The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการจัดงาน _20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย_

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สรุปผลการจัดงาน _20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย_

สรุปผลการจัดงาน _20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย_

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรา้ งโอกาส พัฒนาคนทกุ ชว่ งวยั



คำนำ

ในปี 2565 ถอื เปน็ โอกาสอันดที ี่กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ (พม.) ครบรอบ 20 ปี
กระทรวง พม. จึงจัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” ระหว่างวนั ที่ 29 กันยายน
ถึง วนั ท่ี 3 ตลุ าคม 2565 ณ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ เพ่ือนำเสนอผลการดำเนินงาน
ด้านสังคมตามภารกิจของกระทรวง พม. การแสดงศักยภาพของกลุ่มเป้าหมาย และความสามารถขององค์กร
และภาคเี ครอื ข่ายด้านสงั คม ตลอดจนงานด้านวิชาการ นิทรรศการ และนวตั กรรมทางสงั คม ผลงานการพัฒนา
สังคมที่เป็นต้นแบบที่ดีของสังคม การจำหน่ายผลิตภัณฑ์กลุ่มเป้าหมายของกระทรวงฯ และภาคีเครือข่าย
ที่เกี่ยวข้อง และหวังว่าการจัดงานครั้งนี้ จะเป็นแรงขับเคลื่อนการเสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวยั
รวมถึงกลุ่มเปราะบางมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดีขนึ้ ดำรงชวี ติ อยูใ่ นครอบครวั ชมุ ชน และสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข

สรุปผลการจัดงาน ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และสื่อสารภาพลักษณ์ขององค์กร
ให้หน่วยงาน องค์กร ภาคเี ครือข่าย และประชาชนท่ัวไป ไดร้ ับทราบบทบาทภารกิจของกระทรวง พม. การขับเคล่ือนงาน
ทสี่ ำคญั ดา้ นสังคม รวมทง้ั ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบาย มาตรการด้านการพัฒนาสังคม และจากการประเมิน
ความพึงพอใจการจัดงาน จะเห็นได้ว่า ผู้เข้าร่วมงาน มีความพึงพอใจภาพรวมการจัดงานและต้องการให้
จัดงานเช่นนี้อีก ประชาชนได้รับทราบถึงบทบาทภารกิจของกระทรวง พม. ชัดเจนขึ้น มีความพึงพอใจต่อ
การดำเนนิ งานตลอด 20 ปี ทผ่ี า่ นมาของกระทรวง พม. รวมทง้ั เหน็ ถงึ ความคาดหวงั และความต้องการให้กระทรวง
พม. ขับเคลื่อนการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประชาชนทุกช่วงวัย ได้รับการคุ้มครองทางสังคม
มีโอกาสและความเท่าเทยี มกันในสังคม การจัดงานครัง้ นี้ จะเกิดขึน้ ไม่ได้ หากไม่ไดร้ ับความร่วมมอื รว่ มใจ และ
ความช่วยเหลือจากหน่วยงาน องค์กร เครือข่ายพันธมิตร รวมทั้งคณะผู้จัดงาน “20 ปี เสริมพลัง สร้างโอกาส
พัฒนาคนทุกช่วงวัย” ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และผู้เข้าร่วมงานทุกคน ทำให้การจัดงานประสบความสำเร็จ
ตามเป้าหมายเป็นอย่างดี กระทรวง พม. ขอขอบคุณหน่วยงานทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดงานทำให้
บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชน
และหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งต่อไป

กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์
ตลุ าคม 2565

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรา้ งโอกาส พัฒนาคนทกุ ชว่ งวยั



บทสรปุ ผบู้ รหิ าร

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สถาปนาเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 นับถึงวันนี้
เป็นเวลา 20 ปี ทป่ี ระชาชนไดร้ ู้จักกับกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ (พม.) โดยเริ่มต้นจาก
การสงเคราะห์มาสู่การพัฒนา และการจัดสวัสดิการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรอย่างเสมอภาค และ
ลดความเหลือ่ มล้ำในสังคมไทย โดยดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) นโยบายทางสังคม
ของรัฐบาล และยุทธศาสตร์กระทรวงในการพัฒนาศักยภาพคนและสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว
อย่างยั่งยืน สร้างโอกาสและยกระดับการคุ้มครองทางสังคมสำหรับคนทุกช่วงวัย พัฒนาทุนทางสังคม
สร้างการมีส่วนร่วม ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากสู่การเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน และมุ่งพัฒนาองค์กร
ให้มีสมรรถนะและมีผลสัมฤทธิ์สูง เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล รวมถึงการสร้างบทบาทการเป็น
องค์กรนำด้านการพัฒนาสังคม ซึ่งการดำเนินงานตลอดระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมา ผลงานของกระทรวง พม.
ในประเด็นดงั กลา่ ว ลว้ นเปน็ ทป่ี ระจกั ษ์

ในปีนี้ กระทรวง พม. จัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” ระหว่าง
วนั ท่ี 29 กนั ยายน ถึง วันที่ 3 ตลุ าคม 2565 ณ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ รวม 5 วัน
โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื นำเสนอพัฒนาการและผลงานของกระทรวง พม. ในมิตทิ ห่ี ลากหลาย ซึ่งเกิดจากความรว่ มมอื
ของทุกภาคส่วน ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคเี ครอื ข่าย รวมถึงยังเป็นโอกาสอนั ดีท่ีจะเฉลิมฉลอง
วาระครบรอบ 20 ปี ของกระทรวง พม. การจัดกิจกรรมที่น่าสนใจ อาทิ การจัดการประชมุ วิชาการ เวทีเสวนา
การปาฐกถาพิเศษ การลงนามบนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ด้านการพฒั นาสงั คม พิธีมอบรางวัล
ท่ีเกีย่ วข้องกับการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ การจดั แสดงนทิ รรศการพระราชกรณียกิจท่ีเก่ียวข้อง
กับกระทรวง พม.นำเสนอผลงานการดำเนินงานจากกรมประชาสงเคราะห์สู่กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ (พ.ศ. 2483-2545) Next Step ทิศทางการดำเนนิ งานของกระทรวง พม. ผลงานสำคัญ
ด้านการพัฒนาคนทุกช่วงวยั ได้แก่ เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ คนไร้ที่พึ่ง และกลุ่มชาติพันธุ์ รวมท้ัง
การจัดแสดงผลงาน Soft Power พม. ซึ่งมีผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมในงาน จำนวน 8,953 คน เป็นข้าราชการ
เจา้ พนกั งานของรฐั พนกั งานรฐั วิสาหกิจ ร้อยละ 87.6 และประชาชนทัว่ ไป มีร้อยละ 12.4 นอกจากนย้ี ังมีผู้เข้าชมงาน
ผ่านการถ่ายทอดสด (Live) จำนวน 23,000 คน ตลอดการจัดงาน 5 วัน ทำให้ประชาชนได้รับทราบบทบาท
ภารกิจการดำเนินงานด้านสังคมของกระทรวง พม. ได้รับความรู้ บริการและสิทธิประโยชน์ และเห็นถึง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญของกระทรวง พม. ที่ผ่านมา รวมทั้งเป็นการส่ือสารภาพลักษณ์องค์กรอย่างเป็นรูปธรรม
ตลอดจนเปน็ การเปิดพืน้ ท่ีใหป้ ระชาชนเข้ามามีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็น จัดแสดงและสาธิตผลิตภัณฑ์
ผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ ดนตรี วัฒนธรรม กีฬา และอาหาร ซึ่งเป็นผลผลิตของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ
การพัฒนาศักยภาพ และยังเป็นการเผยแพร่ผลงานของหน่วยงาน องค์กร ภาคีเครือข่ายที่มีความหลากหลาย
นอกจากนั้นภายในงานมีการจำหน่ายสินค้าและผลิตภณั ฑ์ ทำให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียนและสร้างรายได้ให้แก่

คณะทางานฝา่ ยตดิ ตามประเมินผล
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์



ประชาชนท่ีเขา้ มาจำหน่ายผลิตภัณฑ์ รวม 800,000 บาท และรายได้จากการประมูลทรพั ย์ โดยสำนักงานธนานเุ คราะห์
จำนวน 5 ล้านกว่าบาท กิจกรรมเหล่าน้ี จะเกิดขึ้นไม่ได้ หากไม่ได้รับความร่วมมือร่วมใจ และความช่วยเหลือ
จากหน่วยงาน และเครือข่ายพันธมิตรทีร่ ่วมจัดงานในคร้ังน้ี ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นถึงพลงั ของความรว่ มมือทีป่ รากฏให้เห็นถึง
ความสำเรจ็ อย่างเป็นรปู ธรรม

ในการปาฐกถาพิเศษและเวทีเสวนาวิชาการ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ อาทิ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อดตี นายกรัฐมนตรี ดร. วีระศกั ด์ิ โควสรุ ตั น์ และ นายอนศุ ักดิ์ คงมาลัย สมาชิกวฒุ ิสภา ได้เน้นยำ้ ประเด็นสำคัญ
ทเ่ี ป็นข้อเสนอแนะใหก้ ระทรวง พม. ใช้ในการขับเคลอื่ นการดำเนินงานของกระทรวง พม. ให้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ดังน้ี

1. สิทธิขั้นพื้นฐานตามหลักสิทธิมนุษยชนต้องเป็นสวัสดิการถ้วนหน้า เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา
โดยการจัดสรรระบบภาษีให้เอ้ือต่อระบบสวัสดกิ าร การปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ ผู้บริหารกระทรวงต้องพัฒนา
สังคมควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายอำนาจโดยพัฒนาศักยภาพชุมชนให้มีความยืดหยุ่น
ในแตล่ ะพ้นื ท่ี และให้ความสำคญั กบั การทำงานระดบั ชมุ ชนฐานราก

2. การปรบั เปลย่ี นการทำงานจาก “การให”้ เป็นการยกระดับคณุ ภาพชีวิตท่ีมุง่ สู่ “ศกั ด์ศิ รีความเป็นมนษุ ย์
(Human Dignity)” และกระทรวงพม. ควรเป็น “เจ้าภาพ” งานดา้ นสังคมทุกเร่ือง แต่ไม่จำเป็นต้องเป็น “เจา้ ของ” ทุกเรื่อง

3. การบูรณาการความร่วมมือในการทำงานของทุกภาคส่วน การพัฒนาสื่อที่เข้าถึงชุมชนท้องถ่ิน
การปรบั ปรุงกฎหมาย กฎระเบยี บต่าง ๆ และเสนอให้มีโรงเรยี นผู้นำชมุ ชน

การจัดงานคร้งั นี้ กระทรวง พม. ไดส้ ำรวจความพึงพอใจผเู้ ข้าร่วมงาน “20 ปี พม. เสรมิ พลัง สร้างโอกาส
พัฒนาคนทกุ ช่วงวยั ” โดยมีผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวนท้ังสิน้ 1,825 คน จากผ้เู ข้าร่วมงาน จำนวน 8,953 คน
เปน็ ขา้ ราชการ เจา้ พนกั งานของรัฐ พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ ร้อยละ 51.9 และประชาชนท่วั ไป มรี ้อยละ 48.1 พบว่า
ช่องทางท่ีผู้ตอบแบบสอบถาม ได้รับข่าวสารการจัดงานมากที่สุด 3 ลำดับแรกคือ เว็บไซต์ส่วนราชการในสังกัด
กระทรวง พม. มีร้อยละ 31.86 รองลงมา คือ สื่อออนไลน์ อาทิ Facebook, line, twitter มีร้อยละ 22.58
การบอกต่อจากบุคคลอืน่ รอ้ ยละ 14.19 และผตู้ อบแบบสอบถาม มคี วามพึงพอใจโดยภาพรวมดา้ นการจัดงาน
อยู่ในระดับมากที่สุด ประชาชนได้รับทราบถึงบทบาทภารกิจของกระทรวง พม. ชัดเจนขึ้น ทราบถึงข้อมูล
การช่วยเหลือของกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้เครือข่ายการพัฒนาสังคมมากขึ้น รวมทั้งได้รับความรู้ แนวทาง
การพัฒนาคนทุกช่วงวัยและกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกวัย และมีความพึงพอใจต่อ
การดำเนินงานตลอด 20 ปี ที่ผ่านมาของกระทรวง พม. รวมทั้งเห็นถึงความคาดหวังและต้องการให้กระทรวง พม.
ขับเคลื่อนการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประชาชนทุกช่วงวัยได้รับการคุ้มครองทางสังคม
สร้างโอกาสและความเท่าเทียมกันในสังคม และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มุ่งสู่ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสังคม พัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้ครอบคลุมทุกมิติ
รวมถงึ นำเทคโนโลยีมาใช้ในการให้บริการประชาชนเพ่อื ให้ความช่วยเหลือผู้ที่ประสบปญั หาทางสังคมได้อย่างรวดเร็ว
ทันเหตุการณ์ รวมทั้ง จัดสวัสดิการให้ประชาชนได้อย่างเพียงพอ ทั่วถึง และยั่งยืน นอกจากน้ี ผลการประเมิน
ความพงึ พอใจในกิจกรรมเสวนาวิชาการ พบว่า ผู้ตอบแบบประเมนิ มคี วามพงึ พอใจดา้ นภาพรวมกิจกรรมเสวนา

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรา้ งโอกาส พัฒนาคนทกุ ชว่ งวยั



ด้านวทิ ยากร และดา้ นประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจาการเสวนาวิชาการ อยู่ในระดบั มากท่ีสุด และเหน็ ควรให้มีการจัดเวที
เสวนาวิชาการอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมให้รับทราบเพื่อให้ผู้สนใจสามารถ
เขา้ รว่ มกิจกรรมได้อยา่ งหลากหลาย

อย่างไรก็ตาม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในฐานะองค์กรนำด้านการพัฒนา
สังคมของประเทศ จำเปน็ ตอ้ งเป็นองค์กรหลกั ในการผลกั ดนั และขบั เคลื่อนนโยบายดา้ นสังคม สรา้ งความเสมอภาค
และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ซึ่งเป็นประเด็นการพัฒนาที่ประเทศให้ความสำคัญ และในการก้าวสู่ปีที่ 21
และปีต่อๆ ไป กระทรวง พม. จะเดินหน้าขับเคลื่อนการเสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย รวมถึง
กลุ่มเปราะบางเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ตลอดจนผลักดันนโยบายและ
ขับเคลื่อนดำเนินงานต่าง ๆ ให้เกิดผลอย่างต่อเนื่องด้วยเป้าหมายที่ชัดเจน เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนางาน
เพื่อประชาชน ปรับแก้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการทำงานเพื่อประโยชน์ของประชาชน
อีกทั้ง นำเทคโนโลยีดิจิทลั มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานเพื่อใหอ้ งค์กรมีความทันสมัย ทำงานได้อย่างรวดเรว็
ลดขนั้ ตอนการทำงานเพ่อื ให้ประชาชนได้เข้าถงึ บริการของ กระทรวง พม. ไดอ้ ย่างรวดเร็ว และท่สี ำคญั บุคลากร
ของกระทรวง พม. จะต้องได้รับการพัฒนายกระดับให้เป็นบุคลากรที่มีคุณภาพเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานตามเป้าหมาย คือ “ความสุขของประชาชน คือ ความสำเร็จของ พม.” ตลอดจน
ตดิ ตามประเมินผลเพอ่ื ใหก้ ารพัฒนาสังคมเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับปรุงระบบสวสั ดกิ ารพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน และสร้างโอกาส สร้างอาชีพในทุกกลุม่ เปา้ หมาย ด้วยการปรับจากการพึง่ พามาสู่ความพอเพียง
และความย่ังยืน เพื่อพัฒนาคนไทยในทุกมิติ เพื่อเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 ที่จะช่วยขบั เคลื่อนประเทศไทย
ใหเ้ ป็นประเทศพัฒนาแล้วได้อย่างยงั่ ยืน

คณะทางานฝา่ ยตดิ ตามประเมินผล
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

จ หนา้

สารบญั ข

คำนำ 1
บทสรปุ ผู้บริหาร 2
สารบญั 3
บทที่ 1 บทนำ 3
4
1.1 หลักการและเหตุผล 4
1.2 วตั ถุประสงค์ 4
1.3 ผลผลิต ผลลพั ธ์ 4
1.4 กลมุ่ เปา้ หมาย 6
1.5 วิธีการดำเนินงาน 7
1.6 กำหนดการจัดงานและสถานท่ีจดั งาน 8
1.7 รปู แบบการจัดงาน 19
บทท่ี 2 การจดั งาน “20 ปี พม. เสรมิ พลงั สรา้ งโอกาส พัฒนาคนทกุ ช่วงวัย” 20
2.1 พธิ เี ปิดงาน “20 ปี พม. เสรมิ พลงั สรา้ งโอกาส พฒั นาคนทกุ ช่วงวัย” 27
2.2 นทิ รรศการและการแสดงผลงาน 27
2.3 กจิ กรรมเวทีกลางและเสวนาวชิ าการ 27
27
2.3.1 ข้อเสนอผู้ทรงคุณวฒุ ิ 30
2.3.2 การลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมือ 31
2.3.3 การมอบโลเ่ กษยี ณ/มอบรางวัล 32
2.3.4 การประชมุ วชิ าการ เวทเี สวนาวิชาการ 33
45
1) สรุปภาพรวมเชิงประเดน็ : ด้านเดก็ และเยาวชน 54
2) สรุปภาพรวมเชงิ ประเดน็ : ด้านคนพกิ าร 55
3) สรุปภาพรวมเชิงประเดน็ : ด้านสตรีและครอบครวั
4) สรุปภาพรวมเชงิ ประเดน็ : ด้านผ้สู ูงอายุ
5) สรุปภาพรวมเชงิ ประเดน็ : ดา้ นการเสริมพลังชมุ ชน/ขบวนชมุ ชน
6) สรุปภาพรวมเชงิ ประเดน็ : ด้านการพัฒนาท่อี ยูอ่ าศัย
7) สรปุ ภาพรวมเชงิ ประเดน็ : ประเดน็ อ่นื ๆ : การออมเงิน
8) สรุปการประชุมระดมความคิดเห็นตอ่ การดำเนนิ งานของกระทรวง

การพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในงาน “20 ปี พม.
เสริมพลัง สร้างโอกาส พฒั นาคนทกุ ชว่ งวัย”

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรา้ งโอกาส พัฒนาคนทกุ ชว่ งวยั

สารบญั (ต่อ) ฉ

2.4 การประเมินความพึงพอใจ หน้า
2.4.1 การประเมนิ ความพงึ พอใจผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม “20 ปี พม. เสริมพลัง 60
สร้างโอกาส พฒั นาคนทุกชว่ งวัย” 61
2.4.2 การประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารว่ มกิจกรรมการประชุมและเสวนาวิชาการ
77
บทท่ี 3 สรุปผลการจัดงานและข้อเสนอแนะ 83
ภาคผนวก 90
91
• คำสงั่ คณะกรรมการและคณะทำงาน “ 20 ปี พม. เสริมพลัง สรา้ งโอกาส พฒั นาคน
ทกุ ชว่ งวยั ” 104

• กำหนดการ “20 ปี พม. เสริมพลงั สรา้ งโอกาส พฒั นาคนทกุ ช่วงวัย” ณ หอ้ งประชุม 116
ปกรณ์ อังศุสิงห์ ชั้น 2 อาคารกรมพัฒนาสงั คมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความม่นั คงของมนุษย์ 118
126
• กำหนดการ “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” ณ ชั้น 19
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์

• แบบสำรวจความพึงพอใจ
• คณะผจู้ ัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ

คณะทางานฝา่ ยตดิ ตามประเมินผล
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์



1

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

2

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 หลกั การและเหตุผล

ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กำหนดเป้าหมายเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัย
ใหเ้ ปน็ คนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พรอ้ มสาํ หรบั วิถีชีวิตในศตวรรษท่ี 21 และสงั คมไทยมสี ภาพแวดล้อมที่เอื้อและ
สนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศและทรัพยากรมนุษย์ของไทย
อย่างไรก็ตาม ด้วยแนวโน้มและบริบทการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว รุนแรง และฉับพลันมากยิ่งข้ึน
ประกอบกับปัญหาทุนมนุษย์ขาดคุณภาพที่มีอยู่แต่เดิม ส่งผลให้การพัฒนาทุนมนุษย์จำเป็นต้องพิจารณาถึง
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ โดยเฉพาะการเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ ทำให้
วัยแรงงานลดลงเกิดการพงึ่ พิงแรงงานตา่ งดา้ ว ก่อใหเ้ กดิ การเคลื่อนย้ายแรงงานทั้งในและตา่ งประเทศ ส่งผลให้
เกิดปัญหาการค้ามนุษย์ตามมา ในขณะเดียวกัน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี อาจนำมาซึ่งความเหลื่อมล้ำ
ที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะด้านการเข้าถึงการศึกษา การพัฒนา ทักษะ และการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการสําหรับ
กลุ่มคนที่ไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี ทำให้มีโอกาสน้อยลงในการขยับสถานะให้พ้นจากกับดักความยากจน
จนกระทัง่ เกดิ การส่งต่อจากรุ่นสูร่ ุ่น ครอบครัวและสมาชกิ ในครอบครัวขาดภูมิคุ้มกัน ชุมชนขาดความเข้มแข็ง
รวมถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2563 เป็นต้นมา ทำให้เศรษฐกิจหดตัว
อยา่ งรนุ แรง สง่ ผลใหส้ ถานการณ์ด้านกล่มุ คนเปราะบางมีแนวโนม้ เพ่ิมสงู ขึ้น

จากท่ามกลางปัญหาและความท้าทายต่าง ๆ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ในฐานะองค์กรนำด้านการพฒั นาสังคมของประเทศไทย จงึ มีความจำเปน็ อย่างย่ิงท่ีจะต้องผลักดันและขับเคล่ือน
การแก้ไขปัญหาสังคมอย่างเป็นระบบ การสร้างความเสมอภาคและลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ถือเป็น
ประเด็นการพัฒนาที่ประเทศไทยให้ความสำคัญ และกระทรวงฯ ได้นำมากำหนดเป็นประเด็นยุทธศาสตร์
เพอ่ื ใชใ้ นการดำเนินงานของกระทรวงฯ ไดแ้ ก่ พฒั นาศกั ยภาพคนและสรา้ งความเขม้ แขง็ ของสถาบันครอบครัว
อย่างยั่งยืน สร้างโอกาสและยกระดับการคุ้มครองทางสังคมสําหรับคนทุกช่วงวัย พัฒนาทุนทางสังคม
สร้างการมีส่วนร่วม ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากสู่การเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาสังคมที่ย่ังยืน และมุ่งพัฒนาองค์กร
ให้มีสมรรถนะและมีผลสัมฤทธิ์สงู เพือ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงในยุคดจิ ิทัล

เพื่อให้การขับเคลื่อนการพัฒนาสังคม รวมถึงการสร้างบทบาทการเป็นองค์กรนำในการพัฒนาสังคม
ให้เปน็ ทีป่ ระจักษ์ ประกอบกับวนั ที่ 3 ตลุ าคม ของทุกปี ซงึ่ ตรงกบั วนั คลา้ ยวนั สถาปนาของกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และในปีนี้ กระทรวงฯ ครบรอบ 20 ปี จึงเป็นโอกาสอันดีที่กระทรวงฯ
จกั ได้เฉลมิ ฉลอง วาระอนั สำคญั นี้ จึงเห็นควรจัดโครงการ “20 ปี พม. เสรมิ พลงั สรา้ งโอกาส พัฒนาคนทุกชว่ งวยั ”
เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานด้านสังคม รวมถึงแสดงศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย และความสามารถขององค์กร
และภาคเี ครอื ข่ายด้านสังคม ตลอดจนงานดา้ นวิชาการ นทิ รรศการ และนวตั กรรมทางสงั คม ผลงานการพฒั นา
สังคมที่เป็นต้นแบบที่ดีของสังคม รวมถึงการจำหน่ายผลิตภัณฑ์กลุ่มเป้าหมายของกระทรวงฯ และ

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

3

ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่ การกำหนดและพัฒนานโยบายด้านสังคมต่อไป เพื่อให้การดำเนินงาน
บรรลุตามวัตถุประสงค์โครงการจึงมีการจัดตั้งคณะกรรมการและคณะทำงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง
สร้างโอกาส พฒั นาคนทุกช่วงวัย” ประกอบดว้ ย

1) คณะกรรมการอำนวยการ
2) คณะทำงานฝา่ ยวิชาการ นิทรรศการ และการแสดงผลงาน
3) คณะทำงานฝ่ายพิธีการ การแสดงศักยภาพของกลุ่มเปา้ หมาย ตอ้ นรับ และลงทะเบียน
4) คณะทำงานฝ่ายอาคารและสถานที่
5) คณะทำงานฝ่ายประชาสมั พนั ธ์
6) คณะทำงานฝ่ายติดตามประเมินผล

1.2 วัตถุประสงค์

1) เพื่อจัดแสดงผลการดำเนนิ งานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
2) เพื่อจัดแสดงศักยภาพ ผลการดำเนินงานของกลุ่มเป้าหมายกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมน่ั คงของมนุษย์
3) เพ่อื รว่ มเฉลมิ ฉลองในโอกาสครบรอบ 20 ปี วนั สถาปนากระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคง
ของมนษุ ย์

1.3 ผลผลิต ผลลพั ธ์

1.3.1 ผลผลิต (Output)
1) ผลการดำเนนิ งานของกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ได้มีการสื่อสาร

ใหส้ ังคมได้รบั รู้ การเผยแพรผ่ ลงานให้เป็นที่ประจกั ษ์
2) กล่มุ เปา้ หมาย และภาคีเครือข่ายได้แสดงศักยภาพ ความสามารถ และผลการดำเนินงาน

ของกลุ่มเป้าหมาย ทไ่ี ด้รับการพัฒนาศักยภาพ
3) มีข้อเสนอเชิงนโยบายที่สามารถชี้นำการกำหนดนโยบายสําหรับการพัฒนาและแก้ไข

ปัญหาสงั คมไดอ้ ย่าง มีประสิทธิภาพ
1.3.2 ผลลัพธ์ (Outcome)
1) ข้อเสนอเชงิ นโยบายดา้ นสังคมถกู นำไปส่กู ารปฏิบัตอิ ยา่ งเป็นรปู ธรรม
2) ประชาชน กล่มุ เปา้ หมาย ภาคีเครือขา่ ยที่เกี่ยวข้องไดม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ และรับทราบ

ถึงนโยบาย และ ผลการดำเนนิ งานทสี่ ำคญั ของกระทรวงฯ

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

4

1.4 กลมุ่ เป้าหมาย จำนวน 5,000 คน

1) ข้าราชการ เจ้าหน้าท่ี บคุ ลากรกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
2) องค์กรภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนษุ ย์ และกล่มุ เป้าหมายของกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์
3) นสิ ิต นกั ศกึ ษา และประชาชนท่ัวไป

1.5 วิธกี ารดำเนนิ งาน

1) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการและคณะทำงาน
2) กำหนดประเดน็ หลกั การจัดงานและรปู แบบการจดั งาน
3) ประสานเครือขา่ ย (หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม อาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความมน่ั คงของมนุษย์ ประชาชน และอนื่ ๆ) เข้ารว่ มจัดกิจกรรมภายในงาน
4) จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคีเครือข่ายที่ประสงค์เข้าร่วมจัดกิจกรรมภายในงาน
เพ่ือช้แี จงข้อมลู รายละเอยี ด และรปู แบบการจดั งาน
5) ดำเนินการประชาสัมพันธ์ จัดงานแถลงข่าว และการประชาสัมพนั ธก์ ารจัดงานผ่านทางสือ่ ต่าง ๆ
อาทิ สงิ่ พิมพ์ สอ่ื โทรทัศน์ ส่อื ออนไลน์ และสือ่ สาธารณะต่าง ๆ
6) ประสานงาน และเตรยี มความพร้อมการจดั กจิ กรรมในส่วนตา่ ง ๆ ท่ีกำหนด รวมถึงพธิ ีเปดิ งาน
7) ดำเนนิ การจัดงานเดือนกันยายน ถึง เดือนตลุ าคม 2565
8) สรุปและตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั งาน

1.6 กำหนดการจัดงานและสถานทจ่ี ัดงาน

ระยะเวลาการจัดงาน : ระหว่างวันที่ 29 กันยายน ถึง 3 ตุลาคม 2565
สถานท่จี ดั งาน : กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์

1.7 รปู แบบการจัดงาน

โซนที่ 1 การจัด Main Stage นำเสนอเนื้อหาภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ จัดเวทีเสวนาวิชาการ การประชมุ วชิ าการ ปาฐกถาพิเศษ การลงนามบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื
การแลกเปลี่ยนเรียนร้ดู ้านการพฒั นาสังคม และพิธีมอบรางวลั ทเ่ี กี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนษุ ย์ เป็นตน้

โซนที่ 2 การจัดแสดงนิทรรศการนำเสนอพระราชกรณียกิจที่เก่ียวข้องกบั กระทรวงการพัฒนาสงั คม
และความมั่นคงของมนุษย์ นำเสนอผลงานการดำเนินงานจากกรมประชาสงเคราะห์สู่กระทรวงการพัฒนา
สงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ (พ.ศ. 2483-2545) เปน็ ต้น

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

5
โซนที่ 3 การจัดแสดงนิทรรศการผลงานสำคัญในการพัฒนาคนทุกช่วงวัย ได้แก่ เด็ก เยาวชน สตรี
ครอบครัว คนพิการ ผู้สูงอายุ คนไร้ที่พึ่ง และกลุ่มชาติพันธุ์ เป็นต้น และการพัฒนาในเชิงประเด็น ได้แก่
การสร้างความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย การป้องกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ นวัตกรรมทางสังคม และการนำเสนอทิศทางการดำเนินงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ พร้อมทั้ง พื้นที่นำเสนอการจัดสวัสดิการแก่กลุ่มเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุม่ เป้าหมาย และการใหบ้ รกิ ารขององคก์ รเครอื ขา่ ย (CSR) เปน็ ต้น
โซนที่ 4 การจัดแสดงผลงาน Soft Power ของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์
ประกอบด้วยการจัดแสดงและสาธิตผลิตภัณฑ์ ผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่น การแสดงศิลปะ ดนตรี วัฒนธรรม
กฬี า และอาหาร ซงึ่ เปน็ ผลผลิตของกลมุ่ เปา้ หมายทไ่ี ดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพ เป็นต้น

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

6

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

7

บทท่ี 2
การจัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลงั สรา้ งโอกาส พฒั นาคนทกุ ช่วงวยั ”

2.1 พธิ ีเปิดงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สรา้ งโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย”

การจัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” จัดขึ้นในวันที่ 29 กันยายน
ถึง 3 ตุลาคม 2565 ณ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยมี นายจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้เกยี รติเปน็ ประธานเปิดงาน “20 ปี พม. เสริมพลงั
สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” พิธีเปิดงานเริ่มต้นด้วยการรับชมวีดิทัศน์ “20 ปี พม. เสริมพลัง
สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” จากนั้น นายอนุกูล ปีดแก้ว ในฐานะประธานคณะผู้จัดงาน ได้กล่าวรายงาน
วตั ถุประสงคก์ ารจัดงาน นายจตุ ิ ไกรฤกษ์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
กล่าวเปิดงาน และดร.วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ (สมาชิกวุฒิสภา) ได้ให้เกียรติกล่าวปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “เสริมพลัง
สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” การจัดงานครั้งนี้ มีการจัดกิจกรรมหลากหลาย อาทิ การจัดเวทีเสวนาวิชาการ
การประชุมวิชาการ การปาฐกถาพิเศษ การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ดา้ นการพฒั นาสงั คม พิธีมอบรางวัลท่ีเกยี่ วข้องกับการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ การจดั นิทรรศการ
พระราชกรณยี กจิ ท่เี ก่ยี วข้องกบั กระทรวง พม. ผลงานสำคญั ด้านการพัฒนาคนทุกช่วงวยั และทศิ ทางการดำเนินงาน
ของกระทรวง พม. ในอนาคต รวมท้ังการจดั แสดงผลงาน Soft Power กระทรวง พม.

