The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มยผ. 4502-51มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้าทั่วไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-07-09 00:33:34

มยผ. 4502-51มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้าทั่วไป

มยผ. 4502-51มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้าทั่วไป

Keywords: มยผ. 4502-51มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้าทั่วไป

มยผ. 4502-51


มาตรฐานงานเดนิ สายไฟฟา้ ทวั่ ไป


กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง

กระทรวงมหาดไทย

พ.ศ.2551

มาตรฐานงานเดนิ สายไฟฟ้ าทว่ั ไป

มยผ. 4502-51

ISBN 978-974-16-5880-0
พิมพค์ ร้ังท่ี 1 พ.ศ. 2551 จาํ นวน 200 เล่ม
สงวนลิขสิทธ์ิ หา้ มนาํ ไปพมิ พจ์ าํ หน่ายโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

 



 

สารบญั

หน้า

มาตรฐานงานเดนิ สายไฟฟ้ าทว่ั ไป (มยผ. 4502-51)

1. ขอบข่าย 1

2. นิยาม 1

3. ขอ้ กาํ หนด 1

4. การติดต้งั 1

4.1 ตวั นาํ ที่ต่างระบบกนั 1

4.2 การป้ องกนั ความเสียหายทางกายภาพของสายเคเบิล 1

4.3 การติดต้งั สายเคเบิลฝังดิน 2

4.4 การป้ องกนั การผกุ ร่อน 3

4.5 ช่องเดินสายไฟฟ้ าติดต้งั ในท่ีเปิ ดโล่งซ่ึงมีอุณหภูมิต่างกนั มาก 3

4.6 การต่อลงดินของที่ลอ้ ม 4

4.7 การต่อเนื่องกนั ทางไฟฟ้ าของช่องเดินสายไฟฟ้ าและที่ลอ้ มซ่ึงเป็นโลหะ 4

4.8 การยดึ ติดกบั ที่ 4

4.9 การต่อเนื่องกนั ทางกลของช่องเดินสายไฟฟ้ าและสายเคเบิล 4

4.10 การต่อเนื่องกนั ทางกลและทางไฟฟ้ าของตวั นาํ 4

4.11 ปลายตวั นาํ ในกล่องจุดต่อไฟฟ้ าและกล่องสวิตช์ 4

4.12 การเดินสายในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง และท่อโลหะบาง 4

4.13 การเดินสายในท่อโลหะอ่อน 6

4.14 การเดินสายในท่ออโลหะแขง็ 6

4.15 การเดินสายในรางเดินสาย 7

4.16 การเดินสายเปิ ดหรือเดินลอยบนวสั ดุฉนวน 8

4.17 การเดินสายในบริเวณอนั ตราย 9

4.18 กล่องหรืออุปกรณ์ประกอบ 9

4.19 การเปล่ียนวิธีเดินสายไฟฟ้ าออกจากช่องเดินสายไฟฟ้ าหรือสายเคเบิลท่ีมีเปลือกนอก 9

4.20 การร้อยสายเขา้ ในช่องเดินสายไฟฟ้ า 9

4.21 การจบั ยดึ สายไฟฟ้ าในช่องเดินสายไฟฟ้ าแนวดิ่ง 10

4.22 การป้ องกนั ไมใ่ หเ้ กิดกระแสเหน่ียวนาํ ในที่ลอ้ มหรือช่องเดินสายไฟฟ้ า 10

4.23 การป้ องกนั ไฟลาม 10

4.24 จาํ นวนตวั นาํ สูงสุดในท่อร้อยสายไฟฟ้ า 11

4.25 การควบสายไฟฟ้ า 11
4.26 การกาํ หนดเคร่ืองหมายของตวั นาํ ในกรณีท่ีเดินสายในช่องเดินสายไฟฟ้ า 11
4.27 ขอ้ กาํ หนดสายศนู ยส์ าํ หรับวงจรยอ่ ย 11
5. เอกสารอา้ งอิง 12

มยผ. 4502-51
มาตรฐานงานเดนิ สายไฟฟ้ าทว่ั ไป

1. ขอบข่าย
มาตรฐานน้ีเป็นขอ้ กาํ หนดท่ีใชใ้ นการเดินสายไฟฟ้ าทวั่ ไป ซ่ึงใชก้ บั แรงดนั ไฟฟ้ าไม่เกิน 1,000 โวลต์
2. นิยาม
ความหมายของคาํ ที่ใชใ้ นมาตรฐานน้ีใหเ้ ป็ นไปตามมาตรฐาน มยผ. 4501-51 “มาตรฐานงานติดต้งั ไฟฟ้ า
ทวั่ ไป”
3. ข้อกาํ หนด
สายไฟฟ้ า ตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม

(1) มอก.64 “มาตรฐานสายไฟฟ้ าชนิดตวั นาํ ทองแดงรีดแขง็ ชนิดตีเกลียวเปลือย” ฉบบั ล่าสุด
(2) มอก.85 “มาตรฐานสายไฟฟ้ าชนิดตวั นาํ อะลมู ิเนียมตีเกลียวเปลือย” ฉบบั ล่าสุด
(3) มอก.86 “มาตรฐานสายไฟฟ้ าชนิดตวั นาํ อะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหลก็ ” ฉบบั ล่าสุด
(4) มอก. 11 “มาตรฐานสายไฟฟ้ าชนิดตวั นาํ ทองแดงกลมหุ้มดว้ ยฉนวนและเปลือกนอกโพลีไวนิล

คลอไรด”์ ฉบบั ล่าสุด
(5) มอก.293 “มาตรฐานสายไฟฟ้ าชนิดตวั นาํ อะลูมิเนียมหุม้ ดว้ ยฉนวนโพลีไวนิลคลอไรด”์ ฉบบั ล่าสุด

สาํ หรับสายไฟฟ้ าที่สํานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมยงั มิได้
กาํ หนดมาตรฐานข้ึนใชบ้ งั คบั ตอ้ งเป็นสายไฟฟ้ าที่ไดร้ ับความเห็นชอบจากกรมโยธาธิการและผงั
เมือง
4. การติดต้ัง
4.1 ตวั นาํ ที่ต่างระบบกนั
(1) ตวั นาํ ท่ีใชก้ บั ระบบแรงดนั ระหว่างเฟสไม่เกิน 1,000 โวลต์ ท้งั ระบบไฟฟ้ ากระแสตรงและ

กระแสสลบั อนุญาตใหต้ ิดต้งั รวมกนั อยภู่ ายในช่องเดินสายไฟฟ้ าหรือที่ลอ้ มสาํ หรับเดินสายของ
บริภณั ฑเ์ ดียวกนั ได้ ในเมื่อตวั นาํ เหล่าน้ีมีฉนวนท่ีเหมาะสมกบั แรงดนั ของตวั นาํ ที่มีแรงดนั สูง
ที่สุดซ่ึงรวมกนั อยนู่ ้นั
(2) สาํ หรับตวั นาํ ที่ใชก้ บั แรงดนั ระหวา่ งเฟสเกิน 1,000 โวลต์ ไม่อนุญาตใหต้ ิดต้งั อยรู่ วมกนั ในช่อง
เดินสายไฟฟ้ าหรือที่ลอ้ มสาํ หรับเดินสายของบริภณั ฑเ์ ดียวกนั กบั ตวั นาํ ท่ีใชก้ บั แรงดนั ระหวา่ งเฟส
ไม่เกิน 1,000 โวลต์
4.2 การป้ องกนั ความเสียหายทางกายภาพของสายเคเบิล ในที่ซ่ึงอาจจะเกิดความเสียหายทางกายภาพ ตอ้ ง
มีการป้ องกนั ของสายเคเบิลอยา่ งเพยี งพอ ดงั น้ี

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป หน้า 1

4.2.1 สายเคเบิลร้อยผา่ นโครงสร้างไม้ หรือโครงสร้างอื่นที่คลา้ ยไม้ รูที่เจาะร้อยสายเคเบิลตอ้ งเหลือ
เน้ือไมต้ รงริมไม่นอ้ ยกว่า 30 มิลลิเมตร ถา้ นอ้ ยกวา่ 30 มิลลิเมตร หรือเดินสายในช่องบาก ตอ้ ง
ป้ องกนั ไม่ใหต้ ะปหู รือหมุดเกลียวถกู สายได้

4.2.2 การเดินสายท่ีเปลือกนอกไม่เป็ นโลหะ ผ่านโครงโลหะที่เจาะเป็ นช่องหรือรู ท้งั ในบริเวณท่ี
เปิ ดเผยหรือท่ีซ่อนตอ้ งมีบุชช่ิงยาง ยดึ ติดกบั ช่องหรือรูเพอื่ ป้ องกนั ฉนวนของสายชาํ รุด

4.2.3 การเดินสายผา่ นโครงสร้างอ่ืน ตอ้ งมีปลอกที่เป็นฉนวนไฟฟ้ าสวม หรือจดั ทาํ รูให้เรียบร้อยเพ่ือ
ป้ องกนั ฉนวนท่ีหุม้ สายเสียหาย

