The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการจัดงาน _20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย_

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สรุปผลการจัดงาน _20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย_

สรุปผลการจัดงาน _20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย_

43
(7) ขอให้ พม. เร่งรัดสนบั สนุนใหเ้ กิด พน้ื ที่กลาง การพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ระดบั ตำบล
(8) ผลกั ดนั ความรว่ มมือในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ สร้างระบบการจัดการทางสังคมแบบองค์รวม
(9) ขอให้ พมจ. มีบทบาทในการพฒั นาชุมชนและสังคมแบบองคร์ วม
(10) ขอให้ ศนู ย์มานุษยวิทยาสริ ินธร (องค์การมหาชน) เป็นหนว่ ยงานหลักเพื่อแก้ไขปัญหา
และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของกลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ
(11) ขอให้ พม. เสนอ ครม. โดยพฒั นาศกั ยภาพผนู้ ำการเปลี่ยนแปลงเพอ่ื เป็นกลไกสำคัญ
ในการพัฒนาชมุ ชนทอ้ งถ่ินเขม้ แข็ง

Cr.visual note : นายอนุพงษ์ จรดรัมย์ ชำนาญการปฏิบตั กิ ารชุมชน สังกัดสำนกั งานภาคกรุงเทพฯปรมิ ณฑลและตะวันออก พอช.

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

44

Cr.visual note : นายอนุพงษ์ จรดรมั ย์ ชำนาญการปฏบิ ตั ิการชุมชน สังกดั สำนกั งานภาคกรงุ เทพฯปรมิ ณฑลและตะวันออก พอช.

Cr.visual note : นายอนุพงษ์ จรดรมั ย์ ชำนาญการปฏบิ ัติการชุมชน สงั กดั สำนักงานภาคกรงุ เทพฯปริมณฑลและตะวันออก พอช.

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

45

6) สรปุ ภาพรวมเชงิ ประเดน็ : ดา้ นการพัฒนาทอ่ี ย่อู าศัย

จากเวทีเสวนารูปธรรมการพฒั นาท่ีอยอู่ าศยั “ใส่ใจช่องวา่ ง ไมท่ ง้ิ ใครและทีใ่ ดไว้ข้างหลัง”
วันอาทิตยท์ ี่ 2 ตุลาคม 2565 เวลา 09.00-15.30 น.ห้องประชาบดี ชั้น 19 อาคารกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมัน่ คงของมนุษย์ โดยสถาบนั พฒั นาองค์กรชมุ ชน โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี

ปญั หาที่พบ
(1) กฎระเบียบ และกฎหมายทางราชการ ที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการจัดทำบ้านมั่นคง เช่น
การปลกู สรา้ งบ้านม่ันคงตามกฎหมายฝังเมอื งผังสีเขียว ปี 2549 ตอ้ งเป็นบ้านเดี่ยวเทา่ นั้น ทำให้การทำบา้ นม่ันคง
ไม่สามารถทำได้ อยากให้มหี ลากหลายรูปแบบเพอื่ ลดคา่ ใช้จา่ ยในการปลูกสรา้ งบ้าน
(2) ประชาชนต้องมีส่วนร่วมแก้ไขผังเมือง และแผนพัฒนาเมือง แก้ไข พ.ร.บ. ยกเว้น
ระยะหา่ ง รวมถงึ การแก้ไขปญั หาทอี่ ย่อู าศยั ทใี่ หช้ มุ ชนเปน็ แกนหลกั และมสี ว่ นร่วม
การพัฒนาทอ่ี ยูอ่ าศยั “ใสใ่ จช่องว่าง ไม่ทง้ิ ใครและที่ใดไว้ข้างหลัง”
(1) นายทวีพงษ์ วชิ ยั ดษิ ฐ ผวู้ า่ การการเคหะแห่งชาติ กล่าวตอ้ นรับประธานในพิธี และ
กล่าวรายงานการจัดงานเนื่องในวันที่อยู่อาศัยโลก ประจำปี 2565 “ใส่ใจช่องว่าง ไม่ทิ้งใครและที่ใด
ไวข้ า้ งหลงั ”
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนา
ที่อยู่อาศัยชุมชนผู้มีรายได้น้อย-ปานกลาง ในประเทศไทย โดยดำเนินการตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development Goals-SDGs) ตามเป้าหมายที่ 11 การทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐาน
ของมนุษย์มีความสามารถในการปรับตัว มีภูมิต้านทาน และยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงให้เกิดสุขภาวะ
อย่างครอบคลุมและยั่งยืน โดยจะไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง รวมทั้งการดำเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนา
ท่ีอยอู่ าศยั ระยะ 20 ปี (2560-2579) ภายใต้วิสัยทศั น์ คนไทยทกุ คนมที ีอ่ ยูอ่ าศัยถว้ นท่ัวและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ในปี 2579 โดยมี 2 หนว่ ยงานหลกั ที่รบั ผิดชอบดำเนนิ การ ได้แก่
1. การเคหะแห่งชาติ หรือ กคช. รับผิดชอบที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยจนถึงปานกลาง
จำนวน 2.27 ล้านครัวเรือน โดยดำเนินการพัฒนาที่อยู่อาศัยตามแผนยุทธศาสตร์การเคหะแห่งชาติ
พ.ศ. 2560-2570 (ฉบบั ปรับปรงุ ปี 2565) ซงึ่ มโี ครงการสำคญั ไดแ้ ก่ 1.บา้ นเช่าสำหรบั ผูม้ รี ายไดน้ อ้ ย (โครงการ
บ้านเคหะสุขประชา) 2.โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้า (TOD) 3.โครงการที่อยู่อาศัยประเภท
เช่าสำหรับผู้สูงอายุ (โครงการบ้านเคหะสุขเกษม) 4.โครงการฟื้นฟูเมอื งชมุ ชนดินแดง 5.โครงการฟื้นฟูเมืองชมุ ชน
หว้ ยขวาง และ 6. โครงการฟ้นื ฟูเมอื งชมุ ชนทงุ่ สองหอ้ ง
2. สถาบันพฒั นาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) หรอื พอช. รับผดิ ชอบกลุ่มผู้มรี ายได้น้อย
และผู้ด้อยโอกาส จำนวน 1.05 ล้านครัวเรือน โดยดำเนินการพัฒนาภายใต้ 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ
บ้านมั่นคง 2) โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยชุมชนริมคลอง 3) โครงการบ้านพอเพียง และ 4) โครงการพัฒนา
คุณภาพชีวิตกลุ่มคนไรบ้ ้าน

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

46

(2) นายกฤษดา สมประสงค์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน กล่าวรายงาน
การพัฒนาท่อี ยอู่ าศยั “ใส่ใจช่องวา่ ง ไมท่ ิ้งใครและท่ีใดไวข้ า้ งหลงั ”

- ประเทศไทยเราได้ร่วมจัดงานเฉลิมฉลองเนื่องในวันที่อยู่อาศัยโลกมาอย่างต่อเนื่อง
ทุกปี โดยในปีนี้ตรงกับวันที่ 3 ตุลาคม 2565 และยังตรงกับวันครบรอบ 20 ปี การสถาปนากระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และกระทรวงฯ ได้มีการจัดงาน 20 ปี พม. ภายใต้คำขวัญ
“เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” วัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรูปธรรมการพัฒนาที่อยู่อาศัย
ผู้มีรายได้น้อยในเมืองและชนบท ได้แก่ การพัฒนาที่อยู่อาศัยชุมชนริมคลอง (คน คลอง เมือง) การพัฒนา
ทีอ่ ย่อู าศัยทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากการพัฒนาระบบราง (รถไฟ) การพฒั นาท่ีอยู่อาศยั ภูมนิ ิเวศน์ (อนั ดามนั 6 จังหวัด)
การบูรณาการการแก้ไขปญั หาทีอ่ ยู่อาศัยเมืองและชนบท และคนรุ่นใหม่กบั การพัฒนาที่อยู่อาศัยอยา่ งยัง่ ยนื
รวมถึงการมอบเกยี รติบัตรเพื่อประกาศเกียรติคุณให้แก่หนว่ ยงานที่สนับสนนุ การแกไ้ ขปัญหาทีอ่ ยู่อาศัยและ
การพัฒนาคุณภาพชวี ิต หน่วยงาน ภาคีภาครัฐและเอกชนที่ใหก้ ารช่วยเหลอื ผู้ได้รบั ผลกระทบจาก โควิด-19

- ในปี 2546 สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(องค์การมหาชน) พอช. ในสังกัดกระทรวง
การพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ไดจ้ ดั ทำโครงการ “บ้านมนั่ คง” ขึ้นมา เพ่ือแกไ้ ขปญั หาที่อยู่อาศัย
ชมุ ชนทีม่ รี ายไดน้ ้อย อยู่ในท่ดี นิ บกุ รุกหรือทีด่ ินเชา่ ทไี่ ม่มีความม่ันคง โดยทำงานร่วมกับชาวบ้าน เพ่ือสนับสนุน
ให้ชาวชุมชนท่ีมีความเดือดร้อนร่วมกันแก้ไขปัญหา ให้คำปรึกษาและให้การสนับสนุน โดยมกี ระบวนการต่าง ๆ
เช่น สร้างความเข้าใจร่วมกันทั้งชุมชน ร่วมกันตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อเป็นทุนในการสร้างบ้าน ร่วมกันจัดตั้ง
คณะกรรมการขึ้นมาดูแลรับผิดชอบ แบ่งหน้าที่ สำรวจข้อมูลชุมชน ความเดือดร้อน ช่วยกันออกแบบ
บา้ นในฝนั สดุ ท้ายคือการพฒั นาคุณภาพชวี ิต เมือ่ สรา้ งบ้านเสรจ็ แลว้ จะมแี ผนพฒั นาชมุ ชนในดา้ นต่าง ๆ เช่น
ส่งเสริมอาชีพ สร้างแหล่งอาหารในชุมชน การจัดการเร่ืองสิง่ แวดล้อม สันทนาการ กิจกรรมเด็กและเยาวชน
ผู้สูงอายุ จัดสวัสดิการให้สมาชิกในชุมชน โดยใช้หลักการที่สำคัญ คือ “ชุมชนที่เดือดร้อนเป็นแกนหลัก
ในการแกไ้ ขปญั หา พอช.และภาคที ี่เก่ียวข้องเป็นฝ่ายสนบั สนนุ ”

- ปัจจุบันได้สนับสนุนการแก้ไขปัญหาให้ประชาชนผู้ยากไร้มีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย
ทั้งในชนบทและเมืองไปแล้วกว่า 200,000 ครัวเรือน ไม่ว่าจะเป็นบ้านมั่นคง การซ่อมสร้างบ้านที่มี
สภาพทรุดโทรมหรือ บ้านพอเพียงชนบท การพัฒนาที่อยู่อาศัยชุมชนริมคลอง ชุมชนริมทางรถไฟ ชุมชน
รมิ ชายฝั่งทะเล คนไร้บา้ น ในกว่า 3,000 ชมุ ชนเมืองและชนบททว่ั ประเทศ

(3) นายอนุกูล ปีดแก้ว ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กล่าวถงึ การพัฒนาทอี่ ยอู่ าศยั “ใส่ใจชอ่ งวา่ ง ไมท่ ้งิ ใครและทีใ่ ดไวข้ ้างหลงั ”

พอช. มีการจดั กจิ กรรมในโอกาสสำคญั ในหลายๆ เรอื่ ง คือ 1) เน่อื งในโอกาสครบรอบ 20 ปี
การสถาปนากระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2) เนื่องในวันที่อยู่อาศัยโลก
(World Habitat Day) และ 3) เนื่องในวันครบรอบ 22 ปี การก่อตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.)
4) เนื่องในวันครบรอบการก่อต้ัง 2549 ปกี ารเคหะแหง่ ชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ตระหนกั ในพ่ีน้องขบวนองค์กรชุมชนที่ทำเรื่องสวัสดิการในระดับพ้ืนท่ีกันอย่างต่อเน่ือง การพัฒนาเรื่องท่ีอยู่อาศัย
ทั้งในส่วนของขบวนองค์กรชมุ ชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน และกระกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

47

ของมนษุ ย์ มีแผนแม่บทการพัฒนาทีอ่ ยอู่ าศยั ระยะ 20 ปี เปน็ แผนหลัก เกิดข้ึนกอ่ นแผนยุทธศาสตร์ ซึง่ จะต้อง
ทบทวนในปี 2566 เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั เพื่อให้บรรลุเปา้ หมายที่ตั้งไว้ในปี 2579 ซึ่งเป็น
นโยบายสำคัญของกระทรวงฯ การพฒั นาที่อยู่อาศยั ใสใ่ จชอ่ งวา่ ง ไมท่ ้ิงใคร และท่ใี ดไวข้ า้ งหลงั สอดคล้องกับ
ทิศทางของ UN เปน็ การตอกย้ำการมีช่องว่างอยา่ งแท้จรงิ เชื่อว่าหากทุกภาคส่วนร่วมมือร่วมใจกัน เป้าหมาย
แผนแมบ่ ทชุมชนเรือ่ งที่อยู่อาศัย กอ่ นถึงปี 2579 กน็ า่ จะบรรลุตามทค่ี าดหวงั

รปู ธรรมการพฒั นาทอ่ี ยอู่ าศยั “ใสใ่ จช่องวา่ ง ไมท่ ิ้งใครและทใี่ ดไวข้ ้างหลัง” โดย ฐติ พล น้อยจาด,
นายเชาว์ เกดิ อารยี ,์ นายมานะ วงศม์ า, นางสาวสำลี ศรีระพุก และนางสาวพรรณฑิภา ฤทธ์แิ ก้ว

- ความสนใจต่อการลุกขึน้ มาทำเร่ืองการพัฒนาที่อยู่อาศัยของแกนนำชุมชน คือ การเห็น
คนในชุมชนไม่มีที่อยูท่ ี่ม่ันคง ถูกรื้อไล่ เป็นปัญหาที่ใกล้ตวั ต้องการลบภาพของการถูกมองว่าชุมชนรมิ คลอง
ทำให้เกิดน้ำท่วมกรุงเทพฯ ในปี 2564 ปัญหาไม่ได้มาจากคนที่อาศัยอยู่ริมคลองแต่มาจากทุกภาคส่วน
ในกรุงเทพฯ

- กระบวนการดำเนินงานของ พอช. ทำให้ชุมชนรู้จักการทำข้อมูลชุมชนตนเอง เริ่มจาก
การสำรวจวา่ มีปญั หาเรือ่ งทีอ่ ยอู่ าศยั กี่หลงั คาเรือน ปญั หาลกั ษณะใด มีความเร่งดว่ นขนาดไหน นำมาจัดลำดับ
การแก้ไขปัญหา การทำข้อมูลชุมชนทำให้มีข้อมูลในมือและนำไปทำแผนการทำงานต่อได้ และสามารถ
เชือ่ มตอ่ การแผนพัฒนาระดับจงั หวดั ได้ ตวั อยา่ งเชน่ ท่จี งั หวดั สระบุรเี รมิ่ จากการทำขอ้ มูลท่อี ยอู่ าศัยของชุมชน
เมื่อมขี ้อมลู นำไปเชือ่ มกบั การทำแผนระดับจงั หวดั ได้

- การรวมตัวกันทำงานทำให้เกิดการพยายามหาทางออกในการแก้ไขปญั หา เช่น สำนกั ระบายน้ำ
กำหนดใหค้ ลองต้องมีความกว้าง 38 เมตร เพราะจะทำให้ระบายน้ำได้ดี แต่ชมุ ชนริมคลองมองว่าถ้าต้องเว้นท่ี
ไว้ให้คลองถึง 38 เมตรชาวบ้านก็ไม่สามารถสร้างบ้านในที่ดินเดิมได้ จึงเกิดการต่อรองว่าทางออกของ
การระบายน้ำนั้นสามารถขดุ คลองให้ลึกกว่าเดิมได้หรือไมแ่ ทนทีจ่ ะขยายให้ใหญ่ ความลึกของคลองสามารถ
ทำใหร้ ะบายน้ำได้ดหี รือไม่

- กระบวนการริเริ่มสร้างที่อยู่อาศัยโดยตนเองของชุมชนสามารถทำให้ชุมชนออกแบบ
วางแผนการพฒั นาที่อยู่ได้ว่าจะอย่ใู กล้ใคร ใกลญ้ าตพิ ี่น้องจะไดม้ ีคนคอยดูแลทงั้ เด็กและผสู้ งู อายุ

- การแก้ปัญหาที่อยู่อาศัยยังคำนึงถึงระบบภูมินิเวศ เช่น การพัฒนาที่อยู่อาศัยอันดามัน
6 จังหวัดอันดามัน ประกอบด้วย ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง สตูล นอกจากทำเรื่องบ้านมั่นคงแล้ว
ยงั คำนึงถงึ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของคนในพื้น เช่น เศรษฐกจิ การศกึ ษา สุขภาพ เพราะเชอื่ วา่ ระบบภมู ินเิ วศ
ท่ดี จี ะสง่ ผลทีด่ ีต่อคนทอี่ ยู่อาศัย การทำงานจึงประสานทุกหนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ งทั้งภาครฐั และเอกชนในพ้นื ท่ี

- การเข้ามาทำงานของคนรุ่นใหม่มองว่าต้องให้ที่อยู่อาศัยที่ไม่มั่นคงจบลงที่รุ่นเรา
เพราะไมอ่ ยากให้เกดิ การสืบทอดความยากจนในเร่อื งทอ่ี ยู่อาศยั ไปยังรุ่นลูกรนุ่ หลาน

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

48

การจัดงานวันทีอ่ ยู่อาศยั โลกปี 2565 ประเทศไทย (World Habitat Day 2022 - Thailand)
ใสใ่ จช่องวา่ ง ไมท่ ิ้งใครและท่ใี ดไว้ข้างหลัง (Mind the Gap. Leave No One and No Place Behind)

สาสน์จาก UN : ว่าด้วยเรื่องการพัฒนาที่อยู่อาศัย โดย Mr. Srinivasa Popuri,
Senior Human Settlements Officer, Regional Office for Asia and the Pacific (ผู้แทน UN HABITAT
ประจำประเทศไทย)

