[40]
3.5 กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป)
ตารางที่ 3.5 แสดงสถานการณ์ผูส้ ูงอายุ จำแนกตามจงั หวัด
(1) (2) (3) (4) (5) (หน่วย:คน)
ผูส้ ูงอายทุ ่ี ผู้สงู อายุ
ผู้สูงอายทุ ่ี ผสู้ งู อายุ ผู้สูงอายุ ต้องดำรง (6)
ชพี ด้วย ที่ถูก ผู้สงู อายุที่
ไดรับเบย้ี ที่ยงั ไม่ไดร้ บั ช่วยเหลอื การเร่รอ่ น กระทาํ รับภาระ
ขอทาน ความ ดูแลบุคคลใน
ยังชพี เบีย้ ยังชีพ ตวั เองไมได/้ รุนแรง ครอบครวั
11 ทางราง เช่น คน
จังหวดั จำนวน ไมมีคนดแู ล/ 1 กายหรอื พิการ ผูป้ ่วย
ไมมรี ายได/ 3 จติ ใจ เรือ้ รงั บตุ ร
2 หลาน และ
ผู้ป่วยเรอ้ื รงั 27 1 จิตเวช
2 2
ติดบ้าน 46 10 -
-
ติตเตียง - -
-
นครราชสมี า 450,665 440,653 10,000 - 4,116
ชัยภูมิ 211,898 197,471 14,427 5,080 13
บุรีรมั ย์ 247,928 232,079 10,023 1,697 -
สุรินทร์ 243,394 212,335 24,938 6,119
ศรสี ะเกษ 256,410 222,078 24,762 998 8,545
ยโสธร 48,986 48,060 924
รวม 1,459,281 1,352,676 - -
14,818
84,150 12,661
ท่มี า : สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ งั หวดั ในเขตพน้ื ที่ของ สสว.4 ข้อมลู วันท่ี 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารางที่ 3.5 สถานการณ์ผู้สูงอายุ ที่อยู่ในพื้นท่ีความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 4 โดยภาพรวม ผู้สูงอายุท่ีได้รับเบ้ียยังชีพ จำนวนรวม 1,352,676 คน ผู้สูงอายุท่ียังไม่ได้รับ
เบ้ียยังชีพ จำนวนรวม 84,150 คน ผู้สูงอายุช่วยเหลือตัวเองไม่ได้/ไม่มีคนดูแล/ไม่มีรายได/้ ผู้ป่วยเร้ือรังติดบ้าน
ติดเตยี ง จำนวนรวม 14,818 คน ผู้สูงอายุที่ต้องดำรงชีพด้วยการเร่ร่อน ขอทาน จำนวนรวม 46 คน ผู้สูงอายุที่
ถกู กระทำความรนุ แรงทางรา่ งกายหรอื จิตใจ จำนวนรวม 13 คน และผู้สูงอายุที่รบั ภาระดูแลบคุ คลในครอบครัว
เช่น คนพิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง บุตรหลาน และจิตเวช จำนวนรวม 12,661 คน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า
ด้านผู้สูงอายุที่ได้รับเบ้ียยังชีพ จังหวัดนครราชสีมามีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 440,653 คน จังหวัดยโสธรมี
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั ในพ้ืนท่เี ขตรับผิดชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[41]
จำนวนน้อยที่สุด จำนวน 48,060 คน ผู้สูงอายุที่ยังไม่ได้รับเบ้ียยังชีพ จังหวัดสุรินทร์มีจำนวนมากที่สุด จำนวน
24,938 คน ผูส้ ูงอายุชว่ ยเหลือตวั เองไม่ได้/ไม่มีคนดูแล/ไม่มรี ายได/้ ผ้ปู ่วยเรื้อรังติดบ้าน ตดิ เตยี ง จังหวดั สุรนิ ทร์
มีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 6,119 คน จัวหวัดยโสธรมีจำนวนน้อยท่ีสุด จำนวน 924 คน ผู้สูงอายุท่ีต้องดำรงชีพ
ด้วยการเร่ร่อน ขอทาน จังหวัดศรีสะเกษมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 27 คน จังหวัดชัยภูมิมีจำนวนน้อยท่ีสุด
จำนวน 1 คน ผู้สูงอายุท่ีถูกกระทำความรุนแรงทางร่างกายหรือจิตใจ จังหวัดบุรีรัมย์มีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน
10 คน จังหวดั สุรินทร์ ศรีสะเกษ และยโสธร มีจำนวนน้อยที่สุด ผู้สูงอายุท่ีรบั ภาระดแู ลบคุ คลในครอบครัว เช่น
คนพกิ าร ผปู้ ว่ ยเรอ้ื รัง บุตรหลาน และจิตเวช จังหวดั ศรสี ะเกษมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 8,545 คน และจังหวัด
นครราชสีมา ชยั ภมู ิ สุรนิ ทร์ ยโสธร มีจำนวนน้อยท่สี ดุ ตามลำดบั
แผนภูมิ 3.5 แสดงสถานการณก์ ลุ่มครอบครัว จำแนกตามจังหวัด
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จงั หวัด ในพื้นทเี่ ขตรบั ผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[42]
3.6 กลุ่มคนพกิ าร
ตารางที่ 3.6.1 แสดงสถานการณค์ นพกิ าร จำแนกตามจังหวัด
จังหวดั จำนวน คนพกิ ารที่มี คนพิการท่ีได คนพิการที่ไม่ คนพกิ ารมี (หน่วย:คน)
บตั รประจำตัว รับเบี้ยยังชพี ไดรบั เบี้ย ความ
ยงั ชพี ตอ้ งการ คนพกิ ารทอ่ี ยู่
คนพกิ าร คนเดียวตาม
กายอปุ กรณ์ ลำพัง/ไม่มี
นครราชสมี า 180,154 90,062 90,000 62 ผู้ดูแล/ถกู
ชยั ภมู ิ 173,609 86,792 59,975 26,817 30
บรุ ีรัมย์ 145,073 72,321 72,321 25 ทอดทงิ้
สรุ นิ ทร์ 128,714 64,178 64,339 - 56 -
ศรีสะเกษ 120,210 60,103 58,404 159 38 -
ยโสธร 64,356 21,449 21,449 1,688 15 375
รวม 812,116 21,449 9 -
394,905 366,488 -
50,175 173 -
375
ที่มา : สำนักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวดั ในเขตพ้นื ท่ขี อง สสว.4 ขอ้ มูล วนั ที่ 30 มถิ ุนายน 2564
จากตารางที่ 3.6.1 สถานการณ์คนพิการ ท่ีอยู่ในพ้ืนที่ความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 4 โดยภาพรวม คนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการ จำนวนรวม 394,905 คน คนพิการท่ี
ได้รับเบ้ียยังชีพ จำนวนรวม 366,488 คน คนพิการที่ไม่ได้รับเบี้ยยังชีพ จำนวนรวม 50,175 คน คนพิการ
มีความต้องการกายอปุ กรณ์ จำนวนรวม 173 คน และคนพิการท่อี ย่คู นเดยี วตามลำพัง/ไม่มีผูด้ ูแล/ถกู ทอดทิง้
จำนวนรวม 375 คน เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า คนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการ จังหวัดนครราชสีมามี
จำนวนมากที่สุด จำนวน 90,062 คน จังหวัดยโสธรมีจำนวนน้อยที่สุด จำนวน 21,449 คน คนพิการที่ได้รับ
เบ้ียยังชีพจังหวัดนครราชสีมามีจำนวนมากที่สุด จำนวน 90,000 บาท จังหวัดยโสธรมีจำนวนน้อยท่ีสุด
จำนวน 21,449 คน คนพิการท่ีไม่ได้รับเบ้ียยงั ชีพ จังหวัดชยั ภมู ิมจี ำนวนมากที่สุด จำนวน 26,817 คน จังหวัด
นครราชสีมา มจี ำนวนน้อยท่สี ุด จำนวน 62 คน คนพิการมคี วามตอ้ งการกายอุปกรณ์ จงั หวัดบุรีรมั ย์มีจำนวน
มากท่ีสุด จำนวน 56 คน จังหวัดยโสธรมีจำนวนน้อยที่สุด จำนวน 9 คน และคนพิการที่อยู่คนเดียวตาม
ลำพงั /ไม่มผี ูด้ แู ล/ถกู ทอดท้งิ จงั หวัดบรุ รี ัมย์มจี ำนวนมากท่ีสดุ จำนวน 375 คน ตามลำดับ
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในพนื้ ทีเ่ ขตรับผดิ ชอบของสำนักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[43]
แผนภูมิท่ี 3.6.1 แสดงสถานการณค์ นพิการ
ตารางที่ 3.6.2 แสดงจำนวนคนพิการจำแนกตามสาเหตุความพกิ าร แยกรายจังหวดั
(หนว่ ย:คน)
สาเหตุความพกิ าร
จังหวัด พนั ธุกรรม โรคติดเชือ้ อบุ ตั ิเหตุ โรคอื่น ๆ ไม่ทราบ มากกวา่ รวม
สาเหตุ 1 สาเหตุ
นครราชสีมา - - -- - --
ชัยภูมิ - - - - - - -
บุรีรมั ย์ 7 18 101 180 354 440 1,100
สรุ นิ ทร์ 194 412 2,962 77 45,891 14,651 64,187
ศรสี ะเกษ - - -- - --
ยโสธร 60 463 1,351 3,860 125 7,870 13,729
รวม 261 893 4,414 4,117 46,370 22,961 79,016
ทีม่ า : สำนกั งานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั ในเขตพนื้ ทขี่ อง สสว.4 ข้อมลู วันที่ 30 มถิ ุนายน 2564
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในพื้นท่เี ขตรบั ผิดชอบของสำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[44]
