The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์ฯ ตำบลบัวเงิน 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Savitri Srimongkol, 2021-11-02 05:08:17

รายงานโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์ฯ ตำบลบัวเงิน 2564

รายงานโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์ฯ ตำบลบัวเงิน 2564

รายงานฉบับสมบรู ณ์

โครงการพฒั นาการใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากร

พนื้ ที่ต้าบลบวั เงิน อ้าเภอนา้ พอง จังหวัดขอนแก่น
และต้าบลกดุ เคา้ อ้าเภอมัญจาครี ี จงั หวดั ขอนแกน่

ประจ้าปีงบประมาณ 2564

โดย ศนู ยป์ ระสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ตุลาคม 2564

รายงานฉบบั สมบูรณ์

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
พ้นื ที่ต้าบลบวั เงนิ อ้าเภอนา้ พอง จังหวดั ขอนแก่น
และต้าบลกดุ เคา้ อา้ เภอมัญจาครี ี จังหวดั ขอนแก่น

ประจา้ ปงี บประมาณ 2564

คณะท้างาน

1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ จุฑาพร แสวงแก้ว หวั หน้าโครงการ
ผู้ประสานงานโครงการ
2. นางลกั ษกิ า พิลาโท นกั วขิ าการศกึ ษา ผู้ร่วมดา้ เนนิ งาน
ผู้รว่ มดา้ เนนิ งาน
3. นางสาวณันชธ์ ิชา จ้าใบ นักวชิ าการศกึ ษา ผรู้ ว่ มด้าเนินงาน
วทิ ยากร
4. นางสาวสาวิตรี ศรมี งคล นักวิชาการศึกษา วทิ ยากร
วทิ ยากร
5. นางสาววริษฏา หงส์กาญจนกลุ นกั วิชาการศกึ ษา

6. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

7. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

8. ศูนยห์ ม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ ขอนแก่น

กโครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 |

คำนำ

ด้วยศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นหน่วยงาน
ประสานการบริการวิชาการแบบสหสาขาวทิ ยาการ เพื่อนาวทิ ยาการไปปรบั ใชเ้ พ่ือความเหมาะสมในสภาพจริง
ตามบรบิ ทชมุ ชน จนพฒั นาต้นแบบการดาเนินงานสนับสนุนใหเ้ กดิ การปรับเปลยี่ นพฤติกรรมการดารงชีวิตของ
บุคคลในชุมชนเพื่อการพึ่งพาตนเอง เป็นกระบวนการมีผลในการบรรเทาความเดือดร้อนจากความยากจนได้
ดังน้ันการดาเนินโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ภายใต้โครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากร
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน ศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น จงึ เลือกพน้ื ทนี่ ารอ่ งเพอ่ื พฒั นาศักยภาพและยกระดบั ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน เพ่ือส่งเสริมและ
สนับสนนุ กระบวนการบรหิ ารจดั การทรัพยากร/กลุ่มอาชพี และเพอ่ื สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรู้การดาเนินงาน
ร่วมกันแบบมีส่วนร่วม ในพ้ืนที่สนองพระราชดาริโครงการอนุรักษ์พันธ์ุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) งานฐานทรัพยากรท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัด
ขอนแกน่ คือ ตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี และตาบลบัวเงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น

เอกสารฉบับนี้เป็นรายงานผลการดาเนินโครงการฯ ในพ้ืนที่ตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี และตาบล
บวั เงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น เน้ือหาโดยสังเขปประกอบด้วยข้อมูลพ้ืนฐานชุมชน แผนการส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และสรุปผลการดาเนินโครงการฯ
คณะทางานหวังเป็นอย่างย่ิงว่าข้อมูลน้ีจะเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างหน่ึงให้แก่กลุ่มอาชีพต่างๆ และผู้สนใจอื่นๆ
อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ ไป

ตลุ าคม 2564
คณะทางาน

ขโครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 |

กิตติกรรมประกาศ

การดาเนินโครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใต้โครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากร
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน โดยศูนย์ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ 2564 สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณา และอนุเคราะห์จาก
องค์บริหารส่วนตาบลบัวเงิน อาเภอนาพอง และองค์บริหารส่วนตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี จังหวัด
ขอนแก่น นาโดย นายสุภศิลป์ โพธิ์มา นายกองค์การบริหารส่วนตาบลบัวเงิน และนางสาวอินทุอร ดอนจัน
ดา เจ้าหน้าท่ีประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธ์ุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ อพ.สธ. อบต.บัวเงิน
อาเภอนาพอง และนายสมสิน เชือวงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลกุดเค้า และนายประภาส ปรีชาเลิศ
ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ท่ีสนับสนุนการดาเนินงาน เสนอแนะ
ขอ้ คดิ เหน็ อานวยความสะดวกในการดาเนินโครงการฯ ด้วยดียงิ่ มาโดยตลอด

นอกจากนี คณะทางานขอกราบขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เยาวรัตน์ ศรีวรานนท์ และ
อาจารย์หยาดรุ้ง มะวงค์ไว อาจารย์จากสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ที่ได้กรุณาเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดจนเสนอแนะ
ข้อคิดเห็นเพ่ือแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชีพเป้าหมายในการบริหารจัดการกลุ่มและการจัดการ
ด้านการตลาด ขอขอบพระคณุ อาจารย์เอกนารี แก้ววิศิษฎ์ อาจารย์จากสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ทไี่ ด้กรณุ าเปน็ วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้และร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้
ตลอดจนเสนอแนะข้อคิดเห็นเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชีพเป้าหมายในการ ออกแบบโลโก้
และบรรจุภัณฑ์แกก่ ลมุ่ อาชีพ และคณุ พิมลรตั น์ เมธนิ ธรงั สรรค์ คุณสพุ จน์ บรรเทา คุณอารีย์รัตน์ พระภูวงศ์
และคุณวีรพงศ์ ศรหี าพล บคุ ลากรศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ ขอนแก่น ท่ีได้กรุณาให้ข้อคิด คาแนะนา
และเป็นวทิ ยากรบรรยายพร้อมทังฝกึ ปฏิบัติการให้ความรู้การปลกู หมอ่ นเลียงไหม การฟอกย้อมสีเคมี และการ
ออกแบบลายผา้ เพ่ือให้การดาเนินโครงการดงั กลา่ วเสรจ็ สมบูรณ์ด้วยดี

ท้ายนี ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาพร แสวงแก้ว รักษาการแทนผู้อานวยการศูนย์
ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และบุคลากร ศูนย์ประสานงาน
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ให้กาลังใจและให้ความช่วยเหลือจนงานสาเร็จ
ลุล่วงด้วยดี

คณะทางาน

คโครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 |

บทสรปุ ผู้บรหิ าร

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ภายใต้โครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพ่ือการ
อนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน ศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เลอื กพ้นื ทสี่ นองพระราชดาริโครงการอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) งานฐานทรัพยากรท้องถ่ินในพื้นที่จังหวัด
ขอนแก่น คือ ตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี และตาบลบัวเงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นพ้ืนที่
ดาเนินการ ประจาปีงบประมาณ 2564 คณะทางานได้รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิโดยการสัมภาษณ์
บันทึก รวมทั้งสารวจภาคสนาม ข้ันตอนต่อมาได้มีการวิเคราะห์ข้อมูลด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจท่ี
ชัดเจนร่วมกัน และจัดทาร่างแผนปฏิบัติการโดยเสนอกิจกรรม/โครงการย่อยที่จะเป็นไปได้ภายใต้ยุทธศาสตร์
และกลยุทธ์ที่ได้กาหนดไว้ของโครงการ หลังจากได้ร่างแผนปฏิบัติการแล้วคณะทางานได้นาแผนปฏิบัติการ
เสนอให้ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายมสี ว่ นรว่ มในการประชาพิจารณเ์ พอื่ ปรบั ปรุงแก้ไขให้เหมาะสมต่อไป

ผลจากการจัดทาแผนพัฒนาการดาเนินโครงการ พบว่า องค์การบริหารส่วนตาบลกุดเค้า อาเภอ
มัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น มีพ้ืนที่ครอบคลุม 14 หมู่บ้าน ประชากรรวมท้ังสิ้น 8,911 คน โดยประชากรใน
พื้นทอ่ี ายุระหวา่ ง 15-65 ปี ข้นึ ไปมรี ายไดจ้ ากการประกอบอาชีพและเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ ประชากรส่วนใหญ่ใน
ตาบลประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก นอกจากน้ียังมีการรวมกลุ่มอาชีพเพ่ือทากิจกรรมร่วมกันและสร้าง
รายได้เสริมให้แก่ครัวเรือนด้วย สาหรับตาบลบัวเงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น มีพื้นที่ครอบคลุม 17
หมู่บ้าน ประชากรรวมท้ังสิ้น 12,124 คน มีความหนาแน่นของประชากร 137 คนต่อตารางกิโลเมตร โดย
ประชากรในพ้ืนท่ีอายุระหว่าง 20-65 ปี ขึ้นไปมีรายได้จากการประกอบอาชีพและเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ
ประชากรส่วนใหญ่ในตาบลประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก นอกจากน้ียังมีการรวมกลุ่มอาชีพเพ่ือทา
กจิ กรรมรว่ มกนั และสร้างรายได้เสรมิ ใหแ้ กค่ รวั เรือนร่วมด้วย แต่ในการดาเนินงานกลุ่มอาชีพในปัจจุบันยังขาด
ความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการกลุ่ม การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่ม การตลาด และการจัดทาโลโก้และบรรจุ
ภัณฑ์กลุ่มอย่างถูกต้องเหมาะสม โดยศูนย์ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้สนับสนุนองค์ความรู้เพ่ือพัฒนาและแก้ไขปัญหาแก่กลุ่มอาชีพเป้าหมายเพื่อให้เกิด
แผนพฒั นาแบบมสี ว่ นร่วม เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจการในการดาเนินงานอยา่ งถูกต้องเหมาะสม แก้ไขปัญหาการ
ที่เกิดข้ึน ส่งผลให้เกิดการบริหารจัดการกลุ่มอย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษร มีการพัฒนาสินค้าให้
สวยงามและมีคณุ ภาพมากย่งิ ขน้ึ พฒั นาใหเ้ กดิ โลโกแ้ ละออกแบบบรรจุภัณฑ์กลุ่มเพ่ือให้เกิดอัตลักษณ์และการ
จดจาแก่กลุ่มลูกค้าและผู้สนใจอ่ืนๆ พัฒนาระบบการตลาดนอกจากตลาดชุมชนเป็นการทาการแบบออนไลน์

คโครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 |

เพ่ือให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ทุกเพศทุกวัยและเป็นที่รู้จักมากข้ึนข้ึน อีกท้ังยังสามารถเกิดภาคีเครือข่ายการ
สนับสนุนองค์ความรู้และวัสดุอุปกรณ์ในการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง และภาคีเครือข่าย
ความรู้และการตลาดจากกลุ่มอาชีพผู้ผลิตสินค้าในลักษณะเดียวกันทั้งภายในชุมขนและภายนอกชุมชนเพ่ิม
มากยง่ิ ขึ้น เปน็ แนวทางให้เกดิ การสรา้ งรายได้ให้แก่กลุ่มได้มากย่ิงขน้ึ ได้อีกด้วย

สารบัญ

คานา หนา้
กิตตกิ รรมประกาศ ก
บทสรปุ ผูบ้ ริหาร ข
บทท่ี 1 บทนา ค

ทม่ี าและความสาคญั 1
พระราชดารัสพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลที่ 9 ที่เก่ยี วข้องด้านการทางานกลมุ่ 1
วตั ถปุ ระสงคก์ ารดาเนนิ โครงการบริการวิชาการ 2
ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 2
กล่มุ เปา้ หมายและพ้นื ที่ดาเนินการ 2
ระยะเวลาและพืน้ ท่ดี าเนนิ การ 2
บทท่ี 2 วธิ ีการดาเนนิ งาน
ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ งทใี่ ช้ในการดาเนินโครงการ 3
กลุม่ ตวั อย่าง/กล่มุ เป้าหมาย 3
เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการดาเนินโครงการ 4
ข้นั ตอนและวิธกี ารดาเนนิ งานตลอดโครงการ 4
บทที่ 3 ผลการดาเนินงาน
ขอ้ มลู พ้ืนฐานชมุ ชน 5
แผนการสง่ เสริมกระบวนการเรียนรูแ้ บบมีสว่ นรว่ ม 10
กจิ กรรมการสง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้
15
กิจกรรมการพฒั นาผลิตภัณฑ์ชุมชน 46
กจิ กรรมการพฒั นาโลโก้ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน 58
กจิ กรรมการบรหิ ารจัดการกลมุ่ 67
กิจกรรมการจัดการดา้ นการตลาด 73
บทที่ 4 บทสรุป

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 1

บทที่ 1
บทนำ

1. ที่มำและควำมสำคัญ
การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เป็นการน้อมนาแนวพระราชดาริในหลวงรัชกาลท่ี 9 มา

เพอื่ ปรับและประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ งาน เปน็ การดาเนินงานตามแระเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การดาเนินงานของ
ศูนย์ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การบริการวิชาการ เพ่ือ
เสริมสร้างการพัฒนาท่ีย่ังยืนตามแนวพระราชดาริและพระดาริ กลยุทธ์ที่ 1 การบริการวิชาการตามแนว
พระราชดาริและพระดาริ การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนนอกจากจะเป็นวิธีการหนึ่งในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
แล้ว ยังเป็นกระบวนการพัฒนาความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรมในการดารงชีวิตของชาวบ้านในชนบท เริ่ม
จากการปรับเปล่ียนความคิดท่ีต้องหันมาพ่ึงตนเองก่อนเป็นอันดับแรก เปลี่ยนระบบการผลิตเพ่ือขายมาเป็น
การผลิตเพ่ือยงั ชพี ก่อน เม่อื เหลือเกินความตอ้ งการแล้วจึงขาย การขายผลผลิตก็ต้องสร้างมูลค่าเพ่ิมให้มากข้ึน
โดยการแปรรปู การผลติ การรวมกันขาย ตลอดจนการทาธรุ กจิ รว่ มกับภาคเอกชนบนพื้นฐานความเท่าเทียมกัน
และผลประโยชน์ร่วมกัน ความสาเร็จของกลุ่มเหล่านั้นเกิดจากความร่วมมือ ความสามัคคี และความเข้าใจใน
ศักยภาพของชุมชน จึงจะสามารถรวมตัวกันทากิจกรรมเพ่ือช่วยเหลือซ่ึงกันและกันระหว่างกลุ่ม ระหว่าง
ชุมชนได้ การส่งเสริมกระบวนการดาเนนิ งานในลักษณะกลุ่มอาชีพซ่ึงเป็นแนวทางการพัฒนารูปแบบหน่ึงของ
การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนจึงเป็นส่ิงที่สาคัญในปัจจุบัน และด้วยสถานการณ์ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจใน
ปจั จบุ นั สง่ ผลใหค้ ่าครองชีพสงู ขึน้ แตร่ ายไดย้ งั คงที่หรอื อาจจะต่าลง ส่งผลใหเ้ กิดภาวะหนส้ี นิ และการออมลดลง
ดังน้ันการดาเนินกิจกรรมในลักษณะของกลุ่มอาชีพจึงเป็นสิ่งสาคัญและเป็นทางเลือกอีกทางหน่ึงท่ีจะช่วยให้
ครัวเรือนและชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นหรือสามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้ การส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมกลุ่ม
อาชพี โดยได้รบั การสนับสนุนและสง่ เสริมทั้งภาครฐั และเอกชนจึงมีมากขน้ึ ดังจะเห็นในปัจจุบนั

2. พระราชดารัสพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 9 ท่ีเกีย่ วข้องด้านการทางานกล่มุ
“...การกสิกรรมและอาชีพในด้านเกษตรทุกทุกอย่างย่อมต้องอาศัยปัจจัยสาคัญหลายด้าน ด้านหนึ่งก็คือหลัก
วิชาของการเพาะปลกู เปน็ ตน้ และอกี ด้านหนงึ่ กเ็ ปน็ การชว่ ยใหเ้ พม่ิ หลกั วชิ าเหล่านั้น และเม่ือได้ปฏิบัติแล้วได้
ผลิตผลแล้วก็จะต้องสามารถดัดแปลงและขายจาหน่ายผลิตผลที่ตนได้ทา ฉะนั้นทุกอย่างต้องสอดคล้องกัน
ความขยันหมั่นเพียรในการผลิต ความรู้ในวิชาการผลิตและความรู้ในการเป็นอยู่ ทั้งความรู้ในด้านจาหน่าย
ลว้ นเป็นความรทู้ จ่ี ะต้องประสานกันหมด...”