- สาสน์จาก UN จากสถานการณ์ปัญหาที่ผ่านมาไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเปลี่ยนแปลง
ทางสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ปัญหาโควิด-19 (Covid-19) และปัญหาความขัดแย้ง (Conflict Crisis)
ส่งผลใหเ้ กิดชอ่ งว่างของคนจนเพม่ิ มากขนึ้ ในเขตเมืองและพื้นทีร่ อบเมือง ดงั นนั้ ภายในปี 2030 มีเป้าหมายจะ
แกไ้ ขปัญหาเหล่านี้

- การพฒั นาทอี่ ยอู่ าศัย เป็นส่ิงทม่ี ่งุ เน้นของกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์
ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 4 ในเรื่องของการสร้างความเท่าเทียมและเหลื่อมล้ำ และขอให้การพัฒนา
ทอ่ี ยอู่ าศัยดำเนินไปอยา่ งก้าวหน้า “ตามความฝันท่วี า่ ใสใ่ จชอ่ งว่าง ไมท่ ้งิ ใครและท่ีใดไวข้ ้างหลงั ”

เสวนา การพัฒนาทอ่ี ยู่อาศัย “เสรมิ พลัง สรา้ งโอกาส พฒั นาคณุ ภาพชีวติ สูก่ ารพัฒนาทยี่ ั่งยนื ”
(1) นายอนุกูล ปีดแก้ว ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ :
ประเทศไทยใหค้ วามสำคัญกบั การพัฒนาที่อยู่อาศัย ซึง่ พม.ได้ทำ MOU รว่ มกบั 12 กระทรวงฯ และกรงุ เทพฯ
ในการแก้ไขปัญหาคนจนเมื่อวันที่ 3 มี.ค. 64 โดยการขับเคลื่อนที่อยู่อาศัยที่มีข้อจำกัดก็มี พอช.พยายาม
ขับเคลื่อนและแก้ไขปัญหาเหล่านั้นอยู่ ขณะเดียวกันก็มีศูนย์ช่วยเหลือสังคมที่เป็นศูนย์ช่วยเหลือ
ที่ลดความเป็นทางการลงให้เข้าถึงประชาชนและกลุ่มเปราะบาง โดยปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 8 พันกว่าศูนยฯ์
กระจายตัวในทั่วประเทศ แนวทางการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยและปัญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง ภาพใหญ่ของ
กระทรวงมีการเคหะแห่งชาติ ทำที่อยู่อาศัยแตกต่างหลากหลายกว่าเดิม มี พอช. พยายามปรับรูปแบบ
ให้สอดคล้องแก้ปัญหาในมิติอื่น ๆ เราทำร่วมกับ ศอบต. ที่พยายามทำที่อยู่อาศัยมุสลิมในพื้นที่พิเศษ
เรามีเป้าหมายการปรับสภาพแวดล้อมคนพิการกับผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นสองเท่าในปีนี้ ปีนี้ไตรมาสแรกเราจะ
วางเปา้ หมายการทำงานเรือ่ งทอ่ี ยูเ่ ปน็ ลำดบั แรก
(2) นายทวพี งษ์ วิชัยดิษฐ ผูว้ ่าการเคหะแห่งชาติ กลา่ วว่า ปญั หาท่ีอยู่อาศัยเป็นปัญหา
ที่มีมาต่อเนื่องและยาวนาน ทุกเมืองมีความศิวิไลซ์แต่ขณะเดยี วกันทุกเมืองก็มีปญั หาความเหลื่อมล้ำเกิดข้นึ
ดังนน้ั รฐั บาลจงึ ได้มีการพัฒนาและสรา้ งโอกาสในการแกไ้ ขปญั หาทอ่ี ย่อู าศัย ตามภารกจิ ของการเคหะแห่งชาติ
พรบ. การเคหะแห่งชาติ มาตรา 6 ที่ต้องแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำที่อยู่อาศัย และการพัฒนาคุณภาพชีวติ
ปจั จบุ ันกำลังเขา้ สู่สังคมสูงวยั อย่าง 100% หรือเกินกวา่ ร้อยละ 20 ประชากร ดังนั้นจงึ ต้องออกแบบ ปรบั ปรุง
ท่ีอยู่อาศยั ให้สอดคลอ้ ง โดยดำเนนิ การตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารเคหะแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2570 (ฉบับปรบั ปรุง
ปี 2565) ซึ่งมีแผนการดำเนินงานโครงการที่สำคัญเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงที่อยู่อาศัย และลดช่องว่างให้กับ
คนในสงั คม ดังนี้

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

49

(2.1) บา้ นเชา่ สำหรบั ผูม้ ีรายไดน้ ้อย (โครงการบ้านเคหะสขุ ประชา)
การเคหะแห่งชาติ ถอดบทเรียนการพัฒนาที่อยู่อาศัยเป็นองค์ความรู้ในโครงการ
เคหะสขุ ประชา และน้อมนำปรัชญาแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ ครูต้นแบบเศรษฐกิจสุขประชา กำหนดทิศทาง
การดำเนินงานโครงการ ร่วมกันสร้างความเปลี่ยนแปลง ฟื้นฟูรากฐาน พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยี
ด้วยวิถีเกษตรอุตสาหกรรมยั่งยืนจึงเกิดเป็นการพัฒนาโครงการทีอ่ ยู่อาศัย พร้อมดำเนินการเศรษฐกิจชุมชน
ในลักษณะคู่ขนานกนั เช่น การทำเกษตรอินทรีย์ การทำปศุสัตว์ เป็นต้น ภายใต้แนวคิด “บ้านพร้อมอาชพี ”
เพื่อตอบโจทย์การแก้ปัญหาแบบเบ็ดเสร็จเป็นโครงการที่อยู่อาศัยประเภทเช่าราคาถูกพร้อมพื้นที่เศ รษฐกิจ
ชุมชนโดยนำแนวคิด BCG Model มาประยุกต์ใช้ในโครงการ ซึ่งมีเป้าหมาย 100,000 หลังใน 5 ปี
(2565-2569)
- ปี 2564 กอ่ สร้างโครงการนำรอ่ ง 2 โครงการ (ร่มเกลา้ /ฉลองกรุง) รวม 572 ครัวเรือน
- ปี 2565 -2566 : 30,000 หน่วย
- ปี 2567-2569 : 70,000 หน่วย
โดยแบบบา้ นในโครงการบา้ นเคหะสุขประชามี 4 แบบ
กลุ่มผูส้ งู อายุ คนพิการ แบบบา้ นแฝดชัน้ เดียว/2 ชั้น
กลุ่มผู้มสี ถานะโสด แบบบา้ นแฝดชนั้ เดยี ว/2 ชั้น
กลุ่มครวั เรอื นใหม่ แบบบา้ นแฝดช้ันเดยี ว/2 ชนั้
กลุม่ ครอบครวั แบบบ้านแฝดช้ันเดียว/2 ช้ัน
(2.2) โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้า (TOD) เป็นการพัฒนา
โครงการทีอ่ ยู่อาศัยประเภทเช่าให้สอดรับกบั แผนการพัฒนาระบบไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนของสำนักงานนโยบาย
และแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) โดยสนับสนุนแนวทางการพัฒนาเมืองในการพัฒนาพื้นที่บริเวณ
จดุ เปลี่ยนถ่าย การสญั จรของระบบขนส่งสาธารณะให้มีการใช้ประโยชน์อย่างผสมผสาน และ เชอื่ มโยงส่วนต่าง ๆ
เข้าด้วยกัน ให้ความสำคัญกับการเดินเท้า การใช้รถจักรยาน และการใช้ระบบขนส่งสาธารณะเป็นหลัก
ในการเดินทาง โดยดำเนินการในร่มเกล้า 5,000 หน่วย (ปี 2565: 2,500 หน่วย) และคลองจั่น (ริมบึง)
10,000 หน่วย (ปี 2565: 3,600 หน่วย) โครงการดังกล่าวจะเป็นการตอบสนองต่อประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
มที อี่ ยู่อาศัยทไ่ี ด้มาตรฐานในระดบั ราคาทสี่ ามารถรบั ภาระได้ คนรายไดน้ ้อยใน กทม. และปริมณฑลทมี่ ีงานทำ
ในเมือง แม่เลีย้ งเดยี่ วทที่ ำงานในเมอื งคนพกิ าร คนสูงอายุ ขา้ ราชการช้ันผู้นอ้ ย/นกั ศึกษาจบใหม่
(2.3) โครงการท่บี า้ นเคหะสขุ เกษม การเคหะแหง่ ชาติ ดำเนนิ การออกแบบโครงการ
อาคารเช่าเพื่อผู้เกษียณอายุภายใต้หลักสถาปัตยกรรมเพื่อทุกคน โดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับ
ผูอ้ ยูอ่ าศยั มีเปา้ หมายการดำเนินงานในปี 2565-2571 จำนวนรวม 4,089 หนว่ ย (2565-2571)
ปี 2564 ครม. อนุมัตแิ ล้ว 45 หน่วย/ปี 2566 จำนวน 180 หนว่ ย
กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการ พนักงานของรัฐ ลูกจ้างเกษียณอายุ ที่ยังไมม่ ีทีอ่ ยู่อาศยั
เป็นของตนเอง สามารถอย่อู าศัยในรปู แบบเช่าระยะยาว

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

50

(2.4) โครงการอาคารเชา่ สำหรับผูม้ ีรายไดน้ อ้ ยจัดสร้างเป็นอาคารพกั อาศัยสูง 4 ช้ัน
ขนาดห้องพักอาศัยประมาณ 28 และ 30 ตารางเมตร สำหรับห้องพักอาศัยชั้นที่ 1 ได้รับการออกแบบ
โดยคำนึงถงึ หลักอารยสถาปัตย์ (Universal Design) พรอ้ มส่งิ อำนวยความสะดวก เพ่อื ใหผ้ ู้สงู อายุหรือคนพิการ
สามารถอยู่อาศัยได้อย่างสะดวกสบายและพึ่งพาตนเองได้ อัตราค่าเช่าตั้งแต่ 1,400-2,500 บาท (ขึ้นอยู่กับ
ที่ตั้งโครงการฯ) ปัจจุบันก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดให้ผู้ที่สนใจทำสัญญาพร้อมเข้าอยู่ได้ทันที จำนวน
6 โครงการ รวม 1,164 หน่วย

การเคหะแห่งชาติ ดำเนินการพัฒนาที่อยู่อาศัยภายใต้วิสัยทัศน์ “สร้างบ้าน
สรา้ งสขุ เพอ่ื คณุ ภาพชีวิตทดี่ ี” เพอื่ ใหป้ ระชาชนได้มีทอ่ี ยูอ่ าศัย มีสาธารณปู โภค สาธารณูปการ รวมท้ังพัฒนา
ผู้อยู่อาศัยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ส่งเสริมการเข้าถึงที่อยู่อาศัยของคนทุกกลุ่ม เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
ดา้ นทอี่ ยู่อาศัย นำไปสกู่ ารพฒั นาท่ียงั่ ยนื สบื ไป

(1) นางพรทิพย์ วงศ์จอม เครอื ขา่ ยองค์กรชุมชนโซนกรุงเทพฯ ใต้ : สิง่ ทค่ี นไม่มีบ้าน
ตอ้ งการที่สดุ คือโอกาส ร่วมคดิ วางแผน ออกแบบ ในสิ่งท่เี ขาจะต้องได้มาคอื บ้าน ในขบวนการของประชาชนเอง
ไม่มีใครไม่อยากมีบ้าน แต่ถ้ามีบ้านแล้วเราไม่ได้มีส่วนร่วมเราไม่เกิดความรัก ผูกพันและรักษาไว้ โชคดีท่ี มี
หน่วยงานมาชว่ ย หน่วยงานต่าง ๆ มาช่วยเหลือ กระทรวง พม. ภาครฐั การเคหะ พอช.เข้ามาให้ความรู้ ครม.
ได้เปิดโอกาสให้เลือกว่าสร้างอะไรมีทั้งเอื้ออาทรและบ้านมั่นคง ตัวตู่เองคิดว่าบ้านที่เราลงทุนขายนา
เราขอมสี ่วนร่วมขอออกแบบบ้านเอง จะเอาประตบู ้านแบบไหน หอ้ งนำ้ ตรงไหน กเ็ ลอื กเข้ารว่ มกับบ้านมั่นคง
คิดว่าแก่ไปจะทำอย่างไร จะลำบาก ถ้าอายุมากจะอยู่อย่างไร เห็นรูปแบบบ้านมั่นคงคิดว่าเราสามารถอยู่กับลูก
ดูแลหลานได้ ได้อยู่ร่วมกัน ตอนนี้เราลำบากเราเริ่มต้นให้ลูกให้เขาได้ทำมาหากิน สร้างครอบครัวได้
ต้องขอบคุณ กระทรวง พม. พอช. ให้ได้พัฒนาชุมชน และพัฒนาตัวเอง จากคนบ้านนอกได้นั่งคู่กับ UN
กับท่านทั้งหลาย ส่วนของขบวนองค์กรชุมชน พี่น้องบ้านมั่นคงเป็นพี่เลี้ยงให้พ่ีนอ้ งชุมชนแออัด พี่น้องรถไฟ
ทีเ่ ช่าอยู่เราลงไปพูดคุยกับพนี่ อ้ งไว้แล้ว เราไปชว่ ยพีน่ อ้ งตั้งกลมุ่ ออมทรัพย์ให้บริการจัดการตัวเอง เรามีพี่น้อง
รอมีบ้านเยอะ แต่งตัวรอแล้ว แต่คราวนี้ เราเชื่อว่าหน่วยงานภาครัฐเปิดโอกาสให้พ่ีน้องแล้ว เราพยายาม
ลุกขึ้นมาจัดการตัวเอง พี่น้องที่เดือดร้อนขอโอกาสให้เราได้อยู่ในพื้นที่ทำมาหากินได้สะดวกดูแลครอบครัว
ได้ ไปเรม่ิ ตน้ ใหม่ยาก เราพฒั นาเรอ่ื งที่อยู่อาศัยแล้ว เรามที ่ีทำมาหากิน ส่งลกู เรียน รุ่นลูกจะดีข้ึนเราเพียงแค่
ขอโอกาส

( 2 ) Mr. Clinton Moore, Capacity and Data Development Analyst -
ASEAN Sustainable Urbanization, UN-Habitat (ผู้แทน UN HABITAT ประจำประเทศไทย) :
ไม่เคยเหน็ พลงั ในประเทศอน่ื ๆ มากอ่ น โดยเฉพาะออสเตรเลีย ปัจจุบันโลกกำลงั เผชญิ กับความเปลี่ยนแปลง
ท้าทายที่มากขึน้ ความขัดแย้งทางการเมือง เศรษฐกิจ การแก้ไขปัญหาที่มีเวลาเหลืออกี แค่ 7 ปี (ตาม 2030)
ถอื เป็นเป้าหมายทต่ี ้องขจดั ปัญหาให้ลดความเหลือ่ มล้ำตรงนี้ จะตอ้ งมกี ารดำเนินการ ดงั น้ี 1. เราต้องมีข้อมูล
และการวิจยั ในการแก้ไขปัญหา เราต้องเขา้ ใจว่าปญั หาคืออะไร และเราจะทำอะไรตอ่ ไปได้ 2. กลบั ไปที่ปัญหา
พื้นฐานหน่วยงานท้องถิ่น ข้าราชการมีไอเดียเยอะมียุทธศาสตร์เยอะ แต่ต้องระลึกไว้ว่า ต้องดูความต้องการ
พนื้ ฐานของชุมชนว่าเขาตอ้ งการอะไรท่ีเปน็ ความจำเป็นพื้นฐาน และ 3. คนรนุ่ ใหม่เป็นความหวัง ผมประทับใจมาก

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

51

คนรุ่นใหม่ Young people สามารถวางแผน ออกแบบ การจัดการเรื่องเมือง วิสัยทัศน์ เขาคาดหวังเยาวชน
ช่วยพัฒนาเรื่องเมืองมีความเปลี่ยนแปลงมากยิ่งขึ้น เราควรมีกิจกรรมให้เยาวชนกลับมาดูว่าในแต่ละที่
ต้องการอะไร ความหวังอยู่ที่คนรุ่นใหม่ ขับเคลื่อนนโยบายต่าง ๆ ดียิ่งขึ้น ได้ทำงานกับนานาประเทศ
รวมทั้งทำงานกับอาเซียนเรื่องทีอ่ ยู่อาศัยในไทย หลายพื้นที่ เช่น ที่อุดรธานี แต่ละพื้นที่มีปัญหาตา่ งกัน และ
เราคิดว่าต้องทำอย่างไรต้องมองไปข้างหน้าอย่างไร เราต้องการลดความเหลือ่ มล้ำ ซึ่งได้รับการสนับสนุนที่ดี
จากทุกภาคส่วน การทำงานรว่ มกันเปน็ สงิ่ ที่สำคัญมาก

ข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนกระทรวง พม. ประเด็นด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยสำหรับ
การขับเคลื่อนกระทรวง พม. ประเดน็ ดา้ นการพัฒนาที่อยอู่ าศยั มรี ายละเอยี ดดงั นี้