4.3 การติดต้งั สายเคเบิลฝังดิน
4.3.1 ขอ้ กาํ หนดข้นั ต่าํ สุดของการปิ ดทบั สายเคเบิลชนิดฝังดินโดยตรง ท่อร้อยสายไฟฟ้ าหรือช่องเดิน
สายไฟฟ้ าอยา่ งอ่ืนที่ไดร้ ับการรับรองเพื่อจุดประสงคน์ ้นั แลว้ ตอ้ งติดต้งั ใหเ้ ป็นไปตามตารางที่ 1
คา่ ความลึกต่าํ สุดสาํ หรับแรงดนั ระบุไม่เกิน 1,000 โวลต์
ข้อยกเว้น
(1) เม่ือใชแ้ ผน่ คอนกรีตหนาไม่นอ้ ยกวา่ 5 เซนติเมตร ปิ ดทบั ตลอดความยาวและยนื่ คลุมเลย
ดา้ นขา้ งไม่นอ้ ยกวา่ 15 เซนติเมตร ใหล้ ดคา่ ในตารางที่ 1 ไดอ้ ีก 15 เซนติเมตร
(2) ท่อร้อยสายไฟฟ้ า หรือช่องเดินสายไฟฟ้ าอยา่ งอื่น ที่อยใู่ ตอ้ าคารหรือใตแ้ ผน่ คอนกรีต
ภายนอกอาคารที่หนาไม่นอ้ ยกวา่ 10 เซนติเมตร และยน่ื คลุมท่อร้อยสายไฟฟ้ าหรือช่องเดิน
สายไฟฟ้ าเลยดา้ นขา้ งไม่นอ้ ยกวา่ 15 เซนติเมตรไม่ตอ้ งเป็นไปตามตารางท่ี 1
(3) บริเวณท่ีมีรถยนตว์ ่ิงผา่ นไม่วา่ เดินสายเคเบิลดว้ ยวิธีใด ๆ ตอ้ งมีความลึกต่าํ สุดไม่นอ้ ยกว่า
60 เซนติเมตร
(4) ในกรณีที่เป็นวงจรยอ่ ยสาํ หรับที่อยอู่ าศยั ซ่ึงมีแรงดนั ไม่เกิน 300 โวลต์ และมีเครื่องป้ องกนั
กระแสเกินขนาดไม่เกิน 30 แอมแปร์ ใหม้ ีความลึกต่าํ สุด 30 เซนติเมตรได้
(5) เม่ือสายเคเบิลเล้ียวข้ึนบนเพือ่ ต่อสาย หรือเพือ่ ใหเ้ ขา้ ถึงไดร้ ะยะความลึกใหล้ ดลงได้
(6) ทางวิ่งในสนามบินรวมท้งั บริเวณหวงห้ามขา้ งเคียงทางวิ่ง ให้มีความลึกต่าํ สุดไม่นอ้ ยกว่า
45 เซนติเมตร โดยไม่ตอ้ งใชช้ ่องเดินสายไฟฟ้ าหรือหุม้ คอนกรีต
(7) ช่องเดินสายไฟฟ้ าที่ติดต้งั ในหินแข็ง ให้มีความลึกน้อยกว่าท่ีกาํ หนดไดถ้ า้ ปิ ดทบั ดว้ ย
คอนกรีตหนาไม่นอ้ ยกวา่ 5 เซนติเมตร และคอนกรีตดงั กล่าวตอ้ งยนั ถึงผวิ หินขา้ งล่าง
4.3.2 ส่วนท่ีเป็นโลหะห่อหุม้ สายเคเบิลไดแ้ ก่ ปลอก เปลือกนอก และช่องเดินสายไฟฟ้ าที่เป็นโลหะ
ตอ้ งต่อเนื่องทางไฟฟ้ าถึงกนั เป็นอยา่ งดี และต่อลงดิน ท่ีตน้ ทางและปลายทาง
4.3.3 สายเคเบิลใตด้ ินท่ีติดต้งั ใตอ้ าคารตอ้ งอยใู่ นช่องเดินสายไฟฟ้ า หากร้อยสายเคเบิลไปยงั ภายนอก
อาคาร ช่องเดินสายไฟฟ้ าตอ้ งยน่ื พน้ แนวผนงั ดา้ นนอกของอาคารออกไป

หน้า 2 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป

4.3.4 ตวั นาํ ที่โผล่พน้ ดินตอ้ งอยใู่ นที่ลอ้ ม หรือในช่องเดินสายไฟฟ้ าท่ีไดร้ ับการรับรองเพือ่ จุดประสงค์
น้นั สาํ หรับช่องเดินสายไฟฟ้ าที่ติดต้งั กบั เสาไฟฟ้ าตอ้ งมีความแขง็ แรงไม่นอ้ ยกว่า ท่อโลหะ
หนาปานกลาง และตอ้ งโผล่เหนือดินถึงระดบั สูงไม่นอ้ ยกวา่ 2.40 เมตร

4.3.5 สายเคเบิลใตด้ ินอนุญาตใหต้ ่อสายหรือต่อแยกสายในรางเดินสาย โดยไม่ตอ้ งมีกล่องต่อสายได้
เม่ือการต่อหรือการต่อแยกน้นั ดาํ เนินการตามกรรมวิธี และใชอ้ ุปกรณ์การต่อและการต่อแยกท่ี
ไดร้ ับการรับรอง

4.3.6 การกลบ วสั ดุที่จะใชก้ ลบตอ้ งง่ายต่อการบดอดั และตอ้ งไม่มีสิ่งที่นาํ ความเสียหายต่อท่อร้อยสาย
สายเคเบิล

4.3.7 ช่องเดินสายไฟฟ้ าที่ความช้ืนอาจเขา้ ไปสัมผสั ส่วนที่มีไฟฟ้ าซ่ึงไม่มีฉนวนหุม้ ไดต้ อ้ งปิ ดผนึกที่
ปลายท้งั สอง

4.3.8 เม่ือสายเคเบิลออกจากท่อร้อยสายไฟฟ้ าไปฝังดินโดยตรงท่ีปลายท่อตอ้ งมีปลอกป้ องกนั ฉนวน

4.3.9 สายแกนเดียวของวงจรเดียวกนั รวมท้งั สายดิน (ถา้ มี) ตอ้ งติดต้งั ในช่องเดินสายไฟฟ้ าเดียวกนั
หรือเมื่อฝังดินโดยตรงตอ้ งวางชิดกนั ในช่องเดินสายเดียวกนั

4.4 การป้ องกนั การผกุ ร่อน
ช่องเดินสายไฟฟ้ า เกราะหุม้ สาย เปลือกนอก กล่อง ตู้ ขอ้ โคง้ ขอ้ ต่อ อุปกรณ์ประกอบและที่รองรับท่ี
เป็นโลหะ ตอ้ งเป็นวสั ดุที่เหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มท่ีสิ่งน้นั ต้งั อยู่
4.4.1 ส่ิงท่ีทาํ ดว้ ยโลหะ เช่น ท่อร้อยสายไฟฟ้ า เกราะหุม้ สายไฟฟ้ า เปลือกนอก กล่อง ตู้ ขอ้ โคง้ ขอ้ งอ
ขอ้ ต่อ อุปกรณ์การประกอบ เคร่ืองจบั ยดึ น๊อต สกรู แหวนรอง เป็นตน้ ยกเวน้ ส่วนที่เป็นเกลียว
ตอ้ งมีการป้ องกนั อยา่ งเหมาะสมมิใหผ้ กุ ร่อนท้งั ภายในและภายนอก โดยเคลือบดว้ ยวสั ดุที่ทน
ต่อการผกุ ร่อน เช่น สงั กะสี แคดเมียมหรือสีเคลือบ เป็นตน้ หากมีการป้ องกนั การผกุ ร่อนโดยใช้
สีเคลือบแต่เพียงอยา่ งเดียว หา้ มใชภ้ ายนอกอาคาร หรือในท่ีเปี ยก สาํ หรับกล่องหรือตูท้ ่ีมีระบบ
เคลือบผิวท่ีไดร้ ับการรับรองเป็นชนิดกนั ฝน ทนฝน หรือชนิดใชภ้ ายนอกอาคาร อนุญาตให้
ติดต้งั ภายนอกอาคารได้
4.4.2 ในสถานท่ีเปี ยกภายในอาคาร อาทิ โรงรีดนม โรงซกั ผา้ โรงงานบรรจุกระป๋ อง และในท่ีมีการ
ลา้ งพ้ืนหรือผนงั บ่อยๆ หรือในท่ีผนงั เป็ นวสั ดุดูดความช้ืน ระบบการเดินสายไฟฟ้ าท้งั หมด
รวมท้งั กล่อง เครื่องประกอบการเดินท่อและสายเคเบิลท้งั หลายท่ีใชใ้ นที่น้นั ตอ้ งติดต้งั ห่างจาก
ผนงั หรือผวิ รองรับอยา่ งนอ้ ย 6 มิลลิเมตร

4.5 ช่องเดินสายไฟฟ้ าติดต้งั ในท่ีเปิ ดโล่งซ่ึงมีอุณหภูมิต่างกนั มาก
4.5.1 การปิ ดผนึก กรณีท่ีส่วนของช่องเดินสายไฟฟ้ าผา่ นเขา้ ไปในท่ีมีอุณหภูมิต่างกนั มาก เช่น ผา่ น
เขา้ ในห้องเยน็ ตอ้ งมีการปิ ดผนึกช่องเดินสายไฟฟ้ า เพื่อป้ องกนั อากาศหมุนเวียน ในช่องเดิน
สายไฟฟ้ าจากที่ร้อนกวา่ ไปยงั ที่เยน็ กวา่

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป หน้า 3

4.5.2 ขอ้ ต่อขยายตวั ช่องเดินสายไฟฟ้ าตอ้ งมีขอ้ ต่อขยายตวั ติดต้งั ไว้ เพื่อการหดและการขยายตวั
เน่ืองจากอุณหภูมิ

4.6 การต่อลงดินของที่ลอ้ ม
ช่องเดินสายไฟฟ้ า กล่อง ตู้ เกราะหุม้ สายเคเบิล เปลือกสายเคเบิล และอุปกรณ์ประกอบที่เป็นโลหะ
ตอ้ งต่อลงดิน

4.7 การต่อเน่ืองกนั ทางไฟฟ้ าของช่องเดินสายไฟฟ้ าและท่ีลอ้ มซ่ึงเป็นโลหะ
ช่องเดินสายไฟฟ้ า เกราะหุม้ สายเคเบิล และท่ีลอ้ มซ่ึงเป็ นโลหะตอ้ งต่อถึงกนั ดว้ ยโลหะใหเ้ ป็นตวั นาํ
ต่อเน่ืองและตอ้ งต่อถึงกล่อง ตู้ อุปกรณ์ประกอบ จนกระทง่ั การต่อเน่ืองกนั ทางไฟฟ้ าอย่างมี
ประสิทธิผล ช่องเดินสายไฟฟ้ าและการประกอบสายเคเบิลตอ้ งยึดกนั ทางกลกบั กล่องอุปกรณ์
ประกอบ ตูแ้ ละท่ีลอ้ มอื่น ๆ อยา่ งมน่ั คง

4.8 การยดึ ติดกบั ท่ี
ช่องเดินสายมาตรฐาน สายเคเบิล กล่อง ตู้ และอุปกรณ์ประกอบ ตอ้ งยดึ ติดกบั ที่อยา่ งมน่ั คง

4.9 การต่อเน่ืองกนั ทางกลของช่องเดินสายไฟฟ้ าและสายเคเบิล
ช่องเดินสายไฟฟ้ า เกราะหุม้ สายเคเบิล ท้งั ที่เป็นโลหะ และอโลหะ ตอ้ งต่อกนั อยา่ งต่อเนื่องระหว่างตู้
กล่อง อุปกรณ์ประกอบ หรือท่ีลอ้ มหรือจุดต่อไฟฟ้ า