จากตารางที่ 3.6.2 สถานการณ์คนพิการ ที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 4 โดยภาพรวม สาเหตุความพิการทางพันธุกรรม จำนวนรวม 261 คน โรคติดเชื้อ จำนวน
รวม 893 คน อุบัติเหตุ จำนวนรวม 4,414 คน โรคอืน่ ๆ จำนวนรวม 4,117 คน ไม่ทราบสาเหตุ จำนวนรวม
46,370 คน และมากกวา่ 1 สาเหตุ จำนวนรวม 22,961 คน เม่ือพิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า ทางพันธกุ รรม
จังหวดั สุรนิ ทร์มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 194 คน โรคติดเชื้อ จังหวดั ยโสธรมีจำนวนมากท่สี ุด จำนวน 463 คน
อุบัติเหตุ จังหวัดสุรินทร์มีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 2,962 คน โรคอ่ืนๆ จังหวัดยโสธรมีจำนวนมากท่ีสุด
จำนวน 3,860 คน ไม่ทราบสาเหตุ จังหวัดสุรินทร์มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 45,891 คน และมากกว่า
1 สาเหตุ จังหวัดสุรินทรม์ จี ำนวนมากทสี่ ดุ จำนวน 64,187 คน ตามลำดบั
แผนภูมิที่ 3.6.2 แสดงสถานการณค์ นพกิ าร
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวดั ในพ้นื ทเ่ี ขตรบั ผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[45]
3.7 กลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาส
ตารางที่ 3.7 แสดงสถานการณก์ ลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาส จำแนกตามจงั หวัด
(หนว่ ย:คน)
จังหวดั คนไร้ท่ีพ่งึ ผทู้ ำการ ผแู้ สดง กล่มุ ชาตพิ ันธ์ุ/ ผูต้ ิดยาเสพตดิ ผู้ตดิ เช้ือ
ขอทาน ความสามารถ ชนกลุ่มนอ้ ย HIV
นครราชสีมา 152 9 16 - 682 157
ชยั ภมู ิ 58 1 69 3,100 381 59
บุรรี ัมย์ 24 - 64 - --
สุรินทร์ 7 9 36 6 - 6,815
ศรีสะเกษ 226 46 59 291,716 6,656 12,137
ยโสธร 65 5 17 - 1,414 88
รวม 532 70 261 294,822 9,133 19,256
ท่มี า : สำนักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั ในเขตพืน้ ที่ของ สสว.4 ขอ้ มูล วันท่ี 30 มถิ นุ ายน 2564
จากตารางท่ี 3.7 สถานการณ์กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ที่อยู่ในพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 4 โดยภาพรวม คนไร้ที่พ่ึง จำนวนรวม 532 คน ผู้ทำการขอทาน จำนวนรวม 70 คน
ผู้แสดงความสามารถ จำนวนรวม 261 คน กลุ่มชาติพันธ์ุ/ชนกลุ่มน้อย จำนวนรวม 294,822 คน
ผู้ติดยาเสพติด จำนวนรวม 9,113 คน และผู้ติดเชื้อ HIV จำนวนรวม 19,256 คน เมื่อพิจารณารายด้าน
พบว่า คนไร้ท่ีพ่ึง จังหวัดศรีสะเกษมีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 226 คน จังหวัดสุรินทร์มีจำนวนน้อยท่ีสุด
จำนวน 7 คน ผู้ทำการขอทาน จังหวัดศรีสะเกษมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 46 คน จังหวัดบุรีรัมย์มีจำนวน
นอ้ ยที่สุด ผู้แสดงความสามารถ จังหวัดชัยภูมิมีจำนวนมากท่ีสดุ จำนวน 69 คน จงั หวัดนครราชสมี ามีจำนวน
นอ้ ยที่สุด จำนวน 16 คน กล่มุ ชาตพิ นั ธ/์ุ ชนกลุ่มน้อย จังหัวดศรีสะเกษมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 291,716 คน
ผู้ติดยาเสพติด จังหวัดศรีสะเกษมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 6,656 คน และผู้ติดเช้ือ HIV จังหวัดศรีสะเกษ
มจี ำนวนมากทสี่ ดุ จำนวน 12,137 คน ตามลำดบั
รายงานสถานการณท์ างสังคมกล่มุ จงั หวัด ในพน้ื ทเ่ี ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ประจำปี 2564
[46]
แผนภมู ิท่ี 3.7 แสดงสถานการณก์ ลุ่มผดู้ อ้ ยโอกาส
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั ในพ้ืนทเี่ ขตรบั ผิดชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
ส่วนท่ี 4
สถานการณเ์ ชงิ ประเดน็ ทางสงั คมในระดับกลุม่ จงั หวัด
4.1 สถานการณก์ ารคา้ มนุษย์
จังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ได้แก่ จังหวัด
นครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จงั หวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร ซึ่งเป็นจังหวัด
ที่มีพื้นที่ที่ติดชายแดนประกอบด้วย จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดศรีสะเกษ แต่สถานการณ์การค้ามนุษย์และ
ค้าประเวณีของทั้ง 2 จังหวัด อยู่ในระดับปกติ สถานะและเส้นทางการค้ามนุษย์ มี 2 สถานะ คือ เป็นต้นทาง
และปลายทาง รูปแบบการค้ามนุษย์ที่เกิดขึ้นมีเพียงรูปแบบเดียว ในปี 2563 คือการนำเด็กมาแสวงหา
ประโยชน์โดยมิชอบจากการค้าประเวณี ซึ่งทัง้ ผู้เสียหายและผูก้ ระทำผิดเป็นเด็กวัยรุ่น และปัจจัยท่ผี ลักดันให้
เกิดปัญหาการค้ามนุษย์ได้แก่ ปัญหาเศรษฐกิจ และปัญหาครอบครัว และในปี 2564 ยังไม่พบเรื่องการค้า
มนุษย์และการค้าประเวณี การดำเนินงานจึงมุ่งเน้นการดำเนินงานด้านป้องกัน ด้วยกลไกคณะอนุกรรมการ
ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์จังหวัด โดยเน้นความรว่ มมอื จากทุกภาคสว่ น
การดำเนินงานในความรับผิดชอบในประเด็นป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของหน่วยงานที่
ผ่านมาได้นำกรอบทิศทางของนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 – 2564)
เป็นแผนในการขับเคลื่อน ได้แก่ นโยบายที่ 5 : สร้างเสริมศักยภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคาม
ข้ามชาติ นโยบายที่ 8 : เสริมสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันความมั่นคงภายในและแผนที่ 9) การป้องกัน
และแก้ไขปัญหาการคา้ มนุษย์มาใช้ในการขับเคล่ือนสกู่ ารปฏิบตั ิ
4.2 ความรนุ แรงในครอบครัว
ตารางท่ี 4.1 แสดงจำนวนความรนุ แรงในครอบครัว ปี 2562-2564
จงั หวัด ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
นครราชสีมา 34 19 0
ชัยภมู ิ 51 45 48
บุรีรัมย์ 3 0 0
สรุ นิ ทร์ 42 37 12
ศรีสะเกษ 32 55 25
ยโสธร 20 19 3
[48]
แผนภมู ิท่ี 4.1 แสดงจำนวนความรุนแรงในครอบครัว ปี 2562-2564
จากตารางที่ 4.2 สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว ปี 2562-2564 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 พบว่า ในปี พ.ศ. 2563 ความรุนแรงในครอบครัวมีอัตราที่เพิ่มข้ึน
เป็นอย่างมากในแต่ละจังหวัด อาจมีสาเหตุเนื่องจากในปี พ.ศ. 2563 ประชาชนในแต่ละจังหวัดได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิด-19 ทำให้เกิดการทำให้ผู้ปกครองที่เป็นเสาหลัก
ของครอบครัวตกงาน บ้านขาดรายได้ รายได้ประจำหลักไม่เพียงพอต่อการครองชีพ ได้รับผลกระทบด้าน
เศรษฐกิจเป็นอย่างมาก จนส่งผลให้เกิดความรุนแรงเกิดขึ้นภายในครอบครัว เช่น ครอบครัวหย่าร้าง เด็กถูก
ทอดทง้ิ การทุบตขี องบิดา-มารดา เปน็ ตน้
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวดั ในพ้นื ทเี่ ขตรบั ผิดชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[49]
ตารางท่ี 4.2 แสดงแนวโน้มความรนุ แรงในครอบครวั ในกล่มุ จังหวดั
แยกตามประเภทความรุนแรง ปี 2562-2564
จังหวดั ประเภทความรุนแรง