(1) การเจรจาและสรา้ งความเขา้ ใจของภาคแี ละประชาชน ร่วมกนั เปน็ สิง่ สำคัญของความสำเรจ็
(2) ปรับแนวคิดการทำงานภาครัฐ “การย้ายไม่ใชท่ างแก้ไขปัญหา” การทำความเข้าใจรว่ มกัน
(3) นโยบายระดับจังหวัดจะสร้างพลงั กระบวนการขับเคล่อื นอยา่ งสูงสดุ
(4) ควรใช้กฎหมายอย่างสรา้ งสรรค์
(5) ให้ พม. โดย พอช. เพิ่มงบประมาณ สนับสนุนชุมชนโดยไล่รื้อจากเดิม 18,000 เป็น
25,000 และเพ่มิ งบก่อสรา้ งจากเดิม 80,000 เป็น 160,000
(6) สนบั สนุนใหเ้ กดิ การขับเคลื่อนปฏบิ ตั ิการนโยบายการแก้ไขปัญหาที่อยอู่ าศยั และท่ีดินทำกิน
สำหรับผู้มีรายได้น้อยในทุกระดับ และส่งเสริมให้เกิดการกระจายอำนาจในการดำเนินการไปยังกลไก
ระดับทอ้ งถิน่ ใหช้ มุ ชนมีสว่ นรว่ ม
(7) การจดั ทำแผนงานและงบประมาณสนับสนุนการแกไ้ ขปัญหาท่ีดนิ ท่อี ย่อู าศัยและพัฒนา
คุณภาพชีวิตผู้มีรายได้น้อยทุกระดับ ในโครงการพัฒนาของภาครัฐทุกโครงการ ต้องมีส่วนร่วมของชุ มชน
ผเู้ ดือดรอ้ น
(8) ให้ทบทวนกลไกหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดิน ที่อยู่อาศัย เช่น
คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติระดับจังหวัด คณะกรรมการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อย
โดยเพมิ่ สัดสว่ นเครือข่ายขบวนองคก์ รชมุ ชนผู้เดอื ดร้อน สภาองคก์ รชมุ ชนตำบล ภาคประชาสังคม
(9) ใหช้ มุ ชน ภาคประชาชน มีสว่ นร่วมในการกำหนด กำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล การบังคับ
ใชก้ ฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคับ ทมี่ ีผลกระทบต่อท่ดี ินทำกนิ ป่าชุมชน วถิ ีชีวติ ของคนในชุมชนทอ้ งถน่ิ
(10) ให้ทบทวนการออกกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ในทุกประเภทที่ดิน ที่ไม่เอื้อต่อสิทธิ
การอยู่อาศัย ทำกินของชุมชน และการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เช่น พ.ร.บ.และ รา่ งอนบุ ัญญัติอทุ ยานแห่งชาติ พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสตั ว์ป่า ปี พ.ศ. 2562
(11) ให้มีการจัดทำแผนและมาตรการสนับสนุน ช่วยเหลือที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม สำหรับ
ชุมชนผู้มีรายได้น้อยทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากโครงการพฒั นาของภาครัฐ เชน่ ชมุ ชนในทีด่ นิ การรถไฟแห่งประเทศไทย
ที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายการพฒั นาระบบราง ชมุ ชนรมิ คคู ลองท่วั ประเทศ ท่ไี ดร้ ับผลกระทบจากนโยบาย
การจดั ระเบยี บท่ีอย่อู าศยั รมิ คูคลอง

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

52

นอกจากนี้ พอช. และการเคหะแห่งชาติ ยังมีข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนต่อ กทม. :

ดา้ นการพัฒนาทอ่ี ย่อู าศยั ดงั น้ี

(1) ให้ กทม. มีนโยบายและจัดที่ดินรองรับ โดยร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ แบ่งปันที่ดิน

เพอ่ื แก้ไขปัญหาประชาชน รวมไปถงึ การพจิ ารณางบสนับสนนุ สาธารณปู โภคพน้ื ฐานในชมุ ชนแออดั

(2) กฎระเบียบทางราชการที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการจัดทำบ้านมั่นคง เช่น การปลูกสร้าง

บ้านมั่นคงตามกฎหมายผังเมืองผังสีเขียว ปี 2549 ต้องเป็นบ้านเดี่ยวเท่านั้น ทำให้การทำบ้านมั่นคง

ไมส่ ามารถทำได้ ควรปรบั ใหม้ ีหลากหลายรปู แบบเพื่อลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการปลูกสร้างบ้าน

(3) ประชาชนมสี ว่ นรว่ มแก้ไขผัง และแผนพฒั นาเมือง แก้ไข พรบ. ยกเว้นระยะหา่ ง

(4) กทม. สนับสนุนกองทุนสวัสดิการชุมชน ในกทม.มี 42 กองทุนยังขาด 8 กองทุน

อยากให้กลไกของ กทม. ชว่ ยรว่ มผลกั ดัน

(5) กทม. สำนักงานเขต พิจารณาสนับสนุนงบสาธารณูปโภคพื้นฐานในชุมชนแออัด

บา้ นม่ันคง เช่นเดียวกับทีต่ ่างจงั หวดั อบต. เทศบาลมงี บสนบั สนนุ ส่วนน้ี

(6) กทม. ควรทบทวนกลไกคณะกรรมการเมอื งใหม้ ตี วั แทนชมุ ชนเข้าร่วม ปจั จบุ ัน มี 25 เขต

ใช้ตัวแทนแขวงซึ่งไม่ใช่คนท่เี ก่ียวขอ้ งในการพัฒนาแกไ้ ขปญั หาเรือ่ งทีอ่ ยู่อาศัย

(7) กทม. ควรแก้ไขระเบียบการจัดตงั้ ชุมชน ปัจจุบนั บางชมุ ชนไม่สามารถจดั แจง้ ลงทะเบยี นได้

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายโดยรวมของสถาบันพฒั นาองค์กรชุมชน (พอช.)

1. ขอ้ เสนอเพอ่ื การจัดทำนโยบาย 2. ขอ้ เสนอเพอื่ การจัดทำนโยบายระดับกระทรวง

ระดับประเทศ - การสร้าง “พน้ื ท่กี ลาง” หรือ “พ้ืนทีเ่ จรจาและปรกึ ษาหารือ”

- การสง่ เสรมิ ให้ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนร่วม ในทกุ ระดับของการพัฒนา ได้แก่ ตำบล อำเภอ จังหวดั หรอื

และเป็นหนุ้ สว่ นในการพัฒนาสังคม ตามประเด็นงาน

เชงิ พื้นที่อยา่ งยั่งยืน - การจดั ทำขอ้ มูลชุมชนโดยชุมชนและเชอื่ มโยงกับ TPMAP

- ใช้พนื้ ท่ีเปน็ ตวั ตงั้ ในการพฒั นาโดย เกิดการสอบทานข้อมลู ภายในชมุ ชน เกิดระบบข้อมูลท่ีใช้ใน

บูรณาการงานของทุกกระทรวง การแกไ้ ขปัญหาทุกมิตแิ ละใช้ข้อมลู ในการวางแผนเพื่อแกไ้ ข

เขา้ ดว้ ยกนั เพื่อเปลีย่ นแปลงระบบ ปัญหาระยะยาว

การจัดสรรงบประมาณ ลดโครงการ - การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถของผู้นำ

ที่ซำ้ ซอ้ น คนและขบวนองค์กรชุมชนใหส้ ามารถขับเคลอื่ นงาน

- สง่ เสรมิ การกระจายอำนาจ ตามแนวทางของกระทรวง พม.ได้ (ผู้นำดา้ นการพฒั นาคุณภาพชีวติ )

ในทกุ ระดับใหท้ ้องถิ่นสามารถจดั การ - ส่งเสรมิ ให้ชุมชนมีจินตภาพร่วมของผูค้ นในชุมชนท้องถน่ิ

ตนเองได้ เพอื่ มองเห็นเป้าหมายของชุมชนไปในทิศทางเดยี วกนั

- ตงั้ คณะทำงานดา้ นกฎหมายเพอ่ื ทบทวนกฎหมาย

ที่ไมเ่ อ้อื ต่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น เชน่ กฎหมายเกยี่ วกับ

กองทนุ สวัสดกิ าร ระบบการจัดเก็บภาษสี ำหรับวิสาหกจิ ชุมชน

กฎหมายปา่ ไม้และทดี่ ิน เป็นต้น

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

53

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

54

7) สรุปภาพรวมเชงิ ประเด็น : ประเดน็ อน่ื ๆ : การออมเงิน

จากเวทีโครงการบริหารการเงินในภาวะวิกฤต วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน 2565
เวลา 13.30 - 16.00 น. ณ หอ้ งประชุมจนั ทร์กะพ้อ ชนั้ 19 โดยนายศรีเพชร พดุ แดง โคช้ ออมเงิน ธนาคารออมสิน
จดั โดยกองกลาง สป.พม. สรปุ ประเด็นสำคญั ได้ ดงั นี้

pain points ของประเทศ/พม.
ขา้ ราชการเปน็ หนี้ และหนท้ี ่ีทำใหข้ า้ ราชการเปน็ ทกุ ข์ที่สุด คอื หนส้ี ินบัตรเครดติ รองลงมา
คือหนี้สหกรณ์ วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อให้มีเงินเก็บยามเกษียณ ขั้นตอนการบริหารการเงินในภาวะวิกฤต
ได้แก่

(1) ตรวจสุขภาพทางการเงนิ
(2) การตง้ั เป้าหมายการเงินหลกั S M A R T

S = Specific ระบชุ ดั เจนวา่ ว่าทำอะไร เพือ่ อะไร
M = Measurable วดั ผลโดยกำหนดกำหนดเปน็ ตัวเลข
A = Accountable ทำอย่างไรใหถ้ ึงเป้าหมาย
R = Realistic เปน็ ไปไดจ้ ริงไมเ่ ฟ้อฝัน
T = Time Bound กำหนดระยะเวลาทแ่ี นช่ ัด
(3) อปุ สรรคการออม ไดแ้ ก่ ภาระหน้ีสิน ไมใ่ หค้ วามสนใจในการออม และใชเ้ งินเกินตัว
(4) การออมและความเสี่ยง
การออม คือ การวางแผนการออมอย่างมีเปา้ หมาย รู้ทันหน้ี หนีด้ ี หนเ้ี สยี
ความเสี่ยงในการลงทุน ได้แก่ กระจายการลงทุนประเภทเดียวกัน เช่น
ตราสารหนี้/ ตราสารทุน (หุ้น) การกระจายการลงทุนข้ามประเภทสินทรัพย์ เช่น ตราสารทุน(หุน้ )/สินทรัพย์
ทางเลือก และความเสยี่ งในการใชช้ ีวิต เชน่ ประกันสขุ ภาพ/ประกันชีวติ
(5) การลงทนุ ท่ีควรรู้
- รู้เป้าหมายการลงทุนทชี่ ดั เจน ตามหลกั SMART
- รู้ความเสย่ี งทยี่ อมรับได้ (ระดับสูง/ปานกลาง/ต่ำ)
- ร้รู ะยะเวลาในการลงทนุ กำหนดระยะเวลาลงทนุ
- ร้เู งินลงทุนที่มี รูจ้ ำนวนเงินทีต่ ้องลงทนุ

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

55

8) สรุปการประชุมระดมความคิดเห็นต่อการดำเนินงานของกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์

จากการประชุมระดมความคิดเห็นต่อการดำเนินงานของกระทรวง พม. วันเสาร์ท่ี
1 ตลุ าคม 2565 เวลา 13.00 – 19.00 น. ณ หอ้ งประชมุ จนั ทรก์ ะพ้อ ช้ัน 19 A อาคารกระทรวง พม.

(1) ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของกระทรวง พม. การปรับจากการสงเคราะห์
สู่การพัฒนาศักยภาพ การจัดบริการและสวัสดิการแก่กลุ่มเป้าหมาย ในอนาคตมุ่งเน้นการเสริมสร้างพลัง
อำนาจแกก่ ลุ่มเปา้ หมายอย่างเปน็ รูปธรรม

(1.1) ส่ิงทหี่ นว่ ยงานดำเนนิ งานและความพงึ พอใจตอ่ การดำเนนิ งานของ พม.
อพม. กรุงเทพฯ / คณะทำงานช่วย
- การดำเนินงานภายในชมุ ชน
สถาบนั เด็ก เยาวชน และครอบครัว
- นโยบายเงินอุดหนุนเด็กแรกเกดิ
- การวเิ คราะหค์ วามคุ้มทนุ ในการดำเนนิ งานนโยบายเงนิ อุดหนนุ
- การดำเนินงานนโยบายแบบ Evidence Base Project
ตัวแทนเยาวชน
- การปรบั โครงสรา้ งของกระทรวงที่สง่ เสริมใหม้ ีการดำเนินงานท่ีชัดเจนมากข้นึ
กรมกิจการผ้สู งู อายุ
- มกี ารดำเนนิ งานปรับปรุง พรบ.ผสู้ งู อายุ
ผศ.รณภมู ิ สามัคคคี ารมย์
- การพัฒนากลไกกฎหมายที่ขับเคลื่อนความเสมอภาคทางเพศ

(พรบ. ความเทา่ เทยี มระหวา่ งเพศ) ท่มี ีการระบกุ ล่มุ เป้าหมายท่มี ีความหลากหลายทางเพศอย่างชดั เจน
- การผลกั ดันใหเ้ กิดการรับรองทางเพศท่มี ีความหลากหลาย
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครวั
- การเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ แก่ครอบครวั ซ่ึงเปน็ บคุ คลแวดลอ้ มเด็ก
- ความเสมอภาคทางเพศ
- การกระทำความรนุ แรงภายในสตรี
ผูแ้ ทนสถาบนั พัฒนาองคก์ รชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน)
- มิตกิ ารทำงานรว่ มกบั ภาคพื้นท่ี
ผู้แทนกองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ สป.พม.
- การปรบั สภาพแวดล้อมดา้ นทอี่ ยอู่ าศยั แก่ผ้สู งู อายแุ ละคนพกิ าร

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

56

สมาคมคนพิการแหง่ ประเทศไทย
- คนพิการมบี ริบทกล่มุ เป้าหมายทคี่ รอบคลมุ ทกุ ช่วงวัย และความพกิ ารทุกรูปแบบ
- แตล่ ะกลุม่ มีความตอ้ งการทแี่ ตกต่างกัน
- การสรา้ งความเขา้ ใจท่ีถกู ต้องตอ่ การชว่ ยเหลือกล่มุ เป้าหมาย ที่เคารพต่อ
ศกั ดิศ์ รีความเปน็ มนษุ ย์
มลู นิธิอสิ รชน
- คนไร้ทพ่ี ง่ึ คนไร้บา้ น
(2) ข้อคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ
(2.1) การพฒั นาคนทุกช่วงวัย และกล่มุ เปา้ หมาย
- การพฒั นากฎหมายทีร่ องรับ และเตรยี มความพร้อมเขา้ สู่สงั คมผ้สู ูงอายุ
- การจัดบริการที่ไม่รองรับความต้องการเฉพาะของกลุ่มเป้าหมาย เช่น
ผูส้ ูงอายุ และคนพิการ
- การดำเนินงานร่วมกบั กล่มุ เส่ยี งทมี่ ีแนวโน้มเพมิ่ มากขนึ้ เชน่ กลุ่มคนไรท้ ีพ่ ่งึ
ซ่ึงเปน็ กลุ่มวัยกลางคน
- Child Participation ผ่านการมีมมุ มองของการดำเนินงานร่วมกัน
- การกำหนดนยิ ามกลุ่มเปา้ หมาย ท้ังในสว่ นของช่วงวัย และการนิยามด้วยหลักพนื้ ท่ี
- การพฒั นานวตั กรรมท่ีชว่ ยอำนวยความสะดวกแก่คนพิการในทุกรูปแบบ
โดยเฉพาะอย่างย่ิงคนพกิ ารเชิงประจกั ษ์
(2.2) การสร้างโอกาสทางสังคม
- เปิดพื้นที่ในการแสดงความคิดเห็น และแสดงความสามารถ โดยไม่มี
เงือ่ นไข เชน่ การใหค้ วามสนับสนนุ ที่ครอบคลมุ กลุ่มเดก็ ไร้รัฐ ไรส้ ัญชาติ
- การสนบั สนนุ ความเสมอภาคแกก่ ลมุ่ คนท่ีมีความหลากหลาย และครอบคลุม
- การสนบั สนนุ พมจ. ให้มศี กั ยภาพในการดำเนนิ งานด้านชุมชน ผ่านการสนับสนุน
ในรปู แบบของงบประมาณ
- การจัดสวัสดิการ และบริการที่สามารถสร้างพลังและหนุนเสริมให้
กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงโอกาสทางสังคมได้อย่างแท้จริง รวมไปถึงความเท่าเทียมในการเข้าถึงโอกาส
ในแตล่ ะภมู ภิ าค
(2.3) การเสรมิ พลงั ทางสังคม
- Child Friendly Environment
- ความท้าทายเรื่องการสร้างความตระหนักรูร้ ับรู้ ด้านสิทธิ เสรีภาพ และ
ความเสมอภาค แก่กลุ่มเป้าหมายและสงั คม โดยเฉพาะในพนื้ ทต่ี ่างจงั หวัด
- การสรา้ งความเช่ือม่ันดา้ นการดำเนินงานแกส่ ังคม

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

57

- การรับรูถ้ ึงการมีอยู่ของกระทรวงฯ การสร้างความรบั ร้กู ารดำเนนิ งานของ
กระทรวงฯ แก่สังคม เพ่ือเปดิ โอกาสใหพ้ ลเมืองดีสามารถเขา้ มามีส่วนชว่ ยในการดำเนนิ งาน

- การเสริมพลังแกก่ ลุ่มเป้าหมายภายในสถานสงเคราะห์ ให้กลุ่มเป้าหมาย
มีความหวัง เปา้ หมาย และแนวทางการคืนส่สู ังคมทค่ี รอบคลุม

(2.4) การจดั สภาพแวดล้อมและทอี่ ยู่อาศัย
- การมเี มืองท่ีทกุ คนสามารถเข้าถึง
- การจัดสภาพแวดล้อมและทีอ่ ยอู่ าศัยท่เี พยี งพอต่อกลุม่ เปา้ หมายในสว่ นของ

ผสู้ ูงอายุและคนพกิ าร
- การเพ่ิมพื้นท่ีสาธารณะ
- สง่ เสริมให้กลไกศนู ย์ชว่ ยเหลือสงั คมที่มีประสิทธิภาพ อาจมีการเปล่ยี นรูปแบบ

เชน่ การนำศูนยช์ ่วยเหลอื สังคมมาร่วมกบั การดำเนินงานของภาคประชาสงั คม
- การสรา้ งกลไกทางกฎหมายทส่ี นบั สนุนใหเ้ กิดความมน่ั คงทางท่อี ยู่อาศัย

