ้ กณฑด์ ังน้ี
4.51-5.00 หมายถึง ระดับมากทสี่ ุด

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ คุ ๔.๐ 71

3.51-4.50 หมายถึง ระดับมาก
2.51-3.50 หมายถึง ระดบั ปานกลาง
1.51-2.50 หมายถึง ระดบั นอ้ ย
1.00-1.50 หมายถงึ ระดับนอ้ ยท่ีสดุ
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ ประเภทของ ระดบั การศึกษา อายุ
ตารางที่ 1.1 แสดงจาํ นวนและร้อยละของกล่มุ ตัวอยา่ งจําแนกตามเพศ

เพศ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานจา้ งเหมา ของสานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5

จานวน รอ้ ยละ

ชาย 7 30.44

หญิง 16 69.57

รวม 23 100

จากตารางท่ี 1.1 พบวา่ ผู้เขา้ ร่วมโครงการพัฒนาบุคลากร สสว.5 สยู่ ุค 4.0 ส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญงิ คิดเป็น
ร้อยละ 69.57 และเพศชาย คิดเป็นรอ้ ยละ 30.44

ตารางที่ 1.2 แสดงจาํ นวนและร้อยละของกลมุ่ ตวั อย่างจําแนกตามประเภทเจา้ หนา้ ทใี่ นหน่วยงานราชการ

ประเภทเจ้าหนา้ ท่ใี นหน่วยงาน จานวน ร้อยละ
ข้าราชการ 8 34.8
พนกั งานราชการ 10 43.5
พนักงานจา้ งเหมา 5 21.7
23 100
รวม

จากตารางท่ี 1.2 พบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการพฒั นาบุคลากร สสว.5 สู่ยคุ 4.0 ส่วนใหญ่เปน็ พนกั งานราชการ
คิดเป็นร้อยละ 43.5 รองลงมาเปน็ ข้าราชการ คิดเป็นรอ้ ยละ 34.8 และพนกั งานจ้างเหมา คิดเปน็ ร้อยละ
21.7

ตารางที่ 1.3 แสดงจํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอยา่ งจําแนกตามวุฒกิ ารศึกษา

ประเภทเจา้ หนา้ ท่ใี นหนว่ ยงาน จานวน รอ้ ยละ
ตา่ํ กวา่ ปรญิ ญาตรี 5 21.7
ปรญิ ญาตรี 15 65.2
สงู กว่าปรญิ ญาตรี 3 13.0
23 100
รวม

จากตารางท่ี 1.3 พบว่าผเู้ ขา้ ร่วมโครงการพฒั นาบุคลากร สสว.5 สู่ยคุ 4.0 สว่ นใหญ่มีวุฒกิ ารศกึ ษาระดบั
ปรญิ ญาตรี คดิ เป็นร้อยละ 65.2 รองลงมามวี ฒุ กิ ารศึกษาต่ํากวา่ ปริญญาตรี คิดเปน็ รอ้ ยละ 21.7 และมวี ุฒิ
สูงกว่าปริญญาตรี คิดเปน็ ร้อยละ 13.0

สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐ 72

ตารางท่ี 1.4 แสดงจาํ นวน อายุต่าํ สดุ อายุสงู สดุ ของกลมุ่ ตัวอย่าง

จานวนทงั้ หมด (คน) อายตุ า่ สุด (ป)ี อายสุ ูงสุด (ป)ี
51 ปขี นึ้ ไป ระหวา่ ง 41-50 ปี
อายุของกลุ่มตัวอย่าง 23

จากตารางที่ 1.4 พบวา่ ผู้เขา้ ร่วมโครงการพัฒนาบุคลากร สสว.5 สูย่ ุค 4.0 มีอายตุ ํ่าสดุ 51 ปีขึ้นไป มีอายุ
สงู สดุ อยู่ระหวา่ ง 51-50 ปี

สว่ นท่ี ๒ ความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเข้าใจ และการนาไปประยกุ ต์ของผู้เขา้ รว่ มโครงการ แบง่ ออกเปน็
๔ ด้าน
ตารางที่ ๒.๑ แสดงรายการประเมินความพึงพอใจ/ความร้คู วามเข้าใจ และการนาไปประยุกต์ใช้ ในด้านความรู้
ความเขา้ ใจ โดยคิดเป็นค่าเฉลย่ี จําแนกตามความร้ทู ไ่ี ด้รับก่อนและหลงั การอบรม

