การสรา้ งหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ E-Book วชิ าอาชีวะอนามยั และความปลอดภัย
(20001-1001)
จัดทาโดย
นาย พรทวิ า เดชขจร
นาย ยศวรุตม์ ปน่ิ ทอง
รายงานโครงการฉบับนเี้ ป็นส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู ร
ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ
วิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี
ปกี ารศกึ ษา 2564
ก
การสร้างหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ E-Book วิชาอาชวี ะอนามัยและความปลอดภัย(20001-1001)
จัดทาโดย
นาย พรทิวา เดชขจร
นาย ยศวรุตม์ ปิน่ ทอง
รายงานโครงการฉบับนเี้ ป็นสว่ นหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสตู ร
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
วทิ ยาลัยเทคนคิ นนทบุรี
ปีการศกึ ษา 2564
คณะกรรมการสอบโครงการ
......................................... ประธานกรรมการสอบและครูทีป่ รึกษา
(นางสาวกรฤดี สุขะวฒั นะ)
......................................... กรรมการ
(นางสทุ ิศา อ่อนสม้ กฤอษ)
......................................... กรรมการ
(นางสาวอมรรตั น์ เย็นลับ)
......................................... กรรมการ
(นายวศิ ณุ เวสสานนท์)
......................................... กรรมการ
(นายคุณ เวชวริ ิยาพาณชิ ย์)
ข
หัวข้อโครงงาน การสร้างหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ E-Book วชิ าอาชีวะอนามัย
และความปลอดภัย(20001-1001)
หน่วยกิต 3 หนว่ ยกติ
โดย นายพรทวิ า เดชขจร รหัสนักศกึ ษา 62202040039
นายยศวรตุ ม์ ปน่ิ ทอง รหสั นักศกึ ษา 62202040037
ครูที่ปรษึ า นางสาว กรฤดี สุขะวฒั นะ
หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ
สาขาวิชา คอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ
ปกี ารศกึ ษา 2564
บทคัดย่อ
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา การเขียนโปแกรมโดยใช้เคร่ืองกราฟฟิกโหมด
ฃคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ คือ 1.เพ่ือสร้างสื่อการเรียนการสอนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชาอาชีวะ
อนามัยและความปลอดภัย(20001-1001) 2.เพื่อศึกษาความพงึ พอใจของผู้ใชต้ ่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-
Book) วิชา การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิกโหมดประชากรที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในคร้ังน้ี
เป็นนักเรียน นกั ศึกษา แผนกวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ วทิ ยาลัยเทคนิคนนทบรุ ี ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ
(ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)และบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาปริญญาตรี
และระดับการศึกษาปริญญาโท จานวน 30 คนโดยการใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบ
ประเมินความพึงพอใจและสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของในแต่ละด้านของการสร้างหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ E-Book วิชาอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย(20001-1001) สรุปได้ว่า ด้านเนื้อหา มี
ความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.53 ด้านส่ือ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก มี
ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.60 ด้านการใช้โปรแกรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ดีมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.55
ดังนั้นการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ มีความ
พึงพอใจในระดบั ดีมาก มีค่าเฉล่ยี เทา่ กบั 4.56
ค
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบพระคณุ อาจารย์ วศิ ณุ เวสานนทท์ ่ีชว่ ยใหค้ าปรกึ ษาและชจี้ ดุ ผิดถูกของโครงงานในคร้งั นี้
และใหค้ าปรึษาคาแนะนาและคาติชมในเรอื่ งต่างๆและสนับสนุนในการจดั ทาโครงการและกข็ อขอบคุณ
อาจารย์กรฤดี สขุ ะวฒั นะทีช่ ่วยให้คาปรกึ ษาและชี้จุดผดิ ถูกของโครงงานในคร้งั นี้และยงั ใหย้ ังชว่ ยให้
หนทางในการแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดต่างๆเพ่ือใหโ้ ครงงานน้นั เสร็จสิน้ และสมบูรณ์ไปได้ด้วยดีและต้องขอบคุณ
พอ่ แม่ที่ให้ความสนับสนนุ ในเร่ืองของกาลงั ใจท่ที าใหผ้ มสามารถทาโครงงานช้ินน้ไี ปได้จนเสรจ็ กับเพื่อน
ร่วมกลมุ่ ทคี่ ่อยอยู่เคยี งข้างและช่วยกนั ทางานจนเสรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้อย่างดี
นายพรทิวา เดชขจร
นายยศวรตุ ม์ ปิ่นทอง
ง
สารบญั หน้า
บทคัดยอ่
ค
กติ ติกรรมประกาศ ง
สารบญั ง
สารบัญภาพ 21
ภาพที่ 3.1 ปกหน้าและปกหลังหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) 22
ภาพท่ี 3.2 ไฟล์โปรแกรมช่อื Flip_PDF_Pro_6.9.3 22
ภาพที่ 3.3 หนา้ ต่าง Welcome to the หนา้ ตา่ ง Welcome to the Flip PDF setup
wizard 23
ภาพท่ี 3.4 หน้าตา่ ง License Agreement 23
ภาพท่ี 3.5 หนา้ ต่าง Select Destination Location 24
ภาพท่ี 3.6 หน้าต่าง Select Additional Tasks 24
ภาพที่ 3.7 หน้าตา่ ง Ready to Install 25
ภาพท่ี 3.8 หนา้ ต่าง Install 25
ภาพท่ี 3.9 หน้าตา่ ง Installing 26
ภาพท่ี 3.10 หน้าตา่ ง Flip PDF Professional รอการใส่ Code 26
ภาพท่ี 3.11 หน้าตา่ งท้ัง 3 ไฟล์ในโฟลเดอร์ แลว้ ไปคลิกเปิดโปรแกรมทีห่ นา้ จอ 27
ภาพท่ี 3.12 หนา้ ตา่ ง Copy มาไปไวใ้ น Flip PDF Professional แลว้ ใหห้ าไฟลท์ ่ีช่ือ Patch 27
ภาพที่ 3.13 ดับเบลิ คลิกท่ไี ฟล์ Patch จะแสดงหน้าตา่ งขึน้ มา ใหค้ ลิกที่ปุ่ม Patch 27
ภาพท่ี 3.14 หน้าตา่ งลง Patch ไฟล์เรียบร้อยแลว้ คลกิ ปุ่ม OK แล้วปดิ หน้าต่าง Patch 28
ภาพท่ี 3.15 ไอคอนของโปรแกรม Flip PDF Professional 28
ภาพท่ี 3.16 วธิ ีเปิดโปรแกรม Flip PDF Professional 29
ภาพที่ 3.17 แถบเคร่ืองมือ Button Menu 31
ภาพท่ี 3.18 เลือกหัวข้อ New Project 32
ภาพที่ 3.19 Magazineท่ี Flash 32
ภาพที่ 3.20 หนา้ ตา่ ง Import PDF 33
ภาพท่ี 3.21 หน้าตา่ ง Import PDF รอการ Import 33
ภาพที่ 3.22 หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) 34
ภาพท่ี 3.23 การเปลยี่ นพ้ืนหลงั E-Book คลิกที่ Neat 34
ภาพที่ 3.24 เลอื กรูปแบบพน้ื หลังทต่ี อ้ งการ แล้วคลิก OK 35
ภาพที่ 3.25 แทบ็ Table of Contents 35
ภาพที่ 3.26 เพ่ิมหวั ข้อใหญ่
จ
ภาพที่ 3.27 เพิ่มหวั ขอ้ ย่อย 36
ภาพท่ี 3.28 ใส่ Contents เสร็จสมบรณู ์ 36
ภาพที่ 3.29 การลบหัวข้อ 37
ภาพท่ี 3.30 กาหนดสีให้กับ Tool Bar
ภาพท่ี 3.31 ผลลพั ธจ์ ากการเปล่ืยนสีใหก้ ับ Tool Bar 38
38
ภาพที่ 3.32 ขน้ั ตอนใสเ่ สยี ง Sound File 39
ภาพท่ี 3.33 เลือกไฟลเ์ สยี งท่ีตอ้ งการ 39
ภาพที่ 3.34 เลอื กไฟล์เสียงเรียบร้อยแล้ว
40
ภาพท่ี 3.35 ขน้ั ตอนการ Save Project 40
ภาพท่ี 3.36 หนา้ ต่าง Save As 40
ภาพที่ 3.37 Save เสรจ็ สมบรณู แ์ ลว้
41
ภาพท่ี 3.38 แปลงไฟล์เป็น EXE 41
ภาพที่ 3.39 หน้าตา่ ง Publish 42
ภาพท่ี 3.40 เลือกท่เี กบ็ ไฟล์ และใส่ชือ่ 42
ภาพท่ี 3.41 โปรแกรม Publish เสร็จเรยี บร้อยแลว้
ภาพที่ 3.42 หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) วชิ า โปรแกรมนาเสนอ (20204-2104) 43
43
ภาพท่ี 3.43 ไฟล์ โครงงานการสร้างหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ e- book วิชา อาชีวอนามัยและ 44
ความปลอดภยั (20001-1001)
ภาพที่ ข.1 หนา้ ปกหนังสือ 59
ภาพท่ี ข.2 เครื่องมือต่างๆ 59
ภาพที่ ข.3 หนา้ คานา 60
ภาพที่ ข.4 หนา้ จุดประสงค์รายวชิ าสมรรถนะรานวิชาและคาอธบิ ายรายวิชา 60
ภาพท่ี ข.5 หน้าแรก 61
ภาพท่ี ข.6 แบบประเมนิ ผลหลงั เรยี น 61
ภาพท่ี ข.7 หน้าปกหลัง 62
สารบัญตาราง จ
ตารางท่ี 1.1 แผนระยะเวลาในการดาเนนิ งาน 2
ตารางท่ี 1.2 งบประมาณและค่าใช้จ่ายในการทาโครงการ 3
ตารางท่ี 3.1 คุณสมบตั ขิ องแถบเครอื่ งมือ Button menu 29
ตารางท่ี 3.2 คณุ สมบตั ขิ องเคร่ืองมือ Tool Settings 30
ฉ
ตารางท่ี 3.3 คุณสมบตั ิของเคร่อื งมือ Auto Flip Button 29
ตารางท่ี 3.4 คุณสมบัติของเคร่อื งมือ Auto Flip Button (ต่อ) 29
ตารางที่ 3.5 คุณสมบตั ิของเครอ่ื งมือ Auto Flip Button (ตอ่ ) 29
ตารางท่ี 3.6 คุณสมบัติของเครือ่ งมือ HTML Settings 29
ตารางที่ 3.7 คุณสมบตั ขิ องเครื่องมือ Table of Contents 30
ตารางท่ี 4.1 แสดงค่ารอ้ ยละของขอ้ มูลพน้ื ฐานของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามเพศ 46
ตารางท่ี 4.2 แสดงค่ารอ้ ยละของข้อมลู พน้ื ฐานของผตู้ อบแบบประเมนิ
47
จาแนกตามระดับการศกึ ษา 47
ตารางท่ี 4.3 แสดงระดับคะแนน และเกณฑ์การประเมนิ 48
ตารางที่ 4.4 แสดงระดับคา่ เฉลีย่ (x)̅ และระดับความพึงพอใจ 48
48
ตารางที่ 4.5 แสดงความถี่ ค่าเฉลี่ย (x̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)ของระดับความพงึ 1
พอใจต่อหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)วิชา อาชวี อนามยั และความปลอดภัย 1
บทที่ 1 บทนา 1
1
1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงงาน 2
1.3 ขอบเขตของโครงงาน 3
1.4 เปา้ หมาย 3
1.5 สถานท่ีดาเนนิ การ 3
1.6 วิธีการดาเนินงาน 3
1.7 ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ ับ 4
1.8 การตดิ ตามและการประเมินผล 5
1.9 ปัญหาและอปุ สรรคที่อาจจะเกดิ ขนึ้ 5
1.10 ผ้รู ับผิดชอบโครงการ 5
1.11 ครทู ี่ปรกึ ษา 7
2.ทฤษฎีและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง 9
2.1 หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ 11
2.1.1 ววิ ัฒนาการของหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ 14
2.1.2 ความสาเร็จของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ 14
2.1.3 ประเภทของหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ 16
2.1.4 องคป์ ระกอบของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์
2.2 งานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง
2.2.1 งานวจิ ัยท่ีเกีย่ วขอ้ ง
2.2.2 งานวิจยั ต่างประเทศ
3.วธิ ีการดาเนนิ งาน ช