(2.5) การจดั สวัสดกิ ารสังคมและการบรกิ ารประชาชน
- รฐั สวัสดิการ ท่มี กี ารจัดสวสั ดกิ ารแบบถว้ นหนา้ และเข้าถึงประชาชน
- การมนี โยบายทเ่ี ตรียมพรอ้ มตอ่ การรับมือสถานการณภ์ าวะวกิ ฤติ
- การสนบั สนุนเครอื ข่ายในพ้ืนท่ี การส่งเสริมจติ อาสา และการพัฒนากลไก

การทำงานร่วมกับเครือข่ายทางสงั คม เชน่ องค์กรภาคประชาสังคม องคก์ รเอกชน ในรปู แบบของการจัดสวัสดิการ
การมีค่าตอบแทน หรือการอำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน แก่กลุ่มคนและองค์กรที่เข้าใจบริบท
ภายในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย เพื่อทำหน้าที่เป็น Social Safety Net รองรับความเป็นพลวัตของสังคม
และวฒั นธรรมทีเ่ ปลย่ี นแปลงไป

- การสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดเครือข่าย และการพัฒนากลไกการทำงาน
ร่วมกับเครือข่ายทางสังคม เช่น องค์กรภาคประชาสังคม องค์กรเอกชน และเครือข่าย อพม. ในรูปแบบของ
การจดั สวัสดกิ าร หรือ การมคี า่ ตอบแทนในการดำเนนิ งาน

- การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น เพื่อให้ท้องถิ่นสามารถดำเนินงานภายในพื้นท่ี
ดว้ ยตนเอง มหี น่วยงานทคี่ รอบคลุมในระดบั ตำบล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านของกฎหมาย กลไกการประเมิน
และการตอบสนองต่อปญั หา

- การวางเป้าหมายการใช้เงินที่ปรับจากการสงเคราะห์เป็นการสร้างโอกาส
และการสร้างพลังอำนาจแกผ่ ้ใู ชบ้ ริการ

- ปรบั การทำงานให้เปน็ เชิงรุกมากขนึ้ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งด้านการสง่ เสริม และเยยี วยา
- การปรับบทบาทการดำเนินงาน เพื่อสนับสนุนให้เกิดการ Implementation
กลไกอยา่ งเขม้ แข็ง
- TPMAP การมขี อ้ มูลทมี่ กี ารบูรณาการรว่ มกันภายในกระทรวง และข้อมูลท่ีมี
ความน่าเชอ่ื ถือ นำไปใช้ได้จริง และมีความเปน็ ปจั จุบนั

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

58

- การดำเนินงานนโยบายแบบ Evidence Base Project และ การเสริมสร้าง
การมสี ่วนร่วมอย่างมคี วามหมาย

- โครงสร้างที่แบ่งการดำเนินงานของกรมฯ ตามกลุ่มเป้าหมายที่ยังขาด
Focal Point ในการดำเนินงาน ควรมีการระบุที่ชัดเจนในระดับนโยบายว่าจะมีกลไกการดำเนินงานอย่างไร
เพอ่ื ให้การดำเนนิ งานระดับพน้ื ทส่ี ามารถเป็นไปได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

- การจัดบริการทางสงั คมที่เคารพต่อความแตกต่างหลากหลาย อัตลักษณ์
การไม่เลือกปฏิบัติ และการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เช่น ภายในอนุกรรมการคนพิการควรมีคนพิการ
ทกุ รูปแบบอยภู่ ายในคณะทำงานทัง้ ของส่วนกลางและภูมิภาค

- การบูรณาการการดำเนินงานร่วมกับบุคคลแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมาย
เช่น การบูรณาการด้านการศึกษาร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึงการศึกษาและ
เรียนร่วมในโรงเรยี นใกลบ้ า้ น การบรู ณาการด้านการทำงานกับกระทรวงแรงงานเพื่อใหก้ ลมุ่ เป้าหมายสามารถ
เขา้ ถงึ การดำเนินงานไดอ้ ยา่ งแท้จริง การบรู ณาการรว่ มกบั กระทรวงสาธารณสขุ เชน่ การวิเคราะห์ความพิการ
โดยแพทยท์ ส่ี อดคลอ้ งกับการเขา้ ถึงสวัสดกิ าร

- การบังคับใช้กฎหมายที่รัดกุม และครอบคลุมบริบทการดำเนินงานของ
สว่ นกลางและพ้ืนท่ี

- การปรบั ระเบยี บการคลงั ใหเ้ ปน็ ไปตามอัตราเงินเฟ้อของปจั จบุ นั
- เงนิ สนับสนนุ กลุ่มเปราะบางไม่เพียงพอต่อการใช้จริง
(2.6) ประเด็นเพ่ิมเติม
- สถานรองรบั สำหรับกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง ซงึ่ เป็นกลุ่มเปราะบางทม่ี ีจำนวนเพม่ิ มากขน้ึ
- ปญั หาหน้นี อกระบบภายในครวั เรือน
- การเสรมิ สร้างศกั ยภาพการดำเนินงานเฉพาะทางในแต่ละกลุ่มเป้าหมายแก่ อพม.
- การกำหนดเกณฑก์ ารเข้าถึงบริการและสวัสดกิ ารของกลุ่มเปราะบาง เช่น
กลุม่ ผอู้ พยพโยกยา้ ยถนิ่ ฐาน และกล่มุ คนไร้สัญชาติ
- การปรับระเบียบ ขั้นตอน และรูปแบบการให้บริการที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย
และใช้งานไดง้ า่ ย
- กระทรวงฯ ควรมีการประชาสัมพันธ์กระบวนการการดำเนินงานและ
บริการของกระทรวงแกป่ ระชาชนในสงั คมอยา่ งชดั เจน และควรส่งเสริมใหเ้ กดิ การสอ่ื สารเชงิ บวกภายในสงั คม
- การจัดการรายกรณแี กผ่ ้ใู ช้บริการทค่ี รบวงจรและสามารถคนื สสู่ งั คมอยา่ งแทจ้ รงิ
- การนำกรอบมาตรฐานระดับชาติ เช่น SDGs Index มาประเมินการดำเนินงาน
เพ่ือพฒั นาให้การดำเนนิ งานในอนาคตเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
- การสนับสนุนด้านเศรษฐกิจและการจ้างงานแก่กลุ่มเป้าหมายที่ควรมี
การดำเนนิ งานในเชิงรุกมากขนึ้

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

59

- การเสริมสร้างความเขม้ แข็งแก่สถาบันครอบครวั โดยเฉพาะการส่งเสริม
ทกั ษะการเลยี้ งดูบตุ ร (Parenting Skills) เพ่ือใหเ้ ดก็ และเยาวชนเตบิ โตมาอย่างมีคณุ ภาพ

- การสง่ เสริมใหภ้ มู ิภาคมีศกั ยภาพในการบรหิ ารจัดการปัญหาภายในพน้ื ที่
(2.7) แนวทางการดำเนนิ งานตอ่

- พัฒนานวัตกรรมที่อำนวยการดำเนินงานของกระทรวง เช่น โปรแกรม
คำนวณสวัสดิการทแ่ี ต่ละกลมุ่ เปา้ หมายควรไดร้ บั

- เพม่ิ การบรู ณาการกับกระทรวงฯ ที่เป็นปัจจยั แวดล้อม
- การปรับโครงสร้างของกระทรวงใหม้ คี วามทันสมัยอยูเ่ สมอ
- การประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารกับสังคม ในสื่อต่าง ๆ ทั้งออนไลน์
และออฟไลน์ เพือ่ สะท้อนใหส้ ังคมเหน็ ปญั หา สร้างความตระหนกั แก่สงั คม และเขา้ ใจกลไกการทำงาน
- การศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา ภายใต้การมี
หลักฐานเชิงประจกั ษ์
- การศึกษาความเสี่ยงใหม่และการกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ ชัดเจน
เพื่อเตรียมแผนและกลไกการดำเนินงานที่รับมือปัญหา และเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนที่ไม่ใช่กลุ่มเปราะบาง
ใหเ้ ป็นพลังการทำงานแก่กระทรวงฯ
- การสง่ เสริมความเขม้ แข็งแก่ครอบครวั
- สนับสนุนการสร้างสวัสดิการที่มุ่งเน้นนโยบายที่รองรับความเสี่ยง
นโยบายท่ีตอบสนองต่อสภาพปัญหา นโยบายที่การเสริมสร้างโอกาส และการสร้างกลไกการติดตามและ
ประเมินผลการจดั สวัสดิการอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
- การดำเนินงานที่ยึดติดกับเอกสาร (Hard Copy) มากจนเกินไป ควรมี
การปรับรูปแบบการดำเนินงานที่เออ้ื ต่อการดำเนินงานมากข้นึ
- การสร้าง Social Safety Net ผ่านทุนทางสังคมและบริบททางวัฒนธรรม
เพื่อให้คนสามารถพง่ึ พาตนเองได้
- การสนับสนุนให้เกิดการออม หรือ การจัดทำประกันทางสังคมที่ทำให้
คนสามารถพง่ึ พาตนเองในวัยเกษยี ณ

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

60

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

61

การจดั งานครงั้ น้ี ได้สำรวจความพึงพอใจผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมและผเู้ ขา้ รว่ มประชุมวิชาการ เวทีเสวนาวิชาการ
ในงาน “20 ปี พม. เสริมพลงั สรา้ งโอกาส พฒั นาคนทกุ ชว่ งวัย” สรุปได้ดงั น้ี

2.4 การประเมินความพึงพอใจ

การประเมินความพงึ พอใจการจัดงานคร้งั นี้ ใชแ้ บบสำรวจความพึงพอใจ ประกอบด้วย
2.4.1 แบบสำรวจความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคน
ทุกชว่ งวยั ” โดยแบ่งเนื้อหาการประเมินความพงึ พอใจ ออกเป็น 2 สว่ น ได้แก่

1) การประเมินความพึงพอใจการจดั งาน
2) การประเมินความพึงพอใจ ข้อเสนอแนะต่อการดำเนินการที่ผ่านมา และภาพอนาคต
ท่ตี ้องการให้ กระทรวง พม. ดำเนนิ การ
2.4.2 แบบสำรวจความพึงพอใจผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมเสวนาวิชาการ
ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจการจดั งาน “20 ปี พม. เสริมพลงั สร้างโอกาส พฒั นาคนทุกชว่ งวัย” มดี งั นี้

2.4.1 การประเมินความพึงพอใจผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม “20 ปี พม. เสริมพลัง สรา้ งโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย”
การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคน

ทุกช่วงวัย” มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลความพึงพอใจในการจัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส
พัฒนาคนทุกช่วงวัย” รวมทั้งเพื่อเป็นขอ้ มูลในการพัฒนาการดำเนินงานและปรับปรุงรูปแบบการจัดกิจกรรม
ของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ใหม้ ีประสิทธิภาพมากยิง่ ขน้ึ วธิ ีการประเมินผลการจัดงาน
โดยให้ผู้เข้าร่วมงานเป็นผู้ตอบแบบประเมิน ผ่าน google form และมีจุดสแกน QR Code ประเมินความพึงพอใจ
ประจำบูธและจุดจัดเก็บข้อมูล 2 จุด ได้แก่ (1) จุดลงทะเบียน ชั้น 1 อาคารกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ และ
(2) จุดลงทะเบียน ชั้น 1 อาคารกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยมีเจ้าหน้าที่ประจำจุด
เพื่อจัดเก็บแบบประเมิน และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ตอบแบบประเมิน ซึ่งมีผู้ตอบแบบประเมิน จำนวน
ทง้ั สนิ้ 1,825 คน จากผ้เู ข้าร่วมงาน จำนวน 8,953 คน

แบบประเมินเป็นข้อคำถามปลายปดิ และขอ้ คำถามปลายเปิด ประกอบดว้ ยเนอ้ื หา 4 สว่ น ดงั น้ี
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด
ทีอ่ ย่ปู ัจจุบนั กลุม่ ผู้เข้ารว่ มงาน และชอ่ งทางท่ีไดร้ บั ข่าวสารเก่ียวกบั การจัดงาน
ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจการจัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย”
ประกอบด้วย ด้านสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านขั้นตอนการจัดงาน ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ
ด้านการจัดกิจกรรมในงานฯ ด้านภาพรวมการจัดงานฯ ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมงานฯ และ
ส่ิงทีต่ อ้ งการใหป้ รบั ปรงุ พฒั นาการจัดงานฯ

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

62

ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจ ข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงานที่ผ่านมา และภาพอนาคตที่ต้องการให้

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ดำเนินการ ประกอบด้วย ความพึงพอใจในการดำเนินงาน

ที่ผ่านมาตลอด 20 ปี ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ

ต่อการดำเนินงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ผ่านมา ภาพอนาคตที่ต้องการให้

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ดำเนินการ และนโยบาย มาตรการ กิจกรรมโครงการ

ทตี่ อ้ งการให้กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยด์ ำเนนิ การในอนาคต

ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ

สำหรบั การวเิ คราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถิติ SPSS (Statistical Package for Social

Science) ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับข้อคำถามปลายปิด ได้แก่

คา่ ความถ่ี คา่ รอ้ ยละ และค่าเฉล่ยี สำหรบั ข้อคำถามปลายเปิด ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา โดยเกณฑ์การแปล

ความหมายเพ่ือจัดระดับคะแนนค่าเฉล่ยี ความพงึ พอใจ กำหนดเป็นช่วงคะแนนดงั ต่อไปนี้

คะแนนเฉลย่ี 4.21 – 5.00 แปลผล พึงพอใจมากทส่ี ดุ

คะแนนเฉล่ยี 3.41 – 4.20 แปลผล พึงพอใจมาก

คะแนนเฉลย่ี 2.61 – 3.40 แปลผล พงึ พอใจปานกลาง

คะแนนเฉลีย่ 1.81 – 2.60 แปลผล พงึ พอใจนอ้ ย

คะแนนเฉลย่ี 1.00 – 1.80 แปลผล พงึ พอใจนอ้ ยท่ีสดุ

ผลการประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม “ 20ปี พม. เสรมิ พลงั สร้างโอกาส พฒั นาคนทกุ ช่วงวัย สรปุ ได้ดังนี้

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลท่วั ไปผ้ตู อบแบบสอบถาม

ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 76.71 รองลงมา คือ เป็นเพศชาย

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.63 และน้อยท่สี ุดเปน็ อืน่ ๆ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.66

โดยผู้ตอบแบบสอบถาม มีอายุในช่วง 25 ปีขึ้นไป - 59 ปี มากที่สุด (ร้อยละ 70.74) รองลงมา คือ
อายุ 60 ปีขึน้ ไป (ร้อยละ 19.45) และน้อยทส่ี ดุ มีอายุตำ่ กว่า 18 ปี (รอ้ ยละ 0.93)

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

63
ผู้ตอบแบบสอบถามจบการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี มากที่สุด ร้อยละ 49.70 รองลงมา คือ
ระดับสูงกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 18.19 ระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 13.21 ระดับต่ำกว่าประถมศึกษา
ร้อยละ 1.42 และระดบั อ่ืน ๆ รอ้ ยละ 0.49 ตามลำดบั

ผู้ตอบแบบสอบถามมีที่อยู่ปัจจุบันในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มากที่สุด ร้อยละ 85.37
ทเี่ หลืออย่ใู นสว่ นภมู ภิ าค ร้อยละ 14.63

โดยผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเขา้ ร่วมงานมากทีส่ ดุ เปน็ ขา้ ราชการ/เจา้ หน้าทข่ี องรฐั /พนกั งานรฐั วิสาหกิจ
คิดเป็นร้อยละ 51.89 รองลงมา คือ ประชาชนทั่วไป มีร้อยละ 18.52 อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ร้อยละ 9.86 ในขณะท่ีองค์กรชุมชน กลุ่มเป้าหมายของกระทรวง พม. มีค่าใกล้เคียงกัน คือร้อยละ
6.03 และ 4.44 ตามลำดบั สว่ นธรุ กิจสว่ นตัว นกั เรียน/นักศกึ ษา และอื่น ๆ มีจำนวนน้อยสุด รอ้ ยละ 1.70

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

64
ช่องทางท่ีผู้ตอบแบบสอบถามได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการจัดงานมากที่สุด คือ เว็บไซต์ส่วนราชการ

ในสังกัดกระทรวง พม. มีร้อยละ 31.86 รองลงมา คือ สื่อออนไลน์ อาทิ Facebook, line, twitter มีร้อยละ 22.58
การบอกต่อจากบุคคลอื่น ร้อยละ 14.19 หนังสือเชิญ ร้อยละ 13.30 ผ่านทางผู้นำชุมชน ร้อยละ 8.22 และ
ไดร้ บั ขา่ วสารผ่านทางวทิ ยนุ ้อยทีส่ ุด ร้อยละ 1.43

สว่ นท่ี 2 ความพงึ พอใจการจัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลงั สรา้ งโอกาส พฒั นาคนทกุ ชว่ งวยั ”
2.1 ความพึงพอใจการจดั งาน
ผลการประเมินการจัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” พบว่า

ผตู้ อบแบบประเมิน มีความพึงพอใจโดยภาพรวมด้านการจัดงาน ดา้ นเจา้ หน้าท่ผี ู้ให้บริการ ดา้ นการจัดกิจกรรมในงาน
ด้านสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านขั้นตอนการจัดงาน อยู่ในระดับมากที่สุด โดยความพึงพอใจ
ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ มีค่าคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด เท่ากับ 4.38 รองลงมา คือ ด้านการจัดกิจกรรมในงาน
มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.26 ในขณะที่ด้านขั้นตอนการจัดงาน และด้านสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
ใกล้เคียงกัน คือ มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.23 และ 4.22 ตามลำดับ สำหรับผลการพิจารณารายข้อแต่ละด้าน
มีค่าคะแนนเฉลยี่ อยรู่ ะหว่าง 4.16-4.40

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

65

ตารางที่ 1 จำนวนและค่าเฉลยี่ ของระดบั ความพึงพอใจด้านภาพรวมการจัดงานฯ

ดา้ นภาพรวมการจัดงานฯ ระดับความพงึ พอใจ คา่ เฉลี่ย แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย น้อย 4.28 มากทสี่ ดุ
4.28 มากทส่ี ดุ
ทีส่ ดุ กลาง ที่สุด
85.58
ความพึงพอใจภาพรวมการจัดงาน “20 ปี พม. 757 840 209 15 3