รายการประเมนิ ค่าเฉลี่ย แปลความหมาย
1) ความรู้เกย่ี วกบั หัวข้อการอบรม ก่อนการอบรม 3.26 ปานกลาง
2) ความรู้เกีย่ วกบั หัวข้อการอบรม หลงั การอบรม 4.39 มาก

จากตารางท่ี ๒.๑ แสดงให้เห็นความพึงพอใจ ด้านความรู้ ความเข้าใจก่อนการอบรม อยู่ในระดับปานกลาง
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.26 และหลังการอบรม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.39 ตามลาดับ ซึ่งเม่ือ
พิจารณาในภาพรวมแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจด้านความรู้ ความเข้าใจ อยู่ในระดับมาก
มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 3.83

ตารางที่ ๒.๒ แสดงรายการประเมินความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ และการนาไปประยุกต์ใช้ ในด้านความ
พึงพอใจของผู้เข้ารว่ มอบรม โดยคดิ เปน็ ค่าเฉลีย่ จาํ แนกตามรายข้อคําถาม

รายการประเมนิ ค่าเฉลี่ย แปลความหมาย
1. ความเหมาะสมของระยะเวลาทจี่ ดั 4.21 มาก
2. ความเหมาะสมของสถานทจี่ ัดอบรม 4.43 มาก
3. ความพร้อมของอปุ กรณ์โสตทัศนูปกรณ์ในการอบรม 4.39 มาก
4. หวั ขอ้ การอบรม
4.39 มาก
4.1) หวั ข้อการอบรมมีความน่าสนใจ 4.26 มาก
4.2) หวั ข้อตรงกับความต้องการ/เหมาะสมกับผ้รู ับการอบรม 4.43 มาก
4.3) หวั ข้อมปี ระโยชน์ นําไปใช้ได้
5. ความเหมาะสมของวิทยากรกบั หวั ขอ้ การอบรม 4.52 มากท่สี ุด
5.1) มคี วามรู้ ความเช่ียวชาญของวทิ ยากร เหมาะสมกบั หวั ข้อ
4.52 มากทส่ี ดุ
การอบรม 4.48 มาก
5.2) การบรรยายของวิทยากรตรงประเด็น ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย 4.32 มาก
5.3) เปิดโอกาสใหซ้ ักถาม ตอบข้อซกั ถามได้ชัดเจน

เฉลย่ี รวม

จากตารางท่ี ๒.2 แสดงให้เห็นความพึงพอใจ ด้านความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม มีความเหมาะสมของ

สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ คุ ๔.๐ 73

ระยะเวลาที่จัดอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.21 ความเหมาะสมของสถานท่ีจัดอบรม อยู่ในระดับมาก
มคี ่าเฉล่ยี เทา่ กบั 4.43 ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ในการอบรม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ
4.39 หัวข้อการอบรมมีความน่าสนใจ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.39 หัวข้อตรงกับความต้องการ
เหมาะสมกับผู้รบั การอบรม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 หัวข้อมีประโยชน์ นําไปใช้ได้ อยู่ในระดับ
มาก มคี ่าเฉล่ียเท่ากับ 4.43 มีความรู้ ความเช่ียวชาญของวิทยากร เหมาะสมกับหัวข้อการอบรม อยู่ในระดับ
มากท่ีสดุ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 4.52 การบรรยายของวิทยากรตรงประเด็น ชดั เจน เข้าใจง่าย อยู่ในระดับมากท่ีสุด
มีค่าเฉลีย่ เทา่ กับ 4.52 เปิดโอกาสให้ซักถาม ตอบข้อซักถามได้ชัดเจน ตามลาดับ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 4.48 ซ่ึงเมื่อพิจารณาในภาพรวมแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก
มคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 4.32

ตารางท่ี ๒.๓ แสดงรายการประเมนิ ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ และการนาไปประยุกต์ใช้ ในด้านการ
อาํ นวยความสะดวกของผ้เู ขา้ รว่ มอบรม โดยคิดเป็นค่าเฉล่ียจาํ แนกตามรายข้อคําถาม

