The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๙๙พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎร์ร่มเย็นเป็นสุขศานต์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-07-13 01:39:03

๙๙พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎร์ร่มเย็นเป็นสุขศานต์

๙๙พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎร์ร่มเย็นเป็นสุขศานต์

Keywords: ๙๙พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎร์ร่มเย็นเป็นสุขศานต์

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎร์รม่ เยน็ เป็นสุขศานต์

“...การมีวินัย มีความสามัคคี และรู้จักหน้าที่ ถือกันว่าเป็น
คุณสมบัติส�ำคัญประจ�ำตัวของคนทุกคน แต่ในการสร้างเสริม
คณุ สมบตั สิ ามขอ้ นี้ จะตอ้ งไมล่ มื วา่ วนิ ยั สามคั คี และหนา้ ทน่ี น้ั เปน็
ไดท้ ง้ั ทางบวกและทางลบ ซง่ึ ยอ่ มใหค้ ณุ หรอื ใหโ้ ทษไดม้ ากเทา่ ๆ กนั
ทง้ั สองทาง เพราะฉะนน้ั เมอ่ื จะอบรมจำ� เปน็ ตอ้ งพจิ ารณาใหถ้ อ่ งแท้
แน่ชดั ก่อนวา่ เป็นวนิ ัย สามคั คี และหน้าทที่ ด่ี ี คอื ปราศจากโทษ เปน็
ประโยชน์ เปน็ ธรรมไม่เคลอื บแฝงไว้ด้วยสิง่ ชว่ั ร้าย เช่น วนิ ัย ก็ตอ้ ง
ไมใ่ ชว่ นิ ยั เพอื่ ตน เพอื่ หมคู่ ณะของตนเทา่ นนั้ ตอ้ งเปน็ วนิ ยั เพอื่ คนทกุ
คน เพอ่ื คนสว่ นใหญ่ เปน็ วนิ ยั ทถี่ กู ตอ้ ง ทเี่ ปน็ การสรา้ งสรรค์ ทำ� นอง
เดยี วกนั การสามคั คกี ันท�ำการหรือท�ำหน้าท่ีอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงก็จะ
ตอ้ งเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนเ์ กอ้ื กลู มใิ ชเ่ พอื่ การเพมิ่ พนู ประโยชนเ์ ฉพาะ
พวกตน แลว้ เบยี ดเบียนผอู้ น่ื ใหเ้ ดือดร้อนเสยี หาย จงึ เห็นไดว้ า่ การ
สรา้ งวนิ ยั สามคั คี และความรจู้ กั หนา้ ทใ่ี หแ้ กเ่ ยาวชนตอ้ งกระทำ� ดว้ ย
ความเพง่ พนิ จิ อยา่ งละเอยี ดถถ่ี ว้ นเปน็ พเิ ศษ มฉิ ะนน้ั จะไมบ่ งั เกดิ ผล
ท่พี งึ ประสงค์ หรือซำ�้ ร้าย อาจกลับกลายเป็นการทำ� ลายอนาคตและ
ความเจริญม่ันคงของชาติไปก็ได.้ ..”

พระราชด�ำรสั พระราชทานแก่ผบู้ ังคบั บัญชาลกู เสอื ในโอกาส
เขา้ เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท และรบั พระราชทานเหรยี ญลกู เสอื สดดุ ี
ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต วันอังคาร ที่ ๑๒ กรกฎาคม
๒๕๒๖

99

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎรร์ ม่ เยน็ เป็นสขุ ศานต์

“...วินัยนี้เป็นคุณสมบัติอย่างหน่ึงที่ทุกคนย่อมต้อง
ใช้ ท้ังเป็นส่วนบุคคลท้ังเป็นส่วนรวม ถ้าส่วนบุคคลมี
วนิ ยั ก็หมายความว่าจะใช้ความรู้ความสามารถไดอ้ ยา่ ง
ถูกต้องและเป็นประโยชน์ ถ้าส�ำหรับหน่วยหรือส่วนรวม
วินัยนั้นจะท�ำให้มีความแข็งแกร่งในการปฏิบัติร่วมกัน
ในหน่วยงานของตนหรือในส่วนรวมของกองทัพท้ังหมด
ตลอดจนส�ำหรับชาติบ้านเมืองเป็นส่วนรวม ฉะน้ัน
วินัยนี้เป็นเครื่องมือหรือเป็นอุปกรณ์ที่ส�ำคัญ ซ่ึงแต่ละ
คนจะต้องฝึกปรือให้ดี ให้มีวินัยท่ีเข้มแข็งไม่ย่อหย่อน
ถ้าใช้วินัยดีน้ีทุกคนก็จะมีความสามารถแข็งแกร่งยิ่งขึ้น
เพราะวา่ หมายความวา่ หลกั วชิ าการจะนำ� มาใชก้ นั อยา่ ง
ถูกต้องและไม่บกพร่อง ฉะนั้นการท่ีมีวินัยน้ันเป็นส่ิงที่
สำ� คัญยิ่งสำ� หรบั แต่ละคนและส�ำหรบั ส่วนรวม...”

พระราชดำ� รสั ในพธิ ปี ระดบั ยศและพระราชทานสญั ญาบตั รยศ
แกน่ ายทหารชน้ั นายพล ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั พระราชวงั ดสุ ติ วนั องั คาร
ท่ี ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๖

100

พระบรมราโชวาท
นอ้ มน�ำ ราษฎร์ร่มเยน็ เปน็ สุขศานต์

“...ต�ำรวจเป็นผู้พิทักษ์รักษาความสงบสุข ความม่ันคง
ปลอดภัย และความถูกต้องเป็นธรรมในบ้านเมือง งานใน
หน้าที่จึงเต็มไปด้วยความยากล�ำบากที่จะต้องตรากตร�ำ
ปฏบิ ตั แิ ละมากไปดว้ ยปญั หายงุ่ ยากนานาชนดิ ทจ่ี ะตอ้ งขบคดิ
วนิ จิ ฉยั รวมทงั้ อาชญากรรมทกุ รปู แบบทจี่ ะตอ้ งเสย่ี งอนั ตราย
เข้าระงับปราบปราม ดว้ ยเหตนุ ้ี ทางราชการบา้ นเมอื งจึงได้
มอบหมายสทิ ธแิ ละอำ� นาจทางกฎหมายให้ เพอ่ื เปน็ เครอ่ื งมอื
ปฏิบัตงิ านและป้องกนั รกั ษาชีวติ ผู้เป็นตำ� รวจควรตอ้ งทราบ
ตระหนักถึงความรับผิดชอบในหน้าท่ีและสิทธิพิเศษของตน
ดังกล่าว แล้วตั้งใจพยายามฝึกฝนตนเองให้มีความรู้ความ
สามารถจรงิ มรี ะเบยี บวนิ ยั มคี วามเขม้ แขง็ อดทน และมสี ติ
ยง้ั คิดสงู ทีจ่ ะใช้อ�ำนาจท่มี อี ยูด่ ว้ ยความเที่ยงตรง ด้วยความ
ฉลาดรอบคอบ และดว้ ยความสงั วรระวงั มใิ หเ้ กนิ ขอบเขตและ
ความจ�ำเป็น ถ้าท�ำได้ดังนี้ งานทุกอย่างก็จะด�ำเนินไปโดย
ราบรน่ื และบรรลุผลส�ำเรจ็ ท่ีถกู ต้องสมบรู ณ์ ชว่ ยใหบ้ งั เกิด
ผลดที ้ังแกต่ นและส่วนรวม...”