4.10 การต่อเน่ืองกนั ทางกลและทางไฟฟ้ าของตวั นาํ
4.10.1 ตวั นาํ ตอ้ งต่อกนั อยา่ งต่อเนื่องระหว่างจุดต่อไฟฟ้ าและอุปกรณ์ เป็ นตน้ และตอ้ งไม่มีจุดต่อ
หรือจุดแยกอยใู่ นช่องเดินสายไฟฟ้ า ยกเวน้ ในรางเดินสายแบบเปิ ดได้
4.10.2 ในระบบวงจรหลายสาย การต่อเนื่องของตวั นาํ ท่ีมีการต่อลงดินตอ้ งไม่ขาดจากกนั เมื่อถอด
อุปกรณ์ อาทิ เตา้ รับ ข้วั รับหลอด

4.11 ปลายตวั นาํ ในกล่องจุดต่อไฟฟ้ าและกล่องสวติ ซ์
ความยาวของปลายตวั นาํ ในกล่องจุดต่อไฟฟ้ าและกล่องสวิตซ์ตอ้ งเหลือไว้ ไม่นอ้ ยกว่า 15 เซนติเมตร
สาํ หรับต่อเตา้ รับ โคมไฟฟ้ า สวติ ซ์ และอุปกรณ์อ่ืน ๆ ยกเวน้ ตวั นาํ น้นั ไม่มีการต่อแยก

4.12 การเดินสายในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง และท่อโลหะบาง
4.12.1 ขอ้ กาํ หนดการติดต้งั
4.12.1.1 ในสถานท่ีเปี ยก ท่อโลหะและส่วนประกอบที่ใช้ยึดท่อโลหะ เช่น สลกั เกลียว
(Bolt) สแตรป (Strap) สกรู (Screw) เป็นตน้ ตอ้ งเป็นชนิดท่ีทนต่อการผกุ ร่อน
4.12.1.2 ปลายท่อท่ีถูกตดั ออกตอ้ งลบคม เพ่ือป้ องกันไม่ให้บาดฉนวนของสาย การทาํ
เกลียวท่อตอ้ งใชเ้ คร่ืองทาํ เกลียวชนิดปลายเรียว

หน้า 4 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป

4.12.1.3 ขอ้ ต่อ (Coupling) และขอ้ ต่อยดึ (Connector) ชนิดไม่มีเกลียวตอ้ งต่อใหแ้ น่น เม่ือ
ฝังในอิฐก่อหรือคอนกรีตตอ้ งใชช้ นิดฝังในคอนกรีต (Concrete Tight) เม่ือติดต้งั ใน
สถานท่ีเปี ยกตอ้ งใชช้ นิดกนั ฝน (Rain Tight)

4.12.1.4 การต่อสาย ให้ต่อไดเ้ ฉพาะในกล่องต่อสายหรือกล่องจุดต่อไฟฟ้ าท่ีสามารถเปิ ด
ออกไดส้ ะดวก ปริมาตรของสายและฉนวน รวมท้งั หวั ต่อสายเม่ือรวมกนั แลว้ ตอ้ ง
ไม่เกินร้อยละ 75 ของปริมาตรภายในกล่องต่อสายหรือกล่องจุดต่อไฟฟ้ า

4.12.1.5 การติดต้งั ท่อร้อยสายเขา้ กบั กล่องต่อสาย หรือเคร่ืองประกอบการเดินท่อตอ้ งจดั ให้
มีบุชชิงเพื่อป้ องกันไม่ให้ฉนวนหุ้มสายชํารุดยกเวน้ กล่องต่อสายและเครื่อง
ประกอบการเดินท่อท่ีไดอ้ อกแบบเพื่อป้ องกนั การชาํ รุดของฉนวนไวแ้ ลว้

4.12.1.6 หา้ มทาํ เกลียวกบั ท่อโลหะบาง
4.12.1.7 มุมดดั โคง้ ระหวา่ งจุดดึงสายรวมกนั แลว้ ตอ้ งไม่เกิน 360 องศา
4.12.2 ห้ามใช้ท่อโลหะบางฝังดินโดยตรงหรือใช้ในระบบไฟฟ้ าแรงสูง หรือท่ีซ่ึงอาจเกิดความ
เสียหายหลงั การติดต้งั
4.12.3 หา้ มใชท้ ่อโลหะขนาดเลก็ กวา่ 15 มิลลิเมตร

4.12.4 จาํ นวนสายสูงสุด ตอ้ งเป็นไปตามตารางท่ี 3, 4 และ 5
4.12.5 การติดต้งั ใตด้ ินตอ้ งเป็นไปตามที่กาํ หนดในขอ้ 4.3
4.12.6 ท่อท่ีขนาดใหญ่กว่า 15 มิลลิเมตร หากร้อยสายชนิดไม่มีปลอกตะกว่ั รัศมีดดั โคง้ ดา้ นในของ

ท่อตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 6 เท่าของขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางของท่อ ถา้ เป็ นสายไฟฟ้ าชนิดมีปลอก
ตะกวั่ รัศมีดดั โคง้ ดา้ นในตอ้ งไม่น้อยกว่า 10 เท่าของเส้นผ่านศูนยก์ ลางของท่อ สําหรับท่อ
ขนาด 15 มิลลิเมตร หากร้อยสายชนิดไม่มีปลอกตะกว่ั รัศมีดดั โคง้ ดา้ นในของท่อตอ้ งไม่นอ้ ย
กวา่ 8 เท่าของเส้นผา่ นศูนยก์ ลางของท่อ และถา้ เป็นสายไฟฟ้ าชนิดมีปลอกตะกวั่ รัศมีดดั โคง้
ดา้ นในตอ้ งไม่น้อยกว่า 12 เท่า ของเส้นผ่านศูนยก์ ลางของท่อ การดดั โคง้ ตอ้ งไม่ทาํ ให้ท่อ
ชาํ รุดเสียหาย
4.12.7 ตอ้ งติดต้งั ระบบท่อใหเ้ สร็จก่อน จึงทาํ การเดินสายไฟฟ้ า
4.12.8 การเดินสายดว้ ยท่อโลหะไปยงั บริภณั ฑ์ไฟฟ้ า ควรเดินดว้ ยท่อโลหะโดยตลอดและช่วงต่อ
สายเขา้ บริภณั ฑไ์ ฟฟ้ าควรเดินดว้ ยท่อโลหะอ่อน หรือใชว้ ิธีการอื่นตามท่ีเหมาะสม
4.12.9 หา้ มใชท้ ่อโลหะเป็นตวั นาํ สาํ หรับต่อลงดิน
4.12.10 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ า ให้ใชค้ ่ากระแสตามตารางท่ี 9 และ 10 และตวั คูณลดค่ากระแส
เนื่องจากมีจาํ นวนสายหลายเสน้ ในช่องเดินสายไฟฟ้ าเดียวกนั ตามตารางท่ี 8
4.12.11 ท่อร้อยสายตอ้ งยดึ กบั ท่ีใหม้ น่ั คงดว้ ยอุปกรณ์จบั ยดึ ที่เหมาะสม โดยมีระยะห่างระหว่างจุดจบั
ยดึ ไม่เกิน 3.0 เมตร และห่างจากกล่องต่อสาย หรืออุปกรณ์ต่างๆ ไม่เกิน 0.9 เมตร

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป หน้า 5

4.13 การเดินสายในท่อโลหะอ่อน (Flexible Metal Conduit)
4.13.1 ลกั ษณะการใชง้ านตอ้ งเป็นไปตามขอ้ กาํ หนดทุกขอ้ ดงั น้ี
4.13.1.1 ในสถานที่แหง้
4.13.1.2 ในท่ีเขา้ ถึงได้ และเพ่ือป้ องกนั สายจากความเสียหายทางกายภาพ หรือเพ่ือการเดิน
ซ่อนสาย
4.13.1.3 ใหใ้ ชส้ าํ หรับเดินเขา้ บริภณั ฑไ์ ฟฟ้ าหรือกล่องต่อสายและความยาวไม่เกิน 2 เมตร
4.13.2 หา้ มใชท้ ่อโลหะอ่อนในกรณีดงั ต่อไปน้ี
4.13.2.1 ในปล่องลิฟตห์ รือปล่องขนของ
4.13.2.2 ในหอ้ งแบตเตอร่ี
4.13.2.3 ในบริเวณอนั ตราย นอกจากจะระบุไวเ้ ป็นอยา่ งอื่น
4.13.2.4 ฝังในดินหรือฝังในคอนกรีต
4.13.2.5 ห้ามใช้ในสถานท่ีเปี ยก นอกจากจะใช้สายไฟฟ้ าชนิดท่ีเหมาะสมกบั สภาพการ
ติดต้งั และในการติดต้งั ท่อโลหะอ่อนตอ้ งป้ องกนั ไม่ใหน้ ้าํ เขา้ ไปในช่องร้อยสายท่ี
ท่อโลหะอ่อนน้ีต่ออยู่
4.13.3 หา้ มใชท้ ่อโลหะอ่อนท่ีมีขนาดเลก็ กวา่ 15 มิลลิเมตร ยกเวน้ ท่อโลหะอ่อนที่ประกอบมากบั ข้วั
หลอดไฟและมีความยาวไม่เกิน 1.80 เมตร
4.13.4 จาํ นวนสายไฟฟ้ าสูงสุดในท่อโลหะอ่อนตอ้ งเป็นไปตามท่ีกาํ หนดในตารางท่ี 3, 4 และ 5
4.13.5 มุมดดั โคง้ ระหวา่ งจุดดึงสายรวมกนั แลว้ ตอ้ งไม่เกิน 360 องศา
4.13.6 ตอ้ งติดต้งั ระบบท่อใหเ้ สร็จก่อน จึงทาํ การเดินสายไฟฟ้ า
4.13.7 หา้ มใชท้ ่อโลหะอ่อนเป็นตวั นาํ สาํ หรับต่อลงดิน
4.13.8 ระยะห่างระหวา่ งอุปกรณ์จบั ยดึ ตอ้ งไม่เกิน 1.50 เมตร และห่างจากกล่องต่อสายหรืออุปกรณ์
ต่างๆ ไม่เกิน 0.30 เมตร
4.13.9 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าใหเ้ ป็นไปตามที่กาํ หนดในตารางท่ี 8, 9 และ 10

