43
3.5.6.4 เมื่อโปรแกรม Publish เสร็จเรียบร้อยแล้วจะขึ้นหน้าต่าง Publish และมีข้อความ
“Your book has been published successfully” หากเราต้องการชมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-
Book) ใหท้ าการคลิกท่ี View Book
4
ภาพท่ี 3.41 โปรแกรม Publish เสร็จเรยี บร้อยแลว้
3.5.6.5 เม่ือทาการคลิกท่ี View Book จะปรากฏหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ท่ีเราได้
ทาการสร้างอย่างเสรจ็ สมบูรณ์แลว้
ภาพท่ี 3.42 หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ (E-book) วิชา โปรแกรมนาเสนอ (20204-2104)
44
3.5.6.6 เม่ือเราทาการออกจากโปรแกรม เราจะเห็นไฟล์ EXE ที่เราได้แปลงไปเรยี บร้อยแล้ว
ทัง้ นี้ข้นึ อยกู่ บั การเลือกท่ีอยขู่ องการเก็บไฟล์ EXE
ภาพที่ 3.43 ไฟล์ โครงงานการสร้างหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ e- book วิชา อาชวี อนามยั และความ
ปลอดภยั (20001-1001)
45
บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
การจัดทาโครงการสรา้ งหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) วชิ า อาชวี อนามัยและความ
ปลอดภยั คณะผ้จู ดั ทาไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยหลกั สถิติและเสนอผลวิเคราะห์ข้อมลู
ตามลาดบั ดงั น้ี
4.1 ประชากร
4.2 เครื่องมือที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู
4.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
4.4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
4.5 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ
4.1 ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในคร้ังน้ีเป็นนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)
นักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง(ปวส.) บุคลากรทาฃการศึกษาระดับการศึกษาปริญญาตรี
และบคุ ลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาปริญญาโท แผนวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ วิทยาเทคนิคนนทบุรี
รวมประชากร 30 คนดงั น้ี
1.นักเรยี น ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) จานวน 18 คน
- ชน้ั ปที ่ี 1 จานวน 6 คน
- ช้นั ปีท่ี 2 จานวน 6 คน
- ชั้นปีท่ี 3 จานวน 6 คน
2.นักเรียน รระดับช้ันประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั้ สงู (ปวส.) จานวน 8 คน
- ชั้นปที ี่ 1 จานวน 4 คน
- ช้ันปที ี่ 2 จานวน 4 คน
3.บุคลากรทางการศึกษาระดับศึกษาปริญญาตรี จานวน 2 คน
- ปรญิ ญาตรี จานวน 2 คน
4.บุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาปริญญาตรี จานวน 2 คน
- ปริญญาโท จานวน 2 คน
46
4.2 เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
การจดั ทาโครงการในครั้งนี้ คณะผู้จดั ทาไดใ้ ชเ้ ครื่องมือที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล ดังน้ี
1.หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพื่องานอาชพี
2.แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผทู้ ดลองใชโ้ ปรแกรม แบ่งออกเป็น 2 ตอนดังน้ี
- ตอนที่ 1 ข้อมลู พน้ื ฐานเกี่ยวกบั ผ้ตู อบการประเมนิ
- ตอนที่ 2 ข้อมูลความพึงพอใจเกย่ี วกับการสรา้ งหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์
(E-Book) วชิ า อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
3.โปรแกรม Microsoft Excel
4.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
คณะผจู้ ดั ทาไดท้ าแบบประเมินความพึงพอใจเกีย่ วกบั การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