พระบรมราโชวาท ในพธิ พี ระราชทานกระบแี่ กว่ า่ ทรี่ อ้ ยตำ� รวจตรี
ท่ีส�ำเร็จการศึกษาชั้นสูงสุด จากโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ ประจ�ำ
ปีการศกึ ษา ๒๕๓๙ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันอังคาร ที่ ๓
มถิ ุนายน ๒๕๔๐

101

เสด็จฯ ลง ณ ทอ้ งพระโรงศาลาเริง วงั ไกลกังวล จงั หวัดประจวบศรี ขี นั ธ์
พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้นักกฬี าโอลิมปิก เขา้ เฝา้ ฯ เม่ือวนั ท่ี ๙

กนั ยายน พุทธศักราช ๒๕๔๗

มสี ติร้ตู วั รคู้ ดิ รู้ท�ำ รปู้ ฏิบัติ
ตามพระราชดำ�รัส

ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั

พระบรมราโชวาท
นอ้ มนำ�ราษฎร์รม่ เยน็ เปน็ สขุ ศานต์

“…ผู้ที่จะสร้างความส�ำเร็จในการงานและชีวิตได้แน่นอน
นั้น ควรมีคุณสมบัติประกอบพร้อมกัน อย่างน้อย ๕ ประการ
ประการแรก ควรจะต้องมคี วามสุจริต ความมีใจจริง ความต้งั ใจ
จรงิ ความอตุ สาหะอดทน และความเมตตาเสยี สละ เปน็ พ้ืนฐาน
ดา้ นจติ ใจ ประการทสี่ อง ควรจะตอ้ งมวี ชิ าความรทู้ ถ่ี กู ตอ้ ง แมน่ ยำ�
ช�ำนาญ พร้อมท้ังมีฝีมือหรือความสามารถในเชิงปฏิบัติ เป็น
เคร่ืองมือส�ำหรับประกอบการ ประการที่สาม ควรจะต้องมีสติ
ความย้ังคิด และวิจารณญาณอันถ่ีถ้วนรอบคอบ เป็นเคร่ือง
ควบคมุ กำ� กบั ใหด้ ำ� เนนิ งานไปไดโ้ ดยถกู ตอ้ ง เทย่ี งตรงตามทศิ ทาง
ประการทส่ี ่ี จะตอ้ งมคี วามรอบรู้ มคี วามสามารถประสานงานและ
ประสานประโยชน์กับผู้อื่นอย่างกว้างขวาง เป็นเครื่องส่งเสริมให้
ทำ� งานได้คลอ่ งตัวและกา้ วหน้า และประการท่หี ้า ซงึ่ ส�ำคัญทส่ี ุด
จะต้องมีความฉลาดรู้ในเหตุในผล ในความผิดถูกช่ัวดี ในความ
พอเหมาะพอสม เป็นเคร่ืองตัดสินและสั่งการปฏิบัติงานทั้งมวล
ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ…”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ณ อาคารจักรพนั ธ์เพญ็ ศิริ วนั พธุ ที่
๖ กรกฎาคม ๒๕๓๑

104

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎรร์ ม่ เยน็ เปน็ สุขศานต์

“…เราทั้งหลายรักษาชาติรักษาแผ่นดินสืบต่อจากบรรพชน
มาได้ ด้วยสติปัญญาความสามารถและความสามัคคี ทุกฝ่ายต่าง
พยายามทำ� หนา้ ทใี่ หป้ ระสานสอดคลอ้ งและเกอ้ื กลู กนั โดยสมานฉนั ท์
และต่างมีจุดหมายท่ีเที่ยงตรงเสมอเหมือนกันในการท�ำนุบ�ำรุง
แผ่นดิน ระยะหลังน้ี สถานการณ์หลายด้าน ไม่ว่าทางเศรษฐกิจ
การเมอื ง หรอื สงั คม เปลย่ี นแปลงแปรผันอยา่ งรวดเรว็ และซบั ซ้อน
อาจเปน็ เหตใุ หบ้ างคน บางฝา่ ยเกดิ ความสบั สนในความคดิ และความ
ไมเ่ ขา้ ใจกนั ในการปฏบิ ตั งิ าน ซงึ่ เปน็ ขอ้ ทนี่ า่ วติ ก ขา้ พเจา้ เหน็ วา่ ทกุ
ฝา่ ยสามารถจะคลค่ี ลายปญั หานไ้ี ดไ้ มย่ ากนกั ถา้ เราหวนคดิ พจิ ารณา
เรื่องต่าง ๆ ที่เป็นมาแล้วในอดีต โดยละเอียดให้เห็นว่าแต่ละเรื่อง
แต่ละเหตุการณ์เกิดข้ึนจากมูลเหตุอันใด และมีผลเก่ียวเนอื่ งสืบต่อ
มาอยา่ งไร ก็จะชว่ ยใหท้ ราบชัดไดถ้ ึงสถานการณ์ในปจั จุบัน ตลอด
จนแนวโนม้ ทจ่ี ะเปน็ ไปในอนาคต และความรู้ ความเขา้ ใจอนั ชดั เจนนี้
ยอ่ มทำ� ใหแ้ ตล่ ะคนเลง็ เหน็ หนา้ ทที่ แี่ ท้ กบั ทง้ั แนวทางปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอ้ ง
ในการจรรโลง อิสรภาพ ความเจรญิ มน่ั คง และความดงี ามทงั้ ปวง
ในแผน่ ดิน ทา่ นทั้งหลายจงึ ควรระลึกอยเู่ สมอๆ ว่าการใชส้ ติปัญญา
พิจารณาเหตุการณ์ให้กว้างไกลโดยรอบคอบและรอบด้าน เป็นส่ิง
สำ� คญั และจำ� เป็นอยา่ งทีส่ ดุ …”

พระราชด�ำรัส ในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราช
พิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๓๒ วันอังคาร ท่ี ๕
ธันวาคม ๒๕๓๒

105

พระบรมราโชวาท
นอ้ มน�ำ ราษฎรร์ ่มเยน็ เป็นสขุ ศานต์

“…ความสงบร่มเย็นน้ันอาจแยกได้เป็นสองส่วน คือ
ความสงบภายนอก กับความสงบภายใน ภายนอก ได้แก่
ความเป็นอยู่และสภาวะแวดล้อมที่เป็นปรกติ ปลอดโปร่ง
จากสิ่งรบกวนที่ทำ� ให้เกิดภัยอันตราย หรือเกิดความยุ่งยาก
เดอื ดรอ้ นตา่ ง ๆ เชน่ นำ�้ ทว่ ม ไฟไหม้ หรอื การขดั แยง้ พพิ าท
มงุ่ รา้ ยท�ำลายกนั ภายใน ไดแ้ ก่ จติ ใจท่สี ะอาดแจม่ ใส ไมม่ ี
กังวล ไม่มคี วามขุน่ เคืองขดั ขอ้ ง

จิตใจท่ีสะอาดปลอดโปร่งจากสิ่งรบกวนนี้ส�ำคัญมาก
เพราะเปน็ จติ ใจสงบระงบั และเยือกเย็น ท�ำให้บุคคลมีสตริ ้ตู วั
มีความคดิ เทีย่ งตรงเปน็ กลาง มีวจิ ารณญาณละเอยี ด กว้าง
ขวาง และถูกต้องตรงจุด ความคิดวิจารณญาณท่ีเกิดจาก
จิตใจที่สงบน้ีมีศักยภาพสูง อาจน�ำไปใช้คิดอ่านสร้างสรรค์
ส่ิงท่ีจะอ�ำนวยประโยชน์สุข ความเจริญก้าวหน้า ตลอดจน
ชื่อเสียงเกียรติคุณ อันเป็นส่ิงปรารภปรารถนาของแต่ละคน
ให้สมั ฤทธผิ ลได้…”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส
ขน้ึ ปีใหม่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๖ วนั พฤหสั บดี ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๓๕

106

พระบรมราโชวาท
นอ้ มน�ำ ราษฎร์รม่ เยน็ เปน็ สขุ ศานต์

“…หลกั ของคณุ ธรรมคอื การคดิ ดว้ ยจติ ใจทเ่ี ปน็ กลาง
ก่อนจะพูดจะท�ำส่ิงไร จ�ำเป็นต้องหยุดคิดเสียก่อน เพื่อ
รวบรวมสตใิ หต้ ง้ั มน่ั และใหจ้ ติ สวา่ งแจม่ ใส ซงึ่ เมอ่ื ฝกึ หดั
จนคุ้นเคยช�ำนาญแล้ว จะกระท�ำได้คล่องแคล่ว ช่วยให้
สามารถแสดงความรคู้ วามคดิ ในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ใหผ้ ฟู้ งั เขา้ ใจ
ได้ง่าย ได้ชดั ไม่ผิดท้งั หลักวิชาทง้ั หลักคุณธรรม…”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั วนั ศุกร์ ที่
๑๐ กรกฎาคม ๒๕๓๕