นครราชสีมา ทางจติ ใจ ทางเพศ ทางรา่ งกาย ทางสงั คม อื่นๆ ไม่ระบุ
ชยั ภูมิ
บรุ รี ัมย์ 20 0 32 1 0 0
สรุ นิ ทร์
ศรสี ะเกษ 69 3 62 13 1 0
ยโสธร
รวม 10 2 0 0 0
43 2 36 10 0 0
47 2 41 22 0 0
18 2 16 6 0 0
198 9 189 52 1 0
ทม่ี า ระบบขอ้ มลู ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรนุ แรงในครอบครัว http://violence.in.th
จากตารางท่ี 4.3 แสดงแนวโน้มความรุนแรงในครอบครวั ในกลุม่ จงั หวัด แยกตามประเภทความ
รุนแรง ปี 2562 – 2564 ในเขตพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบของสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 4 โดยภาพรวม
พบว่า ความรนุ แรงทางจติ ใจ มจี ำนวนความรนุ แรงมากทสี่ ุด จำนวน 198 ราย รองลงมาคือความรุนแรงทาง
ร่างกาย จำนวน 189 ราย และความรุนแรงทางสงั คม จำนวน 52 ราย จงึ ทำให้เหน็ ได้วา่ หากความรุนแรง
เกดิ ขนึ้ ส่วนใหญจ่ ะเกิดความรนุ แรงทางจติ ใจเป็นอันดับแรก ซ่ึงสง่ ผลกอ่ ใหเ้ กดิ ความรุนแรงทางรา่ งกายใน
ระยะต่อมา อาจจะเกิดจากการถกู กระทำทางจติ ใจบ่อยคร้ังจนทำใหเ้ กดิ การใชค้ วามรนุ แรงในการทำรา้ ย
รา่ งกายจนส่งผลกระทบต่อสังคม
4.3 การใหบ้ รกิ ารของศนู ยช์ ่วยเหลือสังคมสายดว่ น 1300
1) ด้านระบบการบรหิ ารจดั การองค์กร
1.1) ด้านบคุ ลากร
สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั เป็นผดู้ ำเนนิ การจดั ประชุมทมี One
Home ดงั น้ี
1) จัดประชุมทีม One Home ซักซ้อมทำความเข้าใจ ความเป็นมาของโครงการสายดว่ น 1300
เพ่อื ทำการวางแผนการทำงาน
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั ในพ้ืนทเ่ี ขตรับผิดชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[50]
2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการณ์เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานสายด่วน 1300 และ
ถ่ายทอดองค์ความรู้ เก่ียวกับภารกิจและบรกิ ารของ พม. และการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ตามกระบวนการ
สังคมสงเคราะห์ การลงขอ้ มูล การฝึกทดลองเร่ืองการลงข้อมูลการใหบ้ รกิ าร
3) จัดประชุม One Home เพื่อทบทวน ถอดบทเรียน ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ ในการ
ดำเนนิ งานบรกิ ารสายด่วน 1300 จงั หวัด
4) จัดตงั้ กล่มุ LINE 1300 เปน็ การเฉพาะในการตดิ ตอ่ ประสานงาน ประสาน case
5) การจัดเวรการปฏบิ ัตงิ านของเจ้าหนา้ ท่ีหนว่ ยงาน One Home เพอ่ื ปฏิบัติงานคกู่ ับเจ้าหน้าท่ี
ให้คำปรึกษาในวัน/เวลาราชการ และมอบหมายบ้านพักเด็กและครอบครัวฯ ปฏิบัติงานในช่วงนอกเวลา
ราชการ และวันหยุดราชการ ทำให้การปฏิบัติงานเป็นระบบและมีเจ้าหน้าที่ประจำให้บรกิ ารตลอดเวลา เป็น
การใชท้ รัพยากรไดอ้ ย่างค้มุ คา่
1.2) ด้านงบประมาณ
ขอความอนุเคราะห์กระทรวง พม. สนบั สนุนงบประมาณเพ่ิมเติมเพอื่ เป็นค่าใชจ้ ่ายในการดำเนินงาน
เชน่ ค่าประชมุ คา่ เบี้ยเลีย้ งต่างๆ คา่ วสั ดุอปุ กรณ์ เปน็ ต้น
1.3) ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
การจัดเวรเจ้าหน้าที่ให้บริการสายด่วน 1300 จังหวัด ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว. 4 ส่วน
ใหญ่ไม่มีปัญหาการจัดเวรเจ้าหน้าที่ให้บริการสายด่วน 1300 เนื่องจากมีการจัดทำคำสั่งในรูปแบบทีม
One Home และมีการประชุมมอบหมายงานของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน ในการ
ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนปฏิบัติหน้าที่มีการแบ่งช่วงเวลาในการเข้าปฏิบัติงานอย่างชัดเจนตามข้อตกลงในแต่ละ
จังหวัด
การวางแผนเรื่องการมีทีมที่ปรึกษา (supervisor) ให้กับเจ้าหน้าที่รับโทรศัพท์ 1300 รูปแบบ
ทมี ทปี่ รกึ ษา มดี ังน้ี
1) มกี ารจัดทำคำสัง่ โดยใหห้ ัวหนา้ หน่วยงาน One Home ภายในจังหวัดเป็นท่ปี รกึ ษา
2) แต่งตั้งให้มีหัวหน้าเวรเพื่อกำกับ ดูแล ให้คำปรึกษา และกรณีที่มีผู้ประสบปัญหา
ต้องการขอช่วยเหลือเร่งด่วน
3) มีการสร้าง Line Group เพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานประจำวัน ประสานส่งต่อผู้
ประสบปญั หาทางสงั คมตามภารกจิ ของหน่วยงานและการแบ่งพ้นื ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจังหวดั ในพ้นื ทเี่ ขตรับผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4 ประจำปี 2564
[51]
ข้อสังเกต การตั้งที่ปรึกษา รูปแบบของคำสั่งไม่เหมือนกัน แล้วแต่จังหวัดจะดำเนินการ
ซึ่งบางจังหวัดมีเฉพาะหัวหน้าหน่วยงาน One Home เป็นที่ปรึกษา บางจังหวัดมีรองผู้ว่าราชการจังหวัด
และผ้อู ำนวยการสำนักงานสง่ เสริมและสนับวิชาการ 4 เปน็ ท่ปี รกึ ษาร่วมด้วย
ในกรณีที่ที่เจ้าหน้าที่ที่มารับสายไม่สามารถลงข้อมูลในระบบรับเรื่องราวร้องทุกข์ได้ จังหวัด
มีการจัดทำแบบฟอร์มบันทึกข้อมูล เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถบันทึกข้อมูลในระบบรับเรื่องราวร้องทุกข์
ภายหลังได้ และเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานและผู้ดูแลระบบซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการอบรมจากส่วนกลาง เป็น
ผรู้ ับผดิ ชอบบนั ทกึ ขอ้ มูลลงระบบ
3.1.4 ด้านวัสดุอุปกรณ์
ความพรอ้ มของอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ดังนี้
1) มอี ปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต พรอ้ มในการปฏบิ ตั งิ าน แต่เนื่องจากเปน็ คอมพิวเตอร์
ทมี่ ีอายกุ ารใชง้ านนาน สง่ ผลให้การประมวลผลช้าการทำงานไม่เสถยี ร
2) อุปกรณค์ อมพวิ เตอรไ์ มท่ ันสมยั
3) ควรจดั ให้มเี จ้าหน้าที่ระบบคอมพวิ เตอร์ในการดูแลระบบ ตรวจสอบระบบการใชง้ านอยู่เปน็
ประจำ
2) ดา้ นการบริการ
กรณีเกิดปัญหาที่พบว่าผู้ประสบปัญหา มีความยุ่งยากซับซ้อน จังหวัดมีการวางแผน การดำเนินการ
เพื่อช่วยเหลอื เจ้าหน้าทร่ี ับโทรศพั ท์ในการแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ (ขณะที่ประชาชนยังอย่ใู นสาย) ดังนี้
1) มกี ารซักถามเหตกุ ารณ์และสถานทีเ่ กดิ เหตุโดยละเอียด
2) ขอเบอรโ์ ทรศัพท์ตดิ ต่อกลับของประชาชนไว้
3) ประสานนักสังคมสงเคราะห์และนักจิตวิทยา หัวหน้าหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอคำปรึกษาใน
การแก้ไขปัญหาอยา่ งเร่งดว่ น และการประสานสง่ ต่อขอรับชว่ ยเหลือไปยังหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง
4) ประสานประชาชน ใหไ้ ดท้ ราบ และแจง้ แนวทางการใหค้ วามช่วยเหลือ
3) หน่วยเคลือ่ นทเ่ี รว็
จังหวัดมีการวางแผนการปฏิบัติงานของหน่วยปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วจังหวัด กรณีมีผู้ประสบปัญหาท่ี
ได้รบั แจ้งผ่านสายด่วน 1300 จังหวดั ดงั นี้
1) การจัดทำคำส่ัง มอบหมายพนื้ ท่รี ับผิดชอบ และบทบาทหน้าท่ีการปฏบิ ัติงาน
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ในพ้ืนทเี่ ขตรับผิดชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[52]
2) การแบง่ ชว่ งเวลา กลางวนั เวลา 08.30-16.30 น.และชว่ งเวลากลางคืน 16.30-08.30 น.