4.14 การเดินสายในท่ออโลหะแขง็ (Rigid Nonmetallic Conduit)
ท่ออโลหะแขง็ และเคร่ืองประกอบการเดินท่อตอ้ งใชว้ สั ดุที่เหมาะสม ทนต่อความช้ืนสภาวะอากาศ
และสารเคมี สําหรับท่อท่ีใชเ้ หนือดินตอ้ งมีคุณสมบตั ิตา้ นเปลวเพลิง (Flame-Retardant) ทนแรง
กระแทกและแรงอดั ไม่บิดเบ้ียวเพราะความร้อนภายใตส้ ภาวะที่อาจเกิดข้ึนเมื่อใชง้ าน ในสถานท่ีใช้
งานซ่ึงท่อร้อยสายมีโอกาสถกู แสงแดดโดยตรงตอ้ งใชท้ ่อร้อยสายชนิดทนต่อแสงแดด สาํ หรับท่อที่ใช้
ใตด้ ินวสั ดุท่ีใช้ตอ้ งทนความช้ืน ทนสารที่ทาํ ให้ผุกร่อนและมีความแข็งแรงเพียงพอท่ีจะทนแรง
กระแทกไดโ้ ดยไม่เสียหาย ถา้ ใชฝ้ ังดินโดยตรงโดยไม่มีคอนกรีตหุม้ วสั ดุที่ใชต้ อ้ งสามารถทนน้าํ หนกั
กดที่อาจเกิดข้ึนภายหลงั การติดต้งั ได้

หน้า 6 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป

4.14.1 อนุญาตใหใ้ ชท้ ่ออโลหะแขง็ ในกรณีดงั ต่อไปน้ี
4.14.1.1 เดินซ่อนในผนงั พ้นื และเพดาน
4.14.1.2 ในบริเวณที่ทําให้เกิดการผุกร่อนและเก่ียวข้องกับสารเคมีถ้าท่อและเคร่ือง
ประกอบการเดินท่อไดอ้ อกแบบไวส้ าํ หรับใชง้ านในสภาพดงั กล่าว
4.14.1.3 ในท่ีเปี ยกหรือช้ืนซ่ึงไดจ้ ดั ใหม้ ีการป้ องกนั น้าํ เขา้ ไปในท่อ
4.14.1.4 ในที่เปิ ดโล่ง (Exposed) ซ่ึงไม่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ
4.14.1.5 การติดต้งั ใตด้ ินโดยตอ้ งเป็นไปตามที่กาํ หนดในขอ้ 4.3

4.14.2 หา้ มใชท้ ่ออโลหะแขง็ ในกรณีดงั ต่อไปน้ี
4.14.2.1 ในบริเวณอนั ตราย นอกจากจะระบุไวเ้ ป็นอยา่ งอ่ืน
4.14.2.2 ใชเ้ ป็นเครื่องแขวนและจบั ยดึ ดวงโคม
4.14.2.3 อุณหภูมิโดยรอบหรืออุณหภูมิใชง้ านของสายเกินกวา่ อุณหภูมิของท่อท่ีระบุไว้
4.14.2.4 ในโรงมหรสพ นอกจากจะระบุไวเ้ ป็นอยา่ งอื่น

4.14.3 เม่ือเดินท่อเขา้ กล่องหรือส่วนประกอบอื่นๆ ตอ้ งจดั ใหม้ ีบุชชิงหรือมีการป้ องกนั ไม่ให้ฉนวน
ของสายชาํ รุด

4.14.4 หา้ มใชท้ ่ออโลหะแขง็ ที่มีขนาดเลก็ กวา่ 15 มิลลิเมตร
4.14.5 จาํ นวนสายไฟฟ้ าในท่ออโลหะแขง็ ตอ้ งไม่เกินตามท่ีกาํ หนดในตารางที่ 3, 4 และ 5
4.14.6 มุมดดั โคง้ ระหวา่ งจุดดึงสายรวมกนั แลว้ ตอ้ งไม่เกิน 360 องศา
4.14.7 ตอ้ งติดต้งั ระบบท่อใหเ้ สร็จก่อน จึงทาํ การเดินสายไฟฟ้ า
4.14.8 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาํ หนดในตารางท่ี 8, 9 และ 10
4.15 การเดินสายในรางเดินสาย (Wireways)
อนุญาตให้ใชร้ างเดินสายไดเ้ ฉพาะการติดต้งั ในท่ีเปิ ดโล่ง (Exposed) ยกเวน้ การติดต้งั ในพ้ืนที่ปิ ดท่ี
สามารถเขา้ ถึงไดเ้ พื่อการตรวจสอบและการบาํ รุงรักษาตลอดความยาวของรางเดินสาย ถา้ ติดต้งั
ภายนอกอาคารตอ้ งเป็ นชนิดกนั ฝน (Rain Tight) และตอ้ งมีความแขง็ แรงเพียงพอท่ีจะไม่เสียรูป
ภายหลงั การติดต้งั และตอ้ งเป็นไปตามขอ้ กาํ หนดดงั ต่อไปน้ี
4.15.1 ห้ามใชร้ างเดินสายในบริเวณท่ีอาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ ในบริเวณที่มีไอท่ีทาํ ให้ผุ

กร่อน หรือในบริเวณอนั ตราย นอกจากจะระบุไวเ้ ป็นอยา่ งอื่น
4.15.2 พ้ืนที่หน้าตดั ของตวั นาํ และฉนวนท้งั หมดรวมกนั ตอ้ งไม่เกินร้อยละ 20 ของพ้ืนที่หน้าตดั

ภายในรางเดินสาย
4.15.3 ขนาดกระแสของสายในรางเดินสายใหใ้ ชค้ า่ กระแสเช่นเดียวกนั กบั กรณีท่อโลหะตามตารางท่ี

9 (ค) หรือ ตารางท่ี 10 (ข) โดยไม่ตอ้ งใชต้ วั คูณลดกระแสเรื่องจาํ นวนสายตามตารางที่ 8 หาก

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป หน้า 7

ตวั นาํ ท่ีมีกระแสไหลรวมกนั ไม่เกิน 30 เส้น ตวั นาํ ในวงจรสญั ญาณ หรือวงจรควบคุมท่ีอาจมี
กระแสไหลในช่วงระยะเวลาส้นั ไม่ถือวา่ เป็นตวั นาํ ท่ีมีกระแสไหล
4.15.4 จุดปลายรางเดินสายตอ้ งปิ ด
4.15.5 รางเดินสายตอ้ งจบั ยึดอยา่ งมนั่ คงแขง็ แรงทุกระยะไม่เกิน 1.50 เมตร แต่ยอมให้จุดจบั ยึดห่าง
มากกวา่ 1.50 เมตร ไดใ้ นกรณีท่ีจาํ เป็น แต่ตอ้ งไม่เกิน 3.00 เมตร
4.15.6 รางเดินสายในแนวด่ิงตอ้ งจบั ยึดอยา่ งมนั่ คงแข็งแรงทุกระยะไม่เกิน 4.50 เมตร ห้ามมีจุดต่อ
เกินหน่ึงจุดในแต่ละระยะจบั ยดึ จุดจบั ยดึ ตอ้ งห่างจากปลายรางเดินสายไม่เกิน 1.50 เมตรดว้ ย
4.15.7 หา้ มต่อรางเดินสายตรงจุดท่ีผา่ นผนงั หรือพ้ืน
4.15.8 อนุญาตให้ต่อสายเฉพาะในส่วนที่สามารถเปิ ดออก และเขา้ ถึงไดส้ ะดวกตลอดเวลาเท่าน้ัน
และพ้ืนท่ีหนา้ ตดั ของตวั นาํ และฉนวนรวมท้งั หัวต่อสายรวมกนั แลว้ ตอ้ งไม่เกินร้อยละ 75
ของพ้นื ท่ีหนา้ ตดั ภายในของรางเดินสาย ณ จุดต่อสาย
4.15.9 หา้ มใชร้ างเดินสายเป็นตวั นาํ สาํ หรับต่อลงดิน
4.15.10 ในรางเดินสายตรงตาํ แหน่งท่ีตอ้ งมีการดดั งอสาย เช่น ปลายทาง ตาํ แหน่งท่ีมีท่อร้อยสายเขา้ -
ออกรางเดินสาย ตอ้ งจดั ให้มีที่ว่างสําหรับดดั งอสายอย่างเพียงพอ และมีการป้ องกนั ไม่ให้มี
ส่วนคมที่อาจบาดสายได้
4.15.11 การเดินสายในแนวด่ิงตอ้ งมีการจดั ยดึ สายตามที่กาํ หนดในขอ้ 4.21
4.16 การเดินสายเปิ ดหรือเดินลอย (Open Wiring) บนวสั ดุฉนวน
การเดินสายเปิ ดบนวสั ดุฉนวน หมายถึง วิธีการเดินสายแบบเปิ ดโล่งโดยใชต้ ุม้ หรือลูกถว้ ยเพ่ือการ
จบั ยดึ สายท่ีใชต้ อ้ งเป็นสายแกนเดียวและตอ้ งไม่ถูกปิ ดบงั ดว้ ยโครงสร้างของอาคาร
4.16.1 อนุญาตให้ใชก้ ารเดินสายเปิ ดบนวสั ดุฉนวนภายในอาคารไดเ้ ฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรม
งานเกษตรกรรม และงานแสดงสินคา้ เท่าน้นั
4.16.2 ตอ้ งมีการป้ องกนั ความเสียหายทางกายภาพ ตามท่ีกาํ หนดในขอ้ 4.2 และสายที่ยดึ เกาะไปกบั
ผนงั หรือกาํ แพงตอ้ งอยสู่ ูงจากพ้นื ไม่นอ้ ยกวา่ 2.50 เมตร
4.16.3 การเดินสายในสถานท่ีช้ืนเปี ยกหรือมีไอท่ีทาํ ให้เกิดการผุกร่อนตอ้ งมีการป้ องกนั ไม่ให้เกิด
ความเสียหายแก่สายไฟฟ้ า
4.16.4 สายท่ีใชต้ อ้ งเป็นสายหุม้ ฉนวน ยกเวน้ สายที่จ่ายไฟฟ้ าใหป้ ้ันจนั่ ชนิดเคลื่อนที่ไดบ้ นราง
4.16.5 การเดินสายเปิ ดบนวสั ดุฉนวนภายในอาคาร ใหเ้ ป็นไปตามที่กาํ หนดในตารางที่ 6
4.16.6 วสั ดุฉนวนสาํ หรับการเดินสายตอ้ งเป็นชนิดที่เหมาะสมกบั สภาพการใชง้ าน
4.16.7 การเดินสายเปิ ดบนวสั ดุฉนวนภายนอกอาคาร ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาํ หนดดงั ต่อไปน้ี