107

พระบรมราโชวาท
นอ้ มนำ�ราษฎรร์ ม่ เยน็ เป็นสุขศานต์

การปฏิบัติราชการนั้น นอกจากมุ่งกระท�ำเพ่ือให้งาน
ส�ำเร็จไปโดยเร็ว และมีประสิทธิภาพแล้ว ยังจะต้องกระท�ำ
ดว้ ยสตริ ตู้ วั และปัญญารู้คดิ วา่ สิง่ ใดเปน็ ความเจรญิ ส่ิงใดเปน็
ความเสอื่ ม อะไรเปน็ สงิ่ ทตี่ อ้ งทำ� อะไรเปน็ สง่ิ ทต่ี อ้ งละเวน้ หรอื
ก�ำจดั ผลที่เกิดขึ้นจึงจะเปน็ ประโยชนท์ ีแ่ ท้และยง่ั ยืน ท้ังแก่
ตนเองและสว่ นรวม

พระบรมราโชวาท พระราชทานแกข่ า้ ราชการพลเรอื น เนอ่ื งใน
วนั ข้าราชการพลเรือน วนั อาทิตย์ ท่ี ๑ เมษายน ๒๕๔๔

108

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎร์ร่มเยน็ เปน็ สขุ ศานต์

“…เป็นเวลาหลายปีติดต่อกันมา ที่เราต้องประสบ
กบั เหตไุ ม่ปรกตติ ่างๆ หลายเรอ่ื ง จนท�ำให้ หลายๆ คน
เกิดความวิตกห่วงใยในอนาคตของตนเองและของบ้าน
เมืองเป็นอยา่ งมาก แตด่ ว้ ยเหตุทส่ี ว่ นใหญ่ มสี ติรเู้ ท่าทนั
มีความรู้ความสามารถ จึงต่างขวนขวายช่วยตนเอง
และร่วมมือร่วมความคดิ กนั ปฏิบตั แิ ก้ไขอยา่ งจรงิ จัง จน
บัดน้ีอาจกลา่ วไดว้ ่า สถานการณ์ต่างๆ ไดผ้ ่อนคลายลง
และมีความหวังว่าจะดีข้ึน อย่างไรก็ตาม เรายังจะต้อง
พยายามปฏิบัติตนปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวังต่อไป
อีกมาก …”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาส
ข้นึ ปีใหม่ พุทธศกั ราช ๒๕๔๗ วนั พธุ ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๖

109

พระบรมราโชวาท
นอ้ มน�ำ ราษฎรร์ ่มเยน็ เป็นสขุ ศานต์

“...ความเจริญผาสุกและความต้ังมัน่ ของบ้านเมือง เป็น
สิ่งส�ำคัญสูงสุดที่บุคคลพึงร�ำลึกและพึงประสงค์ ความเจริญ
ม่ันคงนั้นจะเกิดมีขึ้นได้ ก็ด้วยผู้ปฏิบัติบริหารงานของชาติ
ทกุ ฝา่ ยมงุ่ ทจี่ ะปฏบิ ตั ภิ าระหนา้ ทข่ี องตนใหเ้ ตม็ กำ� ลงั ดว้ ยสติ
ความรู้ตวั ด้วยปัญญาความรคู้ ิด และดว้ ยความสุจริตจริงใจ
โดยเหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนรวมยิง่ กวา่ ส่วนอน่ื ..”

พระราชดำ� รสั ในการเสดจ็ ออกมหาสมาคมในงานพระราชพธิ ี
เฉลิมพระชนมพรรษา พทุ ธศักราช ๒๕๔๑ วนั เสาร์ ที่ ๕ ธนั วาคม
๒๕๔๑

110

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎร์ร่มเยน็ เป็นสุขศานต์

“...ความสุขความเจริญนี้ แม้เป็นส่ิงท่ีพึงปรารถนา
อย่างย่ิง แต่ในวิถีชีวิตของคนเรานั้น ย่อมต้องมีท้ังสุข
และทกุ ข์ ทงั้ ความสมหวังและผิดหวงั เป็นปรกติธรรมดา
ทกุ คนจงึ ตอ้ งเตรยี มตวั เตรยี มใจ และเตรยี มการใหพ้ รอ้ ม
อยา่ ประมาท...”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส
ขนึ้ ปีใหม่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ วนั พฤหสั บดี ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๘

111

เสดจ็ พระราชดำ�เนินไปทอดพระเนตรความกา้ วหน้าโครงการบงึ มกั กะสนั
เมื่อวนั ท่ี ๘ มิถุนายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๐

ด�ำ รงตนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎร์รม่ เยน็ เปน็ สขุ ศานต์

“...ความสำ� คญั ของการประหยดั ซงึ่ รฐั บาลไดช้ กั ชวน
ให้แต่ละคนปฏิบัติ คงจะไดต้ ระหนักอยแู่ ล้วทว่ั กันว่า การ
ใชจ้ ่ายโดยประหยดั น้นั จะเปน็ หลกั ประกนั ความสมบรู ณ์
พนู สขุ ของผปู้ ระหยดั เองและครอบครวั ชว่ ยปอ้ งกนั ความ
ขาดแคลนในวันข้างหน้า การประหยัดดังกล่าวนี้จะม ี
ผลดีไม่เฉพาะแก่ผู้ประหยัดเท่านั้น ยังจะเป็นประโยชน์
แก่ประเทศชาติด้วย ทั้งน้ีโดยท่ีประชาชนแต่ละคนเป็น
ส่วนประกอบของประเทศชาติ ฐานะทางเศรษฐกิจของ
ประเทศชาติก็ข้ึนอยู่ที่ฐานะความเป็นอยู่ของประชาชน
พลเมือง ถ้าแต่ละคนท�ำการประหยัดและช่วยผดุงฐานะ
ของตนเองแล้ว ก็เท่ากับได้มีส่วนช่วยส่งเสริมภาวะทาง
เศรษฐกิจของประเทศเปน็ สว่ นรวม...”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส
ขนึ้ ปีใหม่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๓ วนั พฤหสั บดี ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๐๒

114

พระบรมราโชวาท
นอ้ มน�ำ ราษฎร์รม่ เยน็ เปน็ สุขศานต์

“…การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขั้น
ต้องสร้างพ้ืนฐาน คือความพอมีพอกิน พอใช้ของ
ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและ
ใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เม่ือได้
พื้นฐานม่ันคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อย
สร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจข้ันท่ีสูง
ขึ้นโดยล�ำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ
ยกเศรษฐกิจข้ึนให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้
แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของ
ประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลย์
ในเรอื่ งตา่ ง ๆ ขนึ้ ซง่ึ อาจกลายเปน็ ความยงุ่ ยากลม้ เหลว
ไดใ้ นทสี่ ุด…”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ณ หอประชมุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
วนั พฤหสั บดี ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗

115

พระบรมราโชวาท
นอ้ มนำ�ราษฎรร์ ม่ เย็นเป็นสุขศานต์

“...เป็นเวลาต่อเนอื่ งกันหลายปีแล้ว ท่ีบ้านเมืองของ
เรามีความเปล่ียนแปลงมาตลอดท้ังในวิถีทางด�ำเนินของ
บา้ นเมืองและของประชาชนท่ัวไป เปน็ เหตุใหเ้ ราตอ้ งประคบั
ประคองตวั มากเขา้ เพอ่ื ใหอ้ ยรู่ อดและกา้ วตอ่ ไปไดโ้ ดยสวสั ดี
ตามแนวทางท่ีเป็นมาแล้วน่าจะเชื่อได้ว่าเราจะต้องประคับ
ประคองตวั กนั ตอ่ ไปอกี นาน ดงั นนั้ ทกุ คนจงึ ควรจะรบั รคู้ วาม
จรงิ ทง้ั นี้ แลว้ เอาใจใสป่ ฏบิ ตั งิ านปฏบิ ตั ติ วั ใหเ้ ปน็ ระเบยี บและ
ขะมกั เขม้นยง่ิ ขน้ึ พร้อมกับระมัดระวังการด�ำเนินชีวติ ใหเ้ ปน็
ไปโดยประหยดั จกั ไดไ้ มเ่ กดิ ความติดขดั เดอื ดร้อนขน้ึ เพราะ
ความประมาทและความรูไ้ มเ่ ทา่ ทนั สถานการณ์ ส�ำคญั ท่ีสดุ
ขอให้คิดพิจารณาให้เข้าใจว่า สภาวะท่ีบีบรัดความเป็นอยู่
ของเราทเี่ กดิ ขน้ึ นี้ เปน็ ผลกระเทอื นมาจากความวปิ รติ ของวถิ ี
ความเปลย่ี นแปรทางเศรษฐกจิ การเมือง และทางอืน่ ๆ ของ
โลก เราจึงไม่สามารถท่ีจะหลีกพ้นได้ หากแต่จะต้องเผชิญ
ปัญหาอย่างผู้มีสติ มีปัญญา มีความเข้มแข็งและกล้าหาญ
เพื่อเราจกั ได้รวมกนั อยู่อย่างมน่ั คงไพบลู ย.์ ..”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส
ขนึ้ ปีใหม่ พทุ ธศักราช ๒๕๒๒ วันอาทิตย์ ที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๒๑