ความตอนหนง่ึ ในพระราชดารสั
ในโอกาสที่คณะกรรมการสหกรณก์ ารเกษตร สหกรณน์ ิคม สหกรณป์ ระมง และสมาชกิ ผู้รับนมสดเข้าเฝา้ ฯ

ณ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
วันที่ 8 พฤษภาคม 2530

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 2

3. วัตถุประสงคก์ ำรดำเนนิ โครงกำรบรกิ ำรวชิ ำกำร
3.1 เพ่ือพัฒนาศักยภาพและยกระดบั ผลติ ภัณฑช์ ุมชน
3.2 เพ่อื สง่ เสริมและสนบั สนุนกระบวนการบรหิ ารจดั การทรพั ยากร/กลุม่ อาชพี
3.3 เพ่อื สง่ เสริมกระบวนการเรยี นรู้การดาเนินงานรว่ มกันแบบมสี ่วนร่วม

4. ประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะไดร้ ับ
4.1 เกิดการพัฒนาศักยภาพและยกระดบั ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน
4.2 เกดิ การส่งเสรมิ และสนบั สนุนกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากร/กลมุ่ อาชีพ
4.3 เกิดการส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้การดาเนินงานรว่ มกันแบบมสี ่วนรว่ ม

5. กลุม่ เปำ้ หมำย
5.1 บุคลากรมหาวิทยาลยั ขอนแกน่
5.2 บุคลากรองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
5.3 ตัวแทนเกษตรกรพนื้ ทีเ่ ป้าหมาย
5.4 บคุ ลากรหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชนท่เี กี่ยวข้อง

6. ระยะเวลำและพื้นทีด่ ำเนินกำร
โครงการน้ใี ชร้ ะยะเวลาในการดาเนินงานทั้งส้ิน 11 เดือน เร่ิมดาเนินการตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563

– 30 กันยายน 2564 โดยพ้ืนท่ีเป้าหมายเป็นพ้ืนท่ีสนองพระราชดาริโครงการอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชอัน
เนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) งานฐานทรัพยากร
ทอ้ งถนิ่ ในพนื้ ทีจ่ งั หวัดขอนแก่น คือ ตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น และตาบลบัวเงิน อาเภอ
นา้ พอง จงั หวัดขอนแก่น

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 3

บทท่ี 2
วธิ ีกำรดำเนนิ งำน

การดาเนินโครงการบริการวิชาการคร้ังนี้เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ความรู้ แก่กลุ่มเป้าหมายใน
โครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ภายใต้โครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพ่ือการอนุรักษ์
และใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน ศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โดยมรี ายละเอียดของการดาเนนิ งาน ดังตอ่ ไปนี้

1. ประชำกรและกลุ่มตัวอยำ่ งท่ีใชใ้ นกำรดำเนินโครงกำร
1.1 ประชำกร
ประชากรในการดาเนินโครงการครั้งน้ี คือ ประชาชนในพ้ืนที่สนองพระราชดาริโครงการอนุรักษ์พันธุ์

กรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) งานฐาน
ทรัพยากรท้องถ่ินในพื้นท่ีจังหวัดขอนแก่น ได้แก่ ตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี และตาบลบัวเงิน อาเภอ
นา้ พอง จงั หวดั ขอนแกน่ รวมทง้ั สิน้ 100 ครัวเรอื น

1.2 กลุม่ ตวั อยำ่ ง/กลุ่มเป้ำหมำย
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ในปัจจุบัน และมาตราการการควบคุมโรค
ระบาดของจังหวัดขอนแกน่ คณะทางานได้กาหนดกลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการดาเนินโครงการคร้ัง
นี้ เปน็ ประชาชนผรู้ วมกลุ่มเพ่อื ประกอบอาชีพเสรมิ ในการสร้างรายได้เสริมในครัวเรือนโดยใช้วิธีการเลือกแบบ
เจาะจง (Purposive Sampling) รวมทงั้ ส้นิ 65 ครัวเรอื น ไดแ้ ก่

1.2.1) กลุ่มอาชีพแปรรูปเส่ือกกบ้านบัว หมู่ 1 ตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี จังหวัด
ขอนแก่น จานวน 15 ครวั เรือน

1.2.2) กลุ่มทอผ้าฝ้ายบา้ นหนองกุงขค้ี วง หมู่ 5 ตาบลบวั เงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น
จานวน 10 ครัวเรือน

1.2.3) กลมุ่ ทอผ้าไหมบา้ นหนองกุงขีค้ วง หมู่ 5 ตาบลบวั เงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น
จานวน 10 ครัวเรือน

1.2.4) กลุ่มทอผ้าฝ้ายบ้านคาบอน หมู่ 8 ตาบลบัวเงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น
จานวน 10 ครัวเรอื น

1.2.5) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านคาจ่ันเหนือ หมู่ 15 ตาบลบัวเงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น
จานวน 10 ครวั เรือน

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 4

1.2.6) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านคาจั่นกลาง หมู่ 16 ตาบลบัวเงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น
จานวน 10 ครัวเรอื น

2. เคร่อื งมอื ที่ใช้ในกำรดำเนินโครงกำร
เครื่องมือท่ีใช้ในการดาเนินงานตลอดโครงการ ได้แก่ การบันทึก การแลกเปลี่ยนสอบถาม

การสังเกต การจัดเวทีประชาคม การบรรยาย การอภิปรายแลกเปลยี่ นเรียนรู้ และการฝกึ ปฏิบตั จิ รงิ

3. ขน้ั ตอนและวิธีกำรดำเนินงำนตลอดโครงกำร
3.1 ประชมุ คณะทางานเพ่อื สรา้ งความเข้าใจการดาเนินงานโครงการ
3.2 คณะทางานลงพ้ืนที่เพอ่ื ศกึ ษาชุมชน
3.3 คณะทางานจัดเวทีประชาคมแบบมีส่วนร่วมในพื้นที่ดาเนินการในการระดมความคิดเห็นเพ่ือ

วิเคราะห์ศักยภาพ ปัญหาและค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาตลอดจนการพัฒนาศักยภาพ พร้อมจัดทาแผนการ
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยการกาหนดเป็น กิจกรรม/โครงการ ท่ี
สอดคล้องกับปฏทิ ินการดาเนนิ งานของกลุ่มเปา้ หมาย

3.4 กิจกรรมการส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ ได้แก่
3.4.1) กจิ กรรมฝึกอบรมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาผลติ ภณั ฑช์ ุมชน
3.4.2) กิจกรรมฝึกอบรมการบรหิ ารจัดการกลมุ่
3.4.3) กิจกรรมฝกึ อบรมเชิงปฏิบตั ิการการพฒั นาโลโกผ้ ลิตภัณฑช์ มุ ชน
3.4.4) กิจกรรมฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ัติการการจดั การดา้ นการตลาด

3.5 ประสานงานเพือ่ ติดตามความกา้ วหนา้ ในการดาเนินงาน
3.6 คณะทางานจัดกิจกรรมประชุมและอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่ือสรุปผลการดาเนินโครงการ
พฒั นาการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากร ประจาปี
3.7 คณะทางานจดั ทารายงานผลการดาเนนิ โครงการ

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 5

บทท่ี 3
ผลกำรดำเนินงำน

ผลการดาเนินโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ภายใต้โครงการพัฒนาการจัดการ
ทรัพยากรเพ่ือการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 ดาเนินการในพ้ืนท่ีสนอง
พระราชดาริโครงการอนุรักษ์พันธ์ุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี (อพ.สธ.) งานฐานทรัพยากรท้องถิ่นในพ้ืนที่จังหวัดขอนแก่น ได้แก่ ตาบลกุดเค้า อาเภอ
มัญจาคีรี และตาบลบัวเงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้นจานวน 65 ครัวเรือน
แบง่ ออกเปน็ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐานชุมชน ส่วนที่ 2 แผนการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แบบมี
ส่วนร่วม และสว่ นที่ 3 กจิ กรรมส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้ สามารถสรุปผลได้ ดงั นี้

สว่ นที่ 1 ข้อมูลพื้นฐำนชุมชน

1. ตำบลกุดเคำ้ อำเภอมญั จำครี ี จงั หวัดขอนแกน่

1.1 ทีต่ ั้งและกำรปกครอง
ตาบลกุดเค้าเป็นหนึ่งใน 8 ตาบลของอาเภอมัญจาคีรี โดยได้จัดต้ังเป็นจัดต้ังเป็นองค์การบริหาร
ส่วนตาบลเม่ือวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 มีเน้ือท่ี 68 ตารางกิโลเมตร ประมาณ 43,000 ไร่
ประกอบด้วย 14 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านบัว หมู่ 4 บ้านขุมดิน หมู่ 5 บ้านหนองโน หมู่ 6 บ้านหลุบคา หมู่
7 บ้านโจด หมู่ 8 บ้านดอนยูง หมู่ 9 บ้านเขวา หมู่ 10 บ้านหนองหญ้าข้าวนก หมู่ 11 บ้านหนองขาม หมู่ 12
บ้านหนองม่วง หมู่ 13 บ้านหัน (บางส่วน) หมู่ 15 บ้านเขวา หมู่ 16 บ้านขุมดิน และหมู่ 17 บ้านบัว ตาบล
กดุ เคา้ มปี ระชากรทง้ั หมด 8,911 คน แยกเป็นประชากรชาย 4,478 คน และประชากรหญงิ 4,233 คน

1.2 อำณำเขต ทต. นาขา่ , อบต. สวนหมอ่ น อาเภอมัญจาครี ี
ทต. นาแพง อาเภอโคกโพธ์ชิ ัย
ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กับ บา้ นทา่ นางเล่ือน อาเภอชนบท
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ ทต. นาขา่ อาเภอมญั จาครี ี
ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ
ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับ

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 6

1.3 ลักษณะภมู ิประเทศ
มสี ภาพ ลาดจากทศิ ตะวนั ตกไปทิศตะวันออก มสี ภาพโดยท่วั ไปส่วนใหญเ่ ป็นพนื้ ที่ราบลุ่มน้า

ท่วมขัง พืน้ ที่โดยท่ัวไปส่วนใหญ่เป็นพื้นท่ีราบลุ่มน้าท่วมขัง เป็นที่ลาดเอียงไปทางริมแม่น้าชี มีความสูงเฉล่ีย
อยู่ระหวา่ ง 160 - 242 เมตร พ้ืนดินส่วนใหญ่มีเน้ือดินค่อนข้างเป็นทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่า เป็นเขต
เงาฝนเขาภูเม็งบังเมฆฝน ทาให้มีฝนตกน้อย มีแหล่งน้าในพื้นที่ คือ แม่น้าชี บึงกุดเค้า อ่างเก็บน้าห้วย
ยาง หนอง และลาห้วยต่างๆ

1.4 สภำพทำงเศรษฐกจิ
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม ทานา ไร่อ้อย มันสาประหลัง อาชีพรองเล้ียงสัตว์
ขายตกู้ ับขา้ ว ตูใ้ สเ่ สอ้ื ผ้า ทาทน่ี อน และสร้างโรงสีขนาดเล็ก

1.5 พืชเศรษฐกิจ
พืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญของตาบลกุดเค้า ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง มันสาประหลังและ อ้อยโรงงาน
และปลกู พืชฤดูแล้งในเขตชลประทาน ซึ่งพืชแตล่ ะชนิดมปี รมิ าณ และลักษณะการผลิตดงั น้ี
ขำ้ วนำปี มีการปลูกทกุ หมบู่ า้ น วตั ถุประสงค์หลักปลูกไว้สาหรับบริโภคในครัวเรือน พ้ืนที่ถือครอง
ปลูกขา้ วนาปี ของตาบลกุดเค้า มีประมาณ 18,892ไร่ ทั้งนี้การเพาะปลูกแต่ละปี พื้นที่จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่
กับปริมาณน้าฝน เริ่มทาการเพาะปลูก ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม เก็บเกี่ยวปลายเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือน
ธันวาคม ส่วนมากทานาแบบปักดา และข้าวนาหว่านในกรณีที่มีแรงงานน้อยในฤดูการเพาะปลูก มีครัวเรือน
ปลูกข้าว 18,160 ไร่
ขำ้ วนำปรัง ปัจจุบันมีพ้ืนที่เพาะปลูกลดลง เกษตรกรที่ปลูกข้าวนาปรังส่วนมากจะเป็นเกษตรกรท่ี
ประสบภัยน้าท่วมนาปี จึงจะปลูกข้าวนาปรังเพ่ือเป็นการเสริมรายได้และบริโภคในครัวเรือน โดยเร่ิมทาการ
เพาะปลูกในเดือน มกราคม เก็บเกี่ยวในเดือนเมษายน มีทั้งการทานาแบบหว่านและปักดา มีพ้ืนท่ีเพาะปลูก
143 ไร่
มนั สำปะหลัง มีการปลูก 2 ครั้งคอื ต้นฝน เริ่มปลูกเดือนพฤษภาคม จะเก็บเก่ียวในเดือนมกราคม
ถึงเดอื นเมษายน ของปถี ัดไป และปลูกช่วงปลายฝน เริม่ ต้ังแต่เดือนตุลาคม จะเก็บเก่ียวของผลผลิตปลูกมากที่
หมู่ท่ี 1,4,5,6,8,9,10,11,15,17 มพี ืน้ ท่ีเพาะปลูก 4,080 ไร่
อ้อยโรงงำน เปน็ พชื เศรษฐกจิ ชนดิ ใหม่ท่ีสาคัญของตาบลกุดเค้า ปลูกมากท่ีหมู่ท่ี 4,5,6,10,11 มี
พน้ื ทเ่ี พาะปลกู 4,080 ไร่ มีพน้ื ท่ีเพาะปลูก 5,410 ไร่

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 7

ข้ำวโพดฝกั สด เป็นพืชที่เกษตรกรปลูกช่วงต้นฝน คือเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน และปลูกในช่วงฤดู
แล้งหลังเก็บเก่ียวข้าวแล้ว ในพ้ืนท่ีมีจุดสูบน้าด้วยไฟฟ้า และเขตชลประทาน พ้ืนที่ปลูกมาก หมู่ที่
4,5,6,7,8,10,11 พื้นท่ปี ลกู 361 ไร่

1.6 สัตวเ์ ศรษฐกจิ /กำรเลีย้ งสัตว์
ในตาบลกุดเค้ามีเกษตรกรที่ เลี้ยงสัตว์เพ่ือจาหน่ายเช่น โค กระบือ สุกร มีพ่อค้าเข้า ไปรับชื้อใน
หมู่บา้ นและเล้ียงเพ่อื เป็นอาหาร เชน่ เปด็ ไก่ เปน็ ต้น
การคมนาคม

1.7 เส้นทำงกำรคมนำคมของตำบลกุดเค้ำ
- ถนนตดิ ตอ่ ระหวา่ งตาบลกดุ เค้ากับอาเภอมัญจาครี เี ป็นถนนลาดยางเชื่อมระหว่างอาเภอชนบท

และ อาเภอบา้ นไผ่ ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 229 ระยะทาง 23 กโิ ลเมตร
- ถนนติดต่อระหว่าง ตาบลกุดเค้า เป็นถนนลาดยาง เชื่อมระหว่างอาเภอพระยืนและอาเภอ