หน้า 8 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป

4.16.7.1 การเดินสายบนตุม้ ใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาํ หนดในตารางท่ี 6 โดยมีขอ้ เพ่ิมเติมคือ ถา้ เดิน
ผา่ นในท่ีโล่ง ขนาดสายตอ้ งไม่เลก็ กว่า 2.5 ตารางมิลลิเมตร และระยะระหว่างจุด
จบั ยดึ สายไม่เกิน 5.0 เมตร

4.16.7.2 การเดินสายบนลกู ถว้ ยภายนอกอาคารใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาํ หนดใน ตารางท่ี 7
4.16.8 สายไฟฟ้ าซ่ึงติดต้งั บนตุม้ หรือลูกถว้ ยจะตอ้ งยึดกบั ฉนวนท่ีรองรับใหม้ นั่ คง ในกรณีท่ีใชล้ วด

ผกู สาย (Tie Wire) ให้ใชช้ นิดที่มีฉนวนท่ีทนแรงดนั เทียบเท่าฉนวนของสายไฟฟ้ าน้นั ใน
กรณีท่ีอาจจะสมั ผสั ไดโ้ ดยพล้งั เผลอ
4.17 การเดินสายในบริเวณอนั ตราย
การเดินสายในบริเวณท่ีอาจเกิดเพลิงไหมห้ รือเกิดการระเบิด เน่ืองจากก๊าซ ไอ หรือของเหลวที่ติดไฟ
ได้ ฝ่ นุ ท่ีเผาไหมไ้ ด้ เสน้ ใยหรือละอองท่ีติดไฟได้ ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาํ หนดในมาตรฐานการติดต้งั ทาง
ไฟฟ้ าสาํ หรับประเทศไทย ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ (วสท.) ฉบบั
ล่าสุด เร่ือง บริเวณอนั ตราย
4.18 กล่องหรืออุปกรณ์ประกอบ
ตอ้ งติดต้งั กล่องหรืออุปกรณ์ประกอบที่จุดแยกสายไฟฟ้ า จุดต่อไฟฟ้ า สวิตซ์ ชุมสาย หรือ จุดดึงสาย
สาํ หรับท่อร้อยสายไฟฟ้ าหรือช่องเดินสายไฟฟ้ าชนิดอ่ืน ยกเวน้ จุดต่อไฟฟ้ าในรางเดินสายไฟฟ้ าท่ีเปิ ด
ได้ หรือโคมไฟฟ้ าที่ใชเ้ ป็นช่องเดินสายไฟฟ้ าในตวั
4.19 การเปลี่ยนวธิ ีเดินสายไฟฟ้ าออกจากช่องเดินสายไฟฟ้ า หรือสายเคเบิลที่มีเปลือกนอก
4.19.1 ตอ้ งใชก้ ล่องหรือบริภณั ฑ์สาย ท่ีมีรูแยกสําหรับตวั นาํ แต่ละเส้น เม่ือตอ้ งการเปลี่ยนการ
เดินสายเป็นระบบเดินสายเปิ ดหรือซ่อน
4.19.2 อนุญาตให้ใชป้ ลอกแทนกล่อง หรือกล่องปลายสายที่ปลายช่องเดินสายไฟฟ้ า เขา้ สู่ดา้ นหลงั
ของแผงสวิตซ์แบบเปิ ด หรืออุปกรณ์อ่ืนซ่ึงคลา้ ยคลึงกนั ปลอกที่ใชต้ อ้ งเป็ นฉนวน นอกจาก
จะใชก้ บั ตวั นาํ ที่มีเปลือกตะกวั่
4.20 การร้อยสายเขา้ ในช่องเดินสายไฟฟ้ า
4.20.1 ตอ้ งติดต้งั ช่องเดินสายไฟฟ้ าให้แลว้ เสร็จก่อนจะร้อยสายไฟฟ้ า นอกจากท่ีเป็ นช่องเดิน
สายไฟฟ้ าแบบมีฝาเปิ ดได้
4.20.2 หา้ มร้อยสายไฟฟ้ าในท่อร้อยสายไฟฟ้ า เวน้ แต่จะมีการป้ องกนั ทางกายภาพ จากสภาพอากาศ
และงานทางกลต่าง ๆ ซ่ึงอาจทาํ ความเสียหายแก่สายไฟฟ้ าได้
4.20.3 หากมีการใชล้ วดดึงสาย ใหท้ าํ การติดต้งั ท่อร้อยสายไฟฟ้ า แลว้ จึงร้อยลวดดึงสาย
4.20.4 ก่อนร้อยสายไฟฟ้ า ตอ้ งทาํ ความสะอาดช่องเดินสายไฟฟ้ าและสายไฟฟ้ า ดว้ ยวสั ดุท่ีไม่เป็ น
อนั ตรายต่อช่องเดินสายไฟฟ้ า และสายไฟฟ้ า
4.20.5 ขณะร้อยสายไฟฟ้ า ตอ้ งใชว้ สั ดุหล่อลื่นที่ไม่เป็นอนั ตรายต่อช่องเดินสายไฟฟ้ าและสายไฟฟ้ า

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป หน้า 9

4.21 การจบั ยดึ สายไฟฟ้ าในช่องเดินสายไฟฟ้ าแนวด่ิง
4.21.1 ช่วงจบั ยดึ สูงสุด สายไฟฟ้ าในช่องเดินสายไฟฟ้ าแนวด่ิงตอ้ งมีการจบั ยดึ ที่จุดยอดของช่องเดิน
สายไฟฟ้ า และตอ้ งมีการจบั ยดึ เป็นช่วง ๆ ห่างกนั ไม่เกินตามท่ีกาํ หนดใน ตารางที่ 2
ข้อยกเว้น
(1) ถา้ ระยะตามแนวดิ่งนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 25 ของระยะที่กาํ หนดในตารางที่ 2 ไม่ตอ้ งจบั ยดึ
(2) สายเคเบิลหุม้ เกราะเหลก็ ตอ้ งจบั ยดึ ที่จุดสุดยอด ดว้ ยตวั อุปกรณ์จบั ยดึ ท่ียดึ กบั เกราะเหลก็
และตอ้ งจดั ให้มีอุปกรณ์นิรภยั กนั ลื่นติดต้งั ปลายล่าง พร้อมท้งั ใชอ้ ุปกรณ์จบั ยดึ แบบลิ่ม
เพอื่ ป้ องกนั การขยายตวั ของสายเคเบิลเมื่อมีโหลด
4.21.2 วธิ ีการจบั ยดึ ทาํ ไดด้ งั ต่อไปน้ี
4.21.2.1 ใชอ้ ุปกรณ์จบั ยดึ ถา้ การจบั ยดึ ฉนวนของสายเคเบิลแขง็ แรงไม่เพียงพอ ตอ้ งจบั ยดึ ที่
ตวั นาํ ดว้ ย
4.21.2.2 ใส่กล่องเป็นระยะ และใชอ้ ุปกรณ์จบั ยดึ ที่เป็นฉนวนยดึ ตวั นาํ เพ่ือรับน้าํ หนกั สาย
เคเบิลและกล่องน้ีตอ้ งมีฝาปิ ด
4.21.2.3 ในกล่องต่อสาย ถา้ มีการงอสายเคเบิลจากแนวด่ิงไปในแนวราบเป็นระยะไม่นอ้ ย
กว่า 2 เท่า ของเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง ของสายเคเบิล สายเคเบิลน้นั ตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์จบั
ยดึ ที่เป็ นฉนวนยดึ ใหแ้ น่นไม่นอ้ ยกว่า 2 จุด โดยมีช่วงจบั ยึดในแนวดิ่งห่างกนั ไม่
เกินร้อยละ 20 ของระยะท่ีกาํ หนดไวใ้ น ตารางที่ 2

4.21.2.4 โดยวิธีอื่นซ่ึงใหผ้ ลเท่าเทียมกนั
4.22 การป้ องกนั ไม่ใหเ้ กิดกระแสเหน่ียวนาํ ในท่ีลอ้ มหรือช่องเดินสายไฟฟ้ า

4.22.1 เม่ือตวั นาํ ไฟฟ้ ากระแสสลบั ติดต้งั ในที่ลอ้ มหรือช่องเดินสายไฟฟ้ าที่เป็นโลหะ ตอ้ งหลีกเล่ียง
ไม่ให้เกิดความร้อนที่โลหะ เนื่องจากการเหน่ียวนาํ โดยใส่ตวั นาํ ทุกเฟสรวมท้งั สายศูนยแ์ ละ
สายดินรวมกนั ไวใ้ นช่องเดินสายไฟฟ้ า หรือที่ลอ้ มเดียวกนั

4.22.2 เม่ือตวั นาํ เดี่ยวของวงจรผา่ นทะลุโลหะ ท่ีมีคุณสมบตั ิเป็ นแม่เหลก็ จะตอ้ งให้มีผลของการ
เหนี่ยวนาํ นอ้ ยที่สุด โดยตดั ร่องให้ถึงกนั ระหว่างรูแต่ละรูท่ีร้อยสาย หรือร้อยสายทุกเส้นของ
วงจรผา่ นผนงั ฉนวนท่ีมีขนาดใหญ่มากพอท่ีจะใหส้ ายร้อยผา่ นครบทุกเสน้ หรือโดยวิธีอ่ืนซ่ึง
ใหผ้ ลเท่าเทียมกนั

4.23 การป้ องกนั ไฟลาม
ในอาคารที่มีลกั ษณะเป็นการป้ องกนั ไฟลาม การติดต้งั ไฟฟ้ าตอ้ งมีการป้ องกนั ไม่ใหไ้ ฟลามผา่ นผนงั
กนั ไฟ ผนงั ทนไฟ ผนงั ก้นั เพดานและพ้ืน ช่องว่างกลวง ปล่องแนวด่ิง ท่อ ระบายอากาศ หรือท่อลม
ของระบบปรับอากาศ

หน้า 10 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป

4.24 จาํ นวนตวั นาํ สูงสุดในท่อร้อยสายไฟฟ้ า
ตวั นาํ สูงสุดในท่อร้อยสายไฟฟ้ า ตอ้ งเป็ นไปตาม ตารางที่ 3 และ ตารางท่ี 4 ในกรณีตวั นาํ ท่ีร้อย
สายไฟฟ้ า มีขนาดพ้ืนท่ีหนา้ ตดั ของสายไฟฟ้ าต่างกนั ตอ้ งเป็นไปตาม ตารางท่ี 5