116

พระบรมราโชวาท
นอ้ มนำ�ราษฎรร์ ม่ เยน็ เปน็ สขุ ศานต์

“…คนเราทฟี่ ้งุ เฟ้อ ไมม่ ที างท่จี ะหาทรพั ยม์ าปอ้ นความ
ฟุ้งเฟ้อได้ ความฟุ้งเฟ้อนี้เป็นปากหรือเป็นสัตว์ที่หิวไม่หยุด
ความฟุ้งเฟ้อนี้อ้าปากตลอดเวลา จะปอ้ นไปเทา่ ไรๆ ก็ไม่พอ
เมื่อปอ้ นเทา่ ไรๆ ไมพ่ อแลว้ กห็ าเท่าไรๆ ก็ไมพ่ อ ความไม่
พอนไ้ี มส่ ามารถทจี่ ะหาอะไรมาปอ้ นความฟงุ้ เฟอ้ นไี้ ด้ ฉะนนั้
ถา้ จะต่อต้านความเดอื ดรอ้ น ไมใ่ ช่ว่าจะตอ้ งประหยดั มัธยสั ถ์
จะตอ้ งปอ้ งกนั ความฟงุ้ เฟอ้ และปอ้ งกนั วธิ กี ารทม่ี กั จะใชเ้ พอื่
ท่ีจะมาป้อนความฟุ้งเฟ้อน้ี คือความทุจริต ฉะน้ันการที่จะ
ณรงคท์ จ่ี ะตอ่ สเู้ พอื่ ใหค้ นมธั ยสั ถแ์ ละประหยดั นนั้ กอ็ ยทู่ ตี่ วั เอง
ไม่ใชอ่ ยทู่ ีค่ นอน่ื เม่ืออยทู่ ่ีตนเอง ไมอ่ ยูท่ ค่ี นอ่ืน การณรงค์
โดยมากมักออกไปข้างนอก จะไปชกั ชวนคนโน้นชักชวนคน
นใี้ ห้ทำ� โน่นทำ� น่ี ทีจ่ ริงตัวเองต้องท�ำเอง ถา้ จะใชค้ �ำวา่ ณรงค์
ก็ต้องณรงค์กบั ตัวเอง ต้องฝึกตวั ใหร้ จู้ ักความพอดีพอเหมาะ
ถ้าไมพ่ อดไี ม่พอเหมาะมนั จะเกิดทจุ ริตในใจได…้ ”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะลูกเสือชาวบ้านที่มา
เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในโอกาสเสด็จฯ กลับจากแปรพระ
ราชฐานจากจังหวัดสกลนคร ณ สนามบินดอนเมือง วันอาทิตย์ ที่
๒ ธนั วาคม ๒๕๒๗

117

พระบรมราโชวาท
นอ้ มน�ำ ราษฎรร์ ่มเยน็ เป็นสุขศานต์

“…เราไม่เปน็ ประเทศร่�ำรวย เรามพี อสมควร พออยูไ่ ด้
แต่ไม่เป็นประเทศท่ีก้าวหน้าอย่างมาก เราไม่อยากจะเป็น
ประเทศกา้ วหนา้ อยา่ งมาก เพราะถา้ เราเปน็ ประเทศกา้ วหนา้
อยา่ งมาก กจ็ ะมแี ตถ่ อยหลงั ประเทศเหลา่ นนั้ ทเ่ี ปน็ ประเทศ
ทม่ี อี ตุ สาหกรรมกา้ วหนา้ จะมแี ตถ่ อยหลงั และถอยหลงั อยา่ ง
นา่ กลวั แตถ่ า้ เรามกี ารบรหิ ารแบบเรยี กวา่ แบบ “คนจน” แบบ
ท่ีไม่ติดกับต�ำรามากเกินไป ท�ำอย่างมีสามัคคีน่ีแหละ คือ
เมตตากนั ก็จะอย่ไู ด้ตลอดไป คนท่ีทำ� งานตามวชิ าการ จะ
ต้องดูต�ำรา เม่ือพลิกไปถึงหน้าสุดท้ายแล้ว ในหน้าสุดท้าย
นั้นเขาบอก “อนาคตยังมี” แต่ไม่บอกว่าให้ท�ำอย่างไร ก็
ตอ้ งปดิ เลม่ คอื ปดิ ตำ� รา ปดิ ตำ� ราแลว้ ไมร่ จู้ ะทำ� อะไร ลงทา้ ยก็
ตอ้ งเปดิ หนา้ แรกใหม่ เปดิ หนา้ แรกกเ็ รม่ิ ตน้ ใหม่ ถอยหลงั เขา้
คลอง แตถ่ ้าเราใชต้ �ำราแบบ “คนจน” ใชค้ วามอะลมุ้ อลว่ ย
กัน ต�ำราน้ันไม่จบ เราจะก้าวหน้า “เรื่อยๆ”…”

พระราชดำ� รสั พระราชทานแกค่ ณะบคุ คลตา่ งๆ ทเี่ ขา้ เฝา้ ฯ ถวาย
พระพรชยั มงคล ในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั
สวนจิตรลดา พระราชวงั ดุสิต วันพุธ ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔

118

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎรร์ ่มเยน็ เปน็ สขุ ศานต์

“…การจะเปน็ เสอื นน้ั ไมส่ ำ� คญั สำ� คญั อยทู่ เี่ รามเี ศรษฐกจิ
แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกนิ น้ันหมายความวา่ อุ้มชตู วั
เองได้ ใหม้ พี อเพยี งกบั ตวั เอง อนั นกี้ เ็ คยบอกวา่ ความพอเพยี ง
น้ีไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของ
ตัว จะตอ้ งทอผา้ ใส่เอง อย่างนัน้ มันเกินไป แต่ว่าในหมบู่ า้ น
หรือในอ�ำเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางส่ิง
บางอย่างที่ผลิตไดม้ ากกวา่ ความตอ้ งการ ก็ขายได้ แตข่ าย
ในที่ไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก อย่าง
นี้ท่านนักเศรษฐกิจต่างๆ ก็มาบอกว่าล้าสมัย จริง อาจจะ
ลา้ สมยั คนอนื่ เขาตอ้ งมกี ารเศรษฐกจิ ทตี่ อ้ งมกี ารแลกเปลยี่ น
เรียกว่าเป็นเศรษฐกิจการค้า ไม่ใช่เศรษฐกิจความพอเพียง
เลยรู้สึกว่าไม่หรูหรา แต่เมืองไทยเป็นประเทศท่ีมีบุญอยู่ว่า
ผลติ ใหพ้ อเพียงได…้ ”

พระราชดำ� รสั พระราชทานแกค่ ณะบคุ คลตา่ งๆ ทเ่ี ขา้ เฝา้ ฯ ถวาย
พระพรชัยมงคล เน่อื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลา
ดุสดิ าลัย สวนจิตรลดา พระราชวงั ดุสติ วันพฤหัสบดี ท่ี ๔ ธันวาคม
๒๕๔๐

119

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎร์รม่ เย็นเปน็ สุขศานต์

“…การรู้จักประมาณตน ได้แก่การรู้จักและยอมรับว่า
ตนเองมภี มู ิปญั ญาและความสามารถในด้านไหน เพยี งใด และ
ควรจะทำ� งานดา้ นไหน อยา่ งไร การรจู้ กั ประมาณตนนี้ จะทำ� ให้
คนเรารู้จักใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ได้ถูกต้องเหมาะสม
กับงาน และได้ประโยชน์สูงสุดเต็มตามประสิทธิภาพ ท้ังยัง
ท�ำให้รูจ้ กั ขวนขวายศกึ ษาหาความรู้ และเพิ่มพูนประสบการณ์
อยู่เสมอ เพื่อปรับปรุงส่งเสริมศักยภาพที่มีอยู่ในตนเองให้ย่ิง
สูงข้ึน ส่วนการรู้จักประมาณสถานการณ์นั้น ได้แก่การรู้จัก
พจิ ารณาสถานการณ์ต่างๆ ที่เกดิ ข้ึนให้ทราบชัด ถงึ ความเป็น
มา และท่ีเปน็ อยู่ รวมท้ังท่ีคาดวา่ จะเปน็ ไปในอนาคต การร้จู ัก
ประมาณสถานการณ์ได้นี้ จะท�ำให้สามารถวางแผนงานและ
ปฏิบัติการได้ถูกตรงกับปัญหา ทันแก่สถานการณ์ และความ
จำ� เปน็ อันจะท�ำให้งานที่ท�ำไดป้ ระโยชนท์ ่สี มบูรณค์ มุ้ คา่ การ
รจู้ กั ประมาณตนและร้จู กั ประมาณสถานการณ์ จงึ เป็นอุปการะ
อย่างสำ� คญั ทีจ่ ะเก้ือกลู ให้บคุ คลดำ� เนนิ ชีวติ และกิจการงานไป
ได้อยา่ งราบรน่ื และก้าวหนา้ …”

