The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-06-02 01:17:39

การจัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สิน

การจัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สิน

Keywords: การจัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สิน

กองสง่ กำลังบำรุง อรู่ าชนาวีมหดิ ลอดุลยเดช กรมอยูท่ หารเรือ

แบบรายงาน วธิ หี รือแนวทางปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลิศ

ชือ่ ผลงาน วิธีหรอื แนวทางปฏิบัตงิ านทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice)
การจดั ทำทะเบียนคมุ ทรัพย์สิน

คำสำคัญ
การจดั ทำทะเบียนคมุ ทรพั ยส์ นิ , การคำนวณค่าเสือ่ มราคา, การตรวจสอบพัสดปุ ระจำปี

1. เกร่นิ นำ
กระบวนการ/วธิ ีการดำเนินการในอดีต

เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนการปฏิรูประบบบริหารภาครัฐตาม
ข้อเสนอของคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ โดยแผนหนึ่งในการปฏิรูป คือ แผนการปรับเปล่ียนระบบ
งบประมาณจากระบบปัจจุบันเป็นระบบที่มุ่งเน้นผลงาน และผลลัพธ์ และปรับเปลี่ยนระบบบัญชีส่วนราชการ
ซ่ึงแนวทางการปรับเปลย่ี นนั้น กระทรวงการคลังจะเปล่ียนหลักการบัญชีภาครัฐ จากระบบบัญชีที่ใช้เกณฑ์เงิน
สด คือ การบันทึกรายการบัญชีเฉพาะเมื่อมีการรับ-จ่าย เงินสดเป็นเกณฑ์คงค้าง หรือเกณฑ์พึงรับ พึงจ่าย
คอื บันทกึ รายได้ คา่ ใช้จา่ ยที่เกิดข้นึ แล้วในรอบระยะเวลาบัญชไี ม่ว่าจะไดร้ บั หรอื จา่ ยเป็นเงินสดแล้วหรอื ไม่ก็ตาม
รวมท้ังต้องบันทึกแสดงรายการและมูลค่าทรัพย์สิน หนี้สินในระบบบัญชีด้วย เพ่ือให้ข้อมูลทางบัญชีแสดงผล
การดำเนินงานและฐานะการเงินที่ถูกต้องย่ิงขึ้น และนำไปสู่การคำนวณตามภารกิจต่าง ๆ ได้ในระยะยาว
เพอ่ื ให้มกี ารเตรียมความพร้อมของขอ้ มูลประเภททรัพย์สนิ ถาวรทีเ่ ป็นครุภัณฑ์ อาคาร และสงิ่ ก่อสรา้ งของส่วน
ราชการ กระทรวงการคลังจึงได้แจ้งให้ส่วนราชการสำรวจทรัพย์สินของทางราชการ และจัดทำทะเบียนคุม
ทรพั ย์สินถาวร ทั้งทจ่ี ัดซือ้ หรอื จัดหามาโดยใช้เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินบริจาค เงินชว่ ยเหลือ
และเงินอ่ืน ๆ ท่ียังมิได้บันทึกควบคุมไว้ในทะเบียนครุภัณฑ์ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม ให้มีข้อมูลครบถ้วนถูกต้องทุกรายการ โดยเฉพาะข้อมูลท่ีเกี่ยวกับราคา และ
วนั ท่ีได้รบั ทรัพย์สิน เพื่อประโยชน์ในการตีราคาทรัพย์สินเพื่อบันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง สำหรบั อาคารและ
สิ่งก่อสร้างซึ่งโดยปกติจะต้องจดทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุตามกฎกระทรวงการคลังที่ออกตามความใน
พระราชบัญญัตทิ ีร่ าชพัสดุ พ.ศ. 2518 และท่ีแก้ไขเพิ่มเตมิ หากยงั มิได้จัดทำทะเบยี นไว้ หรอื มีขอ้ มูลไม่สมบูรณ์
ให้ประสานงานกับกรมธนารักษ์ หรือสำนักงานธนารักษ์จังหวัด เพื่อขอข้อมูลจากระบบท่ีราชพัสดุได้ โดยให้
เร่ิมดำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ 2543 เป็นต้นมา และให้ดำเนินการให้เสร็จส้ินภายในปีงบประมาณ 2544
และเก็บข้อมูลไว้ ณ ส่วนราชการผู้ครอบครองดูแลทรัพย์สินถาวรนั้น ๆ ต่อมากระทรวงการคลังโดย
กรมบัญชีกลางได้แจ้งให้ส่วนราชการตีราคาทรัพย์สิน รวมท้ังหามูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และรายงานให้ทราบ