เมืองขอนแก่น ทางหลวงหมายเลข 2057 ระยะทาง 55 กโิ ลเมตร
- ถนนติดต่อระหว่างตาบลกุดเค้าเป็นถนนลาดยางเช่ือมระหว่างอาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ

ระยะทาง 30 กิโลเมตร
- ถนนตดิ ตอ่ ระหว่าง ตาบลกุดเค้าเป็นถนนลาดยางเช่ือมระหว่างตาบลนาข่า ตาบลนางาม และ

ตาบลคาแคน ระยะทาง 20 กโิ ลเมตร
- ถนนตดิ ต่อระหว่างหมู่บ้านเป็นถนนลาดยางและถนนคอนกรตี เสรมิ เหลก็ การการติดต่อสัญจรสู่

อาเภอไปมาสะดวก
- ถนนลูกรังตดิ ตอ่ สอู่ าเภอยงั ไม่สะดวก คือ เส้นทาง หมู่ที่ 5 บ้านหนองโน หมู่ที่ 8 บ้านดอนยูง

หมทู่ 1ี่ 0 บา้ นหนองหญา้ ข้าวนกช่วงฤดฝู น ผิวถนนเป็นหลุม บอ่ ทาให้การสญั จรไมส่ ะดวก

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 8

2. ตำบลบัวเงนิ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแกน่

2.1 ท่ีต้งั และกำรปกครอง
องค์การบริหารส่วนตาบลบัวเงิน ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่นไปทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ 19 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ 112.30 ตารางกิโลเมตร หรือ 70,178 ไร่
ประกอบด้วย 17 หม่บู า้ น ไดแ้ ก่ หมู่ท่ี 1 บ้านเฟย้ี ฟาน หมู่ท่ี 2 บา้ นนาฝายเหนือ หมู่ที่ 3 บ้านโนนแดง หมู่ท่ี 4
บ้านหนองแวง หมู่ที่ 5 บ้านหนองกุงข้ีควง หมู่ที่ 6 บ้านคาจั่น หมู่ท่ี 7 บ้านหนองแวงดง หมู่ที่ 8 บ้านคาบอน
หมทู่ ่ี 9 บา้ นโคกใหญ่ หม่ทู ี่ 10 บา้ นโนนสวรรค์ หมู่ท่ี 11 บ้านดงเยน็ หมู่ที่ 12 บ้านโคกเล้า หมู่ที่ 13 บ้านโคก
ใหญ่ หมู่ที่ 14 บ้านเฟ้ยี ฟาน หมู่ที่ 15 บ้านคาจน่ั เหนือ หมู่ที่ 16 บ้านคาจัน่ กลาง และหมู่ที่ 17 บ้านหนองแวง

2.2 อำณำเขต
องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลบวั เงิน มอี าณาเขตตดิ ต่อกับอาเภอใกล้เคยี ง ดงั นี้
ทศิ เหนือ จดตาบลเขาสวนกวาง อาเภอเขาสวนกวาง จงั หวดั ขอนแกน่
ทิศใต้ จดตาบลบัวใหญ่ อาเภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแก่น
ทิศตะวันตก จดตาบลพังทุย ตาบลทรายมูล อ.น้าพอง ตาบลเขาสวนกวาง อาเภอเขาสวนกวาง
ทศิ ตะวนั ออก จดตาบลบ้านฝาง บ้านหัวนาคา ตาบลหนองโน ตาบลหว้ ยโจด อาเภอกระนวน

2.3 สภำพภูมิประเทศ
ภาพรวมลักษณะทางกายภาพโดยรอบตัวชุมชนองค์การบริหารส่วนตาบลบัวเงิน พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็น
พื้นท่ีราบสูง มีความสูงของภูมิประเทศประมาณ 180-340 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง และมีภูเขาอยู่
ทางด้านทิศเหนือของตาบล นอกจากน้ียังมีลาห้วยที่สาคัญได้แก่ ห้วยเสียว ห้วยริมฟ้า ห้วยบ้านเรา องค์การ
บริหารส่วนตาบลบัวเงิน มีทรัพยากรธรรมชาติท่ีสาคัญ เช่น ทรัพยากรป่าไม้ มีพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ
ประกอบไปดว้ ย ป่าดงมูล ปา่ เขาสวนกวาง และปา่ ห้วยเสียว

2.4 กำรตัง้ ถิน่ ฐำน
องค์การบริหารส่วนตาบลบัวเงินเป็นชุมชนชนบท ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ทานา ทาไร่ นิยมตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่มเป็นก้อน มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยมีวัดเป็นศูนย์กลาง มีการ
รวมกล่มุ กนั หลายหมบู่ า้ น ชมุ ชนที่มปี ระชากรสูงสุด คือ หมู่ที่ 5 บ้านหนองกุงข้ีควง มีประชากรจานวน 1,762
คน 152 หลังคาเรือน กลุ่มชุมชนที่เล็กท่ีสุด คือ หมู่ที่ 12 บ้านโคกเล้า มีประชากร 206 คน จานวน 42
หลงั คา

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 9

2.5 ขนำดประชำกร
ข้อมูลจากสานกั การทะเบียน กรมการปกครองตาบลบวั เงิน มีประชากรรวม 12,124 คน หรือประมาณ
ร้อยละ 10.7 ของประชากรอาเภอน้าพอง มีความหนาแน่นของประชากร 137 คนตอ่ ตารางกิโลเมตร มีจานวน
บา้ น 3,146 หลงั คาเรอื น

2.6 โครงสร้ำงประชำกร
โครงสร้างอายุของประชากร พบว่าโครงสร้างประชากร ตามตารางแผนภูมิแสดงโครงสร้างอายุ ผัง
ชมุ ชน อบต.บัวเงนิ ปี 2555 ได้ศึกษาคุณลักษณะประชากรตามกลุ่มอายุและเพศ พบว่าในเขต อบต.บัวเงิน มี
จานวนประชากรเพศชายน้อยกว่าเพศหญิง คิดเป็นอัตราส่วนเพศชายต่อหญิงเท่ากับ 90.72 ต่อ 100 จาแนก
ตามกลุม่ วยั พบว่า ประชากรวยั เด็ก มจี านวนประชาการเพศชายน้อยกว่าหญิง คิดเป็นอัตราส่วนเพศชายต่อ
หญิง เท่ากับ 87.77 ต่อ 100 ส่วนวัยทางานและวัยสูงอายุ มีจานวนประชากรเพศชายน้อยกว่าเพศหญิง คิด
เป็นอัตราส่วนเพศชายต่อหญิง เท่ากับ 93.57 ต่อ 100 และ 82.36 ต่อ 100 ตามลาดับ สาหรับอัตราส่วน
การเป็นภาระพ่ึงพารวมเท่ากับร้อยละ 49.70 กล่าวคือ ประชากรในวัยทางาน 100 คน ต้องรับภาระเลี้ยงเด็ก
และคนชรา 50 คน

2.7 สภำพทำงเศรษฐกิจ
สภาพทางเศรษฐกิจหลกั ขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบลบัวเงิน ไดแ้ ก่ การเกษตรกรรม ส่วนใหญ่จะเป็น
การทานา ซ่งึ จะมกี ารทานาเพียงปีละคร้ัง และยังมีการปลูกพืชไร่ ได้แก่ อ้อย มันสาปะหลัง และพืชอื่นๆ และ
ในปัจจุบันได้มีการปลูกยาพารา ซ่ึงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของคนในชุมชน ปัญหาทางการตลาดก็ยังมีมาก
ราคาผลผลิตไมแ่ น่นอน เศรษฐกิจชุมชนท่ีต้องพึ่งปัจจัยเหล่าน้ีจึงอยู่ในเกณฑ์ จึงทาให้รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อคน
ในเขต อบต.ยงั ตา่ มีรายได้ไมเ่ พยี งพอกับการใชจ้ า่ ย การรับบรกิ ารด้านสาธารณูปโภคสาธารณูปการ รองลงมา
คือ ด้านอุตสาหกรรม ซ่ึงในชุมชน อบต.บัวเงิน มีสถานประกอบการทางด้านพาณิชย์ท่ีสาคัญให้บริการแก่
ประชาชนในพื้นที่ มีการค้าขายในเชิงพาณิชย์ภายในชุมชน มีร้านขาย อุปกรณ์ก่อสร้าง ซ่อมรถจักรยานยนต์
ซ่อมรถยนต์ รา้ นขายเส้ือผา้ รา้ นเสริมสวย ร้านขายเฟอรน์ ิเจอร์ ร้านขายแกส๊ รา้ นขายข้าว ป๊ัมน้ามัน ตลาดนัด
ชมุ ชนหนา้ ค่ายเปรมฯ เปน็ ตน้ ส่วนใหญเ่ กาะกลมุ่ อยบู่ รเิ วณถนนโยธาธิการ ขก. 2058

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชน

สว่ นท่ี 2 แผนกำรสง่ เสริมกระบวนกำรเรยี นรู้แบบมสี ว่ นรว่ ม
สบื เนอื่ งจากการสอบถามและสารวจความคดิ เห็นของผนู้ าชุมชนและตวั แทนป

ความจาเปน็ ในการแก้ไขปญั หาการดาเนินงาน ตลอดจนการเพิ่มศกั ยภาพและส่งเสรมิ ค
ดังแสดงในตารางท่ี 1

ตำรำงที่ 1 แผนกำรส่งเสริมกระบวนกำรเรียนรู้แบบมสี ว่ นรว่ ม ประจำปีงบประมำณ

ลำดบั ที่ กจิ กรรม/โครงกำร ระยะเวลำดำเนนิ กำร
(พย. 63 - สค. 64)
1 กจิ กรรมฝึกอบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน -
-
ครง้ั ที่ 1 -
-
-
-

2 กจิ กรรมฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน (พย. 63 - สค. 64) -

ครัง้ ท่ี 2 -

-

-

-

-

นจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 10

ประชาชนในพนื้ ที่เป้าหมาย และการจัดทาเวทีประชาคมเพ่ือค้นหาความต้องการและ
ความรู้ความเข้าใจในการดาเนินงานของกลุ่มเป้าหมาย ทาให้เกิดแผนการดาเนินงาน

ณ 2564

งบประมำณ

คา่ ตอบแทนวิทยากร จานวน จานวน 6 ช่ัวโมง x 600 บาท x 1 วนั = 3,600 บาท

คา่ จา้ งเหมารถตไู้ ม่รวมน้ามันเชือ้ เพลงิ จานวน 1 คัน x 1 วนั x 1,800 บาท = 1,800 บาท

ค่านา้ มนั เชื้อเพลงิ จานวน 1 วนั x 500 บาท = 500 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วัน = 3,200 บาท

ค่าอาหารวา่ งและเครือ่ งดม่ื จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มอ้ื x 1 วัน = 2,400 บาท

ค่าวัสดุ = 5,000 บาท

รวมเงนิ = 16,500 บำท

ค่าตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ชัว่ โมง x 600 บาท x 1 วนั = 3,600 บาท

ค่าจ้างเหมารถตูไ้ ม่รวมน้ามันเช้ือเพลิง จานวน 1 คัน x 1 วนั x 1,800 บาท = 1,800 บาท

คา่ น้ามนั เชือ้ เพลงิ จานวน 1 วัน x 500 บาท = 500 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วัน = 3,200 บาท

คา่ อาหารวา่ งและเคร่อื งดมื่ จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มือ้ x 1 วนั = 2,400 บาท

ค่าวัสดุ = 5,000 บาท

รวมเงิน = 16,500 บำท

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชน

ลำดับท่ี กจิ กรรม/โครงกำร ระยะเวลำดำเนนิ กำร
(พย. 63 - สค. 64)
3 กิจกรรมฝกึ อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ชุมชน -
-
ครงั้ ที่ 3 -
-
-
-

4 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน (พย. 63 - สค. 64) -

ครั้งท่ี 4 -

-

-

-

-

5 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโลโก้ (พย. 63 - สค. 64) -

ผลติ ภัณฑช์ ุมชน คร้งั ท่ี 1 -

-

-

-

นจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 11

งบประมำณ

ค่าตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ชัว่ โมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

ค่าจ้างเหมารถตไู้ ม่รวมนา้ มนั เชื้อเพลงิ จานวน 1 คัน x 1 วนั x 1,800 บาท = 1,800 บาท

ค่าน้ามนั เชือ้ เพลงิ จานวน 1 วนั x 500 บาท = 500 บาท

คา่ อาหารกลางวัน จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วัน = 3,200 บาท

ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดมื่ จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มอื้ x 1 วัน = 2,400 บาท

คา่ วสั ดุ = 5,000 บาท

รวมเงิน = 16,500 บำท

คา่ ตอบแทนวิทยากร จานวน จานวน 6 ชั่วโมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

ค่าจา้ งเหมารถตไู้ ม่รวมน้ามันเช้อื เพลิง จานวน 1 คัน x 1 วัน x 1,800 บาท = 1,800 บาท

ค่าน้ามนั เชือ้ เพลงิ จานวน 1 วนั x 500 บาท = 500 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วัน = 3,200 บาท

คา่ อาหารวา่ งและเครือ่ งดม่ื จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 ม้อื x 1 วัน = 2,400 บาท

ค่าวัสดุ = 5,000 บาท

รวมเงนิ = 16,500 บำท

ค่าตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ชัว่ โมง x 600 บาท x 1 วนั = 3,600 บาท

ค่าจา้ งเหมารถตูไ้ มร่ วมน้ามนั เช้อื เพลงิ จานวน 1 คัน x 1 วัน x 1,800 บาท = 1,800 บาท

ค่านา้ มันเชอ้ื เพลงิ จานวน 1 วนั x 500 บาท = 500 บาท

คา่ อาหารกลางวนั จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วัน = 3,200 บาท

ค่าอาหารวา่ งและเคร่อื งดม่ื จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มอ้ื x 1 วนั = 2,400 บาท

รวมเงิน = 11,500 บำท

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชน

ลำดับท่ี กิจกรรม/โครงกำร ระยะเวลำดำเนนิ กำร -
6 กิ จ ก ร ร ม ฝึ ก อ บ ร ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ก า ร พั ฒ น า โ ล โ ก้ (พย. 63 - สค. 64) -
ผลิตภัณฑช์ มุ ชน ครง้ ที่ 2 -
-
-

7 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโลโก้ (พย. 63 - สค. 64) -

ผลิตภณั ฑช์ ุมชน คร้ังท่ี 3 -

-

-

-

-

-

8 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโลโก้ (พย. 63 - สค. 64) -

ผลิตภัณฑ์ชุมชน คร้งั ท่ี 4 -

-

-

-

-

-

นจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 12

งบประมำณ

คา่ ตอบแทนวิทยากร จานวน จานวน 6 ชั่วโมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

ค่าจา้ งเหมารถตไู้ มร่ วมน้ามนั เช้ือเพลิง จานวน 1 คัน x 1 วัน x 1,800 บาท = 1,800 บาท

ค่าน้ามนั เช้ือเพลงิ จานวน 1 วนั x 500 บาท = 500 บาท

ค่าอาหารกลางวนั จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วนั = 3,200 บาท

คา่ อาหารว่างและเครอ่ื งดืม่ จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มื้อ x 1 วนั = 2,400 บาท

รวมเงนิ = 11,500 บำท

ค่าตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ชัว่ โมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

ค่าจา้ งเหมารถตูไ้ ม่รวมนา้ มันเชอื้ เพลงิ จานวน 1 คัน x 1 วนั x 1,800 บาท = 1,800 บาท

คา่ นา้ มนั เช้ือเพลงิ จานวน 1 วัน x 500 บาท = 500 บาท

คา่ อาหารกลางวนั จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วัน = 3,200 บาท

ค่าอาหารว่างและเครือ่ งดื่ม จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มอ้ื x 1 วัน = 2,400 บาท