4.25 การควบสายไฟฟ้ า
สายไฟฟ้ าขนาดพ้นื ท่ีหนา้ ตดั ต้งั แต่ 50 ตารางมิลลิเมตรข้ึนไป ใหใ้ ชค้ วบได้ แต่ท้งั น้ีตวั นาํ แต่ละชุดตอ้ ง
มีความยาวเท่ากนั เป็นวสั ดุอยา่ งเดียวกนั การต่อปลายแบบเดียวกนั พ้ืนท่ีหนา้ ตดั เท่ากนั ฉนวนชนิด
เดียวกนั และถา้ เดินในช่องเดินสายไฟฟ้ า หรือเป็ นสายเคเบิลชนิดมีเปลือกนอก ตอ้ งมีลกั ษณะทาง
กายภาพเหมือนกนั ดว้ ย

4.26 การกาํ หนดเครื่องหมายของตวั นาํ ในกรณีที่เดินสายในช่องเดินสายไฟฟ้ า
4.26.1 สายศูนยห์ รือสยานิวทรัลตอ้ งใชส้ ายท่ีมีฉนวนหุม้ สีเทาอ่อนหรือสีขาว
4.26.2 ตวั นาํ สาํ หรับต่อลงดินเพื่อความปลอดภยั ของบริภณั ฑ์ ตอ้ งใชส้ ายที่มีฉนวนหุ้มสีเขียวหรือ
เขียวแถบเหลืองและอาจใชต้ วั นาํ เปลือยได้
4.26.3 ตวั นาํ ไม่ต่อลงดินทุกเส้น ตอ้ งใชส้ ายที่มีฉนวนหุม้ และมีสีแตกต่างไปจากสายศูนย์ ในกรณี
ระบบไฟฟ้ าสามเฟสให้ใชส้ ีดาํ ในเฟสท่ีหน่ึง สีแดงในเฟสที่สอง และสีน้าํ เงินในเฟสที่สาม
ในกรณีระบบไฟฟ้ าเฟสเดียวให้ใช้สีดาํ และตวั นําต่อลงดินรวมท้ังสายแต่ละเฟสตอ้ งมี
เคร่ืองหมายแสดงเฟสไวอ้ ยา่ งถาวรชดั เจน
ข้อยกเว้น
อาจใชต้ วั นาํ ที่มีฉนวนหุม้ สีเดียวกนั ทุกตวั นาํ ในวงจรได้ ถา้ ท่ีปลายสายท้งั สองขา้ งและส่วนท่ี
ผา่ นกล่องต่อสาย กล่องแยกสาย กล่องดึงสาย มีเครื่องหมายแสดงไวอ้ ยา่ งถาวร ชดั เจน

4.27 ขอ้ กาํ หนดสายศนู ยส์ าํ หรับวงจรยอ่ ย
4.27.1 สาํ หรับแผงยอ่ ยระบบ 1 เฟส
4.27.1.1 ตอ้ งมีสายศนู ยข์ องแต่ละวงจร หา้ มใชส้ ายศูนยร์ ่วมกนั
4.27.1.2 ขนาดความจุกระแสไฟฟ้ าของสายศูนยต์ อ้ งไม่นอ้ ยกวา่ สายเฟส
4.27.2 สาํ หรับแผงยอ่ ยระบบ 3 เฟส
ในกรณีท่ีโหลดของวงจรยอ่ ยเป็น 1 เฟส วงจรยอ่ ยหลายวงจรจะใชส้ ายศูนยร์ ่วมไดต้ ่อเมื่อ
4.27.2.1 วงจรยอ่ ยที่ใชส้ ายศูนยร์ ่วมกนั แต่ละชุดตอ้ งไม่เกิน 3 วงจร และต่างเฟสกนั
4.27.2.2 ขนาดความจุกระแสไฟฟ้ าของสายศูนยร์ ่วมตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าสายเฟสที่โตท่ีสุดใน
ชุดน้นั

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป หน้า 11

5. เอกสารอ้างองิ
5.1 แนวทางการออกแบบระบบสายส่งและจ่ายไฟฟ้ า, วสท.
5.2 มาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้ าสาํ หรับประเทศไทย พ.ศ. 2545
5.3 มอก.11 เล่ม 1-2549 สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดนั ไฟฟ้ าที่กาํ หนดไม่เกิน 450/750

โวลต์ เล่ม 1 ขอ้ กาํ หนดทวั่ ไป
5.4 มอก.11 เล่ม 2-2549 สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดนั ไฟฟ้ าที่กาํ หนดไม่เกิน 450/750

โวลต์ เล่ม 2 วธิ ีทดสอบ
5.5 มอก.11 เล่ม 3-2549 สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดนั ไฟฟ้ าท่ีกาํ หนดไม่เกิน 450/750

โวลต์ เล่ม 3 สายไฟฟ้ าไม่มีเปลือกสาํ หรับงานติดต้งั ถาวร
5.6 มอก.11 เล่ม 4-2549 สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดนั ไฟฟ้ าท่ีกาํ หนดไม่เกิน 450/750

โวลต์ เล่ม 4 สายไฟฟ้ ามีเปลือกสาํ หรับงานติดต้งั ถาวร
5.7 มอก.11 เล่ม 5-2549 สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดนั ไฟฟ้ าที่กาํ หนดไม่เกิน 450/750

โวลต์ เล่ม 5 สายอ่อน
5.8 มอก.11 เล่ม 101-2549 สายไฟฟ้ าหุม้ ฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดนั ไฟฟ้ าท่ีกาํ หนดไม่เกิน 450/750

โวลต์ เล่ม 101 สายไฟฟ้ ามีเปลือกสาํ หรับงานทวั่ ไป
5.9 มอก.216-2524 ท่อพวี ีซีแขง็ สาํ หรับใชร้ ้อยสายไฟฟ้ าและสายโทรศพั ท์
5.10 มอก.770-2533 ท่อเหลก็ กลา้ เคลือบสงั กะสีสาํ หรับใชร้ ้อยสายไฟฟ้ า
5.11 มอก.2133-2545 ท่อเหลก็ กลา้ อ่อนเคลือบสงั กะสีสาํ หรับร้อยสายไฟฟ้ า
5.12 วสท. 2002-49 มาตรฐานระบบแจง้ เหตุเพลิงไหม้
5.13 วสท. 2003-43 มาตรฐานการป้ องกนั ฟ้ าผา่ สาํ หรับสิ่งปลกู สร้าง
5.14 วสท. 2004-44 มาตรฐานระบบไฟฟ้ าแสงสวา่ งฉุกเฉินและป้ ายทางออกฉุกเฉิน
5.15 IEC 60364-1 Electrical installations of buildings – Part 1: Fundamental principles, assessment of

general characteristics, definitions

หน้า 12 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป

ตารางที่ 1 ค่าความลกึ ตา่ํ สุดสําหรับแรงดนั ระบุไม่เกนิ 1000 โวลต์

(ขอ้ 4.3.1)

วธิ ีที่ วธิ ีการเดนิ สายไฟฟ้ า ค่าความลกึ ตาํ่ สุด (เมตร)

1 สายเคเบิลชนิดฝังดินโดยตรง 0.60

2 สายเคเบิลฝังดินโดยตรงและมีแผน่ คอนกรีตหนาไม่นอ้ ย 0.45
กวา่ 50 มิลลิเมตร วางอยเู่ หนือสาย

3 ท่อโลหะหนาและหนาปานกลาง 0.15

4 ท่ออโลหะหนาซ่ึงไดร้ ับการรับรองใหฝ้ ังดินโดยตรงได้ 0.45
โดยไม่ตอ้ งมีคอนกรีตหุม้ เช่น ท่อเอชดีพอี ี และ ท่อพวี ซี ี

5 ท่อใยหิน หุม้ คอนกรีตเสริมเหลก็ 0.45

6 ท่อร้อยสายไฟฟ้ าอ่ืน ๆ ซ่ึงไดร้ ับการรับรองแลว้ * 0.45

* ช่องเดินสายไฟฟ้ า ที่ไดร้ ับการรับรองใหฝ้ ังดินไดโ้ ดยมีคอนกรีตหุม้ ตอ้ งหุม้ ดว้ ยคอนกรีตหนา

ไม่นอ้ ยกวา่ 5 เซนติเมตร

ตารางที่ 2 ช่วงจบั ยดึ สูงสุดสําหรับตวั นําในช่องเดนิ สายไฟฟ้ าแนวดงิ่

(ขอ้ 4.21.2)

ขนาดพนื้ ทห่ี น้าตดั ของตวั นําทองแดง ระยะห่างไม่เกนิ (เมตร)
(ตารางมลิ ลเิ มตร)

ไม่เกิน 50 30

70-120 24

150-185 20

240 15

300 12

เกินกวา่ 300 10

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป หน้า 13

ตารางที่ 3 จํานวนสูงสุดของสายแกนเดยี วหุ้มฉนวนไม่มีเปลอื กนอก มอก.11- 2531 ตารางที่ 4

(THW) ในท่อร้อยสายไฟฟ้ า

(ขอ้ 4.12.4, 4.13.4, 4.14.5)

ขนาดพนื้ ทหี่ น้าตดั จํานวนสูงสุดของสายแกนเดยี วหุ้มฉนวนไม่มเี ปลอื กนอก มอก.11- 2531
ของสายไฟฟ้ า ในท่อร้อยสายไฟฟ้ า
(ตารางมลิ ลเิ มตร)
ขนาดระบุของท่อร้อยสายไฟฟ้ า (มลิ ลเิ มตร)

15 20 25 32 40 50 65 80 90 100 125 150

1 7 13 20 33 - - - - - - - -

1.5 6 11 17 28 44 - - - - - - -
2.5 4 8 13 22 34 - - - - - - -

4 3 5 9 15 23 36 - - - - - -

6 2 4 7 12 19 29 - - - - - -

10 1 3 4 7 12 19 32 - - - - -
16 1 1 3 5 9 14 23 36 - - - -

25 1 1 1 3 5 9 15 23 29 - - -

35 - 1 1 3 4 7 12 19 24 30 - -

50 - - 1 1 3 5 9 14 17 21 34 -
70 - - 1 1 2 4 7 10 13 16 26 37

95 - - 1 1 1 3 5 7 10 12 19 27

120 - - - 1 1 2 4 6 8 10 16 23

150 - - - 1 1 1 3 5 7 8 13 19
185 - - - - 1 1 2 4 5 6 10 15
240 - - - - 1 1 1 3 4 5 8 12