หนา้ 1

กองส่งกำลังบำรงุ อูร่ าชนาวมี หดิ ลอดุลยเดช กรมอยทู่ หารเรอื

ภายในไตรมาสที่ 2 ของปีงบประมาณ 2545 (เดอื นมีนาคม 2545) ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สดุ ที่ กค
0528.2/ ว 33545 ลงวนั ท่ี 16 พฤศจิกายน 2544 เรือ่ ง การตีราคาทรัพย์สิน

สภาพท่วั ไป
1. ในปี งป.๖๒ ท่ีผ่านมาทุกหน่วยงานของ ทร. ทำดีต้ังแต่จุดเร่ิมต้นจนถึงปลายทางในทุกองค์และทุกด้าน

และคว้าสำเร็จในงานทุกอย่างที่ทำผ่าน “ข้ันวางรากฐาน” ส่งผลให้บรรลุวิสัยทัศน์ ทร. เรียบร้อยแล้ว ดังนั้น
นโยบาย ผบ.ทร. ประจำปี ๖๓ จึงได้กำหนดหัวข้อเฉพาะนโยบายสำคัญ เพ่ือนำ ทร. ไปสู่ “ข้ันรุกคืบหน้า
สถาปนาความมั่นคง” (Moving Forward to Ensure Sustainability : MFES) โดยอยู่บนหลักคิดพ้ืนฐานที่ว่า
“ทีม่ อี ยู่ต้องรักษาใหอ้ ยู่ แลว้ พฒั นาต่อไป”

2. แนวความคิดในการเบิกนำ้ มนั เชอื้ เพลงิ สำหรบั ใช้งานเปน็ กรณพี ิเศษของ อู่ราชนาวมี หดิ ลอดลุ ยเดช
การปฏิบัติงานเป็นกรณีพิเศษ หมายถึง ภารกิจพิเศษที่หน่วยได้รับคำส่ังให้ปฏิบัตินอกเหนือจากงาน
ทางธุรการปกติ ท่ีเกิดขึ้นเป็นคร้ังคราว โดยไม่สามารถคาดหมายเป็นการล่วงหน้าได้ ซ่ึงหน่วยท่ีจะขอเบิก
จะต้องเป็นหน่วยในระดับ นขต.ทร. หรือ หน่วยท่ี ผบ.หน่วย ได้รับมอบอำนาจจาก ผบ.ทร. ในการส่ังการใช้
ยานพาหนะไปราชการต่างจังหวัด ตามคำสั่ง ทร. ท่ีเก่ียวข้องในเร่ืองการมอบอำนาจสั่งการและทำการแทน
ในนามผบู้ ัญชาการทหารเรือ สำหรับหน่วยในระดับรองลงมาจะต้องเสนอตามลำดับชั้นจนถึง ผบ.หน่วย ตามท่ี
กำหนดขา้ งต้นเปน็ ผูข้ อเบิก

3. พธ.ทร. ได้ดำเนินการจัดทำระบบงานเบิกจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือ
e-SUPPOL เพ่ือให้การเบิกจ่ายของหน่วยต่าง ๆ ใน ทร. เป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยให้
หน่วยต่าง ๆ ใน ทร. ประมาณ ๕๐ หน่วย เป็นหน่วยนำร่องในการทดสอบการเบิกจ่ายน้ำมันเช้ือเพลิงผ่าน
ระบบ e-SUPPOL ตั้งแต่ ๑ ต.ค.๕๘ และให้งดเว้นการดำเนินการตามวิธีปฏิบัติในการเบิกจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิง
หล่อล่ืน และแก๊สชนิดตา่ ง ๆ พ.ศ.๒๕๕๒ และใหด้ ำเนินการตามวิธีปฏิบัติในการเบิกจา่ ยน้ำมันเช้ือเพลงิ หล่อล่ืน
และแกส๊ ชนดิ ต่าง ๆ แทน