เสริมพลงั สร้างโอกาส พฒั นาคนทกุ ช่วงวัย”

คา่ เฉลย่ี รวม

รอ้ ยละ

ตารางท่ี 2 จำนวนและค่าเฉล่ียของระดับความพงึ พอใจด้านสถานทแ่ี ละสิง่ อำนวยความสะดวก

ดา้ นสถานท่ีและสิง่ อำนวยความสะดวก ระดบั ความพงึ พอใจ ค่าเฉลี่ย แปลผล

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย

ท่สี ดุ กลาง ท่ีสดุ

(1) สถานท่ีมคี วามสะอาดและเป็นระเบียบ 739 850 222 9 4 4.27 มากที่สดุ

(2) บริเวณที่จัดงานมีความสะดวกต่อการ 708 815 257 34 9 4.20 มาก

เขา้ ร่วมงาน

(3) สถานที่ในการจัดงานเอื้อประโยชน์ 709 816 251 38 9 4.20 มาก

ต่อคนทกุ ช่วงวยั

ค่าเฉลีย่ รวม 4.22 มากทส่ี ดุ

รอ้ ยละ 84.38

ตารางที่ 3 จำนวนและค่าเฉลีย่ ของระดับความพึงพอใจด้านขั้นตอนการจดั งาน

ดา้ นขัน้ ตอนการจดั งาน ระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉล่ยี แปลผล

มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 4.16 มาก
4.24 มากที่สดุ
ท่ีสุด กลาง ที่สุด
4.26 มากที่สุด
(1) การประชาสมั พันธก์ ารจัดงานอย่างท่ัวถึง 681 814 287 35 8 4.24 มากที่สุด
4.23 มากทส่ี ุด
(2) รูปแบบ/หัวข้อ ในการจัดงานมีความ 685 903 222 10 3
84.54
เหมาะสม น่าสนใจ

(3) ขั้นตอนการเข้ารว่ มงานไมย่ ุ่งยากซบั ซ้อน 745 843 214 14 9

(4) ระยะเวลาในการจัดงานมีความเหมาะสม 706 877 217 18 5

ค่าเฉลย่ี รวม

รอ้ ยละ

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

66

ตารางที่ 4 จำนวนและคา่ เฉลี่ยของระดบั ความพึงพอใจดา้ นเจา้ หนา้ ท่ผี ใู้ หบ้ รกิ าร

ดา้ นเจา้ หนา้ ท่ีผใู้ ห้บรกิ าร ระดับความพงึ พอใจ คา่ เฉล่ยี แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย 4.34 มากท่ีสดุ

ทีส่ ุด กลาง ท่สี ุด 4.40 มากทส่ี ุด
4.39 มากที่สุด
(1) เจา้ หนา้ ท่สี ามารถให้ข้อมูล ตอบขอ้ ซักถาม 799 850 168 5 3 4.38 มากทสี่ ดุ

ให้คำแนะนำได้เป็นอยา่ งดี มคี วามกระตือรือร้น 87.52

และเต็มใจให้บรกิ าร

(2) เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความสุภาพ 865 826 129 4 1

เป็นมติ ร

(3) เจ้าหน้าที่ให้บริการเหมือนกันทุกราย 852 834 135 2 0

โดยไม่เลอื กปฏบิ ัติ

ค่าเฉลี่ยรวม

รอ้ ยละ

ตารางที่ 5 จำนวนและคา่ เฉลยี่ ของระดับความพึงพอใจดา้ นการจัดกจิ กรรมในงานฯ

ดา้ นการจดั กิจกรรมในงานฯ ระดับความพึงพอใจ คา่ เฉล่ีย แปลผล

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย มากที่สุด
มากท่ีสุด
ทส่ี ดุ กลาง ที่สดุ มากที่สุด

โซนท่ี 1 การจัดเวทีกลางและเสวนาวิชาการ มากท่สี ดุ
มากทส่ี ดุ
(1) การนำเสนอเนื้อหาภารกิจของ 714 877 220 11 2 4.26 มากท่สี ดุ
มากท่สี ุด
กระทรวง พม.

(2) การประชุมวชิ าการ ปาฐกถาพเิ ศษ 690 904 217 9 3 4.25

(3) การแลกเปลี่ยนเรียนรูด้ ้านการพฒั นา 706 881 220 13 2 4.25

สังคม

โซนท่ี 2 การจัดแสดงนทิ รรรศการ

(1) พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับ 752 864 193 12 1 4.29

กระทรวง พม.

(2) เหตุการณ์ผลงานสำคัญ พม. ช่วง 735 870 207 9 1 4.28

พ.ศ. 2545-2565

(3) การพฒั นาองค์กร พม. 749 859 200 12 1 4.29

(4) Next Step พม. (ทิศทางยุทธศาสตร์ พม. 732 870 206 11 1 4.28

(พ.ศ.2566 –2570)

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

67

ด้านการจัดกิจกรรมในงานฯ ระดับความพงึ พอใจ คา่ เฉลย่ี แปลผล

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 4.25 มากท่สี ดุ

ทส่ี ุด กลาง ทสี่ ุด 4.25 มากที่สดุ
4.26 มากที่สดุ
โซนที่ 3 การแสดงผลงานสำคญั การพฒั นาคนทุกชว่ งวยั 4.27 มากที่สดุ
4.28 มากที่สุด
(1) การพฒั นาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง 710 879 221 11 2 4.23 มากทสี่ ดุ

รายครัวเรือน 4.25 มากทส่ี ดุ
4.23 มากทส่ี ุด
(2) การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตเด็กและเยาวชน 708 881 223 8 3 4.24 มากทส่ี ุด

(3) การพฒั นาสตรแี ละสถาบันครอบครัว 720 880 210 10 3 4.23 มากทส่ี ุด

(4) การพฒั นาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร 717 892 200 12 2 4.25 มากที่สดุ

(5) การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผูส้ ูงอายุ 747 852 211 10 3 4.26 มากที่สดุ

(6) การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธ์ุ 686 887 229 18 3 4.26 มากทส่ี ดุ

สมาชกิ นิคม คนไร้ทพี่ งึ่ คนขอทาน 4.26 มากท่สี ุด
85.20
(7) การเสรมิ สรา้ งความมั่นคงของทีอ่ ยู่อาศยั 705 884 217 14 4

(8) การปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ 694 875 238 11 5

(9) การสง่ เสริมศกั ยภาพและความร่วมมือ 707 875 227 10 5

เครือข่าย

(10) นวัตกรรมการให้บริการรับจำนำ 695 881 228 14 5

ของสำนักงานธนานเุ คราะห์

(11) กจิ กรรมเพ่อื สังคม (CSR) 700 898 210 12 3

โซนท่ี 4 การจัดแสดงผลงาน Soft Power พม.

(1) การจัดแสดงและสาธิตผลิตภัณฑ์ 727 867 218 11 2

ผลงาน ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ

(2) การแสดงศิลปะ ดนตรี วัฒนธรรม 722 864 225 10 4

กีฬาและอาหาร

ค่าเฉล่ียรวม

ร้อยละ

2.2 ประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากการเขา้ ร่วมงานฯ
- ทราบถึงบทบาท/ภารกิจของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตั้งแต่อดีต

ถึงปัจจุบันชัดเจนขึ้น รวมทั้งข้อมูลความรู้กลุ่มเป้าหมายของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษยท์ ่ีมากข้ึน อาทิ ประเดน็ ผสู้ ูงอายุ ประเด็นทอี่ ยู่อาศยั

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

68

- ทราบกรอบแนวทางการพัฒนาคนทุกช่วงวัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม และแนวทาง
การขับเคลื่อนงานในระดบั พืน้ ที่ชดั เจนมากขึน้

- ทราบขอ้ มูลเกี่ยวกับการช่วยเหลือทางสงั คมของกลมุ่ เปา้ หมายต่าง ๆ ของกระทรวงการพัฒนา
สงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์

- เกิดการแลกเปลย่ี นเรียนรู้การทำงานระหวา่ งหน่วยงานในสว่ นกลางและส่วนภมู ิภาค
- ไดร้ ับความรูท้ ักษะใหม่ ๆ นวตั กรรมใหม่ ๆ และกระบวนการมีสว่ นรว่ มเพ่อื เปน็ พลงั สร้างชมุ ชนเข้มแข็ง
- กล่มุ เป้าหมายไดแ้ สดงศกั ยภาพของตนเองใหป้ ระชาชนทั่วไปได้รับทราบ
- ร้จู ักภาคีเครอื ขา่ ยในการพฒั นาสงั คมมากข้ึน

2.3 สิ่งทต่ี อ้ งการใหป้ รับปรงุ พฒั นาการจัดงานฯ
- สถานที่จัดงานท่ีตอ้ งปรับปรงุ อาทิ ที่จอดรถ ลิฟต์โดยสาร พื้นที่จัดงาน ป้ายบอกทาง สถานท่ี

รบั ประทานอาหาร ห้องประชุมมีขนาดเลก็ ควรแยกสถานที่จัดประชมุ วชิ าการ
- ควรประชาสัมพันธก์ ารจัดงานให้ทัว่ ถึงหลากหลายชอ่ งทาง ดึงดูดความสนใจผู้เข้าร่วมงาน อาทิ

เชญิ บุคคลมชี อื่ เสียง ดารา นกั ร้อง มาประชาสัมพนั ธง์ าน
- เพิ่มกิจกรรมในงานให้หลากหลายมากยิ่งขึ้น จัดระเบียบผู้เข้าร่วมงาน เนื่องจากมีผู้เข้าร่วม

จำนวนมากและพ้ืนทีม่ ีจำกดั
- ควรมภี าคีเครือข่ายจากหน่วยงานภายนอกเขา้ ร่วมจดั กิจกรรมใหห้ ลากหลายขนึ้
- ปรบั ระยะเวลาการจดั งานเหลือ 3 วนั ใหม้ คี วามกระชับ
- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม ควรส้นั กระชบั และใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจงา่ ย

ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจ ข้อเสนอแนะต่อการดำเนนิ งานที่ผ่านมา และภาพอนาคตทีต่ ้องการให้กระทรวง
การพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ดำเนนิ การ

3.1 การดำเนินงานท่ีผา่ นมาตลอด 20 ปี ของกระทรวง พม.
ผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจในการดำเนินงานที่ผ่านมาของ กระทรวง พม.

อยู่ในระดับมากที่สุด และมีค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจภาพรวมการดำเนินงาน เท่ากับ 4.22 โดยมี
ค่าคะแนนเฉลี่ยด้านการเสริมพลังทางสังคมมากที่สุด เท่ากับ 4.28 ในขณะที่ด้านการพัฒนาคนทุกช่วงวัย
ด้านการจัดสวัสดิการสังคมและการบริการประชาชน มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากัน คือ 4.22 ซึ่งใกล้เคียงกับ
ด้านการสรา้ งโอกาสทางสงั คม ทีม่ ีคา่ คะแนนเฉลี่ย เทา่ กับ 4.21 สำหรับความพงึ พอใจดา้ นการจดั สภาพแวดล้อม
และท่อี ยู่อาศัย อยูใ่ นระดบั มาก มีคา่ คะแนนเฉลี่ยตำ่ สุด เท่ากบั 4.16

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

69

ตารางท่ี 6 จำนวนและค่าเฉลีย่ ของระดับความพงึ พอใจด้านการพฒั นาคนทุกช่วงวัย

ด้านการพฒั นาคนทุกชว่ งวัย ระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉล่ยี แปลผล

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย

ทีส่ ดุ กลาง ท่ีสดุ

การพัฒนาคนศักยภาพคนทุกช่วงวยั 665 900 245 12 0 4.22 มากทส่ี ดุ

ค่าเฉลี่ยรวม 4.22 มากท่ีสดุ

ร้อยละ 84.34

ตารางที่ 7 จำนวนและค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจด้านการสร้างโอกาสทางสังคม

ดา้ นการสรา้ งโอกาสทางสังคม ระดับความพึงพอใจ คา่ เฉล่ยี แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ที่สดุ กลาง ทส่ี ุด

(1) การสร้างงานสร้างอาชีพสำหรับ 656 900 253 12 1 4.21 มากที่สดุ

กลมุ่ เปา้ หมายของ พม.

(2) การพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 672 889 244 17 1 4.21 มากที่สดุ

ของกลุม่ เป้าหมาย พม.

คา่ เฉล่ยี รวม 4.21 มากท่สี ดุ

ร้อยละ 84.22

ตารางท่ี 8 จำนวนและค่าเฉลย่ี ของระดบั ความพึงพอใจดา้ นการเสรมิ พลังทางสังคม

ดา้ นการเสริมพลงั ทางสังคม ระดับความพึงพอใจ ค่าเฉล่ยี แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย

ทส่ี ุด กลาง ที่สุด

(1) การพัฒนาศกั ยภาพของสภาเดก็ และเยาวชน 739 898 171 10 3 4.30 มากทสี่ ุด

(2) การส่งเสริมบทบาทและพัฒนาศักยภาพ 737 891 180 9 4 4.29 มากทีส่ ุด

อาสาสมคั ร เครอื ขา่ ย และภาคประชาสงั คม

(3) การพัฒนากิจการสภาองค์กรชุมชน 718 902 188 12 1 4.28 มากที่สดุ

(4) การดำเนนิ กจิ กรรมเพ่อื สงั คม (CSR) 717 907 182 12 2 4.28 มากที่สุด

(5) การดำเนินการขององค์กรสาธารณ 719 900 188 11 3 4.28 มากทส่ี ุด

ประโยชนแ์ ละองคก์ รสวสั ดกิ ารชุมชน

คา่ เฉลี่ยรวม 4.28 มากที่สุด

ร้อยละ 85.70

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

70

ตารางที่ 9 จำนวนและค่าเฉล่ยี ของระดับความพึงพอใจดา้ นการจดั สภาพแวดล้อมและทอ่ี ยอู่ าศยั

ด้านการจัดสภาพแวดลอ้ มและที่อย่อู าศยั ระดบั ความพงึ พอใจ ค่าเฉลี่ย แปลผล

มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย

ที่สดุ กลาง ที่สดุ

(1) ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้น้อย 624 862 307 24 5 4.14 มาก

(การเคหะแหง่ ชาติ)

(2) บ้านมั่นคง บ้านพอเพียงชนบท / 639 870 280 30 2 4.16 มาก

บ้านชายแดนใต้

(3) การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อ 642 874 279 24 3 4.17 มาก

คนทกุ วัยเข้าถงึ ได้

คา่ เฉลย่ี รวม 4.16 มาก

ร้อยละ 83.14

ตารางที่ 10 จำนวนและค่าเฉล่ียของระดับความพงึ พอใจด้านการจัดสวัสดิการสงั คมและการบริการประชาชน

ดา้ นการจดั สวสั ดิการสังคม ระดบั ความพึงพอใจ ค่าเฉล่ีย แปลผล

และการบริการประชาชน มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ท่ีสุด กลาง ที่สุด

(1) ศูนย์ช่วยเหลอื สงั คมชมุ ชน/ ตำบล 662 912 230 16 1 4.22 มากที่สดุ

(2) ศูนย์ช่วยเหลอื สงั คม (สายด่วน พม. 1300) 688 892 223 15 4 4.23 มากที่สุด

(3) กองทุนต่างๆ อาทิ กองทุนคุ้มครองเด็ก 674 907 225 15 0 4.23 มากทส่ี ดุ

กองทุนผู้สูงอายุ กองทุนส่งเสริมและ

พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กองทุน

สวัสดิการชุมชน กองทุนส่งเสริมความ

เท่าเทียมระหว่างเพศ กองทุนส่งเสริม

การจัดสวัสดิการสังคม

(4) เงินสงเคราะห์ทุกประเภทของ 661 889 251 19 0 4.20 มาก

กระทรวง พม.

(5) การช่วยเหลือประชาชนในช่วง 677 891 237 16 1 4.22 มากที่สุด

สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19

(6) การให้บริการของสำนักงาน/ ศูนย์/ 654 904 246 14 2 4.21 มากท่ีสดุ

สถาน/ บา้ น/ นคิ ม

(7) เงนิ อดุ หนนุ เพอ่ื การเลย้ี งดเู ดก็ แรกเกิด 673 897 230 18 3 4.22 มากที่สุด

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

71

ดา้ นการจดั สวัสดิการสังคม ระดับความพงึ พอใจ ค่าเฉลีย่ แปลผล
4.23 มากทีส่ ุด
และการบรกิ ารประชาชน มาก มาก ปาน น้อย น้อย 4.20 มาก
4.21 มากทส่ี ุด
ทส่ี ดุ กลาง ท่สี ดุ
4.22 มากที่สุด
(8) เบ้ยี ยังชพี ผ้สู งู อายุ/เบย้ี คนพิการ 687 894 218 16 6 84.40

(9) สินเชื่อเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย 663 891 243 21 4

สำหรบั ผ้มู ีรายได้นอ้ ย

(10) การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมายกระดับ 669 900 229 16 6

การให้บริการประชาชน อาทิ ระบบการ

แจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย แจ้งปัญหาสังคม

และขอรบั บริการ (e-service)/ Application

“Protect-U”/ ร ะ บบติดตามก า ร ใ ช้

บ ร ิ ก า ร พ ม . / Gold Application /

แพลตฟอรม์ เพือ่ นครอบครวั /

ค่าเฉลีย่ รวม

รอ้ ยละ

ตารางท่ี 11 จำนวนและค่าเฉลีย่ ของระดบั ความพึงพอใจภาพรวมการดำเนนิ งาน

ภาพรวมการดำเนินงาน ระดับความพงึ พอใจ คา่ เฉลย่ี แปลผล

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 4.22 มากทส่ี ดุ
4.22 มากที่สดุ
ท่สี ุด กลาง ทีส่ ดุ
84.36
ความพึงพอใจภาพรวมการดำเนินงาน 674 886 242 15 2

ท่ีผ่านมาตลอด 20 ปี ของกระทรวง พม.