คา่ วสั ดุ = 5,400 บาท

คา่ จา้ งเหมาออกแบบและจดั ทาโลโกผ้ ลติ ภัณฑช์ มุ ชน = 10,000 บาท

รวมเงนิ = 26,900 บำท

คา่ ตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ชว่ั โมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

ค่าจา้ งเหมารถตู้ไม่รวมนา้ มันเชื้อเพลงิ จานวน 1 คัน x 1 วัน x 1,800 บาท = 1,800 บาท

ค่าน้ามันเชือ้ เพลิง จานวน 1 วัน x 500 บาท = 500 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วนั = 3,200 บาท

ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มอ้ื x 1 วัน = 2,400 บาท

ค่าวสั ดุ = 5,300 บาท

ค่าจา้ งเหมาออกแบบและจัดทาโลโกผ้ ลิตภัณฑ์ชมุ ชน = 10,000 บาท

รวมเงิน = 26,800 บำท

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชน

ลำดบั ที่ กจิ กรรม/โครงกำร ระยะเวลำดำเนินกำร
(พย. 63 - สค. 64)
9 กิจกรรมฝึกอบรมการบรหิ ารจดั การกลุ่ม ครงั้ ท่ี 1 -
-
-
-
-

10 กิจกรรมฝกึ อบรมการบริหารจัดการกลมุ่ คร้งั ท่ี 2 (พย. 63 - สค. 64) -
-
-
-
-

11 กจิ กรรมฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการจดั การดา้ นการตลาด (พย. 63 - สค. 64) -

ครงั้ ท่ี 1 -

-

-

-

นจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 13

งบประมำณ

ค่าตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ชว่ั โมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

ค่าจ้างเหมารถตู้ไม่รวมน้ามันเช้ือเพลงิ จานวน 1 คนั x 1 วนั x 1,800 บาท = 1,800 บาท

ค่านา้ มันเชอื้ เพลงิ จานวน 1 วัน x 500 บาท = 500 บาท

คา่ อาหารกลางวนั จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วนั = 3,200 บาท

ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดม่ื จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มือ้ x 1 วัน = 2,400 บาท

รวมเงนิ = 11,500 บำท

คา่ ตอบแทนวิทยากร จานวน จานวน 6 ชว่ั โมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

ค่าจา้ งเหมารถต้ไู ม่รวมนา้ มันเช้ือเพลงิ จานวน 1 คัน x 1 วัน x 1,800 บาท = 1,800 บาท

คา่ นา้ มนั เชื้อเพลงิ จานวน 1 วนั x 500 บาท = 500 บาท

คา่ อาหารกลางวัน จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วนั = 3,200 บาท

คา่ อาหารวา่ งและเครื่องด่มื จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 ม้อื x 1 วัน = 2,400 บาท

รวมเงนิ = 11,500 บำท

ค่าตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ชวั่ โมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

คา่ จา้ งเหมารถต้ไู ม่รวมนา้ มันเชื้อเพลงิ จานวน 1 คัน x 1 วัน x 1,800 บาท = 1,800 บาท

ค่านา้ มนั เช้อื เพลงิ จานวน 1 วัน x 500 บาท = 500 บาท

ค่าอาหารกลางวนั จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วนั = 3,200 บาท

ค่าอาหารว่างและเครื่องดม่ื จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มือ้ x 1 วนั = 2,400 บาท

รวมเงิน = 11,500 บำท

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชน

ลำดบั ท่ี กจิ กรรม/โครงกำร ระยะเวลำดำเนนิ กำร -
12 กิจกรรมฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการการจดั การดา้ นการตลาด (พย. 63 - สค. 64) -
ครั้งท่ี 2 -
-
-

13 กิจกรรมสรุปผลการดาเนินโครงการพัฒนาการใช้ (พย. 63 - สค. 64) -

ประโยชน์จากทรพั ยากร ประจาปี 2564 ครั้งที่ 1 -

-

-

-

14 กิจกรรมสรุปผลการดาเนินโครงการพัฒนาการใช้ (พย. 63 - สค. 64) -

ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ประจาปี 2564 คร้ังที่ 2 -

-

-

-

รวมงบประมำณท้งั สิ้น

หมายเหตุ : ถัวเฉล่ยี จ่ายทุกรายการ

นจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 14

งบประมำณ

ค่าตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ช่วั โมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

ค่าจา้ งเหมารถตไู้ ม่รวมน้ามันเชื้อเพลิง จานวน 1 คนั x 1 วนั x 1,800 บาท = 1,800 บาท

คา่ นา้ มันเช้ือเพลิง จานวน 1 วัน x 500 บาท = 500 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วัน = 3,200 บาท

ค่าอาหารว่างและเครอื่ งด่ืม จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 ม้ือ x 1 วัน = 2,400 บาท

รวมเงนิ = 11,500 บำท

คา่ ตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ชั่วโมง x 600 บาท x 1 วนั = 3,600 บาท

ค่าจา้ งเหมารถตู้ไม่รวมน้ามนั เชอ้ื เพลิง จานวน 1 คัน x 1 วัน x 1,800 บาท = 1,800 บาท

คา่ น้ามันเชื้อเพลงิ จานวน 1 วนั x 500 บาท = 500 บาท

ค่าอาหารกลางวนั จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วนั = 3,200 บาท

ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 มอ้ื x 1 วัน = 2,400 บาท

รวมเงิน = 11,500 บำท

ค่าตอบแทนวทิ ยากร จานวน จานวน 6 ช่ัวโมง x 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

ค่าจา้ งเหมารถตู้ไมร่ วมนา้ มันเช้ือเพลิง จานวน 1 คัน x 1 วนั x 1,800 บาท = 1,800 บาท

ค่านา้ มนั เชือ้ เพลงิ จานวน 1 วนั x 500 บาท = 500 บาท

ค่าอาหารกลางวนั จานวน 40 คน x 80 บาท x 1 วนั = 3,200 บาท

ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่มื จานวน 40 คน x 30 บาท x 2 ม้อื x 1 วัน = 2,400 บาท

รวมเงิน = 11,500 บำท

211,700 บำท

(สองแสนหนง่ึ หมนื่ หนึ่งพนั เจด็ รอ้ ยบำทถว้ น)

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 15

สว่ นท่ี 3 กจิ กรรมกำรส่งเสรมิ กระบวนกำรเรียนรู้
การดาเนินกิจกรรมการสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรแู้ กก่ ลุม่ เป้าหมายตามแผนงานประจาปีงบประมาณ

2564 เพื่อให้เป็นไปตามข้อปฏิบัติในการจัดอบรมภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) เกดิ ผลการดาเนนิ งานเปน็ ดงั น้ี
1. กิจกรรมกำรพัฒนำผลติ ภัณฑ์ชุมชน

เป็นการบรรยายเพ่ือให้ความรู้โดยวิทยากรจากศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ ขอนแก่น พร้อมทั้ง
ให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกปฏิบัติจริงเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจมากยิ่งข้ึน อีกท้ังยังได้ลงพ้ืนท่ีเพื่อตรวจเยี่ยม
พรอ้ มใหค้ าปรกึ ษาและแนะนาวิธกี ารดาเนนิ งานอยา่ งถูกวธิ ี กจิ กรรมท่ไี ด้ดาเนนิ งาน ได้แก่

1.1 กำรเพ่มิ ศกั ยภำพกำรปลกู หมอ่ นเล้ยี งไหม
1.1.1 กำรปลูกตน้ หมอ่ น

พันธุ์หม่อน พันธุ์หม่อนควรเป็นพันธุ์ท่ีมีการตอบสนองต่อน้าและปุ๋ยดี ปัจจุบันนิยมใช้พันธุ์
สกลนคร, สกลนคร 85, ศรสี ะเกษ 84 หรือพันธุบ์ ุรีรมั ย์ 60 (ภาพที่ 1-4)

ภำพท่ี 1 ภำพตน้ หม่อนพันธ์ุสกลนคร ภำพท่ี 2 ภำพต้นหม่อนพันธ์ุศรีสะเกษ 84

ภำพที่ 3 ภำพตน้ หม่อนพันธ์ุสกลนคร 85 ภำพที่ 4 ภำพต้นหม่อนพันธ์ุพนั ธ์บุ รุ ีรัมย์ 60

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 16

ท่อนพันธุ์ อาจใช้ก่ิงปักชาอายุ 3-4 เดือน แล้วย้ายปลูกในแปลง หรือใช้ท่อนพันธุ์อายุ 4-8
เดือน ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร นาไปปลูกในแปลง โดยการใช้ก่ิงชาจะมีอัตราการรอดสูงที่สุด สาหรับการ
เตรยี มแปลงชามี 2 แบบ คือแบบแปลงผักเป็นวิธีการง่ายๆ โดยยกแปลงชาขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 10 เมตร
สงู 20 เซนตเิ มตร แล้วปกั ชาท่อนพันธ์ุด้วยระยะ 10x10 เซนติเมตร และแปลงแบบขุดหลุม โดยขุดหลุมขนาด
กวา้ ง 1 เมตร ยาว 10 เมตร ลึก 20 เซนติเมตร จากน้ันกลบด้วยแกลบเผาผสมดินอัตรา 1:1 รดน้าให้ชุ่ม แล้ว
ปักชาหม่อนด้วยระยะ 10x10 เซนติเมตร การปักชาด้วยวิธีขุดหลุมจะได้ผลดีกว่าวิธีแรก เม่ือชาหม่อนเป็น
ระยะเวลา 4 เดือน จึงถอนก่ิงชาเพ่ือนาไปปลูกได้ การถอนกิ่งชาให้ทาการตัดก่ิงชาท่ีงอกใหม่ให้เหลือ 20 -30
เซนตเิ มตร พร้อมกบั ตดั แต่งรากออกไปบา้ งเพื่อกระตุ้นให้เกดิ การงอกรากใหมใ่ หเ้ ร็วขึน้

กำรเตรยี มแปลงปลกู หมอ่ น การเตรียมดินด้วยการไถพรวนแปลง 2-3 ครั้ง ในช่วงต้นฤดูฝน
ให้มีหน้าดินลึกประมาณ 40 เซนติเมตร ให้ขุดร่องยาวตามความต้องการ กว้างประมาณ 30 เซนติเมตร และ
กลบร่องดว้ ยปยุ๋ คอกใหท้ าการคลกุ เคลา้ ป๋ยุ คอกให้เข้ากนั ดกี บั ดินในร่อง

กำรปลูกหม่อน การปลกู ด้วยท่อนพันธโุ์ ดยตรงให้เสยี บกิง่ ลงไปตรงๆ ให้ทอ่ นพนั ธุ์จมลงในดิน
สามในสสี่ ว่ น หนึ่งหลุมปลูกหม่อน 1-2 ท่อน ถ้าปลูกด้วยกิ่งชาให้ส่วนท่ีเป็นท่อนพันธ์ุจมลงในดินสามในสี่ส่วน
ท่ีเป็นกิ่งงอกจากท่อนพันธ์ุนั้นโผล่พ้นดิน หลังจากปลูกแล้วต้ังแต่ 1 สัปดาห์ข้ึนไปตาหม่อนจะเริ่มงอก ถ้าหาก
ในช่วงที่ปลูกหม่อนมีฝนตกชุกและดินมีการระบายน้าไม่ดีอาจทาให้พันธุ์หม่อนเน่าตายได้ จึงควรยกร่องแถว
หม่อนที่จะปลูกให้สูงประมาณ 20 เซนติเมตร แล้วจึงเสียบกิ่งปลูก ควรเว้นพ้ืนที่ระหว่างแปลงกว้าง 3 เมตร
เพ่ือให้รถและเครื่องจักรเข้าทางานได้สะดวก ดังน้ันพ้ืนที่ 1 ไร่ จะใช้ก่ิงปักชาหรือท่อนพันธ์ุ จานวนประมาณ
1,300 ท่อน เหลือพ้ืนท่ีทางเดินระหว่างแปลง 300 ตารางเมตร การให้น้าจะให้น้าสัปดาห์ละ 2 ครั้งๆละ 30
นาที การให้น้ามักจะให้เพียง 4 เดือน ระหว่างเดือนธันวาคม-เมษายน หรือในช่วงฤดูฝนท้ิงช่วงนานเกิน 1
เดือน เนือ่ งจากมกี ารรักษาความชน้ื ของดนิ ดี

กำรตัดแต่งกิ่งหม่อน เป็นการเพ่ิมผลผลิตและรักษารูปทรงของต้นหม่อน โดยหลังจากตัด
แตง่ ก็ใส่ปุ๋ยและใหน้ ้าด้วย แต่ละปีจะทาการตัดต่าในเดือนเมษายน วิธีการตัดต่าให้ใช้กรรไกรหรือเลื่อยตัดแต่ง
ก่ิงเพื่อไม่ให้ต้นหม่อนช้า จะตัดให้เหลือลาต้นสูงจากพ้ืนดินประมาณ 20-30 เซนติเมตร แล้วบารุงรักษาต้น
หม่อนโดยการใส่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกผสมกับปุ๋ยเคมี หลังจากน้ันประมาณ 2-3 เดือน ต้นหม่อนจะเจริญเติบโต
แตกกงิ่ และใบพอเพียงสาหรับเลี้ยงไหมได้ 2-3 รุ่นก็ให้ทาการตัดกลาง โดยตัดก่ิงให้สูงจากพื้นดินประมาณ 60
เซนติเมตร และบารงุ รักษาโดยการใส่ปุ๋ยเชน่ เดยี วกบั การตัดต่า แล้วปล่อยให้ต้นหม่อนเจริญเติบโตแตกก่ิงและ
ใบใหม่ประมาณ 11/2-2 เดือน ก็สามารถเก็บใบหม่อนไปเลี้ยงไหมได้อีก 1 รุ่น และหลังจากน้ัน 1-11/2 เดือนก็
สามารถเกบ็ ใบหมอ่ นไปเลย้ี งไหมไดอ้ ีก (ภาพท่ี 5)

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 17

ภำพท่ี 5 ภำพกำรตดั แต่งกง่ิ ใบหม่อนในรอบ 1 ปี สำหรับกำรเล้ยี งไหมแบบเก็บใบ
กำรดูแลและกำรบำรุงรักษำ ต้องมีการตัดแต่งกิ่งหม่อนหรือใบหม่อนปีละ 3-4 ครั้ง ห่างกัน

ประมาณ 2-3 เดือนตอ่ คร้ัง เพ่อื ควบคุมคุณภาพการผลิตใบหม่อนได้ตลอดทั้งปี และสามารถวางแผนการเล้ียง
ไหมได้แน่นอนและมีประสิทธิภาพ การกาจัดวัชพืชด้วยการดายหรือใช้สารเคมีกาจัดวัชพืชเพียงคร้ังเดียวใน
เดือนตุลาคม-พฤศจิกายน จากนั้นจะใช้ฟางคลุมอย่างหลวมๆ ให้มีความหนาประมาณ 30-50 เซนติเมตร
ในช่วงเดอื นธันวาคม เมือ่ ใหน้ า้ ฟางจะยบุ ตวั ลงแต่สามารถควบคุมวัชพชื ไดต้ ลอดปแี ละรักษาความช้ืนของดินได้
ดตี ลอดต้งั แต่เดือนพฤษภาคม-พฤศจกิ ายน ส่วนการใสป่ ยุ๋ หลังจากการกาจัดวัชพืชต้องใส่ปุ๋ยคอกอัตรา 2,000
กโิ ลกรมั /ไร่ สว่ นป๋ยุ เคมี สตู ร 15-15-15 จะใส่ 3 คร้ัง หลังการตัดแต่งเพ่ือเก็บผลผลิต 3 ครั้ง อัตราคร้ังละ 25
กโิ ลกรัม แตจ่ ะไมใ่ สป่ ๋ยุ เคมเี มอ่ื คร้ังทีม่ ีการใสป่ ุย๋ คอก