พระบรมราโชวาท พระราชทานเพ่ือเชิญไปอ่าน ในพิธี
พ ร ะ ร า ช ท า น ป ริ ญ ญ า บั ต ร ข อ ง จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย
ณ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั วนั เสาร์ ท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๑

120

พระบรมราโชวาท
นอ้ มน�ำ ราษฎร์รม่ เยน็ เป็นสขุ ศานต์

“…พอมีพอกนิ นก้ี แ็ ปลวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี งน่ันเอง ถ้าแต่ละ
คนพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และ
ประเทศไทยเวลานัน้ ก็เรม่ิ จะไมพ่ อมีพอกนิ บางคนกม็ มี าก บาง
คนก็ไมม่ เี ลย สมยั กอ่ นนพ้ี อมพี อกนิ มาสมยั นชี้ กั จะไมพ่ อมพี อกนิ
จึงต้องมีนโยบายที่จะท�ำเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือท่ีจะให้ทุกคนม ี
พอเพยี งได้ ใหพ้ อเพยี งน้กี ็หมายความวา่ มีกินมอี ยู่ ไมฟ่ ่มุ เฟอื ย
ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอ แม้บางอย่างอาจจะดูฟุ่มเฟือย แต่ถ้า
ทำ� ใหม้ คี วามสุข ถ้าท�ำได้กส็ มควรท่ีจะท�ำ สมควรทจี่ ะปฏบิ ตั .ิ ..

คนเราถา้ พอในความตอ้ งการ ก็มคี วามโลภน้อย เมอื่ มคี วาม
โลภนอ้ ย กเ็ บยี ดเบียนคนอ่นื น้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันน้ี
ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าท�ำอะไรต้องพอเพียง หมายความ
ว่า พอประมาณ ไมส่ ดุ โตง่ ไม่โลภอยา่ งมาก คนเราก็อยเู่ ป็นสุข
พอเพยี งนีอ้ าจจะมมี าก อาจจะมีของหรหู ราก็ได้ แตว่ า่ ต้องไมไ่ ป
เบยี ดเบยี นคนอน่ื ตอ้ งใหพ้ อประมาณตามอตั ภาพ พดู จากพ็ อเพยี ง
ท�ำอะไรกพ็ อเพยี ง ปฏบิ ตั ิตนกพ็ อเพยี ง…”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ
ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันศุกร์ ที่ ๔
ธันวาคม ๒๕๔๑

121



มคี วามเขม้ แขง็ ทั้งรา่ งกายและจติ ใจ

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎรร์ ่มเย็นเป็นสขุ ศานต์

“….ในบา้ นเมอื งเราทกุ วนั นี้ มเี สยี งกลา่ วกนั วา่ ความคดิ
จติ ใจของคนเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีเสอ่ื ม ความประพฤติที่
เปน็ ความทจุ รติ หลายอยา่ ง มที า่ ทที จ่ี ะกลายเปน็ สงิ่ ทคี่ นทว่ั ไป
พากนั ยอมรบั และสมยอมใหก้ ระทำ� กนั ไดเ้ ปน็ ธรรมดา สภาพ
การณ์เช่นนี้ย่อมท�ำให้วิถีชีวิตของแต่ละคนมืดมัวลงไป เป็น
ปัญหาใหญ่ที่เหมือนกระแสคล่ืนอันไหลบ่าเข้ามาท่วมท่ัวไป
หมด จำ� เปน็ ต้องแก้ไขดว้ ยการชว่ ยกันฝนื คลื่นทีก่ ลา่ วนัน้

ในการดำ� เนนิ ชวี ติ ของเรา เราตอ้ งขม่ ใจไมก่ ระทำ� สงิ่ ใด ๆ
ทเี่ รารสู้ กึ ดว้ ยใจจรงิ วา่ ชวั่ วา่ เสอื่ ม เราตอ้ งฝนื ตอ้ งตา้ นความ
คดิ และความประพฤตทิ กุ อยา่ ง ทร่ี สู้ กึ วา่ ขดั กบั ธรรมะ เราตอ้ ง
กลา้ และบากบั่นทจ่ี ะกระท�ำส่ิงทเ่ี ราทราบวา่ เปน็ ความดี เป็น
ความถกู ตอ้ งและเปน็ ธรรม ถา้ เรารว่ มกนั ทำ� เชน่ นใี้ หไ้ ดจ้ รงิ ๆ
ให้ผลของความดีบงั เกดิ มากข้นึ ๆ กจ็ ะช่วยค�ำ้ จนุ สว่ นรวมไว ้
มิให้เสือ่ มลงไป และจะชว่ ยให้ฟืน้ คนื ดขี น้ึ ไดเ้ ปน็ ลำ� ดับ…”

พระราชด�ำรัส พระราชทานเพื่อเชิญไปอ่านในพิธีเปิด
การประชุมยุวพุทธิกสมาคมท่ัวประเทศ คร้ังที่ ๑๒ ที่จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา วนั เสาร์ ที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๑๓

124

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎร์รม่ เย็นเปน็ สขุ ศานต์

“...ความเขม้ แขง็ ในจติ ใจนเ้ี ปน็ สง่ิ ทสี่ ำ� คญั ทจี่ ะตอ้ งฝกึ ฝน
แตเ่ ลก็ เพราะวา่ ตอ่ ไป ถา้ มชี วี ติ ทีล่ �ำบาก ไปประสบอุปสรรค
ใด ๆ ถ้าไม่มีความเข้มแข็ง ไม่มีความรู้ ไม่มีทางที่จะผ่าน
อปุ สรรคน้ันได้ เพราะวา่ ถา้ ไปเจออปุ สรรคอะไร ก็ไม่มอี ะไร
ทีจ่ ะมาชว่ ยเราได้ แตถ่ ้ามคี วามรู้ มอี ธั ยาศัยทดี่ ี และมคี วาม
เขม้ แขง็ ในกาย ในใจ ก็สามารถที่จะผา่ นพน้ อปุ สรรคตา่ ง ๆ
น้ันได้...”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะครูและนักเรียนโรงเรียน
ราชวนิ ติ ณ พระต�ำหนกั จติ รลดารโหฐาน พระราชวังดสุ ิต วนั ศุกร์
ท่ี ๓๑ ตุลาคม ๒๕๑๘

125

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎรร์ ่มเย็นเป็นสุขศานต์

“…ความมีใจจริงที่ขาดไม่ได้ในการท�ำงานมีสอง
ประการ ประการท่หี นึง่ คอื ความจรงิ ใจตอ่ ผรู้ ว่ มงาน ซงึ่
มลี กั ษณะประกอบดว้ ยความซอ่ื ตรง เมตตา หวงั ดี พรอ้ ม
เสมอทจ่ี ะรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื และสง่ เสรมิ กนั ทกุ ขณะ ทงั้ ใน
ฐานะผู้มีจุดประสงค์ท่ีดีร่วมกัน และในฐานะท่ีเป็นเพ่ือน
มนุษย์ร่วมชาติร่วมโลกกัน ประการท่ีสอง ได้แก่ความ
จริงใจต่องาน มีลักษณะเป็นการต้ังสัตย์อธิษฐานหรือ
การตั้งใจจริงที่จะท�ำงานให้เต็มก�ำลัง กล่าวคือ เม่ือได้
พิจารณาด้วยปัญญาเป็นที่แน่ชัดแล้ว ว่างานที่จะท�ำน้ัน
เป็นประโยชน์จริง ก็ต้องสัตย์สัญญาแก่ตัวเอง ผูกพัน
บังคับตัวเองให้กระท�ำจนเต็มก�ำลังความรู้ความสามารถ
ใหไ้ ด้ผลดีท่สี ุด…”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่
ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ณ สวนอมั พร
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๒๑