3) การจัดทำทำเนยี บเบอร์โทรศัพทใ์ นการติดต่อประสานงาน หน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง
4) มีการวางแผนของทมี แต่ละหน่วยพร้อมลงพ้ืนทภ่ี ายใน 24 ชวั่ โมง
ปญั หาอุปสรรค
การแบง่ พน้ื ท่ีรบั ผิดชอบเป็นโซน บางจงั หวดั มพี ้ืนทหี่ ่างไกล เจ้าหน้าท่ตี ิดภารกจิ อ่ืนไม่สามารถ
ลงพืน้ ทไ่ี ดท้ นั ท่วงที
4) ระบบปฏบิ ตั ิการ (Soft Ware)
ควรมีการเพิ่มคู่สายไปตามหน่วยงาน เพ่อื ลดภาระการเดนิ ทางไปอยเู่ วรท่ีบ้านพกั เดก็ และครอบครวั จังหวัด
5) เครอื ข่าย (เครือขา่ ย เชน่ หนว่ ยงานภาครฐั เอกชน อาสาสมคั ร เปน็ ต้น)
จังหวัดมีการวางแผนเรื่องระบบการประสานงานส่งต่อผู้ประสบปัญหาทางสังคมระหว่างเจ้าหน้าที่รับ
โทรศพั ท์ 1300 ไปยังหน่วยงานท่รี ับผิดชอบ ดังน้ี
1) มีการสร้าง Line Group เพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานประจำวัน ประสานส่งต่อผู้ประสบปัญหา
ทางสงั คมตามภารกจิ ของหนว่ ยงาน
2) การจัดทำข้อมูลเบอร์โทรศัพท์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ทำเนียบอาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ ทำเนียบส่วนราชการ หน่วยงานในจังหวัด และทำเนียบกำนัน ผู้ใหญ่บ้านและ
ทำเนียบองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ในจงั หวดั
3) ทำหนังสือถึงหน่วยงานและประสานทีมสหวิชาชพี ในสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ ง
4) ตดิ ตามผลการชว่ ยเหลือ โดยขอความรว่ มมอื หน่วยงาน แจ้งผลการชว่ ยเหลอื กลบั มาท่ีจังหวัด
มีการขอความร่วมมอื จากเครอื ข่ายและจากหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง ดังน้ี
1) ทีม One Home และส่วนราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงพยาล อปท. อพม. อสม.
โดยวิธีการประสานความร่วมมือโดยตรง ประสานทางส่ือโซเชยี ลกอ่ นและมีหนงั สือแจ้งไปอกี ครัง้
2) แจ้งในที่ประชุมกรมการจังหวัดเพื่อประชาสัมพันธ์และขอความร่วมมือหัวหน้าส่วนราชการ/
นายอำเภอทุกอำเภอ
3) หากมีเรื่องเร่งด่วน แจ้งไปยังสถานีตำรวจ และขอความช่วยเหลือในนามของ 1300
เพอ่ื ให้เจ้าหนา้ ที่สายตรวจลงพน้ื ที่ตรวจสอบทเี่ กดิ เหตโุ ดยดว่ นในระหว่างรอทมี เคลือ่ นท่เี ร็วไดร้ ับความร่วมมือ
จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้นำชุมชน ในการลงพื้นที่ โดยทีมเคลื่อนที่เร็วจะแจ้งนักพัฒนาชุมชนท่ี
ประจำอยู่ใน เทศบาล หรือ อบต. ทุกคร้งั ทมี่ กี ารลงพืน้ ที่
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัด ในพ้ืนทเ่ี ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 ประจำปี 2564
[53]
6) ระบบเฝา้ ระวัง (ตวั อยา่ งเชน่ มกี ารตดิ ตามและเกบ็ ขอ้ มลู ปญั หาทางสงั คมจากสอ่ื ออนไลนต์ า่ งๆ
ควบคกู่ บั การรับโทรศพั ท์ เป็นตน้ )
จังหวัดมกี ระบวนการติดตามผลการช่วยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสังคมท่ีส่งไปยงั หน่วยงานต่าง ๆ
ดงั น้ี
1) การประสานทางโทรศัพท์, ไลน์
2) มีหนังสือแจ้งหน่วยงานต่างๆ ที่ได้ประสานส่งต่อขอความร่วมมือแจ้งผลการช่วยเหลือผู้
ประสบปญั หาทางสงั คมใหท้ ราบ
3) ลงพืน้ ทีเ่ ยี่ยมบา้ นให้กำลังใจ ประเมินผล และการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทางสงั คม
4) การประชุมติดตามผลกรดำเนินงานทุกเดือนเพื่อติดตามผลการดำเนินงาน ตลอดจนประเมิน
ปัญหาอุปสรรคของศนู ย์ช่วยเหลอื สังคมสายดว่ น 1300 จังหวดั
5) มกี ารจัดทำรายงานประจำเดือน เสนอต่อ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
จังหวดั มรี ะบบเฝ้าระวงั ขา่ วสารจากทางอื่นๆ เพิม่ เติม ดงั นี้
1) มีการมอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ เฝ้าระวังติดตามข่าว โซเขียล สื่อออนไลน์ เช่น
Facebook Website,Line, TV เปน็ ต้น
2) ประสานประชาสมั พนั ธ์จงั หวัด
3) แจ้งเครือข่ายในการเฝ้าระวัง แจ้งเหตุ เช่น อพม., ผู้ช่วยดูแลคนพิการ และเครือข่ายใน
ทอ้ งถ่ิน พน้ื ที่ อปท. เป็นต้น
7) ระบบการรายงาน (มีการรายงานสถติ ิการให้บริการตอ่ พมจ.ประธานคณะทำงานและผู้บรหิ าร
กระทรวงฯ)
การรายงานผลการดำเนินงาน ดังนี้
1) เจ้าหน้าที่รับโทรศัพท์ 1300 รายงานกรณีผู้ประสบปัญหาทางสังคม (Case) ที่ไม่มีความ
ซบั ซอ้ นจบในกระบวนการเดยี ว
2) Case manager ดำเนินการให้ความช่วยเหลือ กรณีผู้ประสบปัญหาทางสังคม (Case)
ท่ีมีความซับซ้อน
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจังหวัด ในพ้นื ทเ่ี ขตรบั ผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 4 ประจำปี 2564
[54]
3) มีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการปฏิบัติงานประจำวัน (คชส.01), การรายงานผล
การปฏิบัติงานประจำสัปดาห์ (คชส.02), การรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือน (คชส.03) ผ่าน Line
Group “ถา่ ยโอนค่สู าย 1300” และ จังหวัด “กลมุ่ สถติ สิ ายดว่ น 1300”
4) มีการรายงานผลการดำเนินงานใหห้ ัวหนา้ หน่วยงานทีม One Home ทราบทกุ วนั
โดยเจ้าหน้าทรี่ บั โทรศพั ท์ 1300
5) มกี ารรายงานผลการดำเนนิ งานประจำเดอื นใหผ้ ู้ว่าราชการจังหวดั ทราบทุกเดอื น
6) มีการรายงานประจำวันโดย Info graphic ผา่ นกลมุ่ line Graphic และมกี ารประชมุ หารอื
และรายงานภาพรวมในการประชมุ คณะกรรมการพจิ ารณาเงนิ สงเคราะห์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จังหวัด ในพ้นื ทเ่ี ขตรบั ผิดชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
สว่ นที่ 5
การวิเคราะห์และจดั ลำดบั ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จงั หวัด
5.1 สถานการณ์เชิงกลุ่มเป้าหมายในพืน้ ท่กี ล่มุ จังหวัด
5.1.1 กล่มุ เดก็
ตารางท่ี 5.1.1 แสดงผลการจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณท์ างสังคมกลุม่ จังหวดั กลุม่ เดก็
(หน่วย:คน)
ลำดบั ท่ี ประเดน็ สถานการณ์กลุ่มเป้าหมาย จำนวน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
กลุม่ เป้าหมาย ของประชากรเดก็
1 เด็กทอ่ี ยูใ่ นครอบครวั เลยี้ งเดยี่ ว ตามประเดน็ ทัง้ หมดในเขตพน้ื ท่ีกลมุ่
จงั หวดั ทีร่ ับผดิ ชอบ
2 เดก็ ทม่ี ีพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม 10,657
3,386 0.61
3 เดก็ ทตี่ ั้งครรภ์กอ่ นวัยอันควรและไมพ่ ร้อม 2,039 0.19
ในการเลยี้ งดู 0.12
จากตารางท่ี 5.1.1 ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด กลุ่มเด็ก ประเด็นท่ีรุนแรง
พบว่า เด็กท่ีอยู่ในครอบครัวเล้ียงเดี่ยวมีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 10,657 คน คิดเป็นร้อยละของประชากร
เด็กท้ังหมดในเขตพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.61 รองลงมาคือ เด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม จำนวน
3,386 คน คิดเป็นร้อยละของประชากรเด็กทั้งหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.19 และเด็กที่
ตัง้ ครรภ์ก่อนวยั อนั ควรและไมพ่ รอ้ มในการเลย้ี งดู จำนวน 2,039 คน คดิ เป็นร้อยละของประชากรเดก็ ท้ังหมด
ในเขตพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดท่ีรับผิดชอบ 0.12 ซ่ึงจากข้อมูลจะเห็นได้ว่า เด็กที่อยู่ในครอบครัวเล้ียงเดี่ยวมีความ
รุนแรงมากขึ้น อาจเน่ืองจากสาเหตุ ดังนี้ 1) สภาพความเป็นอยู่ฐานะการเงินและรายได้ในครอบครัว
โดยเฉพาะบุตรท่ีอยู่กับมารดาแล้วบิดาไม่ส่งเสียดูแลทำให้ภาระจึงตกไปท่ีมารดาทำให้เด็กบางคนที่กำลัง
ศึกษาอยู่ต้องทำงานควบคู่ไปด้วยเพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของมารดาหรือบิดา 2) ด้านจิตใจเกิดภาวะ
ซึมเศรา้ หวาดกลัว ไมม่ คี วามมนั่ คงในอารมณ์ส่งผลต่อพฤติกรรมและ บคุ ลกิ ภาพ 3) ปญั หาการขาดเวลาดแู ล