3.1 วธิ ีการดาเนนิ โครงการ
3.2 การออกแบบและวางแผนการสรา้ งหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์(E-Book) 20
3.3 การตดิ ตัง้ โปรแกรม Flip PDF Professional 20
3.4 การใช้งานโปรแกรม Flip PDF Professional 20
3.5 การสร้างหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์เบอ้ื งตน้ 21
28
4. ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 31
4.1 ประชากร 45
4.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู 45
4.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 46
4.4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 46
46
5. สรปุ ผลปัญหาและข้อเสนอแนะ 51
5.1 สรุปผลการดาเนนิ งาน 51
5.2 ปญั หาและอปุ สรรค 51
5.3 ขอ้ เสนอแนะ
1
บทท่ี1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคญั ของปัญหา
ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีส่วนสาคัญในชีวิตประจาวันมากขึ้น ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี
และคอมพวิ เตอร์ ดงั น้นั จงึ นาคอมพวิ เตอร์มาใช้เปน็ ส่ือการสอน โดยการทาหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์เพ่ือทา
ให้ผเู้ รียนเกดิ ความสนใจในการศกึ ษามากขน้ึ
หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์(E-Book)เป็นเคร่ืองมือทจี่ ะมาช่วยถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้าน
การเรยี นรู้ใหก้ บั ผูเ้ รยี น ทาให้ผู้เรยี น สามารถอ่านหรอื เรยี นรูท้ ไ่ี หนก็ได้และสามารถเรียนตามจดุ ประสงค์
ที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพและยังประหยัดทรัพยากรที่ด้วยเพราะว่าการเรียนโดยใช้หนังสือน้ัน
เม่ือเรยี นเสรจ็ แล้วกต็ อ้ งเก็บและไม่ได้เอามาใชเ้ พราะมีหนังสือเล่มอ่ืนเขา้ มาหลักสตู รใหม่และวิธีใหม่และ
ขอ้ มูลใหมเ่ ม่อื เรยี นเสร็จกเ็ ก็บและเป็นแบบนี้วงๆไปเร่ือยๆมันจึงทาให้เสยี ทรัพยากรโดยใช้เหตุ
(E-Book)จงึ เปน็ สิ่งท่ีจะมาแกป้ ัญหานี้
ดังนน้ั จงึ ไดส้ ร้างหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภยั เพ่อื ให้
ใช้ใรการเรียนการสอนและเรียนรดู้ ้วยตนเองอย่างมีประสทิ ธภิ าพ เข้าใจได้ง่ายและสะดวกต่อเรียนรู้ของ
นักเรียนหรือผู้สนใจในการศกึ ษาวชิ าอาชวี อนามยั และความปลอดภัย ไดส้ ะดวกและง่ายตอ่ การศึกษา
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพ่ือ สร้างหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส(์ E-BOOK) วชิ าอาชีวอนามยั และความปลอดภยั
2.เพื่อ ศึกษาหาความพึงพอใจของผู้ใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-BOOK)วิชาอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
1.3 ขอบเขตของโครงงาน
10 พฤศจกิ ายน 2564 ถึง 18มีนาคม2565
1.4 เปา้ หมาย
1.4.4 เชิงปริมาณ การสร้างหนังสือ(E-BOOK) วิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย(20001-
1001)มีเน้ือหาการเรยี นท้งั หมด 10 หน่วยการเรยี นรู้
1.4.2 เชิงคุณภาพ ผู้จัดทาโครงงานการทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-BOOK)วิชาอาชีวอนามัย
และความปลอดภัยมคี วามปลอดภยั มคี วามคาดการความพึงพอใจจากผใู้ ช้หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์อย่างย่ิง
1.5 สถานทดี่ าเนินการ
ที่อยู่อาศยั และ สถานศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนนทบรุ ี โดย อาคารศูนยว์ ิทยาบรกิ าร
2
1.6 วธิ ีการดาเนินงาน
ตารางท่ี 1.1 แผนระยะเวลาในการดาเนนิ งาน
ขน้ั ตอน เดอื นที่ 1-2 เดือนที่ 3-4
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
1.ศกึ ษาหัวข้อ
โครงงาน
2.เสนอหัวขอ้
โครงงาน
3.รวบรวมข้อมูล
4.ดาเนินการทา
โครงการ
5.ตรวจสอบ
ความถกู ตอ้ ง
6.แกไ้ ขปรบั ปรงุ
7.ประเมินผล
8.รายงานผล
3
10.ค่าใช้จา่ ย(งบประมาณ) รวมเงนิ หมายเหตุ
ตารางท่ี 1.2 งบประมาณและคา่ ใช้จา่ ยในการทาโครงการ 110
รายการวัสด/ุ อุปกรณ์ จานวนหน่วย ราคาต่อหนว่ ย
1. แฟรชไดร์ 1 110
2.สี,หมกึ 5 100 120
3.กระดาศ 5230 200 400
รวมเงนิ 630
ตัวอกั ษร (หกหร้อยสามสิบ)
1.7 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ
1.เพื่อใหผ้ ู้จดั ทาโครงการจะไดร้ บั รูใ้ นการทาหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์(E-BOOK)
2.ใหผ้ จู้ ดั ทาโครงการได้มคี วามร้วู ชิ าอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
3.เพ่ือใหผ้ ูจ้ ดั ทาได้ร้ทู ักษะเก่ียวกับการทาโครงการ
4.เพ่ือให้รูก้ ารจัดทาโครงการในการทางานอย่างเปน็ ระบบ
1.8 การตดิ ตามและการประเมินผล
การตดิ ตามและการประเมินผลของโครงการจะติดตามประเมินผลสปั ดาหล์ ะ1ครัง้ คือวนั
พฤหัสบดีในชวั่ โมงวชิ าโครงการโดยมคี รผู ู้สอน นาย วิศณุ เวสานนท์เปน็ ครูผตู้ ิดตามและใหค้ า
ปรึษาในการทาโครงการและชว่ ยดูแลจดุ ทตี่ ้องจัดการแก้ไขในชนิ้ งานระหว่างการทาโครงงานการ
สรา้ งสืออิเล็กทรอนิกส์ E-Book วิชาอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย(20001-1001)
1.9 ปัญหาและอปุ สรรคที่อาจจะเกิดขึน้
ในการดาเนนิ งานจดั ทาโครงการสรา้ งหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์(E-Book) วชิ าอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย(20001-1001)คาดว่าจะเกดิ อุปสรรคดงั นี้
1.เร่ืองของระยะเวลาการทาโครงงานท่นี ้อย
2.เรอ่ื งของการหาภาพท่ีไม่ตดิ ลขิ สิทธ์ิ
3.ผู้จัดทาไมเ่ คยมีประสบการณก์ ารทาโครงงานมาก่อน
1.10 ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ
1.10.1 นายพรทวิ า เดชขจร รหสั นกั ศึกษา 62202040039
1.10.2 นายยศวรตุ ม์ ปนิ่ ทอง รหสั นกั ศึกษา 62202040037
4
1.11 ครูท่ปี รึษาโครงงาน
1.12.1 นางสาวกรฤดี สุขะวัฒนะ
1.12.2 นางสาวสทุ ศิ า อ่อนส้มกฤษ
1.12.3 นางสาวอมรรตั น์ เย็นลับ
1.12.4 นายวศิ ณุ เวสสานนท
1.12.5 นายคุณ เวชวริ ยิ าพาณชิ ย์
5
บทที่ 2
ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัยครั้งน้ี เพ่ือทาให้เข้าใจหลักการ
แนวคิดและทฤษฏีต่างๆ ตลอดจนผลการวิจัยท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ซ่ึงผู้วิจัยได้จัดแบ่งเป็นหัวข้อต่างๆ
ดังตอ่ ไปน้ี
2.1 ความหมายของหนังสอื พมิ พ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์
2.2.1 วิวัฒนาการของหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์
2.2.2 ความสาคัญของหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์
2.2.3 ประเภทของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์
2.2.4 องคป์ ระกอบของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
2.2 งานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง
2.2.1 งานวจิ ยั ภายในประเทศ
2.2.2 งานวิจยั ต่างประเทศ
2.1 หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
E-Book ย่อมาจากคาว่า Electronic Book หมายถึงหนังสือท่ีสร้างข้ึนด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่าน
เอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ท้ังในระบบออฟไลน์และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ตลอดจนมี
ปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ นอกจากน้ันหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง
ภาพเคล่ือนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีก
ประการหน่ึงที่สาคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซ่ึง
คณุ สมบัติเหลา่ น้จี ะไม่มใี นหนงั สือธรรมดาท่วั ไป
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ได้มีผู้ให้คานิยามไว้หลายท่าน โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ
คือลักษณะของซอฟท์แวร์ ฮาร์ดแวร์และในลักษณะที่เป็นท้ังซอฟท์แวร์ละฮาร์ดแวร์ หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์รวมกัน เป็นหนังสือเล่มที่ถูกดัดแปลงให้อยู่ในรูปแบบเอกสารอิเล็ดทรอนิกส์ ผู้อ่าน
สามารถอ่านข้อมูลได้จากจอคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นการนาเสนอข้อมูลข่าวสารตา่ งๆ และสามารถ
ดงึ ขอ้ มูล (Download) มาจากอนิ เทอร์เนต็ หรือซีดรี อมไดง้ ่าย
2.1.1. วิวฒั นาการของหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์
ทองสุข เอียงศิริ (2553, ไม่ปรากฏเลขหน้า) ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมาหรือวิวัฒนาการของ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไว้ว่าความคิด ในเร่ืองหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้ปรากฏในนิยายทาง
6
วทิ ยาศาสตรม์ าตัง้ แต่ภายหลังปี ค.ศ.1940 เป็นหลักการใหมข่ องคอมพวิ เตอร์ตามแผน ไอ บี เอ็ม(IBM)
มีผลิตภัณฑ์ คือ บุ๊คมาสเตอร์ (BOOK Master) เน้ือหาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในปี 1980 และก่อนปี
1990 ในช่วงแรกมี 2 สว่ น คือ เรื่องเกย่ี วกับคู่มืออ้างอิงและการศึกษาบันเทิงงานท่ีเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ที่
ซับซ้อน เช่น Silicon Graphics,Novel และผู้ผลิตได้ผลิตคู่มือได้นาเท็กซ์ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
จานวน 12 ชื่อตามรูปแบบเทคโนโลยีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์และในช่วงสิบปีมานี้ ได้เห็นความ
พยายามท่ีจะนาผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เข้ามาจาหน่ายในโลกแห่งความจริง แต่
ส่วนมากกล็ ม้ เหลวแตก่ ม็ ีบ้างท่ียงั พบอยใู่ นตลาด เชน่ บคุ๊ แมนหรือ แฟรงคค์ ลิน บคุ๊ แมนซง่ึ การใช้งาน
ยังคงห่างไกลที่จะเข้ามาเชื่อมโยงในตลาดกระแสแมนสตรีมได้พบปัญหาของอุปกรณ์เหล่านี้ก็คือ
จอภาพขนาดเล็ก ท่ีสามารถอ่านออกได้ยาก อายุการใช้งานแบตเตอร์ร่ีที่ค่อนข้างส้ัน อีกท้ังไม่มี
เทคโนโลยีในการเปลีย่ นแปลงรหสั เพื่อป้องกันข้อมูลของผูพ้ ิมพใ์ นเรื่องของ ลิขสทิ ธ์ิของตวั อักษร อีก
ทั้งวิธีจัดจาหน่ายและแสดงผลต่างๆ กันก็ยังไม่สะดวกต่อผู้ใช้ อย่างเช่นการใช้แผ่นซีดีรอมหรือตลับ
บรรจุแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสพ์ ัฒนาการอันหนึ่งได้เข้ามามสี ว่ นช่วยให้หนงั สืออิเล็กทรอนิกสเ์ กิดการ