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 18

โรคทส่ี ำคัญของหมอ่ น
1) โรครำกเน่ำ
อำกำร ใบและก่งิ หมอ่ นจะเห่ยี วจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลคล้ายน้าร้อนลวก โดยเร่ิมจากขอบใบ
แล้วลุกลามเข้าด้านใน ต่อมาจะแสดงอาการเห่ียวท้ังต้นและตายในท่ีสุด เม่ือถอนต้นดูจะพบว่าโคนและรากท่ี
ถกู เชือ้ โรคเขา้ ทาลายจะเนา่ เป่ือยหลุดลอกออกได้งา่ ยและมกี ลน่ิ เหมน็
สำเหตุ ยังไม่ทราบแนช่ ัด
กำรป้องกันและกำจัด

- ขดุ ตน้ หมอ่ นทเ่ี ปน็ โรคน้าไปเผาทาลาย
- เวลาพรวนดนิ อย่าให้รากหมอ่ นเกดิ แผล
- ควรใชก้ รรไกรตัดแตง่ กิ่ง เพ่ือป้องกนั การบอบช้าของตน้ หม่อน
- ใช้พันธุ์ต้านทาน เช่น ปลูกหม่อนไผ่เป็นต้นตอแล้วติดตาหรือเสียบกิ่ง ด้วยหม่อน
พันธุน์ ครราชสมี า 60 หรือพันธบ์ุ รุ ีรมั ย์ 60
2) โรคใบดำ่ ง
อำกำร ใบดา่ ง บดิ เบี้ยวมว้ นลง เสน้ ใบสเี ขยี วแก่ แผ่นใบสเี หลือง ต้นแคระแกร็น
สำเหตุ เกิดจากเช้อื ไวรสั
กำรป้องกนั และกำจดั
- ถอนต้นทีแ่ สดงอาการมาเผาทาลายเสยี
- ใช้ท่อนพนั ธจ์ุ ากต้นที่ปราศจากโรคใบดา่ งมาปลูก
3) โรครำแป้ง
อำกำร จะพบมีราข้นึ เป็นผงสีขาวคลา้ ยแปง้ อยู่ด้านใตใ้ บ บางครั้งอาจพบด้านบนใบด้วย ใบท่ี
เปน็ โรคจะค่อยๆ เปล่ยี นเปน็ สเี หลืองแหง้ กรอบและรว่ งหล่นไปในทส่ี ดุ
สำเหตุ เกดิ จากเชอื้ รา
กำรป้องกนั และกำจัด
- ตัดแตง่ กงิ่ เพ่อื ลดการระบาดของโรค
- เก็บใบที่แสดงอาการมาเผาทาลาย
- ถา้ พบมีการระบาดของโรคมากอาจใช้สารเคมีกาจัดเช้ือราฉีดพ่น เช่น ไดเทน-เอ็ม
45 เป็นตน้

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 19

4) โรคใบไหม้ หรอื โรคแบคทีเรยี ลไบลท์
อำกำร เกิดจดุ สเี ทาเล็กๆ ฉา่ นา้ บนใบ จุดน้ีจะขยายลุกลามกลายเป็นแผลสีเหลืองปนน้าตาล
ถ้ามีอาการรุนแรง แผลบนใบจะขยายติดต่อกันทาให้ใบเหลืองและแห้งร่วงหล่น ถ้าเกิดบนกิ่งจะเป็นแผลสี
น้าตาลปนดาและลกึ เขา้ ไปภายในลาต้น เม่อื มลี มพัดแรงๆ กง่ิ จะหกั งา่ ย
สำเหตุ เกดิ จากเช้อื แบคทีเรยี
กำรปอ้ งกันและกำจดั

- เกบ็ ก่งิ และใบทีเ่ ป็นโรคเผาทาลาย
- ตดั แตง่ กงิ่ ก่อนเข้าฤดูฝน จะช่วยลดการระบาดของโรค
แมลงศตั รูที่สำคญั ของหมอ่ น
1) แมลงประเภทปำกดูด ได้แก่ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยไฟ เพลี้ยหอย แมลงหว่ีขาว ไรแดง เพลี้ย
จักจ่ัน เป็นต้น แมลงเหลา่ น้จี ะดูดกินน้าเลี้ยงจากใบ ยอดอ่อนและลาต้น ทาให้ต้นหม่อนชะงักการเจริญเติบโต
ถ้าระบาดมากๆ จะทาใหใ้ บหงิกงอและแหง้ ตาย
กำรป้องกันและกำจัด
1) ตดั แต่งกิง่ หม่อนและนา้ กิง่ และใบหมอ่ นท่ีมีแมลงพวกน้ีอย่ไู ปเผาทาลาย
2) ถา้ พบว่ามแี มลงศัตรรู ะบาดมาก ให้ใชส้ ารเคมีประเภทดดู ซึมฉดี พน่ เช่น
- โมโนโครโตฟอส ช่ือการค้า นูวาครอน ออโซดริน คาร์วิน อาโซเดรน อาโกติน
อนูเรท
- ไดเมทโธเอ็ท ช่ือการค้า ไดเมท็ โรเกอร์ ไดซนั -แอน รอ๊ กไซออน อโี คโธเมท
ข้อควรระวัง : สารเคมีประเภทดูดซึม จะมีพิษตกค้างในใบหม่อนนานไม่น้อยกว่า 20 วัน
ดังน้ัน ควรจะเกบ็ ใบหม่อนไปเลย้ี งไหมหลังจากฉดี พ่นแลว้ ประมาณ 30-35 วนั
2) แมลงประเภทปำกกดั ท่ีสาคญั ไดแ้ ก่
- ด้วงเจาะลาต้น จะเข้าทาลายบริเวณต้นและโคนต้น เห็นเป็นเศษขุยเน้ือไม้ออกมากอง
บริเวณปากรู ทาให้ต้นหม่อนอ่อนแอ และตายในที่สุด แปลงหม่อนที่มีการระบาดของด้วงเจาะลาต้นมากจะ
สังเกตเห็นยอดหม่อนเหลืองและเหี่ยวหักพับ ป้องกันและกาจัดโดยใช้สารเคมี เช่น ไดคลอร์วอส ช่ือการค้า
ดดี ีแวป ในอตั รา 10 ซีซี (1ช้อนแกง) ต่อนา้ 1 ลติ ร ฉดี เข้าไปในรทู ี่หนอนเจาะแล้วอุดด้วยดินเหนยี ว
- ปลวก จะทาลายกัดกินเนื้อไม้เป็นอาหาร ทาให้ต้นหม่อนไม่สามารถเจริญเติบโต แคระ
แกร็นต้นและก่ิงหักล้มได้ง่ายและอาจตายในที่สุด ป้องกันและกาจัดโดยใช้สารเคมี เช่น เฮปตาคลอร์ออลดริน

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 20

ดลี ดริน อาลามอน ในอตั รา 40 กรัมต่อน้า 20 ลิตร รดโคนต้นหม่อนที่ถูกทาลาย ห้ามใช้สารเคมีประเภทน้ีฉีด
พ่นตน้ หมอ่ นเพราะมฤี ทธ์ติ กค้างนาน

1.2 กำรเลยี้ งไหม
วงจรชวี ิตไหม (ภาพที่ 6)

ภำพที่ 6 ชพี จักรของไหม
ไหมมีการเจริญเติบโตแบบสมบูรณ์ (Complete metamorphosis) มีอายุประมาณ 42–55
วนั สามารถแยกได้ 4 ระยะ ดงั น้ี
1) ระยะไข่ไหม (eggs) มี 2 ชนิด คือ ไข่ไหมที่พักตัว (hibernating eggs) และไข่ไหมที่ไม่
พักตัว (non–hibernating eggs) ไข่ไหมท่ีพักตัวสามารถกระตุ้นให้ฟักออกเป็นตัวได้เช่นเดียวกับไข่ไหมชนิด
ไม่พักตัว โดยการฟักเทียมไข่ไหมสารละลายกรดเกลือ ไข่ไหมท่ีผ่านการพักตัวแล้วจะฟักออกเป็นตัวภายใน
11-12 วัน สว่ นไข่ไหมชนดิ ไม่พักตัวจะฟกั ออกภายใน 10–11 วัน
2) หนอนไหม (larvae) ระยะนี้มีอายุประมาณ 19-25 วัน หนอนไหมแรกเกิดมีสีดายาว
ประมาณ 3 มิลลิเมตร หนักประมาณ 0.45 มิลลิกรัม ในระหว่างการเจริญเติบโต ปกติจะมีการลอกคราบ 4
คร้ัง หนอนไหมเต็มที่จะมีน้าหนักเป็นประมาณ 10,000 เท่าของน้าหนักไหมแรกเกิด เม่ือหนอนไหมโตเต็มที่

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 21

พร้อมจะทารังเรยี กว่า ไหมสุก ลาตัวใส ส่ายหัวไปมาเพื่อพ่นเส้นใยทารังในจ่อ ใช้เวลา 2–3 วัน ในการพ่นเส้น
ใยและลอกคราบเป็นดักแด้

3) ระยะดักแด้ (pupae) ระยะน้ีใช้เวลาประมาณ 10-13 วัน จะลอกคราบเป็นตัวเต็มวัย
(ผเี สือ้ )

4) ผีเส้ือ (moth) ปกติมีอายุประมาณ 7-10 วัน ตัวเต็มวัยจะผสมพันธ์ุวางไข่สืบสายพันธุ์
ต่อไป

กำรรบั ไขไ่ หม
การดแู ลไข่ไหมขณะขนส่ง
1) ดูแลให้ไข่ไหมมีความชื้นตลอดเวลา โดยหมั่นตรวจห่อไข่ไหม หากผ้าห่อไข่ไหมแห้งให้ใช้
กระบอกฉีดน้าฉดี พน่ ทหี่ ่อไขไ่ หมพอหมาดๆ (ควรใช้น้าท่สี ะอาด)
2) ควรระมัดระวังไม่ใหไ้ ข่ไหมกระทบกระเทือนในขณะเดินทาง
3) ควรขนส่งไข่ไหมในช่วงเช้าหรือเย็น หรือขนส่งด้วยรถปรับอากาศ (มีอุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส)
4) ระวังอยา่ ใหห้ อ่ ไขไ่ หมถกู แสงแดดโดยตรง
5) ควรหลกี เลยี่ งการนาห่อไข่ไหมเขา้ ไปในเขตทม่ี ีการสบู บุหร่ี หรือมีสารเคมี
การใหแ้ สงสว่าง
เมอื่ นาไขไ่ หมมาถงึ โรงเลยี้ ง ให้นาหอ่ ไขไ่ หมไปไวใ้ นที่มีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และมีการ
ปอ้ งกนั แมลงศัตรู เช่น มด ท้ังน้ีห้ามนาไข่ไหมออกจากห่อกระดาษดาก่อนถึงกาหนดการใหแ้ สงสวา่ ง
การให้แสงสว่าง คือ การให้แสงสว่างอย่างท่ัวถึง ใช้แสงไฟฟ้า (นีออน) หรือแสงสว่างจาก
ธรรมชาติ โดยเปิดห่อกระดาษสดี าออก และจดั วางไข่ไหมให้ไดร้ บั แสงสว่างอย่างท่ัวถึงและสม่าเสมอ เพื่อให้ไข่
ไหมฟักอย่างพร้อมเพรียงกัน ขณะให้แสงสว่างอย่าให้แผ่นไข่ไหมซ้อนกันโดยเด็ดขาด และควรให้แสงสว่างแก่
ไข่ไหมอย่างนอ้ ย 4 ชว่ั โมง
เวลาที่เหมาะสมกับการให้แสงสว่าง คือ 04.00–08.00 น. และให้ใบหม่อนม้ือแรกเวลา
09.00–10.00 น.
กำรเลี้ยงไหมวัยอ่อน
การเลีย้ งไหมวัยอ่อน หมายถึง การเล้ียงไหมแรกฟักออกจากไข่แล้วเจริญเติบโตเป็นวัย 1 วัย
2 วัย 3 ไหมวัยนี้มีความอ่อนแอต่อโรค จึงจาเป็นต้องมีการเล้ียงอนุบาลท่ีดี โดยเน้นเทคนิคการเล้ียงไหมที่

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 22

ถูกต้องทุกขั้นตอน เอาใจใส่อย่างดี เป้าหมายการเล้ียงไหมวัยอ่อน คือ เล้ียงให้หนอนไหมสมบูรณ์แข็งแรง
เจริญเติบโตอย่างสม่าเสมอตื่น–นอนพร้อมเพรยี งกนั และลดการสญู หายของหนอนไหม

หลักกำรเลย้ี งไหมวยั ออ่ น
1) ไหมวัยอ่อน เป็นหนอนไหมที่มีความต้านทานโรคต่า ต้องเล้ียงในสภาพท่ีสะอาด เพื่อ
ปอ้ งกันเช้ือโรคโดยการทาความสะอาดโรงเลีย้ งและอุปกรณเ์ ลย้ี งไหม
2) ลดจานวนสูญหายของหนอนไหม โดยเลีย้ งไหมใหแ้ ขง็ แรง ซง่ึ ทาได้โดย

2.1) เลือกใบหม่อนเหมาะสมกบั วยั ของหนอนไหม
2.2) ก่อนให้ใบหม่อน ควรมกี ารกระจายตวั ไหมให้สมา่ เสมอ
2.3) ใหใ้ บหม่อนท่มี ีขนาดเหมาะสมกับวยั ของหนอนไหม
2.4) ขยายพื้นท่เี ลีย้ งให้กับหนอนไหมอยา่ งเหมาะสม
ใบหมอ่ นท่ีเหมาะสมกับไหมวัยออ่ น
1) ใบหม่อนสาหรับไหมแรกฟัก (วัย 1 วันท่ี 1/ไหมแรกฟัก) ใช้หม่อนใบที่ 1-2 โดย
นับใบท่คี ลี่ แผน่ ใบรับแสงมากที่สุดเป็นใบท่ี 1
2) ใบหม่อนสาหรับไหมวัย 1 ใช้ใบหมอ่ นใบท่ี 1–3 เท่านน้ั
3) ใบหม่อนสาหรบั ไหมวยั 2 ใช้ใบหม่อนใบที่ 4–6 หรือสังเกตจากตาหม่อน โดยตา
หมอ่ นจะเร่ิมเปล่ียนเป็นสีน้าตาล จะใช่ส่วนนี้ข้ึนไปถึงยอดอาจเก็บโดยการตัดหรือเด็ดใบก็ได้ และห้ามใช้ยอด
หม่อนอ่อน (ใบหม่อนทีย่ งั ไมค่ ล่แี ผ่นใบ)
4) ใบหม่อนสาหรับไหมวัย 3 ให้สังเกตจากสีของกิ่งหม่อนช่วงรอยต่อระหว่างสีเขียว
กบั สนี า้ ตาล ใบหม่อนบรเิ วณรอยต่อเปน็ ใบหม่อนท่เี หมาะสมทส่ี ุดในการเลีย้ งไหมวยั 3 ประมาณใบที่ 7-10
วิธกี ำรเลี้ยงไหมวยั อ่อน
กำรเล้ียงไหมแรกฟัก
1) หลงั จากเปิดห่อกระดาษดาและใหไ้ ข่ไหมได้รับแสงแล้วอย่างน้อย 4 ชั่วโมง นาแผ่นไข่ไหม
มาวางบนกระดาษปูกระด้งเลี้ยงไหมหรือชั้นเลี้ยงแล้วแกะกระดาษห่อไข่ไหมออก สังเกตดูว่าหนอนไหมฟัก
ออกเป็นตัวหมดแล้วหรือไม่ หากหนอนไหมฟักออกเป็นตัวน้อยกว่า 90% อาจท้ิงไข่ไหมไว้ระยะหน่ึงเพ่ือรอ
การฟกั ออก
2) โรยยาฆา่ เชื้อบางๆ ให้ยาท่ีโรยตดิ ทว่ั หนอนไหมทกุ ตวั ทิ้งไว้ 10-15 นาที
3) ภายหลังการโรยยา ควรหั่นใบหม่อนขณะรอ โดยห่ันเป็นช้ินสี่เหล่ียมจัตุรัส (ห่ัน 2 ครั้ง)
ขนาดความกว้างของชน้ิ หม่อนเท่ากบั ความยาวของตัวหนอนไหม (ประมาณ 0.5x0.5 เซนตเิ มตร)

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 23

4) เมื่อครบระยะเวลาการโรยยา ให้โรยใบหม่อนลงบนแผ่นไข่ไหมประมาณ 40 กรัม/แผ่น
แล้วปล่อยทิ้งไว้ 10–15 นาที หนอนไหมจะคลานขึ้นมาบนใบหม่อน จากนั้นจึงคว่าแผ่นไข่ไหมแล้วเคาะให้
หนอนไหมท่ีอยู่บนใบหม่อนตกลงบนพื้นที่เล้ียงไหม แล้วใช้ขนไก่ปัดให้มีขนาดกองประมาณ 1½-2 เท่าของ
แผ่นไข่ไหม และใหห้ นอนไหมกระจายอย่างสม่าเสมอ

5) ให้ใบหม่อนหั่นประมาณ 80 กรัม/แผ่น โรยให้สม่าเสมอเพื่อเป็นอาหารมื้อแรก แล้วใช้
ฟองน้าชุบน้าบีบหมาดๆ วางรอบกองใบหม่อน และคลุมด้วยกระดาษพาราฟินหรือกระดาษแก้วขุ่นเพ่ือเก็บ
รักษาความชื้น และคลมุ กระบะเลี้ยงไหมด้วยผ้าชุบน้าหมาดๆ อีกชั้นหน่ึง จากน้ันจึงเลี้ยงไหมอีก 2–3 ครั้ง ใน
วนั แรกนน้ั (เวลา 14.00 น. 17.00 น. และ/หรือ 21.00 น.)

