คำนำ
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 มีบทบาทภารกิจท่ีสำคัญในการศึกษาวิเคราะห์
สถานการณ์และสภาพแวดล้อม เพื่อคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ รวมทั้ง
ให้ข้อเสนอแนะ การพัฒนาสังคมและจัดทำยุทธศาสตร์ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด ในการดำเนินการจัดทำ
รายงานสถานการณ์ทางสังคมนั้น ต้องมีข้อมูลท่ีมีคุณภาพ มีความถูกต้องชัดเจนและสามารถนำข้อมูลไป
ใช้ประกอบการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวดั และกลุ่มจังหวัด ตลอดจนใช้
เป็นข้อมูลในการประกอบการจัดบริการทางสังคมและการแก้ไขปัญหาสังคมได้ถูกต้อง ตรงตามความ
ต้องการกบั สภาพปญั หาทางสงั คมของแตล่ ะพน้ื ท่ไี ด้
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ได้รวบรวมข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม วิเคราะห์
สรุปผล และจัดทำรูปเล่มรายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัด
ศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร ซ่ึงเป็นการนำเสนอข้อมูลพื้นฐานทางสังคม ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
และสถานการณเ์ ชิงประเดน็ ในพืน้ ทกี่ ลมุ่ จังหวดั
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานสถานการณ์ทางสังคม
กลุ่มจงั หวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มนี้ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ หน่วยงาน ท่ีเกีย่ วข้องและผสู้ นใจ
ทั่วไปในการวิเคราะห์และเฝ้าระวังสถานการณ์ทางสังคม ตลอดจนนำไปใช้ประกอบการกำหนดนโยบาย
เพือ่ การปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาทางสงั คมใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปญั หาทางสังคมทเ่ี กดิ ข้ึนได้ต่อไป
สำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 4
สำนักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
กันยายน 2564
บทสรุปผูบ้ ริหาร
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในเขตพื้นที่
รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 (จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัด
บุรรี ัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวดั ศรสี ะเกษ และจังหวดั ยโสธร) จัดทำข้นึ เพ่ือรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ทาง
สังคมที่สำคญั รวมถึงสถานการณ์กลุ่มเป้าหมายตามภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ โดยมีการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบเชิงพรรณนาและเชิงสถิติ เพ่ือแสดงสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน
โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือจดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ประมวลผล วิเคราะหส์ ถานการณ์สภาพแวดล้อม ผลกระทบ
และคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคม และเพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการดำเนินงานการจัดทำ
แผนงานโครงการกิจกรรมด้านการพฒั นาสังคมในระดับกลุ่มจังหวัด สรปุ ได้ดงั นี้
กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 มีพ้ืนที่รวม
ท้ังหมดประมาณ 64,719.91 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 39,449,897 ไร่ จังหวัดท่ีมีพ้ืนท่ีมากท่ีสุด
คือ จังหวัดนครราชสีมา 20,493.964 ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือจังหวัด ชัยภูมิ มีพื้นที่ 12,778.30
ตารางกิโลเมตร เขตการปกครองท้องที่ในกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วยจังหวัด 6 จังหวัด 119 อำเภอ
1,043 ตำบล 13,544 หมู่บ้าน การปกครองท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วน
จงั หวัด 6 แหง่ เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมอื ง 12 แห่ง เทศบาลตำบล 264 แห่ง และองคก์ ารบรหิ าร
สว่ นตำบล 881 แห่ง
มีประชากรรวมท้ังหมดจำนวน 8,012,037 คน แบ่งเป็นเพศชาย 3,619,733 คน เพศหญิง
4,392,304 คน โดยจำนวนประชากรอายุระหวา่ ง 0 – 17 ปี รวม 1,760,594 คน ประชากรอายุระหว่าง
18 – 25 ปี รวม 954,169 คน ประชากรอายุระหว่าง 26 -59 ปี รวม 4,460,660 คน และประชากรอายุ
60 ปีขนึ้ ไป รวม 1,526,225 คน มจี ำนวนกลุ่มเปา้ หมายดังน้ี
1) กลุ่มเด็ก หรือประชากรท่ีมีอายุต่ำกว่า 18 ปี ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่ม
จังหวัด กลุ่มเด็ก ประเด็นท่ีรุนแรง พบว่า เด็กท่ีอยู่ในครอบครัวเล้ียงเด่ียวมีจำนวนมากที่สุด จำนวน
10,657 คน คิดเปน็ ร้อยละของประชากรเด็กท้ังหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวดั ที่รับผิดชอบ 0.61 รองลงมา
คอื เดก็ ที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม จำนวน 3,386 คน คดิ เป็นรอ้ ยละของประชากรเด็กทั้งหมดในเขตพน้ื ท่ี
กลุ่มจงั หวดั ที่รับผิดชอบ 0.19 และเดก็ ทต่ี ั้งครรภ์กอ่ นวัยอันควรและไมพ่ ร้อมในการเลีย้ งดู จำนวน 2,039
คน คิดเป็นร้อยละของประชากรเด็กทั้งหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.12 ซึ่งจากข้อมูลจะ
เห็นได้ว่า เดก็ ที่อยู่ในครอบครัวเล้ียงเด่ียวมคี วามรนุ แรงมากข้ึน อาจเน่ืองจากสาเหตุ ดังน้ี 1) สภาพความ
เป็นอยู่ฐานะการเงินและรายได้ในครอบครัวโดยเฉพาะบุตรท่ีอยู่กับมารดาแล้วบิดาไม่ส่งเสียดูแลทำให้
ภาระจึงตกไปท่ีมารดาทำใหเ้ ด็กบางคนทก่ี ำลังศกึ ษาอยตู่ ้องทำงานควบคไู่ ปด้วยเพื่อเป็นการแบง่ เบาภาระ
ของมารดาหรือบิดา 2) ด้านจิตใจเกิดภาวะซึมเศร้า หวาดกลัว ไม่มีความม่ันคงในอารมณ์ส่งผลต่อ
พฤติกรรมและ บุคลิกภาพ 3) ปัญหาการขาดเวลาดูแลเอาใจใส่ จากการท่ีบิดา มารดา ไปทำงานต่างถ่ิน
เด็กอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย หรือญาติพ่ีน้อง หรอื บิดา มารดา หย่าร้าง ส่งผลให้การมีปฏิสัมพันธ์กับคน
ในครอบและการดูแลเอาใจใส่น้อยลง ท้ังน้ี การแก้ไขปัญหาดังกล่าง ต้องเกิดจากพ้ืนฐานการเล้ียงดูที่
ถูกต้องและให้การดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด มีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัว หากปัญหาดังกล่าวไม่ได้รับการ
แกไ้ ข อาจสง่ ผลตอ่ การเจรญิ เติบโตอย่างมีคุณภาพของเดก็
2) กลุ่มเยาวชน หรือประชากรที่มีอายุระหว่าง 18 ปี – 25 ปีบริบูรณ์ สถานการณ์ความรุนแรง
ของกลุ่มเยาวชน พบว่า เยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ความรุนแรงมากท่ีสุด จำนวน 1,801 คน
คิดเป็นร้อยละของประชากรเยาวชนทั้งหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดท่ีรับผิดชอบ 0.19 และเยาวชนท่ีถูก
ทารุณกรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศ จำนวน 62 คน คิดเป็นรอ้ ยละของประชากรเยาวชนทัง้ หมดใน
เขตพื้นท่ีกลุ่มจังหวดั ที่รับผิดชอบ 0.01 ความรุนแรงท่ีเกิดข้ึนเยาวชนท่ีมีพฤตกิ รรมไม่เหมาะสม อาจจะมี
สาเหตุเน่ืองมาจากภายในจติ ใจของตวั บุคคล เชน่ ความคิด ความเชอ่ื ความรู้ ทัศนคติ ค่านยิ ม ทกั ษะการ
ใช้ชีวิต นอกจากนี้ยังมีสาเหตุยังมีสาเหตุมาจากสิ่งเร้าของสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น ปัจจัยสิ่งแวดล้อมใน
สังคมที่มีอิทธิพล เช่น ชุมชน สถานศึกษา กลุ่มเพ่ือน ครอบครัว เป็นต้น ทำให้เกิดการลอกเลียนแบบ
พฤตกิ รรมและเรยี นรู้ทีจ่ ะปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม การจูงใจในการเร่ิมต้นนำยาทางการแพทย์มาใช้ในทางที่
ผดิ เพราะอยากร้อู ยากลอง กลายเปน็ ตดิ สารเสพติดในทสี่ ุด สง่ ผลตอ่ สติปญั ญา สภาพร่างกายและจติ ใจ
3) กลุ่มสตรี ประชากรสตรีที่มีอายุระหว่าง 25 – 59 ปี สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มสตรี
ท่ีอยู่ในพ้ืนที่ความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 โดยภาพรวม พบวา่ สตรีท่ีถูก
ละเมิดทางเพศ จำนวนรวม 236 คน สตรที ่ีถูกทำร้ายร่างกายจิตใจ จำนวนรวม 548 คน แม่เล้ียงเด่ียวฐานะ
ยากจนที่ต้องเล้ียงดูบุตรเพียงลำพัง จำนวนรวม 7,192 คน และสตรีท่ีถูกยกเลิกจ้าง/ตกงาน จำนวนรวม
25,310 คน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านสตรีที่ถูกละเมิดทางเพศ จังหวดั ศรีสะเกษ มีจำนวนมากที่สุด
จำนวน 217 คน จังหวัดชัยภมู ิและจังหวัดบรุ รี มั ยม์ จี ำนวนน้อยทส่ี ดุ ในสัดสว่ นท่ีเทา่ กัน ด้านสตรีที่ถูกทำร้าย
ร่างกายและจิตใจ จังหวัดศรีสะเกษมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 426 คน และจังหวัดชัยภูมิมีจำนวนน้อย
ที่สุด ด้านแม่เลี้ยงเดี่ยวฐานะยากจนท่ีต้องเลี้ยงดูบุตรเพียงลำพัง จังหวัดนครราชสีมามีจำนวนมากที่สุด
จำนวน 3,213 คน และจังหวัดสุรินทร์มีจำนวนน้อยที่สุด และด้านสตรีที่ถูกยกเลิกจ้าง/ตกงาน จังหวัด
บรุ ีรัมย์มีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 11,739 คน และจงั หวัดชัยภูมมิ จี ำนวนนอ้ ยทีส่ ุด จำนวน 180 คน
4) กลุ่มครอบครัว สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มครอบครัว พบว่า ครอบครัวยากจน มีความ
รุนแรงมากที่สุด จำนวน 110,199 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนครอบครัวท้ังหมดในเขตพ้ืนท่ีกลุ่ม
จังหวัดท่ีรับผิดชอบ 15.75 ครอบครัวแหว่งกลาง จำนวน 52,457 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวน
ครอบครัวทั้งหมดในเขตพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 7.50 และครอบครัวหย่าร้าง จำนวน 13,314 คน
คิดเป็นรอ้ ยละของจำนวนครอบครัวทงั้ หมดในเขตพนื้ ท่ีกลุม่ จังหวัดทีร่ ับผิดชอบ 1.90 ท้ังนี้ เมื่อครอบครัว
ยากจนมีจำนวนเพิ่มมากข้ึน ก็อาจเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีจะเกิดครอบครัวหย่าร้าง และครอบครัวแหว่งกลาง
ตามมาเป็นลำดับ เน่ืองจากผลกระทบจากปัญหาเศรษฐกิจท่ีส่งผลต่อการดำเนินงานชีวิตประจำวันของ
บคุ คลภายในครอบครวั ตกงาน ไม่มีอาชีพ ขาดรายได้ สง่ ผลกระทบตอ่ ครอบครัวในท่สี ุด
5) กลุ่มผู้สูงอายุ หรือประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มผู้สูงอายุ
พบว่า ผู้สูงอายุที่ยังได้รับเบ้ียยังชีพ มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 84,150 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวน
ผู้สูงอายุทง้ั หมดในเขตพ้นื ท่กี ลมุ่ จังหวัดท่รี บั ผดิ ชอบ 5.51 รองลงมาผ้สู งู อายชุ ว่ ยเหลือตัวเองไมไ่ ด/้ ไมม่ คี น
ดูแล/ไม่มีรายได้/ผู้ป่วยเรื้อรังติดบ้านติดเตียงจำนวน 14,818 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุ
ทั้งหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดท่ีรับผิดชอบ 0.97 และผู้สูงอายุท่ีรับภาระดูแลบุคคลในครอบครัว เช่น
คนพิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง บุตร หลาน และจิตเวช จำนวน 12,661 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุ
ทัง้ หมดในเขตพ้ืนท่กี ลุม่ จงั หวัดทีร่ บั ผิดชอบ 0.83
6) กลุ่มคนพิการ สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มคนพิการ พบว่า คนพิการที่มีบัตรประจำตัว
คนพกิ าร มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 394,905 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนคนพกิ ารท้ังหมดในเขตพื้นที่
กลุ่มจังหวัดท่ีรับผิดชอบ 48.63 รองลงมา คือ คนพิการที่ได้รับเบี้ยยังชีพ จำนวน 366,488 คน คิดเป็น
ร้อยละของจำนวนคนพิการท้ังหมดในเขตพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 45.13 และคนพิการท่ีไม่ได้รับ
เบี้ยยังชีพ จำนวน 50,175 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนคนพิการทั้งหมดในเขตพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดท่ี
รับผดิ ชอบ 6.18
7) กลุ่มผู้ด้อยโอกาส สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์/
ชนกลุ่มน้อย มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 294,822 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนประชากรท้ังหมดในเขต
พ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 3.39 รองลงมาคือ ผู้ติดเชื้อ HIV มีจำนวนน้อยที่สุด จำนวน 19,256 คน
คิดเปน็ ร้อยละของจำนวนประชากรท้ังหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.22 และผู้ตดิ ยาเสพติด
จำนวน 9,133 คิดเป็นร้อยละของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตพน้ื ทก่ี ลมุ่ จงั หวดั ที่รับผดิ ชอบ 0.10
จำนวนสถานศึกษาในกลุ่มจังหวัด สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
5,109 แห่ง เอกชน 515 แห่ง และ อาชีวศึกษา 54 แห่ง สำนักพุทธศาสนาแห่งชาติ 39 แห่ง การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 509 แห่ง รวมมีจำนวนสถานศึกษาทั้งหมด 6,226 แห่ง
โดยจังหวัดนครราชสีมามีจำนวนสถานศึกษารวมมากที่สุด 1,848 แห่ง รองลงมา คือ จังหวัดสุรินทร์
1,080 แห่ง
จำนวนหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำแนกตามระดับของ
สถานพยาบาล ปี พ.ศ. 2564 ในกลุ่มจังหวัดมีหน่วยบริการรวมทั้งหมด 1,603 แห่ง แบ่งเป็น
โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) 4 แห่ง โรงพยาบาลท่ัวไป (รพท.) 9 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 107 แห่ง
สาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) 119 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) 1,322 แห่ง
และภาคเอกชน 42 แห่ง
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัวประชากร ตามราคาประจำปี พ.ศ. 2561 ในกลุ่มจังหวัด จังหวัด
นครราชสีมา มีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวสุดสุด อยู่ท่ี 121,068 บาทต่อปี และจังหวัดบุรีรัมย์ มีผลิตภัณฑ์
จงั หวัดตอ่ หัวต่ำสุดในกลมุ่ จังหวดั อยทู่ ี่ 53,909 บาทตอ่ ปี
มีจำนวนองค์กรภาคีเครือข่ายท้ังหมด 58,430 แห่ง ประกอบด้วย องค์กรสาธารณะประโยชน์
ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม มีจำนวน 420 องค์กร องค์กรสวัสดิการชุมชน ตาม พ.ร.บ.
ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม มีจำนวน 719 องค์กร กองทุนสวัสดิการสังคม มีจำนวน 230 กองทุน
สภาเด็กและเยาวชน มีจำนวน 821 แห่ง สภาองค์กรคนพิการ มีจำนวน 65 แห่ง สภาองค์กรชุมชน
มีจำนวน 259 แห่ง ข้อมูลศูนย์บริการคนพิการทั่วไป มีจำนวน 285 ศูนย์ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและ
ส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส) มีจำนวน 192 แห่ง ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) จำนวน
796 แห่ง อาสาสมัครพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม) มีจำนวน 50,502 คน โครงการบ้าน
ม่ันคง (พอช.) มีจำนวน 749 ครัวเรือน โครงการบ้านพอเพียง (พอช.) มีจำนวน 230 ครัวเรือน
และข้อมูลคลังปญั ญาผสู้ งู อายุ มีจำนวน 3,392 คลงั ปัญญา
สารบญั
คำนำ หน้า
บทสรุปผ้บู ริหาร
สารบัญ 1
สารบญั ตาราง 2
สารบญั ภาพ 2
สารบญั แผนภมู ิ 3
ส่วนท่ี 1 บทนำ
4
1.1 หลักการและเหตผุ ล 4
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 5
1.3 วธิ ีดำเนินงาน 6
1.4 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 7
ส่วนที่ 2 ข้อมลู พื้นฐานในพนื้ ท่ีรับผดิ ชอบของสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4 8
จงั หวัดนครราชสีมา 9
2.1 ท่ตี ้งั และอาณาเขต 12
2.2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ 14
2.3 ลักษณะภมู ิอากาศ 16
2.4 ดา้ นการปกครอง 16
2.5 ดา้ นประชากร 21
2.6 ดา้ นศาสนา ประเพณี วฒั นธรรมและชาตพิ ันธ์ุ 22
2.7 ดา้ นสาธารณสขุ
2.8 ดา้ นการศกึ ษา 34
2.9 ด้านแรงงาน 35
2.10 ดา้ นทอี่ ย่อู าศยั 37
2.11 ด้านเศรษฐกิจ 38
2.12 ดา้ นภาคเี ครือข่าย
2.13 ด้านสังคมตามมิติความมั่นคงของมนุษย์
ส่วนท่ี 3 สถานการณ์กลุม่ เปา้ หมายทางสงั คมระดับกลุม่ จงั หวดั
3.1 กลมุ่ เด็ก
3.2 กลมุ่ เยาวชน
3.3 กลมุ่ สตรี
3.4 กลมุ่ ครอบครัว
สารบญั (ต่อ) หนา้
40
3.5 กลมุ่ ผูส้ ูงอายุ 42
3.6 กลมุ่ คนพกิ าร 45
3.7 กลมุ่ ผู้ดอ้ ยโอกาส
ส่วนที่ 4 สถานกรณ์เชิงประเด็นทางสังคมในระดบั กลมุ่ จงั หวดั 47
4.1 สถานการณก์ ารค้ามนุษย์ 47
4.2 ความรนุ แรงในครอบครัว 49
4.3 การให้บรกิ ารของศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คมสายด่วน 1300 55
สว่ นที่ 5 การวเิ คราะหแ์ ละจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จงั หวดั
ส่วนที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 62
6.1 บทสรปุ 65
6.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 66
6.3 ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ตั ริ ะดับกลุ่มจงั หวัด
เอกสารอา้ งองิ
สารบญั ตาราง หนา้
ตารางที่ 2.1 ทต่ี ั้งและอาณาเขตพืน้ ทกี่ ลุม่ จงั หวัด 4
ตารางที่ 2.2 จำนวนเขตการปกครองพ้ืนที่กลมุ่ จังหวัด 6
ตารางท่ี 2.3 จำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จำแนกตามเพศ และจังหวัด 7
ตารางท่ี 2.4 จำนวนหน่วยบริการสาธารณสขุ ภาครฐั และภาคเอกชน จำแนกตามจังหวดั 9
ตารางท่ี 2.5 จำนวนประชากรตอ่ แพทยร์ ายจังหวดั 10
ตารางท่ี 2.6 สาเหตกุ ารตาย 5 อนั ดบั แรกจากโรคต่างๆ 11
ตารางที่ 2.7 สถานศกึ ษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกดั รายจงั หวดั 12
ตารางท่ี 2.8 คะแนนเฉล่ยี การทดสอบ O-Net ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (%) 13
ตารางที่ 2.9 คา่ เฉลีย่ เชาวน์ปญั ญา (IQ) ของเด็กนักเรยี นไทยชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 14
ตารางที่ 2.10 ภาวการณม์ ีงานทำของประชากรในกลุม่ จงั หวดั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 14
ตารางที่ 2.11 จำนวนคนต่างดา้ วทไี่ ดร้ บั อนญุ าตทำงานคงเหลอื พ.ศ. 2559 – 2563 15
ตารางท่ี 2.12 จำนวนชมุ ชนผูม้ ีรายไดน้ ้อยของกลุ่มจงั หวัด พ.ศ.2560 16
ตารางท่ี 2.13 การขยายตัวของผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวดั 17
ตารางท่ี 2.14 ผลิตภัณฑจ์ งั หวัดต่อหวั (GPP per capita) ปี 2561 18
ตารางที่ 2.15 รายไดโ้ ดยเฉล่ียตอ่ เดือนตอ่ ครัวเรอื นของกลุ่มจงั หวดั พ.ศ.2558 –2562 18
ตารางที่ 2.16 แสดงหน้ีสินเฉลี่ยตอ่ ครัวเรือน จำแนกตามวตั ถุประสงค์ของการกูย้ มื 19
ตารางท่ี 2.17 แสดงจำนวนองค์กรภาคเี ครอื ข่าย 21
ตารางท่ี 2.18 ข้อมูลความมน่ั คงของมนุษย์ มิติท่อี ยูอ่ าศยั จำแนกรายจังหวดั ปี 2562 22
ตารางท่ี 2.19 ข้อมลู ความม่นั คงของมนุษย์ มติ สิ ขุ ภาพ จำแนกรายจังหวัด ปี 2562 23
ตารางที่ 2.20 ขอ้ มลู ความมน่ั คงของมนษุ ย์ มติ ิอาหาร จำแนกรายจงั หวดั ปี 2562 24
ตารางท่ี 2.21 ข้อมลู ความมัน่ คงของมนษุ ย์ มติ กิ ารศึกษา จำแนกรายจังหวัด ปี 2562 25
ตารางที่ 2.22 ข้อมูลความมน่ั คงของมนุษย์ มติ ิการมีงานทำและรายได้ รายจงั หวัด ปี 2562 26
ตารางที่ 2.23 ขอ้ มูลความมน่ั คงของมนษุ ย์ มิตคิ รอบครัว จำแนกรายจังหวัด ปี 2562 27
ตารางที่ 2.24 ขอ้ มลู ความมน่ั คงของมนษุ ย์ มิตชิ มุ ชนและการสนับสนนุ ทางสังคม รายจังหวดั 28
ตารางท่ี 2.25 ข้อมูลความม่นั คงของมนุษย์ มติ ิศาสนาและวฒั นธรรม รายจังหวัด ปี 2562 29
ตารางที่ 2.26 ข้อมูลความมน่ั คงของมนุษย์ มิตคิ วามปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพย์สนิ รายจังหวัด 30
ตารางท่ี 2.27 ข้อมูลความมัน่ คงของมนุษย์ มติ สิ ิทธิและความเปน็ ธรรม รายจังหวดั ปี 2562 31
ตารางท่ี 2.28 ข้อมลู ความมัน่ คงของมนุษย์ มิติการเมือง จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562 32
ตารางท่ี 2.29 ขอ้ มลู ความมนั่ คงของมนุษย์ มติ สิ ่ิงแวดล้อม ทรพั ยากร/พลังงาน รายจงั หวัด 33
ตารางที่ 3.1 สถานการณเ์ ดก็ จำแนกตามจงั หวดั 34
สารบญั ตาราง (ต่อ)
หนา้
ตารางที่ 3.2 สถานการณเ์ ยาวชน จำแนกตามจังหวัด 35
ตารางท่ี 3.3 สถานการณ์กลมุ่ สตรี จำแนกตามจงั หวัด 37
ตารางที่ 3.4 สถานการณก์ ลมุ่ ครอบครวั จำแนกตามจังหวดั 38
ตารางที่ 3.5 สถานการณผ์ ้สู งู อายุ จำแนกตามจงั หวดั 40
ตารางที่ 3.6.1 สถานการณค์ นพกิ าร จำแนกตามจงั หวัด 42
ตารางที่ 3.7 สถานการณ์กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส จำแนกตามจงั หวัด 45
ตารางที่ 4.1 จำนวนความรนุ แรงในครอบครัว ปี 2562-2564 47
ตารางท่ี 4.2 แนวโนม้ ความรนุ แรงในครอบครัวในกลุ่มจงั หวดั 49
ตารางที่ 5.1.1 ผลการจัดลำดบั ความรุนแรงของสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวดั กลมุ่ เด็ก 55
ตารางท่ี 5.1.2 ผลการจดั ลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวดั กลุ่มเยาวชน 56
ตารางท่ี 5.1.3 ผลการจดั ลำดบั ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัด กลุ่มสตรี 57
ตารางที่ 5.1.4 แสดงผลการจดั ลำดบั ความรุนแรงของสถานการณท์ างสังคม กลมุ่ ครอบครวั 58
ตารางท่ี 5.1.5 ผลการจัดลำดับความรุนแรงของสถานการณ์ทางสงั คมกลุม่ จังหวัด กลุ่มผ้สู ูงอายุ 59
ตารางที่ 5.1.6 ผลการจดั ลำดบั ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวดั กลุม่ คนพกิ าร 60
ตารางที่ 5.1.7 ผลการจัดลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสงั คมกลุม่ จังหวัด กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส 60
สารบัญแผนภมู ิ หนา้
แผนภูมิที่ 2.1 แสดงจำนวนประชากรในเขตพน้ื ทร่ี ับผิดชอบของ สสว.4 จงั หวดั นครราชสมี า 7
แผนภมู ิ 2.2 แสดงจำนวนหนว่ ยบริการสาธารณสุข 9
แผนภมู ิ 2.3 แสดงจำนวนประชากรต่อแพทยร์ ายจังหวัด 10
แผนภมู ทิ ่ี 2.4 แสดงสาเหตุการตาย 5 อันดับแรก จากโรคตา่ งๆ ในพ้นื ทกี่ ลุ่มจังหวดั 11
แผนภมู ิ 2.5 แสดงสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกดั รายจังหวัด 12
แผนภูมทิ ่ี 2.6 แสดงคะแนนเฉล่ียการทดสอบ O-Net ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (%) 13
แผนภมู ทิ ่ี 2.7 กราฟแสดงจำนวนคนต่างดา้ วที่ไดร้ บั อนญุ าตทำงานคงเหลือ พ.ศ.2559-2563 15
แผนภูมทิ ี่ 2.8 แสดงการขยายตวั ของผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั ปี 2561-2563 17
แผนภมู ทิ ่ี 2.9 แสดงรายไดโ้ ดยเฉล่ยี ตอ่ เดอื นต่อครวั เรอื นของกล่มุ จังหวดั พ.ศ.2552-2560 18
แผนภูมทิ ่ี 2.10 แสดงข้อมลู ค่าดัชนคี วามมนั่ คงของมนษุ ย์ มติ ทิ ่ีอยู่อาศยั จำแนกรายจงั หวดั 22
แผนภูมิท่ี 2.11 แสดงข้อมลู คา่ ดัชนคี วามมั่นคงของมนษุ ย์ มิตสิ ขุ ภาพ จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562 23
แผนภมู ิที่ 2.12 แสดงขอ้ มูลค่าดชั นคี วามมั่นคงของมนุษย์ มติ อิ าหาร จำแนกรายจังหวดั ปี 2562 24
แผนภูมิท่ี 2.13 แสดงขอ้ มูลคา่ ดัชนคี วามม่ันคงของมนุษย์ มิตกิ ารศึกษา จำแนกรายจงั หวดั 25
แผนภูมทิ ี่ 2.14 แสดงขอ้ มลู ค่าดัชนคี วามม่ันคงของมนุษย์ มิตกิ ารมีงานทำและรายได้ 26
แผนภูมิที่ 2.15 แสดงขอ้ มูลคา่ ดัชนคี วามมน่ั คงของมนษุ ย์ มติ คิ รอบครัว จำแนกรายจังหวดั 27
แผนภูมทิ ี่ 2.16 แสดงข้อมูลคา่ ดชั นคี วามมน่ั คงของมนุษย์ มติ ิชุมชนและการสนับสนนุ ทางสังคม 28
แผนภมู ิที่ 2.17 แสดงขอ้ มลู ค่าดัชนีความม่ันคงของมนุษย์ มติ ศิ าสนาและวัฒนธรรม จำแนกรายจงั หวัด 29
แผนภูมิที่ 2.18 แสดงข้อมูลค่าดชั นคี วามมัน่ คงของมนุษย์ มติ ศิ าสนาและวัฒนธรรม จำแนกรายจงั หวดั 30
แผนภมู ทิ ่ี 2.19 แสดงขอ้ มลู คา่ ดชั นคี วามมน่ั คงของมนษุ ย์ มิติสิทธิและความเป็นธรรม 31
แผนภมู ิท่ี 2.20 แสดงข้อมูลคา่ ดชั นคี วามมน่ั คงของมนษุ ย์ มิตกิ ารเมอื ง จำแนกรายจังหวดั 32
แผนภมู ิที่ 2.21 แสดงขอ้ มูลค่าดัชนคี วามม่นั คงของมนุษย์ มติ สิ ิ่งแวดล้อมทรพั ยากร/พลงั งานจำแนกรายจงั หวดั 33
แผนภมู ทิ ่ี 3.1 แสดงสถานการณ์เด็ก (อายตุ ำ่ กวา่ 18 ปบี ริบูรณ)์ จำแนกตามจงั หวดั 35
แผนภมู ิที่ 3.2 แสดงสถานการณ์เยาวชน จำแนกตามจงั หวัด 36
แผนภมู ทิ ่ี 3.3 แสดงสถานการณ์กลุ่มสตรี จำแนกตามจังหวดั 38
แผนภูมิท่ี 3.4 แสดงสถานการณก์ ลุ่มครอบครวั จำแนกตามจังหวัด 39
แผนภมู ิ 3.5 แสดงสถานการณ์กล่มุ ครอบครวั จำแนกตามจังหวดั 41
แผนภูมทิ ี่ 3.6.1 แสดงสถานการณ์คนพกิ าร 43
แผนภูมิท่ี 3.6.2 แสดงสถานการณ์คนพกิ าร 44
แผนภมู ทิ ี่ 3.7 แสดงสถานการณ์กล่มุ ผดู้ ้อยโอกาส 46
แผนภูมิที่ 4.1 แสดงจำนวนความรนุ แรงในครอบครัว ปี 2562-2564 48
ส่วนที่ 1
บทนำ
1.1 หลกั การและเหตุผล
ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2556
มีสาระสำคัญเก่ียวข้องกับการบูรณาการ โดยกาหนดว่า “ในกรณีที่ภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วน
ราชการหรือเป็นภารกิจท่ีใกล้เคียงหรือต่อเน่ืองกัน ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องน้ันกำหนดแนวทางปฏิบัติ
ราชการ เพ่ือให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ”
(มาตรา 10 วรรค 1) ในทางปฏิบัติแม้ว่าจะมีความพยายามในการบริหารแบบบูรณาการในภารกิจที่มี
ความสำคัญหลายเร่ือง แต่ยังเกิดปัญหาความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติในหลายๆ ภารกิจ เป็นผลให้เป็นการ
ส้ินเปลืองทรัพยากรเป็นอย่างมาก การปฏิรูปงบประมาณประเทศจาก “ระบบงานงบประมาณ
เชิงยุทธศาสตร์” สู่ “ระบบงบประมาณเชิงพ้ืนที่” (Arae-Based Budgeting : ABB) ซึ่งเป็นแนวคิดของการ
ทำงบประมาณ แบบมีส่วนร่วม (Participatory Budgeting) โดยมีการฟังเสียงประชาชนในพื้นที่
มีกระบวนการทำแผนพัฒนาจากล่างขึ้นบนตั้งแต่แผนชุมชนจนถึงแผนจังหวัด และให้หน่วยงานท้ังภูมิภาค
และท้องถิ่นร่วมกันกล่ันกรอง ทำให้งบประมาณสามารถใช้ให้ตรงกับปัญหาความต้องการของคนในพื้นท่ีได้
อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งเป็นทั้งกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลการใช้งบประมาณแผ่นดิน