เอาใจใส่ จากการท่ีบิดา มารดา ไปทำงานต่างถ่ินเด็กอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย หรือญาติพ่ีน้อง หรือบิดา
มารดา หย่าร้าง ส่งผลให้การมีปฏิสัมพันธ์กับคนในครอบและการดูแลเอาใจใส่น้อยลง ท้ังนี้ การแก้ไขปัญหา
ดังกล่าง ต้องเกิดจากพ้ืนฐานการเลี้ยงดูที่ถูกต้องและให้การดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด มีปฏิสัมพันธ์ใน
ครอบครวั หากปัญหาดงั กล่าวไมไ่ ดร้ ับการแกไ้ ข อาจสง่ ผลต่อการเจรญิ เติบโตอย่างมีคณุ ภาพของเด็ก
[56]
5.1.2 กลุ่มเยาวชน
ตารางท่ี 5.1.2 แสดงผลการจดั ลำดับความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวดั กลุ่มเยาวชน
(หน่วย:คน)
คดิ เปน็ รอ้ ยละ
จำนวน ของประชากรเยาวชน
ลำดบั ที่ ประเดน็ สถานการณ์กลุ่มเปา้ หมาย กลุ่มเปา้ หมาย ท้ังหมดในเขตพนื้ ท่ี
ตามประเด็น กลมุ่ จงั หวดั ท่ี
รบั ผดิ ชอบ
1 เยาวชนทม่ี พี ฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม 1,801 0.19
2 เยาวชนที่ถูกทารุณกรรมทางรา่ งกายจิตใจ 62 0.01
และทางเพศ
จากตารางที่ 5.1.2 สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มเยาวชน พบว่า เยาวชนท่ีมีพฤติกรรมไม่
เหมาะสม ความรนุ แรงมากท่สี ดุ จำนวน 1,801 คน คดิ เป็นร้อยละของประชากรเยาวชนทง้ั หมดในเขตพนื้ ท่ี
กลุม่ จังหวัดที่รับผดิ ชอบ 0.19 และเยาวชนที่ถูกทารุณกรรมทางรา่ งกายจติ ใจและทางเพศ จำนวน 62 คน คิด
เป็นร้อยละของประชากรเยาวชนทั้งหมดในเขตพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.01 ความรุนแรงที่เกิดขึ้น
เยาวชนทีม่ ีพฤตกิ รรมไม่เหมาะสม อาจจะมสี าเหตเุ น่ืองมาจากภายในจิตใจของตัวบคุ คล เช่น ความคิด ความ
เชอื่ ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะการใช้ชวี ิต นอกจากนี้ยังมีสาเหตยุ ังมีสาเหตุมาจากส่ิงเร้าของส่ิงแวดล้อม
ภายนอก เช่น ปัจจัยสิ่งแวดล้อมในสังคมที่มีอิทธิพล เช่น ชุมชน สถานศึกษา กลุ่มเพ่ือน ครอบครัว เป็น
ตน้ ทำใหเ้ กิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมและเรยี นรทู้ ่ีจะปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม การจูงใจในการเริ่มต้นนำยา
ทางการแพทย์มาใช้ในทางที่ผิด เพราะอยากรู้อยากลอง กลายเป็นติดสารเสพติดในที่สุด ส่งผลต่อสติปัญญา
สภาพร่างกายและจติ ใจ
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัด ในพ้ืนทเี่ ขตรับผิดชอบของสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 4 ประจำปี 2564
[57]
5.1.3 กลุ่มสตรี
ตารางที่ 5.1.3 แสดงผลการจดั ลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั กลุม่ สตรี
(หนว่ ย:คน)
ลำดับที่ ประเดน็ สถานการณก์ ลุ่มเปา้ หมาย จำนวน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
กลมุ่ เป้าหมายตาม ของประชากรสตรี
ท้ังหมดในเขตพื้นที่ กลุ่ม
ประเดน็ จังหวดั ที่รบั ผดิ ชอบ
1 สตรีทถี่ กู เลกิ จ้าง/ตกงาน 25,310 1.13
2 แม่เลี้ยงเดีย่ วฐานะยากจนท่ีต้องเล้ียงดู 7,192 0.32
บตุ รเพียงลำพงั 548 0.02
3 สตรีที่ถูกทำร้ายรา่ งกายจติ ใจ
จากตารางท่ี 5.1.3 สถานการณ์ความรนุ แรงของกลมุ่ สตรี พบวา่ ท่ีอย่ใู นพ้นื ท่คี วามรับผดิ ชอบของสา
นักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4 โดยภาพรวม สตรีที่ถูกละเมิดทางเพศ จำนวนรวม 236 คน สตรที ถ่ี กู ทำ
ร้ายร่างกายจิตใจ จำนวนรวม 548 คน แม่เล้ียงเดี่ยวฐานะยากจนที่ต้องเล้ียงดูบุตรเพียงลำพัง จำนวนรวม
7,192 คน และสตรีที่ถูกยกเลิกจ้าง/ตกงาน จำนวนรวม 25,310 คน เมื่อพจิ ารณารายดา้ นพบวา่ ดา้ นสตรีท่ีถูก
ละเมิดทางเพศ จังหวัด ศรีสะเกษ มจี ำนวนมากท่ีสุด จำนวน 217 คน จงั หวดั ชยั ภูมิและจังหวดั บุรีรัมย์มีจำนวน
น้อยที่สุดในสัดส่วนที่เท่ากัน ด้านสตรีท่ีถูกทำร้ายร่างกายและจิตใจ จังหวดั ศรีสะเกษมีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน
426 คน และจังหวัดชัยภูมิมีจำนวนน้อยที่สุด ด้านแม่เล้ียงเด่ียวฐานะยากจนท่ีต้องเล้ียงดูบุตรเพียงลำพัง
จังหวดั นครราชสมี ามีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 3,213 คน และจงั หวดั สุรินทร์มีจำนวนน้อยท่ีสุด และดา้ นสตรี
ทถ่ี ูกยกเลกิ จ้าง/ตกงาน จังหวัดบุรีรัมย์มจี ำนวนมากท่ีสดุ จำนวน 11,739 คน และจงั หวดั ชัยภูมิมีจำนวนน้อย
ที่สดุ จำนวน 180 คน
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัด ในพ้ืนทเี่ ขตรบั ผิดชอบของสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 4 ประจำปี 2564
[58]
5.1.4 กลมุ่ ครอบครัว
ตารางท่ี 5.1.4 แสดงผลการจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณท์ างสงั คม กลุ่มครอบครัว
(หน่วย:คน)
ลำดบั ท่ี ประเดน็ สถานการณ์กลมุ่ เป้าหมาย จำนวน คิดเปน็ ร้อยละ
กล่มุ เป้าหมายตาม ของจำนวนครอบครัว
ทัง้ หมดในเขตพน้ื ทีก่ ลมุ่
ประเดน็ จงั หวดั ที่รับผดิ ชอบ
1 ครอบครวั ยากจน 110,199 15.75
2 ครอบครวั แหว่งกลาง 52,457 7.50
3 ครอบครัวหยา่ รา้ ง 13,314 1.90
จากตารางที่ 5.1.4 สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มครอบครัว พบว่า ครอบครัวยากจน มีความ
รุนแรงมากที่สุด จำนวน 110,199 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนครอบครัวท้ังหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดท่ี
รับผิดชอบ 15.75 ครอบครัวแหว่งกลาง จำนวน 52,457 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนครอบครัวท้ังหมดใน
เขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 7.50 และครอบครัวหย่าร้าง จำนวน 13,314 คน คิดเป็นร้อยละของ
จำนวนครอบครัวท้ังหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดท่ีรับผิดชอบ 1.90 ทั้งน้ี เม่ือครอบครัวยากจนมีจำนวนเพ่ิม
มากข้ึน ก็อาจเป็นสาเหตุหนึ่งท่ีจะเกิดครอบครัวหย่าร้าง และครอบครัวแหว่งกลางตามมาเป็นลำดับ
เนื่องจากผลกระทบจากปัญหาเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการดำเนินงานชีวิตประจำวันของบุคคลภายในครอบครัว
และการประกอบอาชีพทีไ่ ม่สามารถประกอบอาชีพได้
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวัด ในพ้นื ทเ่ี ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[59]
5.1.5 กลมุ่ ผู้สงู อายุ
ตารางที่ 5.1.5 แสดงผลการจดั ลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัด กลมุ่ ผูส้ งู อายุ
(หนว่ ย:คน)
ลำดับท่ี ประเดน็ สถานการณก์ ลุ่มเปา้ หมาย จำนวน คิดเปน็ ร้อยละ
กล่มุ เป้าหมายตาม ของจำนวนผูส้ งู อายุ
ทัง้ หมดในเขตพื้นทีก่ ล่มุ
ประเดน็ จงั หวัดที่รับผิดชอบ
1 ผู้สงู อายทุ ี่ยงั ไดร้ ับเบย้ี ยังชพี 84,150 5.51
2 ผู้สูงอายชุ ่วยเหลือตัวเองไมไ่ ด้/ไม่มคี น 14,818 0.97
ดูแล/ ไม่มีรายได้/ผู้ปว่ ยเร้ือรังติดบา้ น
ติดเตียง
3 ผสู้ ูงอายุทร่ี ับภาระดูแลบุคคลในครอบครวั
เช่น คนพกิ าร ผปู้ ว่ ยเร้ือรงั บุตร หลาน 12,661 0.83
และจิตเวช
จากตารางที่ 5.1.5 สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุท่ียังได้รับเบี้ยยังชีพ
มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 84,150 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุท้ังหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดที่
รบั ผดิ ชอบ 5.51 รองลงมาผู้สูงอายชุ ว่ ยเหลือตัวเองไม่ได/้ ไม่มีคนดแู ล/ไมม่ ีรายได้/ผู้ป่วยเรื้อรงั ติดบา้ นตดิ เตยี ง
จำนวน 14,818 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุท้ังหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดท่ีรับผิดชอบ 0.97
และผู้สูงอายุที่รับภาระดูแลบุคคลในครอบครัว เช่น คนพิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง บุตร หลาน และจิตเวช จำนวน
12,661 คน คิดเปน็ ร้อยละของจำนวนผูส้ ูงอายทุ ้ังหมดในเขตพ้ืนทีก่ ลมุ่ จังหวดั ทร่ี บั ผดิ ชอบ 0.83