วิชา คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพอ่ื งานอาชีพ ใหก้ บั ผู้ทดลองใชง้ านหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book)
วชิ า คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพือ่ งานอาชีพ จานวน 30 คน แบง่ เปน็ นกั เรียนระดบั ประกาศนยี บัตร
วชิ าชีพ (ปวช.) จานวน 16 คน นกั ศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สูง (ปวส.) จานวน 8 คน
บุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาปรญิ ญาตรจี านวน 2 คน และบุคลากรทางการศกึ ษาระดับ
การศึกษาปริญญาโท จานวน 2 คน โดยประเมนิ ความพงึ พอใจหลังการทดลองใช้หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์
(E-book) วิชา คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพอื่ งานอาชพี เรียบร้อยแล้ว
4.4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู
จากแบบประเมินความพึงพอใจการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) วิชา คอมพิวเตอร์
และสารสนเทศเพอื่ งานอาชีพ สาหรบั นกั เรยี นระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) นักศึกษาระดับ
ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) บคุ ลากรทางการศึกษาระดับการศกึ ษาปรญิ ญาตรี และบุคลากร
ทางการศึกษาระดบั การศกึ ษาปรญิ ญาโท แผนกวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยเทคนคิ นนทบรุ ี รวม
ประชากรทง้ั หมด 30 คน แบง่ ออกได้ 2 ตอน ดงั นี้
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู พื้นฐานของผู้ตอบแบบประเมนิ
ตารางที่ 4.1 แสดงค่าร้อยละของข้อมลู พื้นฐานของผตู้ อบแบบประเมนิ จาแนกตามเพศ
เพศ จานวน(คน) ร้อยละ
ชาย 14 47.00
หญงิ 16 53.00
รวม 30 100.00
จากตารางท่ี 4.1 ผตู้ อบแบบประเมินความพึงพอใจการสร้างหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book)
วิชา คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพอ่ื งานอาชีพ สาหรบั นักเรียนระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.)
นักศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) บุคลากรทางการศึกษาระดบั การศึกษาปรญิ ญาตรี
และบุคลากรทางการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาปรญิ ญาโท แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ วทิ ยาลัยเทคนคิ
47
นนทบุรี เป็นเพศชายร้อยละ 47.00 เปน็ เพศหญิง ร้อยละ 53.00
ตารางท่ี 4.2 แสดงคา่ รอ้ ยละของขอ้ มลู พนื้ ฐานของผตู้ อบแบบประเมิน จาแนกตามระดบั การศกึ ษา
ระดับชน้ั จานวน(คน) ร้อยละ
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช. ปที ี่ 1) 6 20.00
ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช. ปีที่ 2) 6 20.00
ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช. ปที ี่ 3) 6 20.00
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชัน้ สูง (ปวส. ปีที่ 1) 4 13.33
ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส. ปีท่ี 2) 4 13.33
บคุ ลากรระดับการศกึ ษาปรญิ ญาตรี 2 6.67
คลากรระดับการศึกษาปรญิ ญาโท 2 6.67
รวม 30 100.00
จากตารางที่ 4.2 ผ้ตู อบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจการสรา้ งหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-book)
วิชา คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพื่องานอาชพี นกั เรยี นระดบั ช้ันประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ชัน้ ปีที่
1 ร้อยละ 20.00 ชั้นปีที่ 2 ร้อยละ 20.00 ช้ันปีที่ 3 ร้อยละ 20.00 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตร
วชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.) ชั้นปีท่ี 1 รอ้ ยละ 13.33 ช้นั ปีท่ี 2 รอ้ ยละ13.33 บคุ ลากรทางการศกึ ษาระดับ
การศกึ ษาปรญิ ญาตรี ร้อยละ 6.67 และบคุ ลากรทางการศกึ ษาระดบั การศึกษาปรญิ าโท รอ้ ยละ 6.67
ตอนที่ 2 ข้อมูลความพึงพอใจเก่ยี วกับการสรา้ งหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) วิชา
อาชวี อนามัยและความปลอดภัย
ตารางท่ี 4.3 แสดงระดบั คะแนน และเกณฑ์การประเมิน
ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ
5 ดมี าก
4 ดี
3 ปานกลาง
ตารางที่ 4.3 แสดงระดับคะแนน และเกณฑก์ ารประเมิน (ตอ่ )
ระดับคะแนน เกณฑก์ ารประเมิน
2 น้อย
1 นอ้ ยมาก
จากตารางที่ 4.3 เป็นระดับคะแนนและเกณฑ์การประเมินท่ีใช้ในการประเมินความพึงพอใจ
การสร้างหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) วชิ า อาชวี อนามัยและความปลอดภัย
48
ตารางท่ี 4.4 แสดงระดบั ค่าเฉลย่ี (x)̅ และระดับความพงึ พอใจ
ระดบั คา่ เฉลี่ย (x)̅ ระดบั ความพึงพอใจ
4.50-5.00 ดมี าก
3.50-4.49 ดี
2.50-3.49 ปานกลาง
1.50-2.49 พอใช้
1.00-1.49 ปรบั ปรงุ
จากตารางท่ี 4.4 ระดับค่าเฉล่ีย (x̅)และระดับความพึงพอใจ มีท้ังหมด 5 ระดับเป็นเกณฑ์การ
วิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ ของผู้ทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) วิชา คอมพิวเตอร์และ
สารสนเทศเพื่องานอาชพี
ตารางท่ี 4.5 แสดงความถี่ ค่าเฉล่ีย (x)̅ และส่วนเบี่ยงเบนมาตาฐาน (S.D.) ของระดับความพึง
พอใจตอ่ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) วิชา อาชวี อนามัยและความปลอดภยั
แบบประเมินความพงึ พอใจการสร้างหนังสอื เกณฑ์การประเมนิ ความ ระดับ
อิเลก็ ทรอนกิ ส(์ E-Book) วชิ า อาชวี อนามยั พงึ พอใจ (x̅) S.D. ความพงึ
และความปลอดภยั 5432 1 พอใจ
1.ด้านเนือ้ หา 15 15 0 0 0 4.50 0.509 ดีมาก
1.1 ปรมิ าณเนื้อหาในบทเรียน
1.2 เนอ้ื หามคี วามกะทัดรัดชัดเจน เปน็ 19 9 2 0 0 4.57 0.626 ดีมาก
ลาดบั ข้นั ง่านตอ่ การทาความเขา้ ใจ
ตารางที่4.5 แสดงความถ่ี ค่าเฉล่ีย (x)̅ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความพึง
พอใจตอ่ หนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) วิชา อาชวี อนามยั และความปลอดภัย(ตอ่ )
1.3 การจัดองค์ประกอบในบทเรียนมีความ 17 13 0 0 0 4.57 0.546 ดมี าก
เหมาะสมสะดุดตา น่าสนใจ
รวม 51 37 2 0 0 4.55 0.561 ดมี าก
2.ดา้ นสื่อ 19 11 2 0 0 4.63 0.490 ดมี าก
2.1 การจดั ตาแหนง่ มีความเหมาะสม
2.2 ภาพประกอบมีความสอดคล้องกบั 24 6 0 0 0 4.80 0.407 ดีมาก
เนื้อหา
2.3 การออกแบบพืน้ หลงั มีความเหมาะสม 19 10 1 0 0 4.60 0.560 ดมี าก
49
2.4 รูปแบบตวั อกั ษร สี ตวั อักษร มคี วาม 18 10 2 0 0 4.53 0.629 ดีมาก
ชดั เจนอ่านง่าย
รวม 80 37 5 0 0 4.64 0522 ดมี าก
3.ด้านกาใช้งาน
3.1 การใช้งานหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ 22 7 1 0 0 4.63 0.556 ดมี าก
(E-Book)สามารถเรียนรไู้ ดด้ ว้ ยตวั เอง
3.2 การใชง้ านหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ 17 12 1 0 0 4.53 0.571 ดีมาก
(E-Book) มคี วามสะดวกใช้งานง่าย
3.3 การใช้งานหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ 14 16 0 0 0 4.47 0.507 ดีมาก
(E-Book) ผใู้ ช้งานได้รับประโยชน์ในระดับใด
รวม 53 35 2 0 0 4.54 0.545 ดมี าก
รวมทั้งหมด 184 109 9 0 0 4.58 0.543 ดีมาก
จากตารางที่ 4.5 พบว่าระดบั ความพงึ พอใจของนักเรียนระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.)