การจัดงาน “20 ปี พม.เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” ครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือจาก
หน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม อาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ ประชาชน
เข้าร่วมจัดกิจกรรมภายในและร่วมเวทีเสวนาวิชาการ ซึ่งผู้เข้าร่วมในงานครั้งนี้ มีจำนวน 8,953 คน
เป็นข้าราชการ เจ้าพนักงานของรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 87.6 และประชาชนทั่วไป ร้อยละ 12.4
นอกจากนี้ยังมีผู้เข้าชมงานผ่านการถ่ายทอดสด (Live) จำนวน 23,000 คน ทำให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
ภาคเี ครอื ขา่ ยท่ีเก่ียวข้อง ไดม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ และรับทราบถงึ นโยบาย บทบาทภารกิจ ผลการดำเนินงาน
ท่สี ำคัญของกระทรวง พม. ทผ่ี า่ นมา เป็นการสอ่ื สารภาพลกั ษณ์องคก์ รอย่างเปน็ รปู ธรรม รวมทง้ั เป็นการเปดิ พืน้ ที่
ใหป้ ระชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็ แสดงผลงาน และจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ภายในงาน
ทำให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนที่เข้ามาจำหน่ายผลิตภัณฑ์ โดยมีรายได้รวม
800,000 บาท และรายไดจ้ ากการประมูลทรพั ย์ โดยสำนักงานธนานุเคราะห์ จำนวน 5 ลา้ นกวา่ บาท

พิธเี ปดิ งาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พฒั นาคนทุกช่วงวยั ”

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

8

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

9

2.2 นทิ รรศการและการแสดงผลงาน

2.2.1 สำนกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ (สป.พม.) นำเสนอผลการดำเนินงาน
ของกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ การพฒั นาในเชงิ ประเด็นการปอ้ งกนั และปราบปราม
การค้ามนุษย์ นวัตกรรมทางสังคม และนำเสนอทิศทางการดำเนินงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนษุ ย์

20 ปี แหง่ การพัฒนากระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์
1) ปี 2545 – 2549

- 3 ตลุ าคม 2545 วันสถาปนากระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ (พม.)
- ประกาศใชก้ ฎหมาย 3 ฉบบั ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญัติสง่ เสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546
พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 และพระราชบัญญัตผิ ู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
- ประกาศให้ปญั หาการค้ามนุษย์เป็นวาระแห่งชาติ
- ปรบั เพมิ่ เบีย้ ยงั ชพี ผู้สงู อายุ จาก 300 บาท/เดอื น เปน็ 500 บาท/เดอื น
2) ปี 2550 – 2554
- ประกาศใช้กฎหมาย 5 ฉบับ ได้แก่ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
แห่งชาติ พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550
พระราชบัญญตั ิส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 พระราชบัญญตั ิปอ้ งกนั และปราบปราม
การค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติสภาองคก์ รชุมชน พ.ศ. 2551
- รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการดำเนินงานสวัสดิการชุมชน โดยสมทบกองทุนสวัสดิการ
ชุมชนคนละบาท/คน/วนั เป็นปแี รก
- ประกาศทศวรรษคนพกิ ารแห่งอาเซียน
3) ปี 2555 - 2559
- ประกาศใชก้ ฎหมายสำคัญของ พม. 2 ฉบบั ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญตั ิวิชาชพี สงั คมสงเคราะห์
พ.ศ. 2556 และพระราชบัญญัติคมุ้ ครองคนไร้ที่พึง่ พ.ศ. 2557
- การจา่ ยเบี้ยยังชีพผสู้ ูงอายุแบบขน้ั บันไดตามช่วงอายุ (600 - 1,000 บาท)
- โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเล้ยี งดเู ด็กแรกเกดิ
- โครงการบ้านเคหะประชารัฐ / โครงการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง /โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัย
ชุมชนริมคลองลาดพรา้ ว
4) ปี 2560 – 2565
- โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ กลุม่ เปราะบางรายครัวเรือน
- โครงการศนู ย์ช่วยเหลอื สงั คมตำบล
- โครงการขับเคลอื่ นความร่วมมือการพฒั นาทนุ มนุษยใ์ นศตวรรษท่ี 21

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

10
- โครงการบ้านเคหะสุขประชา / โครงการพัฒนาที่อยูอ่ าศัยชุมชนริมคลองเปรมประชากร
- TIP Report 2022 ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกายกระดับประเทศไทย

ถกู ขึ้น Tier 2 จากปี 2564 ท่ปี ระเทศไทยอย่ใู นระดบั Tier 2 WL
นทิ รรศการการนำเสนอผลการดำเนนิ งานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์

2.2.2 กรมกิจการเดก็ และเยาวชน (ดย.) นำเสนอผลงานสำคัญ ได้แก่ บอร์ด นทิ รรศการ ส่อื วีดีทัศน์
ความเป็นมา ผลการดำเนินงาน พัฒนาการ ดย. Next Step บอร์ด นิทรรศการ สื่อวีดีทัศน์ เด็กปฐมวัย
งานสมัชชา เดก็ แรกเกดิ App สวัสดิการ ดย. และนวัตกรรม ดย. ทีเ่ คยไดร้ บั รางวลั

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

11

2.2.3 กรมกิจการผู้สูงอายุ (ผส.) นำเสนอผลงานสำคัญ ได้แก่ การพัฒนานโยบายด้านผู้สูงอายุ
ความเปน็ มาและสาระสำคัญของ พ.ร.บ.ผูส้ งู อายุ พ.ศ. 2546 และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2560 และ
ความคืบหน้าของการปรับปรุง ร่าง พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. .... การขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ
เรื่อง สังคมสูงอายุ สู่มาตรการขับเคลื่อนสังคมสูงวัยคนไทยอายุยืน 4 มิติ มติสมัชชาผู้สูงอายุระดับชาติ
ปี 2564 และการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ รายงานประจำปี 2564 แผนปฏิบัติการด้านผู้สูงอายุ ระยะที่ 3
พ.ศ. 2566 – 2580 ความสำเร็จด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ แผนบูรณาการเตรียมความพร้อม
รองรับสังคมสูงวัย สิทธิสวัสดิการที่ผู้สูงอายุได้รับ สวัสดิการที่ผู้สูงอายุ 1 คน ได้รับสวัสดิการอะไรบ้าง
(ภาพรวมของประเทศ) งานบริการกองทุน งานคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ นำเสนอ Gold Application 7 บริการ
สง่ เสรมิ พฒั นาศักยภาพผู้สงู อายุ เตรยี มความพร้อมทุกชว่ งวัย / สร้างอาชพี สร้างรายได้ / สรา้ งพลังเครือข่าย
ในชุมชน และนวัตกรรมด้านผู้สูงอายุ นวัตกรรมด้านการเคลื่อนไหว / นวัตกรรมด้านเทคโนโลยี /นวัตกรรม
ดา้ นอาหาร

2.2.4 กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) นำเสนอผลงานสำคัญ ได้แก่ แพลตฟอร์ม
เพื่อนครอบครัว การจัดบริการสำหรับประชาชน ของ สค. กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ
การวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ (วลพ.) ศูนย์ปฏิบัติการกรมกิจการสตรีและ
สถาบันครอบครัว (ศปก.สค.) การบริการของศูนย์บริการแม่เล้ียงเดี่ยว รวมทั้งนำเสนอผลงานที่เป็นเลิศ
ด้านการพัฒนาอาชีพ จัดแสดงผลงานของผู้ผ่านการคัดเลือกในการประกวดผลิตภัณฑ์ ปีงบประมาณ 2565
จำนวน 12 ผลงาน

2.2.5 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (พส.) นำเสนอพระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นำเสนอผลงานการดำเนินงานจากกรมประชาสงเคราะห์
สูก่ ระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ (พ.ศ. 2483-2545) นำเสนอผลงานสำคัญในการพัฒนาคน
ทกุ ชว่ งวัย ได้แก่ คนไร้ที่พึ่ง และกล่มุ ชาติพันธ์ุ การพัฒนาในเชงิ ประเด็น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย
นวัตกรรมทางสังคม พร้อมทั้งแสดงผลงาน Soft Power แสดงและสาธิตผลิตภัณฑ์ ผลงานภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
การแสดงศิลปะ ดนตรี วัฒนธรรม กีฬาและอาหาร ซึ่งเป็นผลผลิตของกลุ่มเป้าหมายตามภารกิจ ออกบูธ
“อพม. หวั ใจผ้ใู ห้” และบธู รา้ นกาแฟ “ก้าวแรกจากกาแฟพอ่ ”

นิทรรศการพระราชกรณยี กิจทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับกระทรวง พม.
นำเสนอผลงานการดำเนินงานจากกรมประชาสงเคราะห์ สู่กระทรวง พม. (พ.ศ. 2483-2545)

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

12
2.2.6 กรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร (พก.) นำเสนอผลงานสำคัญ ได้แก่ นิทรรศการ

วิชาการ เบ้ียความพิการ อาชีพแนวใหม่ ผลงานทางวิชาการด้านคนพิการดีเด่น/ WE CAN DO/นักกีฬา
คนพิการที่ไดร้ ับเหรียญรางวัล ผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมเพือ่ คนพิการ สวัสดิการสำหรับคนพิการและ
ผู้ดูแล บัตรประจำตัวคนพิการดิจิทัล ปรับบ้านสำหรับคนพิการ บริการกู้ยืมเงินประกอบอาชีพ และ
CSR เครอื ขา่ ยมาร่วมจดั บริการ/ส่งมอบผลติ ภณั ฑ์ 7 เครอื ข่าย

2.2.7 การเคหะแห่งชาติ (กคช.) นำเสนอผลงานสำคัญ ได้แก่ ผลการดำเนินงานด้านการพัฒนา
ที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติ สะสม 20 ปี เริ่มตั้งแต่ปี 2545 – กรกฎาคม 2565 ประกอบด้วย ประวัติ
ความเป็นมา วัตถุประสงค์การจัดตั้งการเคหะแห่งชาติ วิสัยทัศน์ ฯลฯ ผลการดำเนินงานสะสม 20 ปี
รวม 367,390 หน่วย ทิศทางและแผนการดำเนินงานของการเคหะแห่งชาติในอนาคต แผนการดำเนินงาน
โครงการที่สำคัญของการเคหะแห่งชาติในอนาคต บูธจัดแสดง “เมืองในอนาคตที่เป็นจริง” บ้านเคหะสุขประชา
(บ้านเช่าพร้อมอาชีพ) เกษียณสุขกับบ้านเคหะสุขเกษม โครงการฟื้นฟูเมืองเพื่อชีวิตที่ดีขึ้น บูธจัดแสดง
“มบี ้าน มสี ุข ได้ทนั ทกี บั การเคหะ” ทอี่ ยู่อาศัยราคาประหยัด โปรโมชัน่ สุดคุ้ม

2.2.8 สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) (พอช.) นำเสนอผลงานสำคัญ ได้แก่
Theme: “20 ปี พม. : พอช. กับการส่งเสริมครอบครัวอบอุ่นขับเคลื่อนชุมชนเข้มแข็ง สร้างคุณภาพชีวิตที่ดี
สู่การพฒั นาทยี่ งั่ ยืน” เนื้อหานทิ รรศการ พลังองค์กรชมุ ชนเพอ่ื การพฒั นาทย่ี ่ังยนื : แนะนำภารกิจ พอช. และ
ผลการดำเนนิ งานภายใต้ 20 ปี พม. ผลการดำเนนิ งาน "การพฒั นาทอ่ี ยูอ่ าศยั ใสใ่ จชอ่ งว่าง ไมท่ ิ้งใครและท่ีใด
ไว้ข้างหลงั " : Mind the Gap. Leave No One and Place Behind และ กิจกรรมคลนิ กิ ใหค้ วามรูแ้ ละบริการ

2.2.9 สำนักงานธนานุเคราะห์ (สธค.) นำเสนอผลการดำเนินงานของสำนักงานธนานุเคราะห์
การประเมินคุณภาพทรัพย์จำนำ การปรึกษาสุขภาพทางการเงิน (หมอหนี้) การอบรมดูทรัพย์
จำนำ ประเภททองคำ นวัตกรรมการให้บริการรับจำนำของ สธค. การจำหน่ายทรัพย์หลุดจำนำ และ
การประมูลทรัพยห์ ลดุ จำนำ

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

13

การจัดแสดงและสาธิตผลิตภัณฑ์ ผลงานภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ศลิ ปะ ดนตรี วฒั นธรรม
กฬี า และอาหาร ของกล่มุ เปา้ หมายกระทรวง พม.

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

14

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

15

กจิ กรรมภายในงาน “20 ปี พม. เสริมพลงั สร้างโอกาส พฒั นาคนทุกช่วงวัย”

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

16

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

17

พธิ ีประกาศเกยี รตคิ ุณนักสังคมสงเคราะห์ดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2563

การลงนามบันทึกตกลงความรว่ มมอื เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กลุ่มเปราะบาง

การลงนามบนั ทกึ ตกลงความร่วมมือการสง่ มอบอาหารสว่ นเกินทม่ี ีความปลอดภยั สผู่ ู้ขาดแคลนอาหาร (มลู นธิ ิ SOS)

พิธรี ับมอบการสนับสนุนอาหารจากมูลนธิ เิ จรญิ โภคภัณฑพ์ ัฒนาชีวติ ชนบท

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

18

รับมอบรถเข็นคนพกิ าร จากมูลนิธิเวชดุสิต

พิธีมอบโลเ่ กียรติคุณและของทีร่ ะลกึ แกผ่ ้เู กษียณอายุราชการกระทรวง พม. พ.ศ. 2565

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

19

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

20

2.3 กจิ กรรมเวทีกลางและเสวนาวชิ าการ

2.3.1 ขอ้ เสนอผู้ทรงคุณวฒุ ิ
1) นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (อดีตนายกรัฐมนตรี) : ปาฐกถาพิเศษ : สร้างคุณภาพชวี ติ ที่ดี

ดว้ ยพลังชุมชนและเครือข่ายภาคีพฒั นา วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09.00 – 10.30 น. หอ้ งประชาบดี ช้ัน 19
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ จดั โดย สถาบนั พฒั นาองค์กรชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน)

Pain point ของประเทศ/กระทรวง พม. มีดังนี้
(1) จากวิกฤตต้มยำกุ้ง (พ.ศ. 2540-2544) สู่การถอดบทเรียนงานความมั่นคงของมนุษย์
โดยใช้ “เศรษฐกจิ พอเพียง” เปน็ ฐาน สรา้ งรายได้ อาชพี การออม ผ่านกองทุนต่าง ๆ พรอ้ มการกระจายอำนาจ
สูท่ อ้ งถนิ่ ใหพ้ ึง่ พาตวั เอง
(2) นโยบายไม่ต่อเนื่อง กฎระเบียบทางราชการไม่ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน
เกดิ ความขัดแยง้ ระหวา่ งหน่วยงาน และภาคประชาชน
(3) โครงสร้างประชากรท่ีสูงวยั ขาดแคลนแรงงาน ทำอย่างไรให้แรงงานต่างด้าวเปน็ ประชากร
ที่มีคุณภาพของประเทศ เช่น การปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบให้เหมาะสม เหมือนประเทศในยุโรป อเมริกา
ทคี่ นไทย (ในฐานะคนตา่ งด้าว) อพยพไปทำงานได้สัญชาติและชว่ ยพัฒนาประเทศนนั้ ๆ
(4) ความผนั ผวนของโลก เทคโนโลยี/โลกร้อน
(5) ความเหลอ่ื มล้ำทมี่ าจากนโยบาย คุณภาพเศรษฐกิจฐานราก กระทบตอ่ ความมั่นคงของมนษุ ย์
(6) การทำ CSR ของภาคเอกชน รัฐบาลยังไม่แยกชัดเจน ระหว่าง CSR กับ วิสาหกิจ
เพอ่ื สงั คม ทำใหภ้ าคเอกชนส่วนใหญเ่ นน้ ไปในทิศทางการประชาสัมพนั ธอ์ งค์กร และรฐั มงุ่ ประโยชน์ให้เอกชน
ในการลดหย่อนภาษี ซึ่งวิสาหกิจเพื่อสังคม ควรมีการผลักดันเป็นนติ ิบุคคลรูปแบบใหม่ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา
เรือ่ งระบบภาษี เป็นการเพิม่ แต้มตอ่ บางอย่างในการทำงานเพอ่ื สงั คม ไมใ่ ชก่ ารทำงานเชิงสงเคราะห์

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

21
ข้อเสนอเชิงนโยบาย : นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี กลา่ วไว้ว่า การขับเคลื่อน
ประเทศ/พม. ต้องดำเนนิ การดงั น้ี
(1) ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ รัฐบาล ผู้บริหารกระทรวง พม. ต้องดูแลทางด้านการพัฒนา
สงั คมทค่ี วบคู่ไปกบั การพฒั นาเศรษฐกิจ
(2) ปรับเปลี่ยนเรื่องเป้าหมายความสำเร็จทางเศรษฐกิจไม่ควรมองแค่ GDP แต่ควรมอง
ระบบเศรษฐกิจฐานราก และตระหนกั ถึงงานท่สี รา้ งคุณค่าทางเศรษฐกิจ แตไ่ ม่ถกู ตีเป็นคา่ แรง เชน่ งานผู้ดูแล
คนพกิ าร สิง่ แวดลอ้ ม ชุมชน ทห่ี ุ่นยนตไ์ ม่สามารถทำแทนได้
(3) สิทธิขั้นพื้นฐานตามหลักสิทธิมนุษยชน ต้องเป็นสวัสดิการถ้วนหน้า เช่น เด็กแรกเกิด/
การศึกษา โดยการจดั สรรระบบภาษใี หเ้ อื้อต่อระบบสวสั ดกิ าร
(4) ให้ความสำคัญกับการทำงานระดับชุมชนฐานรากให้เป็นสวัสดิการถ้วนหน้า เชื่อมโยง
บรู ณาการกันอย่างครบถ้วน
(5) กระจายอำนาจ โดยพัฒนาศักยภาพชุมชนให้มีความยืดหยุ่นแต่ละพื้นที่ โดยไม่ลืม
หลกั ธรรมาภิบาล

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

22
2) ดร.วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ (สมาชิกวุฒิสภา) : ปาฐกถาพิเศษ : “เสริมพลัง สร้างโอกาส

พัฒนาคนทุกช่วงวัย” วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09.45-10.30 น. ห้องประชุมปกรณ์ ชั้น 2
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดโดย สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมัน่ คงของมนุษย์

Pain point ของประเทศ/กระทรวง พม.
ปัจจบุ นั ประเทศไทยมีกบั ดักคล่นื 4 ลูก ที่สง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศและเราตอ้ งก้าวผา่ น ไดแ้ ก่
1) Covid-19 วิกฤตการณ์โควิด 2) Recission สภาวะเศรษฐกิจถดถอย หลัง COVID 3) Climate Change
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ 4) Biodiversity Collapse วงจรความหลากหลายทางชีวภาพ ซ่งึ ถอื เป็น
ประเด็นที่ทา้ ทายและซบั ซอ้ นท่ี พม. จะต้องคำนึงถงึ

ข้อเสนอเชงิ นโยบาย : ดร.วีระศักดิ์ โควสรุ ตั น์ กล่าวไว้ว่า แนวทางขบั เคลื่อนกระทรวง พม.
(1) ต้องเปลี่ยนจาก “การให้” เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตที่มุ่งสู่ “Human Dignity”
(ศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์)
(2) พม. ควรเป็น “เจา้ ภาพ” งานดา้ นสงั คมทกุ เรื่อง แตไ่ มจ่ ำเป็นตอ้ งเปน็ “เจ้าของ” ทกุ เรื่อง
(3) พม. ควรเป็น “เจ้ามือ” ร่วมกับภาคเี ครือขา่ ยในการบรู ณาการความรว่ มมือกบั ภาคตี ่าง ๆ
ในการทำงานร่วมกนั
(4) พร้อมทั้งมุ่งสร้างความร่วมมือกับทุกภาคส่วนเพื่อสร้างความรับผิดชอบร่วมกัน
และลดข้อจำกดั เรอื่ งทรพั ยากรของ พม.