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จงั หวัด ในพื้นทเ่ี ขตรบั ผิดชอบของสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 4 ประจำปี 2564
[60]
5.1.6 กล่มุ คนพิการ
ตารางท่ี 5.1.6 แสดงผลการจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณท์ างสังคมกล่มุ จังหวัด กลุ่มคนพิการ
(หนว่ ย:คน)
ลำดับท่ี ประเด็นสถานการณ์กลุ่มเป้าหมาย จำนวน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
กลมุ่ เปา้ หมายตาม ของจำนวนคนพิการ
ท้งั หมดในเขตพ้ืนทีก่ ลุ่ม
ประเดน็ จงั หวัดที่รบั ผิดชอบ
1 คนพกิ ารทม่ี บี ตั รประจำตัวคนพกิ าร 394,905 48.63
2 คนพกิ ารทีไ่ ดร้ บั เบี้ยยงั ชพี 366,488 45.13
3 คนพกิ ารที่ไม่ได้รับเบย้ี ยงั ชีพ 50,175 6.18
จากตารางท่ี 5.1.6 สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มคนพิการ พบว่า คนพิการท่ีมีบัตรประจำตัวคน
พิการ มีจำนวนมากท่ีสุด จำนวน 394,905 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนคนพิการท้ังหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่ม
จังหวัดท่ีรับผดิ ชอบ 48.63 รองลงมา คือ คนพกิ ารทไี่ ด้รับเบย้ี ยงั ชพี จำนวน 366,488 คน คิดเป็นร้อยละของ
จำนวนคนพกิ ารทั้งหมดในเขตพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดท่ีรับผิดชอบ 45.13 และคนพิการที่ไม่ได้รบั เบย้ี ยังชีพ จำนวน
50,175 คน คดิ เป็นรอ้ ยละของจำนวนคนพิการทั้งหมดในเขตพืน้ ท่ีกล่มุ จงั หวัดท่รี ับผิดชอบ 6.18
5.1.7 กลุม่ ผู้ดอ้ ยโอกาส
ตารางที่ 5.1.7 แสดงผลการจดั ลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั กล่มุ ผดู้ ้อยโอกาส
(หน่วย:คน)
ลำดบั ท่ี ประเดน็ สถานการณ์กลุม่ เปา้ หมาย จำนวน คิดเปน็ รอ้ ยละ
กลุ่มเป้าหมายตาม ของจำนวนประชากร
ทัง้ หมดในเขตพ้ืนทก่ี ลุ่ม
ประเดน็ จงั หวัดทร่ี ับผดิ ชอบ
1 กลมุ่ ชาติพนั ธ/ุ์ ชนกลุ่มน้อย 294,822 3.39
2 ผตู้ ดิ เชื้อ HIV 19,256 0.22
3 ผู้ตดิ ยาเสพตดิ 9,133 0.10
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ในพื้นทเี่ ขตรับผิดชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[61]
จากตารางท่ี 5.1.7 สถานการณค์ วามรุนแรงของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส พบว่า กลุม่ ชาติพันธุ์/ชนกลุ่มน้อย
มจี ำนวนมากท่สี ุด จำนวน 294,822 คน คิดเปน็ ร้อยละของจำนวนประชากรท้ังหมดในเขตพ้ืนทกี่ ลุ่มจังหวัดท่ี
รับผิดชอบ 3.39 รองลงมาคือ ผู้ติดเชื้อ HIV มีจำนวนน้อยที่สุด จำนวน 19,256 คน คิดเป็นร้อยละของ
จำนวนประชากรทั้งหมดในเขตพื้นท่ีกลุ่มจังหวดั ที่รบั ผดิ ชอบ 0.22 และผตู้ ิดยาเสพติด จำนวน 9,133 คดิ เป็น
ร้อยละของจำนวนประชากรทง้ั หมดในเขตพ้ืนที่กลมุ่ จงั หวดั ท่ีรบั ผิดชอบ 0.10
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวัด ในพืน้ ทเี่ ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 4 ประจำปี 2564
สว่ นที่ 6
บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ
6.1 บทสรปุ
กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 มีพื้นที่รวมทั้งหมด
ประมาณ 64,719.91 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 39,449,897 ไร่ จังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุด คือ จังหวัด
นครราชสีมา 20,493.964 ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือจังหวัด ชัยภูมิ มีพื้นที่ 12,778.30 ตารางกิโลเมตร
เขตการปกครองท้องที่ในกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วยจังหวัด 6 จังหวัด 119 อำเภอ 1,043 ตำบล 13,544
หมู่บ้าน การปกครองท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 แห่ง เทศบาลนคร
1 แห่ง เทศบาลเมือง 12 แห่ง เทศบาลตำบล 264 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 881 แห่ง มีประชากร
รวมทั้งหมดจำนวน 8,012,037 คน แบ่งเป็นเพศชาย 3,619,733 คน เพศหญิง 4,392,304 คน โดยจำนวน
ประชากรอายุระหว่าง 0 – 17 ปี รวม 1,760,594 คน ประชากรอายุระหว่าง 18 – 25 ปี รวม 954,169 คน
ประชากรอายุระหว่าง 26 -59 ปี รวม 4,460,660 คน และประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป รวม 1,526,225 คน
จำนวนสถานศึกษาในกลุ่มจังหวัด สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
5,116 แห่ง เอกชน 248 แห่ง และ อาชีวศึกษา 43 แห่ง การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
100 แห่ง รวมมจี ำนวนสถานศึกษาท้งั หมด 5,582 แหง่ โดยจงั หวดั นครราชสมี ามีจำนวนสถานศึกษารวมมาก
ที่สุด 1,533 แห่ง รองลงมา คือ จังหวดั บรุ ีรมั ย์ 979 แหง่ มีจำนวนหนว่ ยบริการสังกัดสำนกั งานปลดั กระทรวง
สาธารณสุข จำแนกตามระดับของสถานพยาบาลปี พ.ศ. 2564 ในกลุ่มจังหวัดมีหน่วยบริการรวมทั้งหมด
1,820 แห่ง แบ่งเป็น โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) 4 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) 9 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน
(รพช.) 106 แห่ง สาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) 119 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)
1,214 แห่ง และภาคเอกชน 20 แห่ง มีจำนวนองค์กรภาคีเครือข่ายทั้งหมด 58,430 แห่ง ประกอบด้วย
องค์กรสวัสดิการชุมชน มีจำนวน 714 องค์กร องค์กรสาธารณะประโยชน์ มีจำนวน 362 องค์กร กองทุน
สวัสดกิ ารชุมชน มจี ำนวน 2,080 กองทุน สภาองค์กรชมุ ชน มี 1042 แหง่ สภาเด็กและเยาวชน มีจำนวน 905
แห่ง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส) มีจำนวน 447 แห่ง องค์กรคนพิการ 253
แห่ง ศูนย์พัฒนาครอบครัว (ศพค.) จำนวน 916 แห่ง และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
(อพม) จำนวนทง้ั สิ้น 21,893 คน จังหวัดนครราชสีมาเปน็ จงั หวดั ที่มจี ำนวนองค์กรภาคีเครือขา่ ยสูงสุดในกลุ่ม
จังหวดั
สถานการณ์ทางสงั คมเชิงกลมุ่ เป้าหมาย
1) กลุ่มเด็ก หรือประชากรที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด
กลุ่มเด็ก ประเด็นที่รุนแรงพบว่า เด็กที่อยู่ในครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 10,657 คน คิด
เป็นร้อยละของประชากรเด็กทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.61 รองลงมาคือ เด็กที่มี
[63]
พฤติกรรมไม่เหมาะสม จำนวน 3,386 คน คิดเป็นร้อยละของประชากรเด็กทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดที่
รับผิดชอบ 0.19 และเด็กที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและไม่พร้อมในการเลี้ยงดู จำนวน 2,039 คน คิดเป็นร้อย
ละของประชากรเด็กทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.12 ซึ่งจากข้อมูลจะเห็นได้ว่า เด็กที่อยู่ใน
ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวมีความรุนแรงมากขึน้ อาจเนื่องจากสาเหตุ ดังนี้ 1) สภาพความเป็นอยู่ฐานะการเงินและ
รายได้ในครอบครัวโดยเฉพาะบุตรที่อยู่กับมารดาแล้วบิดาไม่ส่งเสียดูแลทำให้ภาระจึงตกไปที่มารดาทำใหเ้ ด็ก
บางคนที่กำลังศึกษาอยู่ต้องทำงานควบคู่ไปด้วยเพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของมารดาหรือบิดา 2) ด้านจิตใจ
เกิดภาวะซึมเศร้า หวาดกลัว ไม่มีความมั่นคงในอารมณ์ส่งผลต่อพฤติกรรมและบุคลิกภาพ 3) ปัญหาการขาด
เวลาดแู ลเอาใจใส่ จากการท่ีบดิ า มารดา ไปทำงานตา่ งถ่นิ เดก็ อาศยั อยู่กับปู่ ยา่ ตา ยาย หรอื ญาติพ่ีนอ้ ง หรือ
บิดา มารดา หย่าร้าง ส่งผลให้การมีปฏิสัมพันธ์กับคนในครอบและการดูแลเอาใจใส่น้อยลง ทั้งนี้ การแก้ไข
ปัญหาดังกล่าง ต้องเกิดจากพื้นฐานการเลี้ยงดูที่ถูกต้องและให้การดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด มีปฏิสัมพันธ์ใน