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) บุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษา
ปริญญาตรีและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาปริญญาโท ท่ีมีต่อโครงการการสร้างหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) วิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ มีระดับความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับ ดีมาก มีค่าเฉล่ยี 4.58
4.5 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ
1. ปรมิ านของเนอ้ื หาในบทเรยี น มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับ ดมี าก
2. เนื้อหามีความกะทัดรัด ชัดเจน เป็นลาดับข้ัน ง่ายต่อการทาความเข้าใจ มีความพึงพอใจอยู่
ในระดบั ดมี าก
3. การจัดองค์ประกอบในบทเรียนมคี วามเหมาะสม สะดดุ ตา น่าสนใจ นา่ ตดิ ตาม มคี วามพึง
พอใจอยใู่ นระดบั ดมี าก
4. การจดั ตาแหนง่ มีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอย่ใู นระดับ ดมี าก
5. ภาพประกอบมีความสอดคลอ้ งกับเน้อื หา มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ดีมาก
6. การออกแบบพ้นื หลงั มคี วามเหมาะสม มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับ ดีมาก
7. รูปแบบตวั อักษร สีตัว อกั ษร มคี วามชัดเจนอา่ นงา่ ย มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับ ดีมาก
8. การใช้งานหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) สามารถเรยี นรู้ ไดด้ ้วยตัวเอง มีความพงึ พอใจอยู่
ในระดบั ดมี าก
9. การใชง้ านหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) มีความสะดวก ใช้งานง่าย มีความพึงพอใจอย่ใู น
ระดบั ดมี าก
10. การใช้งานหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E- Book) ผใู้ ชง้ านได้รบั ประโยชน์ในระดบั ใด มีความพึง
50
พอใจอย่ใู นระดับ ดมี าก
จากการประเมินความพึงพอใจเก่ียวกับการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) วิชาคอมพิวเตอร์และ
สารสนเทศเพอ่ื งานอาชพี สามารถสรุปเป็นรายดา้ นได้ดงั นี้
1. ดา้ นเน้อื หา มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ดมี าก
2. ดา้ นสื่อ มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับ ดีมาก
3. ดา้ นการใชโ้ ปรแกรม มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับ ดมี าก
จากการประเมนิ ความพึงพอใจเกี่ยวกับการสร้างหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-book) วิชา
คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพื่องานอาชีพ สามารถสรปุ รวมทัง้ หมดมีความพึงพอใจอยใู่ นระดับ
ดมี าก มคี า่ เฉลย่ี 4.58
51
บทท่ี 5
สรุปผลบปญั หาและขอ้ เสนอแนะ
การจัดทาโครงการ การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา อาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย เพ่ือเป็นส่ือการเรียนการสอนวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้น (ปวช.) พทุ ธศักราช 2563 ผจู้ ัดทาไดส้ รปุ ผลปญั หาและ
ข้อเสนอแนะการจัดทาโครงการตามลาดับดังนี้
5.1 สรุปผลการดาเนนิ งาน
5.2 ปญั หาและอุปสรรค
5.3 ขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
จากการประเมินความพึงพอใจในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา อาชีวอนามัย
และความปลอดภัยมีผู้ทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
จานวน 30 คน เป็นนักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับช้ัน
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับ ดีมาก โดยมีคา่ เฉลย่ี เทา่ กบั 4.58 ซึ่งตรง
ตามวัตถุประสงคข์ องโครงการที่ตัง้ ไว้
5.1.1 ดา้ นความรู้ อย่ใู นระดับ ดมี าก
5.1.2 ด้านการออกแบบ อยู่ในระดับ ดมี าก
5.1.3 ดา้ นการใช้โปรแกรม อยใู่ นระดับ ดมี าก
5.2 ปญั หาและอปุ สรรค
ในการดาเนินงานจัดทาโครงการการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา อาชีวอนามัย
และความปลอดภัย ทาให้ผจู้ ดั ทาโครงการพบปญั หาและอุปสรรคดังตอ่ ไปน้ี
5.2.1 ปญั หาดา้ นโปรแกรม
1. ปัญหาในการลงโปรแกรม เน่อื งจากโปรแกรมที่ใช้เป็นโปรแกรม 3D PageFlipProfessional
และผจู้ ดั ทาไม่มีความรูเ้ กี่ยวกบั การลงโปรแกรม 3D PageFlip Professional
2. ผู้จัดทาไม่มีความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรม 3D PageFlip Professional จึงทาให้เกิดความ
ล่าชา้ เพราะผจู้ ัดทาต้องศกึ ษาวิธกี ารใช้และทาความเข้าใจเก่ยี วกับโปรแกรม
3. ปัญหาในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ในโปรแกรม 3D PageFlipProfessional
เน่ืองจากผู้ใช้ไม่เคยศึกษาและใช้งานมาก่อน จึงทาให้ขาดความชานาญในการทางานและทาให้การ
ทางานน้นั ลา่ ช้า
4. ระยะเวลาการทาโครงการน้ันน้อยอย่างมากและต้องทาให้เสร็จพาในเวลาที่จากัดและน้อย
อยา่ งมาก
52
5.2.2 ดา้ นรูปเลม่ โครงการ
1. ด้านการประเมินและสรุปผลการประเมิน คณะผู้จัดทาต้องทาการสรุปผลการประเมิน
โครงการการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) แต่ผู้จัดทาไม่มีตัวโปรแกรม SPSS จึงได้ขอความ
อนุเคราะหจ์ ากอาจารย์วิศณุ เวสสานนท์ ได้ให้ความร้ใู นเร่อื งโปรแกรม Microsoft Excel
2. ปัญหาการจัดหน้าเอกสาร การพิมพ์อักษร หรือ ประโยคผิดพลาด ทาให้รูปเล่มเกิดความ
ล่าชา้
5.2.3 ดา้ นตัวบคุ คล
1. ขาดความกระตือรอื รน้ ในการทางานในชว่ งแรก
2. ในการทางานเปน็ กลุม่ อาจเปน็ ไปได้ยาก เน่ืองจากที่อย่ขู องแตล่ ะบคุ คลไกลกัน
5.3 ข้อเสนอแนะ
ในการจัดทาโครงการการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา อาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย จากการประเมนิ ความพึงพอใจ พบว่ามขี อ้ เสนอแนะดงั นี้
5.3.1 ดา้ นโปรแกรม
1. ผู้จัดทาควรศึกษาการใช้โปรแกรม 3D PageFlip Professional อย่างละเอียดก่อน
ใชโ้ ปรแกรม เพื่อลดความลา่ ชา้ ในการทางาน
2. ควรมีการศกึ ษาและตามทนั การพัฒนาของโปรแกรมการสร้างหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์
(E-Book) เพ่ือจะใช้ในการปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ มปี ระสิทธิภาพมากข้ึน
3. ควรเพ่มิ ระยะเวลาใหพ้ อกบั การทาตวั ชน้ิ งานโครงการและเลม่ รายงาน
4. ควรศึกษาโปรแกรมท่ีใช้ในการคานวณหาค่าต่างๆ ของแบบประเมินความพึงพอใจ
ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
เพ่อื ทีจ่ ะไดไ้ ม่เกดิ ความล่าชา้ ในการคานวณหาค่าตา่ งๆ
5.3.2 ด้านรปู เลม่ โครงการ
1. ควรหาข้อมูลท่ีต้องการใช้ในการทารูปเล่มโครงการเร่ืองการสร้างหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพื่อความรวดเร็วในการทา
รปู เลม่ โครงการ
2. เมื่อทาการพิมพ์ให้ตรวจดูเสมอว่าเนื้อหาที่พิมพ์ถูกต้องหรือไม่ การจัดระยะเป็นไป
ตามรูปแบบหรอื ไม่ เพอ่ื จะได้รวดเร็วข้นึ หากไม่แน่ใจควรใหบ้ คุ คลอื่นตรวจดูด้วย
5.3.3 ด้านตวั บุคคล
1. ผู้จัดทาควรมคี วามกระตือรอื รน้ ในการทางานเพ่ือความรวดเรว็ ในการทางาน
2. ผ้จู ัดทาควรมีความตั้งใจในการทางานเพ่ือท่ีจะไดเ้ กิดขอ้ ผดิ พลาดน้อยลง
3. ในการจัดทาโครงการเม่ือเกิดปัญหาควรขอความช่วยเหลือจากเพ่ือนหรือครูท่ี
ปรึกษาโครง
53
บรรณานกุ รม
กาญจนา อรุณสขุ รจุ ี. (2546). ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดาเนินงานของสหกรณ์
การเกษตรไชยปราการ จากัด อาเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ศศ.ม
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
กสุ าวดี หสั แดง วชิ าการดอคอม (ออนไลน์)เข้าถึงไดจ้ าก
www.getdd.net/techno/62ebookdefine.htmL.9 ตลุ าคม 2558
กาธร บุญเจรญิ . (2550). การเปรยี บเทียบผลสาฤทธิท์ างการเรียนจากหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ สผ์ ่านเว็ป
2 รูปแบบที่ต่างกันเรื่องการเขียน สาหรับนักศึกษา ปริญญาตรี สารนิพนธ์ กศ.ม.