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการตนเอง การสร้างความโปร่งใสและธรรมาภบิ าล การควบคุม
พฤติกรรมนักการเมืองโดยประชาชนในพื้นที่และการบูรณาการการทำงานของหน่วย Function และหน่วย
Area ทอี่ ยู่ในพนื้ ทร่ี ว่ มกัน ซง่ึ ตามแผนปฏริ ูปกำหนดใหเ้ ริ่มตง้ั แตป่ งี บประมาณ ๒๕๔๘
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 (สสว.) เป็นส่วนราชการส่วนกลางที่ต้ังอยู่ในส่วน
ภมู ิภาค โดยมีอำนาจหนา้ ที่ คือ
ข้อ 1 พัฒนางานด้านวิชาการเก่ียวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ให้สอดคล้องกับ
พน้ื ท่ีและเป้าหมาย
ข้อ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการองค์ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศให้คาปรึกษาแนะนำแก่
หนว่ ยงานบรกิ ารกลุ่มเป้าหมายในพนื้ ท่ใี ห้บรกิ ารในความรับผิดชอบของกระทรวง รวมท้ังองค์กรปกครองส่วน
ท้องถน่ิ หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง องค์กรภาคเอกชนและประชาชน
ข้อ 3 ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพ่ือคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทาง
สังคมและผลกระทบ รวมทงั้ ให้ขอ้ เสนอแนะการพัฒนาสังคมและการจดั ยุทธศาสตรใ์ นพน้ื ท่กี ล่มุ จงั หวดั
[2]
ข้อ 4 สนับสนุนการนิเทศงาน ติดตามประเมินผลการดาเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบายและ
ภารกิจของกระทรวงในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัด มีหน้าท่ีเป็นกลไกขับเคล่ือนภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ นอกจากนี้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้มอบหมายให้
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการทำหน้าท่ีเชื่อมโยงประสานนโยบายระหว่างหน่วยงานส่วนกลางกับ
ส่วนภูมิภาคในการแปลงนโยบาย ข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ และแผนต่างๆ ของกระทรวงฯ ให้เกิดการ
บูรณาการการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานสังกดั กระทรวงฯ ในสว่ นภูมิภาคใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทพน้ื ท่ี และมกี าร
ปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงตระหนักถึงความจำเป็นท่ีจะต้องขับเคลื่อนให้เกิดการบูรณาการ
โครงการด้านสังคมเชิงพนื้ ทใี่ นระดับพน้ื ที่จังหวัดและกลมุ่ จังหวดั ท้งั ในส่วนของแผนปฏิบตั งิ านและแผนคำขอ
งบประมาณเชิงพืน้ ที่ เพ่ือตอบสนองความต้องการของจังหวดั และกลุ่มจงั หวัดในการบูรณาการการดำเนินงาน
พฒั นาสังคมและสวัสดกิ ารสงั คมท่ีสอดคลอ้ งกับพื้นท่ีและยุทธศาสตร์อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล
ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่มาของการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมและคาดการณ์แนวโน้ม
สถานการณ์ทางสังคมในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 4 จังหวัดนครราชสีมา ที่ครอบคลุม 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัด
บุรรี ัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จงั หวัดศรีสะเกษ และจงั หวัดยโสธร
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพอื่ รวบรวม วิเคราะห์ และจดั ทำรายงานสถานการณท์ างสังคมทเี่ กดิ ขนึ้ ในเขตพืน้ ที่
รับผิดชอบของสานกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4
1.2.2 เพ่ือคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณ์ทางสงั คมและผลกระทบในเขตพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบของ
สำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4
1.2.3 เพ่ือเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปญั หาทางสงั คมในพื้นท่ีกล่มุ จังหวัดในเขตพื้นทรี่ บั ผดิ ชอบ
ของสานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4
1.3 วิธกี ารดาเนนิ งาน
ในปีงบประมาณ 2564 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 ได้ตกลงร่วมกันและ
มอบหมายใหส้ ำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4 จังหวัดนครราชสมี า เปน็ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบหลักใน
การดำเนินการเพอ่ื จดั ทำรายงานสถานการณ์ทางสงั คม โดยมกี ารดำเนินการเพือ่ ขบั เคล่ือนงาน ดังน้ี
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวดั ในพืน้ ที่เขตรบั ผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 ประจำปี 2564
[3]
1) ประชมุ ช้แี จงแนวทางและกำหนดรูปแบบการจดั ทำรายงานสถานการณท์ างสังคมในระดบั กลุม่
จังหวดั ประจำปี 2564
2) สสว.1-11 จัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ตามเขตพนื้ ที่รับผดิ ชอบ
3) ประชุมถอดบทเรียนการจดั ทำรายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัด ประจาปี 2564
4) เผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธก์ ารนำไปใชป้ ระโยชน์ผา่ นช่องทางต่างๆ
1.4 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ ับ
1) มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมระดับพ้ืนที่ท่ีครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถใช้ประโยชน์
ในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาสงั คม
2) หน่วยงานระดับท้องถ่ินและระดับจังหวัด สามารถนำข้อมูลในพ้ืนท่ีไปใช้ในการกำหนดนโยบาย
แผนงาน โครงการ ในการคุ้มครอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาทางสังคมในระดับพ้ืนท่ี และหน่วยงานระดับ
กระทรวง สามารถนำข้อมูลในภาพรวมไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาทางสังคมท่ีสำคัญและ
กำหนดนโยบาย แผนงานในการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาสงั คมภาพรวมตอ่ ไป
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในพนื้ ที่เขตรบั ผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4 ประจำปี 2564
สว่ นท่ี 2
ข้อมลู พ้นื ฐานในพืน้ ท่กี ลุ่มจังหวดั ในเขตรับผิดชอบของ สสว.4
(จังหวดั นครราชสมี า จงั หวดั ชยั ภูมิ จังหวัดบรุ ีรัมย์ จังหวัดสรุ นิ ทร์ จังหวดั ศรีสะเกษ จงั หวดั ยโสธร)
2.1 ทีต่ ้ังและอาณาเขต
ตารางที่ 2.1 แสดงที่ตั้งและอาณาเขตพืน้ ทกี่ ลุ่มจงั หวดั ในเขตรบั ผิดชอบของ สสว.4
จังหวดั พนื้ ท่ี จำนวนประชากร ความหนาแนน่ ของประชากร
ตารางกิโลเมตร ไร่ (คน) (ตร.กม./คน)
นครราชสมี า 20,493.964 12,808,728 2,633,203 128.49 ตร.กม./คน
ชัยภมู ิ 12,778.30 7,986,429 1,124,924 88.03 ตร.กม./คน
บรุ รี ัมย์ 10,393.945 6,451,178 1,581,184 4,181 ตร.กม./คน
สรุ นิ ทร์ 8,124.056 4,077,535 1,377,326 171 ตร.กม./คน
ศรีสะเกษ 8,839.976 5,524,987 1,458,580 164 ตร.กม./คน
ยโสธร 4,161.664 2,601,040 534,500 129 ตร.กม./คน
รวม 64,719.91 39,449,897 8,709,717 4,861.52 ตร.กม./คน
ที่มา กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564
2.2 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
อาณาเขตพ้ืนทต่ี ดิ ต่อ ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับจังหวัดนครราชสีมา มหาสารคาม และร้อยเอด็
ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกบั จังหวดั อำนาจเจรญิ อบุ ลราชธานี
ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับจงั หวัดปราจนี บรุ ี สระแก้ว และราชอาณาจักรกัมพูชา
ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับจงั หวัดเพชรบรู ณ์ ลพบรุ ี สระบุรี และจังหวัดนครนายก
[5]
2.3 ลกั ษณะภูมอิ ากาศ
ภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีลักษณะสภาพภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นภูมิอากาศ
แบบร้อนช้ืนสลับแห้ง และมีปริมาณน้ำฝนปานกลาง มีท้ังหมด 3 ฤดูกาล ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดู
หนาว ฤดูร้อนอยู่ในช่วงระหว่างเดือนกุมภาพันธ์และเดือนพฤษภาคม โดยได้รับอิทธิพลจากมรสุม
ตะวันออกเฉียงใต้จากทะเลจีนใต้และอ่าวไทย เน่ืองจากระยะทางท่ีห่างไกลจากทะเลพอสมควร ทำให้
ลกั ษณะอากาศค่อนขา้ งร้อนและแห้งแล้ง จังหวดั ท่มี อี ุณหภมู ิสงู สุดคอื จังหวัดอดุ รธานี
ฤดูฝน ฤดฝู นอยู่ในชว่ งระหวา่ งเดือนพฤษภาคมและเดือนตลุ าคม โดยไดร้ ับอิทธิพลจากความกด
อากาศต่ำ จังหวัดท่ีได้รับปริมาณน้ำฝนมากที่สุดคือจังหวัดนครพนม และจังหวัดท่ีม่ีปริมาณน้ำฝนน้อย
ท่ีสุดคือ จังหวัดนครราชสีมา ปริมาณน้ำฝนส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนสิงหาคมและกันยายน
อย่างไรก็ตาม ปริมาณฝนท่ีตกในภูมิภาคน้ีน้ันไม่สามารถจะคาดเดาได้ เพราะมีปริมาณไม่สม่ำเสมอ โดย
ปริมาณน้ำฝนเฉล่ียต่อปี มีความแตกต่างกนั จาก 2,000 มิลลเิ มตร ในบางพ้นื ท่ี ไปจนถึง 1,270 มิลลเิ มตร
ในจังหวัดท่ีอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของภูมิภาค อย่าง บุรีรัมย์ ชัยภูมิ นครราชสีมา มหาสารคาม และ
นครราชสีมา ในฤดฝู น สถานท่ีท่องเทีย่ วทางธรรมชาตบิ างแห่งปดิ ทำการในบางช่วง เพราะเป็นช่วงเวลาที่
ต้นไม้นานาชนิดกำลังต้องการการเจริญเติบโตขึ้นมาใหม่ และอาจเป็นอันตรายต่อนักท่องเท่ียว ในกรณีที่
เกิดเหตุนำ้ ท่วมหรอื ดนิ ถล่ม
ฤดูหนาว ฤดูหนาวอยู่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงต้ังแต่ต้นเดือนจนถึงปลายเดือนตุลาคมยังมีฝนตกอยู่ จากน้ันลมหนาว
และความกดอากาศสูงที่เคล่ือนตัวมาจากประเทศจีน จะเข้าครอบคลุมพ้ืนที่ภาคเหนือ และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย อากาศจะค่อนข้างเย็นในช่วงเวลากลางคืน อุณหภูมิท่ีต่ำท่ีสุดใน
ประเทศไทยอยู่ที่จังหวัดเลย ช่วงอุณหภูมิโดยเฉลี่ยอุณหภูมิสูงสุดโดยเฉล่ียอยู่ที่ 32.1 องศาเซลเซียส
และอุณหภูมิต่ำสุดโดยเฉล่ียอยู่ท่ี 21.2 องศาเซลเซียส อุณหภมู ิสูงสุดที่ได้มีการบันทึกไวอ้ ยู่ที่ 43.8 องศา
เซลเซียส ในจังหวัดอดุ รธานี ส่วนอณุ หภูมิตำ่ สดุ อยูท่ ่ี 0.1 องศาเซลเซียส ในจังหวัดเลย อุณหภมู ติ ่ำสุดคือ
ในช่วงเดือนมกราคม และสูงสุดในช่วงเดือนเมษายนช่วงเวลาที่ดีท่ีสุดในการไปเย่ียมชมภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ เน่ืองด้วยสภาพภูมิประเทศที่มีภูเขาสูงมากมาย ทำให้อุณหภูมิในช่วงฤดูหนาวของ
ภูมิภาคนี้ค่อนข้างจะเย็นสบาย หน้าหนาวเริ่มต้นประมาณเดือนตุลาคมหรือพฤศจิกายน ไปจนถึงเดือน
กุมภาพันธ์ ซ่ึงช่วงน้ีเป็นช่วงเวลาที่เหมาะในการไปเที่ยวภาคอสี านมากท่ีสุดอย่างไม่ตอ้ งสงสัย ไม่เพยี งแต่
อุณหภูมิที่พอเหมาะ และสภาพอากาศท่ีเย็นสบาย แต่ช่วงน้ียังเป็นฤดูกาลท่ีดอกไม้นานาพันธุ์ออกดอก
ออกผล เบ่งบานสะพร่ัง ภาพของม่านหมอกยามเช้าตรู่บนฉากหลังของพระอาทิตย์ท่ีกำลังขึ้น ช่างเป็น
ภาพทงี่ ดงามยงิ่ นกั
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในพ้นื ทีเ่ ขตรับผิดชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[6]
2.4 ขอ้ มลู การปกครอง
เขตการปกครองท้องที่ในกลมุ่ จังหวัด
- จงั หวัด 6 จังหวดั
- อำเภอ 119 อำเภอ
- ตำบล 1,043 ตำบล
- หมูบ่ ้าน 13,544 หมู่บ้าน
เขตการปกครองทอ้ งถน่ิ ในกลุ่มจังหวดั
- องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด 6 แห่ง
- เทศบาลนคร 1 แหง่
- เทศบาลเมอื ง 12 แหง่
- เทศบาลตำบล 264 แห่ง
- องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล 881 แหง่
ตารางท่ี 2.2 แสดงจำนวนเขตการปกครองพ้นื ทีก่ ลุ่มจงั หวดั ในเขตรบั ผิดชอบของ สสว.4
(หน่วย : แห่ง)
จังหวดั อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน อบจ. เทศบาล เทศบาล เทศบาล อบต.