รุดหนา้ เร็วข้ึนจนสามารถบรรลุผลในการเป็นหนังสือที่สมบูรณ์แบบก็คือ แลบ็ ทอ็ ปคอมพิวเตอร์นั่นก็
คือการนาบางส่วนของแล็บท็อป เช่น สกรีนมาใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญที่สุดก็คือ ในระยะ
เม่ือไม่ก่ีปีมานี้ราคาของ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ได้ลดลงไปมากจนทาให้การผลิตหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์มีคุณภาพสูง นอกจากน้ีการบูมของอินเทอร์เน็ตก็ได้เข้ามาทาให้มนุษยสามารถสง่ สิ่งที่
เป็นเอกสารหรือหนังสือได้คราวละมากๆ โดยอาศัยอินเทอร์เน็ตและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อย และไม่
ต้องมีดิสก์เก็ตหรือการ์ดสาหรับการใชใ้ นการเกบ็ ข้อมูล เช่น นวนิยาย หรือเอกสารตารา ในกรณีที่มผี ู้
เกรงวา่ จะมีการละเมิดลิขสิทธด์ิ ว้ ยการอาศยั ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์เป็นเครื่องมอื ในการรับสง่ หนังสือ
ตารา หรือนวนิยายน้ัน ก็สามารถป้องกันได้ด้วยการใช้รหัสเพ่ือไม่ให้บรรดาผู้ใช้หนังสืออิเล็กทรอ
นิกส์สามารถให้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ในการแจกจ่ายเน้ือหาในหนังสือนวนิยายหรือตาราโดยไม่
ต้องไปหามาซ้ือ หน่ึงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ก็ได้อาศัยหลักการที่ว่าจะนาเทคโนโลยีท่ีมีความบางเบา
มากมาใช้ เช่น สกีนโดยจะละท้ิงทุกสิ่งในแล็ปท็อปที่มีน้าหนักมาก เช่น โปรเซสเซอร์แบบเฮฟวี่ดิวตี้
งานพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จึงได้มุ่งหนักไปในเร่ืองของความบางเบาและการพิมพ์ทุกอย่างลง
บนพลาสติกหรือสิ่งอื่นใดท่ีจะนามาทาหน้าท่ีคลา้ ยกบั กระดาษให้มากท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ อันหมายถงึ
การพิมพ์ต้ังแต่สิ่งที่เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์จนถึงสิ่งอื่นๆ เช่นหน่วยความจาสารอง (ภายในหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์จะไม่มีซีพียู ลง บนแผ่นบางๆ) ที่จะทาหน้าที่เป็นส่วนประกอบของหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์อันเนื่องจากต้องการประหยัดน้าหนักนอกจากน้ี ลักษณะที่กล่าวมาของไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ก็ยังมีส่วนที่เรียกว่า เนื้อหาด้วย ซ่ึงเนื้อหาในท่ีน้ีได้มีกล่าวไว้ว่า เน้ือหาเป็นเคร่ืองมือที่
สามารถใช้ประโยชน์บนเครอื ขา่ ยมคี วามสามารถในการสง่ สัญญาณเสียงการแพรก่ ระจายของวสั ดุ
7
วรารัตน์ โอปอ (2555, หน้า 16) วิวัฒนาการของ E-Book ซ่ึงหมายถงึ เอกสารบทความตาราท่ี
จัดทาในระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือบันทึกในส่ือไฟฟ้า เป็นความก้าวหน้าอีกมุมหน่ึงของระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศในยุค ปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศได้เขา้ มามีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมาก
โดยเฉพาะเทคโนโลยที างด้านคอมพิวเตอรก์ ารจดั ทาเอกสารสาหรับ E-Book มไี ด้หลายรูปแบบขึ้นอยู่
กับผู้ผลิต เช่น ในรูปแบบเอกสารท่ีทาด้วย Microsoft Word หรือในรูปแบบ Microsoft PowerPoint
โดยบางรายใช้โปรแกรมช่วยให้เอกสารท่ีจัดทาสามารถมีลูกเล่นในการพลกิ หน้ากระดาษให้ดูเหมอื น
การพลิกหน้าหนังสือ บางรายจัดทาเอกสารในรูปแบบที่เปล่ียนแปลงไม่ได้ เช่น เอกสารที่เป็นแบบ
PDF fle นอกจากน้ันยังมีผู้จัดทาเอกสารบทความในรูปแบบท่ีสามารถใช้ได้ในอุปกรณ์ พกพา เช่น
การทาบทความสาหรับอ่านในเคร่ือง PDA เช่น Palm หรือ iPadประโยชนข์ องการทาเอกสาร บทความ
ตาราในรูปแบบ E-Book น้ี จะเปน็ ประโยชน์อย่างย่ิงหากมีการเผยแพร่ในระบบเครือข่ายและมบี ริการ
เครือข่ายท่ีท่ัวถึง เน่ืองจากจะสามารถลดความสาคัญของระบบการจัดทาเอกสารที่ต้องบันทึกบน
กระดาษ เช่น หนังสืออย่างท่ีนิยมใช้ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามวิวัฒนาการของเทคโนโลยี ทาให้เกิด
แนวคิดท่ีจะทา E-Magazine ซ่ึงเป็นนิตยสารที่เผยแพร่ในระบบเครือข่าย เพ่ือให้สมาชิก Download
หรือให้สิทธิในการเปิดอ่าน รวมท้ังแนวความคิดที่จะให้สามารถซื้อขายหนังสือในรูปแบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ควบคู่กับการจาหน่ายหนังสือที่จะต้องมีการตีพิมพ์ เช่น ที่นิยมในปัจจุบันจากท่ีกล่าว
มาข้างต้น สรุปได้ว่า ประวัติความเป็นมาหรือวิวัฒนาการของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ิมมาตั้งแต่ปี
ค.ศ.1940 เป็นหลักการใหม่ของคอมพิวเตอร์ตามแบบแผน มักจะเป็นเร่ืองเก่ียวกับการผลิตและการ
เผยแพร่เอกสารทางวิชาการพร้อมๆ กับการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ซับซ้อนและในช่วงสิบปีมานี้หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์รุดหน้าเร็วข้ึนจนสามารถบรรลุผลในการเป็นหนังสือท่ีสมบูรณ์แบบ งานพัฒนา
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จึงได้มุ่งหนักไปในเร่ืองของความบางเบาและการพิมพ์ทุกอย่างลงบนแผ่น
พลาสตกิ หรอื ส่ิงอ่นื ใดท่ีจะนามาทาหน้าทีค่ ลา้ ยกับกระดาษให้มากทส่ี ุดเทา่ ทจี่ ะทาได้
2.1.2 ความสาคัญของหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์
สภุ าภรณ์ สิปเวสม์ (2545, หนา้ 12) ไดใ้ หค้ วามสาคญั หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ว้วา่
1. ช่วยให้ผู้เรียนน้อยสามารถย้อนกลับเพ่ือทบทวนบทเรียนหากไม่เข้าใจและสามารถเลือก
เรียนไดต้ ามเวลาและสถานทที่ ีต่ นเองสะดวก
2. การตอบสนองที่รวดเร็วของคอมพิวเตอร์ท่ีให้ทั้งสีสัน ภาพ และเสียงทาให้เกิดความ
ต่นื เตน้ และไม่เบอ่ื หนา่ ยและยังช่วยให้ผู้สอนมีเวลาศกึ ษาและพฒั นาความสามารถของตนได้มากข้ึน
3. ช่วยให้การเรียนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีประสิทธิภาพในแง่ท่ีช่วยลดค่าใช้จ่าย
สนองความตอ้ งการและความสามารถของบคุ คล มปี ระสทิ ธผิ ลในแง่ทาใหผ้ ้เู รียนบรรลจุ ดุ มงุ่ หมาย
4. สามารถทาสาเนาได้อย่างสะดวก ทั้งสาเนาในรูปของเอกสาร และสาเนาลงแผ่นซีดีรอม
หรือ สาเนาลงในฮารด์ ดสิ ก์
8
5. ผเู้ รยี นสามารถเลอื กเรยี นหัวข้อท่ีตนสนใจข้อใดก่อนกไ็ ด้ และสามารถยอ้ นกลบั ไปกลับมา
ในเอกสารหรือกลับมาท่ีจดุ เริ่มตน้ ใหม่ไดอ้ ย่างสะดวกและรวดเร็ว
6. สามารถแสดงทั้งข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงได้พร้อมกันหรือจะเลือกให้
แสดงอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งก็ได้
7. การจัดเก็บข้อมูลจะสามารถจัดเกบ็ เป็นไฟล์แยกระยะตัวอักษรภาพน่ิงภาพเคล่ือนไหวและ
เสียง โดยใช้เท็กซ์ไฟล์เป็นศูนย์รวม แล้วเรียกมาใช้ร่วมกันได้ โดยการเชื่อมโยงข้อมูลจากส่ือต่างๆ ท่ี
อยู่ในคนละที่เข้าด้วยกัน นอกจากน้ันยังสามารถปรับเปลี่ยน แก้ไข และเพิ่มเติมข้อมูลได้ง่ายสะดวก
รวดเรว็ ทาให้สามารถปรับปรงุ บทเรยี นให้ทนั สมัยกับเหตกุ ารณไ์ ด้เปน็ อยา่ งดี
8. ผู้เรียนสามารถค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องท่ีกาลังศึกษาจากแฟ้มเอกสารอื่นๆ ที่
เช่ือมโยงอยู่ได้อย่างไม่จากัดจากท่ัวโลกกุสาวดี หัสแดง (2555, บทคัดย่อ) ได้ให้ความสาคัญหนังสือ
อเิ ล็กทรอนิกส์ไว้ว่า
1. เป็นส่ือที่รวมเอาจุดเด่นของส่ือแบบต่างๆ มารวมอยู่ในส่ือตัวเดียวคือสามารถแสดงภาพ
แสง เสยี ง ภาพเคลื่อนไหว และการมีปฏสิ ัมพันธก์ ับผู้ใช้
2. ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ พัฒนาการเรียนรู้ และเขา้ ใจเน้ือหาวชิ าได้เรว็ ขน้ึ
3. ครูสามารถใช้หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ในการชักจูงผเู้ รียนในการอ่าน การเขียน, การฟัง และ
การพดู ได้
4. มีความสามารถในการออนไลน์ผ่านเครือข่ายและเช่ือมโยงไปสโู่ ฮมเพจและเว็บไซต์ตา่ งๆ
อีกทั้งยังสามารถอา้ งอิงในเชิงวชิ าการได้
5. หากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต จะทาให้
การกระจายสื่อทาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และกว้างขว้างกวา่ สือ่ ท่อี ยใู่ นรปู ส่งิ พมิ พ์
6. สนับสนุนการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือน ห้องสมุดเสมือน และห้องสมุด
อเิ ล็กทรอนิกส์
7. มีลักษณะไม่ตายตัว สามารถแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาอีกท้ังยังสามารถ
เช่อื มโยงไปสขู่ อ้ มูลทเ่ี กี่ยวข้องได้โดยใชค้ วามสามารถของไฮเปอรเ์ ท็กซ์
8. ในการสอน หรือ อบรมนอกสถานที่ การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะช่วยให้เกิดความ
คล่องตวั ยงิ่ ขน้ึ เน่อื งจากสอ่ื สามารถสรา้ งเก็บไว้ในแผ่นซดี ไี ดไ้ มต่ อ้ งหอบห้วิ สอ่ื ซ่ึงมีจานวนมาก
9. การพิมพ์ทาได้รวดเร็วกว่าแบบใช้กระดาษ สามารถทาสาเนาได้เท่าท่ีต้องการประหยัด
วัสดุในการสร้างส่ือ อกี ท้ังยงั ชว่ ยอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มอกี ดว้ ย
10. มีความทนทาน และสะดวกต่อการเก็บบารุงรักษา ลดปัญหาการจัดเก็บเอกสารย้อนหลัง
ซ่ึงต้องใช้เนื้อที่หรือบริเวณกว้างกว่าในการจัดเก็บ สามารถรักษาหนังสือหายาก และต้นฉบับเขียน
ไมใ่ หเ้ สื่อมคณุ ภาพ
11. ช่วยให้นกั วชิ าการและนกั เขียนสามารถเผยแพร่ผลงานเขียนได้อย่างรวดเร็ว
9
2.1.3. ประเภทของหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์
Baker (1992 อา้ งถงึ ใน สายพริ ณุ ผุสดี, 2552) กลา่ วไว้ว่า หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ แบง่ ออกเป็น
10 ประเภท ดงั นี้
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือแบบตารา (Textbooks) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบ
หนังสือปกติที่พบเห็นท่ัวไป หลักหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้สามารถกล่าวได้ว่าเป็นการแปลง
หนังสือจากสภาพส่ิงพิมพ์ปกติเป็นสัญญาณดิจิตอลเพิ่มศักยภาพเดิมการนาเสนอ การปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้วยศักยภาพของคอมพิวเตอร์ข้ันพ้ืนฐาน เช่น การเปิดหน้า
หนงั สือ การสบื ค้นการคดั เลอื ก เป็นตน้
2. หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ แบบหนงั สือเสยี งอ่าน มีเสียงคาอา่ น เมือ่ เปดิ หนงั สือจะมีเสียง
อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทเหมาะสาหรับหนังสือเด็กเร่ิมเรียน หรือหนังสือฝึกออกเสียงหรือ