(เทคโนโลยกี ารศกึ ษา), กรุงเทพฯะบณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี รินวโิ รฒ.ถ่ายเอกสาร
ชุติมา พนั ธ์ไพโรจน์. (2549). การสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนเครือข่าย
เร่ือง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้โปรแกรม Flip Publisherช่วงช้ันที่ 2
วทิ ยานิพนธ์ ค.อ.ม. นนทบุรี สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
ไชยยัณห์ ชาญปรชี ารัตน์. (2544). ความพึงพอใจของนักศึกษาทม่ี ตี ่อการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือจังหวัดขอนแก่รายงานการศึกษาค้นคว้า
อิสระกศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2551). การพัฒนาคอร์สแวรแ์ ละบทเรียนบนเครือข่ายพิมพ์ครงั้ ท่ี 12
มหาสารคาม: คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
เรชยา เออื้ มอุ่น (2544). ความพงึ พอใจต่อการใชบ้ ริการห้องสมุดประชาชน ของนักศึกษานอก
โรงเรียนสายสามัญ วิธีเรียนทางไกลศูนย์บริการศึกษานอก โรงเรียน อาเภอพิบูลรักษ์
จังหวดั อดุ รธานี, รายงานการศึกษาค้นควา้ อสิ ระกศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ทองสขุ เอยี่ มศิริ. (2553), ววิ ัฒนาการของหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (ออนไลน์) เข้าถงึ ได้จาก
http://www.kruthong.net/Desktop620Author/m3.html: 20 ตลุ าคม 2555
ธญั ญารัตน์ สนุ ทร. (2549) การสรา้ งหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์บนเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตเรื่องระบบ
พนักงานมหาวิทยาลัยมหิล, กรุงเทพฯ : ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยี
การศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประภาพนั ธ์ พรายจนั ทร์. (2546), ความพงพอใจของนกั ศกึ ษาในการใช้ทรพั ยากรสารนิเทศและ
บริการของห้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รายงานการวิจัย
เชียงใหมม่ หาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
54
บรรณานุกรม (ต่อ)
ปลิ นั ธนา สงวนบุญญพงษ์. (2542). การพัฒนาและหาประสทิ ธภิ าพหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์แบบสื่อ
ประสมเร่ืองส่ือส่ิงพิมพ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ วิทยานิพนธ์ ค.อ.ม.สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ไพฑูรย์ ศรฟี ้า. (2551). E-book หนังสอื พูดได้, กรุงเทพฯ: ฐานบ๊คุ ส์
ศุภศริ ิ โสมาเกตุ. (2544). การศึกษาเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นและความพึงพอใจในการ
เรียนการสอนภาษาอังกฤษของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ระหว่างบทเรียนโดย
โครงงานกับการเรียนรู้ตามคู่มือครู, วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม
เสาวลกั ษณ์ ญาณสมบัติ. (2545). การพฒั นาหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เร่อื ง นวตั กรรมการสอนท่ียดึ
ผูเ้ รียนเป็นสาคญั . วทิ ยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
สทุ ธิลกั ษณ์ สูงหนองหว้า. (2551). การพฒั นาหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ สโ์ ดยใช้การดาเนนิ เรอื่ ง แบบสาขา
สาหรับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นอนุบาลโพนทอง, วิทยานพิ นธ์ ศษ.ม.
ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
สภุ าภรณ์ สิปปเวสม์. (2545), ประสิทธภิ าพของหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรื่อง การสรา้ งหนงั สือ
อเิ ล็กทรอนกิ สท์ ี่เขียนจากโปรแกรม Adobe Acrobat วทิ ยานิพนธ์ ศษ.ม.กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อคั รเดช ศรมี ณพี ันธ์. (2547). การพัฒนาหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์รปู แบบสื่อประสมเรอ่ื ง “การใช้สื่อการ
สอนสาหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, อมรรัตน์ ยางนอก.วิทยานิพนธ์ ศษ.
ม.กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
อาวัชนา สนิ วณิชยก์ ลุ . (2552). ผลการใช้หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ สเ์ พอ่ื การเรียนรดู้ า้ นการอา่ น
ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีการศกึ ษา,
นครปฐม :มหาวิทยาลยั ศิลปากร
อมรรัตน์ ยางนอก. (2549). การพัฒนาหนงสอื อิเล็กทรอนิกส์ เรอ่ื งการใช้ภาษาองั กฤษเพ่อื การ
สือ่ สาร วทิ ยานิพนธ์ ศษ.ม กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์,
Higgin,Norman&Hess,Laura(1998).UsingElectronicBookstopromoteVocabularyDevelopme
nt. Report to Faculty Released time Project.march 13, 1998. n.pMaslow,Araham Harole.
(1973). Motivation and Organizational Leadership inElementary Schools. Englewood Cliff.
New Jersey: Prentice-Hall.
55
บรรณานุกรม (ต่อ)
Mores. (1955). Index of surface-water records to September .part 14, Pacific slope
basins in Oregon and lower Columbia River basin U.S. Dept. of the
Interior, Geological Survey.
Skinner, B.F. (1971). Beyond Freedom and Dignity. Toronto : A Bantam Vintage Book.
Rao, Siriginidi Subba. (2004). Electronic Books A New Genre of Content
Management.India: Central Leather Resentral Leather Research Institute.
Robins, Dave. (2004). Electronic books: issues and future Directions. University
of Pittsburgh
Wilson, Ruth (2003). Ebook REAder in higher Education. (online) Retrieved from
http://www.ifets.info/journals6_7/30pd
Whitehead, Alfred N. (1967). The Aims of Education and other Essay. New York:
The Free Press.
56
ภาพผนวก ก
ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ความพึงพอใจ
การสรา้ งหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส(์ E-Book) วิชา อาชวี อนามัยและความปลอดภัย
57
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
การสรา้ งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วชิ า อาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหัส (20001-1001)
ตอนท1่ี ขอ้ มูลพื้นฐานเก่ยี วกับผูป้ ระเมิน
1.เพศ ชาย หญงิ
2.ระดบั ช้ัน ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 ปวส.1 ปวส.2
3.สถานะภาพ ครู นกั ศกึ ษา
ตอนท2่ี ความพงึ พอใจเกี่ยวกับการสรา้ งหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) วชิ า อาชีวอนามัยและความปลอดภยั
คาชี้แจ้ง กรณุ าใส่ ลงในตารางท่ตี รงกับความพึงพอใจของผปู้ ระเมินโดยใช้หลกั การสังเกณฑก์ ารประเมิน
โดยแบง่ เป็น5 ระดับ ดังนี้ 5 = มากทสี่ ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรงุ
การสรา้ งหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) วิชา อาชวี อนามยั และความปลอดภัย ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร
ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พึ ง
พอใจ
5 43 2 1
1.ด้านเน้อื หา
1.1 ปริมาณของเนอ้ื หาในบทเรียน
1.2 เน้ือหามคี วามเขา้ ใจง่าย ชดั เจน เปน็ ลาดบั ชน้ั ง่ายตอ่ การทาความเข้าใจ
2. การจดั รปู ภาพส่ือ E-Book
2.1 การจดั ตาแหน่งความเหมาะสม
2.2 ภาพประกอบสอดคลอ้ งและเหมาะสมกับเนอ้ื หา
2.3 การใส่สตี วั อกั ษรและขนาดตวั อักษร
3.ด้านการใชโ้ ปรแกรม
3.1 หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) งา่ ยต่อการใช้งาน
3.2 หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) ผใู้ ช้งานได้รับประโยชน์ในระดับใด
58
ภาพผนวก ข
ค่มู ือการใช้งานหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์(E-Book) วชิ า อาชวี อนามัยและความ
ปลอดภยั
59
คู่มอื การใชง้ านหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book)
วชิ า อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การเร่ิมต้นเขา้ ใช้ส่ือการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) วชิ า ระบบปฏบิ ตั ิการเบ้อื งตน้
1.เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถเปิดโปรแกรมอันตโนมัติได้ เสียบแฟลช์ไดร์ฟเข้าช่อง USBของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เปิด My Computer แล้วทาการดับเบ้ิลคลิกท่ีไฟล์โปรแกรมเพ่ือดู ข้อมูลในแฟลชไดร์ฟ
และเข้าสู่โปรแกรม
ภาพท่ี ข.1 หน้าปกหนงั สือ
2. ปุ่มเครื่องมือต่างๆ ท่ีใช้ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) โดยอธิบายเคร่ืองมือใน
โปรแกรม ดงั ตอ่ ไปนี้
ป่มุ ย้อนกลับไปยงั หนา้ แรก ปุ่มซมู เข้า
ปุ่มย้อนกลับ ปุ่มเปดิ /ปดิ เสียงประกอบทางาน
ปุ่มถัดไป ปมุ่ หัวข้อสารบัญ
ปมุ่ ถดั ไปหน้าสดุ ท้าย ปุ่มยอ่ ขยายหนา้ จอ
ภาพท่ี ข.2 เครื่องมือต่างๆ
60
3.หน้าคานา
ภาพท่ี ข.3 หนา้ คานา
4.หน้าจดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ าและคาอธบิ ายวิชา
ภาพที่ ข.4 หน้าจดุ ประสงคร์ ายวชิ าสมรรถนะรายวิชาและคาอธิบายรายวชิ า
61
5.หน้าแรก และสาระสาคญั ของบทเรยี น
ภาพท่ี ข.5 หน้าแรก
6.แบบประเมินผลหลังเรียน
ภาพท่ี ข.7 แบบประเมินผลหลงั เรียน
62
7.หนา้ ปกหลงั หนงั สอื
ภาพท่ี ข.7 หนา้ ปกหลัง
63
ภาคผนวก ค
รปู ภาพขณะปฏบิ ัติงาน
64
ภาพท่คี .1 รูปขณะจัดทาเล่มโครงงาน นายยศวรุตม์ ปิ่นทอง
ภาพท่ีค.2 รปู ขณะจดั ทาหน้าปกเล่มโครงงาน นายยศวรตุ ม์ ปนิ่ ทอง
65
ภาพที่ ค.3 ขณะทาตวั ชิน้ งาน(E-Book) นายพรทิวา เดชขจร
ภาพท่ี ค.4 ขณะทารูปเลม่ โครงงาน นาย พรทวิ า เดชขจร
66
ภาพผนวก ง
ประวัตผิ ู้จัดทา
67
ประวัติผู้จดั ทา
นาย พรทิวา เดชขจร
รหสั นักเรยี น 6220204009
ชัน้ ปวช.3 สาขา : คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ
ท่อี ยู่ ตาบล ไทรม้า อาเภอเมืองนนทบุรี
จงั หวันนทบุรี 11000
เบอรโ์ ทรศัพท์ 0929856024
G-mail : [email protected]
นายยศวรุตม์ ปิน่ ทอง
รหสั นักเรียน 62202040039
ช้นั ปวช.3 สาขา : คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
ทอ่ี ยู่ ตาบล บางรักพัฒนา อาเภอบางบวั ทอง
จงั หวัดนนทบรุ ี 11110
เบอรโ์ ทรศัพท์ 0886162414
G-mail : [email protected]