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

23
3) นายอนุศักดิ์ คงมาลัย (สมาชิกวุฒิสภา) : ปาฐกถาพิเศษ : สภาองค์กรชุมชน
กับการบูรณาการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง วันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 10.00 – 10.45 น.
ณ หอ้ งประชุม ช้นั 19 จดั โดยสถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน (องค์การมหาชน)

Pain point ของประเทศ/กระทรวง พม. สามารถจำแนกเปน็ ประเดน็ ได้ ดงั น้ี
(1) คณะกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ และการจัดทำ
และดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ (ตสร.) ได้รับมอบหมายหลาย ๆ เรื่อง โดยเฉพาะสภาองค์กรชุมชน
หลายคนใน ตสร. ยงั ไมเ่ ขา้ ใจเร่ืองสภาองคก์ รชมุ ชน ต้องมกี ารสร้างความเข้าใจรว่ มกัน
(2) การปฏิรูปประเทศยังเป็นรูปแบบ top down หากจะทำให้ชุมชนฐานรากเข้มแข็ง
ต้องปรับจาก top down ให้เป็น bottom up โดยให้พื้นที่เป็นคนทำ เพราะพื้นที่เท่านั้นเป็นผู้รู้จริง
มีการรวมกลุ่ม ตั้งกลุ่ม เครือข่าย องค์กร ทำงานเชิงประเด็น ให้สภาองค์กรชุมชนระดับตำบล ระดับจังหวัด
ระดบั ประเทศ มกี ารบรหิ ารจดั การความสมั พนั ธ์กลไกไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
ข้อเสนอเชิงนโยบาย : นายอนุศักดิ์ คงมาลัย (สมาชิกวุฒิสภา) กล่าวไว้ว่า การขับเคลื่อน
การพัฒนาชมุ ชนท้องถน่ิ อย่างแทจ้ รงิ ตอ้ งไปพรอ้ มกันทัง้ 2 สภา คือ รัฐสภาและสภาองค์กรชมุ ชน โดยต้องเน้น
การมีส่วนร่วมของประชาชน และต้องสอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (1,2,4) สอดคล้องแผนแม่บท
(15 พลังทางสงั คม, 16 เศรษฐกจิ ฐานราก, 17 ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม) และ 13 หมุดหมาย
สภาพัฒนฯ์ เพือ่ นำไปสู่ “มนั่ คง มงั่ คง่ั ยง่ั ยืน”

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

24
4) ดร.กอบศักดิ์ ภูตระกูล ประธานกรรมการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การ

มหาชน) : ปาฐกถาพิเศษ “2579 ชมุ ชนท้องถิน่ มีความเข้มแข็งเต็มพ้ืนท่ีประเทศไทย” วนั ที่ 29 กันยายน 2565
เวลา 11.00 – 16.30 น. ณ หอ้ งประชุม ช้นั 19 จัดโดยสถาบันพัฒนาองค์กรชมุ ชน (องค์การมหาชน)

Pain point ของประเทศ/กระทรวง พม. สามารถจำแนกเปน็ ประเดน็ ได้ ดังนี้
การพัฒนาประเทศที่ผ่านมาเป็นการพัฒนาที่ผิดทาง เพราะยิ่งพัฒนาชุมชนยิ่งอ่อนแอ
สูญเสยี ทด่ี นิ สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม แตส่ ่ิงท่จี ะทำให้ประเทศชาติพฒั นาได้นน้ั ต้องเป็นการพัฒนาท่ีมาจาก
ฐานราก มาจากชุมชน โดยการดำเนินงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9 มีหลายโครงการ
ประสบความสำเร็จ สรา้ งความเข้มแข็งให้กับชุมชนไดจ้ รงิ เชน่ สถาบันการเงนิ ชุมชน ปา่ ชุมชน ตน้ ไม้มีค่าคนั นาทองคำ
ธนาคารต้นไม้ ธนาคารปู ฝายมีชีวติ ท่องเที่ยวชมุ ชน บา้ นมนั่ คง ซงึ่ บ้าน คือ จดุ เรมิ่ ตน้ ของชีวติ เปน็ ต้น

Cr.visual note : นายอนพุ งษ์ จรดรัมย์ ชำนาญการปฏบิ ัตกิ ารชมุ ชน สงั กัดสำนักงานภาคกรงุ เทพฯปริมณฑลและตะวันออก พอช.

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

25
ข้อเสนอเชงิ นโยบาย :
ดร.กอบศกั ด์ิ ภูตระกลู ประธานกรรมการสถาบนั พัฒนาองคก์ รชุมชน กลา่ วไว้วา่ เป้าหมาย
ของการขับเคล่อื นงาน พอช. “ปี 2579 ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เขม้ แข็ง” ผา่ นต่อยอดและเสริมประสิทธภิ าพงานที่ พอช.
ไดร้ เิ ร่มิ ไว้แล้วให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ ม่งุ ส่กู ารพ่ึงตนเองภายใต้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 7 ด้าน ได้แก่
(1) โรงเรยี นผู้นำชุมชน
(2) ป่าชมุ ชนเพ่ือการจดั การตนเอง
(3) การพฒั นาสอ่ื และช่องทางท่ีเอ้อื ตอ่ การเข้าถงึ ของประชาชน/ทอ้ งถ่นิ มากขึน้ เปล่ยี นความรู้
เข้าออนไลนใ์ หห้ มด ทำให้ตัวความรกู้ ระจายรวดเรว็
(4) การพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาครัฐให้เป็นพี่เลี้ยงเชื่อมโยงและถ่ายทอดบริการภาครัฐ
ให้เข้าถึงองค์กร/ขบวนชุมชน มีทีมเล็ก ๆ ใน พอช. หาโครงการเหล่านีใ้ ห้ชุมชน ช่วยเขียนโครงการให้พีน่ อ้ ง
จะเข้าถึงโครงการต่าง ๆ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ คอื รัฐบาลจะใหพ้ น่ี ้องอยู่แล้ว แตเ่ ขา้ ไม่ถงึ
(5) การจัดตัง้ กองทุนเพอื่ สง่ เสรมิ การจดั การตนเองของภาคประชาชน
(6) การปรับปรุงกฎหมาย/ ระเบียบ/ ข้อบังคับให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชน
ท้องถ่นิ เช่น กฎหมายสวสั ดกิ ารชุมชน กฎหมายปา่ ไม้ มที มี งานอกี ทมี ใน พอช.มาทำเร่ืองกฎหมาย
(7) ส่งเสริมความร่วมมือทุกภาคส่วนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น หาพาร์ตเนอร์
ในการทำงาน เช่น มหาวทิ ยาลัย สถานทตู หนว่ ยงานรฐั บาล แพทยช์ นบท ผเู้ ช่ยี วชาญจากตา่ งประเทศมาชว่ ย

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

26
5) นายอนุกูล ปีดแก้ว (ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์) :

“การพัฒนาเชงิ พน้ื ที่ : สภาองค์กรชุมชน” (Sand box) วนั ศุกร์ท่ี 30 กันยายน 2565 เวลา 08.00 – 15.00 น.
ณ หอ้ งประชุม ชนั้ 19 จดั โดยสถาบนั พัฒนาองคก์ รชมุ ชน (องค์การมหาชน)

Pain point ของประเทศ/กระทรวง พม. สามารถจำแนกเป็นประเด็นได้ ดังนี้
การทำงานในเรื่องความเข้มแข็งของขบวนองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐที่หนุนเสริม
ยังเป็นการทำงานแบบแยกส่วน งบประมาณ รวมถึงทรพั ยากรมีจำกัด ต้องเปลี่ยนวิธีเพื่อจดั สรรงบประมาณ
ในการกระจายอำนาจลงพื้นที่ ประกอบกับขอ้ มลู กลมุ่ เปราะบางของ พม. ยังไมม่ ขี อ้ มูลทชี่ ัดเจน ต้องบูรณาการกับ
กระทรวงมหาดไทย และสภาพัฒน์ ซึ่งเป็นเลขานุการหลัก ของระบบ TPMAP ที่จะต้องมีระบบการใช้ข้อมูล
และการบันทึกข้อมูล ซึ่งจะต้องสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนร่วมกัน 5 มิติ ได้แก่ 1) ที่อยู่อาศัย
2) อาชีพรายได้ 3) สุขภาพ 4) การศึกษา 5) การเข้าถึงสิทธิ จึงจะทำ ให้ศูนย์ช่วยเหลือสังคมทีม่ ีกว่า 8,000 แห่ง
เกิดระบบการช่วยเหลือ สง่ ตอ่ และพัฒนาใหเ้ กิดคณุ ภาพต่อไป

Cr.visual note : นายอนุพงษ์ จรดรัมย์ ชำนาญการปฏิบัติการชมุ ชน สังกัดสำนกั งานภาคกรุงเทพฯปรมิ ณฑลและตะวันออก พอช.

ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย :
นายอนุกูล ปีดแก้ว ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กล่าวไว้ว่า
แนวทางขบั เคล่ือนกระทรวง พม. มีดังน้ี 1. ควรมกี ารทำแผนสวัสดกิ ารชุมชน ทำแผนสวัสดิการชุมชนจังหวัด
2. สร้างความเข้าใจร่วมกันในการจัดทำสวัสดิการร่วมกับ อปท. และ 3. พื้นที่ Sand Box ของ พอช.
เป็นตัวอย่างการบูรณาการอย่างแท้จริง สะท้อนวิธีคิดจากล่างขึ้นบน (Bottom Up Approach) เกิดบริการ
และเขา้ ถึงชมุ ชนอย่างเรว็ ทส่ี ดุ

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

27

สำหรับกิจกรรมเวทีกลาง นอกจากการปาฐกถาพิเศษ การเสวนาวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วยังมี
พ ิ ธ ี ลง น าม บั น ทึ ก ข้ อ ตก ลง คว าม ร ่ ว ม ม ื อ ร ะ หว ่ าง ก ระ ท ร ว งก าร พ ั ฒน าสั ง คม และ คว าม ม ั ่ น คง ขอ งม น ุษย์
กับหนว่ ยงาน การมอบโล่/ มอบรางวัล รวมทง้ั การประชุมเสวนาวิชาการ ดงั นี้

2.3.2 การลงนามบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือ
- การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง
- การสง่ มอบอาหารสว่ นเกนิ ท่มี ีความปลอดภัยสผู่ ้ขู าดแคลนอาหาร (มูลนธิ ิ SOS)
- การขับเคลอื่ นสถาบันเพาะกล้าคุณธรรม เพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน จ.พษิ ณุโลก

2.3.3 การมอบโล/่ มอบรางวัล
- พธิ มี อบโล่เกียรติคุณและของท่ีระลกึ แกผ่ ู้เกษยี ณอายุราชการกระทรวง พม. พ.ศ. 2565
- พธิ ีประกาศเกียรติคุณนกั สงั คมสงเคราะหด์ ีเด่น พ.ศ. 2563
- พิธมี อบโล่รางวัล “1 คนดีมีจริยธรรม 1 หนว่ ยงาน” กระทรวง พม.
- พิธีมอบโล่รางวลั “เชดิ ชเู กียรตหิ นว่ ยงานตน้ แบบจัดทำชุดองค์ความรูห้ ้องสมุดมีชีวติ E-Library”
- พิธีมอบใบประกาศเกียรติคุณให้กับสภาองค์กรชุมชน และคนรุ่นใหม่ของขบวนประชาสังคม

ศูนย์บ่มเพาะเศรษฐกิจและทุนชุมชนที่มีคุณูปการด้านการพัฒนากลุ่มผู้มีรายได้น้อย และจังหวัด/อบจ.
ที่สนับสนุนการดำเนนิ งานของกองทุนสวัสดกิ ารชุมชน

2.3.4 การประชุมวชิ าการ เวทเี สวนาวิชาการ

1) สรุปภาพรวมเชิงประเด็น : ด้านเด็กและเยาวชน

จากเวทีเสวนาประเด็น “เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด” วันพฤหัสบดีที่
30 กันยายน 2565 เวลา 09.00 - 12.00 น. ห้องประชาบดี ชนั้ 19 โดยกรมกจิ การเดก็ และเยาวชน

วทิ ยากร : ผูแ้ ทนกรมกิจการเดก็ และเยาวชน, UNICEF, TDRI และ MC
นายแพทย์ธีรชัย บุญยะลีพรรณ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันพัฒนา
อนามัยเด็กแหง่ ชาติ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข
ดร.สมชยั จิตสชุ น ผู้อำนวยการวิจยั ด้านการพฒั นาอย่างท่ัวถงึ สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนา
ประเทศไทย
Ms. Sarah Shahyar Chief of Social Policy UNICEF องคก์ ารทนุ เพื่อเดก็ แหง่ สหประชาชาติ
ประเทศไทย
จากผลการศกึ ษา TDRI และ EPRI ในปี 2561 พบวา่ มคี รอบครัวเด็กแรกเกดิ ทีต่ กหลน่ จาก
โครงการเงินอุดหนุน 30% โดยสาเหตุของการตกหล่นเนื่องจากไม่รู้ว่ามีโครงการนี้ ขาดเอกสาร
กลวั การลงทะเบียน และไม่อยากถกู มองว่าเปน็ คนจน

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

28

ภาพความสำเร็จของ กระทรวง พม. ด้านเด็กและเยาวชน
จากเวที Ted talk เวทีสร้างแรงบันดาลใจ สำหรบั เด็กในความอุปการะของสถานรองรับเด็ก
“ดี เก่ง กล้า ด้วยดนตรี กีฬา ศิลปะ” วันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 10.40 - 11.30 น. ห้องประชุม
ปกรณ์ อังศุสิงห์ ชั้น 2 โดยกรมกิจการเดก็ และเยาวชน กล่าวไว้ว่า เด็กในความอุปการะของสถานรองรบั เดก็
“ดี เก่ง กลา้ ด้วยดนตรี กีฬา ศลิ ปะ” สะท้อนให้เหน็ ได้จาก
(1) นายสุไลหมาน มาศหวงั (นอ้ งเจ) นักฟุตบอลรุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี โรงเรียนเทพศิรินทร์
แรงบันดาลใจมาจากการมีแบบอย่างที่ดีจากคุณเจ ชนาธิป นักกีฬาฟุตบอลทีมชาติไทย จึงนำแรงบันดาลใจ
มาผลกั ดันตัวเองดว้ ยการสรา้ งความเชื่อมน่ั ในตวั เองว่า “เราทำได้ เรามศี กั ยภาพและสามารถทำทุกอย่างไดด้ ้วยตนเอง”
จึงตั้งใจฝึกซ้อมกีฬาฟุตบอลและมีความมุ่งมั่นที่จะประสบความสำเร็จในชีวิต ในปัจจุบัน นายสุไลหมานฯ
ไดร้ ับคดั เลือกใหเ้ ป็นนกั ฟุตบอลรุน่ อายุไมเ่ กิน 18 ปี โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์ และอย่ใู นสงั กัด DCY Academy
(2) นางสาวเขมิกา ศรีโสภา (น้องนิ้ง) เด็กในสถานสงเคราะห์เด็กหญิงสระบุรี นักกีฬา
ปั่นจักรยาน BMX รางวัลอันดับที่ 5 ในการแข่งขันจักรยาน BMX รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี แรงบันดาลใจมาจาก
คุณฟ้า ชุติกาญจน์ นักกีฬาโอลิมปิก ที่มีความมุ่งมั่น ตั้งใจฝึกซ้อมจนได้เป็นนักกีฬาโอลิมปิก นำมาเป็น
แรงผลักดันเพื่อนำไปสู่ความฝัน โดยใช้แรงบันดาลใจมาฝึกฝนตัวเอง มีความอดทน มีความตั้งใจฝึกซ้อม
จักรยาน BMX และหาโอกาสใหก้ ับตนเองอยู่เสมอ สรา้ งความภาคภมู ิใจในตัวเองเพ่ือเอาชนะกับอุปสรรคต่าง ๆ
และรู้จักคุณค่าในตัวเอง จนทำให้นางสาวเขมิกาฯ เป็นตัวแทนทีมชาติไทยในการแข่งขันจักรยาน BMX
ชิงแชมป์เอเชีย 2022 ณ ประเทศมาเลเซีย โดยได้รับรางวัลอันดับที่ 5 ในการแข่งขันจักรยาน BMX
รุ่นอายไุ ม่เกนิ 23 ปี
(3) เด็กชายวรกิตต์ิ เรม่ิ รัตน์ (น้องโฟกัส) มตี ัวเองเปน็ แรงบันดาลใจ ดว้ ยคตปิ ระจำใจท่ีว่า
การทำในสิ่งที่ชอบและพยายามทำให้ดีที่สุดด้วยการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ วางแผนในชีวิตของตนเอง
ค้นหาศักยภาพของตนเอง จนค้นพบว่าตนเองมีความชื่นชอบในดนตรี จึงตั้งใจฝึกฝนจนสามารถเล่นดนตรี
ไดท้ ัง้ ดนตรีไทยและดนตรีสากล ปัจจบุ ันสามารถเลน่ ดนตรีท้งั ดนตรีไทยและดนตรีสากลได้มากกวา่ 5 ชนิด
(4) นางสาวอรวรรยา วงศจ์ ุฑาเจรญิ (นอ้ งอาย) ซง่ึ มีแรงบนั ดาลใจ เร่มิ จากตัวเองมีความช่ืนชอบ
ในภาษาจีน จึงเริ่มฝึกฝนภาษาจีนด้วยตนเอง ด้วยการอ่านหนังสือที่เกี่ยวข้องกับภาษาจีน ดูคลิปการพูด
ภาษาจีนและฝึกฝนทักษะทางด้านภาษาจีนจนชำนาญ โดยมองว่าหากตนเองมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาจนี
จะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในอนาคตได้ และมองว่าภาษาเป็นสิ่งที่สำคัญในการดำเนินชีวิต เพราะปัจจุบัน
มคี วามหลากหลายทางดา้ นวฒั นธรรม หากตนเองมคี วามเกง่ ทางด้านภาษาจีน กจ็ ะสามารถนำไปใช้ประโยชน์
ไดใ้ นอนาคตและสามารถนำไปตอ่ ยอดในการประกอบอาชพี ดา้ นภาษาเพ่ือความก้าวหนา้ ในอนาคตจนสามารถ
ดูแลตัวเองได้ โดยนางสาวอรวรรยาฯ ได้มีโอกาสในการแสดงความสามารถด้านภาษาจีนด้วยการเข้าร่วม
การแขง่ ขนั การพดู ภาษาจีนและเขา้ ร่วมกิจกรรมเดก็ ไทยในศตวรรษท่ี 21 เก่ง ดี มที ักษะ แขง็ แรง