ค่าเฉลยี่ รวม

ร้อยละ

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

72

3.2 ขอ้ คดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ ต่อการดำเนนิ งานของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คง
ของมนุษยท์ ี่ผ่านมา

(1) ดา้ นการพฒั นาคนทุกช่วงวยั
- ควรบูรณาการจากทกุ ภาคสว่ นให้มากยิง่ ขน้ึ พฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้ครอบคลุมทุกมติ ิ
- ทำงานเชงิ รุก ลงพืน้ ท่ีชุมชนสมำ่ เสมอเพือ่ พฒั นาศักยภาพและช่วยเหลือคนทกุ ชว่ งวัย ไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ
- ใช้กลไกเครือข่ายชุมชน หรือหน่วยงานท้องถิ่นในการทำงานช่วยเหลือดูแลคนทุกช่วงวัย

ท่ีประสบปญั หาทางสังคม
- จดั สรรงบประมาณทีเ่ พียงพอพฒั นาคนทุกชว่ งวยั
- แบง่ กล่มุ เป้าหมายการดูแลช่วยเหลอื ให้ชัดเจน
- ควรมีการจดั กิจกรรมที่เหมาะสมกับคนทกุ ชว่ งวัยเพ่ือเพ่ิมศกั ยภาพ เน้นกิจกรรมท่ีส่งเสริม

ศักยภาพของคนทกุ ช่วงวัยแบบย่ังยืน
- มีระบบการแจ้งเตอื นถงึ สทิ ธแิ ละสวัสดิการของคนทกุ ช่วงวัยผ่านขอ้ ความมือถอื
- พัฒนาภาวะจติ ใจเจา้ หนา้ ท่ีท่ีให้บรกิ ารให้มีความพรอ้ มใหบ้ รกิ ารทกุ ชว่ งวัย

(2) ด้านการสรา้ งโอกาสทางสังคม
- การสร้างโอกาสทางสังคมให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงการพัฒนาสังคม

และความมน่ั คงของมนษุ ย์
- เพิม่ ช่องทางการเขา้ ถงึ กจิ กรรมสรา้ งโอกาสทางสงั คมให้กล่มุ ผมู้ ีรายได้น้อย ผู้ด้อยโอกาสทางสงั คม
- ควรเพ่มิ โอกาสทางธรุ กิจและการสรา้ งรายได้ ให้โอกาสเพิ่มทางเลอื กแก่ทกุ คน ใหม้ คี ุณภาพชีวติ ท่ีดี
- สำรวจความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายเพื่อกำหนดแนวทางในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ อย่างยง่ั ยืน
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ควรเป็นหน่วยงานนำด้านการพัฒนาสังคม

ท่ใี ช้คนเปน็ ศูนย์กลาง พฒั นาศกั ยภาพผ้ปู ฏบิ ตั ิงานใหเ้ ข้าถึงกลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างแท้จริง
- กระตนุ้ ใหค้ นในสงั คมมสี ่วนร่วมในการแกไ้ ขปญั หาทางสังคม
- เปดิ โอกาสให้สังคมชุมชนได้บริหารจดั การชุมชนของตนเอง สามารถพึ่งพากนั ได้

(3) ด้านการเสรมิ พลังทางสงั คม
- เนน้ การทำงานเชงิ ลึก กระตุน้ สังคมใหเ้ ขา้ มามสี ว่ นร่วมชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปราะบาง
- นำเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏบิ ัตงิ านเพอ่ื อำนวยความสะดวกให้กับประชาชาชนผ้รู ับบริการ
- ใหบ้ ทบาทภาคประชาชน ภาคประชาสงั คมในการขบั เคลอื่ นสร้างสรรคส์ รา้ งสงั คม
- ใชช้ มุ ชนเปน็ แกนหลกั ในการดำเนินงานด้านสังคม เสริมสรา้ งแรงจงู ใจแกเ่ ครือข่ายในการมี

สว่ นร่วมในการดำเนนิ งานด้านสงั คมในระดบั พ้นื ที่
- สร้างหนว่ ยงานกลางในการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และความต้องการของประชาชน
- จดั กจิ กรรมทางสงั คมที่ทุกคนสามารถเข้ามามีส่วนรว่ ม ส่งเสรมิ ศกั ยภาพ การแสดงผลงาน

ของกลุม่ เปา้ หมาย
- สนบั สนนุ งบประมาณใหก้ บั กลุ่มต่าง ๆ เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นงานทางสงั คม อาทิ ศูนย์สรา้ งสขุ ทกุ วัย

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

73

(4) ดา้ นการจดั สภาพแวดลอ้ มและที่อยู่อาศยั
- เพิ่มงบประมาณการจัดสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยแบบเท่าเทียม (Universal Design)

เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของผอู้ ยอู่ าศัย
- เพมิ่ จำนวนโครงการด้านทอี่ ยู่อาศัยใหม้ ากยิง่ ขน้ึ ประชาชนทุกกลมุ่ สามารถเข้าถึงไดอ้ ย่างเพียงพอ
- สง่ เสริมให้ประชาชนมสี ว่ นรว่ มออกแบบชุมชน จัดวางผังชุมชน ใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทสงั คมชุมชน
- เพม่ิ การจัดสรรที่อยอู่ าศัยให้กับกลมุ่ คนไรบ้ า้ นผมู้ รี ายได้นอ้ ย
- การสรา้ งโมเดลต้นแบบทีอ่ ยอู่ าศัยใหผ้ ้มู รี ายไดท้ ดลองอยู่ไดจ้ ริง
- จัดบริการพืน้ ท่สี าธารณะและการเขา้ ถึงท่อี ยู่อาศยั แกผ่ ู้มรี ายไดน้ ้อยไดอ้ ย่างทัว่ ถึง
- ทำให้ทุกคนในสงั คมมที ี่อยู่อาศัยที่มั่นคงปลอดภัยอย่างถว้ นท่ัว ลดโอกาสผู้มีฐานะเศรษฐกิจสูง

ขยายโอกาสระดบั ฐานราก ให้เขา้ ถงึ ทอ่ี ยู่อาศยั ในราคาทเ่ี หมาะสม
(5) ด้านการจดั สวสั ดกิ ารสังคมและการบริการประชาชน
- ส่งเสริมสวัสดิการแบบถ้วนหน้าแก่ประชาชนทุกช่วงวัย และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน

ได้ร้อู ยา่ งท่วั ถงึ
- สง่ เสริมใหภ้ าคประชาชนพึง่ ตนเองโดยการจดั สวสั ดิการเอง มีภาครัฐเป็นผสู้ นบั สนนุ
- ลดระเบียบข้ันตอนการเข้าถงึ สวัสดกิ ารภาครฐั และครอบคลมุ ประชาชนทุกกล่มุ เป้าหมาย
- ใหก้ ารชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสังคม รวดเร็ว ทันการณ์ เพยี งพอ ทั่วถงึ และยัง่ ยนื
- ควรมีการจัดอบรมอาชีพ รวมทั้งมีทุนประกอบอาชีพและมีสถานที่จำหน่ายสินค้าและ

แหลง่ หรอื ช่องทางการขายให้ครบวงจรจะได้เป็นการช่วยเหลือประชาชนทีย่ งั่ ยืน
- ควรจดั สวสั ดกิ ารช่วยเหลอื กลุ่มคนไร้สัญชาตใิ ห้ไดร้ ับสทิ ธเิ์ ทา่ เทยี มคนไทย
- การส่งเสรมิ สวัสดิการท่ีช่วยลดความเหลอื่ มลำ้ ในสังคม
- ผลักดนั การเพิม่ เบีย้ ยงั ชพี ผู้สงู อายุ และเบยี้ ความพิการ
- ควรมีช่องทางการเข้าถึงสวัสดิการสังคมและการบริการประชาชน ให้ประชาชนสามารถ

รบั ร้รู บั ทราบและเข้าถงึ สทิ ธสิ วัสดกิ ารไดอ้ ย่างเท่าเทยี มเป็นธรรม

3.3 ภาพอนาคตทีต่ อ้ งการใหก้ ระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ดำเนินการ
3.3.1 ภาพการดำเนินงานของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ในอนาคต
ภาพอนาคตที่ต้องการให้กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ดำเนินการ

มากที่สุด ได้แก่ พม. ให้ความสําคัญกับการพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 29.27
รองลงมา คือ พม. เป็นหน่วยงานหลักในการกำหนดนโยบายด้านสังคม โดยมีเป้าหมายพัฒนาคน ครอบครัว
และชุมชน รวมถึงสร้างโอกาสและความเท่าเทียมในสังคม มีร้อยละ 23.54 เสริมพลังกลุ่มเป้าหมาย องค์กร
เครอื ขา่ ยให้มคี วามเข้มแขง็ มีส่วนรว่ มในการพฒั นาสงั คม และประชาชนทกุ ช่วงวัยได้รับการคุ้มครองทางสงั คม
มีร้อยละ 19.43 ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการของ พม. ได้อย่างรวดเร็ว ครอบคลุม มีประสิทธิภาพ
และเปน็ ธรรม มีร้อยละ 14.53 และการนำเทคโนโลยมี าใช้ในการใหบ้ ริการประชาชนเพิ่มขึน้ มีร้อยละ 12.94

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

74

ตารางท่ี 12 จำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามภาพการดำเนนิ งานของกระทรวงการพัฒนา

สังคมและความม่นั คงของมนษุ ยใ์ นอนาคต

ภาพอนาคตท่ีตอ้ งการใหก้ ระทรวงการพัฒนาสงั คม ความถี่ รอ้ ยละ

และความมั่นคงของมนุษย์ดำเนินการ

พม. ให้ความสาํ คญั กบั การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย 1,237 29.27

มากข้ึน

พม. เป็นหน่วยงานหลักในการกำหนดนโยบาย 995 23.54

ด้านสังคม โดยมีเป้าหมายพัฒนาคน ครอบครัว

และชุมชน รวมถึงสร้างโอกาสและความเท่าเทียม

ในสงั คม

เสริมพลังกลุ่มเป้าหมาย องค์กรเครือข่ายให้มี 821 19.43

ความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและ

ประชาชนทุกช่วงวัยได้รบั การคมุ้ ครองทางสงั คม

นำเทคโนโลยมี าใช้ในการให้บรกิ ารประชาชนเพ่มิ ขน้ึ 547 12.94

ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการของ พม. ได้อย่าง 614 14.53

รวดเรว็ ครอบคลมุ มปี ระสิทธิภาพ และเปน็ ธรรม

อื่นๆ 12 0.28

3.2.2 นโยบาย มาตรการ กิจกรรมโครงการท่ีต้องการให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ดำเนนิ การในอนาคต

(1) ด้านนโยบาย
- การดำเนินงานควรมงุ่ เน้นการคุ้มครองช่วยเหลือมากกวา่ การให้เงินสงเคราะห์
- มนี โยบายปรับเพิ่มเงนิ สงเคราะหป์ ระเภทต่าง ๆ ให้สอดคล้องกบั ค่าครองชพี ในปัจจุบัน
- ดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่เน้นกลุ่มเปราะบาง ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายอย่างยั่งยืน

ให้มคี วามมน่ั คงในชวี ติ และแกไ้ ขปญั หาทางสังคมไดจ้ ริง
- พฒั นาศกั ยภาพคนฐานรากใหม้ ีคุณภาพชีวิตที่ดี

(2) ด้านการบริหารการพัฒนา (งาน คน องค์กร)
- การสร้างสวัสดิการที่ดีในการทำงานของเจ้าหน้าที่ เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีกำลังใจในการ

ทำงานที่มีคุณภาพต่อไป
- ควรปฏบิ ัติงานด้วยความมุง่ มั่น รวดเรว็ สร้างความเชือ่ ถือ เพื่อช่วยเหลอื ประชาชนอย่างแทจ้ ริง
- เสริมพลงั และเพมิ่ ศักยภาพองคก์ รเครอื ขา่ ยใหม้ ีความเข็มแขง็
- การนำคนเร่รอ่ นขอทานเข้าสรู่ ะบบการดูแลภาครฐั
- ใช้เทคโนโลยี นวตั กรรมมาใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

75

(3) ด้านการขบั เคลอื่ นเชิงพนื้ ท่ี
- ขับเคลื่อนกลยุทธ์ด้านสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จากระดับชาติสู่ระดับพื้นท่ี

อย่างเป็นรปู ธรรม
- พัฒนาศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม เพอ่ื ให้เป็นกลไกของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง

ของมนษุ ย์ ในการขบั เคลื่อนงานระดบั พ้ืนที่
- เพิ่มโครงการเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางในสังคม โดยเฉพาะ

กลมุ่ เปราะบางทอี่ ยใู่ นพนื้ ที่ห่างไกล

สว่ นท่ี 4 ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม
- การพฒั นาสังคมต้องพฒั นาคนจากความคิด ทศั นคติ และพัฒนารายได้รว่ มดว้ ย เมอื่ เศรษฐกิจในบ้านดี

ปญั หาสังคมกจ็ ะเกิดน้อย
- ดูแลความปลอดภัยและจดั สวัสดกิ ารทีเ่ หมาะสมแก่ผู้ปฏิบัติงานลงพ้นื ทที่ ่มี ีความเสี่ยง
- ใหท้ ุกภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มในการเสนอกฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องด้านการพฒั นาสงั คม
- จัดกิจกรรมเช่นนี้ทุกปีเพื่อแลกเปล่ียนรู้การทำงาน และเสนอผลงานของกระทรวงการพัฒนาสงั คม

และความมัน่ คงของมนษุ ย์ ให้ประชาชนได้รับรทู้ ราบมากยิง่ ขึ้น
- การจัดกิจกรรมครั้งตอ่ ไปควรให้หน่วยงานอื่นร่วมเปน็ เจ้าภาพในการจดั งาน
- นโยบายด้านสงั คมทดี่ ูแลชว่ ยเหลือคณุ ภาพชวี ิตของคนชนบทท่ีห่างไกล
- สรา้ งการรับรูก้ ารเขา้ ถงึ สภาองคก์ รชุมชนใหก้ บั หนว่ ยงานต่าง ๆ
- ระบบการตดิ ตอ่ ประสานงานหนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์

ตอ้ งทำงานด้วยความรวดเรว็ เพอื่ ใหป้ ระชาชนไดร้ บั การช่วยเหลืออยา่ งรวดเรว็
ในการรับฟงั ความคิดเห็นต่อการดำเนนิ งานท่ีผ่านมาและภาพอนาคตท่ตี ้องการเหน็ ของกระทรวง พม.

นอกจากให้ผู้เข้าร่วมงานให้ข้อมูลโดยใช้แบบสำรวจแล้ว คณะทำงานฝ่ายติดตามประเมินผล ยังได้จัดประชุม
ระดมความคิดเหน็ ตอ่ การดำเนนิ งานของกระทรวง พม. ในงาน “20 ปี พม. เสรมิ พลงั สรา้ งโอกาส พัฒนาคน
ทุกช่วงวัย” เพื่อรับฟังความคิดเห็นต่อการดำเนินงานที่ผ่านมาและภาพอนาคตที่ต้องการเห็นของกระทรวง พม.
จากภาคีเครือข่าย นักวิชาการ ผู้แทนหน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในสังกัดกระทรวง พม. รวมถึง
ข้อเสนอจากผู้ทรงคุณวุฒิ และการปาฐกถาพิเศษ มาสรุปเป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงาน
ในอนาคตของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ ไดด้ งั น้ี

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

76

(1) ดา้ นนโยบาย
- กระทรวงต้องนำเสนอนโยบายที่สามารถรองรับกับความเสี่ยงของสังคมไทยในอนาคต

โดยมงุ่ เนน้ การสรา้ งโอกาสและการเสรมิ พลัง
- การพฒั นานโยบายดา้ นสวัสดิการสังคมใหเ้ ปน็ เร่อื งของการสรา้ งโอกาส และคำนงึ ถงึ ความยง่ั ยืน
- การเปล่ยี นมมุ มองดา้ นสวัสดิการสงั คมทเ่ี ปลยี่ นจากการท่ีประชาชนต้องเข้าถึงสวัสดิการมาเป็น

สวัสดิการต้องเข้าถึงประชาชน ประเด็นที่เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนต้องเป็นสวัสดิการถ้วนหน้า
อาทิ เด็กแรกเกิด การศกึ ษา โดยการจัดสรรระบบภาษที ีเ่ อ้ือตอ่ ระบบสวสั ดกิ าร

- การปรับเปา้ หมายความสำเรจ็ ไมค่ วรมองแค่ GDP และตระหนักถึงงานทสี่ ร้างคณุ ค่าทางเศรษฐกจิ
(2) ดา้ นการบรหิ ารการพฒั นาองค์กรและบุคลากร

- การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ รัฐบาล ผู้บริหารกระทรวง ต้องพัฒนาสังคมควบคู่ไปกับ
การพัฒนาเศรษฐกจิ

- การสร้างความเช่อื ม่ันของกระทรวงต่อหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งและประชาชน
- การพฒั นาสอื่ สารองคก์ รที่มีประสทิ ธภิ าพ พฒั นาสือ่ ที่ทำให้ประชาชนเขา้ ถึง รบั ทราบถึงภารกิจ
ของ พม. รบั รูส้ ทิ ธขิ องตนเอง และการทำงานของกระทรวงในทกุ มติ ิ
- การปรับเปลี่ยนการทำงานจากการสงเคราะห์มาเป็นเรื่องของการสร้างโอกาส ปรับเปลี่ยน
การทำงานจากการให้ มาเปน็ Human Dignity (ศกั ดคิ์ วามเปน็ มนษุ ย)์
- ส่งเสริมการทำงานแบบหุน้ ส่วนกับภาคสว่ นตา่ ง ๆ อาทิ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม
และเครือข่ายต่าง ๆ ทง้ั ในและตา่ งประเทศมากขึ้น และมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ
- การปรับเปลี่ยนองค์กรด้วยการนำเทคโนโลยีมาใช้ (Digitalization) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การทำงานและลดระยะเวลาในการปฏิบัติ ให้ประชาชนเขา้ ถึงได้อยา่ งสะดวก รวดเรว็
- เพิ่มประสิทธิภาพการบูรณาการภายในกระทรวง ท้ังสว่ นกลางและส่วนภูมิภาค เปน็ one home พม.
อย่างแท้จริง รวมถงึ การบูรณาการระหวา่ งหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง
- การปรบั ปรุงกฎหมาย/ระเบยี บตา่ ง ๆ ทีล่ า้ สมัยให้มคี วามทนั สมัยและสอดคล้องกับสถานการณ์
ปัจจุบัน ตลอดจนการทบทวนกฎ ระเบียบต่าง ๆ ให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วและ
มีประสิทธภิ าพ
(3) ด้านการขับเคล่ือนเชิงพนื้ ท่ี
- การกระจายอำนาจ โดยพัฒนาศักยภาพชุมชนให้มีความยืดหยุ่นในแต่ละพื้นที่ และ
ใหค้ วามสำคญั กบั การทำงานระดับชมุ ชนฐานราก
- การกระจายอำนาจ โดย พม. ต้องมีหน่วยงานเจา้ ภาพในด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ แตไ่ มต่ อ้ งเป็นเจา้ ของ
- การสนบั สนุน พมจ. ในการดำเนินงานร่วมกบั ชมุ ชน
- การส่งเสรมิ ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คมให้อยกู่ บั ประชาชนและภาคประชาสังคม