นคร เมอื ง ตำบล
นครราชสมี า 32 289 3,753 1 1 4 85 243
ชัยภมู ิ 16 124 1,620 1 - 1 35 106
บรุ ีรัมย์ 23 188 2,549 1 - 3 59 146
สรุ ินทร์ 17 158 2,128 1 - 1 27 144
ศรสี ะเกษ 22 206 2,636 1 - 2 35 179
ยโสธร 9 78 885 1 - 1 23 63
รวม 119 1,043 13,544 6 1 12 264 881
ที่มา กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ วันที่ 1 มนี าคม 2564
จากตารางที่ 2.2 แสดงจำนวนเขตการปกครองพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.4
จังหวัดนครราชสีมา มีพนื้ ที่รบั ผิดชอบจำนวน 6 จังหวดั ประกอบด้วย 119 อำเภอ 1,043 ตำบล 13,544
หมู่บ้าน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 1,164 แห่ง ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 แห่ง
เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมอื ง 12 แหง่ เทศบาลตำบล 264 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตาบล 881
แห่ง จังหวัดทมี่ ีจำนวนพน้ื ท่ีทางการปกครองมากท่สี ุด คือ จงั หวดั นครราชสมี า มีจำนวนท้ังสิ้น 32 อำเภอ
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในพื้นที่เขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[7]
289 ตำบล 3,743 หมู่บ้าน และจังหวัดที่มีจำนวนพ้ืนท่ีทางการปกครองน้อยท่ีสุด ได้แก่ จังหวัดยโสธร
ประกอบด้วย 9 อำเภอ 79 ตำบล 885 หมบู่ ้าน
2.5 ขอ้ มูลประชากร
ตารางที่ 2.3 แสดงจำนวนประชากรแยกตามชว่ งอายุ จำแนกตามเพศ และจังหวัด
(หน่วย : คน)
อายุ 0 - 17 ปี อายุ 18 - 25 ปี อายุ 26 - 59 ปี อายุ 60 ปขี ึน้ ไป รวม
จงั หวัด ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม 5,266,766
2,244,272
นครราชสมี า 267,858 252,964 520,822 145,164 136,193 281,357 668,679 686,304 1,354,983 212,919 263,122 476,401 3,152,414
ชยั ภูมิ 2,754,672
112,658 106,369 219,027 57,251 57,070 114,321 287,805 289,085 576,890 96,354 115,544 211,898 2,909,836
บุรีรัมย์ 173,288 163,214 336,502 91,355 88,807 180,162 399,642 399,956 799,598 113,533 143,412 262,945 1,068,730
สรุ ินทร์ 147,504 139,994 287,498 80,030 76,385 156,415 350,923 345,237 696,140 106,735 130,538 237,273 8,701,648
ศรีสะเกษ 152,640 144,266 296,902 82,624 81,973 164,597 378,836 371,938 750,774 109,924 132,719 242,643
ยโสธร 51,316 48,257 99,843 29,896 27,421 57,317 142,264 140,011 282,275 43,540 51,525 95,065
รวม 905,264 855,064 1,760,594 486,320 467,849 954,169 2,228,149 2,232,531 4,460,660 683,005 836,860 1,526,225
ทีม่ า ..กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 มิถนุ ายน 2564
จากตารางที่ 2.3 แสดงจำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จำแนกตามเพศ และจังหวัด ในเขต
รบั ผิดชอบของ สสว.4 จงั หวดั นครราชสีมา จากข้อมลู ประชากรในเขตพ้ืนท่รี ับผิดชอบของ สสว.4 จงั หวัด
นครราชสีมา พบว่า ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัดนครราชสีมา มีจำนวนประชากรท้ังสิ้น
8,701,648 คน โดยประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในระหว่าง 26-59 ปี มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น
4,460,660 คน จังหวัดท่ีมีประชากรอาศัยอยู่มากที่สุด คือ จังหวัดนครราชสีมา มีจำนวน 5,266,766
คน รองลงมาคือ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดยโสธร
ตามลำดบั
แผนภูมทิ ่ี 2.1 แสดงจำนวนประชากรในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.4 จงั หวดั นครราชสีมา
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั ในพื้นทเี่ ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[8]
2.6 ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม และข้อมลู ชาตพิ นั ธ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือเป็นที่รู้จักกันว่า “ภาคอีสาน” เป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลาย
ทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณี แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นแต่ละจังหวดั ศิลปวฒั นธรรมเหล่านี้เป็น
ตัวบ่งบอกถึงความเชื่อ ค่านิยม ศาสนาและรปู แบบการดำเนินชีวิต ตลอดจนอาชีพของคนในท้องถิ่นนั้นๆ
ได้เป็นอย่างดี สาเหตุท่ีภาคอสี านมีความหลากหลายทางศิลปวฒั นธรรมประเพณีส่วนหนึ่งอาจจะเป็นผล
มาจากการเป็นศูนย์รวมของประชากรหลากหลายเช้ือชาติ และมีการติดต่อสังสรรค์กับประชาชนใน
ประเทศใกลเ้ คยี ง จนก่อให้เกดิ การแลกเปลี่ยนทางวฒั นธรรมขึ้น เชน่ ประชาชนชาวอสี านแถบจงั หวัดเลย
หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ทีม่ ีพรมแดนติดต่อกับประเทศลาว ประชาชน
ของท้ังสองประเทศมีการเดินทางไปมาหากัน ทำให้เกิดการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมและ
ประเพณีระหว่างกัน ซึ่งเราจะพบว่าชาวไทยอีสานและชาวลาว แถบลุ่มแม่น้ำโขง มีศิลปวัฒนธรรม
ประเพณที ่ีคลา้ ยๆกัน และรูปแบบการดำเนนิ ชีวิตกม็ คี วามคลา้ ยคลึงกันด้วย รวมท้ังชาวเวียดนามท่ีอพยพ
เข้ามาในชว่ งสงครามเวยี ดนาม ก็ได้นำเอาศลิ ปวฒั นธรรมของเวยี ดนามเขา้ มาด้วย
ถึงแม้ปัจจุบันชาวเวียดนามเหล่านี้จะได้ปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมของท้องถิ่นอีสาน (เพ่ือให้การ
ดำรงชีวิตเป็นไปอย่างราบร่ืน) โดยเฉพาะชาวเวียดนามที่เป็นวัยรุ่นในปัจจุบันได้รับการศึกษาที่ดี
เหมอื นกบั ชาวไทยทุกประการ จนแทบแยกไมอ่ อกวา่ เป็นคนไทยอีสานหรอื คนเวยี ดนามกนั แน่ สว่ นใหญก่ ็
จะชื่นชอบวัฒนธรรมตะวันตกจนลืมวัฒนธรรมอันดีงามของตัวเอง แต่ก็ยังมีชาวเวียดนามบางกลุ่มส่วนใหญ่
เป็นคนสูงอายุยังคงยึดมั่นกับวัฒนธรรมของตนเองอยู่อย่างม่ันคง ท่านสามารถศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิต
แบบเวียดนามได้ตามชุมชนชาวเวียดนามในจังหวัดท่ีกล่าวมา ส่วนประชาชนที่อยู่ทางจังหวดั สุรินทร์ บุรีรัมย์
ศรีสะเกษ นครราชสีมา มีการติดต่อกันกับประชาชนชาวกัมพูชาก็จะรับเอาวัฒนธรรมของกัมพูชามา
ประยุกตใ์ ช้ ซึ่งส่วนใหญ่แล้ววฒั นธรรมประเพณีของคนทั้งสองเช้ือชาติก็มีความคล้ายคลงึ กันอยู่แล้วจะเห็นได้
อย่างชัดเจนว่าภาคอีสานเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและวัฒนธรรมต่างๆ ก็มีความ
แตกต่างกันตามแต่ละท้องถ่ินและแตกตา่ งจากภูมิภาคอ่ืนๆของไทยอย่างเห็นไดช้ ัด ท้ังวัฒนธรรมทางด้านการ
ดำรงชีวิตและวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวข้องกับศาสนา ซึ่งเราสามารถสังเกตรูปแบบวัฒนธรรมท่ีดีงามของชาวอีสาน
ผ่านทางประเพณตี ่างๆที่ชาวอสี านจัดขน้ึ ซ่ึงสามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมอีสานได้เปน็ อย่างดี
ภาคอีสานเป็นพื้นท่ีท่ีเป็นอารยธรรมโบราณ ประชากรท่ีอาศัยอยู่ส่วนมากเป็นคนไทยเช้ือสายลาว
และเช้ือสายเขมร มีคตนิ ิยมผูกแน่นอยู่กับประเพณีโบราณมีการรักษา สืบเนื่องต่อกันมา จึงเป็นถิ่นแดนท่ีเต็ม
ไปด้วยกล่ินอายของวัฒนธรรมประเพณี ท่ีผสมผสานความเชื่อถือในเร่ืองของการนับถือผี และคติทาง
พระพุทธศาสนาเข้าด้วยกัน โดยในปี พ.ศ. 2561 ในกลุ่มจังหวัดนครชัยบุรินทร์ศรีโสธร มีจำนวนพระภิกษุ
สามเณร รวม 53,387 รูป พระภิกษุ 48,678 รูป สามเณร 4,709 รูป แบ่งเป็น มหานิกาย 49,059 รูป
ธรรมยตุ 4,328 รูป
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในพ้นื ทเี่ ขตรับผดิ ชอบของสำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[9]
2.7 ดา้ นสาธารณสุข
ตารางที่ 2.4 แสดงจำนวนหน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ ภาครัฐและภาคเอกชน จำแนกตามจงั หวดั ในเขต
พ้นื ท่ี รับผดิ ชอบของ สสว.4
จังหวดั โรงพยาบาลสงั กัดภาครัฐ (แหง่ ) โรงพยาบาลสงั กัด รวม
รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. อนื่ ๆ เอกชน (แหง่ )
731
นครราชสมี า 1 3 28 349 342 8 186
259
ชยั ภูมิ 0 2 14 167 1 2 231
278
บุรีรมั ย์ 1 1 21 224 11 1 135
1,820
สุรินทร์ 1 1 15 211 1 2
ศรสี ะเกษ 1 1 20 254 - 2
ยโสธร 0 1 8 9 112 5
รวม 4 9 106 1,214 467 20
ท่ีมา HDC Report กระทรวงสาธารณสุข ณ วนั ที่ 30 มิถุนายน 2564
หมายเหตุ รพศ. = โรงพยาบาลศูนย์
รพท. = โรงพยาบาลทว่ั ไป
รพ.สต. = โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบล
รพช. = โรงพยาบาลชุมชน อื่นๆ
แผนภูมิ 2.2 แสดงจำนวนหน่วยบริการสาธารณสุข ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัด
นครราชสมี า
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุม่ จงั หวัดในพ้นื ที่เขตรับผิดชอบของสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[10]
จากข้อมูลแสดงจำนวนหน่วยบริการสาธารณสุข ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัด
นครราชสีมา พบว่า มีจำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัด
นครราชสีมา ท้ังสิ้น 1,820 แห่ง แบ่งออกเป็นโรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) จำนวน 4 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป
(รพท.) จำนวน 9 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) จำนวน 106 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
(รพ.สต.) จำนวน 1,214 แห่ง และโรงพยาบาลเอกชน จำนวน 20 แห่ง จังหวัดท่ีมีหน่วยบริการ
สาธารณสุขมากท่ีสดุ คือ จังหวดั นครราชสีมา มจี ำนวน 731 แห่ง รองลงมา คือ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด
บุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดยโสธร ตามลำดับ ทั้งน้ีจากการเปรียบจำนวน รพ.สต.
กับจำนวนตำบลท้ังหมดในพื้นท่ีทั้ง 6 จังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดมี รพ.สต. ประจาตำบลมากกว่า 1 แห่ง
ดงั นน้ั แสดงใหเ้ หน็ วา่ ประชาชนสามารถเข้าถึงบรกิ ารสาธารสขุ เบอื้ งต้นในพนื้ ทไี่ ดอ้ ย่างท่วั ถงึ
ตารางท่ี 2.5 แสดงจำนวนประชากรตอ่ แพทยร์ ายจังหวัด
(หนว่ ย : คน)
จงั หวัด แพทย์ ประชากร ประชากรตอ่ แพทย์
นครราชสีมา 774 2,623,860 1: 3,390
ชยั ภูมิ 351 1,121,453 1: 3,195
บรุ รี มั ย์ 9,784 1,338,934 1: 137
สรุ นิ ทร์ 474 1,374,685 1:2,900
ศรสี ะเกษ 2,791 1,458,580 1:523
ยโสธร 156 534,500 1: 3,426
รวม 14,330 8,452,012 1: 13,571
ท่มี า : ฐานขอ้ มลู สารสนเทศ กระทรวงสาธารณสขุ http://hdcservice.moph.go.th/ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 มิถุนายน 2564
แผนภูมิ 2.3 แสดงจำนวนประชากรต่อแพทย์รายจังหวัด ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัด
นครราชสมี า
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จังหวดั ในพนื้ ทีเ่ ขตรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[11]
จากข้อมูลแสดงจำนวนประชากรต่อแพทย์รายจังหวัด จำนวนแพทย์ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ
สสว.4 จงั หวัดนครราชสมี า มจี ำนวน 14,330 คน คิดเปน็ สดั ส่วนจำนวนประชากร 13,571 คน ต่อแพทย์
1 คน จังหวัดท่ีมีจำนวนประชากรต่อแพทย์มากท่ีสุด คือ จังหวัดยโสธร มี 3,426 : 1 คน รองลงมา คือ
จังหวัดยโสธร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดบุรีรัมย์
ตามลำดับ
ตารางท่ี 2.6 แสดงสาเหตกุ ารตาย 5 อนั ดบั แรกจากโรคตา่ งๆ จงั หวดั ในเขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบของ สสว.4
จงั หวดั นครราชสีมา
จงั หวัด โรควัยชรา โรคหวั ใจ โรคการตดิ เชอ้ื ใน โรคความดันโลหิต โรคเบาหวาน
ลม้ เหลว กระแสเลือด สูง
ไมท่ ราบสาเหตุ
นครราชสีมา 2,039 837 246 397 249
ชัยภมู ิ 614 193 107 167 158
บรุ รี มั ย์ 533 250 112 213 242
สุรินทร์ 1,204 286 71 241 139
ศรีสะเกษ 1,010 1,066 368 762 135
ยโสธร 367 220 49 193 163
รวม 5,767 2,852 953 1,973 1,086
ที่มา HDC Report กระทรวงสาธารณสุข ณ วันท่ี 25 ก.พ. 2564
จากตารางที่ 2.6 แสดงสาเหตุการตายจากโรคต่างๆ จังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.4
จังหวัดนครราชสีมา พบว่า โรควัยชราเป็นสาเหตุการตายอันดับท่ี 1 มีจำนวน 5,767 คน รองลงมาคือ
โรคหัวใจล้มเหลว มีจำนวน 2,852 คน โรคความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ มีจำนวน 1,973 คน
โรคเบาหวาน มีจำนวน 1,086 คน และโรคการติดเชอื้ ในกระแสเลือด มจี ำนวน 953 ตามลำดับ
แผนภูมทิ ี่ 2.4 แสดงสาเหตุการตาย 5 อนั ดับแรก จากโรคต่างๆ ในพน้ื ทก่ี ลมุ่ จงั หวดั