กำรเล้ยี งไหมวยั 1
1) ภายหลังการเล้ียงไหมแรกฟัก จะทาการเลี้ยงไหมวัย 1 โดยการห่ันใบหม่อนเป็นชิ้น
ส่ีเหล่ียมจัตุรัสเช่นเดิม และให้ใบหม่อนอย่างน้อยวันละ 3 ม้ือ คือ 06.00 น. 11.00 น. และ 16.00 น. หรือ
หากสามารถใหใ้ บหมอ่ นในเวลา 20.00 น. จะทาให้หนอนไหมได้ใบหม่อนสดกินตลอดเวลา
ไหมวัยออ่ นจะใช้ปรมิ าณใบหมอ่ น 20–25 กิโลกรมั /ไขไ่ หม 1 แผ่น อัตราส่วนการให้ใบหม่อนในแต่ละช่วงเวลา
เชา้ กลางวัน เยน็ เปน็ 3:2:5 โดยน้าหนัก
2) การเลี้ยงไหมวัยอ่อนไม่ควรทาให้หนอนไหมอยู่อย่างหนาแน่น ควรขยายพื้นท่ีเลี้ยงไหม
อย่างเหมาะสมโดยขยายพ้นื ทีท่ ุกวัน สาหรับไหมวัย 1 วันท่ี 2 ให้ได้ขนาดประมาณ 45x60 เซนติเมตร/ไข่ไหม
1 แผน่ และวันท่ี 3 ใหไ้ ด้ขนาดประมาณ 60x90-100 เซนตเิ มตร/แผ่น
3) เมื่อเลี้ยงไหมถึงวัย 1 ถึงวันที่ 4 ไหมจะเร่ิมนอน ดังน้ัน ในไหมวัย 1 วันท่ี 3 ควรโรยสาร
ฆ่าเช้ือบนตัวหนอนไหมแล้ววางตาข่ายบนพื้นที่เลี้ยงไหม และหั่นใบหม่อนเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า (ห่ัน 1 ครั้ง)
โรยบน ตาข่ายใหห้ นอนไหมประมาณ 2 มอื้ จงึ ยกตาขา่ ยถ่ายมูลวางบนพนื้ ทใ่ี หม่
4) เม่อื หนอนไหมเจริญเติบโตเต็มท่ีจะหยุดพัก ไม่กินอาหารเพื่อเตรียมเปลี่ยนวัย เรียกช่วงนี้
วา่ ไหมนอน สงั เกตไดจ้ ากไหมมีผิวลาตัวตึง ปากเป็นรูปสามเหลี่ยมเล็กๆ ชูหัวน่ิง หยุดการกินใบหม่อน ให้โรย
ปูนขาวหรือแกลบเผา เพื่อปรับสภาพพื้นที่เล้ียงไหมให้แห้ง (ไหมนอนต้องการสภาพที่แห้ง ความชื้นสัมพัทธ์
น้อยกว่า 70% เพื่อไหมจะได้ลอกคราบดี) เม่ือหนอนไหมลอกคราบเก่าออก เพื่อข้ึนวัยใหม่ เรียกว่า ไหมต่ื น
หนอนไหมจะตื่นช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับสภาพอุณหภูมิ กล่าวคือ ถ้าอากาศร้อนไหมจะต่ืนเร็วและถ้าอากาศเย็น
ไหมจะตื่นชา้
5) อุณหภูมิท่ีเหมาะสมกับการเล้ียงไหมวัย 1 คือ 27-28 องศาเซลเซียส ความช้ืนสัมพัทธ์
90%

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 24

กำรเล้ยี งไหมวยั 2
1) หนอนไหมต่ืนเป็นวัยที่ 2 สังเกตได้จากปากของหนอนไหมจะเป็นสีดา ผิวลาตัวเห่ียวย่น
ใหท้ าการโรยยาฆ่าเชอื้ บนตัวไหมเมื่อหนอนไหมตื่นมากกวา่ 80% แล้ววางตาข่ายสาหรบั ถ่ายมูลไหม
2) ให้ใบหม่อน โดยใบหมอ่ นทใ่ี ห้จะห่นั เพียงคร้ังเดยี วและใหป้ ริมาณทีน่ ้อย
3) การถา่ ยมลู หลังให้ใบหมอ่ นประมาณ 2 ม้อื
4) สาหรับไหมวัย 2 ขยายพ้ืนท่เี ลยี้ งไหม 2 ครงั้ ให้ได้พื้นที่ 2-3 ตารางเมตร/แผน่
5) ประมาณวันที่ 7 หนอนไหมจะเริ่มนอนครั้งที่ 2 ดังน้ัน ในวันท่ี 6 ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับ
ไหมวัย 1 ก่อนไหมนอน และเม่ือไหมนอนใหโ้ รยปนู ขาวหรือแกลบเผาเชน่ เดยี วกนั
6) อุณหภูมิที่เหมาะสมกับการเลี้ยงไหมวัย 2 คือ 26-27 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์
85-90%
กำรเล้ยี งไหมวัย 3
1) หลงั จากไหมตน่ื ปฏบิ ัติเช่นเดียวกบั การเลย้ี งไหมวัย 2
2) สาหรับไหมวัย 3 ควรขยายพน้ื ทีใ่ ห้ได้ 4-6 ตารางเมตร/แผ่น
3) ประมาณวันท่ี 10 หนอนไหมจะเร่ิมนอนให้ดาเนินการเช่นเดียวกับไหมวัย 1 และ 2 ขณะ
หนอนไหมกอ่ นไหมนอนและไหมนอน
4) อุณหภูมิที่เหมาะสมกับการเล้ียงไหมวัย 3 คือ 25-26 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์
80-85%
กำรเกบ็ หนอนไหมไมส่ มบูรณ์ท้งิ
หนอนไหมท่ีเกิดโรคมักมาจากหนอนไหมตัวเล็กหรือไม่สมบูรณ์ ซ่ึงพบได้ต้ังแต่วัย 2 ดังน้ัน
ควรหมน่ั สงั เกตและทาการคดั หนอนไหมท้งิ ในถงั ฟอร์มาลนี 3 %
กำรเลย้ี งไหมวยั แก่
การเล้ียงไหมวัยแก่ หมายถึง การเล้ียงไหมนับตั้งแต่หนอนไหมต่ืนจากนอนวัย 3 จนถึงไหม
สุกทารงั ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 11-13 วนั (ภาพท่ี 7)

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 25

ภำพที่ 7 ชพี จักรของไหม
วิธกี ำรเลี้ยงไหมวยั แก่
การเลยี้ งไหมวัยแกม่ ี 2 วิธี คือ
1) การเล้ียงในกระด้งหรือกระบะ เป็นวิธีที่ปฏิบัติมาด้ังเดิม ภายในห้องเล้ียงไหมจะมีชั้นวาง
กระดง้ หรือกระบะ วธิ ีการเลี้ยงไหมจะใชว้ ิธีเก็บใบหม่อนท่ีค่อนข้างแก่ มีสีเขียวเข้ม มาโรยให้หนอนไหมกิน วิธี
นท้ี าใหเ้ ปลืองพืน้ ทแี่ ละเสยี เวลาในการเลย้ี งไหม
2) การเลี้ยงไหมแบบช้ันเลี้ยง เป็นวิธีการเล้ียงไหมแผนใหม่ เพ่ือให้สามารถใช้พ้ืนที่อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ประหยัดพื้นทโี่ รงเล้ยี งไหม ทาให้เลี้ยงไหมได้ปริมาณมาก สะดวก และประหยัดแรงงาน โดยชั้น
เลยี้ งไหมจะทาด้วยไม้หรอื เหล็ก ขนาด กวา้ งxยาวxสูง เทา่ กบั 1.2x2.5x0.45 เมตร พื้นโต๊ะทาด้วยตะแกรงตา
ขา่ ยหรอื ตาข่ายเชอื ก วธิ กี ารเลี้ยงไหมจะใช้วิธีการตดั ก่งิ หมอ่ นเล้ียงไหมทง้ั กิง่
กำรเลีย้ งไหมวัย 4
1) หลงั จากไหมต่ืน ใหท้ าการโรยยาฆา่ เชอื้ โรคบนตวั ไหม วางตาขา่ ย เพือ่ ถา่ ยมลู ไหม
2) เก็บใบหม่อนในช่วงตอนกลางของกิ่งท่ีมีสีน้าตาลอมเขียว หากเลี้ยงไหมแบบช้ันเลี้ยงโดย
การตดั ก่ิงหมอ่ นเล้ียงไหมท้งั กิ่งควรตัดยอดอ่อนท้งิ ก่อนใช้เล้ียงไหม
3) หลงั จากใหใ้ บหมอ่ นประมาณ 2 มือ้ ทาการถ่ายมูลไหมทิง้ และขยายพื้นทเี่ ลยี้ งไหม
4) ไหมวยั 4 ควรขยายพนื้ ทใี่ หไ้ ด้ 10-14 ตารางเมตร
5) ในช่วงไหมนอน 4 หากพบปัญหาไหมนอนไม่สม่าเสมอ ให้ทาการแยกรุ่นเล้ียงไหม โดย
วางตาข่ายใหใ้ บหมอ่ นทง้ิ ไวป้ ระมาณ 2 ชว่ั โมง จึงทาการยกตาขา่ ยแยกเอาตัวที่ไม่นอนออกจากไหมท่ีนอนแลว้
6) อุณหภูมิท่ีเหมาะสมกับการเล้ียงไหมวัย 4 คือ 24–25 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์
75%

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 26

กำรเลีย้ งไหมวยั 5
การเล้ียงไหมวัย 5 เป็นช่วงไหมวัยสุดท้ายที่ใกล้จะให้ผลผลิต ซ่ึงหนอนไหมวัยนี้จะกินใบ
หม่อนปรมิ าณมาก หากสามารถเลีย้ งไหมวยั 1-3 ไดด้ ี การเล้ียงไหม วยั 4-5 กจ็ ะไมม่ ีความยุ่งยาก หรือถ้าเล้ียง
ไหมวัย 1-3 ได้ไม่ดีพอ ในวัย 4-5 ก็จะพบปัญหาอย่างมากในการเล้ียงไหมรุ่นนั้นๆ เช่น ไหมเป็นโรค ไหมตาย
หรอื มหี นอนไหมหลายขนาดหรือหลายวัย
1) เก็บใบหม่อนที่เจริญสมบูรณ์เต็มท่ี สีเขียวเข้ม คุณภาพดี สะอาดปราศจากโรค อยู่ใน
บรเิ วณส่วนกลางของกิง่ ลงมา หากเล้ยี งไหมแบบชั้นเลย้ี งโดยการตดั ก่งิ หม่อนเลยี้ งไหมท้งั กิ่งควรตัดยอดอ่อนทิ้ง
ก่อนใช้เล้ยี งไหม
2) ดาเนินการเล้ียงไหมเชน่ เดยี วกับวยั 4 แต่ในการเลยี้ งไหมทใ่ี ชว้ ธิ ีเก็บใบหม่อนเล้ียงเป็นใบๆ
ควรดาเนินการถ่ายมูลไหมอย่างน้อย 3 ครั้งหรือทุกวัน เพื่อลดความช้ืนและอุณหภูมิ ซึ่งเป็นเหตุให้หนอนไหม
อ่อนแอและเชื้อโรคเขา้ ทาลายได้งา่ ย
สาหรับการเลี้ยงไหมโดยตัดก่ิงหม่อนเลี้ยงไหมท้ังก่ิงสามารถเลี้ยงไหมโดยไม่ถ่ายมูล ยกเว้น
กอ่ นไหมสกุ เขา้ ทารัง ประมาณวนั ท่ี 5-6 ควรดาเนินการถ่ายมูลไหมเพื่อลดปริมาณความช้ืนในกองหม่อน และ
เพอื่ ความสะดวกในการดาเนินการเก็บไหมสุก
3) ไหมวัย 5 ควรขยายพน้ื ทใ่ี หไ้ ด้ 18-24 ตารางเมตร
4) อุณหภูมิที่เหมาะสมกับการเล้ียงไหมวัย 5 คือ 24-25 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์
70%
กำรระบำยและกำรหมุนเวยี นของอำกำศ
หนอนไหมวัยแก่จะกินใบหม่อนปริมาณมาก ทาให้เกิดความร้อน ความชื้น และก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ อันเกิดจากการเผาผลาญอาหาร การหายใจ การขับถ่ายของเสีย ห้องเลี้ยงไหมจึงอาจมี
อณุ หภมู แิ ละความชน้ื ที่สูงขน้ึ ทาใหห้ นอนไหมอ่อนแอและเช้อื โรคเข้าทาลายได้ง่าย ดังน้ัน การถ่ายเทอากาศท่ี
ดีจึงเป็นส่ิงจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของหนอนไหมวัยแก่ ความเร็วของลมท่ีเหมาะสมประมาณ 0.1–0.3
เมตร/วินาที ถ้าไม่มีการหมุนเวียนของอากาศภายในห้องควรใช้พัดลมช่วยเพ่ือให้มีการระบายและถ่ายเทของ
อากาศ แต่ต้องระมัดระวังไม่ทาให้ใบหม่อนแห้งหรือเหี่ยว ในช่วงฤดูร้อน ถ้าหากอุณหภูมิของอากาศภายนอก
สงู กวา่ อากาศภายในห้อง ควรปดิ หน้าตา่ งด้านที่ลมพัดเข้ามาภายในหอ้ ง และเปดิ หน้าต่างด้านท่ีระบายลมออก
จากห้อง การเปิดหนา้ ตา่ งควรเปดิ เฉพาะตอนเยน็