300 - - - - - 1 1 2 3 4 6 10

400 - - - - - 1 1 1 2 3 5 8

500 - - - - - - 1 1 1 2 4 6

หน้า 14 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป

ตารางท่ี 4 จาํ นวนสูงสุดของสายแกนเดยี วหุ้มฉนวนมเี ปลอื กนอก มอก.11- 2531 ตารางท่ี 6

(NYY ชนิดแกนเดยี ว) ในท่อร้อยสายไฟฟ้ า

(ขอ้ 4.12.4, 4.13.4, 4.14.5)

ขนาดพนื้ ทหี่ น้าตดั จาํ นวนสูงสุดของสายแกนเดยี วหุ้มฉนวนมเี ปลอื กนอก มอก.11- 2531

ของสายไฟฟ้ า ในท่อร้อยสายไฟฟ้ า
(ตารางมลิ ลเิ มตร)
ขนาดระบุของท่อร้อยสายไฟฟ้ า (มลิ ลเิ มตร)

15 20 25 32 40 50 65 80 90 100 125 150

1 1 1 3 5 8 12 21 33 - - - -

1.5 1 1 2 4 7 11 19 30 - - - -
2.5 1 1 2 4 7 10 17 26 33 - - -

4 1 1 1 3 6 9 15 23 29 36 - -

6 - 1 1 3 5 8 13 21 26 33 - -

10 - 1 1 2 4 6 11 17 22 27 - -
16 - 1 1 1 3 5 10 15 19 23 36 -

25 - 1 1 1 3 4 8 12 15 19 29 -

35 - - 1 1 1 3 6 10 12 15 24 35

50 - - 1 1 1 3 5 8 11 13 21 31
70 - - - 1 1 2 4 7 8 11 17 24

95 - - - 1 1 1 3 5 7 8 13 19

120 - - - 1 1 1 3 4 6 7 11 17

150 - - - - 1 1 1 3 4 5 9 13
185 - - - - 1 1 1 3 4 5 7 11
240 - - - - - 1 1 2 3 4 6 9

300 - - - - - 1 1 1 2 3 5 7

400 - - - - - - 1 1 1 2 4 6

500 - - - - - - 1 1 1 1 3 4

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป หน้า 15

ตารางท่ี 5 พนื้ ทหี่ น้าตัดสูงสุดของสายไฟฟ้ าในท่อร้อยสายไฟฟ้ า

(ขอ้ 4.12.4, 4.13.4, 4.14.5, 4.24)

จาํ นวนสายไฟฟ้ าในท่อร้อยสายไฟฟ้ า พ.ท.หน้าตดั ของสายไฟฟ้ าจนถึงเปลอื กนอกรวมกนั ไม่เกนิ
(ร้อยละของพนื้ ทหี่ น้าตดั ท่อ)

1 53

2 31

มากกวา่ 2 40

ตารางท่ี 6 การเดนิ สายเปิ ดหรือเดินลอยบนวสั ดุฉนวนภายในอาคาร

(ขอ้ 4.16.5, 4.16.7.1)

การตดิ ต้ัง ระยะสูงสุดระหว่างจุด ระยะห่างตํา่ สุดระหว่าง (เมตร) ขนาดสายใหญ่สุด

บนตุม้ จบั ยดึ สาย (เมตร) สายไฟฟ้ า สายไฟฟ้ ากบั สิ่งปลูกสร้าง (ตารางมลิ ลเิ มตร)
บนลกู ถว้ ย
2.5 0.10 0.025 50

5.0 0.15 0.05 ไม่กาํ หนด

ตารางท่ี 7 การเดินสายเปิ ดหรือเดนิ ลอยบนลกู ถ้วยภายนอกอาคาร

(ขอ้ 4.16.7.2)

ระยะสูงสุดระหว่างจุดจบั ยดึ สาย ระยะห่างตํา่ สุดระหว่าง (เมตร) ขนาดสายเลก็ สุด

(เมตร) สายไฟฟ้ า สายไฟฟ้ ากบั สิ่งปลูกสร้าง (ตารางมลิ ลเิ มตร)

ไม่เกิน 10 0.15 0.05 2.5

11 – 25 0.20 0.05 4

26 - 40 0.20 0.05 6

หน้า 16 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป

ตารางท่ี 8 ตัวคูณลดค่ากระแสเนื่องจากจํานวนสายหลายเส้นในช่องเดนิ สายไฟฟ้ าเดยี วกนั

(ขอ้ 4.12.10, 4.13.9, 4.14.8, 4.15.3)

จาํ นวนสาย ตวั คูณ

4-6 0.82

7-9 0.72

10-20 0.56

21-30 0.48

31-40 0.44

เกนิ 40 0.38

ข้อยกเว้น

(1) สายไฟฟ้ าท่ีมีระบบแรงดนั ไฟฟ้ าต่างกนั ซ่ึงวางสายไวใ้ นช่องเดินสายเดียวกนั

ใหใ้ ชต้ วั คูณเพื่อลดขนาดกระแสเฉพาะสายสาํ หรับวงจรกาํ ลงั วงจรแสงสวา่ งและวงจร

ควบคุมท่ีมีโหลดต่อเนื่อง

(2) สาํ หรับสายส่วนที่อยใู่ นนิปเพิล (Nipple) และนิปเพลิ มีความยาวไม่เกิน 0.60

เมตร ไม่ตอ้ งใชต้ วั คูณลดขนาดกระแส

(3) สาํ หรับสายใตด้ ินส่วนท่ีเขา้ หรือออกจากช่องรางเดินสาย (Cable Trench) ซ่ึงอยู่

ภายนอกอาคาร และมีจาํ นวนสายหรือแกนไม่เกิน4 เสน้ และมีการป้ องกนั ทางกายภาพดว้ ย

ท่อร้อยสายชนิดโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลางหรือท่ออโลหะ ซ่ึงท่อส่วนท่ีอยเู่ หนือผวิ

ดินมีความยาวไม่เกิน 3 เมตรไม่ตอ้ งใชต้ วั คูณลดขนาดกระแส

หมายเหตุ การนบั จาํ นวนสายในช่องเดินสายไฟฟ้ าตามตารางที่ 8

ถา้ มีสายในช่องเดินสายไฟฟ้ าเดียวกนั มากกวา่ 3 เส้น (สายเคเบิลหลายแกนใหถ้ ือวา่ จาํ นวน

แกนคือจาํ นวนเส้น) โดยไม่นบั ตวั นาํ สาํ หรับตอ่ ลงดินใหใ้ ชต้ วั คณู ลดคา่ ขนาดกระแสสาํ หรับตารางที่ 9 และ

10 ตามตารางท่ี 8 และมีขอ้ กาํ หนดเพ่มิ เติมของตวั นาํ นิวทรัลดงั น้ี

(1) ไม่ตอ้ งนบั ตวั นาํ นิวทรัลของระบบ 3 เฟส ซ่ึงไดอ้ อกแบบใหม้ ีโหลดสมดุล แต่

บางขณะมีกระแสไม่สมดุลไหลผา่ น

(2) ใหน้ บั ตวั นาํ นิวทรัลดว้ ยในระบบ 3 เฟส ซ่ึงโหลดส่วนใหญ่ (มากกวา่ ร้อยละ 50)

ประกอบดว้ ยหลอดชนิดปลอ่ ยประจุ (Electric Discharge) เช่น หลอดฟลอู อเรสเซนต์ อุปกรณ์

เกี่ยวกบั การประมวลผลขอ้ มลู (Data Processing) หรืออุปกรณ์อื่นท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกนั ที่ทาํ ให้

เกิดกระแสฮาร์มอนิคในตวั นาํ นิวทรัล

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทั่วไป หน้า 17

ตารางท่ี 9 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าทองแดงหุ้มฉนวนพวี ซี ี ตาม มอก.11-2531 อุณหภูมติ ัวนํา 70oซ
ขนาดแรงดนั 300 หรือ 750 โวลท์ อณุ หภูมิโดยรอบ 40 oซ (สําหรับ ก-ค) และ 30 oซ (สําหรับ ง-จ)
(ขอ้ 4.12.10, 4.13.9, 4.14.8, 4.15.3)

ขนาดกระแส ( A )
ลกั ษณะการใช้งาน

ขนาดสาย
( ตร.ซม.)

กขค ง จ

0.5 9 8 8 7 10 9 -

1.0 14 11 11 10 15 13 21

1.5 17 15 14 13 18 16 26

2.5 23 20 18 17 24 21 34

4 31 27 24 23 32 28 45

6 42 35 31 30 42 36 56

10 60 50 43 42 58 50 75

16 81 66 56 54 77 665 97

25 111 89 77 74 103 87 125

35 137 110 95 91 126 105 150

50 169 - 119 114 156 129 177

70 217 - 148 141 195 160 216

95 271 - 187 180 242 200 259

120 316 - 214 205 279 228 294

150 364 - 251 236 322 259 330

185 424 - 287 269 370 296 372

240 509 - 344 329 440 352 431

300 592 - 400 373 508 400 487

400 696 - 474 416 599 455 552

500 818 - 541 469 684 516 623

หมายเหตุ 1) D = เส้นผา่ นศูนยก์ ลางของสายไฟฟ้ า

2) ชนิดของตวั นาํ และรูปแบบการติดต้งั ใหด้ ูตามตารางท่ี 9ก

3) อุณหภมู ิโดยรอบต่างจาก 40 องศาเซลเซียส (สาํ หรับวธิ ีการเดินสาย ก-ค) หรือ 30 องศาเซลเซียส (สาํ หรับ

วธิ ีการเดินสาย ง และ จ) ใหค้ ณู ค่าขนาดกระแสดว้ ยตวั คูณลดดงั ตารางท่ี 9ข

หน้า 18 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป

ตารางที่ 9ก ชนิดของตัวนําและรูปแบบการติดต้งั
(ตารางท่ี 9)

วธิ ีการเดนิ สาย รูปแบบการตดิ ต้งั ชนิดของตวั นําและรูปแบบการติดต้งั

ก สายแกนเดียวหุม้ ฉนวนเดินในอากาศ

ข สายแบนหุม้ ฉนวนมีเปลือกเดินเกาะผนงั

สายแกนเดียวหุม้ ฉนวนไม่เกิน 3 เสน้ หรือ สายหุม้
ค ฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 แกน เดินในท่อในอากาศในท่อ

ฝังในผนงั ปูนฉาบ หรือในท่อในฝ้ าเพดาน

ง สายแกนเดียวหุม้ ฉนวนไม่เกิน 3 เส้น หรือ สายหุม้
ฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 แกน เดินในท่อฝังดิน