รายการประเมิน ค่าเฉลีย่ แปลความหมาย
1. เอกสาร 4.17 มาก
2. โสตทัศนปู กรณ์ 4.22 มาก
3. เจา้ หน้าที่สนบั สนุน 4.57
4. อาหาร เคร่ืองดื่มและสถานท่ี 4.65 มากทส่ี ดุ
4.41 มากที่สุด
เฉลีย่ รวม
มาก

จากตารางท่ี ๒.3 แสดงให้เห็นความพึงพอใจ ด้านการอํานวยความสะดวกของผู้เข้าร่วมอบรม มีเอกสาร
ประกอบการอบรมอยใู่ นระดบั มาก มคี ่าเฉลีย่ เทา่ กบั 4.17 โสตทัศนปู กรณ์ อยใู่ นระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.22 เจ้าหนา้ ทีส่ นับสนุน อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.57 อาหาร เครื่องดื่มและสถานที่ อยู่ใน
ระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.65 ตามลาดับ ซ่ึงเมื่อพิจารณาในภาพรวมแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการมี
ความพึงพอใจ อย่ใู นระดบั มาก มคี า่ เฉลี่ยเท่ากับ 4.41

สรุปความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรมภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
มคี า่ เฉล่ยี เทา่ กับ 4.35

*********************************************************************
สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐

ภาคผนวก

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ ุค ๔.๐

รูปภาพกิจกรรม

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐
สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสว.๕ สู่ยคุ ๔.๐
สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สยู่ คุ ๔.๐

แบบทดสอบก่อนการอบรม (Pre-Test, Post-Test)
โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.5 สู่ยคุ 4.0

ระหวา่ งวนั ท่ี 12 – 14 กุมภาพันธ์ 2563
ณ หอประชมุ ประชาบดี สสว.5 และเหมืองเกลืออาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสมี า
*************************************************************************************
คาชแ้ี จง ข้อสอบชดุ นีเ้ ปน็ ข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ จานวน 30 ขอ้ รวม 30 คะแนน

1. หากตอ้ งการสมัครเปน็ จติ อาสา “เราทาความดี เพอ่ื ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์” สามารถสมัครได้ทีใ่ ด
ก. สานกั พระราชวัง สนามเสือปา่
ข. สานกั งานเขตของกรุงเทพ มหานคร
ค. ทว่ี ่าการอาเภอ
ง. ถกู ทุกขอ้

2. หากต้องการติดตามข้อมลู ขา่ วสาร สามารถตดิ ตามไดจ้ ากช่องทางใด
ก. ศูนยอ์ านวยการใหญ่โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาริ (ศอญ.)
ข. แอปพลเิ คชนั ประชาชนจิตอาสา
ค. เว็บไซต์หนว่ ยราชการในพระองค์ www.royaloffice.th
ง. ถกู ทุกขอ้

3. ข้อใดเปน็ คุณสมบตั ขิ องจติ อาสา “เราทาความดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษตั ริย์”
ก. มสี ัญชาตไิ ทยหรือผทู้ ีพ่ านักอาศัยอยูใ่ นประเทศไทยโดยถกู ต้องตามกฎหมาย
ข. ไมม่ ผี ลประโยชนแ์ อบแฝง
ค. ไม่เบียดบงั เวลาราชการ และ ไม่เสยี การเรยี น
ง. ถูกทกุ ขอ้

4. ข้อใดคือการแตง่ กายท่ถี ูกต้องของจิตอาสา “เราทาความดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษตั ริย์”
ก. แต่งกายดว้ ยเสอื้ พระราชทานหรือเสื้อสสี ุภาพท่ีไม่มกี ารระบุชอ่ื หนว่ ยงาน องค์กร กลุ่มบุคคล

บคุ คลใดๆ
ข. สวมหมวกแกป๊ และผ้าพนั คอท่ีไดร้ บั พระราชทาน
ค. ตดิ บตั รประจาตวั จติ อาสาฯ
ง. ถูกทกุ ข้อ

5. ข้อใดคือบทบาทหน้าที่ของพนกั งานทุกคนท่ีมีต่อธรรมาภิบาลและการต่อตา้ นการทุจริต
ก. ปฏิบัตติ น และปฏบิ ตั งิ านตามแนวทางธรรมาภิบาลและการต่อต้านการทจุ ริตอย่างเคร่งครดั
ข. ไม่กระทาผดิ ตามระเบียบข้อบังคับ
ค. กรณีพบเหน็ เหตุการณ์ของการทุจรติ ให้แจ้งเบาะแส
ง. ถกู ทกุ ข้อ