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

77

2.4.2 การประเมินความพึงพอใจผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมเสวนาวิชาการ

การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเสวนาวิชาการ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผล

ความพึงพอใจการเขา้ ร่วมเสวนาวชิ าการในงาน “20 ปี พม. เสรมิ พลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกชว่ งวยั ” และ

เพอ่ื เป็นข้อมูลในการพฒั นาการดำเนินงานด้านสงั คมของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์

ให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้นึ

การสำรวจครั้งนี้ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำหรับการเก็บข้อมูล โดยให้ผู้ตอบแบบประเมิน

ประเมินผลด้วยตนเอง ซง่ึ มผี ู้ตอบแบบสำรวจ จำนวน 481 คน เนอ้ื หาแบ่งเปน็ 3 สว่ น ดงั น้ี

ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบดว้ ย เพศ อายุ ระดับการศึกษาสงู สดุ ท่อี ยปู่ จั จุบนั

และกลุ่มผ้เู ข้าร่วมงาน

สว่ นท่ี 2 ความพงึ พอใจกจิ กรรมเสวนาวิชาการในการจัดงาน “20 ปี พม. เสรมิ พลงั สร้างโอกาส พัฒนาคน

ทุกช่วงวัย” ประกอบด้วย ความพึงพอใจในกิจกรรมเสวนาวิชาการ ความพึงพอใจในวทิ ยากร ความพึงพอใจ

ในบริการและสิ่งอำนวยความสะดวก ความพึงพอใจและประโยชน์ที่ได้รับจากการเสวนาวิชาการ และ

ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ การจัดเสวนาวิชาการ

สว่ นที่ 3 ข้อเสนอแนะและความคดิ เหน็ เพ่มิ เติม

สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลจะใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ SPSS (Statistical Package for Social

Science) ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับข้อคำถามปลายปิด ได้แก่ ค่าร้อยละ

และคา่ เฉล่ีย สำหรับขอ้ คำถามปลายเปิด ไดแ้ ก่ การวเิ คราะหเ์ นือ้ หา

เกณฑก์ ารแปลความหมายเพื่อจดั ระดบั คะแนนค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ กำหนดเปน็ ช่วงคะแนนดังตอ่ ไปน้ี

คะแนนเฉลีย่ 4.21 – 5.00 แปลผล พึงพอใจมากที่สดุ

คะแนนเฉลย่ี 3.41 – 4.20 แปลผล พงึ พอใจมาก

คะแนนเฉลย่ี 2.61 – 3.40 แปลผล พงึ พอใจปานกลาง

คะแนนเฉล่ยี 1.81 – 2.60 แปลผล พึงพอใจน้อย

คะแนนเฉลย่ี 1.00 – 1.80 แปลผล พงึ พอใจน้อยทสี่ ดุ

ผลการประเมินความพึงพอใจผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมเสวนาวิชาการ มดี งั นี้

สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปผ้ตู อบแบบสอบถาม

ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เปน็ เพศหญงิ คิดเป็นรอ้ ยละ 73.18 เปน็ เพศชาย คดิ เป็นร้อยละ 24.53

และอื่น ๆ มีร้อยละ 2.29

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

78
ผู้ตอบแบบสอบถาม อยู่ในกลุ่มอายุ 25 ปีขึ้นไป - 59 ปี มากที่สุด (ร้อยละ 70.89) รองลงมา คือ

อายุ 60 ปีขน้ึ ไป (ร้อยละ 23.28) และอายุ 18 - 25 ปบี ริบูรณ์ มีสดั ส่วนนอ้ ยทีส่ ดุ (ร้อยละ 5.82)

ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 44.91 จบการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รองลงมา คือ ระดับสูงกว่า
ปรญิ ญาตรี มีรอ้ ยละ 25.57 และระดับตำ่ กวา่ ประถมศกึ ษานอ้ ยทีส่ ุด รอ้ ยละ 0.21

โดยกลุ่มผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญอ่ ยู่ในกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล มรี อ้ ยละ 86.07 ในขณะท่ี
อยใู่ นส่วนภูมิภาค มีรอ้ ยละ 13.93

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

79

กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเข้าร่วมงานมากที่สุด เป็น ข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ/พนักงาน
รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 51.35 รองลงมา คือ ประชาชนทั่วไป มีร้อยละ 18.50 อาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนษุ ย์ ร้อยละ 11.64 และธุรกิจสว่ นตวั น้อยที่สดุ มีร้อยละ 1.04

สว่ นท่ี 2 ความพึงพอใจกิจกรรมเสวนาวิชาการการจดั งาน “20 ปี พม. เสรมิ พลัง สร้างโอกาส พฒั นาคน

ทุกช่วงวยั

2.1 ความพึงพอใจกจิ กรรมเสวนาวชิ าการ

ผลการประเมินความพึงพอในกจิ กรรมการประชุม และการเสวนาวิชาการ ผลการสำรวจ พบว่า

ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านกิจกรรมเสวนาวิชาการ ด้านวิทยากร ด้านบริการและสิ่งอำนวย

ความสะดวก ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเสวนาวิชาการ อยู่ในระดับมากที่สุด และความพึงพอใจ

ด้านภาพรวมการกิจกรรมเสวนาวิชาการ มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.39 โดยความพึงพอใจด้านบริการและ

สิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ เท่ากับ 4.42 ความพึงพอใจด้านประโยชน์ที่ได้รับ

จากการเสวนาวิชาการ มีค่าคะแนนเฉลี่ย คือ เท่ากับ 4.40 ในขณะที่ด้านกิจกรรมเสวนาวิชาการ และ

ด้านวิทยากรมีค่าคะแนนเฉลี่ยใกล้เคียงกัน คือ เท่ากับ 4.39 และ 4.36 ตามลำดับ สำหรับผลการพิจารณา

รายขอ้ แต่ละด้านมคี ่าคะแนนเฉลี่ย อยรู่ ะหวา่ ง 4.21-4.45

ตารางที่ 13 จำนวนและคา่ เฉลย่ี ของระดับความพงึ พอใจด้านภาพรวมการจัดงานฯ

ดา้ นภาพรวมการจัดงานฯ ระดบั ความพงึ พอใจ คา่ เฉลย่ี แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ท่สี ดุ กลาง ท่สี ดุ

ความพึงพอใจภาพรวมกิจกรรมเสวนา 226 220 34 1 0 4.39 มากทีส่ ุด

วิชาการการจัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง

สรา้ งโอกาส พัฒนาคนทกุ ช่วงวยั ”

ค่าเฉลย่ี รวม 4.39 มากที่สุด

ร้อยละ 87.80

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

80

ตารางท่ี 14 จำนวนและคา่ เฉลี่ยของระดบั ความพงึ พอใจดา้ นกิจกรรมการเสวนาวิชาการ

ดา้ นกิจกรรมการเสวนาวชิ าการ ระดบั ความพงึ พอใจ ค่าเฉล่ยี แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย

ทส่ี ุด กลาง ทสี่ ดุ

(1) หวั ข้อบรรยายสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 222 237 22 0 0 4.42 มากที่สุด

การเสวนาวชิ าการ

(2) ปริมาณเวลาทั้งหมดของการเสวนา 200 234 46 1 0 4.32 มากทส่ี ุด

วิชาการ

(3) เนื้อหาสาระในการเสวนาวิชาการ 240 216 25 0 0 4.45 มากที่สุด

ตรงกับความตอ้ งการ

ค่าเฉล่ยี รวม 4.39 มากทส่ี ดุ

ร้อยละ 87.86

ตารางท่ี 15 จำนวนและคา่ เฉลีย่ ของระดับความพึงพอใจดา้ นวิทยากร

ดา้ นวทิ ยากร ระดบั ความพงึ พอใจ คา่ เฉลี่ย แปลผล

มาก มาก ปาน น้อย น้อย 4.40 มากที่สุด
4.39 มากที่สุด
ทีส่ ุด กลาง ท่ีสุด
4.21 มากท่ีสดุ
(1) เทคนิคการนำเสนอของวทิ ยากร 223 230 27 1 0
4.38 มากทส่ี ุด
(2) วทิ ยากรนำเสนอเนอื้ หาสาระครบถ้วน 222 226 33 0 0 4.44 มากที่สดุ
4.36 มากทส่ี ุด
และนา่ สนใจ
87.28
(3) เอกสารประกอบการนำเสนอของ 186 219 68 6 2

วิทยากร

(4) การบรหิ ารเวลาของวิทยากร 219 226 35 1 0

(5) ความพงึ พอใจในวิทยากร 239 214 27 1 0

ค่าเฉล่ยี รวม

ร้อยละ

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

81

ตารางท่ี 16 จำนวนและคา่ เฉลี่ยของระดับความพึงพอใจดา้ นบริการและสง่ิ อำนวยความสะดวก

ดา้ นบริการและส่งิ อำนวยความสะดวก ระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉลย่ี แปลผล

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย

ที่สดุ กลาง ทส่ี ดุ

(1) หอ้ งประชมุ 235 211 35 0 0 4.42 มากทส่ี ดุ

(2) โสตทศั นปู กรณ์ 228 215 36 2 0 4.39 มากทสี่ ดุ

(3) การบรกิ าร/ อำนวยความสะดวกต่าง ๆ 240 207 33 1 0 4.43 มากท่ีสดุ

ของเจา้ หน้าที่

(4) ความพงึ พอใจในการบริการ 244 211 24 2 0 4.45 มากที่สดุ

คา่ เฉลี่ยรวม 4.42 มากท่สี ดุ

รอ้ ยละ 88.40

ตารางท่ี 17 จำนวนและค่าเฉล่ยี ของระดบั ความพึงพอใจดา้ นประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการเสวนาวชิ าการ

ด้านประโยชน์ทไี่ ดร้ ับ ระดับความพงึ พอใจ ค่าเฉล่ยี แปลผล

จากการเสวนาวิชาการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ทีส่ ดุ กลาง ทส่ี ุด

(1) ท่านได้รับประโยชน์จากการเสวนา 236 212 33 0 0 4.42 มากทส่ี ุด

วชิ าการ

(2) ท่านคาดว่าจะนำความรู้ความเข้าใจ 225 220 36 0 0 4.39 มากที่สุด

ทักษะที่ได้รับในครั้งนี้ ไปประยุกต์ใช้

ในการปฏิบัตงิ านได้

(3) ท่านมีความพึงพอใจที่ได้เข้าร่วม 235 218 28 0 0 4.43 มากทส่ี ดุ

กจิ กรรมเสวนาวิชาการ

(4) ระยะเวลาการเสวนาวิชาการสอดคล้อง 217 221 43 0 0 4.36 มากที่สุด

กับเน้อื หา

ค่าเฉลย่ี รวม 4.40 มากที่สดุ

รอ้ ยละ 88.04

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

82
2.2 ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุงการจัดเสวนาวชิ าการ
- ควรขยายพนื้ ที่จัดงานให้เพียงพอเพื่อรองรับผู้เข้าร่วมเสวนาวิชาการ อาทิ หอ้ งประชุม ท่ีจอดรถ

หอ้ งน้ำ ลฟิ ตโ์ ดยสาร ทนี่ ่งั รบั ประทานอาหาร ควรขยายสถานท่ีจดั งาน โสตทศั นูปกรณ์ควรมีความพรอ้ ม
- ควรปรับเวลาการบรรยายของวิทยากรให้เหมาะสมกับประเด็นเนื้อหา และจัดเอกสาร

ประกอบการประชุมใหเ้ พียงพอ
- ควรมีการจัดเวทีเสวนาวชิ าการอยา่ งต่อเนอื่ ง
- ควรประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมให้กว้างขวางให้เพื่อให้ผู้สนใจสามารถเข้าร่วมกิจกรรม

ได้อยา่ งหลากหลาก
ส่วนท่ี 3 ข้อเสนอแนะและความคิดเหน็ เพ่ิมเติม

- การปรับปรุงแก้ไขกฎ ระเบียบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ทั้งหมด
ใหส้ อดคลอ้ งกบั การทำงานในปจั จบุ นั

- การนำเทคโนโลยดี ิจิทัลมาใช้ในเพื่อการบริหารสู่องค์กรดิจิทัล อาทิ การลดกระดาษ โดยใช้ระบบ
สารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ สท์ ุกหน่วยงาน ท้งั ส่วนกลางและสว่ นภูมิภาค

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

83

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

84

บทท่ี 3
สรปุ ผลการจัดงานและขอ้ เสนอแนะ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สถาปนาเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545
นับถึงวันน้ีเป็นเวลา 20 ปี ที่ประชาชนได้รู้จักกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ (พม.)
โดยเริ่มต้นจากการสงเคราะห์มาสู่การพัฒนา และการจัดสวัสดิการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากร
อย่างเสมอภาค และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย ซึ่งการดำเนินงานตลอดระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมา
ผลงานของกระทรวง พม. ลว้ นเป็นท่ีประจกั ษ์ตอ่ สังคม

ในปี 2565 กระทรวง พม. จัดงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย”
ระหวา่ งวนั ที่ 29 กนั ยายน ถึง วันที่ 3 ตลุ าคม 2565 ตั้งแต่เวลา 09.00 น. – 17.00 น. ณ กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดแสดงผลการดำเนินงานของกระทรวง พม. การแสดง
ศักยภาพ ผลการดำเนินงานของกลมุ่ เป้าหมายกระทรวง พม. และเพอ่ื รว่ มเฉลมิ ฉลองในโอกาสครบรอบ 20 ปี
วนั สถาปนา พม. โดยมีกิจกรรมทีน่ ่าสนใจ ดงั นี้

กิจกรรมเวทีกลางและเสวนาวิชาการ ปาฐกถาพิเศษ การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
การมอบรางวัลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การประชุมวิชาการ เวทีเสวนาวิชาการ
การแลกเปลยี่ นเรียนร้ดู ้านการพฒั นาสังคม

นิทรรศการและการแสดงผลงานพระราชกรณยี กิจที่เก่ียวข้องกับกระทรวง พม. นำเสนอผลงาน
การดำเนินงานจากกรมประชาสงเคราะห์ สู่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พ.ศ. 2483 - 2545)
Next Step ทิศทางการดำเนินงานของ กระทรวง พม ผลงานสำคัญในการพัฒนาคนทุกช่วงวัย ได้แก่
เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ คนไร้ที่พึ่ง การพัฒนาเชิงประเด็น เช่น การพัฒนาด้านที่อยู่อาศัย
การส่งเสรมิ การประกอบอาชพี และการบริการประชาชนตามภารกิจของกระทรวง พม. ซึ่งผลงานสำคัญของ
กระทรวง พม. (กรกฎาคม 2562 - กนั ยายน 2565) สรปุ ไดด้ งั นี้

1. เสริมพลัง เป็นการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเครือข่าย ได้แก่การพัฒนาศักยภาพ
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) จำนวน 306,497 ราย การส่งเสริมบทบาทและ
พฒั นาศักยภาพองค์กรเครอื ขา่ ย และภาคประชาสงั คม 8,780 แห่ง 3,240 ตำบล 1,453 กองทุน 17,467 องคก์ ร

2. สร้างโอกาส เป็นการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ และสร้างความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย ได้แก่
การพัฒนาทักษะอาชีพแก่สตรีและครอบครัว การขับเคลื่อนการจัดสวัสดิการแม่เลี้ยงเดี่ยวและครอบครัว
การสร้างโอกาสในการเข้าถึงที่อยู่อาศัย ส่งเสริมความรู้และพัฒนาอาชีพรายได้ตามแนวทางปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เช่น “จากแดนฝน่ิ สูถ่ ิ่นกาแฟ”

3. พัฒนาคนทุกช่วงวัย เป็นการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละช่วงวัยให้สามารถ
ไดร้ ับสิทธสิ วสั ดกิ าร และมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ีขนึ้ ดงั นี้

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

85

3.1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง จำนวน 16,072,935 ราย เช่น การช่วยเหลือ
กลุม่ เปา้ หมายในสถานการณ์โควดิ -19 โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตกลมุ่ เปราะบางรายครัวเรือน เปน็ การชว่ ยเหลือ
กลุ่มเปราะบางให้เข้าถึงสิทธิและสวัสดิการให้ครอบคลุมในทุกมิติแบบองค์รวม และโครงการศูนย์ช่วยเหลือ
สงั คมตำบล จำนวน 8,130 ศูนย์

3.2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตเดก็ และเยาวชน จำนวน 3,840,683 ราย เช่น โครงการเงนิ อุดหนุน
เพ่อื การเลย้ี งดูเดก็ แรกเกิด และการสง่ เสริมและพฒั นาทกั ษะชวี ติ เด็กและเยาวชนไทยในศตวรรษที่ 21

3.3 การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตสตรีและครอบครัว จำนวน 742,351 ราย เช่น การป้องกนั และ
แกไ้ ขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว และการส่งเสริมความเข้มแขง็ ของครอบครัว