จ สายแกนเดียวหุม้ ฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 เส้น หรือสาย
หุม้ ฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 แกน ฝังดินโดยตรง

ตารางที่ 9ข ตวั คูณลดขนาดกระแสสําหรับอุณหภูมิโดยรอบต่างๆ

(ตารางที่ 9)

อณุ หภูมโิ ดยรอบ ตวั คูณ

(องศาเซลเซียส) วธิ ีเดนิ สาย ก-ค วธิ ีเดนิ สาย ง และ จ

21-25 - 1.06

26-30 - 1

31-35 1.08 0.94

36-40 1 0.87

41-45 0.91 0.79

46-50 0.82 0.71

51-55 0.71 -

56-60 0.58 -

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป หน้า 19

ตารางท่ี 10 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าทองแดงหุ้มฉนวนครอสลงิ้ ค์โพลเี อททลี นี อุณหภูมติ วั นํา 90oซ

ขนาดแรงดนั 600 V อณุ หภูมโิ ดยรอบ 40oซ ( สําหรับเดินสายในอากาศ )

และ 30oซ ( สําหรับการเดนิ สายใต้ดิน )

(ขอ้ 4.12.10, 4.13.9, 4.14.8)

ขนาดกระแส ( A )

ลกั ษณะการใช้งาน

ขนาดสาย ก ข ค ง

( ตร.มม. ) สายเดย่ี วเดนิ สายเดย่ี ว 3 เส้น สายเดย่ี ว 3 เส้นเดนิ ในท่อ สายเดยี่ วไม่เกนิ 3 เส้นหรือ
ในอากาศ เดนิ ในท่อโลหะ ฝังดนิ สายหลายแกนไม่เกนิ 3 แกน

ในอากาศ ท่อโลหะ ท่ออโลหะ ฝังดนิ โดยตรง

2.5 36 25 31 28 44
4 47 33 41 36 57

6 60 42 52 46 71

10 82 56 70 61 94

16 110 76 93 81 122

25 148 100 123 107 156

35 184 123 151 130 187

50 224 153 184 156 221
70 286 191 230 197 270
95 356 239 285 241 325
120 417 275 329 277 368
150 481 322 380 318 413

185 559 368 436 363 466

240 672 440 518 430 539

300 782 510 615 501 607

400 921 604 734 586 687

500 1080 686 855 685 773

หมายเหตุ อุณหภูมิโดยรอบต่างจาก 40 องศาเซลเซียส (สาํ หรับการเดินสายในอากาศ) หรือ 30 องศาเซลเซียส (สาํ หรับ
การเดินสายใตด้ ิน) ใหค้ ูณคา่ ขนาดกระแสดว้ ยตวั คูณลด ดงั ตารางท่ี 10ก

หน้า 20 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป

ตารางที่ 10ก ตวั คูณลดขนาดกระแสสําหรับอณุ หภูมโิ ดยรอบต่างๆ
(ตารางท่ี 10)

อณุ หภูมโิ ดยรอบ ตวั คูณ

(องศาเซลเซียส) การเดนิ สายในอากาศ การเดนิ สายใต้ดนิ
21-25
26-30 - 1.04
31-35 - 1
36-40 1.05 0.96
41-45 1 0.91
46-50 0.95 0.87
51-55 0.89 0.82
56-60 0.84 -
0.78 -

ตารางที่ 11 ระยะห่างในการติดต้งั ระบบไฟฟ้ ากบั ระบบสื่อสาร

ระยะห่างตาํ่ สุด (มลิ ลเิ มตร)

ชนิดของการตดิ ต้งั ไม่มแี ผ่นก้นั หรือ แผ่นก้นั ทเ่ี ป็ น แผ่นก้นั ทเี่ ป็ นเหลก็
มแี ผ่นก้นั ทไ่ี ม่ใช่โลหะ อะลูมเิ นียม

สายไฟฟ้ าท่ีไม่มีชีลด์ กบั สายเคเบิล 200 100 50
ระบบสารสนเทศท่ีไม่มีชีลด์

สายไฟฟ้ าท่ีไม่มีชีลด์ กบั สายเคเบิล 50 20 5
ระบบสารสนเทศที่มีชีลด1์ )

สายไฟฟ้ าท่ีมีชีลด์ กบั สายเคเบิล 30 10 2
ระบบสารสนเทศท่ีไม่มีชีลด์

สายไฟฟ้ าท่ีมีชีลด์ กบั สายเคเบิล 0 00
ระบบสารสนเทศที่มีชีลด1์ )

หมายเหตุ 1) สายเคเบิลระบบสารสนเทศที่มีชีลดต์ อ้ งเป็นไปตามมาตรฐาน EN 50288

2) สายเคเบิลระบบสารสนเทศ ไม่ควรติดต้ังอยู่ใกลก้ ัน กับหลอดชนิดปล่อยประจุ (Electric

Discharge) (เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็ นตน้ ) หากจาํ เป็ นตอ้ งติดต้งั ใกลก้ นั ตอ้ งมีระยะห่าง

จากกนั ไม่นอ้ ยกวา่ 130 มิลลิเมตร

มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป หน้า 21

ตารางที่ 12 จํานวนสูงสุดของสายไฟฟ้ าตารางที่ 4 (สาย THW) ในรางเดินสาย (Wireways)

ขนาด จาํ นวนสายสูงสุดของสายตารางท่ี 4 (สาย THW) ในรางเดินสาย
(mm2) 50x50 50x100 75x100 100x100 150x100 150x150 200x200 200x300
2”x2” 2”x4” 3”x4” 4”x4” 6”x4” 6”x6” 8”x8” 8”x12”

1.0 52 - - - - - - -

1.5 44 88 - - - - - -

2.5 34 68 103 - - - - -

4 23 47 70 94 - - - -

6 18 37 56 75 - - - -

10 12 24 36 49 73 - - -

16 9 18 27 36 54 81 - -

25 5 11 17 23 34 51 92 -

35 4 9 14 19 28 43 76 -

50 3 6 10 13 20 31 55 83

70 2 5 7 10 15 23 42 63

95 1 3 5 7 11 17 31 47

120 1 3 5 6 10 15 26 40

150 1 2 4 5 8 12 22 33

185 1 2 3 4 6 9 17 26

240 - 1 2 3 5 7 13 20

300 - 1 2 2 4 6 11 16

400 - 1 1 2 3 5 9 13

500 - - 1 1 2 3 7 10

หมายเหตุ
- พ้ืนท่ีหนา้ ตดั รวมของสายไฟฟ้ าไม่เกิน 20% พ้ืนท่ีหนา้ ตดั รางเดินสาย
- ตวั นาํ ที่มีกระแสไหลรวมกนั ไม่เกิน 30 เส้น ไม่ตอ้ งใชต้ วั คูณลดกระแสเร่ืองจาํ นวนสาย

หน้า 22 มยผ. 4502-51: มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าท่ัวไป

คณะกรรมการกาํ กบั ดูแลการปฏิบตั ิงานของทป่ี รึกษา

เร่ือง มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทวั่ ไป

1. นายเอกวิทย์ ถิระพร รองอธิบดีกรมโยธาธิการและผงั เมือง ประธานกรรมการ

2. นายศิริชยั กิจจารึก ผอู้ าํ นวยการสาํ นกั วศิ วกรรมโครงสร้างและงานระบบ กรรมการ

3. นายมนตช์ ยั ศุภมาร์คภกั ดี วิศวกรวชิ าชีพ 9 วช (วิศวกรรมโยธา) สวค. กรรมการ

4. นายนพ โรจนวานิช วศิ วกรวชิ าชีพ 9 วช (วิศวกรรมโยธา) สวค. กรรมการ

5. นายวิเชียร ธนสุกาญจน์ วิศวกรโยธา 8 สวค. กรรมการ

6. นายวสิ ุทธ์ิ เรืองสุขวรรณา วิศวกรวชิ าชีพ 8 วช (วิศวกรรมโยธา) สวค. กรรมการ

7. นายเสถียร เจริญเหรียญ วศิ วกรวิชาชีพ 8 วช (วศิ วกรรมโยธา) สนอ. กรรมการ

8. นายสุธี ปิ่ นไพสิฐ วศิ วกรไฟฟ้ า 8 วช สวค. กรรมการ

9. นางขนิษฐา ส่งสกลุ ชยั วศิ วกรโยธา 8 วช สวค. กรรมการ

10. นายไพฑูรย์ นนทศุข นกั วชิ าการพสั ดุ 8 ว กค. กรรมการ

11. นางอภิญญา จ่าวงั วศิ วกรวิชาชีพ 8 วช (วิศวกรรมโยธา) สวค. กรรมการ

12. นายครรชิต ชิตสุริยวนิช วิศวกรเคร่ืองกล 7 วช สวค. กรรมการ

13. นายกนก สุจริตสญั ชยั วิศวกรวชิ าชีพ 8 วช (วศิ วกรรมโยธา) สวค. กรรมการและเลขานุการ

คณะทป่ี รึกษา เรื่อง มาตรฐานงานเดินสายไฟฟ้ าทวั่ ไป
บริษทั เอส ที เอส เอน็ จิเนียร่ิง คอนซัลแตนท์ จํากดั

หัวหน้าคณะ: สมาคมวศิ วกร ออกแบบ และปรึกษาเครื่องกลและไฟฟ้ าไทย
นายววิ ฒั น์ กลุ วงศว์ ทิ ย์
สมาคมวิศวกร ออกแบบ และปรึกษาเคร่ืองกลและไฟฟ้ าไทย
คณะทาํ งาน: สมาคมวิศวกร ออกแบบ และปรึกษาเคร่ืองกลและไฟฟ้ าไทย
ผศ. ดร. ปฐมทศั น์ จิระเดชะ สมาคมไฟฟ้ าและแสงสวา่ งแห่งประเทศไทย
นายชายชาญ โพธิสาร ท่ีปรึกษาประจาํ บริษทั ฯ
ดร.อรรถพล เง่าพิทกั ษก์ ลุ
นายอภิศกั ด์ิ เจริญภณั ฑว์ รกลุ

 

กรมโยธาธิการและผังเมอื ง


สำนักวิศวกรรมโครงสร้างและงานระบบ


ถนนพระรามท่ี 6 แขวงสามเสนใน

เขตพญาไท กรงุ เทพ 10400

โทร. 0 - 2299 - 4813 โทรสาร 0 - 2299 - 4797


Click to View FlipBook Version