ลักษณะสำคญั ของวิธีหรือแนวทางปฏิบตั ทิ ี่เป็นเลิศ
1. ผูบ้ งั คบั บญั ชาระดบั สูงเหน็ ความสำคัญ

หน้า 2

กองส่งกำลงั บำรุง อู่ราชนาวมี หดิ ลอดุลยเดช กรมอย่ทู หารเรอื

2. ทกั ษะการสบื ค้นข้อมลู และการอา่ นสร้างความเข้าใจ
3. การติดตอ่ ส่ือสารและประสานงานระหว่างเจ้าหนา้ ที่และหนว่ ยทเ่ี ก่ยี วข้อง
4. ความรู้ทีไ่ ด้รบั จากการศึกษาอบรม ผ่านหลกั สูตรต่าง ๆ

วตั ถุประสงค์ของวธิ ีหรือแนวทางปฏบิ ัตทิ ี่เป็นเลศิ
1. เพ่ือให้หน่วยต่าง ๆ ใน อรม.อร. มีความเข้าใจในขั้นตอนการปฏิบัติที่ถูกต้องในการเสนอขอรับการ

สนับสนุนน้ำมันเช้อื เพลงิ เปน็ กรณีพเิ ศษ นอกเหนือจากการปฏิบัติภารกิจทางธรุ การปกตขิ องหนว่ ย
2. เพ่ือให้เกดิ ความรวดเร็วและมีประสิทธภิ าพในการเบิกยืมน้ำมนั เช้อื เพลิงเป็นกรณีพิเศษ และสามารถ

สนบั สนนุ ภารกจิ ของหน่วยได้
3. การเบิกน้ำมันเชื้อเพลิงตามหลักเกณฑ์น้ี ทร. จะอนุมัติ หรือกำหนดเป็นชนิด จำนวนน้ำมันเช้ือเพลิง

และ/หรอื วงเงินค่านำ้ มนั เชอื้ เพลิงไวแ้ ลว้ หนว่ ยจงึ จะสามารถเบกิ นำ้ มันเชือ้ เพลิงฯ ได้

เป้าหมาย
กองส่งกำลังบำรุง อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ มีกระบวนการข้ันตอนในการปฏิบัติ

ท่ีถูกต้องในการเสนอขอรับการสนับสนุนน้ำมันเชื้อเพลิงเป็นกรณีพิเศษ นอกเหนือจากการปฏิบัติภารกิจทาง
ธุรการปกติของหน่วย เพื่อสนับสนุนน้ำมันเช้ือเพลิงให้หน่วยต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ และ
หน่วยตา่ ง ๆ สามารถปฏบิ ตั ภิ ารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายเป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย

2. ลำดบั ข้ันตอนการดำเนินกิจกรรมพัฒนา (Flow Chart) (แผนภูม)ิ ของ วิธีหรือแนวทางปฏิบัตทิ ี่เป็นเลศิ

เสนอความต้องการตามลำดับชั้นถงึ
หนว่ ยต้นสงั กัด

เสนอ พธ.ทร. (ผา่ น กชพ.พธ.ทร.) ขออนุมัติ
เบิกยืมน้ำมนั ฯ ไปใช้ราชการกอ่ น

หน่วยระดบั นขต.ทร. ท่ไี ด้รับอนมุ ัติ หน้า 3
จัดสรรนำ้ มันเช้ือเพลิงพจิ ารณาแบ่งสรร
น้ำมันเช้อื เพลิงให้กับหน่วยรองลงไป