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุม่ จงั หวดั ในพ้นื ทเี่ ขตรับผดิ ชอบของสำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[12]
2.8 ด้านการศึกษา
จำนวนสถานศึกษาในกลุ่มจังหวัด ในระบบ สถานศึกษาสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) 5,116 แห่ง เอกชน 248 แห่ง และอาชีวศกึ ษา 75 แหง่ จำนวนสถานศึกษานอกระบบ
สำนักพุทธศาสนาแห่งชาติ 43 แห่ง การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) 100 แห่ง
รวมมีจำนวนสถานศึกษาทั้งหมด 5,582 แห่ง โดยจังหวัดนครราชสีมามีจำนวนสถานศึกษารวมมากที่สุด
1,533 แห่ง รองลงมา คือ จังหวัดบุรีรัมย์ 979 แห่ง จังหวัดศรีสะเกษ 948 แห่ง จังหวัดสุรินทร์ 875 แห่ง
จงั หวดั ชัยภูมิ 797 แหง่ และจังหวดั ยโสธร มจี ำนวนสถานศกึ ษาน้อยที่สุด 450 แหง่
ตารางที่ 2.7 สถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกัด รายจังหวัด
(หน่วย : คน)
รายการสถานศกึ ษา
ในระบบ นอกระบบ
จังหวัด สพฐ. เอกชน อาชีวศึกษา สำนกั พทุ ธศาสนาแห่งชาติ กศน. รวม
นครราชสมี า 1,352 116 22 11 32 1,533
ชัยภูมิ 723 35 17 6 16 797
บรุ รี ัมย์ 905 37 8 6 23 979
สรุ นิ ทร์ 829 12 8 8 18 875
ศรสี ะเกษ 900 27 10 9 2 948
ยโสธร 407 21 10 3 9 450
รวม 5,116 248 75 43 100 5,582
ทม่ี า : สารสนเทศเพ่ือการศึกษา สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ข้อมลู ณ กุมภาพนั ธ์ 2564
แผนภูมิ 2.5 แสดงสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกัด รายจังหวัด ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ
ของ สสว.4 จงั หวัดนครราชสีมา
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดในพืน้ ที่เขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[13]
ตารางท่ี 2.8 คะแนนเฉล่ียการทดสอบ O-Net ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ. 2561 – 2563
จังหวดั ระดับค่าเฉลย่ี ปีการศึกษา
2561 2562 2563
นครราชสมี า ระดับประเทศ 35.02 32.34 33.80
ระดับจังหวัด 32.91 30.50 31.58
ชยั ภมู ิ ระดบั ประเทศ 41.23 36.80 44.36
ระดับจังหวัด 40.20 36.74 40.11
บุรรี มั ย์ ระดบั ประเทศ 37.60 34.55 36.08
ระดับจังหวัด 34.45 35.02 36.08
สุรนิ ทร์ ระดบั ประเทศ 35.02 32.34 33.79
ระดับจังหวัด 33.18 30.87 32.34
ศรสี ะเกษ ระดบั ประเทศ 98.23 98.59 98.45
ระดบั จังหวดั 92.04 92.04 92.04
ยโสธร ระดบั ประเทศ 35.02 32.34 33.79
ระดบั จังหวดั 31.07 28.66 28.38
ทีม่ า : สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 มิถนุ ยนา 2564
จากตารางท่ี 2.8 แสดงคะแนนเฉลี่ยการทดสอบ O-Net ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี
พ.ศ.2561-2563 ในพ้ืนที่ 6 จังหวัดของกลุ่มจังหวัดพื้นท่ีในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัด
นครราชสีมา พบว่าในปี 2561-2563 ส่วนใหญ่มีค่าเฉล่ียคะแนนเฉลี่ยการทดสอบ O-Net ระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลายตำ่ กวา่ ระดบั ประเทศ
แผนภมู ิท่ี 2.6 แสดงคะแนนเฉล่ยี การทดสอบ O-Net ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ. 2559-2561
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในพน้ื ทเี่ ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[14]
ตารางท่ี 2.9 ค่าเฉลยี่ เชาวน์ปัญญา (IQ) ของเด็กนกั เรยี นไทยชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 (คะแนน) ปี พ.ศ. 2563
จังหวัด คา่ เฉลยี่ เชาวน์ปัญญา (IQ)
ระดับประเทศ 98.23
นครราชสมี า 96.25
ชยั ภูมิ 95.81
บรุ รี มั ย์ 98.60
สุรินทร์ 95.41
ศรีสะเกษ 92.04
ยโสธร 91.93
รวม 95.01
ท่มี า : กรมสุขภาพจติ ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.9 แสดงค่าเฉลี่ยเชาว์ปัญญา (IQ) ของเด็กนักเรียนไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
(คะแนน) พ้ืนที่ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัดนครราชสีมา ปี พ.ศ.2563 พบว่า ค่าเฉล่ียเชาว์
ปัญญา (IQ) ส่วนใหญ่ มคี ่าเฉลยี่ ต่ำกวา่ ระดับประเทศ (98.23) มเี พียงจังหวดั บุรีรัมย์เท่านนั้ ท่ีมคี ่าเฉลี่ยสูง
กว่าระดับประเทศ คือ 98.60 ดังน้ัน บุคลากรทางการศึกษาและครอบครัวควรให้ความสำคัญและส่งเสริม
พฒั นา IQ ของเดก็ ในกล่มุ เป้าหมายเปน็ หลัก
2.9 ดา้ นแรงาน
ตารางท่ี 2.10 ภาวการณม์ ีงานทำของประชากรในกลุม่ จังหวดั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ไตรมาส 4 (ตุลาคม – ธนั วาคม 2563)
(หน่วย:คน)
จงั หวดั กำลงั แรงงานในปจั จุบนั กำลังแรงงาน ผู้ไม่อยใู่ นกำลังแรงงาน
ผูม้ งี านทำ ผวู้ ่างงาน ที่รอฤดกู าล ทำงานบา้ น เรียนหนงั สือ อนื่ ๆ
นครราชสมี า 1,347,607 17,189 14,534 167,894 156,801 351,987
ชัยภูมิ 456,969 - 889 113,132 52,940 155,968
บุรรี ัมย์ 654,988 20,572 1,369 68,278 70,435 162,389
สุรินทร์ 548,977 9,121 1,175 73,204 75,649 159,583
ศรสี ะเกษ 568,482 1,237 - 52,230 73,148 116,142
ยโสธร 276,866 584 692 11,269 30,643 67,413
รวม 3,853,889 48,703 18,659 486,007 459,616 1,013,482
ท่มี า : สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ ข้อมูล ณ วนั ที่ 25 มิถุนายน 2564
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั ในพนื้ ทีเ่ ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[15]
จากตารางท่ี 2.10 แสดงสภาวการณ์มีงานทำของประชากรกลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ
ของ สสว.4 จังหวดั นครราชสีมา พบว่ากำลังแรงงาน มีทง้ั ส้นิ 3,872,548 คน แบ่งเปน็ ผู้มงี านทำ จำนวน
3,853,889 คน กำลังแรงงานท่ีรอฤดูกาล จำนวน 18,659 คน และผู้ว่างงาน 48,703 คน จังหวัดที่มี
กำลังแรงงานมากที่สุด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา เป็นอันดับท่ีหนึ่ง มีจำนวน 1,347,607 คน รองลงมา
คือจังหวดั บุรีรมั ย์ มจี ำนวน 654,988 คน จงั หวัดศรสี ะเกษ มจี ำนวน 568,482 คน จังหวัดสุรินทร์ มจี ำนวน
548,977 คน จังหวดั ชยั ภมู ิ มจี ำนวน 456,969 คน และจังหวดั ยโสธร มีจำนวน 276,866 คน ตามลาดับ
ตารางที่ 2.11 จำนวนคนตา่ งด้าวที่ไดร้ ับอนุญาตทำงานคงเหลือ พ.ศ. 2559 – 2563 ของกลุ่มจังหวัดใน
เขตพน้ื ทรี่ ับผดิ ขอบของ สสว.4 จังหวัดนครราชสมี า
(หนว่ ย:คน)
จงั หวัด 2559 2560 2561 2562 2563
นครราชสมี า 9,407 15,699 19,638 31,973 21,330
ชัยภมู ิ 271 887 737 1,691 1,773
บุรีรัมย์ 682 1,035 1,258 2,569 2,647
สรุ นิ ทร์ 1,100 2,411 2,031 3,487 2,226
ศรีสะเกษ 535 717 567 1,298 1,214
ยโสธร 125 271 482 470 430
รวม 12,120 21,020 24,713 41,488 29,620
ท่ีมา : สำนักงานสถติ ิแหง่ ชาติ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 มิถนุ ายน 2564
แผนภมู ทิ ่ี 2.7 กราฟแสดงจำนวนคนตา่ งด้าวท่ีได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือ พ.ศ.2559-2563
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั ในพนื้ ทเ่ี ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[16]
จากแผนภูมิที่ 2.7 กราฟแสดงจำนวนคนต่างด้าวท่ีได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือ พ.ศ.2557-
2561 กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัดนครราชสีมา พบว่า จำนวนคนต่างด้าวท่ี
ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือมีจำนวนมากท่ีสุด ในปีพ.ศ.2562 มีจำนวน 41,488 คน รองลงมาในปี
พ.ศ.2563 มีจำนวน 29,620 คน ปีพ.ศ.2561 มีจำนวน 24,713 คน ปีพ.ศ.2560 มีจำนวน 21,020 คน
และปีพ.ศ.2559 มจี ำนวน 12,120 คน ตามลำดบั
2.10 ด้านที่อยอู่ าศัย
ตารางที่ 2.12 แสดงจำนวนชมุ ชนผมู้ ีรายไดน้ ้อยของกลมุ่ จงั หวดั พ.ศ.2560
(หนว่ ย:คน)
จำนวน ชมุ ชนแออัด ชุมชนเมือง ชุมชนชานเมือง จำนวน จำนวน จำนวน
จงั หวดั ชุมชน ชุมชน ครวั เรอื น ชมุ ชน ครัวเรอื น ชมุ ชน ครัวเรอื น บ้าน ครวั เรือน ประชากร
นครราชสมี า 402 43 4,302 0 0 0 0 0 0 0
ชัยภูมิ 28 3 51 28 0 0 0 20,764 20,764 35,901
บุรรี มั ย์ 11 0 0 11 1,927 0 0 1,927 1,927 3,854
สรุ ินทร์ 4 0 0 3 903 1 1,500 1,090 1,289 1,524
ศรีสะเกษ 2 2 90 0 0 0 0 83 90 340
ยโสธร 1 1 20 0 0 0 0 19 20 80
รวม 448 49 4,463 42 2,830 1 1,500 23,883 24,090 41,699
ทีม่ า : กองยทุ ธศาสตร์และสารสนเทศท่ีอยอู่ าศัย ฝา่ ยวิชาการพัฒนาท่อี ยอู่ าศัย การเคหะแห่งชาติ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.12 แสดงจำนวนชุมชนผู้มีรายได้น้อยของกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ
สสว.4 จังหวัดนครราชสีมา พบว่ามีจำนวนชุมชนผู้มีรายได้น้อย ทั้งสิ้น 448 ชุมชน ประกอบด้วยชุมชน
แออัด จำนวน 49 แห่ง 4,463 ครัวเรือน มีบา้ นจำนวน 23,883 หลัง มีครัวเรือน 24,090 ครัวเรือน และ
มีประชากร จำนวน 41,699 คน จังหวัดที่มีชุมชนผู้มีรายได้น้อยมากที่สุด ได้แก่จังหวัดนครราชสีมา
มีจำนวน 402 แห่ง รองลงมาคือจังหวัดชยั ภูมิ จำนวน 28 แห่ง จังหวดั บุรีรัมย์ มีจำนวน 11 แห่ง จังหวัด
สรุ ินทร์ มีจำนวน 4 แหง่ จังหวดั ศรสี ะเกษ มจี ำนวน 2 แหง่ และจังหวัดยโสธร มีจำนวน 1 แหง่
2.11 ด้านเศรษฐกิจและรายได้
2.11.1 ผลติ ภณั ฑจ์ งั หวัดต่อหัว (GPP per capita)
ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ในกลุ่มจังหวัด พบว่าปี 2561 จังหวัด
นครราชสีมา มีอัตราการขยายตัวผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวมากท่ีสุด จำนวน 6.6 รองลงมาคือ จังหวัด
สุรินทร์ อัตราการขยายตัว 5.93 จังหวัดชัยภูมิ อัตราการขยายตัว 5.4 จังหวัดยโสธร อัตราการขยายตัว
4.6 จงั หวดั ศรสี ะเกษ จำนวน 2.8 ส่วนจังหวัดที่มีอตั ราการขยายตวั ต่ำสดุ คือ จังหวัดบุรีรมั ย์ โดยปี 2562
และปี 2563 อตั ราการขยายตวั ตดิ ลบ ดังตารางท่ี 2.13
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวดั ในพ้นื ทเี่ ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[17]
ตารางที่ 2.13 แสดงการขยายตัวของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด
จงั หวดั อัตราการขยายตวั GPP (รอ้ ยละ)
ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
นครราชสมี า 6.6 0.3 -
ชัยภูมิ 5.4 -1.4 -15.9
บุรรี ัมย์ 1.4 0.4 -3.1
สรุ ินทร์ 5.93 2.84 -
ศรสี ะเกษ 2.8 2.1 2.4
ยโสธร 4.6 3.0 -3.2
รวม 26.73 7.24 -20
ทมี่ า : สำนักงานสถิติแหง่ ชาติ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 มิถนุ ายน 2564
แผนภูมทิ ี่ 2.8 แสดงการขยายตัวของผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด ปี 2561-2563
จากข้อมูลแสดงการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.4
จังหวัดนครราชสีมา พบวา่ การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมส่วนใหญ่มีจำนวนท่ีเพิ่มข้ึนในทุกๆ ปี ท้ัง
6 จังหวัด เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัดบุรีรัมย์มีการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวล
รวมต่ำท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด อยู่ที่ร้อยละ -3.1 และจังหวัดนครราชสีมามีการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวล
รวมสงู ทสี่ ุดในกลุ่มจังหวัดอยู่ทีร่ ้อยละ 5.5
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดในพืน้ ท่เี ขตรับผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[18]
ตารางที่ 2.14 แสดงผลติ ภณั ฑ์จังหวัดต่อหวั (GPP per capita) ปี 2561
จังหวดั บาทตอ่ ปี
นครราชสมี า 121,068
ชัยภูมิ 70,159
บุรรี ัมย์ 53,909
สรุ ินทร์ 81,007
ศรสี ะเกษ 75,182
ยโสธร 57,154
ที่มา : ผลิตภัณฑ์ภาคและจงั หวัด แบบปรมิ าณลูกโซ่ ฉบบั พ.ศ.2563 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
จากข้อมูลแสดงผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว.4
จังหวัดนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2561 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัดนครราชสีมา
มีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวสุดสุด อยู่ที่ 121,068 บาทต่อปี และจังหวัดบุรีรัมย์ มีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว
ต่ำสดุ ในกลมุ่ จงั หวัด อยูท่ ี่ 53,909 บาทตอ่ ปี
ตารางท่ี 2.15 แสดงรายไดโ้ ดยเฉล่ยี ตอ่ เดือนต่อครัวเรอื นของกลมุ่ จังหวดั พ.ศ.2558 –2562
(หน่วย:บาท)
จงั หวดั 2558 2560 2562
นครราชสีมา 26,376 24,429 25,736
ชัยภูมิ 123,829 125,543 120,856