ครอบครวั หากปญั หาดังกล่าวไม่ไดร้ ับการแกไ้ ข อาจสง่ ผลต่อการเจริญเตบิ โตอยา่ งมคี ณุ ภาพของเด็ก
2) กลุ่มเยาวชน หรือประชากรที่มีอายุระหว่าง 18 ปี – 25 ปีบริบูรณ์ สถานการณ์ความรุนแรงของ
กลุ่มเยาวชน พบว่า เยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ความรุนแรงมากที่สุด จำนวน 1,801 คน คิดเป็น
ร้อยละของประชากรเยาวชนทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.19 และเยาวชนที่ถูกทารุณกรรม
ทางร่างกายจิตใจและทางเพศ จำนวน 62 คน คิดเป็นร้อยละของประชากรเยาวชนทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่ม
จังหวดั ทร่ี บั ผดิ ชอบ 0.01 ความรนุ แรงทเ่ี กดิ ขนึ้ เยาวชนทม่ี ีพฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม อาจจะมีสาเหตเุ น่อื งมาจาก
ภายในจิตใจของตวั บุคคล เช่น ความคิด ความเชื่อ ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะการใช้ชีวิต นอกจากนี้ยังมี
สาเหตุยังมีสาเหตุมาจากสิ่งเร้าของสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น ปัจจัยสิ่งแวดล้อมในสังคมที่มีอิทธิพล เช่น
ชุมชน สถานศึกษา กลุ่มเพื่อน ครอบครัว เป็นต้น ทำให้เกิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมและเรียนรู้ที่จะ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจูงใจในการเริ่มต้นนำยาทางการแพทย์มาใช้ในทางที่ผิด เพราะอยากรู้อยากลอง
กลายเปน็ ติดสารเสพตดิ ในทีส่ ุด ส่งผลต่อสตปิ ัญญา สภาพรา่ งกายและจิตใจ
3) กลุ่มสตรี ประชากรสตรีที่มีอายุระหว่าง 25 – 59 ปี สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มสตรี พบวา่
สตรีที่ถูกละเมิดทางเพศ จำนวนรวม 236 คน สตรีที่ถูกทำร้ายร่างกายจิตใจ จำนวนรวม 548 คน แม่เลี้ยงเดี่ยว
ฐานะยากจนที่ต้องเลี้ยงดูบุตรเพียงลำพัง จำนวนรวม 7,192 คน และสตรีที่ถูกยกเลิกจ้าง/ตกงาน จำนวนรวม
25,310 คน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านสตรีที่ถูกละเมิดทางเพศ จังหวัด ศรีสะเกษ มีจำนวนมากที่สุด
จำนวน 217 คน จังหวัดชัยภูมิและจังหวัดบุรีรัมย์มีจำนวนน้อยที่สุดในสัดส่วนที่เท่ากัน ด้านสตรีที่ถูกทำร้าย
ร่างกายและจิตใจ จังหวัดศรีสะเกษมีจำนวนมากที่สุด จำนวน 426 คน และจังหวัดชัยภูมิมีจำนวนน้อยที่สุด
ด้านแม่เลี้ยงเดี่ยวฐานะยากจนที่ต้องเลี้ยงดูบุตรเพียงลำพัง จังหวัดนครราชสีมามีจำนวนมากที่สุด จำนวน
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวดั ในพ้นื ทเ่ี ขตรับผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[64]
3,213 คน และจงั หวัดสรุ นิ ทร์มจี ำนวนนอ้ ยทส่ี ุด และด้านสตรที ถ่ี ูกยกเลกิ จ้าง/ตกงาน จังหวัดบุรีรัมย์มีจำนวน
มากทส่ี ุด จำนวน 11,739 คน และจงั หวัดชยั ภูมิมจี ำนวนน้อยท่ีสดุ จำนวน 180 คน
4) กลุ่มครอบครัว สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มครอบครัว พบว่า ครอบครัวยากจน มีความ
รุนแรงมากที่สุด จำนวน 110,199 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนครอบครัวทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดท่ี
รับผิดชอบ 15.75 ครอบครัวแหว่งกลาง จำนวน 52,457 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนครอบครัวทั้งหมดใน
เขตพื้นท่กี ลมุ่ จังหวดั ทร่ี ับผดิ ชอบ 7.50 และครอบครัวหย่ารา้ ง จำนวน 13,314 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวน
ครอบครัวทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 1.90 ทั้งนี้ เมื่อครอบครัวยากจนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น
ก็อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่จะเกิดครอบครัวหย่าร้าง และครอบครัวแหว่งกลางตามมาเป็นลำดับ เนื่องจาก
ผลกระทบจากปัญหาเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการดำเนินงานชีวิตประจำวันของบุคคลภายในครอบครัว ตกงาน
ไมม่ อี าชพี ขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อครอบครัวในที่สดุ
5) กลุ่มผู้สูงอายุ หรือประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มผู้สูงอายุ
พบวา่ ผูส้ งู อายทุ ย่ี งั ได้รับเบ้ยี ยงั ชพี มจี ำนวนมากท่ีสดุ จำนวน 84,150 คน คดิ เป็นรอ้ ยละของจำนวนผู้สูงอายุ
ทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 5.51 รองลงมาผู้สูงอายุช่วยเหลือตัวเองไม่ได้/ไม่มีคนดูแล/ไม่มี
รายได้/ผู้ป่วยเรอ้ื รังติดบา้ นตดิ เตยี งจำนวน 14,818 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนผสู้ งู อายุท้ังหมดในเขตพื้นท่ี
กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.97 และผู้สูงอายุที่รับภาระดูแลบุคคลในครอบครัว เช่น คนพิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง
บุตร หลาน และจิตเวช จำนวน 12,661 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่ม
จังหวดั ทร่ี บั ผิดชอบ 0.83
6) กลุ่มคนพิการ สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มคนพิการ พบว่า คนพิการที่มีบัตรประจำตัวคน
พิการ มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 394,905 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนคนพิการทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่ม
จังหวัดที่รบั ผดิ ชอบ 48.63 รองลงมา คือ คนพิการที่ไดร้ บั เบี้ยยังชีพ จำนวน 366,488 คน คดิ เป็นร้อยละของ
จำนวนคนพิการทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุม่ จงั หวัดที่รับผิดชอบ 45.13 และคนพิการที่ไม่ได้รับเบี้ยยังชีพ จำนวน
50,175 คน คิดเปน็ ร้อยละของจำนวนคนพกิ ารทงั้ หมดในเขตพ้ืนท่กี ล่มุ จงั หวดั ท่ีรบั ผิดชอบ 6.18
7) กลุ่มผู้ด้อยโอกาส สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์/ ชน
กลุ่มน้อย มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 294,822 คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตพื้นท่ี
กล่มุ จังหวัดทรี่ บั ผดิ ชอบ 3.39 รองลงมาคอื ผตู้ ดิ เชื้อ HIV มจี ำนวนนอ้ ยทีส่ ดุ จำนวน 19,256 คน คิดเปน็
ร้อยละของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ 0.22 และผู้ติดยาเสพติด จำนวน
9,133 คดิ เปน็ รอ้ ยละของจำนวนประชากรทง้ั หมดในเขตพน้ื ทีก่ ล่มุ จังหวดั ท่รี ับผดิ ชอบ 0.10
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จงั หวัด ในพืน้ ทเี่ ขตรับผิดชอบของสำนักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[65]
สถานการณ์ทางสงั คมเชิงประเดน็
สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว ปี 2562-2564 ในเขตพ้ืนทีร่ บั ผดิ ชอบของสำนกั งานสง่ เสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 4 พบว่า ในปี พ.ศ. 2563 ความรุนแรงในครอบครัวมีอัตราที่เพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากในแต่ละ
จังหวัด อาจมสี าเหตเุ นื่องจากในปี พ.ศ. 2563 ประชาชนในแตล่ ะจังหวดั ไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้เกิดการทำให้ผู้ปกครองที่เป็นเสาหลักของครอบครัวตกงาน บ้านขาด
รายได้ รายไดป้ ระจำหลกั ไมเ่ พยี งพอต่อการครองชีพ ไดร้ ับผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก จนสง่ ผลให้
เกิดความรุนแรงเกิดขึ้นภายในครอบครัว เช่น ครอบครัวหย่าร้าง เด็กถูกทอดทิ้ง การทุกตีของบิดา-มารดา
เป็นต้น และการคาดการณ์แนวโน้มความรุนแรงในครอบครัวในกลุ่มจังหวัด แยกตามประเภทความรุนแรง
ปี 2562 – 2564 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 โดยภาพรวมพบว่า
ความรุนแรงทางจติ ใจ มีจำนวนความรุนแรงมากท่ีสุด จำนวน 198 ราย รองลงมาคือความรุนแรงทางร่างกาย
จำนวน 189 ราย และความรนุ แรงทางสังคม จำนวน 52 ราย จึงทำให้เหน็ ได้วา่ หากความรุนแรงเกดิ ข้นึ ส่วน