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

29

จากเวที Ted Talk : การสร้างแรงบันดาลใจสำหรับเยาวชน เวทีตา่ งประเทศ : เยาวชนไทย
สู่เวทแี ข่งขันระดับชาติ วันเสารท์ ี่ 1 ตลุ าคม 2565 เวลา : 15.55 – 16.30 น. โดยกรมกิจการเด็กและเยาวชน
ที่สะท้อนให้เห็นถึงเยาวชนไทยสู่เวทีแข่งขันระดับชาติ ผ่านตัวอย่างนักเรียนโรงเรียนนายเรืออากาศ
นวมนิ ทกษัตริยาธิราช ท่ไี ดร้ บั คดั เลือกในการโต้วาทใี นเวทีอาเซยี น

ขอ้ เสนอเพอื่ การขับเคลือ่ นกระทรวง พม. : ดา้ นเด็กและเยาวชน
ด้านการเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิดฯ พม. ควรมีการบูรณาการโครงการเงินอุดหนุนฯ
และเงินสงเคราะห์บตุ รกับภารกิจของสำนักงานประกันสงั คม ใหร้ ่วมมือกันและนำโมเดลทีไ่ ด้ไปขจัดความเปราะบาง
ในเด็กและการตกหล่นของประชาชนผ้ไู มไ่ ด้รบั เงินอดุ หนนุ สรา้ งความเสมอภาคแก่ประชาชนตอ่ ไป
ด้านมติสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 14/2565 กัญชาเสรี :
ผลกระทบต่อเดก็ และเยาวชน พลิกวิกฤตหรอื เพม่ิ ปญั หา มรี ายละเอยี ดการพฒั นา ดังนี้
(1) มหี ลกั สตู ร/ นวตั กรรม/ กองทุน/ วจิ ยั “การใชก้ ญั ชาในเด็กและเยาวชน” (มท./ สธ./ ศธ.)
(2) ส่งเสริมความรู้ /ศูนย์ให้คำปรึกษาแก่ผูป้ ระกอบการรุ่นใหม่ในกิจกรรมเกีย่ วกับกัญชา
(พณ./ ธก./ สช./ กษ./ มท./ อว./ อปท/ ประชาสังคม/ CSR)
(3) ลดผลกระทบการใช้กัญชา ส่งเสริมสิทธิบัตร/ ทรัพย์สินทางปัญญาด้านกัญชา
โดย เดก็ เยาวชน (สช/ กรมการแพทย/์ กรมสขุ ภาพจิต/ ราชวิทยาลยั กมุ ารแพทย์/ อื่น ๆ)
(4) มีแผนรับมือความเสี่ยงผลกระทบจากกัญชา รพ.สต. รับมือการรักษาฉุกเฉินในเด็ก
และเยาวชน (สธ./ กรมการแพทย์/ กรมสขุ ภาพจิต/ ราชวิทยาลยั การแพทย์/ อื่น ๆ)
(5) ยกเลิกกญั ชาเสรี ใหใ้ ช้เพอื่ การแพทย์ (สธ.)
(6) ระหว่างยังไม่มีบทเฉพาะกาล เด็กและเยาวชนอายุน้อยกว่า 20 ปี ห้ามซื้อ/ ขาย/
ครอบครอง/ ห้ามโฆษณาเชิญชวนกิจกรรมส่งเสริมการขายที่เด็กและเยาวชนเกี่ยวข้อง/ สถานศึกษา
เพ่มิ มาตรการป้องกนั เขม้ งวด (สธ.)
(7) เรง่ สรา้ งภูมิค้นุ กนั ใช้ส่ือความรู้ประโยชน/์ โทษของกัญชา (มท./ สธ./ ศธ./ พม./ อว./
สำนักนายกฯ)
ด้านการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเด็กและเยาวชน พม.ควรมีการสนับสนุนให้เด็ก
ในอุปการะหลุดพ้นจากความเปราะบาง ผ่านกระบวนการแรงบันดาลใจ สร้างโอกาส พร้อมสนับสนุนเด็ก
และเยาวชนให้ถูกที่ถูกเวลา เพิ่มพ้ืนทีก่ ลางให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความสามารถและศักยภาพของตนเอง
ท้ังในเวทขี องประเทศและเวทรี ะดับโลก ควบค่กู บั สนบั สนนุ ใหพ้ วกเขาร้จู กั วางแผนในการใชช้ วี ติ ของตนเอง

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

30

2) สรปุ ภาพรวมเชงิ ประเดน็ : ดา้ นคนพิการ

ภาพความสำเร็จของ กระทรวง พม. ด้านคนการ
จาก Ted Talk : คนพิการสร้างแรงบันดาลใจ ” วันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 10.40 - 11.30 น.
โดยกรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ แสดงให้เห็นถึงตัวอย่างความสำเร็จของ พม. สามารถสะท้อนให้เห็น
จากแรงบนั ดาลใจของกลมุ่ บุคคลเหลา่ น้ี ไดแ้ ก่
คุณวรรณี ศรีอรัญ ไดเ้ ล่าเรอื่ งราวความประทับใจทไี่ ดร้ บั จากพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้รับเป็นคนไข้ในพระมหากรุณา
ทำให้คุณวรรณีสามารถมีชีวิตได้อยู่จนถึงปัจจุบัน ในช่วงเวลาทีผ่ ่านมา คุณวรรณี มีอาการท้อแท้และส้นิ หวัง
แต่เพราะการไดร้ ับความช่วยเหลือจากรชั กาลที่ 9 ทำใหค้ ณุ วรรณีบอกกับตัวเองเสมอว่า “วรรณีต้องสู้ หา้ มทอ้
เพราะรชั กาลท่ี 9 ทรงให้กำลงั ใจวรรณีตลอด” ซงึ่ คณุ วรรณฝี ากขอ้ ความถงึ คนทีก่ ำลังทอ้ แท้ใจ ตอ้ งการกำลังใจว่า
“คนเราควรหาแรงบันดาลใจในการต่อสู้ชีวิต ถึงเราจะพิการ แต่เรามีคุณค่าในตัวเองที่จะสู้” โดยคุณวรรณี
จะทำส่งิ ดี ๆ ตอบแทน ชว่ ยเหลือสังคมเหมอื นทคี่ ุณวรรณไี ดร้ ับมา
คุณณัชชารยี ์ เป็นเอกชนะศักด์ิ ไดเ้ ล่าเรื่องราวในชีวติ ซงึ่ ก่อนท่ีตนเองจะพกิ าร คุณณัชชารีย์
เคยเป็นคนที่มีรา่ งกายสมประกอบ แต่เกิดอุบัติเหตุทางรถไฟทำให้คุณณชั ชารีย์ตอ้ งเป็นคนพิการทางร่างกาย
หลังเกิดอุบัติเหตุที่เปลี่ยนแปลงชีวิต คุณณัชชารีย์ต้องเริ่มชีวิตใหม่ทั้งหมด ทั้งทำใจในสภาพร่างกาย
ที่เปลี่ยนแปลง รวมถึงทำใจกับคำว่า “พิการ” ดังนั้นคุณณัชชารีย์คิดว่า การที่จะดำเนินชีวิตต่อไปได้
คือตอ้ งปรบั มุมมองครอบครัว (ครอบครวั สนับสนนุ เห็นถึงศักยภาพของคณุ ณัชชารยี ์) พัฒนาตนเอง มองข้อดี
ของตนเอง พาตนเองไปอยู่กบั สังคมใหม่ ๆ รวมถงึ ทำกายภาพบำบดั เพอ่ื เรียนรู้สงิ่ ใหม่ ๆ
คุณนีรนุช คุณากร กล่าวว่า ตนเป็นผู้พิการประเภทที่ 4 คือ “พิการทางจิตสังคม”
เป็นความเปราะบางในจติ ใจ ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตา และกล่าวถึงองค์กร Living ซึ่งเป็นองค์กรท่ีจัดต้ัง
โดยผู้ป่วยจิตเวช โดยองค์กร Living ได้สอนการประกอบอาชีพสำหรับคนพิการ จึงทำให้เธอมีวิชาติดตัว
เพื่อประกอบอาชีพตอ่ ไป
ขอ้ เสนอเพอื่ การขบั เคลือ่ นกระทรวง พม. : ด้านคนพกิ าร
(1) สงั คมควรตระหนักในศกั ยภาพคนพิการ/ใหโ้ อกาสมากกวา่ ความสงสาร
(2) คนพิการและครอบครัวควรไดร้ ับการสนบั สนุนจากคนรอบขา้ ง เป็นกำลงั ในการดำเนนิ ชีวิต
(3) การสนับสนุน/เขา้ ถงึ กายอุปกรณ์อย่างท่วั ถึง เสมอภาค เป็นส่วนช่วยในการดำเนินชีวิต
ของคนพิการ

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

31

3) สรปุ ภาพรวมเชิงประเดน็ : ดา้ นสตรีและครอบครวั

จากเวทีเสวนา พลังสังคม พลังครอบครัว : สร้างสุข ทุกพื้นที่ ปลอดภัย วันศุกร์ท่ี
30 กันยายน 2565 เวลา 09.00 - 09.50 น. ห้องประชุมปกรณ์ ชั้น 2 โดยกรมกิจการสตรีและ
สถาบนั ครอบครัว มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

แนวคดิ ในการพัฒนาด้านสตรแี ละครอบครวั ไดแ้ ก่
แนวคิดพลังสังคม พลงั ครอบครัว : สร้างสุข ทกุ พน้ื ท่ี ปลอดภยั ประกอบดว้ ย
(1) การส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ปลอดภัย ครูมีอยู่จริง ไม่บ่มเพาะ
การศกึ ษาภาวะทที่ ำใหเ้ ดก็ สร้างกลไกการป้องกนั ตนเองที่ไม่เหมาะสม รวมทัง้ เสริมสร้างใหเ้ ดก็ เกิด Executive
สติ สมาธิ ปัญญา อารมณ์ ความคดิ วเิ คราะห์ ตัดใจ แก้ไขปญั หา
(2) สร้างสถานท่ีทำงานทสี่ ่งเสรมิ สุขภาวะทด่ี ีของครอบครัว 4 มิติ ไดแ้ ก่ Time/ Location/
Support/ Relation
(3) การจัดการพื้นที่เรียนรู้ที่เหมาะสม เช่น ความรู้เท่าทันเทคโนโลยี เข้าใจพัฒนาการ
ของเด็กแตล่ ะช่วงวัย การเปลีย่ นพืน้ ที่การเรียนรู้ไปสอู่ อนไลน์ เป็นต้น
(4) การบริหารจดั การพื้นทสี่ าธารณะที่เป็นมิตรตอ่ ชมุ ชนและครอบครวั
(5) การเตรียมพร้อมรับมือกบั ความเสีย่ งความทา้ ทายในอนาคต
พื้นทสี่ าธารณะทีป่ ลอดภยั “SAFE” ประกอบดว้ ย
(1) S – Social participation เกิดความมสี ่วนร่วม ความเป็นเจ้าของ ชว่ ยกนั ดูแลรักษา
(2) A – Action การใชพ้ ้นื ท่ีสาธารณะอยา่ งคุ้มคา่ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล
(3) F – Framework มีกฎหมาย นโยบายชดั เจน
(4) E – Education เข้าใจมิติปญั หาความรนุ แรง เคารพความแตกตา่ งกันและกัน
ข้อเสนอเพ่อื การขับเคล่ือนประเทศ/ กระทรวง พม. : ด้านสตรีและครอบครวั
(1) ภาครัฐ เสริมสรา้ งสขุ ภาวะครอบครัว และการส่งเสริมภาคเี ครอื ขา่ ย
(2) การสร้างและออกแบบบา้ นเพื่อลดความรนุ แรง
(3) การพัฒนาบา้ นใหม้ คี วามสขุ สะดวกสบาย
(4) สถาบนั การศกึ ษา ยกระดบั ทักษะ ความรู้ความเข้าใจการอยู่ร่วมกนั ในสงั คมและครอบครวั
(5) สื่อ นำเสนอเน้อื หาท่ีสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ระมัดระวงั เกี่ยวกับความสมั พนั ธ์ในครอบครวั
(6) ครอบครัว ส่งเสรมิ สมั พันธภาพเชิงบวก การทำกจิ กรรมรว่ มกนั
(7) ประชาชน ทกุ คนร่วมมือกนั ขับเคล่ือน

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

32

4) สรุปภาพรวมเชิงประเด็น : ดา้ นผู้สงู อายุ

จากเวทเี สวนาวิชาการ (Forum Talk) นวตั กรรมดแู ลผูส้ งู อายุ “ธุรกิจใหมต่ อบโจทย์วัยเก๋า”
วนั อาทติ ย์ท่ี 2 ตลุ าคม 2565 เวลา 09.30 - 12.00 น. โดยกรมกิจการผ้สู งู อายุ สามารถสรุปประเดน็ ได้ ดงั น้ี

พม. กบั การสรา้ งนวัตกรรมผูส้ งู อายุ
จากเวทีเสวนา (Forum Talk) นวัตกรรมดูแลผู้สูงอายุ “ธุรกิจใหม่ตอบโจทย์วัยเก๋า”
สามารถแบง่ นวตั กรรมเพอื่ ผสู้ งู อายอุ อกเปน็ 3 ประเดน็ ดงั นี้
(1) นวัตกรรมด้านสุขภาพ ผลิตภัณฑ์ไม้เท้าเลเซอร์พระราชทาน จุดเน้นของผลิตภัณฑ์
คือ ไม้เท้าเลเซอร์เป็นสัญลักษณ์การดูแลตนเองเชงิ บวก กล่าวคือไม้เท้าแสดงถึงเทคโนโลยี ไม้เท้าที่มีไฟฉาย
ทำให้ผู้สูงอายุรูส้ ึกว่าตนเองมีความทันสมัยและภาคภูมิใจกว่าการใช้ไมเ้ ท้าธรรมดา ผลิตโดยศูนย์ความเป็นเลิศ
ทางการแพทย์โรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ประดิษฐ์โดย
หลักการของสิ่งกระตุ้นทางสายตาเพื่อช่วยแกไ้ ขอาการเดินตดิ ในผ้ปู ว่ ยพารก์ ินสัน โดยอาศัยแสงเลเซอร์
(2) นวตั กรรมดา้ นทอ่ี ยู่อาศยั การปรบั สภาพแวดลอ้ มท่ีอยู่อาศัยให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
โดยนักวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วัตถุประสงค์ให้คำปรึกษา ให้ความรู้ ติดตาม และให้คำแนะนำ
การออกแบบ มีรูปแบบธุรกิจอยู่ 3 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจที่อยู่อาศัยผู้สูงอายุสำหรับผู้สูงอายุที่มีกำลังซ้ือ
โดยคำนึงถึงการอำนวยความสะดวกและความปลอดภัย การปรับปรุงซ่อมแซมที่อยู่อาศัยผู้ที่มีรายได้น้อย
เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ การปรับปรุงซ่อมแซมบ้านสำหรับผู้มีรายได้น้อยที่สภาพบ้านเสื่อมโทรมโดยใช้เงิน
ในวงเงนิ ไม่เกนิ 1 แสนบาท
(3) นวัตกรรมดา้ นการอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต ได้แก่