ฝึกพูด (Talking Book1) เป็นต้น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดน้ีเป็นการเน้นคุณลักษณะด้านการ
นาเสนอเน้ือหาท่ีเป็นตัวอักษร และเสียงเป็นคุณลักษณะหลัก นิยมใช้กับกลุ่มผู้อ่านท่ีมีระดับลักษณะ
ทางภาษาโดยเฉพาะด้าน การฟัง หรือ การอ่านค่อนข้างต่า เหมาะสาหรับการเริ่มต้นเรียนภาษาของ
เด็กๆ หรือผทู้ กี่ าลงั ฝกึ ภาษาที่สอง หรอื ฝึกภาษาใหม่เปน็ ต้น
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสือภาพนิ่ง หรืออัลบั้มภาพ (Static PictureBooks)
เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ท่ีมีคุณลักษณะหลักเน้นจัดเก็บข้อมูล และนาเสนอข้อมูลในรูปแบบ
ภาพน่ิง (StaticPicture) หรืออัลบ้ัมภาพเป็นหลัก เสริมด้วยการนาศักยภาพของคอมพิวเตอร์มาใช้ใน
การนาเสนอ เชน่ การเลือกภาพท่ตี ้องการ การขยายหรอื ยอ่ ขนาดภาพหรือตัวอักษร การสาเนาหรือการ
ถ่ายโอนภาพ การแต่งเติมภาพ การเลือกเฉพาะส่วนของภาพ (Cropping) หรือเพิ่มข้อมูล เช่ือมโยง
ภายใน (Linking information) เช่น เชื่อมข้อมูลอธิบายเพ่มิ เตมิ เชอ่ื มข้อมูลเสียงประกอบ เป็นตน้
4. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบหนังสือภาพเคลื่อนไหว (Moving Picture Books)เป็น
หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ที่เน้น การนาเสนอข้อมูลในรูปแบบภาพวีดีทัศน์ (Video Clips) หรอื ภาพยนตร์
สั้นๆ (Films Clips) ผนวกกับข้อมูลสนเทศท่ีอยู่ในรูปตัวหนังสือ (Text Information)ผู้อ่านสามารถ
เลือกชมศึกษาข้อมูลได้ ส่วนใหญ่นิยมนาเสนอข้อมูลเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ หรือเหตุการณ์สาคัญ
เช่น ภาพเหตุการณ์สงครามโลก ภาพการกล่าวสุนทรพจน์ของบคุ คลสาคัญๆ ของโลกในโอกาสต่างๆ
ภาพเหตกุ ารณค์ วามสาเร็จหรือสูญเสยี ของโลก เป็นตน้
5. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบหนังสือสื่อประสม (Multimedia) เป็นหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นเสนอข้อมูลเน้ือหาสาระ ในลักษณะแบบส่อื ผสมระหว่างสือ่ ภาพ (VisualMedia)
เป็นท้ังภาพน่ิง และภาพเคลื่อนไหวกับส่ือประเภทเสียง (Audio Media) ในลักษณะต่างๆผนวกกับ
ศกั ยภาพของคอมพวิ เตอรอ์ น่ื เช่นเดียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อ่นื ๆ ท่กี ลา่ วมาแล้ว
6. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสือส่ือหลากหลาย (Polymedia Books)เป็นหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีลักษณะเช่นเดียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบส่ือประสม แต่มีความหลากหลาย
10
ในคุณลักษณะด้านความเช่ือมโยงระหว่างข้อมูลภายในเล่มที่บันทึกในลักษณะต่างๆ เช่นตัวหนังสือ
ภาพนง่ิ ภาพเคล่ือนไหว เสยี งดนตรี และอื่นๆ เปน็ ต้น
7. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสือเชื่อมโยง (Hypermedia Book) หนังสือที่มี
คณุ ลักษณะสามารถเช่อื มโยงเนื้อหาสาระภายในเล่ม (Internal Information Linking) ซ่ึงผูอ้ ่านสามารถ
คลิกเพื่อเช่ือมไปสู่เนื้อหาสาระท่ีออกแบบเช่ือมโยงกันภายในการเช่ือมโยงเช่นน้ีมีคุณลักษณะ
เช่นเดียวกับบทเรียนโปรแกรมแบบแตกกิ่ง (Branching Programed Instruction) นอกจากน้ยี ังสามารถ
เชอื่ มโยงกบั แหล่งเอกสารภายนอก (External or Information Sources) เมอ่ื เช่ือมตอ่ ระบบอนิ เตอร์เน็ต
8. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสืออัจฉริยะ (Intelligent Electronic Books)เป็น
หนังสือประสม แต่มีการใช้โปรแกรมชั้นสูงท่ีสามารถมีปฏิกิริยา หรือ ปฏิสัมพันธ์ กับผู้อ่านเสมือน
หนงั สือมสี ตปิ ัญญา (อัจฉริยะ) ในการไตร่ตรองหรอื คาดคะเน ในการโตต้ อบ หรือปฏกิ ิริยากบั ผอู้ ่าน
9. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบสื่อหนังสือทางไกล (Telemedia ElectronicBooks)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทน้ีมคี ุณลักษณะหลักต่างๆ คล้ายกับ (Hypermedia ElectronicBooks แต่
เนน้ การเช่ือมโยงกับแหล่งข้อมูลภายนอกผา่ นระบบเครือขา่ ย (Online InformationSourcess) ท้ังที่เป็น
เครือข่ายเปิด และเครือขา่ ยเฉพาะสมาชกิ ของเครือขา่ ย
10. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสือไซเบอร์เสปซ (Cyberspace books) หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้มีลักษณะเหมือนกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หลายๆ แบบ ที่กล่าวมาแล้วผสม
กัน สามารถเช่ือมโยงแหล่งข้อมูลทั้งจากแหล่งภายในและภายนอก สามารถนาเสนอข้อมูลในระบบ
สื่อที่หลากหลาย สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่าน ได้หลากหลายจินตวีร์ คล้ายสังข์ (2555) ได้แบ่ง
หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ สเ์ ปน็ 4 ประเภท หลักดังนี้
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเน้นข้อความ (Text-Based e-book) เอกสาร
อเิ ล็กทรอนิกสท์ ี่คงรปู แบบของหนังสือแบบด้ังเดิม คอื ประกอบด้วยข้อความ และภาพ แตไ่ ด้ดดั แปลง
ให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้สะดวกต่อการเข้าถึง และความยืดหยุ่นของการใช้งานของ
ผเู้ รยี นอกี ทั้งยังเป็นการแปลงหนังสือจากสภาพสื่อ Desktop Publishing ปกตเิ ป็นสัญญาณดิจิทลั ทาให้
เพ่ิมศักยภาพการนาเสนอ ไม่ว่าจะเป็น การคนหน้าหนังสือ การสืบค้นและการคัดเลือก เป็นต้น ช่วย
ให้ผู้เรียนสามารถย้อนกลับ เพื่อทบทวนบทเรียนหากไม่เข้าใจและสามารถเลอื กเรียนได้ตามเวลาและ
สถานที่ที่ตนเองสะดวกช่วยให้การเรียนมีประสิทธิภาพในแง่ที่ลดเวลาลดค่าใช้จ่าย ผู้เรียนสามารถ
เลือก วัดที่สนใจข้อใดก่อนก็ได้ และสามารถย้อนกลับไปกลับมาในเอกสารหรือกลับมา เร่ิมต้นท่ี
จุดเรม่ิ ต้นใหมไ่ ด้อย่างสะดวกรวดเร็ว
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบมัลติมีเดีย (Multimedia E-Book) หมายถึง ลดสาร
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้คุณสมบัติของส่ือมัลติมีเดียที่ประกอบไปด้วยภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว วีดีทัศน์
เสียงตลอดจนแอนิเมชั่นต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกท้ังยังสามารถปรับเปล่ียน แก้ไข
11
เพิ่มเติมข้อมูลได้ง่ายสะดวกรวดเร็ว ทาให้สามารถ ปรับปรุงบทเรียนให้ทันสมัยกับเหตุการณ์ได้เป็น
อย่างดี
3. หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบปฏสิ มั พันธ์ (Interactive E-Book) หมายถงึ เอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นคุณสมบัติปฏิสัมพันธ์ระหว่างเอกสารและผู้เรียน เพ่ือช่วย ให้เกิดการเรียนรู้โดย
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่าน้ีมีวิธีเก็บในลักษณะพิเศษ นั่นคือ จากไฟล์ข้อมูลหน่ึง ผู้อ่านสามารถ
เรียกดูข้อมูลอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องได้ทันทีหากข้อมูล ที่กล่าวมาน้ีเป็นข้อความท่ีเป็นตัวอักษรสามารถเรียก
การเชื่อมโยงลักษณะน้ีว่า ข้อความ หลายมิติ (Hypertext) และหากข้อมูลนั้นรวมถึงการเช่ือมโยงกับ
เสียงและภาพเคล่ือนไหว ด้วย จะเรียกการเชื่อมโยงลักษณะนี้ว่าส่ือประสมหรือสื่อหลายมิติ
(Hypermedia)
4. หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์แบบเน้นแหล่งข้อมูล (Resource-Based e-book)หมายถึง
เอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ท่ีเนน้ คณุ สมบัตขิ องการรวบรวมและเชื่อมโยง สู่แหลง่ ข้อมลู ตา่ งๆ ในเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถค้นหาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกันกับเร่ืองที่
กาลังศึกษาจากแหล่งข้อมูลอื่นๆ ท่ีเชื่อมโยงอยู่ได้อย่างไม่จากัด เสริมสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้มีเหตุผล
และมีการคิดแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบเพราะการโต้ตอบกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ผู้เรียนจะต้อง
ดาเนินการอย่างมีข้ันตอนมีระเบียบและมีเหตุผล ถือเป็นการฝึกลักษณะนิสัยที่ดีให้กับผู้เรียนได้ เป็น
อยา่ งดี
2.1.4 องคป์ ระกอบของหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์
อัครเดช ศรีมณีพันธ์ (2547, หน้า 34) ได้กล่าวถึง องค์ประกอบ ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้
ดังตอ่ ไปนี้
1. อกั ขระหรือขอ้ ความ เปน็ องคป์ ระกอบของโปรแกรมมัลตมิ เี ดยี นาอกั ขระมาออกแบบ
เป็นส่วนหน่ึงของภาพ หรือสัญลักษณ์ กาหนดหน้าท่ี การเชื่อมโยงนาเสนอเน้ือหาเสียงภาพ หรือ
กราฟิกหรือวีดีทัศน์เพ่ือให้ผู้ใช้เลือกข้อมูลท่ีจะศึกษาการใช้อักขระเพื่อกาหนดหน้าที่ในการสื่อสาร
ความหมายในคอมพิวเตอร์ควรมลี ักษณะดงั น้ี
1.1 สื่อความหมายให้ชัดเจน เพ่ืออธิบายความสาคัญที่ต้องการ นาเสนอส่วนของ
เนื้อหาสรุปแนวคิดท่ไี ด้เรยี นรู้
1.2 การเช่ือมโยงอักขระบนจอภาพสาหรับการมีปฏิสัมพันธ์ ในมัลติมีเดียการ
เชอื่ มโยงทาได้หลายรูปแบบจากจุดหนึ่งไปจุดหน่งึ ในระบบเครือขา่ ย ดว้ ยแฟม้ เอกสารข้อมลู ด้วยหรือ
ต่างแฟ้มกันได้ทันทีในลักษณะรูปแบบตัวอักษร เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ การเลือกใช้แบบอักขระ
เครื่องหมายหรือสัญลกั ษณ์ และการให้สีแบบใดให้ดูองค์ประกอบการจัดวางองค์ประกอบด้านศลิ ป์ท่ี
ดแี ล้ว มคี วามเหมาะสม
1.3 กาหนดความยาวเนื้อหาให้เหมาะสมแก่การอ่านยากและ ในการดึงข้อมลู มา
ศึกษาผู้ผลิตโปรแกรมสามรถใช้เทคนิคการแบ่งข้อมูลส่วนต่างๆ ที่เช่ือมโยงกันอยู่ได้การเช่ือมโยง
12
เนือ้ หาสามารถกระทาได้ 3 ลักษณะด้วยกัน คอื ลักษณะ เส้นตรง ลักษณะสาขา และลักษณะผสมผสาน
หลายมติ ิ
1.4 สร้างการเคลื่อนไหวให้อักขระ เพ่ือสร้างความสนใจก่อนนาเสนอ ข้อมูล
สามารถทาได้หลายวิธี เช่น การเคล่ือนย้ายตาแหน่งการหมุน การกาหนดให้เห็น เป็นช่วงๆ จังหวะ
เป็นต้นข้อสาคัญคือควรศึกษาถึงจิตวิทยาความต้องการรับรู้กับความถี่ การใช้เทคนิคการเคลื่อนไหว
ของผู้ศกึ ษาโปรแกรมแต่ละวยั ใหเ้ หมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย
1.5 เคร่ืองหมายและสญั ลักษณ์ เป็นส่ือกลางท่ีสาคัญในการติดต่อ กับผู้ศึกษาใน
บทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ การนาเสนอหรือออกแบบสัญลักษณ์หรือ เคร่ืองหมายควรให้สัมพันธ์
กับเน้ือหาในบทเรียนสามารถทาความเข้าใจกับความหมาย และสัญลักษณ์ต่างๆ นั้นได้อย่างรวดเร็ว