บุรรี มั ย์ 18,480 15,382 14,742
สรุ นิ ทร์ 20,315 18,188 20,238
ศรีสะเกษ 18,793 17,485 16,137
ยโสธร 19,517 16,752 17,768
ท่มี า : สำนักงานสถติ ิแห่งชาติ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 1 มีนาคม 2564
แผนภูมิที่ 2.9 แสดงรายได้โดยเฉลยี่ ต่อเดือนต่อครวั เรอื นของกลุ่มจงั หวัด พ.ศ.๒๕๕๒ –๒๕๖๐
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จงั หวดั ในพ้นื ท่ีเขตรับผิดชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[19]
จากข้อมูลแสดงรายไดโ้ ดยเฉลี่ยต่อเดือนตอ่ ครัวเรือนของกลุ่มจังหวดั ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ
สสว.4 จังหวัดนครราชสีมา ปี พ.ศ. 2558 – 2560 เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบจังหวัดที่มีรายได้โดยเฉลี่ย
ต่อเดือนต่อครัวเรือนสูงท่ีสุดในกลุ่มจังหวัดของแต่ละปี พบว่า ปี 2558 และ ปี 2560 คือ จังหวัดชัยภูมิ
และจังหวัดท่ีมีรายได้โดยเฉล่ียตอ่ เดือนตอ่ ครวั เรอื นต่ำทสี่ ดุ ในกลุม่ จงั หวัดของแตล่ ะปี คอื จงั หวดั บรุ รี มั ย์
ตารางท่ี 2.16 แสดงหนสี้ นิ เฉล่ียต่อครวั เรือน จำแนกตามวตั ถุประสงคข์ องการกูย้ ืม พ.ศ. 2558 – 2560
(หน่วย:บาท)
จงั หวัด วตั ถปุ ระสงค์การกู้ยืม พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560
หนสี้ นิ ท้ังส้นิ 245,760 223,239 285,595
เพอ่ื ใช้จ่ายในครัวเรอื น 110,109 100,380 59,623
เพอื่ ใชท้ ำธุรกจิ ท่ีไม่ใชก่ ารเกษตร 10,802 13,237 122,134
นครราชสีมา เพื่อใช้ทำการเกษตร 88,506 50,728 47,235
เพือ่ ใชใ้ นการศกึ ษา 1,350 3,871 391
เพือ่ ใชซ้ อื้ /เช่าซือ้ บา้ นและทีด่ นิ 33,732 55,024 56,178
อน่ื ๆ 1,262 - -
หนสี้ ินทงั้ สิ้น 155,901.80 194,195.09 183,325.79
เพอื่ ใช้จ่ายในครัวเรอื น 69,624.50 71,821.93 75,241.44
เพอื่ ใชท้ ำธรุ กิจท่ีไมใ่ ช่การเกษตร 23,450.60 30,435.54 5,526.68
ชัยภมู ิ เพื่อใช้ทำการเกษตร 42,883.30 64,000.14 86,996.35
เพอ่ื ใชใ้ นการศกึ ษา 475.80 608.75 28.09
เพอ่ื ใชซ้ ือ้ /เช่าซ้ือบ้านและที่ดิน 19,186.10 27,328.73 15,533.24
อน่ื ๆ 3,281.50 - -
บรุ ีรัมย์ หนส้ี ินทง้ั สิน้ 159,766.10 131,638.13 123,402.66
เพื่อใช้จา่ ยในครัวเรือน 69,193.60 71,607.34 70,258.68
เพอื่ ใชท้ ำธุรกิจท่ีไมใ่ ช่การเกษตร 9,871.80 10,856.72 9,018.04
เพอื่ ใช้ทำการเกษตร 38,528.20 21,822.89 28,057.47
เพื่อใช้ในการศึกษา 1,913.50 1,718.36 599.46
เพื่อใช้ซือ้ /เช่าซ้ือบา้ นและที่ดนิ 39,276.60 23,555.59 14,055.17
อน่ื ๆ 983.00 2,077.22 1,411.84
สรุ ินทร์ หนสี้ นิ ทั้งส้ิน 246348.30 251796.15 256,331.74
เพอ่ื ใช้จา่ ยในครัวเรอื น 141,769.50 80,632.49 143,559.04
เพอ่ื ใชท้ ำธรุ กิจที่ไมใ่ ชก่ ารเกษตร 6,552.60 36,147.88 28,939.04
เพ่อื ใช้ทำการเกษตร 48,348.70 27,097.83 39,369.71
เพอ่ื ใช้ในการศึกษา 3,430.70 2,686.25 6,901.42
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในพื้นที่เขตรับผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[20]
จังหวดั วัตถปุ ระสงค์การกู้ยืม พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560
ศรีสะเกษ เพอื่ ใช้ซอ้ื /เช่าซื้อบา้ นและทด่ี นิ 41,528.80 107,826.75 37,467.28
ยโสธร 4,718.00
อนื่ ๆ 135,277.50 404.94 95.25
หนสี้ ินทัง้ สนิ้ 92,184.40 189,527.94 170,138.40
เพื่อใชจ้ า่ ยในครัวเรอื น 5,963.70 100,169.12 77,680.69
เพอ่ื ใชท้ ำธุรกิจท่ีไมใ่ ชก่ ารเกษตร 30,965.20 15,569.49 15,172.53
เพอ่ื ใช้ทำการเกษตร 274.40 41,780.32 62,737.56
เพือ่ ใชใ้ นการศึกษา 5,685.50 6,514.41 1,203.90
เพ่ือใช้ซอื้ /เช่าซอ้ื บา้ นและที่ดนิ 204.20 24,787.09 13,072.62
อน่ื ๆ 123,720.30
หนสี้ ินทง้ั สิ้น 68,170.90 709.52 271.11
เพอ่ื ใชจ้ ่ายในครัวเรอื น 30,393.60 121,376.78 69,665.11
เพอื่ ใชท้ ำธุรกิจทไี่ มใ่ ช่การเกษตร 18,995.80 80,326.01 45,093.92
เพื่อใช้ทำการเกษตร 1,012.30 8,531.38 7,506.30
เพื่อใชใ้ นการศกึ ษา 5,147.70 20,168.42 9,988.94
เพอ่ื ใชซ้ อื้ /เช่าซ้ือบา้ นและท่ีดิน 1,851.99
อนื่ ๆ - 988.04 5,223.95
11,362.52
-
-
ทม่ี า : สำนกั งานสถติ ิแห่งชาติ
หมายเหตุ : หน้ีอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ หนีจ้ ากการคำ้ ประกนั บคุ คลอนื่ หนี้ค่าปรับหรือจ่ายชดเชยค่าเสียหายเป็นตน้
จากข้อมูลแสดงหน้ีสินเฉลี่ยต่อครัวเรือนจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืมของกลุ่มจังหวัด
พ.ศ.2558 ถึง ปี 2560 จากการเปรียบเทียบข้อมูล 3 ปีย้อนหลังหน้ีสินเฉล่ียต่อครัวเรือนในพื้นที่เขต
พ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัดนครราชสีมา มีแนวโน้มที่จะสูงข้ึนในทุกๆปี คือ จังหวัดนครราชสีมา
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า ในปี 2560 จังหวัดมหาสารคาม มีหน้ีสินเฉล่ียต่อครัวเรือน
จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืมสูงท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด โดยวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม 3 อันดับแรก
คอื 1. เพอ่ื ใชจ้ ่ายในครวั เรอื น 2. เพอ่ื ใช้ทำการเกษตร 3. เพอ่ื ใช้ซื้อ/เชา่ ซ้อื บ้านและทดี่ ิน
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จงั หวดั ในพ้ืนท่ีเขตรับผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[21]
2.12 ขอ้ มูลภาคเี ครือขา่ ย
ตารางที่ 2.17 แสดงจำนวนองคก์ รภาคีเครือข่าย
องคก์ ร จังหวดั จงั หวัด จังหวดั จงั หวดั จังหวดั จังหวดั รวม
ชัยภูมิ บรุ ีรมั ย์ สรุ นิ ทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร 420
นครราชสีมา 78
89 39 95 42 719
องค์กรสาธารณ ประโยชน์ตาม 77 114
139 104 191 79 230
พ .ร .บ .ส่ ง เส ริ ม ก า ร จั ด ส วั ส ดิ ก า ร 101 821
159 -- - -
สงั คม - - 239 87
องคก์ รสวัสดิการชมุ ชน ตาม 92
พ.ร.บ.ส่งเสริมการจดั สวัสดิการ
สังคม
กองทุนสวัสดกิ ารสงั คม 129
สภาเดก็ และเยาวชน 336
สภาองค์กรคนพิการ 7 19 - 31 - 8 65
สภาองคก์ รชุมชน - 172 - - - 87 259
ขอ้ มลู ศนู ย์บรกิ ารคนพิการท่ัวไป 44 114 - 28 63 36 285
ศนู ยพ์ ฒั นาคุณภาพชีวติ และส่งเสริม 69 24 - 39 37 23 192
อาชพี ของผู้สงู อายุ (ศพอส.)
ศูนย์พัฒ นาครอบครัวในชุมชน 200 142 184 - 201 69 796
(ศพค.)
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความ 4,323 8,484 9,220 - 24,507 3,968 50,502
มนั่ คงของมนุษย์ (อพม.)
โครงการบ้านมัน่ คง (พอช.) 44 โครงการ 205 167 157 120 100 749
4,445
ครวั เรอื น
โครงการบา้ นพอเพียง (พอช.) 230 - - - - - -
ครัวเรอื น
ข้อมลู คลงั ปัญญาผ้สู งู อายุ - 37 2,252 325 - 778 3,392
ทีม่ า : สำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวัด ข้อมลู ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2564
จากตารางท่ี 2.17 แสดงจำนวนองค์กรภาคีเครือข่ายในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.4 จังหวัด
นครราชสีมา ประกอบด้วย องค์กรสาธารณะประโยชน์ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
มีจำนวน 420 องค์กร องค์กรสวัสดิการชุมชน ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม มีจำนวน
719 องค์กร กองทุนสวัสดิการสังคม มีจำนวน 230 กองทุน สภาเด็กและเยาวชน มีจำนวน 821 แห่ง
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในพ้นื ทเ่ี ขตรับผิดชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[22]
สภาองคก์ รคนพิการ มจี ำนวน 65 แห่ง สภาองค์กรชมุ ชน มีจำนวน 259 แหง่ ข้อมูลศูนยบ์ ริการคนพกิ าร
ทั่วไป มีจำนวน 285 ศูนย์ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส) มีจำนวน
192 แห่ง ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) จำนวน 796 แห่ง อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ (อพม) มีจำนวน 50,502 คน โครงการบ้านม่ันคง (พอช.) มีจำนวน 749 ครัวเรือน
โครงการบ้านพอเพียง (พอช.) มีจำนวน 230 ครัวเรือน และข้อมูลคลังปัญญาผู้สูงอายุ มีจำนวน
3,392 คลงั ปญั ญา
2.13 ด้านสงั คมตามมติ คิ วามมนั่ คงของมนุษย์
2.13.1 ความมัน่ คงของมนุษย์ มิตทิ ีอ่ ยู่อาศยั
ตารางที่ 2.18 แสดงขอ้ มลู ความมนั่ คงของมนุษย์ มิตทิ ่ีอยอู่ าศัย จำแนกรายจงั หวดั ปี 2562
ตัวชี้วัด
จังหวดั ความหนาแนน่ ของประชากร อตั ราการถอื ครอง รอ้ ยละของท่อี ยู่อาศัย คา่ ดัชนีความ
ตอ่ พ้นื ท่ี 1 ตร.กม ท่ีอยอู่ าศัย ทมี่ ีสภาพคงทนถาวร ม่ันคงของมนุษย์
นครราชสมี า 129.13 85.19 99.12 71.87
ชยั ภมู ิ 89.12 92.56 97.73 69.55
บรุ รี มั ย์ 154.50 97.13 99.64 76.15
สรุ ินทร์ 172.06 92.35 99.53 74.58
ศรสี ะเกษ 166.63 95.62 99.84 75.27
ยโสธร 129.45 96.68 99.99 77.25
ที่มา รายงานความมัน่ คงของมนษุ ยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.18 การประเมินสถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์มิติท่ีอยู่อาศัย ปี 2562
เป็นการวัดจาก 3 ตัวช้ีวัด คือ ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ 1 ตร.กม. อัตราการถือครองท่ีอยู่
อาศัย และร้อยละของท่ีอยู่อาศัยท่ีมีสภาพคงทนถาวร พบวา่ ค่าดัชนีความมั่นคงของมนุษย์มิติที่อยู่อาศัย
จังหวัดที่มีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดยโสธร รองลงมาจังหวัดบุรีรัมย์ ศรีสะเกษ สุรินทร์ นครราชสีมา
สว่ นจังหวัดทีม่ ีคา่ ดัชนตี ่ำสุด คือ จงั หวัดชยั ภูมิ ตามลำดบั
แผนภูมิที่ 2.10 แสดงข้อมูลคา่ ดัชนีความมน่ั คงของมนษุ ย์ มิติที่อยอู่ าศัย จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในพื้นที่เขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[23]
2.13.2 ความมนั่ คงของมนษุ ยม์ ติ ิสขุ ภาพ
ตารางท่ี 2.19 แสดงข้อมลู ความม่ันคงของมนษุ ย์ มติ สิ ขุ ภาพ จำแนกรายจังหวัด ปี 2562
ตัวชีว้ ัด
จังหวัด อตั ราเตยี งต่อ อตั ราบคุ ลากร อตั ราผปู้ ่วยทาง อตั ราการเจ็บปว่ ย อัตราการเข้าถงึ ค่าดัชนีความ
ประชากร ทางการแพทย์ สขุ ภาพจิตตอ่ ดว้ ยโรคสำคัญ บริการของ ม่ันคงของ
นครราชสีมา 100,000 คน ตอ่ ประชากร ประชากร ผ้ปู ว่ ยต่อ มนษุ ย์
100,000 คน 100,000 คน 5 โรคต่อ ประชากร
189.99 ประชากร 100,000 คน 66.17
233.68 2,621.33 100,000 คน
73,441.52
5,519.99
ชัยภมู ิ 149.28 183.88 2,599.37 4,893.93 73,336.57 62.97
บุรีรัมย์ 168.42 198.45 2,388.69 4,957.96 73,574.07 66.19
สุรินทร์ 185.57 198.09 1,996.06 4,776.03 71,911.15 60.03
ศรสี ะเกษ 127.49 177.60 3,028.08 3,879.13 73,179.22 73.16
ยโสธร 144.79 205.85 2,777.46 6,501.60 72,086.34 73.86
ทมี่ า รายงานความม่นั คงของมนษุ ยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.19 สถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์มิติสุขภาพ ปี 2562 เป็นการวัดจาก 5
ตัวชี้วัด พบว่า ค่าดัชนีความม่ันคงของมนุษย์มิติสุขภาพ จังหวัดท่ีมีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดยโสธร
จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ ส่วนจังหวัดที่มีค่าดัชนีต่ำสุด คือ
จังหวัดสุรินทร์ ตามลำดบั
แผนภมู ิท่ี 2.11 แสดงข้อมูลค่าดชั นีความม่นั คงของมนุษย์ มติ สิ ขุ ภาพ จำแนกรายจังหวัด ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวัดในพน้ื ทเี่ ขตรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[24]
2.13.3 ความมั่นคงของมนุษย์มติ ิอาหาร
ตารางท่ี 2.20 แสดงขอ้ มูลความมั่นคงของมนุษย์ มิตอิ าหาร จำแนกรายจังหวดั ปี 2562
ตวั ช้วี ัด
จังหวัด ร้อยละของผู้ปว่ ยอาหาร รอ้ ยละของรา้ นอาหารและแผง รอ้ ยละของตลาดสด คา่ ดัชนีความ
เป็นพษิ ตอ่ ประชากร ลอยท่ไี ด้ CFGT น่าซ้ือ มนั่ คงของมนุษย์
100,000 คน (Clean Food Good Taste)
นครราชสมี า 185.98 68.66 48.39 49.17
ชยั ภมู ิ 168.21 83.94 100.00 73.86
บรุ รี ัมย์ 328.74 89.80 100.00 69.60
สรุ นิ ทร์ 197.14 80.39 63.64 60.03
ศรีสะเกษ 248.35 87.08 100.00 79.84
ยโสธร 137.07 88.53 95.24 75.38
ท่มี า รายงานความมน่ั คงของมนุษยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มิถุนายน 2564
จากตารางที่ 2.20 สถานการณ์ความม่ันคงของมนุษย์ มิติอาหาร ปี 2562 เป็นการวัดจาก
3 ตัวช้ีวัด คือ อัตราของผู้ป่วยอาหารเป็นพิษต่อประชากร 100,000 คน ร้อยละของร้านอาหารและแผง
ลอยที่ได้ CFGT (Clean Food Good Taste) และร้อยละของตลาดสดน่าซ้ือ พบว่า ค่าดัชนีความมั่นคง