ใหญ่จะเกิดความรุนแรงทางจิตใจเป็นอันดับแรก ซึ่งส่งผลก่อให้เกิดความรุนแรงทางร่างกายในระยะต่อมา
อาจจะเกดิ จากการถูกกระทำทางจิตใจบอ่ ยคร้ังจนทำใหเ้ กิดการใชค้ วามรุนแรงในการทำรา้ ยร่างกายจนส่งผล
กระทบตอ่ สงั คม
6.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
1) จากสถิติจำนวนคนพิการในกลุ่มจังหวัดทีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ส่งผลให้มีกลุ่มคนพิการมากข้ึน
ดังนั้นหน่วยงานที่ดำเนินงานด้านคนพิการควรมีการเตรียมความพร้อมในการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับ
คนพิการ รวมถึงการมีระบบสวัสดกิ ารทางสังคมที่ทั่วถึงกลุม่ เปา้ หมาย มีการนำเทคโนโลยี นวัตกรรมเพื่อคน
พิการ มาใช้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมที่มีระบบสวัสดิการที่ดี
แก่กลมุ่ เป้าหมาย คนพิการมคี ณุ ภาพชีวิตทีด่ ี สามารถใช้ชวี ติ ประจำวนั ได้อย่างปกตแิ ละมคี วามสุข
2) การดำเนินนโยบายด้านครอบครัว จากสถิติที่มีอัตราการจดทะเบียนสมรสที่ลดลง และการมีบุตร
ของคู่สมรสลดลงจากภาวะเศรษฐกิจ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อระบบทางสังคมทำให้ประชากรใน
ครอบครัวลดลง สง่ ผลตอ่ จำนวนอตั ราการเกิดของประชากรเดก็ ลดลง ดงั น้นั รฐั บาลหรอื หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง
ควรมกี ารดำเนินมาตรการรณรงค์ให้ครอบครัวหรอื ค่สู มรสมีจำนวนบตุ รเพม่ิ ขึน้ โดยกำหนดสวัสดกิ ารเพิม่ เตมิ
ให้กับครอบครัว เช่น ค่าดูแลเด็ก อาหาร นม สวัสดิการด้านการศึกษา ค่าครองชีพ การมีงานทำ ซึ่งจะส่งผล
ให้ครอบครัวสามารถมีความพร้อมในการดูแลบุตรได้อย่างมีคุณภาพ และมีการส่งเสริมให้มีการจดทะเบียน
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัด ในพ้นื ทเ่ี ขตรับผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 ประจำปี 2564
[66]
สมรสและการมีบุตร มีระบบสวัสดิการสำหรับผู้มีบุตรและทารกแรกเกิด เพื่อจูงใจให้ประชาชนในประเทศ
จดทะเบียนสมรสและมีบตุ ร ซึ่งจะสง่ ผลให้สังคมมปี ระชากรช่วงวยั ต่างๆ ทส่ี มดลุ
3) การดำเนินนโยบายด้านผู้สูงอายุ จากสถิติการเพิ่มจำนวนประชากรของผู้สูงอายุและการเข้าสู่
สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย รัฐบาลควรมีนโยบายเพื่อรองรับสังคมผู้อายุมากขึ้น เช่น ด้านสวัสดิการ
ผู้สูงอายุ ด้านการส่งเสริมอาชีพรายได้ให้กับผู้สูงอายุ ด้านการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายเุ พื่อปอ้ งกนั
โรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ รวมถึงการเตรียมความพร้อมให้กับประชาชนที่ก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุให้มีความพร้อมใน
ด้านสุขภาพและด้านสังคม และผู้สูงอายุเองเป็นกลุ่มประชากรที่มีทักษะ มีองค์ความรู้ ดังนั้น ควรมีการ
ส่งเสริมในเรื่องการรวบรวม ภูมิปัญญา องค์ความรู้ ของผู้สูงอายุ เพื่อไม่ให้องค์ความรู้เหล่านั้นสูญหายไป
มีการส่งเสรมิ เรือ่ งการออม การบรหิ ารเงนิ เพ่ือสามารถดำเนนิ ชีวติ ในวัย 60 ปีขนึ้ ไป ได้อยา่ งมีความสุขและมี
คณุ ภาพชีวิตทดี่ ี
5) จำนวนคนจน มีจำนวนคนจนเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจ การส่งเสริม
การลงทุน การจ้างงานในพื้นที่ จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะทำให้ประชาชนได้มีรายได้เลี้ยงชีพ มีคุณภาพชีวิต
ที่ดีขึ้น และพ้นจากเส้นความยากจน มีการนำเทคโนโลยีมาส่งเสริมการขาย หรือการทำการเกษตรแบบ
ผสมผสานเพ่ิมข้นึ ตามศาสตร์พระราชา รจู้ ักขยัน อดออม มัธยสั ถไ์ ม่ตามกระแสโลกจนเกนิ ไป
6.3 ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ัติระดบั กลมุ่ จังหวัด
1. หนว่ ยงานระดบั พ้ืนที่ ควรมีการบูรณาการการจดั เกบ็ ข้อมูล เพ่อื ใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกัน และลดความ
ซำ้ ซอ้ นอีกทงั้ ยังเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการจัดเกบ็ ข้อมลู
2. ข้อมูลที่เกิดจากการปฏิบัติงานประจำ ควรมีการกำหนดแนวทาง/รูปแบบการจัดเก็บสถิติให้
ชัดเจน และรายงานผลเปน็ ตามระยะเวลา เผยแพร่ใหภ้ าคสว่ นท่ีเกย่ี วข้องไดร้ ับทราบข้อมลู
3. การจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัด เป็นการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลด้าน
สังคมในระดับพื้นที่ ซึ่งดำเนินการทุกปี เพื่อนำไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน/ขับเคลื่อนงานตามภารกิจ
กระทรวงฯ ควรมีการกำหนดรูปแบบในการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งการกำหนด
ระยะเวลาใหม้ คี วามชดั เจน
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวัด ในพืน้ ทเ่ี ขตรับผิดชอบของสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4 ประจำปี 2564
เอกสารอ้างองิ
1) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (2563) ระบบสถติ ิทางการทะเบยี น ณ เดือนธนั วาคม
2563 สบื คน้ เม่อื เดอื นมถิ ุนายน 2564
จากเว็บไซตh์ ttps://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statINTERNET/#/
2) สำนกั งานสถิตแิ ห่งชาติ สถิตริ ายได้และรายจา่ ยของครัวเรือน สบื คน้ เมอ่ื เดือนมถิ นุ ายน 2564
จากเวบ็ ไซตh์ ttp://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
3) สำนกั งานสถิติแหง่ ชาติ สาขาบัญชปี ระชาชาตสิ บื ค้นเมอื่ เดอื นมถิ ุนายน 2564
จากเวบ็ ไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
4) สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ สาขายตุ ธิ รรม ความม่นั คง สบื คน้ เมอื่ เดือนมถิ นุ ายน 2564
จากเวบ็ ไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
5) สำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ สถิตสิ ขุ ภาพสืบค้นเมือ่ เดอื นมิถนุ ายน 2564
จากเวบ็ ไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
6) สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ สถิตกิ ารศึกษา สบื คน้ เมอื่ เดอื นมิถุนายน 2564
จากเว็บไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
7) สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ สถิติศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม สบื คน้ เมือ่ เดอื นมิถุนายน 2564
จากเวบ็ ไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
8) สำนกั บริหารยุทธศาสตร์ กล่มุ จงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง 1
แผนพัฒนากล่มุ จังหวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนลา่ ง 1 สืบค้นเมอื่ สงิ หาคม 2564
จากเว็บไซต์ http://www.osmnortheast-s1.moi.go.th/plan_develop.php
9) สำนักบรหิ ารการปกครองทอ้ งที่ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มูลทางการปกครอง
สบื ค้นเมือ่ เดือนมถิ นุ ายน 2564 จาก https://multi.dopa.go.th/pab/main/web_index
10) Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข (2561) จำนวนหน่วยงานสาธารณสขุ
สืบคน้ เมื่อมถิ นุ ายน 2564 จาก https://hdcservice.moph.go.th /phpcat_id=b4106183b2f2915d
ทป่ี รกึ ษา ผอู้ ำนวยการสำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4
นกั พฒั นาสังคมชำนาญการพิเศษ
นางรชธร พูลสทิ ธ์ิ หัวหนา้ กล่มุ นโยบายและยทุ ธศาสตร์
นางองั ศุณชิ ฐา ศิริพลู วฒั นา
ผู้จัดทำ นกั พฒั นาสงั คมปฏบิ ัติการ
นางสุจิตรา ดีดพมิ าย
สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4
เลขท่ี 211 หมู่ 1 ถนนพมิ าย-หินดาด ตำบลนิคมสร้างตนเอง อำเภอพมิ าย จังหวัดนครราชสมี า 30110
โทร. 0 4496 5501 โทรสาร 0 4496 5500
e-mail : [email protected]
Website : tpso-4.m-society.go.th