6. การทุจรติ มี 3 ประเภทได้แก่อะไรบ้าง
ก. การคอร์รัปช่นั ยกั ยอกทรัพย์ การทจุ รติ ด้านการรายงาน
ข. การขโมยส่งิ ของ การลักทรัพย์ การเพกิ เฉย
ค. การยักยอกทรัพย์ ตกแตง่ ตวั เลขทางการเงนิ การเพกิ เฉย
ง. การทุจริตดา้ นรายงาน การขโมยเงิน สินคา้ การเบิกเงนิ ท่ีเกิดความจรงิ

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ ๕

โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐

7. ข้อใดไม่เข้าข่ายกรณีการทุจรติ
ก. การลักทรัพย์
ข. การซื้อ-ขาย หวยใตด้ นิ
ค. ลาปว่ ยโดยใช้ใบรบั รองแพทย์ปลอม
ง. หัวหน้างานขม่ ขู่พนักงาน

8. ขอ้ ใดไม่ใชข่ ้อมลู ในการแจ้งขอ้ ร้องเรยี น กรณีพบเจอการทจุ ริตในองค์กร
ก. ชือ่ ของบุคคลต้องสงสยั
ข. วนั ทแ่ี ละเวลาทเ่ี กดิ เหตุการณ์
ค. สาเหตุของการทุจริต
ง. สถานทเ่ี กดิ เหตุการณ์

9. ขอ้ ใดคือชอ่ งทางการแจ้งเบาะแส กรณีพบเจอการทุจริตในองค์กร
ก. จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์
ก. ผ่านทางไปรษณีย์
ค. โทรศพั ทผ์ ่านทางศนู ย์แจ้งข้อมูล
ง. ถกู ทุกข้อ

10. ข้อใดคือความหมายของค่าตอบแทน
ก. เงินที่จา่ ยตอบแทนให้แกผ่ ู้ทปี่ ฏบิ ตั งิ านใหท้ างราชการตามทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด
ข. เงินท่ีจา่ ยตอบแทนให้แก่ผู้ท่ีปฏบิ ตั ิงานใหท้ างราชการตามทคี่ ณะรฐั มนตรีกาหนด
ค. เงนิ ทจ่ี ่ายตอบแทนให้แก่ผู้ท่ปี ฏบิ ตั ิงานให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลงั กาหนด
ง. เงนิ ทจี่ ่ายตอบแทนให้แก่ผทู้ ่ีปฏบิ ตั งิ านให้ทางราชการตามท่ีกรมบัญชกี ลางกาหนด

11. แหล่งงเงินงบประมาณในการเบิกจา่ ยค่าใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารงานของส่วนราชการ กาหนดใหเ้ บกิ จ่าย
จากแหล่งใด

ก. งบบคุ ลากร
ข. งบกลาง
ค. งบลงทนุ
ง. งบดาเนินงาน (คา่ ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ และคา่ สาธารณปู โภค) หรืองบรายจ่ายใดทเ่ี บกิ จา่ ยใน

ลกั ษณะเดียวกัน
12. การเดนิ ทางไปราชการข้าราชการและเจ้าหนา้ ที่ กรณียืมเงนิ ทดรองราชการและยมื เงินราชการ
ตอ้ งดาเนนิ การส่งเอกสารคืนเงนิ ยืมกับเจ้าหนา้ ทก่ี ารเงินภายในกี่วนั

ก. ไม่เกิน 15 วัน นับจากวันกลับมาถงึ
ข. ไมเ่ กนิ 30 วัน นับจากวันกลับมาถึง
ค. ไมเ่ กิน 45 วนั นับจากวนั กลบั มาถึง
ง. ไมเ่ กิน 60 วัน นบั จากวันกลับมาถงึ

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สูย่ ุค ๔.๐

13. การเดินทางไปเพอื่ พมิ พ์ลายนิ้วมือของขา้ ราชการถือเป็นการเดินทางไปราชการตามพระราชกฤษฎีกา
ค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการฯ หรือไม่

ก. เปน็ เพราะเป็นการไปปฏบิ ตั ิราชการชั่วคราวนอกที่ตง้ั สานักงานซง่ึ ปฏิบตั ริ าชการตามปกติ
ตามคาสัง่ ผ้บู ังคับบญั ชาหรือตามหน้าที่ทป่ี ฏิบัติราชการปกติ