กองส่งกำลงั บำรงุ อรู่ าชนาวมี หดิ ลอดลุ ยเดช กรมอย่ทู หารเรือ

กรณีทห่ี น่วยมสี ถานีบรกิ ารนำ้ มัน ฯ ส่วนกลางของ ทร.ให้ ผบ.หนว่ ย
ระดับ นขต.ทร. อนุมัตจิ า่ ยยืมนำ้ มัน ฯ ที่ พธ.ทร. ฝากสำรอง
สถานีบรกิ ารน้ำมนั ฯ ไปใช้ราชการกอ่ นได้

หนว่ ยเสนอความต้องการตามลำดบั ชั้นถึงหนว่ ยต้นสังกดั ระดบั
นขต.ทร. /ผบ.หนว่ ย ตามข้อ ๓. เพ่ือเสนอ พธ.ทร. (ผา่ น

กชพ.พธ.ทร.) ขออนมุ ตั ิเบิกน้ำมนั ฯ ทดแทนได้ตามจำนวนที่ใชจ้ ริง

3. ผลการดำเนนิ การ
ตามท่ี พธ.ทร. ได้นำระบบงานเบิกจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรอื e-SUPPOL มาใช้

และให้งดเว้นการดำเนินการตามวิธีปฏิบัติในการเบิกจ่ายน้ำมันเช้ือเพลิง หล่อล่นื และแก๊สชนิดต่าง ๆ พ.ศ.๒๕๕๒
ทำให้การเบกิ จ่ายน้ำมันเชือ้ เพลิงของ อรม.อร. เป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธภิ าพ สามารถตรวจสอบ
สถานะในการเบิกจ่าย รวมถึงการควบคมุ การใชน้ ้ำมนั เชือ้ เพลงิ ให้เพียงพอต่อการใช้งานภายในหน่วย

4. บทเรียนท่ไี ด้รับ
- ลดข้นั ตอนและวิธกี ารปฏิบัตใิ นการเบกิ จา่ ยน้ำมนั เช้ือเพลิง หลอ่ ล่นื และแก๊สชนิดตา่ งๆ
- สามารถควบคุมการเบกิ -จ่ายน้ำมนั เชอ้ื เพลงิ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
- กำลังพลทสี่ นใจสามารถศึกษาขอ้ มูล และวิธีปฏิบตั ิการเบกิ จ่ายฯ ได้

5. ปัจจยั ความสำเร็จ
1. ผบู้ ังคบั บญั ชาใหค้ วามสำคัญ สนับสนุนใหม้ กี ารพัฒนา ปรบั ปรุงให้ดขี ึ้น
2. ทักษะการสบื ค้นข้อมูลและการอ่านสร้างความเข้าใจ

หน้า 4

กองสง่ กำลังบำรงุ อู่ราชนาวีมหดิ ลอดุลยเดช กรมอยทู่ หารเรือ

3. ผู้ปฏบิ ัติงานรว่ มกนั เสนอความคิดเห็น เพ่ือให้การปฏิบัตงิ านเกิดประโยชนส์ งู สดุ
4. การตดิ ตอ่ ประสานงานระหว่างเจา้ หน้าท่ีและหน่วยท่ีเกี่ยวข้อง
5. ความรู้ทไ่ี ด้รบั จากการศกึ ษาอบรม ผา่ นหลกั สูตรตา่ ง ๆ ท้ังใน ทร. และนอก ทร.
6. การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรับ และ/หรือรางวัลทไ่ี ด้รับ
การจัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สินเป็นการปฏิบัติงานการตรวจสอบ การควบคุมวัสดุ ครุภัณฑ์
และรถราชการ ซ่ึงเป็นหน่ึงในการปฏิบัติการบริหารงานด้านพัสดุ ต่อเน่ืองจากดำเนินการด้านคลังพัสดุ
ที่ได้มกี ารเกบ็ รกั ษาพัสดุ เพ่อื จา่ ยพัสดใุ ห้กับหนว่ ยผู้ใช้งานตอ่ ไป
7. ภาคผนวก (ร่องรอย หลกั ฐาน ภาพถา่ ย ชิ้นงาน ฯลฯ)
- พระราชบัญญัติ การจัดซอื้ จัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560

หนา้ 5


Click to View FlipBook Version