อักขระเป็นส่วนหนึ่งที่สาคัญต่อการเรียนรู้ การทาความเข้าใจการนาเสนอความหมายที่ก่อประโยชน์
ตอ่ ผูเ้ รียน ดงั ท่ี
ปิลันธนา สวนบุญญพงษ์ (2542, หน้า 22) ได้สรุปว่าอักขระท่ีมีประสิทธิผลในการสื่อ
ข้อความท่ีตรง และชัดเจนได้ดีในขณะท่ีรูปภาพ สัญลักษณ์ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ช่วยทาให้ผู้ใช้
สานึก และจาสารสนเทศได้ง่ายข้ึนมัลติมีเดียนั้นเป็นเครื่องมือที่มีความสามารถในการประสม บระ
สานอักขระสัญลักษณ์ ภาพ รวมถึงเสียงภาพนิ่ง และภาพวิดิทัศน์เข้าด้วยกัน ทาให้ข้อมูลข่าวสารมี
คณุ คา่ และนา่ ติดตามเพม่ิ ขึ้น
2. ภาพนิ่ง เป็นภาพกราฟิก เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพลายเส้น แผนที่ ลง ที่ได้จากการ
สรา้ งภายในดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาพท่ไี ดจ้ ากการสแกนจากแหล่งเอกสารความสวา่ งค่าสี ส่วน
ความละเอียดของภาพจะขึ้นอยู่กับจานวนจุดและขนาด ตองภาพ ภาพที่เหมาะสมไม่ใช่อยู่ทข่ี นาดของ
ภาพ หากแต่อยู่ท่ีขนาดของไฟล์ภาพการ จัดเก็บภาพท่ีมีขนาดข้อมูลมากทาให้การดึงข้อมูลได้ยาก
เสียเวลา สามารถทาได้โดยการ ลดขนาด ขอ้ มูลการบบี อดั ขอ้ มูลชนดิ ต่างๆ ด้วยโปรแกรมสนบั สนนุ
จานวนมากเรียกดูได้ เกราฟิกบราวเซอร์ทุกตัวมีความสามารถนาเสนอภาพแบบเคล่ือนไหว
จุดด้อยของไฟล์ ประเภทน้ี คือแสดงได้เพียง 256 สี
2.1 ไฟล์สกุล GIF (Graphic interchange format ไฟล์ชนิดบิตแมต มีการบีบอัด
ขอ้ มลู ภาพไฟลม์ ีขนาดต่ามกี ารสูญเสียข้อมลู น้อยสามารถทาพ้นื ของภาพ ใหเ้ ป็นพืน้ แบบโปร่งใสนิยม
ใช้กบั ภาพวาดและภาพการ์ตูน มีระบบแสดงผลแบบหยาบ และค่อยๆ ขยายไปสู่ในระบบอนิ เทอร์เลช
มีโปรแกรมสนับสนุนจานวนมากเรียกดูได้ กราฟิกบราวเซอร์ทุกตัวมีความสามารถนาเสนอภาพแบบ
เคลอื่ นไหว จุดดอ้ ยของไฟล์ ประเภทนี้ คอื แสดงไดเ้ พยี ง 256 สี 1
2.2 ไฟล์สกลุ JPEG (joint photographic experts group) เปน็ ไฟล์ทม่ี ี ความละเอยี ด
สูงเหมาะสมกับภาพถ่าย จุดเด่นคือ สนับสนุนสีได้ถึง 24 บิต (16.7 ล้านสี) การบีบอัดข้อมูลไฟล์สกลุ
JPEG สามารถทาให้หลายระดับ ดังนี้ Max high medium และ low การบีบอัดข้อมูลมากจะทาให้ลบ
ข้อมลู บางสว่ นท่ีความถีซ่ า้ ซ้อนกันมากท่สี ุดออก จากภาพทาใหร้ ายละเอยี ดมีโปรแกรมสนบั สนุนการ
13
สร้างเป็นจานวนมากเรียกดูได้กราฟิก บราวเซอร์ ทุกตัวต้ังค่าบีบไฟล์ได้ จุดด้อยคือ ทาให้พื้นของรูป
โปรง่ ใสไมไ่ ด้
2.3 ไฟล์สกุล PNG (portable network graphics) จุดเด่นคือสามารถใช้งานข้าม
ระบบและกาหนดค่าการบีบไฟล์ตามต้องการ (8 บิต, 24 บิต, 64 บิต) มีระบบ การบีบอัดแบบdeflate
ไม่เกิดการสูญเสีย แสดงผลแบบได้เร็วกว่า GIF สามารถทาพ้ืน บวงสได้ จุดด้อย คือหากกาหนดค่า
การบีบไฟล์ไว้สูงจะให้เวลาในการคลายไฟล์ตามไปด้วย แต่ขนาดของไฟล์จะให้มีขนาดต่าไม่
สนับสนนุ กบั กราฟิกบราวเซอรร์ ุ่นเก่า โปรดสนับสนุนในการสรา้ งมนี อ้ ย
3. ภาพเคลื่อนไหว เกิดจากชุดภาพที่มีความแตกต่างนามาแสดง เรียงต่อเน่ืองกันไป
ความแตกตา่ งของแต่ละภาพท่นี าเสนอทาให้มองเห็นเป็นการเคลื่อนไหวของสิ่งต่างๆ เทคนคิ เดียวกับ
ภาพยนตร์การต์ นู ภาพเคล่อื นไหวจะทาให้สามารถนาเสนอความคดิ ทซี่ ับซ้อนหรอื ยงุ่ ยากให้ง่ายต่อ
การเข้าใจ และสามารถกาหนด มณะและเสน้ ทางที่จะให้ภาพนนั้ เคลอ่ื นทไ่ี ปตามความต้องการคล้าย
กบั การสร้าง ภาพยนต์ขึน้ มาตอนหนง่ึ นน่ั เองการแสดงสีการลบภาพ โดยทาให้ภาพเลือนจางหายทาให้
ปรากฏขึ้นในรูปแบบต่างๆ กันนับเป็นสื่อท่ีดีอีกชนิดหนึ่งในมัลติมีเดียโปรแกรม สนับสนุนการสรา้ ง
ภาพเคลื่อนไหวมีอยู่หลายโปรแกรมตามความต้องการของภาพ ให้เป็นพื้นแบบโปร่งใสได้เรียกดูได้
กับกราฟิกบราวเซอร์ ทุกตัวแตส่ ามารถแสดงผล ได้เพียง 256 สี
4. เสียง เป็นส่ือช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในเนื้อหาได้ดีขึ้นและทาให้ คอมพิวเตอร์มี
ชีวิตชีวาขึ้นด้วยการเพ่ิมการ์ดเสียงและโปรแกรมสนับสนุน อาจอยู่ในรูปของ เสียงดนตรี เสีย
สังเคราะห์ปรุงแต่ง การใช้เสียงในมัลติมีเดียน้ันผู้สร้างต้องแปลง สัญญาณเสียงไฟฟ้าเป็น
สญั ญาณเสียงอนาลอ็ กผา่ นจากเครอื่ งเลน่ วิทยุ เทปคลาสเซท หรอื แผ่นซีดี การอัดเสยี งผา่ นไมโครโฟน
และและการ์ดเสยี งที่มีคุณภาพดีด้วยเช่นกัน ไฟล์ เสียงมีหลายแบบ ได้แก่ ไฟล์สกุล WAV และ MIDI
ไฟล์ WAV ใช้เนอ้ื หาในการเก็บสูงมาก ส่วนไฟล์ MIDI เปน็ ไฟล์ท่ีนิยมใช้ในการเก็บเสยี งดนตรี
5. ภาพวีดิทัศน์ ภาพวดี ทิ ัศนเ์ ป็นภาพเหมือนจรงิ ที่ถกู เกบ็ ไว้ในรปู ของ ดจิ ติ ัลมลี ักษณะ
แตกตา่ งจากภาพเคล่ือนไหวท่ถี ูกสร้างข้ึนจากคอมพวิ เตอร์ ในลกั ษณะ คลา้ ยภาพยนตรก์ าร์ตูนภาพวีดิ
ทัศน์สามารถต่อสายตรงจากเครื่องเล่นวีดิทัศน์หรือ เลเซอร์ดิสก์เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยการ
Capture ระบบวีดิทัศน์ท่ีทางานจาก ฮาร์ดดิสก์ท่ีไม่มีการบีบอัดสัญญาณภาพวีดิทัศน์ ในการทางานท่ี
ดังกล่าวการนาภาพ วีดิทัศน์มาประกอบในมัลติมีเดียต้องมีอุปกรณ์สาคัญคือ ดิจิตัลวีดิทัศการ์ด การ
ทางาน ในระบบวินด์ภาพวีดทิ ัศน์จะถูกเก็บไวใ้ นไฟลต์ ระกลู เอวีไอ มูพว่ี และเอม็ เพก็ ซ่งึ สร้างภาพวีดิ
ทศั น์เตม็ จอ 30 เฟรมต่อวีดทิ ัศนใ์ นหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์คือ ไฟล์ของภาพจะมีขนาด ใหญ่ตัง้ แต่ 500
กโิ ลไบท์ หรือมากกว่า 10 เมกะไบทท์ าใหเ้ สียเวลาในการดาวน์โหลด ท่ีตอ้ งใช้เวลามาก
6. การเชือ่ มโยงข้อมูลแบบปฏิสมั พนั ธ์ หมายถงึ การท่ผี ้ใู ชม้ ัลตมิ เี ดีย สามารถเลือกข้อมูล
ได้ตามความต้องการ โดยใช้ตวั อกั ษรปมุ่ หรอื ภาพ สาหรบั ตัวอักษร ที่สามารถเช่ือมโยงได้ จะเปน็
ตวั อักษรท่มี สี แี ตกตา่ งจากตวั อกั ษรตัวอนื่ ๆ ส่วนปมุ่ จะมลี กั ษณะคลา้ ยกับปมุ่ เพ่ือชมภาพยนตร์หรือ
14
คลกิ ลงบนปุม่ เพือ่ เขา้ ไปหาขอ้ มูล ที่ตอ้ งการหรือเปลย่ี นหน้าข้อมูลสว่ นสารผ่านมัลตมิ เี ดียปฏสิ มั พนั ธ์
เป็นการสือ่ สารผา่ นคอมพวิ เตอร์ท่ีลกั ษณะการสื่อสารไปมาทัง้ สองทางคือการโตต้ อบระห่างผใู้ ช้
คอมพวิ เตอร์และการมปี ฏสิ มั พันธ์ผ้ใู ช้เลือกดา่ จะดูขอ้ มูลดภู าพฟังเสยี ง หรอื ดภู าพวีดที ศั น์ ซงึ่ รปู แบ
ของการมีปฏสิ ัมพันธ์อาจอยู่ในรูปใดรปู หนึง่ ดังตอ่ ไปนี้
6.1 การใช้เมนู ลักษณะท่ีพบเห็นได้ท่วั ไปของการใช้เมนูคือ การจัด เลือกลาดบั
หวั ข้อทาใหผ้ ู้ใช้สามารถเลอื กข่าวสารข้อมลู ทตี่ อ้ งการ ได้ตามท่ตี ้องการและสนใจการใช้เมนู
ประกอบดว้ ยเมนูหลกั ซ่ึงแสดงหวั ข้อหลักใหเ้ ลือกและเมื่อไปยัง แตล่ ะหัวข้อหลกั ก็จะประกอบดว้ ย
เมนยู อ่ ยที่มีหัวขอ้ อนื่ ๆ ใหเ้ ลือก หรือแยกไปยงั เน้อื หา หรือสว่ นนัน้ เลยทนั ที
6.2 การใชฐ้ านข้อมูลไฮเปอร์มีเดีย เป็นรูปแบบปฏิสัมพันธท์ ่ใี ช้ ผู้ใช้สามารถเลือก
ไปตามเส้นทางท่ีเช่ือมคาสาคัญซงึ่ อาจเป็นคา ข้อความ เสียงหรือภาพ คาสาคัญเหล่าน้ีจะเช่ือมโยงกนั
อยู่ในลกั ษณะของใยแมงมมุ โดยสามารถเดนิ หนา้ และ ถอยหลังได้ตามความต้องการของผู้ใช้
6.3 การจดั เกบ็ ข้อมลู มลั ตมิ ีเดีย ซดี รี อม และแผ่นดีวีดไี ดร้ บั ความ นยิ มแพรห่ ลาย
สามารถเก็บข้อมลู ไดส้ ูงมาก จงึ สามารถเกบ็ ข้อมูลแฟม้ ข้อมูลอน่ื ๆ ไดม้ าก เทา่ ที่ตอ้ งการ จึงกลา่ วไดว้ า่
ซีดรี อมและดวี ดี เี ปน็ สอ่ื อกี ชนิดหนง่ึ ที่ปฏิวัติรปู แบบการเรียน การสอนนอกจากน้ีทาให้ผู้เรยี นสามาร
ทบทวนและเรียนร้ไู ด้ดว้ ยตนเอง ในเวลาทผ่ี เู้ รียน สะดวกและมีประสิทธภิ าพเน่อื งจากมีการพัฒนาสือ่
การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์แบบ มัลติมีเดียที่เป็นการพัฒนาแบบใช้หลายส่ือผสมกันและ
เทคโนโลยีสื่อมัลติมีเดียมีจานวน มากทาให้จึงจาเป็นต้องใช้เน้ือที่เก็บข้อมูล เป็นจานวนมาก ส่ือท่ีใช้
ในการจัดเก็บต้องมี ขนาดความจุมากพอท่ีจะรองรับข้อมูลในรูปแบบวิดิโอ รูปภาพ ข้อความจากที่
กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า องค์ประกอบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีดังนี้ คือ 1. อักขระหรือข้อความ
2. ภาพนิ่งเป็นภาพกราฟิก 3. ภาพเคลื่อนไหว 4. เสียง 5. ภาพวีดีทัศน์ 6. การเชื่อมโยงข้อมูลแบบ
ปฏสิ ัมพันธ์
2.2 งานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง
2.2.1 งานวิจัยภายในประเทศ
ชตุ มิ า พนั ธไ์ พโรจน์ (2549, หนา้ 82-83) การศกึ ษาเร่ืองการสร้าง และประสทิ ธภิ าพบทเรยี น
คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนเครอื ข่าย เรอ่ื ง การสรา้ งหนงั สือ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์โดยใชโ้ ปรแกรม ฟลิปพบั บรชิ
เชอร์ (Flip Publisher) สาหรับช่วงช้ันท่ี 2 มีวัตถุประสงค์ ดังน้ี เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของ
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย ให้ได้ตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ก่อนและหลังเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่าย โดยใช้การทดสอบแบบแผนการ
ทดลองหนึ่ง กลุ่มทาการทดสอบก่อนทดลองและทดสอบหลังทดลอง เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของ
นกั เรียนทีม่ ีต่อบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครอื เครือข่าย กล่มุ ตวั อย่างท่ใี ช้ในการศึกษาคน้ คว้า
15
เป็นนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เป็นนักเรียน
ประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนไผทอุดมศึกษา จานวน 30 คนภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2549 โดยใช้การ
สุ่มอย่างง่าย สถิติที่ใช้ใน ลารวิเคราะห์ข้อมูล คือค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลี่ยผลของ
การวจิ ัย พบว่า บทเรียนดงั กล่าวมปี ระสิทธภิ าพ 89.83/82.83 ซงึ่ สงู กวา่ เกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งสมมติฐานไว้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สงกว่าก่อนเรียน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ สรุปได้ว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบท เครือข่าย เรื่อง การสร้างหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้โปรแกรม ฟลิปพับบริชเชอร์ (Elio Publisher) ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่5.