126

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎร์ร่มเยน็ เปน็ สุขศานต์

“…เมื่อจะพิจารณาสิ่งใดเร่ืองใดให้วางใจของตัวให้เป็น
กลาง คอื ปลดอคตคิ วามลำ� เอยี งทกุ ๆ ประการออกจากใจให้
หมดกอ่ น แลว้ เขา้ ไปเพ่งพนิ ิจดสู งิ่ นั้นเร่อื งนนั้ ใหถ้ ี่ถ้วน จึงจะ
มองเห็นได้ประจักษ์ทุกแง่ทุกมุม ไม่ใช่เห็นแต่เพียงแง่ใดแง่
หนง่ึ ตามความชอบใจหรอื ไมช่ อบใจที่มีอยู่ เมอื่ เห็นประจกั ษ์
ทวั่ ดว้ ยใจทเ่ี ปน็ กลางแลว้ ความรทู้ ชี่ ดั เจนกจ็ ะบงั เกดิ ขน้ึ และ
ช่วยให้ลงความเห็นและปฏบิ ัติได้โดยถกู ต้องเปน็ ธรรม…”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่สามัคคีสมาคม ในพระบรม
ราชูปถมั ภ์ ในการเปิดการประชมุ ใหญ่ ประจำ� ปี ๒๕๒๓ วนั อังคาร
ที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๒๓

127

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎรร์ ม่ เยน็ เปน็ สขุ ศานต์

“…จิตใจท่ีต�่ำทรามน้ันเป็นจิตใจท่ีอ่อนแอ ไม่กล้าและไม่
อดทนทจ่ี ะเพยี รพยายามสรา้ งสมความดงี าม ความเจรญิ ความ
สำ� เรจ็ ในทางทถ่ี กู ตอ้ งเปน็ ธรรม มแี ตค่ ดิ จะใหไ้ ดม้ าโดยสะดวก
งา่ ยดาย โดยไมค่ ำ� นงึ ถงึ ผดิ ชอบชว่ั ดี จติ ใจดงั นี้ ถา้ ปลอ่ ยใหเ้ กดิ
มีขนึ้ จนเคยชนิ อยา่ งนอ้ ยท่ีสุด กท็ ำ� ใหเ้ ปน็ คนมักงา่ ย ทำ� งาน
บกพร่องเสียหาย อย่างมาก ก็ท�ำให้เป็นคนด้านหนาไร้ความ
อาย หยาบคาย ละโมบ ท�ำอะไรท่ีไหน ก็เกิดอันตรายที่น่ัน
ทา่ นจงึ สอนใหส้ งั วรระวังใจของตนใหด้ ี อยา่ ใหค้ วามชว่ั เกดิ ข้นึ
และหากเกิดขึ้นแล้ว ก็ให้ก�ำจัดเสียทันที นอกจากน้ี ก็ต้อง
ฝึกหัดบ�ำรุงใจให้เข้มแข็งและประณีตข้ึน เพ่ือรับเอาความดี
ซึ่งเป็นปัจจัยท่ีจะช่วยให้ก้าวถึงความสุขและความเจริญม่ันคง
การฝึกใจให้เข้มแข็งนี้ ถึงหากจะรู้สึกว่าเป็นการเหนอ่ื ยยาก
แต่ถ้าได้ตั้งใจฝึกฝนโดยสม�่ำเสมอให้เพ่ิมพูนขึ้นโดยล�ำดับ ไม่
ชา้ นานก็จะเกดิ กำ� ลังแข็งแรงเกิดความชำ� นาญคล่องแคล่ว จน
สามารถท�ำความดีไดง้ ่ายขนึ้ ไมเ่ หนอ่ื ยยากเลย…”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ
มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันจันทร์ ท่ี
๑๖ มีนาคม ๒๕๒๔

128

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎรร์ ม่ เย็นเป็นสขุ ศานต์

“…ความมั่นคงเด็ดเดี่ยว ท่ีจะยึดม่ันในผลส�ำเร็จของงาน
และในความถูกต้องเป็นธรรม เป็นสิ่งส�ำคัญย่ิงส�ำหรับนักพัฒนา
บริหาร เพราะความมีจิตใจมั่นคงในผลส�ำเร็จของงาน จะท�ำให้
มุ่งม่ันที่จะกระท�ำต่อเนอ่ื งไปโดยไม่ลดละ จนบรรลุผลเลิศ ส่วน
ความม่นั คงในคณุ ธรรมน้นั จะสร้างเสรมิ คณุ สมบตั ิที่พงึ ประสงค์
ใหเ้ กดิ ขน้ึ ได้มากมาย เช่นว่า จะท�ำให้เป็นคนสจุ รติ ไมท่ �ำ ไม่พูด
ไม่คิดในส่ิงทเ่ี ปน็ ความช่ัว ความต�่ำทรามทุกอยา่ ง ทำ� ใหม้ ีความ
จริงใจในกันและกัน ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญส�ำหรับก�ำจัดความกิน
แหนงแคลงใจ บาดหมางแตกแยกกัน และช่วยสร้างเสริมความ
ร่วมมือเป็นอันหน่ึงอันเดียวให้เกิดขึ้น ท�ำให้มีความหนักแน่นใน
ความคดิ จติ ใจ สามารถพจิ ารณาเรอ่ื งราวและปัญหาตา่ งๆ ให้เหน็
เหตุเห็นผลโดยแจ่มแจ้ง และหาทางปฏิบัติที่ถูกต้องเท่ียงตรงได้
เหล่าน้ี ถอื วา่ เป็นอุปกรณเ์ ครอื่ งประกอบและเก้ือหนนุ วิชาการให้
แน่นหนักสมบูรณ์ ช่วยให้นักพัฒนาบริหารสามารถใช้หลักวิชา
ได้อย่างถูกต้องเท่ียงตรง ม่ันใจ บริสุทธิ์ใจ และได้ผลแน่นอน
เตม็ เป่ยี มตามเปา้ หมาย…”

พระบรมราโชวาท ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของสถาบนั
บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ ณ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์
วันจันทร์ ที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๒๔

129

พระบรมราโชวาท
นอ้ มนำ�ราษฎร์รม่ เยน็ เป็นสุขศานต์

“…การจะคดิ พจิ ารณาและวเิ คราะหว์ จิ ารณก์ รณตี า่ งๆ ให้
ไดถ้ กู ถว้ นตามเหตตุ ามผลและความเปน็ จรงิ นน้ั บคุ คลจำ� เปน็
ตอ้ งฝึกจิตใจใหม้ ีปรกติหนกั แนน่ และเปน็ กลาง พรอ้ มทัง้ ฝึก
กระบวนการคิดให้เป็นระเบียบให้ได้ก่อน ทั้งน้ีเพราะจิตใจท่ี
ไม่หนกั แนน่ เป็นกลาง เปน็ ต้นเหตใุ หเ้ กิดอคติหรอื การปฏบิ ตั ิ
ทไ่ี มถ่ กู ทาง อันเป็นตวั การส�ำคัญทนี่ �ำความคิดวิจารณญาณ
ของบคุ คล ใหม้ ดื มนผดิ พลาดไปจากเหตผุ ลและความเปน็ จรงิ
ส่วนความคิดอา่ นท่ไี ม่เปน็ ระเบียบนั้น เป็นต้นเหตขุ องความ
ลังเลสับสนและวุ่นวายใจ ท�ำให้บุคคลไม่สามารถจะคิดอ่าน
ท�ำการใด ๆ ให้ถกู ต้องตามขัน้ ตอน และสำ� เรจ็ เรียบรอ้ ยโดย
ไมต่ ดิ ขัดได้ เพราะฉะน้นั บัณฑิตจึงควรพยายามระมัดระวัง
ตั้งใจให้หนักแน่นเป็นกลาง ทั้งฝึกฝนความคิดอ่านให้เป็น
ระเบียบจนชินช�ำนาญ จักได้สามารถใช้ความรู้ ความคิด
วจิ ารณญาณ สรา้ งสรรคค์ วามสำ� เรจ็ และความเจรญิ กา้ วหนา้
ทกุ ประการใหส้ มบูรณ์พรอ้ มได้ ดงั ท่ปี รารภปรารถนา…”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันศุกร์
ท่ี ๒ สิงหาคม ๒๕๓๔