3.4 การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุ จำนวน 11,185,009 ราย เชน่ การสนับสนุนค่าจัดการศพ
ผูส้ ูงอายุตามประเพณี และการจา่ ยเงนิ ช่วยเหลอื พเิ ศษแก่ผสู้ งู อายุทไี่ ด้รบั สิทธิสวสั ดิการเบี้ยยงั ชพี

3.5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จำนวน 3,452,052 ราย ได้แก่ การปรับสวัสดกิ ารเบี้ย
ความพิการ จากเดือนละ 800 บาท ต่อคนต่อเดือนเป็น 1,000 บาท และการส่งเสริมและสนับสนุนการจ้างงาน
คนพกิ ารในสถานประกอบการและหนว่ ยงานของรฐั

3.6 การพฒั นาคุณภาพชีวติ คนไรท้ ีพ่ ง่ึ ราษฎรบนพนื้ ท่สี ูง สมาชกิ สร้างตนเอง จำนวน 1,535,701 ราย
ได้แก่ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนไร้ที่พึ่งและผู้ทำการขอทาน และการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
แกร่ าษฎรบนพนื้ ทส่ี ูง สมาชกิ นคิ มสร้างตนเอง ประชากรในพ้นื ที่โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ฯ

การจัดแสดงผลงาน Soft Power ของกระทรวง พม. ประกอบด้วยการจัดแสดงและสาธิต
ผลิตภัณฑ์ ผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ ดนตรี วัฒนธรรม กีฬา และอาหาร ซึ่งเป็นผลผลิตของ
กลุม่ เป้าหมายทไ่ี ด้รับการพฒั นาศกั ยภาพ เป็นตน้

การจัดงานในครง้ั นี้ มีผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมในงาน จำนวน 8,953 คน เป็นขา้ ราชการ เจ้าพนกั งานของรัฐ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 87.6 และประชาชนทั่วไป มีร้อยละ 12.4 นอกจากนี้ยังมีผู้เข้าชมงาน
ผ่านการถ่ายทอดสด (Live) จำนวน 23,000 คน ตลอดระยะเวลา 5 วนั ทำใหป้ ระชาชนไดร้ บั ทราบบทบาท
ภารกิจการดำเนินงานด้านสังคมของกระทรวง พม. ได้รับความรู้ บริการและสิทธิประโยชน์ และเห็นถึง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญของกระทรวง พม. ที่ผ่านมา รวมทั้งเป็นการสื่อสารภาพลักษณ์องค์กรอย่างเป็นรูปธรรม
ตลอดจนเปน็ การเปิดพ้ืนที่ใหป้ ระชาชนเข้ามามีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็น จัดแสดงและสาธติ ผลิตภัณฑ์
ผลงานภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ซง่ึ เปน็ ผลผลติ ของกลมุ่ เปา้ หมายทไี่ ดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพ และยงั เป็นการเผยแพร่
ผลงานของหน่วยงาน องคก์ ร ภาคีเครอื ขา่ ยทมี่ ีความหลากหลาย นอกจากนน้ั ภายในงานมีการจำหน่ายสินค้า
และผลิตภัณฑ์ ทำให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียนและสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนที่เข้ามาจำหน่าย ผลิตภัณฑ์
รวม 800,000 บาท และรายได้จากการประมูลทรัพย์ โดยสำนักงานธนานุเคราะห์ จำนวน 5 ล้านกว่าบาท
กิจกรรมเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ หากไม่ได้รับความร่วมมือร่วมใจ และความช่วยเหลือจากหน่วยงาน และ
เครอื ขา่ ยพันธมติ รทร่ี ว่ มจดั งานในครงั้ น้ี ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ ถึงพลังของความร่วมมือท่ปี รากฏให้เห็นถึงความสำเร็จ
อยา่ งเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ในการปาฐกถาพิเศษและเวทีเสวนาวิชาการ โดยผทู้ รงคุณวฒุ ิ อาทิ นายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ

คณะทำงำนฝ่ำยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

86

อดีตนายกรัฐมนตรี ดร. วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ และ นายอนุศักดิ์ คงมาลัย สมาชิกวุฒิสภา ได้เน้นย้ำประเด็น
สำคัญท่ีเป็นข้อเสนอแนะให้กระทรวง พม. ใช้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกระทรวง พม. ให้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ดงั นี้

1. สทิ ธิข้ันพน้ื ฐานตามหลกั สิทธมิ นุษยชนต้องเปน็ สวัสดิการถว้ นหน้า เชน่ เดก็ แรกเกิด การศึกษา
โดยการจัดสรรระบบภาษใี ห้เออ้ื ตอ่ ระบบสวัสดกิ าร การปรับเปลยี่ นกระบวนทัศน์ผู้บรหิ ารกระทรวงต้องพัฒนา
สังคมควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายอำนาจโดยพัฒนาศักยภาพชุมชนให้มี
ความยืดหยุ่นในแตล่ ะพ้นื ท่ี และให้ความสำคญั กับการทำงานระดบั ชมุ ชนฐานราก

2. การปรับเปลี่ยนการทำงานจาก “การให้” เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตที่มุ่งสู่ “ศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์ (Human Dignity)” และกระทรวง พม. ควรเป็น “เจ้าภาพ” งานด้านสังคมทุกเรื่อง
แต่ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเป็น “เจ้าของ” ทุกเรือ่ ง

3. การบูรณาการความร่วมมือในการทำงานของทุกภาคส่วน การพัฒนาสื่อที่เข้าถึงชุมชน
ท้องถ่ิน การปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ และเสนอให้มีโรงเรียนผู้นำชุมชน

การจัดงาน “20 ปี พม.เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” ได้รับความร่วมมือจาก
หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม อาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ประชาชน
เข้าร่วมจัดกิจกรรมภายในงานและเข้าร่วมเวทีเสวนาวิชาการ กิจกรรมเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ หากไม่ได้รับ
ความร่วมมือร่วมใจ และความช่วยเหลือจากหน่วยงาน และเครือข่ายพันธมิตร ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพลังของ
ความร่วมมือที่ปรากฏให้เห็นถึงความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม และกระทรวง พม. ได้สำรวจความพึงพอใจ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย” โดยมีผู้ตอบแบบสอบถาม
จำนวนทั้งสิ้น 1,825 คน พบว่า ช่องทางที่ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้รับข่าวสารการจัดงานมากที่สุด คือ เว็บไซต์
ส่วนราชการในสังกัดกระทรวง พม. มีร้อยละ 31.86 รองลงมา คือ สื่อออนไลน์ อาทิ Facebook, line, twitter
มรี อ้ ยละ 22.58 การบอกต่อจากบคุ คลอนื่ ร้อยละ 14.19 และผตู้ อบแบบสอบถาม มคี วามพงึ พอใจโดยภาพรวม
ดา้ นการจัดงาน อยู่ในระดับมากที่สุด และเห็นควรใหม้ ีการจัดงานเชน่ นข้ี น้ึ อีก การจดั งานครัง้ นี้ ทำให้ประชาชน
ได้รบั ทราบถึงบทบาทภารกิจของกระทรวง พม. ชัดเจนขนึ้ และทราบถงึ ขอ้ มลู การช่วยเหลือของกลมุ่ เป้าหมายต่าง ๆ
ไดเ้ ครอื ขา่ ยในการพฒั นาสังคมมากขึ้น รวมทงั้ ได้รับความรู้ แนวทางการพฒั นาคนทุกชว่ งวัยและกระบวนการมีส่วนร่วม
เพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิตคนทุกวยั และมคี วามพงึ พอใจต่อการดำเนนิ งานตลอด 20 ปี ทีผ่ า่ นมาของกระทรวง พม.
ตลอดจนเห็นถึงความคาดหวังและต้องการใหก้ ระทรวง พม. ขับเคลื่อนการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
ประชาชนทุกช่วงวัยได้รับการคุ้มครองทางสังคม สร้างโอกาสและความเท่าเทียมกันในสังคม และยกระดับ
คุณภาพชวี ิตผู้สงู อายุทีม่ ุ่งสู่ศักดิ์ศรีความเปน็ มนษุ ย์ ส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสังคม
พัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้ครอบคลุมทุกมิติ รวมถึงนำเทคโนโลยีมาใช้ในการให้บริการประชาชน
เพ่อื ใหค้ วามช่วยเหลือผทู้ ีป่ ระสบปญั หาทางสังคมได้อย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ รวมทั้งจดั สวัสดิการให้ประชาชน

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

87

ได้อย่างเพียงพอ ทั่วถึง และยั่งยืน นอกจากนี้ ผลการประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมเสวนาวิชาการ พบว่า
ผู้ตอบแบบประเมิน มคี วามพึงพอใจด้านภาพรวมกิจกรรมเสวนา ด้านวทิ ยากร และด้านประโยชน์ท่ีได้รับจาก
การเสวนาวิชาการ อยู่ในระดับมากที่สุด และเห็นควรให้มีการจัดเวทีเสวนาวิชาการอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง
ประชาสมั พันธ์การจัดกจิ กรรมให้รับทราบเพ่อื ใหผ้ ู้สนใจสามารถ เข้ารว่ มกจิ กรรมได้อย่างหลากหลาย

นอกจากนี้กระทรวง พม. ได้เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้แสดงความคิดเห็นต่อการดำเนินงาน
ที่ผ่านมาและภาพในอนาคตที่ต้องการเห็นของกระทรวง พม. โดยให้ผู้เข้าร่วมงาน “20 ปี พม. เสริมพลัง สร้างโอกาส
พัฒนาคนทุกช่วงวัย” ได้แสดงความคิดเห็นในแบบสำรวจความพึงพอใจการเข้าร่วมกิจกรรมในงานแล้ว เพื่อให้ได้
ความคิดเห็นท่หี ลากหลายชดั เจนยิง่ ขน้ึ คณะทำงานฝา่ ยติดตามประเมินผล จึงไดจ้ ดั ประชุมเพือ่ ระดมความคิดเห็น
ต่อการดำเนินงานผ่านมาและภาพอนาคตที่ต้องการเห็นของกระทรวง พม. โดยมีภาคีเครือข่าย นักวิชาการ
ผู้แทนหน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในสังกัดกระทรวง พม. เข้าร่วมประชุม รวมทั้งนำข้อเสนอ
จากผู้ทรงคุณวุฒิและการปาฐกถาพิเศษ มาสรุปเป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงานในอนาคต
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ดงั น้ี

1. ดา้ นนโยบาย
- กระทรวงต้องนำเสนอนโยบายที่สามารถรองรับกับความเสี่ยงของสังคมไทยในอนาคต

โดยมงุ่ เน้นการสรา้ งโอกาสและการเสริมพลงั
- การพฒั นานโยบายด้านสวสั ดกิ ารสงั คมให้เปน็ เร่อื งของการสรา้ งโอกาส และคำนึงถึงความยัง่ ยืน
- การเปล่ียนมมุ มองดา้ นสวัสดกิ ารสังคมที่เปลี่ยนจากการที่ประชาชนต้องเข้าถงึ สวัสดิการมาเป็น

สวัสดิการต้องเข้าถึงประชาชน ประเด็นที่เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนต้องเป็นสวั สดิการถ้วนหน้า
อาทิ เดก็ แรกเกิด การศึกษา โดยการจดั สรรระบบภาษีท่ีเอื้อตอ่ ระบบสวสั ดิการ

- การปรับเป้าหมายความสำเร็จไม่ควรมองแค่ GDP และตระหนักถึงงานที่สร้างคุณค่า
ทางเศรษฐกิจ

2. ด้านการบรหิ ารการพฒั นาองค์กรและบคุ ลากร
- การปรบั เปล่ยี นกระบวนทัศน์ รัฐบาล ผู้บริหารกระทรวง ตอ้ งพัฒนาสงั คมควบคู่ไปกบั การพัฒนา

เศรษฐกิจ
- การสร้างความเช่อื ม่ันของกระทรวงตอ่ หน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งและประชาชน
- การพัฒนาสื่อสารองค์กรที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อที่และทำให้ประชาชนเข้าถึง รับทราบถึง

ภารกจิ ของ พม. รับรู้สทิ ธิของตนเอง และการทำงานของกระทรวงในทกุ มิติ
- การปรับเปลี่ยนการทำงานจากการสงเคราะห์มาเป็นเรื่องของการสร้างโอกาส ปรับเปลี่ยน

การทำงานจากการให้ มาเปน็ Human Dignity (ศกั ดิ์ความเป็นมนุษย)์
- ส่งเสริมการทำงานแบบหุ้นส่วนกับภาคส่วนต่าง ๆ อาทิ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม และ

เครือข่ายตา่ ง ๆ ทง้ั ในและตา่ งประเทศมากขึน้ และมปี ระสิทธิภาพมากข้นึ

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

88

- การปรับเปลี่ยนองค์กรด้วยการนำเทคโนโลยีมาใช้ (Digitalization) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การทำงานและลดระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิ ใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ ได้อยา่ งสะดวก รวดเรว็

- เพิ่มประสิทธิภาพการบูรณาการภายในกระทรวง ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เป็น one home พม.
อย่างแท้จริง รวมถึงการบูรณาการระหวา่ งหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง

- การปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบต่าง ๆ ที่ล้าสมัยให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับสถานการณ์
ปัจจุบัน ตลอดจนการทบทวนกฎ ระเบียบต่าง ๆ ให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วและ
มปี ระสทิ ธิภาพ

3. ด้านการขบั เคลื่อนเชิงพนื้ ที่
- การกระจายอำนาจ โดยพัฒนาศักยภาพชุมชนให้มีความยืดหยุ่นในแต่ละพื้นที่ และ

ให้ความสำคญั กับการทำงานระดับชุมชนฐานราก
- การกระจายอำนาจ โดย พม. ต้องมีหน่วยงานเจ้าภาพในด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคง

ของมนษุ ย์ แตไ่ มต่ อ้ งเป็นเจ้าของ
- การสนับสนุน พมจ. ในการดำเนินงานร่วมกบั ชุมชน
- การส่งเสริมศูนย์ชว่ ยเหลือสงั คมให้อยู่กับประชาชนและภาคประชาสังคม

อย่างไรก็ตาม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในฐานะองค์กรนำ
ดา้ นการพฒั นาสังคมของประเทศ จำเป็นต้องเป็นองคก์ รหลกั ในการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายด้านสังคม
สร้างความเสมอภาคและลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ซึ่งเป็นประเด็นการพัฒนาที่ประเทศให้ความสำคัญ
และในการกา้ วสูป่ ที ี่ 21 และปีตอ่ ๆ ไป พม. จะม่งุ เน้นการเสริมพลัง สรา้ งโอกาส พฒั นาคนทกุ ช่วงวยั ดงั น้ี

1. มุ่งเนน้ การพฒั นาคุณภาพชวี ิตกลมุ่ เปราะบางแบบองค์รวมใน 5 มติ ิ ทงั้ ด้าน สุขภาพ ความเป็นอยู่
การศกึ ษา รายได้ และการเขา้ ถงึ บรกิ ารรฐั

2. ส่งเสริมให้มีอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) จำนวน 500,000 คน
ภายในปี 2566

3. ส่งเสริมการทำงานแบบหนุ้ ส่วนกบั ภาคส่วนต่าง ๆ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ
4. ส่งเสริมและยกระดับอาชีพรายได้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย โดยการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย
ให้มีความเป็นมืออาชีพ และมีความเชี่ยวชาญ รวมทั้งสอดคล้องกับความต้องการของตลาด เช่น บัตเลอร์
(Butler) เชฟอาหารไทย พ่ีเลย้ี งเด็ก และผดู้ แู ล (Care giver) เปน็ ต้น
5. ยกระดบั ชมุ ชนตน้ แบบสูก่ ารพัฒนาทย่ี ัง่ ยืน (Smart Sustainable Community)
6. ส่งเสริมการเข้าถึงหลักประกันทางสังคมสำหรบั ผสู้ ูงอายุ
7. ปฏริ ปู การขึน้ ทะเบยี นคนพิการ
8. สง่ เสรมิ ความม่ันคงในท่ีอยู่อาศัย โดยพัฒนาท่ีอยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้นอ้ ยในเมอื งและชนบท

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

89
กระทรวง พม. จะเดินหน้าขับเคลื่อนการเสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย รวมถึง
กลุ่มเปราะบางเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ตลอดจนผลักดันนโยบาย
และขับเคลื่อนดำเนินงานต่าง ๆ ให้เกิดผลอย่างต่อเนื่องด้วยเป้าหมายท่ีชัดเจน เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนางาน
เพื่อประชาชน ปรับแก้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการทำงานเพื่อประโยชน์ของประชาชน
อีกท้งั นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานเพื่อให้องค์กรมคี วามทนั สมัย ทำงานได้อย่างรวดเร็ว
ลดขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการของ กระทรวง พม. ได้อย่างรวดเร็ว และที่สำคัญ
บุคลากรของกระทรวง พม. จะต้องได้รับการพัฒนายกระดับให้เป็นบุคลากรที่มีคุณภาพเป็นผู้นำ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานตามเป้าหมาย คือ “ความสุขของประชาชน คือ ความสำเร็จของ พม.”
ตลอดจนติดตามประเมินผลเพื่อให้การพัฒนาสังคมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับปรุงระบบสวัสดิการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และสร้างโอกาส สร้างอาชีพในทุกกลุ่มเป้าหมาย ด้วยการปรับจาการพึ่งพา
มาสู่ความพอเพียง และความยั่งยืน เพื่อพัฒนาคนไทยในทุกมิติ เพื่อเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ที่จะช่วย
ขับเคล่อื นประเทศไทยให้เปน็ ประเทศพัฒนาแล้วไดอ้ ย่างย่ังยนื

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมินผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์

90

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั

91

คำสั่งคณะกรรมการและคณะทำงาน “ 20 ปี พม. เสรมิ พลงั สร้างโอกาส พฒั นาคนทกุ ช่วงวัย”

คณะทำงำนฝำ่ ยตดิ ตำมประเมนิ ผล
กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์

92

ปี พม.

เสรมิ พลงั สรำ้ งโอกำส พัฒนำคนทกุ ชว่ งวยั


Click to View FlipBook Version