ของมนุษย์มิติอาหารจังหวัดที่มีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดยโสธร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด
บุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ ส่วนจังหวัดท่ีมีค่าดัชนีความมั่นคงของมนุษย์มิติอาหารจังหวัดท่ีมีค่าดัชนีต่ำสุด
คือ จังหวัดนครราชสมี า ตามลำดับ
แผนภมู ิท่ี 2.12 แสดงขอ้ มลู ค่าดชั นีความมั่นคงของมนุษย์ มิตอิ าหาร จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสังคมกล่มุ จงั หวดั ในพน้ื ท่เี ขตรับผดิ ชอบของสำนักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[25]
2.13.4 ความมัน่ คงของมนษุ ย์มิตกิ ารศึกษา
ตารางท่ี 2.21 แสดงขอ้ มูลความมั่นคงของมนษุ ย์ มิตกิ ารศึกษา จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562
ตวั ชว้ี ัด
จงั หวดั อตั รานกั เรียนต่อหอ้ งเรียน อัตรานักเรียนตอ่ ครู อตั ราการมคี อมพวิ เตอร์ ค่าดชั นคี วาม
ต่อครัวเรอื น มน่ั คงของมนษุ ย์
นครราชสีมา 19.48 14.52 28.31 76.92
ชยั ภมู ิ 17.77 13.85 19.4831 76.34
บุรีรัมย์ 20.85 14.49 34.3806 78.14
สุรินทร์ 20.54 14.97 28.8065 74.66
ศรสี ะเกษ 18.41 13.86 14.9988 73.16
ยโสธร 15.59 13.51 13.2283 76.76
ที่มา รายงานความมนั่ คงของมนุษย์ประเทศไทย 2562 ณ 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารงที่ 2.21 สถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์มิติการศึกษา ปี 2562 เป็นการวัดจาก 3
ตัวช้ีวัด คือ อัตรานักเรียนต่อห้องเรียน อัตรานักเรียนต่อครู และอัตราการมีคอมพิวเตอร์ต่อครัวเรือน
พบว่า ค่าดังชีความมั่นคงของมนุษย์มิติการศึกษา จังหวัดที่มีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด
นครราชสีมา จังหวัดยโสธร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ส่วนจังหวัดท่ีมีค่าดัชนีต่ำสุด คือ จังหวัดศรีสะ
เกษ ตามลำดับ
แผนภูมิท่ี 2.13 แสดงข้อมลู คา่ ดชั นีความม่นั คงของมนุษย์ มิตกิ ารศกึ ษา จำแนกรายจงั หวดั ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวัดในพนื้ ทีเ่ ขตรับผิดชอบของสำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[26]
2.13.5 ความมน่ั คงของมนุษยม์ ิตกิ ารมงี านทำและรายได้
ตารางที่ 2.22 แสดงขอ้ มูลความมนั่ คงของมนุษย์ มติ ิการมงี านทำและรายได้ รายจังหวดั ปี 2562
ตัวช้วี ดั
จังหวดั อตั ราการ อตั ราการ รายได้เฉลี่ย รายไดเ้ ฉลย่ี ต่อ จำนวนหนีส้ นิ ค่าดชั นีความ
มงี านทำ วา่ งงาน ตอ่ ครัวเรอื น ครัวเรอื น เฉล่ียตอ่ ครัวเรือน มัน่ คงของมนุษย์
นครราชสมี า 96.92 1.65 24,428.92 18,195.67 223,238.94 60.26
ชัยภูมิ 97.44 0.36 25,543.60 15,591.56 194,195.09 72.31
บรุ ีรัมย์ 97.96 1.77 15,381.62 14,580.11 131,638.13 66.27
สรุ นิ ทร์ 96.89 1.09 18,188.90 18,208.86 251,796.15 57.41
ศรีสะเกษ 98.98 0.22 17,484.66 13,798.05 189,527.94 74.75
ยโสธร 97.90 0.62 16,752.27 12,748.09 121,376.78 73.86
ทีม่ า รายงานความมั่นคงของมนษุ ยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.22 สถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์มิติการมีงานทำและรายได้ ปี 2562 เป็น
การวัดจาก 5 ตัวชี้วัด คือ อัตราการมีงานทำ อัตราการว่างงาน รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน ค่าใช้จ่าย
เฉล่ียต่อครัวเรือน และจำนวนหนี้สินเฉล่ียต่อครัวเรือน พบว่า ค่าดัชนีความม่ันคงของมนุษย์มิตกิ ารมีงาน
ทำและรายได้ จังหวัดท่ีมีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวดั ยโสธร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์
จังหวัดนครราชสีมา สว่ นจังหวัดท่มี ีค่าดชั นีต่ำสดุ คอื จงั หวดั สุรินทร์ ตามลำดับ
แผนภูมิท่ี 2.14 แสดงข้อมูลค่าดัชนีความม่ันคงของมนุษย์ มิติการมีงานทำและรายได้ จำแนกรายจังหวัด
ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั ในพื้นทีเ่ ขตรับผิดชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[27]
2.13.6 ความมัน่ คงของมนษุ ย์มติ ิครอบครวั
ตารางที่ 2.23 แสดงข้อมลู ความม่นั คงของมนษุ ย์ มิตคิ รอบครวั จำแนกรายจังหวดั ปี 2562
ตวั ชว้ี ัด
จังหวดั อัตราการจดทะเบยี นหยา่ รอ้ ยละความเข้มแขง็ ความรนุ แรงในครอบครัว ค่าดชั นีความ
ตอ่ 1,000 ครวั เรือน ของครอบครัว ตอ่ 1,000 ครวั เรือน มั่นคงของมนุษย์
นครราชสีมา 6.91 85.63 0.04
ชัยภมู ิ 5.52 79.07 0.09 72.99
บุรรี ัมย์ 67.41
สุรินทร์ 5.62 85.98 0.03 74.96
ศรสี ะเกษ
ยโสธร 4.81 87.84 0.03 78.56
4.94 87.61 0.02 78.25
4.63 87.02 0.01 79.10
ที่มา รายงานความมนั่ คงของมนษุ ยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.23 สถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์มิติครอบครัว ปี 2562 เป็นการวัดจาก 3
ตัวชีว้ ัด คือ อัตราการจดทะเบยี นหย่าต่อ 1,000 ครัวเรือน ร้อยละความเข้มแข็งของครอบครัว และความ
รุนแรงในครอบครัวต่อ 1,000 ครัวเรือน พบว่า ค่าดัชนีความมั่นคงของมนุษย์มิติครอบครัว จังหวัดที่มีค่า
ดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดยโสธร จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดนครราชสีมา ส่วน
จงั หวัดที่มีค่าดัชนตี ่ำสุด คือ จงั หวัดชัยภูมิ ตามลำดับ
แผนภูมิที่ 2.15 แสดงข้อมูลค่าดัชนีความมน่ั คงของมนษุ ย์ มิตคิ รอบครวั จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุม่ จังหวดั ในพ้นื ท่เี ขตรับผิดชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[28]
2.13.7 ความม่นั คงของมนษุ ยม์ ติ ชิ ุมชนและการสนบั สนุนทางสงั คม
ตารางท่ี 2.24 แสดงขอ้ มูลความมน่ั คงของมนษุ ย์ มติ ิชมุ ชนและการสนับสนุนทางสังคม รายจังหวดั ปี 2562
ตัวชวี้ ดั
จงั หวัด อตั ราผทู้ ำประกันชีวติ อตั ราผูท้ ำ อัตราการฆา่ ตวั ตาย อตั ราผ้ถู ือกรมธรรม์ คา่ ดัชนีความ
ตอ่ ประชากร ประกันสังคมตอ่ และทำร้ายตนเอง ประกันอบุ ัตเิ หตุส่วน ม่นั คงของมนษุ ย์
นครราชสมี า กำลงั แรงงานรวม บคุ คลต่อประชากร
ชยั ภูมิ 26.14 ตอ่ ประชากร 69.82
บุรีรมั ย์ 25.79 28.90 100,000 คน 1.78 68.95
สุรนิ ทร์ 19.01 15.14 0.60 67.17
ศรสี ะเกษ 17.22 13.75 40.32 0.55 68.73
ยโสธร 22.24 19.13 32.49 0.42 66.15
25.43 13.36 41.38 0.56 69.54
30.12
13.74 52.75 0.59
25.62
ทีม่ า รายงานความมน่ั คงของมนษุ ยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มิถุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.24 สถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์มิติชุมชนและการสนับสนุนทางสังคม ปี
2562 เปน็ การวัดจาก 4 ตัวชี้วัด คือ อัตราผู้ทำประกันชีวิตต่อประชากร อัตราผู้ทำประกันสังคมตอ่ กำลัง
แรงงานรวม อัตราการฆ่าตัวตายและทำร้ายตนเองต่อประชากร 100,000 คน และอัตราผู้ถือกรมธรรม์
ประกันอุบัตเิ หตุส่วนบุคคลตอ่ ประชากร พบว่า ค่าดัชนีความมั่นคงของมนุษย์มิติชุมชนและการสนับสนุน
ทางสังคม จังหวัดท่ีมีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดยโสธร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดสุรินทร์
จังหวดั บุรรี มั ย์ สว่ นจังหวัดท่ีมีค่าดชั นตี ำ่ สดุ คือ จงั หวัดศรีสะเกษ ตามลำดบั
แผนภูมิที่ 2.16 แสดงขอ้ มลู ค่าดชั นีความม่ันคงของมนษุ ย์ มิตชิ ุมชนและการสนับสนนุ ทางสงั คม
จำแนกรายจงั หวดั ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดในพ้ืนทเ่ี ขตรับผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[29]
2.13.8 ความม่ันคงของมนุษยม์ ติ ศิ าสนาและวัฒนธรรม
ตารางท่ี 2.25 แสดงข้อมูลความมนั่ คงของมนษุ ย์ มติ ิศาสนาและวฒั นธรรม รายจังหวดั ปี 2562
ตวั ชวี้ ัด
จงั หวดั จำนวนศาสนสถานทุกประเภท คนอายุ 6 ปีขนึ้ ไปทกุ คนปฏิบตั ิ ค่าดชั นีความ
ต่อประชากร 100,000 คน กจิ กรรมทางศาสนาอย่างน้อย มั่นคงของมนุษย์
นครราชสมี า
ชยั ภูมิ 83.06 สปั ดาห์ละ 1 ครั้ง 72.14
95.80 99.69 74.18
99.79
บุรีรัมย์ 70.41 99.65 70.37
สุรินทร์ 69.03 99.87 71.29
ศรีสะเกษ 92.87 99.78 73.78
ยโสธร 125.85 99.88 78.11
ทมี่ า รายงานความม่ันคงของมนุษยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.25 สถานการณ์ความม่ันคงของมนุษยม์ ิติศาสนาและวฒั นธรรม ปี 2562 เป็นการ
วัดจาก 2 ตัวช้ีวัด คือ จำนวนศาสนสถานทุกประเภทต่อประชากร 100,000 คน และคนอายุ 6 ปีข้ึนไป
ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 คร้ัง พบว่า ค่าดัชนีความม่ันคงของมนุษย์มิติศาสนา
และวัฒนธรรม และจังหวัดท่ีมีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดยโสธร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด
นครราชสีมา จังหวัดสุรนิ ทร์ สว่ นจังหวดั ท่ีมคี ่าดชั นตี ่ำสดุ คอื จังหวัดบรุ รี ัมย์ ตามลำดับ
แผนภูมทิ ี่ 2.17 แสดงข้อมลู คา่ ดชั นีความม่ันคงของมนษุ ย์ มติ ศิ าสนาและวัฒนธรรม จำแนกรายจังหวัด ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในพ้ืนท่เี ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[30]
2.13.9 ความมน่ั คงของมนษุ ย์มิตคิ วามปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สนิ
ตารางท่ี 2.26 แสดงข้อมลู ความมั่นคงของมนษุ ย์ มิตคิ วามปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส์ ิน รายจงั หวัด ปี 2562
จังหวดั ตวั ชี้วัด
จำนวนฐานความผิดคดีอาญา 4 กลมุ่ อัตราการเสียชวี ิตด้วยอุบัตเิ หตุ ค่าดชั นีความมนั่ คง
ตอ่ ประชากร 100,000 คน ตอ่ ประชากร 100,000 คน ของมนุษย์
นครราชสมี า 61.52 16.853 76.26
ชยั ภูมิ 52.42 13.435 80.34
บรุ รี ัมย์ 68.03 4.013 86.12
สรุ นิ ทร์ 55.59 11.875 81.25
ศรีสะเกษ 68.30 13.781 78.08
ยโสธร 64.04 14.850 77.69
ทมี่ า รายงานความมั่นคงของมนษุ ยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มิถุนายน 2564
จากตารางที่ 2.26 การประเมินสถานการณ์ความม่ันคงของมนุษย์มิติความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน ปี 2562 เป็นการวัดจาก 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ จำนวนฐานความผิดคดีอาญา 4 กลุ่มต่อประชากร
100,000 คน และอัตราการเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุต่อประชากร 100,000 คน พบว่า ค่าดัชนีความม่ันคง
ของมนุษย์มิติความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จังหวัดท่ีมีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด
สุรินทร์ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดยโสธร ส่วนจังหวัดที่มีค่าดัชนีต่ำสุด คือ จังหวัด
นครราชสมี า ตามลำดับ
แผนภมู ทิ ่ี 2.18 แสดงข้อมูลค่าดัชนีความมน่ั คงของมนุษย์ มติ ศิ าสนาและวฒั นธรรม จำแนกรายจงั หวดั ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในพนื้ ที่เขตรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[31]
2.13.10 ความมัน่ คงของมนุษย์มติ ิสิทธแิ ละความเปน็ ธรรม
ตารางท่ี 2.27 แสดงข้อมูลความมั่นคงของมนษุ ย์ มติ สิ ิทธิและความเป็นธรรม รายจงั หวดั ปี 2562
ตัวช้ีวดั
จังหวดั จำนวนคดใี นศาล จำนวนเรือ่ งร้องเรยี นจาก รอ้ ยละของเร่ืองทไี่ ด้ ค่าดชั นีความ
ปกครองตอ่ ประชากร ประชาชนผา่ น ศูนย์บรกิ าร ข้อยุติตามขอ้ ร้องเรียน มน่ั คงของ
นครราชสีมา ประชาชนตอ่ ประชากร 100,000 มนุษย์
ชยั ภมู ิ 100,000 คน ผ่านศนู ย์บริการ
บรุ รี ัมย์ คน ประชาชน
สรุ ินทร์
ศรสี ะเกษ 16.44 52.75 85.32 69.39
ยโสธร
5.36 34.25 80.51 73.23
12.73 34.86 78.78 67.00
4.79 38.77 77.86 70.81
6.72 38.83 79.02 70.69
4.64 30.26 74.23 68.21
ทีม่ า รายงานความม่นั คงของมนษุ ยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มิถุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.27 การประเมินสถานการณ์ความม่ันคงของมนุษย์มิติสิทธิและความเป็นธรรม
ปี 2562 เป็นการวดั จาก 3 ตัวช้ีวัด ได้แก่ จำนวนคดีในศาลปกครองต่อประชากร 100,000 จำนวนเร่ือง
ร้องเรียนจากประชาชนผ่านศูนย์บริการประชาชนต่อประชากร 100,000 คน และร้อยละของเรื่องที่ได้
ข้อยุติตามข้อร้องเรียนผ่านศูนย์บริการประชาชน พบวา่ ค่าดัชนีความมั่นคงของมนุษย์มิติสิทธิและความ
เป็นธรรม จังหวัดท่ีมีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด
นครราชสมี า จังหวดั ยโสธร สว่ นจังหวัดท่มี ีคา่ ดชั นีตำ่ สดุ คือ จังหวัดบุรีรมั ย์ ตามลำดับ