130

พระบรมราโชวาท
นอ้ มนำ�ราษฎร์ร่มเยน็ เปน็ สขุ ศานต์

“…ศรทั ธาความเชอ่ื ม่ันในความดี ศรัทธาสว่ นนี้ จะส่งเสรมิ
ให้บุคคลเกิดความมุ่งมั่นท่ีจะท�ำตัวท�ำงานให้สูงข้ึน ไม่ยอมให้
ตกตำ่� ผู้เช่อื มน่ั ในความดี จะมคี วามรสู้ ึกรับผิดชอบ มคี วามข่มใจ
ไม่ปล่อยตัวให้เป็นไปตามอ�ำนาจคติและความเห็นแก่ประโยชน์
เฉพาะตัว จะประพฤติปฏิบัติการใด ก็พิจารณากล่ันกรองอย่าง
รอบคอบจนเห็นชัดแลว้ ว่า การนั้น ๆ เปน็ ส่งิ ท่ีดี ท่ีถกู ต้อง เป็น
สุจริตธรรม และเป็นประโยชน์แท้ทั้งแก่ตนเองและส่วนรวม
การทที่ ำ� จงึ ปราศจากโทษ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ รา้ งสรรคเ์ ปน็ ความ
เจริญสวสั ดแี ตอ่ ยา่ งเดยี ว ผลดอี กี ประการหนง่ึ ของการปฏิบัตดิ กี ็
คือเมื่อผลของการท�ำดีเป็นท่ีประจักษ์ชัด คนท่ีไม่เคยท�ำความดี
เพราะไมเ่ คยเหน็ ผล กจ็ ะไดเ้ หน็ และหันมานยิ มศรทั ธาในความดี
บุคคลเหล่าน้ันย่อมจะรับเอาความคิดจิตใจ และการกระท�ำของ
ผปู้ ฏบิ ตั ดิ เี ปน็ แบบอยา่ ง แลว้ นอ้ มนำ� มาประพฤตปิ ฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง
บ้านเมืองของเราก็จะมีผู้ท่ีศรัทธาในความดี ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
เพมิ่ ขนึ้ เปน็ ลำ� ดบั สงิ่ ทแ่ี ตล่ ะคนปฏบิ ตั กิ จ็ ะประกอบสง่ เสรมิ กนั ขนึ้
เปน็ ความเจริญมน่ั คงโดยสว่ นรวมของชาตใิ นท่ีสุด…”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์
ที่ ๑ สงิ หาคม ๒๕๔๐

131

พระราชทานพระบรมราโชวาท ในการสวนสนามแสดงแสนยานุภาพ
ของกองทัพไทย เนอื่ งในพระราชพิธีรัชดาภเิ ษก วนั ที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๑๔

ค�ำ นึงถงึ ผลประโยชน์
ของสว่ นรวมและของชาติ

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎรร์ ม่ เย็นเป็นสุขศานต์

“...ทุกคนจะต้องต้ังม่ันในความสามัคคีและความ
ไม่ประมาท จะต้องใช้ปัญญา และความรอบคอบ
คิดอ่านก่อนที่จะกระท�ำการทั้งปวง จะต้องร่วมกัน
ปอ้ งกนั แกไ้ ขและกำ� จดั สงิ่ ชว่ั รา้ ยเปน็ อนั ตรายตอ่ ประเทศ
ชาติ หม่ันประกอบสัมมาอาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
คิดถึงประโยชน์สุขส่วนรวมของบ้านเมืองเป็นนิตย์เป็น
สำ� คัญ...”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาส
ขนึ้ ปีใหม่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๒ วนั องั คาร ที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๑๑

134

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎรร์ ม่ เย็นเปน็ สุขศานต์

“...ขอใหป้ ฏบิ ตั งิ านทกุ อยา่ งดว้ ยความตงั้ ใจ เทยี่ งตรง
กล้าหาญ และเข้มแข็งเสียสละ หม่ันฝึกฝนตนเองให้
จัดเจนคล่องแคล่วในหน้าท่ี และในการปฏิบัติงานร่วม
กับผู้อ่ืน พยายามศึกษาวิทยาการอันก้าวหน้าทุกอย่าง
ให้รอบรู้เท่าทันสถานการณ์อยู่เสมอ เพ่ือให้สามารถใช้
ยทุ โธปกรณ์ เครอื่ งมือเครือ่ งใช้ท่ีมอี ยู่ ใหเ้ ป็นประโยชน์
ในภารกจิ ของชาตใิ หไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ ประการสำ� คญั ทสี่ ดุ ขอ
ใหย้ ดึ มนั่ ในชาตบิ า้ นเมอื ง ขอใหถ้ อื ประโยชนร์ ว่ มกนั ของ
ประชาชาติไทยให้ย่ิงกว่าประโยชน์ใดๆ ทง้ั สิน้ ...”

พระบรมราโชวาท ในการเสด็จฯ ทอดพระเนตรการแข่งขัน
ใชอ้ าวธุ ทางอากาศ และการสาธติ กำ� ลงั ทางอากาศ ประจำ� ปี ๒๕๑๒
ณ สนามฝึกใช้อาวธุ ทางอากาศไชยบาดาล จงั หวดั ลพบรุ ี วันพธุ ที่
๑๗ ธันวาคม ๒๕๑๒

135

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎรร์ ม่ เย็นเป็นสขุ ศานต์

“…กจิ เฉพาะหนา้ ของเราทงั้ หลายทกุ คนทจ่ี ะตอ้ งทำ�
ก็คือต้องรับสถานการณ์อันวิกฤตนี้ด้วยใจอันมั่นคง ไม่
หวนั่ ไหว และด้วยความรูเ้ ท่าถงึ การณ์ พร้อมกบั รว่ มมือ
รว่ มใจกนั ปฏบิ ตั แิ กไ้ ขผอ่ นหนกั ใหเ้ ปน็ เบา ดว้ ยความสงบ
และพรอ้ มเพรยี ง ไมก่ อ่ ความวนุ่ วายใหส้ ถานการณย์ ง่ิ รา้ ย
ลงไปอกี ทกุ ฝา่ ยจำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ ใจในกนั และกนั เหน็ ใจกนั
เสยี สละประโยชนส์ ว่ นตวั เพอื่ ประโยชนส์ ว่ นรวมร่วมกนั
อุ้มชูกันไว้ เหมือนดังที่ได้เคยอุ้มชูกันมาแต่กาลก่อน
เม่อื รวมกันดังนี้ ก็จะเกดิ พลังยงิ่ ใหญ่ ทจ่ี ะสามารถขจัด
อุปสรรคขดั ขอ้ งทั้งปวงใหห้ มดส้นิ ไปได้ในทส่ี ุด…”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส
ขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๑๗ ณ พลับพลาท้องสนามหลวง
วนั จนั ทร์ ท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๖

136

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎรร์ ่มเยน็ เปน็ สขุ ศานต์

“…อนั แผน่ ดนิ ไทยของเรานี้ ถงึ จะเปน็ ทเ่ี กดิ ทอ่ี าศยั ของ
คนหลายเช้ือชาติ หลายศาสนา แต่เรากอ็ ยรู่ ่วมกันโดยปรกติ
ราบรื่นมาได้เป็นเวลาช้านาน เพราะเราต่างสมัครสมานกัน
อตุ สา่ หช์ ่วยกนั สร้างบ้านเมอื ง สรา้ งความเจริญ สร้างจติ ใจ
สร้างแบบแผนท่ีดีขึ้น เป็นของเราเอง ซ่ึงแม้นานาประเทศ
ก็น่าจะน�ำไปเป็นแบบฉบับได้ เพราะฉะนั้น ถ้าเราท้ังหลาย
มีสามัคคี มีเหตผุ ลอันหนกั แนน่ และมีความรคู้ วามเขา้ ใจอัน
ถูกต้องชัดเจนในสถานการณ์ที่เป็นจริง ต่างคนต่างร่วมมือ
ร่วมความคิดกันในอันท่ีจะช่วยกันผ่อนคลายปัญหาและ
สถานการณ์ที่หนักให้เป็นเบา ไม่น�ำเอาประโยชน์ส่วนน้อย
เข้ามาเกี่ยวข้อง ให้เสียหายถึงประโยชน์ส่วนใหญ่ของชาติ
บ้านเมือง เชื่อว่าเราจะสามารถรักษาชาติประเทศและความ
ผาสุกสงบที่เราได้สร้างสมและรักษาสืบต่อกันมาช้านานนั้น
ไวไ้ ด้…”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส
ข้ึนปีใหม่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙ วนั พธุ ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๑๘