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 27

ใบหม่อนสาหรบั เลยี้ งไหมวัยแก่
สาหรับไหมวัยแก่สามารถเก็บใบหม่อนได้ท้ังช่วงเช้าและบ่ายที่แสงแดดไม่ร้อนจัดมาก และ
เก็บใบหม่อนท่ีเจริญสมบูรณ์เต็มท่ีและมีคุณภาพดี เป็นใบสีเขียวท่ีสังเคราะห์แสงได้เต็มท่ีและอยู่ในช่วงกลาง
ของก่ิงลงมา การเก็บรักษาใบหม่อน สถานที่เก็บหม่อนควรมีอุณหภูมิต่า ความชื้นสัมพัทธ์สูง เพ่ือให้ใบหม่อน
คงความสดไว้ได้ดี นอกจากนีค้ วรเป็นห้องท่ีมืดเพ่ือลดการสงั เคราะหแ์ สงของหม่อนลง สาหรับการดูแลและเก็บ
รกั ษาใบหมอ่ นที่เก็บมาเพือ่ การเลี้ยงไหมดาเนนิ การ ดงั น้ี
1) แบบเกบ็ ใบ ใหน้ าใบหมอ่ นทเี่ ก็บมาวางแผก่ ระจายออกบนเสือ่ หรอื พลาสติก ไม่วางสุมเป็น
กองๆ กรณีท่ีอากาศร้อนหรือแห้งมากๆ ควรฉีดพ่นละอองน้าลงมาบริเวณใบหม่อนเล็กน้อย หรือใช้ผ้าชุบน้า
หมาดๆ คลมุ ช่วงฤดูหนาวควรใชแ้ ผน่ พลาสตกิ คลุมปิดกองใบหมอ่ นแทน
2) แบบตัดกงิ่ เล้ยี ง ถา้ อากาศรอ้ นหรอื แห้งใหฉ้ ดี พ่นละอองน้าบริเวณกองหม่อนเล็กน้อย แล้ว
จึงใช้ผ้าชุบน้าหมาดๆ คลุม ถ้าใบหม่อนที่เก็บมาเปียกช้ืนและอากาศในขณะน้ันช้ืมากให้วางผ่ึงให้แห้งก่อน
นามาเกบ็ รวมกัน
เทคนคิ กำรเล้ยี งไหมในแต่ละฤดกู ำล
เทคนิคกำรเล้ียงไหมในฤดฝู น
การเลี้ยงไหมในฤดฝู นมกั ประสบปัญหาอากาศร้อนและฝนตกหนัก อุณหภูมิ และความชื้นสูง
ทาให้เกิดเชื้อโรค หนอนไหมอ่อนแอและตาย ผลผลิตรังไหมจะมีคุณภาพต่า เทคนิคการเล้ียงไหมท่ีควร
ดาเนนิ การมีดงั นี้
1) ในขณะฝนตกซ่ึงอณุ หภูมแิ ละความช้ืนสูงใหเ้ ปิดหน้าต่างให้ลมพัดผ่าน ควรระมัดระวังมิให้
มลี ะอองฝนสาดเขา้ ภายในโรงเล้ยี งไหม หากมคี วรปิดหนา้ ต่างด้านทม่ี ลี ะอองฝน
2) ในช่วงเช้าและเย็น ถ้าอุณหภูมิต่าและความช้ืนสูง ให้นาเตาถ่านที่มีไฟอ่อนๆ ปราศจาก
ควนั ไฟ มาวางไวภ้ ายใน เพอ่ื ชว่ ยปรบั อณุ หภูมใิ หส้ งู ข้นึ
3) ถ้าอุณหภูมิสูงในตอนใกล้เที่ยง ควรลดปริมาณใบหม่อนในเวลา 11.00 น. เพราะหนอน
ไหมจะกินใบหม่อนนอ้ ย หมน่ั รกั ษาสภาพพืน้ ทเี่ ล้ียงไหมใหส้ ะอาดและแห้ง
4) ขยายพ้นื ที่เลี้ยงและกระจายหนอนไหมออกให้สม่าเสมอ และควรวางกระด้ง หรือช้ันเล้ียง
ไหมใหห้ า่ งกนั เพอื่ ใหม้ กี ารถา่ ยเทอากาศไดด้ ี
5) โรยปูนขาวในไหมวัย 5 วันละ 1 ครั้งทกุ วนั กอ่ นใหใ้ บหม่อน
6) ใบหม่อนทีเ่ ก็บไวใ้ นห้องควรอยใู่ นสภาพแห้ง ไม่เปยี กน้า

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 28

7) ไมเ่ ล้ยี งไหมวยั แกด่ ้วยใบหม่อนท่ีอยู่บริเวณยอดอ่อนซึ่งมีความช้ืนค่อนข้างสูง เพราะจะทา
ให้ระบบสรีระของหนอนไหมผดิ ปกติ หนอนไหมจะออ่ นแอและเช้อื โรคเขา้ ทาลายได้งา่ ย

เทคนิคกำรเลีย้ งไหมในฤดูหนำว
การเลี้ยงไหมในฤดหู นาว ควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้
กรณีความชื้นตา่
1) ตั้งเตาไฟท่ีปราศจากควันไว้ในห้องเล้ียงไหมและวางกะละมังหรือถังบรรจุน้าบนเตา เพื่อ
เพิม่ อุณหภูมิและความชื้น
2) ปดิ หนา้ ต่างและประตูเพอ่ื เพมิ่ อุณหภมู ภิ ายใน
3) พ่นละอองน้าลงบนใบหม่อนที่เก็บไว้เพ่ือเล้ียงไหม หรือปรับสภาพรอบด้านให้มีความชื้น
สูงข้นึ
กรณีความช้ืนสงู
1) ตัง้ เตาไฟท่ีปราศจากควนั ในหอ้ งเล้ียงไหม
2) ปริมาณใบหม่อนท่ีใช้เลี้ยงไหมในแต่ละคร้ังควรมีปริมาณพอดีหรือใกล้เคียงกับความ
ตอ้ งการของหนอนไหม
3) เพมิ่ จานวนครั้งในการโรยแกลบเผาหรอื ปนู ขาวเพ่อื ดูดความชื้น พร้อมถา่ ยมูลไหมและเศษ
ใบหมอ่ นทีเ่ หลอื เพอื่ ลดความชื้น
4) ในห้องเก็บใบหมอ่ นเพื่อเล้ยี งไหมควรปรบั สภาพให้อากาศถ่ายเท ไมอ่ บั ช้ืน
โรคไหม
1) โรคมัสคำดีน(มมั ม)ี่ ตดิ ตอ่ โดยสัมผสั ทางผิวหนัง
ลกั ษณะอาการ

- หนอนไหมจะเคลอ่ื นไหวช้า ไม่ค่อยกินอาหาร
- บรเิ วณผวิ หนงั จะมีจุดสีดา หรอื คลา้ ยจดุ นา้ มันและตาย
- หากมอี าการรนุ แรง หนอนไหมจะสารอก น้าย่อย ทอ้ งเสีย และตาย
- ซากหนอนไหมที่ตายแล้ว 2-3 วันตัวจะแข็งและหดส้ันลงและมีเส้นใยของเชื้อรา
มากข้นึ
สภาพท่เี อ้ือต่อการเกิดโรค
- สภาพอากาศรอ้ น
- ความช้ืนสงู

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 29

2) แกรสเชอร่(ี โรคเตอ้ ,ตวั บวม, ตัวเหลือง,กะท)ิ ตดิ ตอ่ โดยการกนิ
ลกั ษณะอาการ

- ไหมจะออ่ นแอ ไมก่ ินหมอ่ น ปลอ้ งตามลาตัวจะบวม หดส้ัน ผนงั ลาตัวเป็นมนั
- หนอนไหมจะไต่ตามขอบช้ันเลยี้ งหรือกระดง้
- ตอ่ มาผวิ หนงั จะแตกและมนี ้าสีขาวขนุ่ คลา้ ยนา้ นมหรือกะทิ ไหลออกมา
- หากเกิดชว่ งไหมสกุ ไหมจะทารังได้ แต่จะตายชว่ งเปน็ ดักแด้
สภาพท่เี อ้ือต่อการเกิดโรค
- ระดบั อุณหภมู ไิ มค่ งท่ี
- ความชนื้ สงู และต่า
- การถ่ายเทอากาศไม่เพยี งพอ
- ใบหม่อนด้อยคณุ ภาพ
- ปรมิ าณใบหมอ่ นไม่เพยี งพอ
3) โรคแฟรคเชอรี่ (โรคหัวส่อง, ไส้ขำว) ตดิ ตอ่ โดยการกนิ
ลกั ษณะอาการ
- ไหมจะกินอาหารน้อยลงเจริญเตบิ โตช้า
- สารอกน้าย่อย ทอ้ งรว่ ง กนั แฉะมนี ้าสีเขยี วซึมออกมา
- ถ่ายมูลตดิ กันเปน็ ลูกประคา
- ผิวหนังส่วนหัวหรืออก จะโปร่งใส ลาตัว หดสั้น ด้านหลังมีสขี าว
- บางครั้งสว่ นหัวจะย่ืนออกมาภายนอก
- ซากจะนิ่ม และเปล่ยี นเปน็ สดี า หรือสีแดงดา มีกลิ่นเหม็น
สภาพที่เอ้อื ต่อการเกดิ โรค
- ระดบั อณุ หภูมิไมค่ งท่ี
- ความชื้นสูง
- การถ่ายเทอากาศไม่เพยี งพอ
- ใบหม่อนดอ้ ยคุณภาพ
- ปริมาณใบหม่อนไมเ่ พียงพอ

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 30

4) โรคแอสเปอรจ์ ิลลัส ตดิ ตอ่ โดยรับสัมผัสทางผวิ หนงั
ลักษณะอาการ

- หนอนไหมกินอาหารน้อยลง
- ผวิ หนงั ตงึ เป็นมัน
- การเจรญิ เติบโตไม่สม่าเสมอ
- ไหมท่ตี ิดเชื้อจะไมล่ อกคราบหรอื ลอกคราบไม่ออก
สภาพที่เออ้ื ตอ่ การเกิดโรค
- ความช้ืนสงู
- อากาศรอ้ น
-มวี ัชพืชทเี่ ชื้อสามารถเจริญเตบิ โตไดห้ รอื มีเชื้อตกค้างบรเิ วณหอ้ งเลย้ี งไหม
5) โรคเพบรนิ ติดตอ่ ทางไขไ่ หมและ/หรือโดยการกนิ
ลักษณะอาการ
- ไหมเจรญิ เติบโตไมส่ ม่าเสมอ
- หนอนไหมไมล่ อกคราบ หรอื หลงั ลอกคราบลาตัวใส/ผิดปกติ
- ถา้ เกิดการติดต่อผ่านไขไ่ หม หนอนไหมจะตายต้ังแต่วัยอ่อน
- ถา้ ติดเชื้อโดยการกินในหนอนไหมวยั อ่อน หนอนไหมจะตายในวัย 4 และ 5
สภาพทเี่ อื้อต่อการเกดิ โรค
- แม่ผีเสือ้ ท่ีเปน็ โรค
- หอ้ งเลย้ี งไหมท่ไี มม่ กี ารล้างฆ่าเชอ้ื โรค
- ใบหมอ่ นท่ปี นเป้ือนเช้ือโรค
สำเหตขุ องกำรเกิดโรคไหม
1) การทาความสะอาดโรงเลย้ี งไหม อปุ กรณ์ ไม่ดี มกี ารสะสมเชื้อโรคในโรงเลี้ยง
2) สภาพอุณหภูมิ-ความชื้นสูงเกนิ ไป
3) ใบหม่อนไมม่ ีคุณภาพ
4) การถา่ ยเทอากาศไม่ดี
ฉะน้ัน กอ่ นการเลยี้ งไหมทกุ ครง้ั จะตอ้ งทาความสะอาดโรงเล้ียงไหมให้เรียบร้อย ถ้า
โรงเลี้ยงไหมไม่สะอาดเพียงพอและมีเช้ือโรคตกค้าง จะทาให้เกิดโรคไหมในช่วงวัย 3 ซ่ึงไหมจะตายช่วงวัย 5
หรอื ชว่ งไหมสุก

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 31

กำรปอ้ งกันโรคไหม
1) ใช้ไขไ่ หมที่ปลอดโรคเพบริน
2) กอ่ นและหลังการเลี้ยงไหม ควรทาความสะอาดโรงเล้ียงและอุปกรณ์ทุกคร้ัง ด้วย

ผงซกั ฟอก คลอรีน หรืออบดว้ ยฟอรม์ าลีนเข้มขน้ 3%
3) ปรับสภาพโรงเล้ียงไหมให้เหมาะกับการเจริญเติบโตของหนอนไหม และระวัง

อย่าใหอ้ ุณหภมู ิและ ความช้นื สูงซ่ึงจะเหมาะกบั การเจริญเติบโตของเชอื้ โรค
4) ใหม้ ีการถ่ายเทอากาศในโรงเลี้ยงไหมอยา่ งดี โดยเฉพาะในช่วงไหมวยั แก่
5) มกี ารใช้เคมีภณั ฑ์ในการเลีย้ งไหมอยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
6) หา้ มนามูลไหมสดใส่ในสวนหม่อน
7) ใบหม่อนท่ีใช้ต้องมีคุณภาพ คือ ได้รับการดูแลได้เป็นอย่างดีทั้งระยะการปลูก

การตดั แต่งการใส่ปุย๋ อย่างถกู ตอ้ ง มกี ารถ่ายเทอากาศในสวนหม่อนและได้รบั แสงอยา่ งเพียงพอ
8) ปรับเทคนิคให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของหนอนไหม เช่น การกระจาย

หนอนไหม การขยายพ้นื ที่ และการถา่ ยมูลไหม
9) เพิ่มความสนใจในการเล้ียงไหมโดยเฉพาะในไหมวัย 1 ถึงวัย 3 ให้มากข้ึนและ

เลือกใบหมอ่ นให้เหมาะสมกับไหมแตล่ ะวัย
แมลงศัตรูไหม
แมลงศัตรูไหม คือ แมลงท่ีเป็นอันตรายต่อหนอนไหม หรือสร้างความเสียหายแก่

หนอนไหม หรืออาจเป็นพาหะของการนาเชื้อโรคเข้าสู่โรงเลี้ยงไหมก็ได้ ซ่ึงมีด้วยกันหลายชนิด เช่น แมลงวัน
กน้ ขน (Tachinid fly หรือ Uzi fly) มด หนู จ้ิงจก และ ตุก๊ แก ดงั นั้น ควรจะดาเนนิ การป้องกัน ดงั นี้

1) ติดมงุ้ ลวด มงุ้ ตาขา่ ย บริเวณหน้าต่างของโรงเล้ยี งไหมอย่างมิดชดิ และหมั่นตรวจ
รอยรัว่ และรอยขาดเปน็ ประจา

2) ระมดั ระวงั มใิ ห้มแี มลงศัตรูไหมตดิ ใบหม่อนที่นาเข้าไปเลย้ี งไหม
3) ไมค่ วรนามูลไหมสดใส่ในสวนหม่อน ควรเปลี่ยนสภาพโดยทาเปน็ ปุ๋ยหมกั กอ่ น
4) ทาลายแมลงวันกน้ ขน หนอน-ดักแด้ของแมลงวนั กน้ ขนทนั ทีท่พี บ
5) รกั ษาความสะอาดรอบๆ โรงเล้ยี งไหม หรือทาลายแหล่งอาศยั ของศัตรไู หม
(ภาพที่ 8-15)

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 32

ภำพท่ี 8 วิทยำกรจำกศูนยห์ ม่อนไหมเฉลิม ภำพที่ 9 วิทยำกรจำกศูนย์หม่อนไหมเฉลิม
พระเกยี รติฯ ขอนแก่น บรรยำยเร่ืองหลักกำรกำร พระเกยี รติฯ ขอนแกน่ บรรยำยเรื่องกำรปลกู หมอ่ น

ปลูกหม่อนเลยี้ งไหม

ภำพท่ี 10 ผู้เขำ้ รว่ มกิจกรรมฝึกปฏบิ ตั กิ ำรกำรหน่ั ภำพที่ 11 วทิ ยำกรจำกศนู ยห์ ม่อนไหมเฉลิม

ใบหม่อนท่ีถกู ต้องเพ่ือนำไปเลี้ยงไหม พระเกียรตฯิ ขอนแกน่ บรรยำยเรอ่ื งกำรเลยี้ งไหม

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 33

ภำพที่ 12 วิทยำกรจำกศนู ยห์ ม่อนไหมเฉลิม ภำพที่ 13 ภำพไขไ่ หม
พระเกียรติฯ ขอนแกน่ บรรยำยเรอื่ งระยะไขไ่ หม