ข. เป็น เพราะการเดนิ ทางไปพิมพ์ลายนวิ้ มอื เป็นขอ้ บังคับของกระทรวงมหาดไทยท่ีให้หน่วยงานของรฐั
ปฏิบัตติ าม

ค. ไมเ่ ป็น เพราะเป็นเพียงเงื่อนไขอยา่ งหน่ึงในการตรวจสอบคณุ สมบัตบิ ุคคลผู้ประสงคจ์ ะรับการ
บรรจุและแต่งตง้ั เป็นข้าราชการ

ง. ขอ้ ก. และ ข้อ ข. ถูก
14. พาหนะส่วนตัวสามารถเบิกคา่ ผ่านทางพเิ ศษ เป็นค่าใช้จา่ ยอน่ื ทจ่ี าเป็นเนื่องในการเดนิ ทางได้หรือไม่

ก. ได้ เพราะมีคาสง่ั อนุมัตใิ ห้เดินทางไปราชการ
ข. ได้ เพราะมคี า่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางเกดิ ข้นึ แล้ว
ค. ได้ เพราะมคี วามจาเป็นต้องจา่ ย
ง. ไมไ่ ด้ เพราะไดร้ ับเงินชดเชยลกั ษณะเหมาจา่ ยแลว้ และไม่ถอื เปน็ ค่าใช้จา่ ยอ่นื ท่ีจาเป็น เนื่องใน

การเดนิ ทางไปราชการ
15. ค่าทพ่ี ักในการเดินทางไปราชการในการฝึกอบรม ตาแหน่งประเภทชานาญการพเิ ศษลงมา (กรณพี ัก
เดยี่ ว) สามารถเบิกค่าท่ีพักได้ในอัตราเท่าใด

ก. 1,400 บาท/คน/วัน
ข. 1,450 บาท/คน/วนั
ค. 1,500 บาท/คน/วัน
ง. 1,550 บาท/คน/วนั
16. ข้อใดเปน็ การนับเวลาที่ถูกตอ้ งในการเดินทางไปราชการ โดยออกจากสานักงาน/ทีพ่ ัก เวลา 04.20 น.
กลบั ถงึ สานกั งาน/ท่ีพกั เวลา 14.35 น.
ก. 12 ชม. 15 นาที
ข. 11 ชม. 15 นาที
ค. 10 ชม. 15 นาที
ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก
17. ขอ้ ใดคือมารยาทและจรรยาบรรณของผใู้ หบ้ ริการท่ีมีตอ่ ผู้ใชบ้ รกิ าร
ก. ซื่อสัตย์สจุ รติ
ข. ใหค้ าแนะนาท่ถี ูกต้อง
ค. ปลูกฝังการมีจิตสาธารณะ
ง. ปฏิบัติตามนโยบายขององคก์ ร
18. การมจี ิตบริการ (Service Mind) ของเจ้าหนา้ ที่ส่งผลดตี อ่ องค์กรตามข้อใด
ก. องค์กรมีความม่นั คง
ข. ผู้ใช้บรกิ ารมีความพึงพอใจ
ค. ลดคา่ ใชจ้ า่ ยการดาเนนิ งาน
ง. พนักงานมีความก้าวหนา้