137

พระบรมราโชวาท
นอ้ มน�ำ ราษฎร์รม่ เย็นเปน็ สุขศานต์

“…แตล่ ะคนนน้ั เป็นองคป์ ระกอบสว่ นหนึง่ ๆ ซง่ึ จะรวม
กนั ขน้ึ เปน็ ชาตบิ ้านเมอื ง ทุกคนต้องรกั ษาสุขภาพพลานามยั
ให้ดี และท�ำงานให้ดี ชาติบ้านเมืองจึงจะแข็งแรงและเจริญ
ม่ันคงสมดุลย์ทุกส่วน ถ้าบุคคลท�ำตัวให้บกพร่องอ่อนแอ
บา้ นเมอื งกจ็ ะมจี ดุ บกพรอ่ งและออ่ นแอไปดว้ ย ทกุ คนจงึ ตอ้ ง
บ�ำรุงรักษาบ้านเมืองให้เหมือนบ�ำรุงรักษาร่างกายและจิตใจ
ตนเอง และผใู้ ดมภี าระหนา้ ทอ่ี นั ใดอยู่ กต็ อ้ งขวนขวายปฏบิ ตั ิ
ใหส้ ำ� เรจ็ ลลุ ว่ งไปโดยพลนั ดว้ ยความรแู้ ละความสามารถ ดว้ ย
ความสะอาดกายสะอาดใจ ดว้ ยไมตรจี ิตมิตรภาพ และดว้ ย
ความเมตตาปรารถนาดีต่อกัน ผลการปฏิบัติตนปฏิบัติงาน
ของแตล่ ะคนแตล่ ะฝา่ ย จกั ไดป้ ระกอบสง่ เสรมิ ใหป้ ระเทศชาติ
มคี วามสมบูรณ์มน่ั คงขนึ้ ตามทีม่ ่งุ หมาย…”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส
ขึน้ ปีใหม่ พุทธศกั ราช ๒๕๒๙ วันอังคาร ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๒๘

138

พระบรมราโชวาท
นอ้ มน�ำ ราษฎร์ร่มเย็นเป็นสขุ ศานต์

“…การแก้ปัญหาน้ัน ถ้าไม่ท�ำให้ถูกเหตุถูกทาง
ด้วยความรอบคอบระมัดระวัง มักจะกลายเป็นการเพิ่ม
ปัญหาให้มากและยุ่งยากข้ึน แต่ละฝ่ายจึงควรจะต้ังใจ
พยายามท�ำความคิดความเห็นให้กระจ่างและเที่ยงตรง
เพอื่ จกั ไดส้ ามารถเขา้ ใจปญั หาและเขา้ ใจกนั และกนั อยา่ ง
ถกู ตอ้ ง ความเข้าใจทถี่ กู ตอ้ งแนช่ ดั นี้ จะชว่ ยใหเ้ ล็งเหน็
แนวทางปฏิบัติแก้ไขอันเหมาะสม ซึ่งจะน�ำไปใช้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ อีกประการหนึ่ง อันเป็นข้อส�ำคัญ
ทกุ ฝ่ายจะต้องตระหนักในใจเสมอวา่ ประโยชน์ส่วนรวม
นั้นเป็นประโยชน์ที่แต่ละคนพึงยึดถือเป็นเป้าหมายหลัก
ในการปฏิบัติตนและปฏิบัติงาน เพราะเป็นประโยชน์ท่ี
ยง่ั ยนื แท้จริง ซง่ึ ทกุ คนมีสว่ นไดร้ ับทัว่ ถงึ กัน…”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส
ขึน้ ปีใหม่ พทุ ธศักราช ๒๕๓๓ วนั อาทิตย์ ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๒

139

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎร์ร่มเยน็ เปน็ สุขศานต์

“…บ้านเมืองไทยของเราด�ำรงมั่นคงมาช้านาน
เพราะคนไทยมีความพร้อมเพรียงกันเข้มแข็ง ถึงจะมี
ความเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนบ้างตามกาลตามสมัย ก็เป็น
ไปตามความปรารถนาของพวกเราเอง ทจี่ ะทำ� ใหป้ ระเทศ
ชาตเิ จรญิ ก้าวหนา้ การทำ� นุบำ� รงุ บา้ นเมืองน้ัน เป็นงาน
สว่ นรวมของคนทั้งชาติ จงึ เป็นธรรมดาอย่เู อง ท่ีจะตอ้ ง
มีความขัดแย้งเกิดข้ึนบ้าง จะให้ทุกคนทุกฝ่ายมีความ
คิดเหน็ สอดคล้องต้องกนั ตลอดทกุ ๆ เรือ่ งไป ยอ่ มเป็น
การผิดวสิ ยั เพราะฉะนนั้ แต่ละฝ่าย แต่ละคนจึงควรจะ
ค�ำนึงถึงจุดประสงค์ร่วมกัน คือความเจริญไพบูลย์ของ
ชาติ เปน็ ข้อใหญ…่ ”

พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส
ข้ึนปีใหม่ พทุ ธศักราช ๒๕๓๕ วนั องั คาร ท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๔

140

พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำ ราษฎรร์ ่มเย็นเปน็ สขุ ศานต์

“…บ้านเมืองของเราเป็นปึกแผ่นม่ันคง มีอิสรภาพ
และความร่มเย็นเป็นปรกติสุขสืบมาช้านาน เพราะเรามี
ความยึดมั่นในชาติ และต่างร่วมแรงร่วมใจกันบ�ำเพ็ญ
กรณียกจิ ตา่ ง ๆ ตามหนา้ ที่ ใหส้ อดคล้องและเกอ้ื กลู กัน
เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของชาติ คนไทยทุกคนจึงควรจะ
ได้ตระหนักในขอ้ น้ีใหม้ าก โดยเฉพาะภาวการณใ์ นระยะ
ปัจจุบันน้ี อาจกล่าวได้ว่าหากคนไทยเราประพฤติตน
ปฏบิ ตั งิ าน โดยขาดจติ สำ� นกึ ในประโยชนร์ ว่ มกนั ของชาติ
แลว้ กจ็ ะเปน็ อนั ตรายอยา่ งยงิ่ แกค่ วามมนั่ คงของชาต…ิ ”

พระราชดำ� รสั ในการเสดจ็ ออกมหาสมาคม ในงานพระราชพธิ ี
เฉลมิ พระชนมพรรษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๘ วนั จนั ทร์ ที่ ๕ ธนั วาคม
๒๕๔๘

141

พระบรมราโชวาท
น้อมนำ�ราษฎรร์ ่มเยน็ เปน็ สุขศานต์

“…ถ้าเราสามารถที่จะสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
ศาสนากบั การศกึ ษาและชวี ติ ของคนทมี่ มี ากขน้ึ ๆ ใหก้ ลบั
มาเปน็ อยา่ งเดมิ เหมอื นอยา่ งของเกา่ ของโบราณของเรา
คอื ให้รู้สึกวา่ โรงเรียนกค็ อื วดั วัดคือโรงเรยี น กจ็ ะทำ� ให้
บ้านเมอื งมีอนุชนที่มีความสามารถในทางวิชาการและมี
จติ ใจสงู มจี ติ ใจดี เปน็ พลเมอื งดตี อ่ ไป จะชว่ ยใหส้ ว่ นรวม
สามารถทีจ่ ะด�ำเนินตอ่ ไปได้โดยสวัสดี…”

พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะกรรมการธนาคาร
กรุงเทพ ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันพฤหสั บดี ท่ี ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๔

142



พระบรมราโชวาท
น้อมน�ำราษฎร์ร่มเย็นเป็นสขุ ศานต์
กระทรวงวัฒนธรรม
จดั พิมพ์ จำ� นวน ๑๐๐,๐๐๐ เล่ม
ISBN 978-616-543-418-8

ด�ำเนนิ การโดย
กล่มุ ประชาสมั พนั ธ์ ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
๖๖๖ ถนนบรมราชชนนี แขวงบางบ�ำหรุ เขตบางพลัด
กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐
โทร. ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๕๓-๕ ๑๗๖๕
www.m-culture.go.th



ส�ำนักนายกรฐั มนตรี

Office of The Prime Minister

กระทรวงวฒั นธรรม
Ministry of Culture


Click to View FlipBook Version