- บริษัท Go Mama แท็กซี่สำหรับผู้สูงอายุเสมือนมีคนขับรถส่วนตัว โดยให้บริการ
ผู้สงู อายุเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ เพอื่ ใหผ้ ูส้ ูงอายรุ ู้สกึ เปน็ อิสระ สามารถพึง่ พาตัวเองได้ โดยออกแบบให้ผู้สูงอายุ
สามารถเลอื กคนขบั ได้ รอรบั ได้ เลือกวนั เวลาการเดินทาง และเตอื นเมอื่ ถงึ เวลาออกเดินทาง

- Joy Ride รถรับส่งพาผู้สูงอายุไปยังที่ต่าง ๆ ตามที่ผู้สูงอายุต้องการ รวมถึง
การให้บริการต่าง ๆ ที่ผู้สูงอายุร้องขอเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสุขและได้รับการอำนวยความสะดวก
ในชีวติ ประจำวนั กรณที บ่ี ุตรหลานไม่ว่างหรือไมม่ ีบุตรหลานดูแล เชน่ พาผสู้ ูงอายุพบหมอ ช้อปป้ิง พาไปฉีดวัคซีน
และให้การดแู ลเมอ่ื ผสู้ ูงอายตุ อ้ งการอน่ื ๆ

ข้อเสนอเพ่อื การขับเคลอื่ นกระทรวง พม. : ด้านผูส้ งู อายุ
ควรมุ่งเน้นสรา้ งความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการขับเคล่ือนและ
ผลักดันการดูแลผู้สูงอายุให้ครอบคลุมในทุกด้านเพื่อส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม และ
มีคุณภาพชีวติ ที่ดี

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

33

5) สรุปภาพรวมเชิงประเดน็ : ด้านการเสริมพลงั ชมุ ชน/ขบวนชมุ ชน

พอช. กบั การเสรมิ พลงั ชมุ ชน/ขบวนชุมชน
จากเวทีการพัฒนาเชิงพื้นที่ สภาองค์กรชมุ ชน (Sand box) วันศุกรท์ ี่ 30 กันยายน 2565
เวลา 08.30 - 16.30 น. ห้องประชาบดี ชั้น 19 อาคารกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
โดยสถาบนั พัฒนาองค์กรชมุ ชน (องค์การมหาชน) ซง่ึ มีรายละเอยี ดดังนี้
5.1) การพัฒนาตำบลเข้มแข็ง : พลงั องคก์ รชมุ ชนเพื่อการพัฒนาทีย่ ัง่ ยนื
(1) นายกฤษดา สงประสงค์ (ผอ.พอช.) วัตถุประสงค์ในการพัฒนาตำบลเข้มแข็ง :
พลงั องคก์ รชมุ ชนเพ่อื การพฒั นาทย่ี ่ังยืน ได้แก่

- นำเสนอรปู ธรรมความสำเร็จของเครอื ขา่ ยองคก์ รชมุ ชนท่ีนำไปสู่ตำบลเขม้ แขง็
- แลกเปลย่ี นแนวคดิ งานพฒั นาชมุ ชนท้องถนิ่ เข้มแขง็ สกู่ ารพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน
- เพ่อื ใหเ้ กดิ แนวทางในการพฒั นา โดยชุมชนเปน็ แกนหลัก พืน้ ท่ีเปน็ ตวั ตง้ั และขยายผล
(2) ดร.กอบศกั ดิ์ ภูตระกลู (ประธานกรรมการ พอช.) ปาฐกถาพิเศษ “2579 ชมุ ชนท้องถ่ิน
มคี วามเข้มแข็งเต็มพน้ื ที่ประเทศไทย”
พอช. มีเป้าหมาย : ปี 2579 ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็งเต็มพื้นที่ประเทศไทย 7,825 ตำบล
75,032 หมูบ่ า้ น ชมุ ชนท้องถ่ินทม่ี คี วามเขม้ แข็ง เต็มพ้ืนท่ีประเทศไทย โดยต่อยอดภารกจิ พอช. และเสริมพลัง
ความเขม้ แข็งขบวนองค์กรชุมชนในบรบิ ทแตล่ ะพ้นื ท่ี
รูปธรรมการพัฒนาตำบลเขม้ แข็ง พลังองคก์ รชุมชนเพอื่ การพฒั นาทยี่ ั่งยืน
(1) นายเชน กาฬษร ประธานสภาองคก์ รชุมชนตำบลแจงงาม จงั หวดั สุพรรณบุรี : ผนู้ ำ
ชุมชนและชาวบ้านต้องเรียนรู้และบริหารจัดการสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งการจัดการเรื่องอาหาร
การปรุงสมุนไพรรักษาโรค การระดมทรัพยากรทั้งกำลังคน อาหาร สมุนไพร เพื่อแจกจ่ายให้กับผู้กักตัว
ในหมู่บา้ นจำนวนหน่ึงรอ้ ยกว่าหลังคาเรือน เนอ่ื งจากไมไ่ ดร้ ับการสนับสนุนจากรัฐ โดยการระดมผา่ นส่อื ออนไลน์
เช่น Line Facebook ส่วนตัวของแกนนำหมู่บ้านและสมาชิกในชุมชน โดยรับบริจาคเพียงสิ่งของ ไม่รับเงิน
มกี ารประกาศเสียงตามสายให้คนในชมุ ชนรับทราบสิ่งของและจำนวนของท่มี าบรจิ าค มีการทำหนังสือขอบคุณ
ผู้บริจาคในนามสภาองค์กรชุมชน และนำมารวมไว้ที่จุดศูนย์กลาง มีการแบ่งทีมทำงานในการจัดชุด และ
แจกจ่ายให้กับครอบครัวที่กักตัวอย่างเหมาะสม ทำให้ได้รับความไว้วางใจจากทั้งคนในชุมชนและผู้บริจาค
จึงมีผู้มาบริจาคข้าวของเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้ ความสำเร็จที่เกิดขึ้น เป็นผลมาจากการพึ่งพาตัวเอง
ไม่หวังพึ่งคนอื่นจากการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีและวิถีของคนในชุมชน ไม่รอพึ่งภาครัฐ ความสามัคคีของ
คนในชมุ ชน การส่อื สารเช่ือมโยงกับภาคีภาคส่วนต่าง ๆ โดยใช้สภาองค์กรชมุ ชนเปน็ เครื่องมือ
(2) นายวิชติ คำไกร เลขานกุ ารกองทนุ สวัสดกิ ารชุมชนตำบลทับพรกิ อำเภออรญั ญประเทศ
จังหวัดสระแก้ว : หน่วยงานท้องที่ ท้องถิ่น ต้องทำร่วมกับคนในชุมชนคือ การแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยการ
เปลี่ยนผู้เสพยาเสพติดให้มาเป็นจิตอาสาทำงานพัฒนาชุมชนและสังคม กลายมาเป็นผู้นำหมู่บ้านในปัจจุบัน
มีการแก้ไขปัญหาเรื่องบุคคลไร้สัญชาติ การจัดสวัสดิการดูแลคนในชุมชน มีการคิดค้นสวัสดิการใหม่ ๆ
เพื่อสร้างความยั่งยืนให้กับกองทุนและคนในชุมชน โดยการส่งเสริมการปลูกไม้มะฮอกกานี 5,000 ต้น

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

34

ได้มีการตดั ไม้มาชว่ ยในการทำบา้ นพอเพยี งเนอ่ื งจากมงี บประมาณไม่เพยี งพอ การสง่ เสริมเรื่องการศึกษาและสุขภาพ
โดยการจัดกระบวนการชุมชน ปลูกฝังเยาวชนเรอื่ งการศึกษาดา้ นการพยาบาลและประสานสถาบันการศึกษา
ในการรบั เดก็ และเยาวชนไปศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา จนทำใหม้ ีเยาวชนในพนื้ ทไี่ ดร้ ับการศึกษาต่อหลายคน
และในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ได้มีการปิดหมู่บ้าน จัดหาพื้นที่รองรับคนกลับเข้ามา
ในหมู่บ้านด้วย เป็นต้น

(3) ดร.โอฬาร อ่องฬะ นักวชิ าการมหาวิทยาลยั แม่โจ้ : ชมุ ชนไม่อาจยืนไดด้ ้วยตนเองลำพัง
ต้องมีการสร้างปฏิสัมพันธ์ใหม่ เศรษฐกิจใหม่ การเชื่อมโยงใหม่ การที่ชุมชนเข้มแข็งและยึดโยงกับ
ภาคส่วนต่าง ๆ ได้ต้องมาจากความรู้สึกร่วม ปัญหาร่วม และต้องมีการพัฒนาระบบข้อมูลโดยชุมชน
เป็นเจา้ ของข้อมูล การพัฒนากลไกการจัดการ การสถาปนากลไกเชิงสถาบนั ข้นึ มา ทไ่ี มเ่ ป็นทางการมีหน่วยงาน
เข้ามาร่วม เช่น บวร ชุมชนจึงจะเกาะยึดกันได้ ทำให้เกิดการพัฒนากติกาการจัดการที่เปลี่ยนไปตาม
ความเหมาะสมของพื้นที่ ตลอดจนการยึดโยงกับภาคประชาสังคม และภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง
ซ่งึ การทำในลักษณะนต้ี ้องออกแบบการจัดการ เป็นการกระจายอำนาจให้คนในชุมชนท้องถนิ่ ลุกข้ึนมาจัดการ
ตนเองได้

(4) นายพลากร วงคก์ องแก้ว กรรมการยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นความเสมอภาคทางสังคม :
การขยายพื้นที่ทำงานให้มีปริมาณเต็มพื้นที่เต็มประเทศ ต้องขับเคลื่อนงานพัฒนาเชิงคุณภาพด้วยไม่เน้น
เชิงปริมาณเพียงอย่างเดียว พอช. ต้องเปลี่ยนวิธีการทำงาน ถ้าเราไม่เปลี่ยนให้เป็นความท้าทายในอนาคต
พอช. จะหดแคบลงเรอื่ ย ๆ ขบวนองคก์ รชุมชนอาจจะถูกกีดกันออกจากการพัฒนา

(5) นายวิชัย นะสุวรรณโณ รองผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) :
ต้องมีความเชื่อมั่นต่อชุมชนและขบวนองค์กรชุมชนที่ไม่ได้เป็นภาระ แต่มีขีดความสามารถ มีศักยภาพ
เพียงแต่ไม่ได้ถูกดึงออกมา จึงต้องไปสนับสนุนให้ชุมชนลุกขึ้นมาจัดการตนเอง อันนี้คือพลังของชุมชน และ
ชุมชนเองก็ต้องมีการเปิดพื้นที่มากขึ้นโดยการเชื่อมโยงพลังทางสังคม เชื่อมโยงกับหน่วยงานการศึกษา
องคก์ รส่อื เปน็ ตน้

(6) นายสมเกียรติ จนั ทรสีมา ผอู้ ำนวยการสำนักเครือขา่ ยและการมสี ว่ นรว่ มสาธารณะ
Thai PBS : ชุมชนต้องใช้เทคโนโลยีเป็นพื้นที่กลางและเชื่อมระหว่างคนหลายรุ่น การใช้ระบบอาสาสมัคร
เข้ามาแทนระบบทางการท่ีล้มเหลว เช่น อาสาสมัครคอนโดทด่ี ูแลผ้ปู ่วยโควิด-19 ท่ีพกั อาศัยในคอนโดมิเนียม
ถือเป็นการจัดการตนเองของภาคประชาชน เรียกว่าระบบเป็นชุมชนแบบหนึ่งในระบบในเมืองโลกสมัยใหม่
นอกจากนี้ยังมีการออกแบบพื้นที่กลาง เช่น รายการฟังเสียงประเทศไทย เป็นเวทีในการนำเสนอปัญหา
และทางออกรว่ มกันท้ังเชิงพ้นื ทแ่ี ละนโยบาย ทำใหไ้ ด้รว่ มคดิ ร่วมออกสียงและตัดสินใจ แกป้ ญั หาได้ถกู ทาง

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

35

5.2) การพฒั นาเชิงพน้ื ท่ี สภาองค์กรชุมชน (Sand box)
จากเวทีการพัฒนาเชิงพื้นที่ สภาองค์กรชุมชน (Sand box) วันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2565

เวลา 08.30 - 16.30 น. ห้องประชาบดี ชั้น 19 อาคารกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
โดยสถาบันพฒั นาองคก์ รชุมชน (องคก์ ารมหาชน) โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี

(1) นางสาวเฉลิมศรี ระดากูล (รอง ผอ.พอช.) วัตถุประสงค์ในการพัฒนาเชิงพื้นที่
ของสภาองคก์ รชมุ ชน (Sand Box) ได้แก่

- นำเสนอรูปธรรมความสำเร็จโมเดลการบูรณาการความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานพ้ืนที่ ภายใต้ พอช.
- แลกเปลยี่ นประสบการณ์เพือ่ บรู ณาการความร่วมมือระหวา่ งสภาองค์กรชุมชนและ พอช.
- นำเสนอเชิงนโยบายการพฒั นาความรว่ มมือกับ พม.
(2) นายอนุกูล ปีดแก้ว อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- ลักษณะการดำเนินงานการพัฒนาเชงิ พื้นท่ี (Sand Box) เป็นการพัฒนาท่ตี ้องการให้
ชุมชนท้องถิ่นเป็นแกนหลักในการพัฒนาตำบล ผ่านการทำงานร่วมกันทั้งภาครัฐและเอกชน บูรณาการ
การทำงานทุกภาคส่วนเพือ่ ใหช้ ุมชนเขม้ แขง็ และสามารถพง่ึ ตนเองได้
- ปัจจุบันสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) มีพื้นที่ดำเนินการเป็นรูปธรรมทุกภาค
20-30% ซึ่ง พอช. ได้ดำเนินสนับสนุนพื้นที่นำร่อง (Sand Box) เพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่ต้นแบบสร้างโอกาส
ในการเรยี นร้รู ว่ มกัน และสามารถนำไปพัฒนาพนื้ ที่ตนเองต่อไป
(3) นายอนุศักดิ์ คงมาลัย (สมาชิกวุฒิสภา) ปาฐกถาพิเศษ : สภาองค์กรชุมชน
กบั การบูรณาการพฒั นาชมุ ชนท้องถนิ่ เข้มแข็ง
- สภาองค์กรชุมชน ปัจจุบันมีสภาองค์กรชุมชน ตำบล 7,795 แห่ง เปรียบเสมือน
เซลล์รากฐานของสงั คม มีเป้าหมาย 4 มิติ ได้แก่ สำนึกในความเปน็ พลเมืองของคนในชมุ ชน เกดิ การกอ่ ตั้งกลุ่ม
หรือองค์กรในชุมชน ที่มีกิจกรรมครอบคลุมทุกตำบล คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี คนในชุมชนสามารถ
บริหารจดั การความสัมพนั ธก์ บั กลไกที่เก่ยี วข้องกับชมุ ชนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
- สภาองค์กรชุมชนกบั การบูรณาการพฒั นาชุมชนทอ้ งถ่นิ เข้มแข็ง ตอ้ งคำนงึ ถงึ นวตั กรรม
และความคิดสร้างสรรค์ สร้างผลสัมฤทธิ์การมีส่วนร่วมของประชาชนตามพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน
พ.ศ. 2551 การติดตาม เสนอแนะ เร่งรัด เพื่อปรับเข้าสู่ยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 โดยเฉพาะเป้าหมายสำคญั ในการ ตสร. อกี 2 ปขี ้างหนา้ ตอ้ งสอดคล้อง ยทุ ธศาสตร์ชาติ
20 ปี (1,2,4) สอดคล้องแผนแม่บท (15 พลังทางสังคม, 16 เศรษฐกิจฐานราก, 17 ความเสมอภาคและ
หลักประกันทางสังคม) 13 หมุดหมาย สภาพัฒน์ฯ และการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างแท้จริง
ตอ้ งไปพรอ้ มกันทั้ง 2 สภา เพอื่ นำไปสู่ “ม่นั คง มั่งค่ัง ย่ังยืน”

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

36

(4) นายเอกนฐั บญุ ยงั (ประธานคณะกรรมการดำเนินงานสภาองค์กรชุมชน) เสวนา :

ความร่วมมอื ของสภาองค์กรชุมชนกับหน่วยงาน พม. ในการพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถ่นิ เข้มแข็ง

- สภาองค์กรชมุ ชนเป็นพนื้ ที่กลาง ทชี่ วนพ่นี ้องมารว่ มกัน ในเรือ่ งการกระจายอำนาจ

การจัดการตวั เอง ทักษะการพัฒนาสำคญั ท่ีสภาองค์กรชมุ ชนต้องมี คือ การประสานความร่วมมอื กับภาคส่วนต่าง ๆ

การจัดการข้อมูล มเี ครอ่ื งมอื สำคญั เชน่ แผนพฒั นาจังหวัด แผนพัฒนาเชิงพืน้ ท่ี พรบ.สภา มีการนำมาใช้เป็น

กฎหมายเช่ือมโยง มกี ระบวนการสำคัญในการสร้างกิจกรรมยกระดับส่กู ารพฒั นาเชิงพื้นทร่ี ะดับตำบล จังหวัด

ภาค และชาติ โดยสภาองค์กรชุมชน มกี ารจดั ทำแผนพฒั นาทางสังคมและคุณภาพชวี ิตเป็นพืน้ ท่ีสาธารณะกลาง

โดยมอง 3 สิง่ สำคัญ ไดแ้ ก่

Mindset Skillset Toolset

- สิทธิชมุ ชน - การประสานความรว่ มมือ - แผนพฒั นาตำบล/จังหวดั /ภาค

- การกระจายอำนาจ - การปรบั ใชร้ ะเบยี บ/กม. - แผนการแก้ปญั หาเชงิ ประเด็น

- การพัฒนาทางสังคม - ทักษะการพัฒนางาน - ระเบียบ/กม.