สามารถนาไปใช้ในการเรยี นการสอนของโรงเรยี นได้
ปิยนุช ฉาไธสง (2551, หน้า 74-76) ได้ศึกษาการพัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง
จานวนจรงิ กบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนไตรคามศรี อนุสรณ์ อาเภอคเู มอื ง จังหวดั บุรีรัมย์
พบว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีสร้างข้ึนมี ประสิทธิภาพ 81,44 / 80.07 ซ่ึงสอดคล้องกับเกณฑ์
ประสิทธิภาพ80/80 ผลการเรียน ของนักเรียนท่ีเรียนจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียนอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติท่ีระดับ .01 และนักเรียนมีความคิดเห็นต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มี
ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากสุทธิลักษณ์ สูงหนองหว้า (2551, หน้า 68) ได้ทาการผลิตหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การดาเนินเร่ือง แบบสาขาสาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
อนุบาลโพนทอง, ผลวจิ ัยพบว่า
1) หนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ใชก้ ารดาเนินเร่ือง แบบสาขา เร่ือง “ผจญภัยในป่าหมิ พานต์” ท่ี
ผู้วิจัยได้ผลิตข้ึนมีค่าดัชนีประสิทธิผล ในขันการทดสอบภาคสนามเท่ากับ 0.61 และเม่ือทาการ
ทดสอบซ้ากับกลุ่มตัวอย่างชุดใหม่ มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.60 2) คะแนนเฉลี่ยของนักเรียน
หลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การนาเนินเร่ือง แบบสาขาที่ผู้วิจัยผลิตขึ้น สูงกว่าคะแนน
เฉล่ียก่อน เรยี นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั .01 3) นกั เรียนมคี วามพึงพอใจด้านตัวสื่อเฉล่ยี อยู่ใน
ระดบั มากทีส่ ดุ ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หาและความสนใจอยากอ่าน เฉลี่ยอยใู่ นระดับมาก
สทุ ธลิ ักษณ์ สูงหนองหวา้ (2551, หน้า 89-91) ไดศ้ กึ ษา การพฒั นาหนังสือ ทรอนิกส์โดย
ใช้การดาเนินเรื่องแบบสาขาสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนอนุบาลโพนทอง
ผลการวิจัยคะแนนเฉล่ียของนักเรียนหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สูงกว่าคะแนนก่อนเรียน
อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .01
สุภาพร เอี่ยมรอด (2551, หน้า 53-56) ได้พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง
โบราณสถานในอาเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ผลการวิจัย
พบว่าหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์มปี ระสิทธภิ าพเทา่ กับ 85.71 / 94,44 สงู กวา่ เกณฑ์ ท่ีกาหนดไว้
วิเชียร เกตุจันทร์ (2552, หน้า 57-60) ได้ศึกษาการพัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
นักผ่านแผนที่ วิชาพิเศษ ลูกเสือสารอง สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผลการวิจัยพบว่า
หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ที่สร้างขน้ึ มปี ระสทิ ธภิ าพ เท่ากบั 85.33 | 89.83 เป็นไปตามเกณฑ์ทก่ี าหนด
16
พรพรรณ สีละมนตรี (2552, หน้า 123) ได้ทาการวิจัยการพัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์
วชิ าคอมพิวเตอร์เบ้ืองต้น เรอ่ื งความรู้พ้ืนฐานเกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ โดยมีกล่มุ ตัวอยา่ งเป็นนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนวาปีปทุม ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดบั
มาก และสอดคล้องกับปาริชาติ อินทร์ไซย (2553, หน้า 312) ได้ทาการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง Present Simple Tense ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผลการวิจับพบว่าคุณภาพบทเรียนโดยผู้เช่ียวชาญอยู่
ในระดับมาก (X = 4.48, S.D. = 0.50)จากท่ีกล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ มีหลากหลายอาทิเช่น สามารถอ่านได้พร้อมกันหลายคน สามารถแสดงทั้งภาพเสียง
ภาพเคล่ือนไหว หรือเป็นไฟล์วิดิโอก็ได้ นอกจากนี้แล้วยังสามารถเสริมสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้มีเหตุผล
มีความคิดทาให้ประสิทธิภาพการเรียนของผู้เรียนสูงข้ึน เพราะการโต้ตอบ กับเครื่องคอมพิวเตอร์
ผู้เรียนจะต้องทาอย่างมีขั้นตอนมีระเบียบ และมีเหตุผลพอสมควร เป็นการฝึกลักษณะนิสัยที่ดีให้กับ
ผู้เรียนครูมีเวลาในการติดตามและตรวจสอบ ความก้าวหน้าของผู้เรียนแต่ละคนได้มากข้ึน หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นเครื่องมือ ทางการศึกษา ท่ีจะช่วยพัฒนาการเรียนการสอนของนักเรียนให้ดี
ตลอดจนการสรา้ ง บรรยากาศการเรียนให้นกั เรยี นเกิดความสนกุ สนานและยังเป็นเคร่ืองมือทสี่ ามารถ
นาไปใชส้ อนแทนครูไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
2.2.2 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ
Higgins (1998, อ้างถึงใน อมรรัตน์ ยางนอก, 2554, หน้า 58) ได้ทาการศึกษาการใช้หนังสือ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์เพื่อสนบั สนุนการพฒั นาด้านคาศพั ท์ โดยแบ่งเดก็ ๆ ออกเป็น 2 กล่มุ ได้แก่ กลุม่ ควบคุม
กับกลุ่มทดลองโดยเด็กๆ ท่ีได้รับการสอนศัพท์เพิ่มเติมในกลุ่มทดลองสามารถให้ความหมายของ
คาศัพท์ ได้ท้ังหมด 6 คาในการวัดผลตอนท้าย ในขณะท่ีไม่มีเด็กคนใดในกลุ่มควบคุมสามารถให้
ความหมายของคาศัพท์เหล่านั้นได้ จากผลการศกึ ษาพบว่ามคี วามแตกตา่ งเล็กน้อยในการเลือกคาศัพท์
ของเด็กทั้งสองกลุ่ม จานวนการเลือกตอบคาให้ตรง เฉลี่ยแล้วได้ 7.64 ในกลุ่มควบคุม และ8.18 ใน
กลุ่มทดลอง แสดงให้เห็นว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือสนับสนุน การพัฒนาด้านคาศัพท์นั้นมี
ประสิทธิภาพ ซ่ึงอยู่ในระดับพอใช้Shand (p. 2002, อ้างถึงใน อมรรัตน์ ยางนอก. 2549, หน้า 58) ได้
ทาการศึกษา การผสมผสานซอฟต์แวร์นิทานอิเล็กทรอนิกส์ในการสอนฝึกฝนการเรียนรู้ ครูระดับช้ัน
ประถมศึกษาสู่ด้านครุศาสตร์ การจัดระบบและการบริหาร การศึกษาแนวน้ี ได้แก้ไขความไม่สมดุล
ระหวา่ งบทบาทของผู้สอนและอปุ กรณ์สารสนเทศ และการให้ความสาคัญกับการตดั สินใจของผู้สอน
ด้วยทัศนะคติในการเลือกใช้และทาให้เกิดการเรียนรู้ในห้องเรียนซ่ึงสอดคล้องกับกรณีศึกษา 3
ประการที่กระตุ้นให้ผู้สอนประยุกต์ใช้ ซอฟต์แวร์นิทานอิเล็กทรอนิกส์กับแบบฝึกหัดในช้ันเรียนเพ่อื
เสริมสร้างประสบการณ์ การเรียนรู้ที่สนุกสนานและเพิ่มพูนความรู้ให้แก่นักเรียน ซึ่งทาให้หลักครุ
ศาสตร์หลายด้าน เช่น ซอฟต์แวร์น้ีได้ส่งผลบวกต่อการพัฒนาอารมณ์ ความกระตือรือร้น และ
ความสาเร็จ ตามเป้าหมายของการศึกษาและยงั ส่งผลให้เกิดการรวมกลุ่มของนักเรียนและทศิ ทาง ทาง
การศึกษาโดยให้ผู้สอนประเมินสถานการณ์เองในขณะเดียวกันผู้สอนคนอ่ืนที่ไม่ได้ผ่าน กรณีศึกษา
17
มาก่อน อาจจะประสบกับปัญหาในการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ ผลของ การศึกษานี้นามาซ่ึง การ
ประยกุ ต์ใช้กบั แบบฝึกหัดและช่วยกระตุ้นให้ผู้สอนพยายาม ทจี่ ะพัฒนาความม่ันใจและความสามารถ
ในการใชเ้ ทคโนโลยีFont (2002, 3002-A, อา้ งถงึ ใน ถาวร นนุ่ ละออง, 2550, หนา้ 69) ได้ทาการศึกษา
ผลกระทบของการแสดงคาอธิบายแบบหลากหลายในหนังสือ ท่ีเป็นรูปเล่มและหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีต่อทักษะด้านการอ่านเพ่ือความเข้าใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เพ่ือการ
ทดสอบผลกระทบของการแสดงคาอธิบายแบบหลากหลาย ในหนังสือท่ีเป็นรูปเล่มและหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อทักษะด้านการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยมี
คาถามการวิจัยดังน้ีอะไรคือผลกระทบของ การแสดงคาอธิบายแบบเดียวกับการแสดงคาอธิบายแบบ
เดยี วกบั การแสดงคาอธิบาย แบบหลากหลายในหนงั สือที่เปน็ รปู เลม่ และหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อ
ทกั ษะด้านการอ่านเพ่อื ความเขา้ ใจของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โดยทาการประเมินผลด้านความ
เข้าใจของนกั เรยี นหลังกากทไี่ ดค้ าอธบิ ายในหนังสอื แบบใดแบบหนงึ่ จากทัง้ หมด 3 แบบคือ
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีคาอธิบายที่หลากหลายซ่ึงประกอบ ด้วยเน้ือหาในระดับ
ประถมศกึ ษาโดยใชโ้ ปรแกรมเชอื่ มประสานแบบไฮเปอร์ลงิ ค์
2. หนังสือท่ีเป็นรูปเล่มที่มี คาอธิบายแบบหลากหลายซ่ึงประกอบด้วยเนื้อหาในระดับ
ประถมศึกษาเช่นกันและ
3. หนังสอื ท่ีเป็นรปู เลม่ ทมี่ ีคาอธบิ ายซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาในระดบั ประถมศกึ ษาผ้วู จิ ัย ใชต้ วั
แปรตามเพื่อประเมินระดับความเข้าใจของนักเรียนเก่ียวกับเน้ือหาในหนังสือผล การศึกษาพบว่า
นักเรียนท่ีอ่าน หนังสือซ่ึงประกอบด้วยเนื้อหาในระดับประถมศึกษา เท่านั้นที่สามารถแสดงความ
เข้าใจในระดับสูงขึ้นมากกว่านักเรียนที่อ่านหนังสือ ซึ่งประกอบด้วยเน้ือหาทั้งในระดับประถมศึกษา
และมัธยมศกึ ษาPearman (2004, 2427-A, อ้างถึงใน ถาวร นุ่นละออง, 2550, หน้า 70) ได้ทาการศึกษา
ถึงผลกระทบของการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อการอ่าน จับใจความของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 2 เพื่อทาการทดสอบว่าเม่ือใช้หนังสือที่อยู่ในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์ในการ
จัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนที่มีทักษะ ทางด้านการอ่านในหลายๆ ระดับแล้วมีผลให้นักเรียน
เหล่าน้ันสามารถทาคะแนนในส่วน ของการทดสอบความเข้าใจเน้ือหาเรื่องโดยการเล่าปากเปล่าได้
ดีกว่าเมื่อใช้หนังสือทอี่ ยู่ ในรูปแบบของสอื่ สงิ่ พิมพแ์ บบปกติหรือไมเ่ หลา่ ตวั อย่างของผูเ้ ข้ารว่ มในการ
วิจัยคือนักเรียนในชั้นเรียนเกรด 2 จานวน 54 คน จากโรงเรียนระดับประถมศึกษาแถบชานเมืองใน
Mid - South ผลการศึกษาพบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีการโต้ตอบได้สามารถช่วย เพิ่มทักษะใน
การอ่านจับใจความสาหรับนักเรียนท่ีถูกจัดอยู่ในเหล่าท่ีมีทักษะทางด้าน การอ่านในระดับต่า หรือ
เหล่านักเรียนท่ีกาลังพยายามพัฒนาทักษะหรือยุทธวิธีที่ใชใ้ นการอ่านของตนเองได้ ดังนั้นจึงสามารถ
กล่าวสรุปได้ว่าการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในการจัดการเรียนการสอนวิชาการอ่านทั้งในชั้นเรียน