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐

19. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกย่ี วกับ Service Mind
ก. ทาใหพ้ นักงานสามารถแก้ไขปญั หาได้
ข. ทาใหพ้ นักงานให้บริการดว้ ยความเต็มใจ
ค. เปน็ การปฏบิ ัติตนตามบทบาทหน้าทท่ี ี่ได้รับมอบหมาย
ง. ทาใหพ้ นักงานสามารถปรับตวั ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง
20. ข้อใดคือความหมายของคาวา่ “Service Mind”
ก. การปลูกฝังจิตสานึกในการบรกิ ารทีด่ ี
ข. การใหค้ วามร้ดู ้านพฤติกรรมของลูกค้า
ค. การมอบหมายหน้าทแ่ี ละต้อนรบั ลูกคา้
ง. ความตระหนักถึงความสาคัญขององคก์ ร
21. ข้อใดตอ่ ไปนถี้ ูกต้องทส่ี ดุ เกย่ี วกบั ทัศนคติกับการทางาน
ก. ทศั นคตทิ ่ีดีเกิดไดจ้ ากผลการทางานทดี่ ี
ข. ความคิดเหน็ เชงิ บวกสง่ ผลใหก้ ารทางานออกมาดีประสบผลสาเรจ็
ค. ทัศนคติเกดิ ขนึ้ แล้วไม่สามารถเปลย่ี นแปลงได้
ง. ทัศนคติท่ีดีในการทางานไม่สามารถปลูกฝังให้เกดิ ขนึ้ ได้
22. ข้อใดคือหวั ใจสาคัญของการทางานเปน็ ทมี
ก. ความไวว้ างใจในการทางาน
ข. การใช้ขอ้ มลู ร่วมกัน
ค. หน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะคน
ง. ถกู ทุกข้อ
23. สุภาษิตในขอ้ ใดเข้ากับหลักการทางานเปน็ ทีมมากทีส่ ุด
ก. รักดหี ามจว่ั รักชั่วหามเสา
ข. ชา้ งตายท้งั ตวั เอาใบบวั มาปดิ
ค. คนเดยี วหวั หาย สองคนเพื่อนตาย
ง. ฝนทงั่ ให้เป็นเขม็
24. ข้อใดเรียงลาดบั กระบวนการทางานเป็นทมี ไดถ้ ูกตอ้ ง
ก. ปรบั ปรงุ งาน การประเมนิ ผล การพฒั นาทมี งาน การวางแผนการทางานเป็นทีม การกาหนด

จดุ ม่งุ หมายในการทางาน
ข. การกาหนดจดุ มุ่งหมายในการทางาน การวางแผนการทางานเปน็ ทีม การพฒั นาทมี งาน

การประเมนิ ผล ปรบั ปรุงงาน
ค. การวางแผนการทางานเป็นทีม การกาหนดจดุ ม่งุ หมายในการทางาน การพัฒนาทมี งาน

การปรับปรงุ การประเมนิ ผล
ง. การประเมนิ ผล การกาหนดจดุ ม่งุ หมายในการทางาน การวางแผนการทางานเปน็ ทมี การพัฒนา

ทมี งาน

สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร สสว.๕ สูย่ คุ ๔.๐

25. ข้อใด ไม่ใช่ ตวั บง่ ช้ขี องการทางานเป็นทมี
ก. การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลอื สนับสนุนเพอื่ นรว่ มงาน
ข. การแสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตามได้อยา่ งเหมาะสม
ค. การคดิ เชิงระบบ
ง. การเสริมแรง ใหก้ าลังใจ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ เพอื่ นร่วมงานในการปฏิบัตงิ าน

26. ข้อใดหมายถึงการทางานเปน็ ทมี
ก. ความม่งุ มั่นในการปฏิบัตงิ านในหนา้ ท่ีใหม้ ีคุณภาพ ถกู ต้องครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดรเิ ร่ิม
สรา้ งสรรค์และมกี ารพัฒนาผลงานใหม้ คี ณุ ภาพอย่างต่อเน่อื ง
ข. ความตง้ั ใจในการปรับปรงุ ระบบบรกิ ารให้มปี ระสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของ
ผรู้ บั บริการ
ค. การให้ความรว่ มมือ ชว่ ยเหลือ สนับสนนุ เสรมิ แรง ใหก้ าลังใจแก่เพอ่ื นร่วมงาน การปรบั ตวั เขา้
กับบุคคลอ่ืน หรือ แสดงบทบาทผนู้ า ผตู้ าม ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ง. การศึกษา ค้นควา้ หาความรู้ ติดตามองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในวงวิชาการเพ่ือพฒั นา
ตนเองและพฒั นางาน

27. ISO หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. ระบบอาชีวอนามยั
ข. ระบบการจดั การคณุ ภาพ
ค. ระบบความปลอดภัย
ง. ถกู ทุกขอ้

28. ขอ้ ใดคือประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการทา ISO
ก. มรี ะบบข้อมูลเพ่อื การตัดสินใจไดอ้ ย่างแมน่ ยาขึน้
ข. มกี ารจัดการความรูข้ ององคก์ ร
ค. มีการจดั การกับความตอ้ งการและความคาดหวงั ของผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี
ง. ถูกทกุ ขอ้