แบบองคร์ วม เชิงวชิ าการ - สมัชชาทุกระดับ

- การขบั เคลือ่ นเชงิ ยทุ ธศาสตร์ - การฟงั - ธรรมนญู ชมุ ชนตำบล

- การกำหนดเป้าหมายการพัฒนา - การจดั ระบบคิด

ร่วมกัน เพอื่ การพฒั นา

(5) นายทองสุข สีลิด ประธานสภาองค์กรชุมชนตำบลบึงกาสาม จังหวัดปทุมธานี :
มีการจัดสวัสดิการชุมชนตำบล การมีการสนับสนุนการซ่อมแซมด้านที่อยู่อาศัย หน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่
ให้การยอมรับ สภาต้องดำเนินการ 1) สร้างการยอมรับ 2) สร้างหุ้นส่วน 3) มีเป้าหมายร่วมของตำบล
พี่น้องในพื้นที่ ต้องอยู่ดี มีกิน มีใช้ มีสุข โดยใช้ฐานข้อมูลร่วมกันกับหน่วยงานทั้ง TPMAP พอช.
ภาคประชาชน จปฐ. ร่วมกันทำ ส่งิ สำคญั ต้องมที ำเนียบผู้นำ คนทำงาน ต้องชดั เจน ผลงานจับตอ้ งได้

(6) นายกฤษดา สมประสงค์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน : บทบาทสำคัญ
คือการรับรอง การสร้างสถานะ การมีตัวตนของสภาองค์กรชุมชน กลุ่มองค์กร สถานะมีความชัดเจน
มกี ารยอมรับในปจั จุบนั แตใ่ นหลายพื้นท่กี ็มขี อ้ จำกดั เชน่ กนั พอช. มเี ปา้ หมายคอื ชมุ ชนเขม้ แขง็ งานในทุกมิติ
ที่ดำเนินการล้วนแต่เป็นเครื่องมือในการสร้างให้เกดิ การรวมตวั ของภาคประชาชน สภาองค์การชุมชนตำบล
ถูกออกแบบให้เป็นพื้นที่กลางของคนในพื้นที่ ในการร่วมออกแบบ วางแผนการทำงานของคนในพื้นที่
แผนชมุ ชน/ตำบล เปน็ สง่ิ สำคญั ในการร่วมวางแผนการทำงาน

(7) นายกิตติ อินทรกลุ รองอธิบดกี รมการพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ : การสร้างความมั่นคง
ของมนุษย์ ตอ้ งก้าวขา้ มการสงเคราะห์ การสรา้ งหลกั ประกนั ให้แก่คนในสังคม การทำใหค้ นกินอ่ิมและนอนอุ่น
บทบาทของ พม. คนทร่ี ้ปู ญั หาของชมุ ชนทีด่ ีท่ีสุดไม่ใชร่ าชการ คนในชุมชนทราบปญั หา โดยเฉพาะสภาองค์กรชุมชน
คอื คนในชุมชนจะทราบปัญหาดที ส่ี ดุ และหนว่ ยงานราชการต้องมีการคนื ขอ้ มลู ใหช้ ุมชนด้วย

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

37

5.3) พฒั นาคณุ ภาพชีวิต เศรษฐกจิ สร้างสรรค์ และสวสั ดิการชุมชน
จากเวทเี สวนา “พัฒนาคุณภาพชีวติ เศรษฐกจิ สร้างสรรค์ และสวัสดกิ ารชมุ ชน” วนั เสาร์ที่

1 ตุลาคม 2565 เวลา 08.30 - 16.30 น. ห้องประชาบดี ชั้น 19 อาคารกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่นั คงของมนษุ ย์ โดยสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) โดยมีรายละเอียดดังนี้

นายกฤษดา สมประสงค์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ และสวัสดกิ ารชุมชน ไดแ้ ก่

- นำเสนอรปู ธรรมความสำเร็จของเครือข่ายองคก์ รชุมชนท่นี ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
เศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ สวสั ดิการชุมชน

- เพื่อนำเสนอและแลกเปลี่ยนแนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจสร้างสรรค์
สวสั ดกิ ารชุมชน

- เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการขับเคลื่อนงานพัฒนา โดยชุมชนเป็นแกนหลัก
พ้ืนท่ีเป็นตัวต้ัง

TED Talk : พฒั นาคุณภาพชีวิต เศรษฐกจิ สร้างสรรค์ และสวสั ดกิ ารชุมชน
(1) นางสาววิริญญา จ่าวิสูตร ศูนย์บ่มเพาะเศรษฐกิจและทุนชุมชน ตำบลนาทอน
อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล : “ทำงานกับชุมชนไม่ง่าย แต่ไม่ยาก หากใช้เครื่องมือที่ง่ายและทรงพลัง”
ขยายขายฝันของตนเองให้กบั เพอื่ นในเวทีต่าง ๆ ในเฟสบคุ๊ อยากทำใหด้ ูแลคนอน่ื ได้ดว้ ย เลอื กทำเรื่องสุขภาพ
เรื่องสมนุ ไพรในชุมชน นำสิ่งที่มีอยู่ใกล้ตัวมาใช้ประโยชน์ เกิดการสร้างงานอาชีพใหก้ ับคนอืน่ ปัจจุบันมีกลุ่ม
สมุนไพรทักษร กลุ่มผ้าบาติก ย้อมผ้า มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ วัตถุดิบ มีการเชื่อมโยงคนเข้ามาทำงาน
เยาวชน ผูส้ งู อายุ กลุม่ เปราะบาง เปน็ ธรุ กจิ ทไี่ มใ่ ช่แคร่ ายได้ แต่สร้างคุณคา่ ความภาคภมู ิใจ มหี นว่ ยงาน อบต.
สภาองค์กรชุมชน กองทุนสวัสดิการชุมชน และอีกหลายหน่วยงานเข้ามาสนับสนุน เมื่อมีคนสนับสนุน
คนทำงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ความร่วมมือนี้ ไม่ว่าจะเป็นชุมชน หน่วยงานภาคี ถือว่าได้ผลลัพธ์
เป็นทช่ี ่ืนใจ
(2) นายอธิวัฒน์ ปิยะนันท์วงค์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรปลอดภัย ตำบลท่าวังทอง
อำเภอเมอื ง จังหวดั พะเยา : เศรษฐกจิ เปน็ หวั ใจในการพฒั นาประเทศ เป็นหัวใจในการพฒั นาชวี ิต เร่ืองชีวิต
สังคม และคุณภาพชีวิต กำหนดหมุดหมาย เศรษฐกิจชุมชน คือ ความมั่นคงของพี่น้องกลุ่มท่าวังทอง
พบเครื่องมือ “การจัดแผนธุรกิจชุมชน CBMC” วิเคราะห์ว่าชุมชนจะจัดการเศรษฐกิจทำอย่างไร พัฒนา
เป็นแผน CBMC ชุมชน จากมวยวัดเป็นมืออาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาปากท้อง โดยใช้กลไกสภาองค์กรชุมชน
เป็นกลไกขับเคลื่อนหลัก เครือข่าย อสม.ท่าวังทอง จัดทำฐานข้อมูล สอบถามความต้องการของคนในชุมชน
และยกระดับทุนในชุมชน สู่การตลาดของพี่น้องชุมชน นี่คือก้าวแรกที่เริ่มต้นในการสร้างระบบเศรษฐกิจ
จากเครอื ข่ายของพีน่ อ้ งภาคประชาชน ตำบลท่าวงั ทองทำเรอื่ งเศรษฐกจิ ชุมชนและต้องตอบโจทย์เรื่องสุขภาพ
ทอี่ ยูอ่ าศัย เรื่องดินน้ำปา่ ด้วย

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

38

(3) นายสำลี สีมารักษ์ ผู้ประสานงานสภาองค์กรชุมชนตำบลเขื่อน อำเภอโกสุมพิสัย
จงั หวัดมหาสารคาม : ศึกษาขอ้ มูลชมุ ชนเร่อื งเมล็ดพันธุ์ข้าว มกี ารหารอื กบั มหาวิทยาลยั ราชภัฏและกองทนุ ฟื้นฟู
เรื่องการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ มีการคัดและรับรองกันเอง ภายใต้การทำงาน 7 กลุ่ม ต้องอาศัยความซื่อสัตย์
มีแบรนด์สินค้า พอช. เครือข่าย “สภาฮักแพงเบิ่งแยงคนมหาสารคาม” อนาคตกำหนดเป้าหมายร่วมกันว่า
“คุณภาพชวี ิตดี มเี กษตรกล้ำยคุ สงั คมเป็นสขุ ปลกู ฝงั คุณธรรม งามลำ้ ประเพณี คนพ้ืนทม่ี ีรายได้”

(4) นางจินต์ภาณี อรชร ผู้แทนตำบลคุณภาพชีวิตภาคกรุงเทพฯ ปริมณฑล และ
ตะวันออก : สภาองคก์ รชมุ ชน เปดิ เวทที ำเร่ืองสง่ิ แวดลอ้ ม ทำอย่างไรใหข้ ยะมีคุณค่า จะทำอย่างไรท่ีชักจูงให้
คนมาเข้าเรื่อง จึงทำเรื่องขยะประกันชีวิตเป็นสวัสดิการ สมาชิกต้องมีเงินสะสม 365 บาท จุดเด่นของ
การจดั การขยะ คือ การเขา้ เปน็ สมาชกิ ไม่มีการตรวจสุขภาพ ผพู้ ิการก็สามารถเป็นได้ คนต่างด้าว ผู้ป่วยก็เข้าได้
ไม่จำกัดอายุ เพียงแตจ่ ัดการขยะ “ขยะทุกชิน้ ที่เหมือนไม่มคี า่ สามารถสรา้ งสวัสดกิ ารและพฒั นาคุณภาพชีวิต
ของคนปลายบาง”

(5) นางสายพณิ คำฝอย ผแู้ ทนเครือขา่ ยสวัสดกิ ารชุมชนภาคเหนือ : เครอื ข่ายสวัสดิการ
ภาคเหนือมีการวางแผนการปฏิบัติงานร่วมกัน กลไกระดับจังหวัด มีการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้และเข้าใจ
หลกั คิดสวัสดิการชุมชน มกี ารพฒั นาและสร้างคนรนุ่ ใหม่เข้ามาร่วม กลไกระดบั อำเภอ ตอ้ งสร้างทีมระดับอำเภอ
มีผู้รู้ ผู้มีแนวคิด ต้องสร้างตัวแทน สวัสดิการชุมชนล้มไม่ได้เพราะเงินของพี่น้องมารวมกันไว้ ในส่วนอำเภอ
จะสร้างวิทยากรประจำอำเภอ ประจำกองทุน ไปพร้อมกัน สืบทอดรุ่นต่อรุ่นให้ได้ สวัสดิการชุมชน ทำงาน
มากกว่าเรื่องเกิด แก่ เจ็บตาย พัฒนาคนกลไก ทุกระดับ พัฒนาขบวนและกระบวนการในการเคลื่อนงาน
พัฒนาคน พัฒนาสังคมพฒั นาเศรษฐกจิ พฒั นาคุณภาพชวี ิต

(6) นายแก้ว สังข์ชู คณะอนุกรรมการสวัสดิการชุมชน : กองทุนสวัสดิการชุมชน
ไม่ใช่องค์กรการเงิน เป็นองค์กรสังคมใช้เงินเป็นเครื่องมือ ดูแลสมาชิก ชาวบ้านตัวเล็กตัวน้อยใช้เงิน 1 บาท
ลกุ ขึ้นมาจัดการตัวเอง เป็นนวตั กรรมสงั คม เปา้ หมายปี 2568 ต้องมีสมาชิกครอบ 10 ล้านคน

รูปธรรม : ขบวนองค์กรชุมชนตื่นรู้ สานพลังสู้ภัยโควิด-19 สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของผมู้ ีรายได้น้อยในเมอื งและชนบท

(1) นางสาวสุมล ยางสูง ผู้อำนวยการสำนักงานภาคกรุงเทพฯ ปริมณฑล และ
ตะวันออก : ขบวนพนี่ ้องชุมชนเมือง “บา้ นมั่นคง” จดั ทำโครงการสภู้ ยั โควิด-19 เพ่ือใหพ้ ี่น้องไดด้ ูแลกันเรื่องอาหาร
จัดทำครัวกลาง และพี่น้องภาคชนบทได้จัดหาสมุนไพรแล้วส่งมาให้พี่น้องในเมืองเพื่อดูแลกันเอง แม้ว่า
โครงการที่ชุมชนคิดและไม่ใช่โครงการใหญ่ แต่เป็นแนวทางให้ชุมชนอยู่รอด ช่วยเหลือกัน และจั บมือกับ
หน่วยงานอ่นื เขา้ มาทำงานรว่ มกับชมุ ชน จนยกระดบั มาเป็นโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ท่ชี มุ ชนวางแผนดูแลกัน
ตงั้ แตร่ ะยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาวในการฟนื้ ฟู พอช. ส่งเสริมภายใต้ภารกิจ 4 ดา้ น คือ พ้นื ทเี่ ปน็ ตัวต้งั ชุมชน
มแี ผนการพัฒนาพ้นื ทขี่ องตัวเอง มรี ะบบการจัดการ การใชโ้ ครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตเห็นการทำงานร่วมกับ
หนว่ ยงาน และสอดรับกบั ส่ิงท่ที กุ ประเทศพยายามจะไปถงึ คอื เปา้ หมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

39

(2) นางพรทิพย์ วงศ์จอม เครือข่ายองค์กรชุมชนโซนกรุงเทพฯ ใต้ : บ้านมั่นคงชุมชน
สวนพลู เขตสาทร กทม. มขี นาดไมใ่ หญม่ าก อยู่ในพนื้ ที่สีแดง จงึ ทำใหค้ นในชมุ ชนไม่กล้าออกไปไหน แต่เม่ือมี
คนเสียชีวิตขึ้นมา ซึ่งเป็นผู้ป่วยเรื้อรัง จึงได้ลุกขึ้นมาสำรวจข้อมูลด้านต่าง ๆ ของคนในชุมชน พร้อมท้ัง
มีการแยกข้อมูลว่าใครควรจะได้รับการช่วยเหลือลำดับต้น จากนั้นนำข้อมูลไปเชื่อม โยงกับภาคี เช่น
โรงพยาบาล สป.สช. มีการแลกเปลี่ยนเรียนร้กู ันผ่านสอื่ โซเชียล เชน่ เฟสบคุ๊ โดยเรม่ิ ทำท่ีบ้านของตนเองก่อน
แล้วขยายไปที่ชุมชนอื่น ๆ ในเขต เมื่อได้รับงบประมาณโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตทำให้สามารถเชื่อมโยง
ชุมชนอื่นในเขตได้ ผ่านการสร้างครัวกลาง ทำอาหารแล้วแจกจ่ายให้กับสมาชิกในชุมชนอื่น ๆ ทำแล้วแจก
จากสถานการณ์โควิดทำให้เห็นได้ว่าช่วงเกิดวิกฤติตลาดใหญ่ ๆ ไม่มีผักขาย จึงมาทำเรื่องปลูกผักกัน
อย่างจริงจัง ในชุมชนมีการเปลี่ยนจากการปลูกไม้สวยงามมาปลูกผักสวนครัว โดยแต่ละบ้านปลูกผักไม่ซ้ำกัน
เพอื่ แบง่ ปันกันได้ มกี ารตอ่ ยอดจากการทำอาหารแจกจ่ายในชุมชนมาสู่การทำสง่ เสริมอาชพี สินค้าที่ขายดีและ
เป็นทตี่ ้องการมาก คือ นำ้ พริกชนิดต่าง ๆ