แบปกติในศูนย์การเรียนรู้หรือแม้แต่ ปวงช่ัวโมงการอ่านแบอิสระล้วนเป็นวิธีการที่สามารถเกิด
ประโยชน์ต่อนักเรียนหรือผู้อ่านเหล่าน้ันได้แน่นอนWheeler (2007, p. unpaged, อ้างถึงใน ถาวร นุ่น
18
ละออง, 2550, หนา้ 70) ได้ทาการศกึ ษาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ท่ีมีต่อการเรยี นรู้ของ
นักเรียนในวิชาเคมีเพื่อทาการสารวจผลกระทบด้านการเรียนรู้ในวิชาเคมีโดยใช้ หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีต่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ซึ่งมีระดับความรู้เดิม
แตกต่างกันเหล่าตัวอย่างของผู้ร่วมในการวิจัยประกอบด้วยนักเรียนในช้ันเรียนวิชาเคมี 116 คนจาก
โรงเรียนแห่งหน่ึงในแถบชนบทซึ่งเป็นโรงเรียนของรัฐบาล โดยเหล่าตัวอย่างเหล่านี้จะได้รับการ
กาหนดให้ทาการเรียนรู้ผ่านทางหนังสือที่มีรูปแบบ ต่างกัน 3 แบบ อันได้แก่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบมีการโต้ตอบได้หนังสือท่ีอยู่ในรูปของเอกสาร pdf และหนังสือท่ีเป็นรูปเล่มนอกจากนี้ ผู้วิจัยยัง
ทาการสารวจพ้ืนความรู้เดิม เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง และใช้
แบบทดสอบ หลังการทดลองเพ่ือสารวจพ้ืนความรู้เดิมเกี่ยวกับวชิ าเคมดี ้วยจากนั้นจึงใช้แบบทดสอบ
หลังการทดลองเพ่ือประเมินผลด้านการเรียนรู้ในภาพรวมท้ังในส่วนของการทบทวน การทาความ
เข้าใจและการศึกษาหลกั ทฤษฎีในวิชาเคมี เร่อื งการเคล่ือนทีข่ องก๊าซ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามก็ยงั พบด้วยว่ามี
ความสัมพันธ์กนั อยา่ งมนี ัยสาคัญระหว่างพ้ืนความรู้เดิม โดยทว่ั ๆ ไป ซ่งึ ประเมนิ จากระดับคะแนนผล
การเฉลี่ยH. Mathews, Graesser and Susarla (2002, p. 599A) ได้พัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์
รูปแบบการบันทึกไฟล์แบบ exe 1 ที่มีระบบอัจฉริยะมีขั้นตอนท่ีสาคัญในการ สร้าง การรักษา
โครงสร้างเน้ือหาที่สาคัญๆ และวิธีการที่เข้าใจง่ายมีฟังชั่นในการควบคุม การป้องกันการเข้าใช้โดย
ไมไ่ ด้รบั อนุญาต มีความสะดวกในการเรียนรู้ และงา่ ยในการใชง้ าน และพบวา่ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์
เป็นเคร่ืองมือท่ีจะจัดการระบบฐานข้อมูลกับจุดเด่น ท่ีมีลักษณะพิเศษนั้นสามารถใช้ในการสร้าง
หลักสูตรการเรียนรู้ท่ีทันสมัย เพ่ือการเรียนการสอนแบบติวเตอร์ด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีความเฉลียว
ฉลาดWilson (2003, p. 120A) ได้ศึกษาโครงสร้างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มุ่งประเด็นไปท่ีความ
เข้าใจและเจตคติ และจุดเด่นที่สาคัญของผู้เรียนในโรงเรียนแห่งหราชอาณาจักร กับการสังเกต
ปรับปรุงการออกแบบของ e-book reader เพื่อการเรียน การสอนในอนาคต ผู้เรยี นมีโอกาสในการอ่าน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์และให้ป้อนกลับผ่าน แบบสอบถาม พบว่าผู้เรียนสนใจและเอาใจใส่ในการ
อ่านจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นRao (2004, p. 954A) ได้เสนอรูปแบบการจัดการเนื้อหา
(Content Management) ผ่านทางหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ พบว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะประสบ
ผลสาเรจ็ หรือลม้ เหลวได้นนั้ ไมไ่ ดข้ ึ้นอยู่แค่เพยี งการยอมรบั ของผู้อา่ น แต่ข้ึนอยูก่ ับ การจดั การเนื้อหา
อยา่ งเป็นระบบ และเขายอมรับวา่ หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์เป็นรูปแบบใหม่ ของการจัดการเนื้อหาท่ีเป็น
ระบบ
Robbins (2004, p. 876A) ไดศ้ ึกษาจุดเด่นและทศิ ทางในอนาคตของ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์
พบว่าหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์กลายเป็นข้อบังคบั ทีส่ าคัญในการแต่ง หนงั สือ การพิมพ์หนังสือ
เพื่อจาหน่าย และการอ่าน เป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นมา มีโอกาสและความท้าทายท่ีจะยกระดับการเรียนรู้และ
การอ่านจากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สรุปได้ว่าหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์น้ันมีความสาคัญต่อการเรียนการสอน เน่ืองจากเป็น เทคโนโลยีท่ีได้รับความสนใจ
19
สามารถกระตุ้นความต้องการในการเรียนรู้ของผู้เรียน เพราะสามารถผสมผสานสื่อ ในรูปแบบต่างๆ
เข้าไว้ด้วยกัน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และมีแหล่งข้อมูลให้สบื คน้ มากมายจากเครื่องมอื ที่
มีอยู่ในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถเสริมการเรียนรู้ทางไกลได้ดี ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ลดเวลา
เรียน เป็นต้น ดังนั้น จะเห็นได้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
ผู้เรียนสูงขึ้น อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยหนังสือ
อิเล็กทรอนกิ ส์
20
บทที่ 3
ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
การสรา้ งหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) วชิ า อาชวี อนามัยและความปลอดภยั (20001-1001)
ไดแ้ บ่งขั้นตอนการดาเนนิ การดงั น้ี
3.1 วธิ ีการดาเนนิ งานโครงการ
3.2 การออกแบบและวางแผนการสรา้ งหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book)
3.3 การติดต้งั โปรแกรม Flip PDF Professional
3.4 การใชโ้ ปรแกรม Flip PDF Professional
3.5 การสรา้ งหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) เบอ้ื งต้น
3.1 วิธกี ารดาเนนิ งานโครงงาน
3.1.1 ศกึ ษาปัญหาในการหาหัวขอ้ จัดทาโครงงาน
3.1.2 เสนอหวั ข้อ/อนุมตั ิโครงงาน
3.1.3 รวบรวมขอ้ มูลเพื่อจดั ทาโครงงานการสร้างหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา วชิ า อาชีวอ
นามัยและความปลอดภยั (20001-1001)
3.1.4ดาเนินการจดั ทาโครงงานการสร้างหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) วชิ า วิชา อาชวี อนามัย
และความปลอดภัย(20001-1001)
3.1.5ตรวจสอบความถูกต้องการจัดทาโครงงานการสรา้ งหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) อาชีวอนา
มัยและความปลอดภัย(20001-1001)
3.1.6ปรับปรุงแก้ไขการจดั ทาโครงงานสรา้ งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา อาชีวอนามยั และ
ความปลอดภัย(20001-1001)
3.1.7ประเมินผลโครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา อาชวี อนามยั และความ
ปลอดภยั (20001-1001)
3.1.8รายงานผลโครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วชิ า อาชวี อนามัยและความ
ปลอดภัย(20001-1001)
3.2 การออกแบบและวางแผนการสร้างหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book)
การออกแบบสร้างหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) วชิ า โปรแกรมนาเสนอ (20204-2104) การ
เร่ิมต้นของการออกแบบควรวางแผนงานในแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียดโดยสร้างแบบฟอร์มลาดับ การ
ทางานในแต่ละขั้นเพ่ือบันทึกการทางานในเวลาท่ีกาหนด และเพ่ือรับรู้ข้อมูลในเบือ้ งต้นก่อนการทางาน
จริงซง่ึ มีรูปแบบการทางานดังต่อไปนี้
21
3.2.1 ออกแบบปกหน้าและปกหลังหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา โปรแกรมนาเสนอ
(20204-2104) โดยใชโ้ ปรแกรม Adobe Photoshop
ภาพที่ 3.1 ปกหน้าและปกหลังหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)
3.2.2 จัดทาเนื้อหาโดยการพิมพ์ Word ให้ครบทุกหน่วยการเรียนรู้และจัดทาคานา
วัตถุประสงค์รายวิชาและคาอธิบายรายวิชา บรรณานุกรมในการอ้างอิงหนังสือโดยมีหน่วยการเรียนรู้
ทัง้ หมด 9 หนว่ ย โปรแกรมทใี่ ช้ในการจัดทาคือ Microsoft Office Word 2016
3.2.3 แปลงไฟล์ข้อมูล Word ให้เป็นไฟล์ PDF โดยการใช้โปรแกรม Adobe Acrobat
Professional เปน็ โปรแกรมทส่ี ามารถใชแ้ ปลงขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ ไฟล์
3.2.4 นาไฟล์ PDF มาสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) โดยใช้โปรแกรม Flip PDF
Professional เป็นโปรแกรมท่ีใชส้ ร้างหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) ในรูปแบบสามมิตอิ ีกทั้งเอฟเฟก็
ตา่ งๆที่นา่ สนใจมาใชใ้ นการนาเสนอข้อมลู อกี ดว้ ย
3.3 การติดตัง้ โปรแกรม Flip PDF Professional
3.3.1 ทาการดาวนโ์ หลดไฟล์โปรแกรม Flip PDF Professional
3.3.2 หลังจากทาการดาวนโ์ หลดเสร็จส้นิ จะไดไ้ ฟล์
22
ภาพท่ี 3.2 ไฟลโ์ ปรแกรมชือ่ Flip_PDF_Pro_6.9.3
3.3.3 ดบั เบล้ิ คลกิ ท่ีไฟล์ flip-pdf v.24.10.3 จะปรากฏหน้าต่าง Welcome to the flip PDF
setup wizard ให้ทาการคลิกที่ Next เพื่อทาข้นั ตอนต่อไป
1
ภาพท่ี 3.3 หนา้ ตา่ ง Welcome to the หน้าต่าง Welcome to the Flip PDF setup wizard
23
3.3.4 จะปรากฏหนา้ ตา่ ง License Agreement ให้ทาการเลอื ก “I accept the agreement”
เพือ่ เปน็ การยอมรับเงอ่ื นไขข้อตกลงในการตดิ ตั้งโปรแกรมคลิก Next เพ่ือทาขั้นตอนตอ่ ไป
1
2
ภาพที่ 3.4 หนา้ ต่าง License Agreement
3.3.5 จะปรากฏหน้าต่าง Select Destination Location ให้ทาการเลือกที่อยู่ในการจัดเก็บ
ข้อมูลโปรแกรม โดยสามารถคลิกที่ Browse… เพื่อหาที่อยู่ในการจัดเก็บข้อมูล เม่ือทาการเลือกที่อยู่
เสรจ็ สนิ้ คลกิ Next เพอื่ ทาขน้ั ตอนตอ่ ไป
1
2
ภาพที่ 3.5 หนา้ ตา่ ง Select Destination Location
24
3.3.6 จะปรากฏหน้าต่าง Select Additional Tasks ให้ทาการเลือก “Create a desktop
icon” เพอื่ เป็นการเลอื กใหโ้ ปรแกรมแสดง icon ในหนา้ desktop คลกิ Next เพอ่ื ทาขน้ั ตอนต่อไป
1
2
ภาพท่ี 3.6 หน้าตา่ ง Select Additional Tasks
3.3.7 จะปรากฏหน้าตา่ ง Ready to Install ให้ทาการคลกิ Install เพอื่ ทาการติดตั้งโปรแกรม
1
ภาพท่ี 3.7 หนา้ ตา่ ง Ready to Install
25
3.3.8 จะปรากฏหน้าต่าง Installing รอจนทาการติดต้งั โปรแกรมเสรจ็
ภาพท่ี 3.8 หนา้ ต่าง Install
3.3.9 เมื่อทาการติดตั้งโปรแกรมเสร็จส้ิน จะปรากฏหน้าต่าง Completing the Flip PDF
Setup Wizard หากต้องการเปิดโปรแกรมเลยให้ทาการเลือก Laucnh Filp PDF ถ้ายังไม่ต้องการเปิด
โปรแกรมให้ทาการคลกิ Finish เพื่อเสร็จสนิ้ การตดิ ตง้ั โปรแกรม
1
2
ภาพที่ 3.9 หน้าต่าง Installing
26
3.3.10 เมื่อคลิก Finish จะปรากฏหนา้ ต่าง Flip PDF Professional รอการใส่ Code