29. ข้อกาหนดใดทบี่ ุคคลกรทุกคนในหนว่ ยงานตอ้ งรบั ทราบและปฏบิ ัตติ าม
ก. นโยบายคณุ ภาพ
ข. ความต้องการและความคาดหวังผ้มู สี ว่ นได้เสีย
ค. การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑแ์ ละบริการ
ง. กิจกรรมหลงั การส่งมอบ

30. การจดั ทานโยบายคณุ ภาพ จดั ทาโดยผู้ใด
ก. ฝ่ายบุคคล
ข. พนกั งานทุกคน
ค. แผนก Quality
ง. ผ้บู รหิ าร

*****ขอขอบคุณในความรว่ มมือ*****

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๕

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สยู่ ุค ๔.๐

แบบสอบถามโครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร สสว.5 สู่ยุค 4.0
สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 5

ช่อื โครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.5 สยู่ คุ 4.0 ว.ด.ป.ที่จัดกจิ กรรม 12 – 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2563คา

ชี้แจง แบบสอบถาม : โปรดเตมิ เครอ่ื งหมาย  และกรอกข้อความให้สมบรู ณ์

สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

เพศ  ชาย  หญงิ

ประเภทเจา้ หนา้ ทใ่ี นหนว่ ยราชการ  ข้าราชการ  พนกั งานราชการ  จา้ งเหมา

วุฒิการศึกษา  ต่ากว่าปรญิ ญาตรี  ปริญญาตรี  สงู กว่าปรญิ ญาตรี

อายุ  20-30 ปี  31-40 ปี  41-50 ปี  51 ปี ขึ้นไป

สว่ นท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการ

ระดบั 5 = มากทีส่ ุดหรอื ดมี าก 4 = มากหรือดี 3 = ปานกลางหรอื พอใช้ 2 = น้อยหรอื ต่ากว่ามาตรฐาน 1 = นอ้ ยทีส่ ุด

หรือตอ้ งปรบั ปรงุ แกไ้ ข

รายละเอียด ระดับความพงึ พอใจ

5 4321

ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ
ความรูเ้ กย่ี วกบั หวั ขอ้ การอบรม กอ่ นการอบรม
ความรู้เก่ียวกับหัวข้อการอบรม หลังการอบรม
ด้านความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มอบรม
1. ความเหมาะสมของระยะเวลาท่จี ัด
2. ความเหมาะสมของสถานท่จี ดั อบรม
3. ความพร้อมของอปุ กรณ์โสตทศั นูปกรณใ์ นการอบรม
4. หัวขอ้ การอบรม

4.1) หัวข้อการอบรมมีความนา่ สนใจ
4.2) หัวขอ้ ตรงกับความต้องการ/เหมาะสมกับผู้รับการอบรม
4.3) หัวข้อมปี ระโยชน์ นาไปใช้ได้
5. ความเหมาะสมของวทิ ยากรกบั หวั ข้อการอบรม
5.1) มคี วามรู้ ความเช่ียวชาญของวทิ ยากร เหมาะสมกับหวั ข้อการอบรม
5.2) การบรรยายของวิทยากรตรงประเด็น ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย
5.3) เปดิ โอกาสให้ซักถาม ตอบขอ้ ซักถามได้ชัดเจน
ด้านการอานวยความสะดวก
1. เอกสาร
2. โสตทศั นูปกรณ์
3. เจ้าหน้าทส่ี นับสนนุ
4. อาหาร,เครื่องดมื่ และสถานท่ี
ดา้ นผลทไ่ี ดร้ บั และการนาไปใช้
1. ผลทไี่ ดร้ บั ตรงตามวตั ถุประสงคก์ ารอบรม สามารถนาไปใช้ได้
2. ส่ิงทไี่ ดร้ บั เกดิ ประโยชน์ สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ได้
ความพงึ พอใจของทา่ นตอ่ ภาพรวมของโครงการ

สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ ๕

โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สสว.๕ สู่ยุค ๔.๐

สว่ นที่ 3 ข้อเสนอแนะ
3.1 ส่งิ ท่ีทา่ นพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

3.2 สิ่งท่คี วรเสนอแนะนาไปพัฒนาการจดั โครงการในโอกาสต่อไป

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณในความร่วมมือ
คณะผู้จัดการฝึกอบรม

สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕


Click to View FlipBook Version