(3) นางพัฒมาณ แดวอสนุง ขบวนองค์กรชุมชนภาคใต้ : การแพร่ระบาดช่วงแรก
เปน็ เดือนรอมฎอน อาหารการกนิ จงึ เป็นสิง่ สำคญั มีการตั้งกองทุนชว่ ยเหลือซง่ึ กันและกัน แบง่ ปันรอยย้ิมช่วงโควิด
เกิดกองทุนทำโครงการจากการขอเปิดรับบริจาค ได้เงินมาร่วม 400,000 บาท ดูแลกัน 1,700 ครัวเรือน
จะทำอาหารแจกจ่ายเป็นเวลาตลอด 1 เดือน โดยมีหน่วยงานและเอกชนเข้าร่วม โดยท้องถิ่นรับดำเนินการ
ทำอาหารแจกจา่ ยให้กับประชาชนเปน็ เวลา 2 วัน วนั ละ 1,200 ถงุ ในสว่ นของคณะทำงานโครงการมีจิตอาสา
จาก 9 ชุมชน ผลัดเปลี่ยนกันทำอาหารชุมชนละ 1 วันๆ ละ 50 คน เวียนไปตามชมุ ชนต่าง ๆ จนครบ 30 วัน
โดยแบ่งเป็นคนปรุงอาหารและแพคอาหารใส่ถุง 30 คน และ 20 คน ทำหน้าที่แจกจ่ายอาหารใน 9 ชุมชน
หลังจากเสรจ็ สิ้นโครงการแรก ได้มกี ารเสนอขอรับงบประมาณจากโครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตผู้มีรายได้น้อย
ในเมืองและชนบท มีการสำรวจข้อมูลว่าในตำบลมีผู้สูงอายุ ผู้พิการ และเด็กกำพร้าจำนวนเท่าไร ทำให้ได้
ข้อมลู ผู้พกิ ารด้อยโอกาสไปในตัว มแี ผนการมองไปถงึ ระยะยาว ในเรอื่ งอาชพี ในพ้ืนท่ี คือ ผา้ มดั ยอ้ ม กลุ่มทำขนม
ปลูกใบพลู ได้มองหาหุ้นส่วน เช่น วิทยาลัยชุมชนยะลา เก้าอี้ สำนักงานเกษตร พัฒนาชุมชน ทีมวิชาการไป
ทำวิจัยเรอื่ งการทำให้ผู้สูงอายุมีความสุข การยกระดบั หลกั สูตรผู้สงู อายุ

(4) ผญ.สุทัศน์ หลีกพาล สภาองค์กรชุมชนตำบลบางขันหมาก อำเภอเมือง จังหวัด
ลพบุรี : การทำข้อมูลของตัวเองโดยใช้วิกฤติช่วงโควิด-19 ในการเก็บข้อมูลพบว่า ในช่วงโควิดอาหารเป็น
สิ่งสำคัญและหายากที่สดุ แต่เนื่องดว้ ยชุมชนมีการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาอย่างยาวนาน
ทำให้มีอาหารเพียงพอ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ยั่งยืนได้จึงต้องสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร
การขับเคล่ือนร่วมกนั ในรูปแบบ “บวร” ตำบลพยายามทำแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัด
เพอื่ เช่อื มรอ้ ยภาคเี ครอื ข่ายใหไ้ ดม้ ากที่สุด การแก้ปัญหาอยา่ งยัง่ ยนื คือ การแกป้ ญั หาจากข้างล่าง และนำไปสู่
การแก้ปัญหา คุณภาพชีวิตจะเกิดได้หากผู้ปฏิบัติสามารถตอบโจทย์การแกป้ ัญหาได้ และเอาตัวเองเป็นหลัก

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

40

ผศ.ดร.สุปรียา หวังพัชรพล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ นำเสนอผลการศกึ ษา : การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผู้มรี ายไดใ้ นชมุ ชนเมืองและชนบท

(1) โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ิตผู้มรี ายได้น้อยในชุมชนเมืองและชนบท งบประมาณปี 2563
(เม.ย.-ก.ย.) 126.55 ล้านบาท ปี 2564 (ม.ค.-เม.ย) ใช้งบประมาณ 17.7 ล้านบาท และ (พ.ค.-ส.ค.)
ใชง้ บประมาณ 32 ลา้ นบาท ปี 2565 งบประมาณ 70.99 ล้านบาท

(2) มีกิจกรรมระยะเร่งด่วน กิจกรรมระยะฟืน้ ฟู และแผนงานระยะยาว กองทุน ข้าวสาร
เมล็ดพนั ธุ์ สวสั ดกิ ารชมุ ชน ฟ้นื ฟู พฒั นาคุณภาพชีวิต แผนพฒั นา ท่อี ย่อู าศัย ฟ้ืนฟูคุณภาพชวี ติ สง่ เสริมอาชีพ
สินค้าและบรกิ ารของชุมชน รา้ นคา้ ชมุ ชน เชือ่ มโยง หน่วยงานภาคีภายในและภายนอกพื้นที่ เกิดกระบวนการ
ทำงาน ได้แก่ เชื่อมโยงเครือข่าย สรุปบทเรียน วิเคราะห์ข้อมูล-ทำแผนการพัฒนาคุณภาพชีวิต จัดเวที
ให้ความรู้เพิ่มทักษะการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ โดยการสร้างเครือข่าย
ความปลอดภัยทางสังคม จนเกิด 1) ฟื้นฟู-ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ จุดเริ่มต้นแก้ปัญหาความยากจน
ระยะยาว 2) พัฒนาทรัพยากร “ทุน” ในพื้นที่ 3) ทุนทางสังคม 4) ทุนข้อมูล และ 4) ทุนทางการเงิน ได้แก่
กองทุนสวสั ดิการชมุ ชน กองทุนเมือง กลมุ่ ออมทรัพย์ กองทนุ หมูบ่ า้ นและอ่ืน ๆ กองทุนสุขภาพตำบล งบโครงการฯ
จาก พอช. งบทดรองราชการเพือ่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ัตกิ รณฉี กุ เฉิน งบกลางจากหนว่ ยงานราชการท้องถิน่

ความสำเร็จในด้านการเสรมิ พลงั ชมุ ชน/ขบวนชมุ ชน
ตวั อยา่ งความสำเร็จตำบลจดั การตนเองท่เี ป็นตน้ แบบรปู ธรรม
- การบรหิ ารสถานการณ์ Covid-19 ของสภาองค์กรชุมชน ตำบลแจงงาม จ.สุพรรณบรุ ี
- การบริหารจัดการสวัสดิการชุมชน ตำบลทับพรกิ จ.สระแก้ว (ทุนการศึกษาพยาบาล
ชุมชน/ป่าชุมชนมะฮอกกานี/ตรวจ DNA เดก็ ไรส้ ญั ชาต/ิ แก้ปญั หาโควิด 19)
- C-Site App ร่วมสรา้ งพ้นื ท่คี นมสี ่วนรว่ มเพ่ือจดั การภยั พบิ ัติ (ThaiPBS)
- โครงการฟังเสยี งประเทศไทย CM บรหิ ารจัดการจกั รยานยนต์ ต.แสนสุข (ThaiPBS)
- Sand Box : คลองหินปูน (อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว) เป็นพื้นที่สะท้อนชุมชนเข้มแข็ง
ทสี่ ภาองค์กรชุมชนรวมพลงั และเปน็ แกนหลกั ในการพฒั นา
- ตัวอย่างแผนพัฒนาของสภาองค์กรชุมชนตำบลบึงกาสาม จังหวัดปทุมธานี มเี ป้าหมาย :
ประชาชนในพืน้ ท่ตี ้องอยู่ดี มีกนิ มีใช้ มสี ุข ผ่านแผนพฒั นา 5D

1. ส่งเสริมสนบั สนุนทกุ ครวั เรือนใหม้ ที อ่ี ยูอ่ าศัยทีด่ ี
2. สง่ เสรมิ ทกุ ครวั เรือนให้มเี ศรษฐกจิ ดี
3. ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนมีสุขภาพดี
4. สง่ เสริมการจัดการส่ิงแวดลอ้ มดี
5. สร้างสรรค์สงั คมดี
- ศนู ยบ์ ่มเพาะ ECO และทนุ ชุมชน ต.นาทอน อ.ทุง่ หวงั จ. สตูล
1. เดมิ เป็นครสู อนภาษาองั กฤษ
2. วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรทักษอร จ.สตลู

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

41

3. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรกว่า 20 ชนิด (ลูกประคบ/ยาหม่อง/น้ำมันเหลืองผงสมุนไพร
แช่เทา้ จากหัวไพล

4. บรกิ ารแชม่ อื แชเ่ ท้า นวดผา่ เทา้ อบกระโจมสมนุ ไพร
5. ศนู ยเ์ รียนรปู้ ราชญร์ ว่ มใจขยายผลโครงการพระราชดำริ
6. ก่อตั้งจากกลุ่มแม่บ้านในชุมชนเมื่อปี 2561 ได้รับการสนับสนุนจากโครงการ
สง่ เสรมิ การผลติ พืชสมนุ ไพร กระทรวงเกษตรฯ
7. ยกระดับเปน็ เครอื ข่ายระดับตำบล รว่ มกับวิสาหกิจ หลกั อืน่ (จักรสาน/ สมุนไพร/
บาติก) ท้ังเร่ืองวสั ดุอุปกรณ์ + ความรู้ + ความร่วมมือ
หลกั ในการทำงาน ประกอบด้วย
- ทำงานกับชุมชนไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ไม่ยากถ้าใช้เครื่องมือง่าย ๆ แต่ทรงพลัง คือ
“ใจ” และการสรา้ งการรบั รูแ้ ละสือ่ สารกบั ภาคีเครือขา่ ยใหช้ ดั เจน
- ขยายผล ทำความฝันใหก้ ันได้
- ระเบดิ จากขา้ งใน และผลักดนั ความสำเร็จ แบ่งปันสูช่ มุ ชน
- ยกระดบั การขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ ระดับตำบล
- กลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชน ชุมชนทา่ วังทอง ตำบลทา่ วังทอง อ.เมือง จ.พะเยา
1. “เศรษฐกิจชุมชน คือ ความมั่นคงของมนุษย์” จากต้น สู่งาน “ข้าวเพื่อชีวิต
ข้าวเพือ่ การแบง่ ปนั ”
2. จดุ เด่น ตำบลจัดการตนเองภายใต้แผนแม่บทเศรษฐกิจชุมชนที่เช่ือมโยงกลไกขับเคลื่อน
3. บทเรยี นรู้ : ข้าวใหก้ ารบรหิ ารจดั การเรอื่ งข้าวเปน็ ฐานคิด
4. อสม. สำรวจความตอ้ งการซื้อ-ขายข้าวสาร ของคนใน 14 หมู่บ้าน
5. ส่งเสริมให้คนใน 14 หมู่บ้านซื้อ-ขายข้าวกับวิสาหกิจชุมชน เกษตรปลอดภัย
ตำบลท่าวังทอง
6. สำรวจความต้องการใช้เมล็ดพันธข์ุ า้ วเพือ่ ปลกู ในพืน้ ท่ีตำบล
7. ทำ MOU รว่ มกนั ของชาวบ้านในตำบล ซ้อื -ขาย กบั วสิ าหกิจ
8. ความสำเรจ็ “ชาวนาลุ่มน้ำปงิ รวยไม่ทน แต่เราจะจนไมน่ าน”
9. การยกระดับเศรษฐกิจของชุมชน → ทำมาหากิน → ทำมาค้าขาย
→ พง่ึ ตนเองได้อยา่ งยัง่ ยนื
- วิสาหกิจชุมชนผลิต – จำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าว โดยสภาองค์กรชุมชน ต.เขื่อน
อ.โกสมุ พิสยั จ.มหาสารคาม
- ขยะประกันชีวิต โดยผู้แทนภาคกรุงเทพ ฯ ปริมณฑลและตะวันออกใช้เครือข่าย
สภาองค์กรชุมชน ซึ่งเป็นการบริหารจัดการขยะ โดยมีสมาชิก 285 คน (ไม่จำกัดอายุ/เพศ/พิการ/ป่วย)
มีเงินสะสม 126,000 บาท และสามารถนำขยะมาแปรรปู และจำหน่าย

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

42

ขอ้ เสนอเพอ่ื การขับเคล่ือนกระทรวง พม. : ด้านการเสริมพลังชมุ ชน/ขบวนชมุ ชน
สำหรับการขบั เคลื่อนกระทรวงพม.ประเด็นด้านการเสรมิ พลังชุมชน/ขบวนชุมชน (พอช.) ได้แก่
(1) การส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคส่วนมีส่วนรว่ มและเปน็ หนุ้ ส่วนในการพัฒนาสังคมเชงิ พนื้ ที่อยา่ งยง่ั ยืน
(2) ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในการพัฒนาโดยบูรณาการงานของทุกกระทรวงเข้าด้วยกัน
เพอ่ื เปล่ยี นแปลงระบบการจัดสรรงบประมาณ ลดโครงการท่ซี ้ำซอ้ น
(3) สง่ เสรมิ การกระจายอำนาจในทุกระดับให้ทอ้ งถิน่ สามารถจดั การตนเองได้
(4) สนับสนนุ ความรูด้ ้านการเกษตร ทกั ษะอาชีพ และวิธกี ารขายสนิ ค้าผ่านระบบออนไลน์
(5) ส่งเสรมิ นโยบายคุณภาพชีวิตดา้ นความมัน่ คงทางอาหาร
(6) สนับสนนุ งบประมาณเพ่ือการต่อยอดและพัฒนาคุณภาพของผลผลิต/สินค้าใหไ้ ด้มาตรฐาน
(7) ควรมกี ารวเิ คราะห์ระบบการผลิตของชุมชนเพื่อการวางแผนการผลิตและแปรรูปร่วมกัน
อยา่ งเปน็ ระบบ
(8) การสร้างกลไกการทำงานจากระดับชมุ ชน ไประดับเมือง ระดับเขต/โซน และระดับภาค
เปน็ กระบวนการท่ีดีทำใหเ้ กิดการแลกเปลยี่ นเรียนรู้รบั ทราบขา่ วสารขอ้ มูลระหว่างกัน
(9) การมรี ะบบการกลัน่ กรองโครงการเป็นลำดับขั้นตอน ทำให้พ่ีนอ้ งไดพ้ ฒั นาและทำความเข้าใจ
กระบวนการทำงาน ร่วมกนั และทำใหแ้ ต่ละพ้ืนทไี่ ด้ทำความรูจ้ กั กัน และได้รับขา่ วสารแลกเปลี่ยนกัน
(10) การจัดรูปแบบของอาสาสมัคร/พี่เลี้ยง เป็นสิ่งที่ช่วยสนับสนุนการทำงานได้มาก
อย่างไรก็ดี อาสาสมัครอาจมีประสบการณ์ทำงานไม่เท่ากัน ควรมีการอบรมเตรียมความพร้อมอาสาสมัคร
ให้เป็นไปทิศทางเดียวกัน และอาจจะมีกลไกหนุนเสริมที่ให้ความรู้เฉพาะทางแก่อาสาสมัครเพ่ิมเติมมากข้ึน
เปน็ กลุ่มงานต่าง ๆ เช่น เรือ่ งการจัดทำข้อมูล เรื่องการจัดกระบวนการ เปน็ ตน้
(11) การสร้างความม่ันคงของมนษุ ย์ ตอ้ งกา้ วข้ามการสงเคราะห์ การสรา้ งหลักประกันให้แก่
คนในสังคม การทำให้คนกินอิ่มและนอนอุ่น บทบาทของ พม. คนที่รู้ปัญหาของชุมชนที่ดีที่สุดไม่ใช่ราชการ
คนในชุมชนทราบปัญหา โดยเฉพาะสภาองค์กรชุมชน คือคนในชุมชนจะทราบปัญหาดีที่สุด และหน่วยงาน
ราชการตอ้ งมีการคนื ขอ้ มลู ให้ชมุ ชนด้วย
ประกอบกับเครอื ข่ายสภาองคก์ รชมุ ชนตำบล ไดเ้ สนอแนวทางการบูรณาการความร่วมมือ
กบั ขบวนสภาองคก์ รชุมชนเพอื่ การพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ดังน้ี
(1) ขอให้ พม. กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาความมั่นคงของมนุษย์เป็น “ยุทธศาสตร์
ความร่วมมือ” หรือ “ยุทธศาสตรเ์ ชอื่ มโยง”
(2) ขอให้ พม. พัฒนาระบบการจัดการทางสังคมแบบองค์รวมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
ผ้ดู อ้ ยโอกาส
(3) ขอให้ พม. พัฒนาระบบจดั สวสั ดกิ ารสังคมแบบครบวงจร
(4) ขอให้เรง่ รัดประสานหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องเพ่อื บูรณาการแก้ปัญหาหน้ีสินครวั เรอื น
(5) ขอให้ พม. สรา้ งดุลยภาพการพฒั นาทางสงั คม โดยใช้การจัดการสงั คมสงเคราะห์เปน็ ฐาน
(6) ขอให้ พม. ใช้กระบวนการพฒั นาและการแกไ้ ขปัญหาท่อี ยูอ่ าศัยและทด่ี ินทำกนิ

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั


Click to View FlipBook Version