ภาพที่ 3.10 หน้าตา่ ง Flip PDF Professional รอการใส่ Code
3.3.11 ให้ Copy ไฟล์Patch ท้ัง 3 ไฟล์ในโฟลเดอร์ C:\Users\User\Downloads\New
folder\New folder ไปที่ C:/ProgramFlie/FlipPdf Professional แล้วไปคลกิ เปิดโปรแกรมที่หน้าจอ
Destop
ภาพท่ี 3.11 หนา้ ตา่ งทัง้ 3 ไฟลใ์ นโฟลเดอร์ แลว้ ไปคลิกเปดิ โปรแกรมทหี่ น้าจอ (เด็สทอป)
27
3.3.12 เมอื่ วางไฟลท์ ่ี Copy มาไปไว้ใน Flip PDF Professional แล้วให้หาไฟล์ที่ชือ่ Patch
ภาพท่ี 3.12 หนา้ ตา่ ง Copy มาไปไวใ้ น Flip PDF Professional แล้วให้หาไฟล์ทีช่ ือ่ Patch
3.3.13 ใหด้ ับเบลิ คลกิ ที่ไฟล์ Patch จะแสดงหนา้ ต่างข้นึ มา ให้คลิกท่ีปุ่ม Patch
1
ภาพที่ 3.13 ดับเบลิ คลิกท่ไี ฟล์ Patch จะแสดงหน้าตา่ งขึ้นมา ให้คลกิ ท่ีปมุ่ Patch
3.3.14 จะแสดงหน้าตา่ งลง Patch ไฟลเ์ รียบร้อยแลว้ คลิกปุ่ม OK แล้วปิดหนา้ ตา่ ง Patch
1
ภาพท่ี 3.14 หน้าต่างลง Patch ไฟลเ์ รยี บรอ้ ยแลว้ คลิกปุ่ม OK แล้วปิดหนา้ ต่าง Patch
28
3.3.15 จะปรากฏไอคอนของโปรแกรม Flip PDF Professional อยบู่ น Desktop
ภาพที่ 3.15 ไอคอนของโปรแกรม Flip PDF Professional
3.4 การใชโ้ ปรแกรม Flip PDF Professional
โปรแกรม Flip PDF Professional เป็นโปรแกรมนาเสนอข้อมูล คล้ายกับหนังสือท่ัวไป
แตกต่างกันท่ีโปรแกรม Flip PDF Professional เป็นการสร้างหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ ท่ีสามารถใส่
ลูกเลน่ เชน่ เสยี ง ภาพพ้นื หลงั เปน็ ตน้
3.4.1 การเปดิ โปรแกรม Flip PDF Professional
1. คลิกปุ่ม Start
2. เลือกไฟล์ Flip PDF Professional
1
ภาพท่ี 3.16 วธิ เี ปิดโปรแกรม Flip PDF Professional
29
3.4.2แถบเครื่องมือ Button Menu
เปน็ แถบคาสั่งที่ใช้งานบ่อยๆ เชน่ Import PDF ป่มุ นาไฟล์เอกสาร PDF มาทาเป็น
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์, Edit Pages ปุ่มสาหรับการปรับแต่งแก้ไขหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book),
Apply Change ปุ่มแสดงผลการกาหนดคุณสมบัติของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์, Publish ปุ่มแปลงไฟล์
หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ใหอ้ อกมาอยใู่ นรปู แบบของไฟล์ *.html, *.exe, *.zip, *.app เปน็ ตน้
ภาพที่ 3.17 แถบเคร่ืองมือ Button Menu
ตารางท่ี 3-1 คุณสมบตั ิของเคร่อื งมือ Button Menu
ลาดบั เครื่องมือ คุณสมบตั ิ
1 นาไฟลเ์ อกสาร PDF มาทาหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book)
2 ดผู ลการกาหนดคณุ สมบัติของหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book)
3 ปรบั แตง่ แกไ้ ขหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book)
4 แปลงหนังสอื ให้อยใู่ นรูปของ *.html, *.exe, *.zip, *.app เป็นตน้
ใช้สาหรับ อัพโหลดไฟล์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไปยังเคร่ืองแม่ข่าย
5 Server ของ Flip Book Server เพ่ือให้สามารถ ใช้งานออนไลน์
ผา่ นเครอื ขา่ ย Flip Book Server ได้
6 ใช้สาหรับอัพโหลดไฟล์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีสร้างเสร็จไปยัง
เครอื ขา่ ยแม่ข่าย (Server) ของ FlipBuilder Server
3.4.3 แถบเคร่อื งมือท่ีกาหนดคุณสมบตั ิของหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Book)
เป็นส่วนสาคัญที่ใช้เก็บรวบรวมคุณสมบัติประเภทต่างๆ เข้าไว้ด้วยกันเป็นกลุ่ม
เพ่ือท่ีเราจะได้สามารถนามาใชง้ านไดส้ ะดวก โดยการคลกิ เลือกคุณสมบัติทต่ี ้องการกาหนดให้กับหนังสือ
อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) ซึ่งมรี ายละเอยี ดดงั นี้
30
ตารางที่ 3-2 คณุ สมบตั ขิ องเครอ่ื งมือ Tool Settings
ลาดับ เครอื่ งมอื คุณสมบัติ
1 Toolbar Color สีแถบเครอ่ื งมือ
2 Icon Color สีไอคอนบนแถบเครอ่ื งมือ
3 Font Color กาหนดสตี ัวอักษรบนแถบ Tool Bar
4 Menu font color สีตวั อักษรอธบิ ายเครือ่ งมือเม่ือนาเมาส์ไปวาง
5 Always Show แสดงแถบเคร่ืองทุกคร้ังในมุมมองการแสดงผลบนอุปกรณ์โม
Toolbar on mobile บายหรือไม่
ตารางที่ 3-3 คณุ สมบตั ขิ องเคร่อื งมือ Auto Flip Button
ลาดับ เครอ่ื งมือ คุณสมบัติ
1 Logo Flip ต้งั คา่ โลโก้
2 Link การเชื่อมโยง
3 Show Logo กาหนดแสดงโลโก้โปรแกรม
ตารางท่ี 3-4 คุณสมบตั ิของเครื่องมอื Auto Flip Button (ตอ่ )
ลาดบั เครื่องมือ คณุ สมบตั ิ
1 Show Auto Flip Button แสดงปุม Auto Flip บนแถบเครอื่ งมือหรือไม่
2 Auto Flip at Startup ตัง้ คาเลนอตั โนมัตเิ ปนคาเร่ิมตนหรอื ไม่
3 Page Flipping Interval ตั้งคาหนวงเวลาในการเปดแตละหนา
4 Number of Repeats จานวนรอบในการเลนอตั โนมัติ
ตารางที่ 3-5 คุณสมบัติของเครื่องมือ Cover Config
ลาดบั เครอ่ื งมือ คุณสมบตั ิ
1 Hard Cove แสดงรปู แบบปกแข็งหรือไม่
2 Hard Cover Border Width ตง้ั คาความกวางขอบปก
3 Border Color ตงั้ คาสีขอบ
4 Outer Cover Border แสดงขอบปกดานนอกหรือไม่
5 Corner Rounding ตงั้ คาความโคงมุมปก
31
ตารางที่ 3-6 คุณสมบตั ิของเคร่ืองมือ HTML Settings
ลาดับ เคร่อื งมือ คุณสมบตั ิ
1 Link Color on Hover ต้ังคาสีLink
2 Link Opacity on Hover ตง้ั คาความเขมของ Link (Value should
be between 0 and 1)
3 Open Links in … รูปแบบการเปด Link เลือกระหวางเปดหนาใหม
(Blank) และเปดทับหนาเดิม (Self)
4 Enable Tooltips กาหนดใหแสดงหรือไมแสดง Tooltips ของลงิ ค์
3.5 การสรา้ งหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เบอื้ งตน้
3.5.1 ขั้นตอนการสร้างหนงั สือโดยการนาไฟล์ PDF เขา้ มาทาหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์
3.5.1.1 เข้าไปทเี่ มนู New Project
1
ภาพท่ี 3.18 เลือกหวั ข้อ New Project
32
3.5.1.2 จะปรากฏหน้าต่าง Select Version ทาการเลือก Magazine ที่ Flash
1
2
ภาพที่ 3.19 Magazineที่ Flash
3.5.1.3 จะปรากฎหน้าต่างจะปรากฏหน้าต่าง Import PDF ทาการเลือกไฟล์ PDF
ท่ีต้องการจะนามาทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถคลิกที่ Browse… เพื่อเลือกไฟล์ PDF ที่ต้องการ
หลังจากเลอื กไฟล์ PDF เรยี บรอ้ ยแล้ว คลิกที่ Import Now
ภาพท่ี 3.20 หนา้ ต่าง Import PDF
33
3.5.1.4 รอการ Import ไฟล์ PDF
ภาพท่ี 3.21 หนา้ ตา่ ง Import PDF รอการ Import
3.5.1.5 เมอื่ Import ไฟล์ PDF เสร็จเรียบรอ้ ยแล้วจะไดห้ นงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-
Book) ที่มีหน้าตาดงั รูปภาพท่ี 3.5.1.5
ภาพที่ 3.22 หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book)
34
3.5.1.6 การเปล่ียนพืน้ หลงั E-Book คลิกที่ Neat จะแสดงรปู แบบ พื้นหลงั ให้เลอื ก
ภาพท่ี 3.23 การเปลย่ี นพ้นื หลงั E-Book คลิกท่ี Neat
3.5.1.7 เลอื กรปู แบบพื้นหลังทต่ี อ้ งการ แล้วคลิก OK
1
2
ภาพท่ี 3.24 เลือกรูปแบบพ้ืนหลังทต่ี อ้ งการ แล้วคลิก OK
35
3.5.2 ขนั้ ตอนการใส่ Contents
3.5.2.1 คลกิ ทีแ่ ทบ็ Table of Contents
ภาพท่ี 3.25 แท็บ Table of Contents
ตารางท่ี 3.14 แทบ็ เครื่องมือ Table of Contents
ลาดบั เครื่องมอื คณุ สมบตั ิ
1. เพม่ิ หัวข้อใหญข่ อง Contents
2. เพิม่ หัวข้อยอ่ ยของ Contents
3. เลอ่ื นขึ้น
4. เลื่อนลง
5. Save Contents
6. นา Contents กลบั มาใช้
7. ลบ Contents
3.5.2.2 คลิก (Add) เพื่อทาการเพ่ิมหัวข้อใหญ่ และใส่ช่ือหัวข้อในช่อง
Title พรอ้ มเลขหน้าของหนังสอื ในชอ่ ง Page เมอ่ื ทาการใส่ชอื่ และเลขหน้าเรยี บร้อยแล้ว คลิกทป่ี ุ่ม
1
2
3
ภาพท่ี 3.26 เพิ่มหัวขอ้ ใหญ่
36
3.5.2.3 เพิม่ หวั ข้อย่อยมี 3 ขัน้ ตอนดงั นี้
1.คลิก (Add Child) เพื่อทาการเพ่ิมหัวขอ้ ยอ่ ย
2.ใสช่ ือ่ หัวขอ้ ในช่อง Title พร้อมเลขหนา้ ของหนังสือในชอ่ ง Page
3.คลกิ ท่ีปมุ่
1
2
3
ภาพท่ี 3.27 เพิ่มหัวขอ้ ย่อย
3.5.2.4 ใส่ Contents ใหค้ รบตามจานวนหวั ขอ้ เป็นอันเสรจ็ สมบรณู ์
ภาพท่ี 3.28 ใส่ Contents เสรจ็ สมบรณู ์
37
3.5.2.5 ขั้นตอนการลบหัวข้อ ให้ทาการเลอื กหวั ข้อท่ตี ้องการลบและคลิกท่ี
(Delete the selected item) หวั ขอ้ ที่ต้องการลบก็จะหายไป
2
1
ภาพที่ 3.29 การลบหัวข้อ
38
3.5.3ขน้ั ตอนการกาหนดสีใหก้ บั Tool Bar
3.5.3.1 ทาการคลิกทแ่ี ทบ็ Design Setting พรอ้ มกบั เลือกสใี นชอ่ ง Base Color, Icon
Color, Font Color โดยเลือกชอ่ งท่ีต้องการเปลยี่ นสี และคลิกทป่ี มุ่ แลว้ ทาการเลือกสใี นหนา้ ตา่ ง
Color เมอื่ ทาการเลอื กสีเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ใหท้ าการคลิกที่ปุ่ม OK
4
1
3
26
5
ภาพท่ี 3.30 กาหนดสีให้กับ Tool Bar เพอ่ื ดูผลลัพธ์ ดงั
3.5.3.2 เมื่อทาการเลอื กสีเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว คลิกที่
รูปภาพท่ี 3.5.3.2
ภาพท่ี 3.31 ผลลัพธ์จากการเปลื่ยนสใี หก้ บั Tool Bar
39
3.5.4 ข้ันตอนการใส่เสียง Sound File
3.5.4.1 คลิกเลอื กแทบ็ Design Setting แล้วเลอื กชอ่ ง Sound File คลกิ ท่ีปุม่
1
2
ภาพท่ี 3.32 ข้นั ตอนใส่เสียง Sound File
3.5.4.2 จะปรากฏหน้าต่าง Open ให้เราทาการเลือกไฟล์เสยี ง แลว้ ทาการคลิก OK
12
ภาพที่ 3.33 เลือกไฟล์เสยี งท่ีต้องการ
3.5.4.3 เม่อื ทาการเลือกไฟล์เสยี งเรยี บรอ้ ยแลว้ คลกิ ที่ 40
ภาพที่ 3.34 เลอื กไฟล์เสยี งเรียบรอ้ ยแลว้ เพือ่ ดผู ลลัพธ์
1
3.5.5 ข้ันตอนการ Save Project
3.5.5.1 คลิกเลือกเมนู Files เลอื ก Save Project as…
1
2
ภาพที่ 3.35 ขัน้ ตอนการ Save Project
3.5.5.2 จะปรากฏหน้าตา่ ง Save As ใหท้ าการเลือกที่อยู่ท่ีตอ้ งการ Save Project พรอ้ ม
ใส่ชื่อในชอ่ ง File name เม่อื ทาการเลอื กท่ีอยู่และใสช่ ่ือเรียบรอ้ ยแลว้ คลิกท่ปี ุ่ม Save
1
2
3
ภาพท่ี 3.36 หน้าต่าง Save As
41
3.5.5.3 รอจน Save เสร็จสมบูรณ์ จะได้ไฟล์ *.flb
ภาพที่ 3.37 Save เสรจ็ สมบรณู ์แล้ว
3.5.6 ขน้ั ตอนการแปลงไฟลเ์ ปน็ EXE
3.5.6.1 คลกิ ที่ เพื่อทาการแปลงไฟล์
ภาพท่ี 3.38 แปลงไฟลเ์ ปน็ EXE
42
3.5.6.2 จะปรากฏหนา้ ต่าง Publish ให้ทาการเลอื กไฟล์ EXE
1
ภาพท่ี 3.39 หน้าต่าง Publish
3.5.6.3 จะปรากฏหนา้ ต่าง Publish ใหท้ าการหาท่เี กบ็ ไฟล์ EXE และทาการใสช่ ่อื ในชอ่ ง
File Name และชอ่ ง Caption หลงั จากใสช่ อ่ื เรียบรอ้ ยแลว้ คลิกท่ี Convert
2
1
34
ภาพที่ 3.40 เลอื กทเ่ี ก็บไฟล์ และใสช่ ่อื