แผนภูมทิ ี่ 2.19 แสดงขอ้ มลู คา่ ดชั นีความมั่นคงของมนษุ ย์ มติ สิ ิทธแิ ละความเปน็ ธรรม จำแนกรายจงั หวดั ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั ในพ้นื ทเี่ ขตรับผิดชอบของสำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[32]
2.13.11 ความมัน่ คงของมนุษยม์ ติ ิการเมือง
ตารางที่ 2.28 แสดงข้อมลู ความมนั่ คงของมนษุ ย์ มิติการเมอื ง จำแนกรายจังหวดั ปี 2562
ตวั ชวี้ ัด
จังหวดั อตั ราการมาใชส้ ิทธลิ งคะแนนเลือกตั้ง อตั ราการมาใช้สิทธอิ อกเสยี งประชามติ คา่ ดชั นีความ
ส.ส. เปน็ การทั่วไป รา่ งรัฐธรรมนูญ เมื่อ 7 ส.ค.2559 ม่นั คงของมนุษย์
นครราชสีมา 75.17 60.51 69.87
ชัยภมู ิ 71.26 56.22 59.61
บุรีรัมย์ 69.50 55.88 56.55
สรุ ินทร์ 68.85 54.95 54.27
ศรีสะเกษ 70.91 57.38 60.59
ยโสธร 71.14 57.03 60.48
ทม่ี า รายงานความมั่นคงของมนุษยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารางท่ี 2.28 สถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์มิติการเมือง ปี 2562 เป็นการวัดจาก 2
ตวั ชี้วัด ได้แก่ อัตราการมาใชส้ ิทธิลงคะแนนเลอื กตั้ง ส.ส.เปน็ การทั่วไป และอัตราการมาใชส้ ิทธิออกเสียง
ประชามติร่างรัฐธรรมนูญ เม่ือ 7 ส.ค.2559 พบว่า ค่าดัชนีความม่ันคงของมนุษย์มิตกิ ารเมือง จังหวัดที่มี
คา่ ดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดศรีสะเกษ จงั หวัดยโสธร จังหวัดชัยภมู ิ จังหวัดบุรีรัมย์ ส่วน
จังหวัดทม่ี ีค่าดัชนตี ่ำสดุ คือ จังหวัดสุรินทร์ ตามลำดับ
แผนภมู ิที่ 2.20 แสดงข้อมลู ค่าดชั นีความมั่นคงของมนุษย์ มติ กิ ารเมอื ง จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวดั ในพื้นท่ีเขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[33]
2.13.12 ความมน่ั คงของมนษุ ย์มติ ิสง่ิ แวดล้อม ทรัพยากร/พลังงาน
ตารางท่ี 2.29 แสดงขอ้ มลู ความมั่นคงของมนษุ ย์ มติ สิ ิ่งแวดล้อม ทรัพยากร/พลังงาน รายจังหวดั ปี 2562
ตัวชวี้ ดั
จังหวดั ร้อยละของ อัตราการผลติ ตดิ ตง้ั อัตราปริมาณการ อัตราปญั หามลพิษ อตั ราปรมิ าณ คา่ ดัชนคี วาม
พน้ื ท่ีป่าต่อ ไฟฟ้าจากพลงั งาน จำหนา่ ยน้ำมัน ที่ได้รับการ ขยะมูลฝอย มั่นคงของมนษุ ย์
พื้นทจ่ี ังหวัด รอ้ งเรียน (ตันต่อวัน)
ทดแทนต่อ เช้อื เพลิง ต่อประชากร ตอ่ 1,000
1,000 ครัวเรอื น ตอ่ 1,000 ครัวเรอื น 100,000 คน ครัวเรอื น
นครราชสีมา 15.34 1.42 1,665.93 0.79 3.24 73.40
ชัยภูมิ 31.21 1.12 751.45 0.09 3.66 77.10
บรุ รี ัมย์ 8.78 0.41 1,261.99 0.69 4.51 64.60
สรุ ินทร์ 8.41 0.30 809.73 0.21 3.82 69.83
ศรสี ะเกษ 11.47 0.09 817.88 0.41 4.53 65.90
ยโสธร 8.73 0.00 675.81 0.37 3.36 71.05
ทม่ี า : รายงานความมน่ั คงของมนษุ ยป์ ระเทศไทย 2562 ณ 30 มิถุนายน 2564
จากตารางที่ 2.29 การประเมินสถานการณ์ความม่ันคงของมนุษย์มิติส่ิงแวดล้อม ทรัพยากร/
พลังงาน ปี 2562 เป็นการวัดจาก 5 ตัวช้ีวัด ได้แก่ ร้อยละของพื้นท่ีป่าต่อพื้นท่ีจังหวัด อัตราการผลิต
ติดต้ังไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนต่อ 1,000 ครัวเรือน อัตราปริมาณการจำหน่ายนำ้ มนั เชื้อเพลงิ ต่อ 1,000
ครัวเรือน อัตราปัญหามลพิษ ท่ีได้รับการร้องเรียนต่อประชากร 100,000 คน และอัตราปริมาณขยะมูล
ฝอย (ตันต่อวัน) ต่อ 1,000 ครัวเรือน พบว่า ค่าดัชนีความม่ันคงของมนุษย์มิติส่ิงแวดล้อม ทรัพยากร/
พลังงาน จังหวัดที่มีค่าดัชนีสูงสุด คือ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดยโสธร จังหวัดสุรินทร์
จังหวัดศรสี ะเกษ สว่ นจังหวดั ที่มคี ่าดชั นตี ่ำสุด คือ จังหวดั บุรรี มั ย์ ตามลำดบั
แผนภมู ทิ ่ี 2.21 แสดงข้อมลู คา่ ดชั นคี วามมนั่ คงของมนุษย์ มิตสิ ่ิงแวดล้อมทรพั ยากร/พลงั งานจำแนกรายจังหวัดปี 2562
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จงั หวัดในพน้ื ท่ีเขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
สว่ นที่ 3
สถานการณ์กลมุ่ เป้าหมายทางสังคมระดับกลุ่มจงั หวัด
3.1 กลมุ่ เดก็ (อายตุ ำ่ กว่า 18 ปี บริบูรณ)์
ตารางท่ี 3.1 แสดงสถานการณเ์ ดก็ จำแนกตามจังหวดั
(1) (2) (3) (4) (หนว่ ย:คน)
เดก็ ท่ีไดร้ บั **เด็กทีม่ ี เดก็ ท่ถี ูกทารุณ เดก็ ทอ่ี ยู่ (5)
เดก็ ที่
เงนิ อดุ หนนุ พฤตกิ รรม กรรมทาง ในครอบ ตง้ั ครรภ์
กอ่ นวยั อนั
จังหวัด จำนวน เพื่อการเลย้ี ง ไมเ่ หมาะสม ร่างกายจติ ใจ ครวั เลี้ยง ควรและไม่
พรอ้ มใน
ดเู ด็กแรกเกิด และทางเพศที่ เดีย่ ว การเลี้ยงดู
มีการดำเนินคดี 4
394
นครราชสมี า 91,652 88,331 81 23 3,213 1
ชัยภมู ิ 43,539 41,501 140 7 1,497 685
บรุ รี มั ย์ 68,474 65,636 132 8 2,697 951
สรุ ินทร์ 60,030 57,855 19 17 1,454 4
ศรีสะเกษ 11,024 5,855 2,775 40 1,403 2,039
ยโสธร 12,906 12,256 239 14 393
รวม 287,625 271,434 3,386 109 10,657
ทีม่ า : สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจ์ งั หวัดในเขตพ้ืนทข่ี อง สสว.4 ขอ้ มูล วันท่ี 30 มิถุนายน 2564
จากตารางที่ 3.1 สถานการณ์เด็ก ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 4 โดยภาพรวม เด็กท่ีได้รับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด จำนวนรวม 271,434 คน เด็กท่ีมี
พฤติกรรมไม่เหมาะสม จำนวนรวม 3,386 คน เด็กท่ีถูกทารุณกรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศที่มีการ
ดำเนินคดี จำนวนรวม 109 เดก็ ท่ีอยู่ในครอบครัวเลี้ยงเดีย่ ว จำนวนรวม 10,657 คน และเด็กท่ีตงั้ ครรภ์ก่อน
และไม่พร้อมในการเล้ียงดู เมื่อพิจารณารายดา้ นพบว่า ดา้ นเด็กที่ได้รับเงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด
พบว่าจังหวัดนครราชสีมามีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 88,331 บาท และจังหวัดศรีสะเกษ มีจำนวนน้อยที่สุด
จำนวน 5,855 บาท ด้านเด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมพบว่า จังหวัดศรีสะเกษเป็นจังหวดั ท่ีมีจำนวนเด็กที่มี
พฤตกิ รรมไม่เหมาะสมสูงทสี่ ดุ จำนวน 2,775 คน และจังหวดั สรุ นิ ทร์มีจำนวนน้อยทีส่ ดุ ตามลำดบั
[35]
แผนภมู ทิ ี่ 3.1 แสดงสถานการณเ์ ดก็ (อายตุ ำ่ กว่า 18 ปีบรบิ ูรณ)์ จำแนกตามจงั หวัด
3.2 กลมุ่ เยาวชน (อายุ 18-25 ปี)
ตารางที่ 3.2 แสดงสถานการณเ์ ยาวชน จำแนกตามจงั หวัด
(หนว่ ย:คน)
จงั หวดั จำนวน (1) (2)
**เยาวชนท่ีมพี ฤตกิ รรม เยาวชนท่ีถกู ทารุณกรรม
นครราชสมี า 15 ทางร่างกายจติ ใจและทางเพศ
ชยั ภูมิ 28 ไม่เหมาะสม
บุรีรมั ย์ 137 10 5
สุรินทร์ 194 17 11
10 5
173 21
ศรีสะเกษ 1,515 1,502 13
ยโสธร 96 89 7
รวม 1,985 1,801 62
ทม่ี า : สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวัดในเขตพื้นที่ของ สสว.4 ขอ้ มลู วนั ที่ 30 มถิ ุนายน 2564
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวัด ในพ้ืนท่เี ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[36]
จากตารางท่ี 3.2 สถานการณ์เยาวชน ที่อยู่ในพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 4 โดยภาพรวม เยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม จำนวนรวม 1,801 คน เยาวชนที่ถูก
ทารณุ กรรมทางรา่ งกายจติ ใจและทางเพศ จำนวน 60 คน เมื่อพจิ ารณารายด้านพบว่า ดา้ นเยาวชนทีม่ พี ฤติกรรม
ไมเ่ หมาะสม จงั หวัดศรีสะเกษมีจำนวนมากทสี่ ุด จำนวน 1,502 คน และจังหวดั นครราชสมี าและจงั หวดั บรุ รี ัมยม์ ี
จำนวนน้อยที่สุด จำนวน 10 รายในสัดส่วนท่ีเท่ากัน ด้านเยาวชนท่ีถูก ทารุณกรรมทางร่างกายจิตใจและทาง
เพศ พบว่า จังหวัดสุรินทร์มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 21 คน และจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดสุรินทร์มี
จำนวนนอ้ ยที่สุดในสัดส่วนท่ีเท่ากัน จำนวน 5 คน ตามลำดบั
แผนภมู ิท่ี 3.2 แสดงสถานการณเ์ ยาวชน จำแนกตามจังหวดั
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[37]
3.3 กลุ่มสตรี (หญิงที่มอี ายุ 25 ปี - 59 ป)ี
ตารางท่ี 3.3 แสดงสถานการณก์ ลุม่ สตรี จำแนกตามจงั หวัด
(1) (2) (3) (หน่วย:คน)
แม่เลีย้ งเดยี่ ว
สตรีทีถ่ กู ละเมดิ สตรที ่ถี ูกทําราย ฐานะยากจนท่ี (4)
ตองเลย้ี งดบู ตุ ร สตรที ่ีถกู เลกิ
จังหวัด จำนวน ทางเพศ รางกายจติ ใจ เพยี งลําพงั จา้ ง/ตกงาน
นครราชสมี า 12,178 5 5 3,213 8,955
ชัยภูมิ 289,085 0 0 1,497 180
บุรีรมั ย์ 13,457 0 20 1,698 11,739
สรุ นิ ทร์ 2,363 1 90 2,272
ศรีสะเกษ 2,117 217 426 - 1,223
ยโสธร 1,494 13 7 251 941
รวม 533 25,310
320,694 236 548
7,192
ทม่ี า : สำนักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดในเขตพ้ืนที่ของ สสว.4 ข้อมูล วันที่ 30 มิถุนายน 2564
จากตารางท่ี 3.3 สถานการณ์กลุ่มสตรี ท่ีอยู่ในพื้นท่ีความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 4 โดยภาพรวม สตรีท่ีถูกละเมิดทางเพศ จำนวนรวม 236 คน สตรีท่ีถูกทำร้ายร่างกายจิตใจ
จำนวนรวม 548 คน แม่เลยี้ งเดี่ยวฐานะยากจนท่ีต้องเลยี้ งดูบุตรเพยี งลำพัง จำนวนรวม 7,192 คน และสตรีท่ถี ูก
ยกเลิกจ้าง/ตกงาน จำนวนรวม 25,310 คน เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า ด้านสตรีที่ถูกละเมิดทางเพศ จังหวัด
ศรีสะเกษ มีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 217 คน จังหวัดชัยภูมิและจังหวัดบุรีรัมย์มีจำนวนน้อยท่ีสุดในสัดส่วน
ที่เท่ากัน ด้านสตรีที่ถูกทำร้ายร่างกายและจิตใจ จังหวัดศรีสะเกษมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 426 คน
และจังหวัดชัยภูมิมีจำนวนน้อยท่ีสุด ด้านแม่เล้ียงเด่ียวฐานะยากจนที่ต้องเลี้ยงดูบุตรเพียงลำพัง จังหวัด
นครราชสีมามีจำนวนมากที่สุด จำนวน 3,213 คน และจังหวัดสุรินทร์มีจำนวนน้อยที่สุด และด้านสตรีท่ีถูก
ยกเลิกจ้าง/ตกงาน จงั หวัดบุรรี ัมย์มีจำนวนมากท่สี ุด จำนวน 11,739 คน และจงั หวดั ชัยภูมิมีจำนวนน้อยที่สุด
จำนวน 180 คน ตามลำดบั
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั ในพื้นท่เี ขตรบั ผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4 ประจำปี 2564
[38]
แผนภูมทิ ี่ 3.3 แสดงสถานการณ์กล่มุ สตรี จำแนกตามจังหวัด
3.4 กล่มุ ครอบครัว
ตารางที่ 3.4 แสดงสถานการณก์ ล่มุ ครอบครวั จำแนกตามจังหวัด
(หนว่ ย:ครอบครวั )
(1) (2) (3) (4)
จังหวัด จำนวน ครอบครวั ครอบครวั ท่ีมคี นใน ครอบครัว ครอบครัว
หยา่ ร้าง ครอบครัวกระทาํ ความ แหวง่ กลาง ยากจน
รุนแรงตอ่ กัน
นครราชสีมา 38,909 4,439 13 - 34,457
ชัยภูมิ 400,583 1,524 29 28,860 18,018
บุรีรมั ย์ 30,101 1,935 27 5,908 22,230
สุรนิ ทร์ 14,188 3,134 112 750 10,192
ศรีสะเกษ 40,255 1,599 22 16,544 22,090
ยโสธร 175,666 683 13 395 3,212
รวม 699,702 13,314 216 52,457 110,199
ทม่ี า : สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัดในเขตพื้นทข่ี อง สสว.4 ข้อมูล วนั ท่ี 30 มิถนุ ายน 2564
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จงั หวัด ในพ้นื ที่เขตรบั ผดิ ชอบของสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[39]
จากตารางที่ 3.4 สถานการณ์กลุ่มครอบครัว ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีความรบั ผิดชอบของสานักงานสง่ เสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 4 โดยภาพรวม ครอบครัวหย่าร้าง จำนวนรวม 13,314 คน ครอบครัวท่ีมีคนในครอบครัว
กระทําความรุนแรงต่อกัน จำนวนรวม 216 คน ครอบครัวแหว่งกลาง จำนวนรวม 52,457 คน และครอบครัว
ยากจน จำนวนรวม 110,199 คน เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า ด้านครอบครัวหย่าร้าง จังหวัดนครราชสีมา
มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 4,439 คน และจังหวัดยโสธรมีจำนวนน้อยท่ีสุด จำนวน 683 คน ด้านครอบครัวที่มี
คนในครอบครัวกระทําความรุนแรงต่อกัน จังหวัดสุรินทร์มีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 112 คน และจังหวัด
นครราชสีมาและจังหวัดยโสธรมีจำนวนน้อยที่สุดในสัดส่วนท่ีเท่ากัน จำนวน 13 คน ครอบครัวแหว่งกลาง
จังหวัดชัยภูมิมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 28,860 คน และจังหวัดยโสธรมีจำนวนน้อยท่ีสุด จำนวน 395 คน
ด้านครอบครัวจังหวัดนครราชสีมามีจำนวนมากที่สุด จำนวน 34,457 คน และจังหวัดยโสธรมีจำนวนน้อย
ทสี่ ดุ จำนวน 3,212 คน ตามลำดับ
แผนภมู ทิ ่ี 3.4 แสดงสถานการณก์ ลมุ่ ครอบครวั จำแนกตามจังหวัด
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัด ในพ้ืนท่ีเขตรับผิดชอบของสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564