ภำพที่ 14 ผู้เขำ้ รว่ มกิจกรรมฝึกปฏบิ ตั กิ ำรกำร ภำพท่ี 15 ผู้เข้ำรว่ มกจิ กรรมฝกึ ปฏิบัตกิ ำรกำร
เตรียมแกลบเผำเพื่อป้องกันโรคไหม เตรียมปูนขำวเพ่ือป้องกันโรคไหม

1.2 กำรฟอกยอ้ มสเี คมเี ส้นฝ้ำยและเสน้ ไหมด้วยวิธยี อ้ มเยน็
1) ควำมรูท้ ่ัวไปเกย่ี วกับเสน้ ใยไหม
โครงสร้ำงเส้นใยไหม
เส้นใยไหม คือ เส้นใยท่ีพ่นออกมาจากปากของตัวหนอนไหมที่โตเต็มวัย เพื่อมาห่อหุ้มตัวป้องกันศัตรู
ทางธรรมชาติ ในขณะท่ีหนอนไหมลอกคราบเป็นตัว “ดักแด้” และไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ในช่วงที่เป็นตัว
หนอนไหมจะเจริญเติบโตโดยการลอกคราบประมาณ 3-4 คร้ัง ในระยะเวลาประมาณ 20-22 วัน และจะมี
น้าหนักตัวเพิ่มขึ้นประมาณ 10,000 เท่า โดยการกินอาหารเพียงอย่างเดียว คือ “ใบหม่อน” และเมื่อ
เจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะหยุดกินอาหาร แล้วพ่นเส้นใยออกมาห่อหุ้มตัวเอง ท่ีเราเรียกว่า “รังไหม” ซ่ึงมี
ลักษณะกลมรีคล้าย เมล็ดถ่ัว และหากเรานารังไหมมาต้มในน้าที่มีอุณหภูมิต้ังแต่ 80oC จะสามารถทาให้กาว

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 34

ไหมอ่อนตัว และดึงเส้นใยออกมาได้ ความยาวของเส้นใยจะขึ้นอยู่กับ สายพันธ์ุ และการดูแลในช่วงที่เป็น
หนอนไหม

ไหมเป็นเส้นใยโปรตีน (Protein Fibers) การชักใยของหนอนไหมจะเกิดจากส่วนบริเวณปาก ซ่ึงจะ
ผลิต viscous substance ซึ่งเรียกว่า “fibroin (ไฟโบรอิน)” ออกมาจากต่อม 2 ต่อมรวมกัน ได้เป็นเส้นคู่
เส้นเล็กละเอียดอ่อนมาก พันกันเรียงตัวขนานโดยผิวของเส้นใยแนบชิดกันไปตลอดแนวยาว คลุมด้วย “กาว
ไหม”หรือ “sericin (เซริซิน)” ซึ่งทาหน้าที่เป็นตัวห่อหุ้ม และเป็นกาวยึดให้ fibroin 2 เส้นรวมกัน คุณสมบัติ
ทั่วๆ ไปของ sericin จะเป็นสารแข็งสีเหลืองทึบแสง หนักประมาณ 1/4 ของ fibroin ในส่วนของ Fibroin
เป็น เส้นใยท่ี เรยี กวา่ fibrous protein ซึง่ ประกอบด้วยกรดอะมิโนชนิดตา่ งๆ กนั รวมกนั เปน็ พอลเิ มอร์

คณุ สมบัตทิ ำงกำยภำพ (Physical Properties)
1) เป็นเสน้ ใยยาวตอ่ เนือ่ ง โดยมคี วามยาวตั้งแต่ 150-2,000 หลา
2) สีสันแตกต่างกันไปตามชนิด พันธุ์ สภาพแวดล้อม ฤดูกาล อาหาร และการเจริญพันธุ์ของ
หนอนไหม สีสันน้ีเกิดจากเม็ดสีซึ่งเป็นชนิดเดียวกันกับท่ีพบในพืชท่ัวๆ ไป มีทั้งชนิดละลายน้าได้และชนิดไม่
ละลายน้า มักปะปนอยใู่ นสว่ นของกาวไหมเป็นสว่ นใหญ่
3) เส้นใยไหมแบบแห้งและแบบเปยี กมคี วามทนต่อแรงดงึ ท่ี 27-35 g/tex และ 23-45 g/tex
4) เส้นใยไหมสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ถึง 90% จาก 2% ที่ยืดออก และ 3-35% จาก 20% ท่ี
ยดื ออก
5) เส้นใยไหมมีความแข็งปานกลาง และมีความสามารถอย่างดีเยี่ยมของการกลับคืนสู่สภาพเดิมจาก
การเปลย่ี นสภาพ โดยอาศัยสภาวะของอุณหภูมิและความชื้น
6) เส้นใยไหมมีความถ่วงจาเพาะท่ี 1.25-1.30
7) เส้นใยไหมมคี วามช้ืนประมาณ 11% ภายใต้สภาวะพืน้ ฐาน
8) เส้นใยไหมสามารถละลายได้ในสารละลาย Lithium Bromide, Phosphoric acid และ
สารละลาย Cuprammonium
9) เส้นใยไหมมีคุณสมบัติเป็นชนวนกันความร้อนได้เป็นอย่างดี และมีผลกระทบเพียงเล็กน้อยที่
อณุ หภมู ิมากกว่า 1500C และมคี วามตา้ นทานไฟฟ้า สามารถสะสมประจุไฟฟ้าสถิตไว้ได้ดีมาก ซ่ึงเป็นอุปสรรค
สาคญั ในการทอผ้า
10) เปน็ เสน้ ใยทีท่ นต่อการขดั ถูค่อนข้างต่า

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 35

คุณสมบัติทำงเคมี (Chemical Properties)
1) เส้นใยไหมสามารถถูกทาลายด้วยสารละลายด่าง และสามารถละลายได้อย่างรวดเร็วใน
สารละลายที่มีตัวออกซิไดซ์ท่ีแรง เช่น สารประกอบไฮโปรคลอไรด์ (Hypochoride compound) แต่จะมี
ผลกระทบเพียงเล็กน้อยในสารละลายที่มีตัวรีดิวซ์ และทนต่อกรดทุกชนิด โดยเส้นไหมจะดูดเอากรดไปเก็บไว้
ภายในอย่างรวดเรว็
2) เส้นใยไหมสามารถต้านทานต่อการทาลายของเชื้อจุลินทรีย์ แต่รงควัตถุที่เป็นสีเหลือง และความ
แข็งแรงของเส้นใยไหมจะลดน้อยลงเมื่อสัมผสั กับแสง
3) เสน้ ใยไหมโดยทั่วไปจะมอี งค์ประกอบทเี่ ปน็ ดบี กุ และเกลือของโลหะ ซ่ึงเกลือของโลหะจะทาให้เส้น
ใยไหมมคี วามไวต่อการออกซิไดซ์ของแสง แสงแดดจะทาให้ความเหนียวและความแข็งแรงของเสน้ ใยลดลง
ส่วน Sericin เป็นสารโปรตีนเช่นเดียวกัน แต่เป็นส่วนที่เรียกว่า non–fibrous material ต่างจาก
fibroin อยา่ งมาก ทั้งคุณสมบัติทางเคมี และฟิสิกส์ โดยประกอบด้วยกรดอะมิโนชนิดต่างๆ ถือเป็นสารสาคัญ
ทตี่ ้องกาจดั ออกก่อนนาไหมไปย้อมสี
นอกเหนือจาก fibroin และ sericin แล้ว ไหมดิบยังประกอบด้วยแร่ธาตุบางอย่าง ไขมันเล็กน้อย
และน้า โดยมีเปอร์เซ็นต์ดงั น้ี (ส่วนอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ, 2540)
sericin 22.0-25.0 %
fibroin 62.5-67.0 %
น้า 10.0-11.0 %
เกลอื แร่ และอ่ืนๆ 1.0-1.5 %
ขนำดของใยไหมรังเดย่ี ว
เส้นใยไหมท่ีได้จากการสาวเส้นใยจากรังเดียวกัน จะมีขนาดโตไม่เท่ากันโดยตลอดแนวความยาวของ
เสน้ ใยไหมทง้ั รงั ไหม นน่ั คือ เส้นใยไหมทส่ี าวจากรงั ไหมบริเวณชนั้ เปลือกนอกของรังไหม มักจะมีขนาดของเส้น
โตกว่า มีความราบเรียบสม่าเสมอน้อยกว่า แข็งและหยาบกระด้างกว่า มีกาวไหมมากกว่า และมีสีสันเข้มกว่า
เส้นไหมท่ไี ดจ้ ากการสาวไหมในบรเิ วณชั้นกลางและชั้นในสดุ ของเปลือกรัง
กำรสำวไหม
การสาวไหม คือ การหาเส้นใยไหมที่เป็นต้นเง่ือนจากรังไหมที่ต้มได้ที่แล้วหลายรัง ดึงออกมาพัน
รวมกันด้วยเกลียวท่ีพอเหมาะ แล้วดึงเส้นไหมออกมาจากรัง โดยควบคุมให้เกลียวเท่ากันและไปทางเดียวกัน
ตลอดท้ังเส้นด้วยแรงดึงสม่าเสมอ และหมั่นคอยเติมรังไหมท่ีหาเส้นไหมไว้แล้วเมื่อรังที่กาลังสาวอยู่หมดหรือ
เส้นใยบางลง เพ่ือควบคมุ ให้ขนาดเสน้ ไหมโตเทา่ ๆ กันตลอดเสน้ เสน้ ไหมดบิ ซึ่งสาวดว้ ยเคร่ืองสาวแบบพ้ืนบ้าน

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 36

มักมีเกลียวต่อนิ้วต่า มีลักษณะแบนและแตกเป็นช่วงๆ ความสม่าเสมอค่อนข้างต่าเพราะไม่สามารถควบคุม

จานวนรังไหมให้คงที่ มีเศษใยไหม เศษวัสดุและสิ่งสกปรกต่างๆ ติดปะปนมามาก ควรปรับปรุงคุณภาพของ

เส้นไหมดิบให้เรยี บร้อยก่อนนาไปทอผ้า

คณุ ภำพของเสน้ ไหมดิบ

เส้นไหมดิบท่ีคุณภาพดี จะต้องมีขนาดโตสม่าเสมอและมีสีสันเหมือนกันทั้งชุด มีจานวนเกลียวต่อนิ้ว

สงู มลี กั ษณะกลม ไมแ่ บนหรือแตกเป็นช่วงๆ ไม่เปน็ ขน ไม่มีเศษดักแด้ สิ่งสกปรกและส่ิงปนเปื้อนต่างๆ ปะปน

อยู่ เม่ือท้าการฟอกย้อมสี และทอเป็นผืนผ้า จะได้ผ้าไหมที่มีลักษณะราบเรียบสม่าเสมอ มีโครงสร้างผืนผ้า

หนาแน่น ขนาดคงท่ีและมีความอยู่ตัว คงรูปได้ดี มีรอยต้าหนิน้อย มีความมันเงาแวววาวค่อนข้างสูง เป็นท่ี

นิยมของตลาด

กำรตรวจสอบเส้นใยไหม

การตรวจสอบโดยการเผาไฟเปน็ วิธีการทเ่ี ห็นผลได้ชดั เจน ไหมเมือ่ อยู่ใกล้เปลวไฟจะหดตัวหนีเปลวไฟ

และหลอมละลาย ถ้านาเข้าไปอยู่ในเปลวไฟจะลุกติดไฟเกิดเปลวไฟสีเหลือง มีกลิ่นเหม็นคล้ายๆ เส้นผมหรือ

ขนนกไหม้ไฟ ถ้านาออกจากเปลวไฟจะลุกไหม้ช้าลงและดับเองในเวลาส้ัน ขี้เถ้ามีลักษณะเป็นก้อนกลมคล้าย

ลูกปัดสนี ้าตาลไหมห้ รอื สีด้า กอ้ นแขง็ แต่เปราะ บบี แตกงา่ ย

กำรดแู ลรักษำผำ้ ไหม

ผ้าไหมเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีราคาสูง การดูแลรักษาค่อนข้างยุ่งยาก ไม่ควรเก็บไหมในตู้ที่อับชื้นและอับ

แสงเป็นเวลานาน ควรนาไปผึ่งแดดและลมบ้างเพื่อป้องกันเชื้อราและแมลง ไม่ควรตากผ้าไหมกลางแดดจ้า

นานๆ เพราะจะทาให้เสียความแข็งแรง สีเกิดการเปลี่ยนแปลงและซีดจางลง การซักผ้าไหมควรซักในน้ายาซัก

แห้ง หรือน้าสบู่ท่ีเป็นกลางหรือกรดอ่อนๆ แชมพูสระผม ไม่ควรซักในน้ากระด้างและผงซักฟอก เพราะจะทา

ให้ผา้ ไหมแข็งกระด้างขึน้ ความมนั วาวลดลง ห้ามซักผ้าไหมด้วยเครื่องซักผ้า เพราะจะทาให้เสียโครงสร้างของ

ผ้าไหม ใช้น้ายาปรับผ้านุ่มช่วยให้ผ้าไหมอ่อนนุ่มข้ึน ในการรีดผ้าไหมต้องทาให้ผ้ามีความช้ืนสม่าเสมอก่อนน้า

หรือน้ายาชว่ ยการรดี ผ้าใหเ้ รียบ แลว้ ทาการรีดเรียบโดยใช้เตารีดร้อนปานกลางท่ีมีน้าหนักพอเหมาะ รีดไปบน

ผนื ผ้าไหมโดยมีผ้าขาวสะอาดเนื้อบางรองก้นเตารดี

กำรฟอกยอ้ มสีเส้นไหมดว้ ยสำรเคมี

กำรฟอกกำจัดกำวไหมและฟอกขำวเสน้ ดำ้ ยไหม

สูตรการเตรยี มสารละลาย สาหรับไหมพันธุไ์ ทยพื้นเมอื งและพันธุไ์ ทยลกู ผสม “ไหมเหลือง”

1) เส้นไหมดิบ 1.3 กโิ ลกรัม

2) นา้ ออ่ น 30 ลติ ร

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 37

3) สบเู่ ทียม 30 กรมั

4) สบแู่ ท้ (ซันไลท์) 135-180 กรมั (กอ้ นคร่ึง-สองก้อน)

5) โซดาแอซ 60 กรัม

6) โซเดียมไฮโดรซัลไฟด์ 60 กรมั

- อุณหภมู ิ 90-95 องศาเซลเซยี ส

- เวลา 60 นาที

สตู รการเตรยี มสารละลาย สาหรบั ไหมพนั ธุ์ลูกผสมต่างประเทศ “ไหมขาว”

1) เส้นไหมดบิ 1.3 กโิ ลกรัม

2) นา้ ออ่ น 30 ลิตร

3) สบ่เู ทียม 30 กรัม

4) สบู่แท้(ซันไลท์) 90 กรัม (ก้อนครง่ึ -สองก้อน)

5) โซดาแอซ 60 กรมั

6) โซเดยี มไฮโดรซัลไฟล์ 60 กรัม

- อณุ หภูมิ 90-95 องศาเซลเซียส

- เวลา 60 นาที

วิธีกำรดำเนินกำร

1) เติมนา้ 30 ลิตร ลงในถังฟอก ต้มใหถ้ ึงอณุ หภูมิ 950C (จดุ ใกล้เดือด)

2) ใส่สบ่แู ท้ทีห่ นั่ ฝอยแล้ว สบู่เทียม และโซดาแอซ ลงไปกวนจนละลายน้าหมด แล้วนาตะแกรงใส่รอง

กน้ ถังให้เรียบร้อย

3) คัดขนาดและสสี นั ของเสน้ ไหม แล้วแยกคล้องหว่ ง 3-4 หว่ ง ต่อน้าหนักไหมดิบ 1.3 กิโลกรัม ขยาย

ไพ หรือเปลย่ี นด้ายทมี่ ดั ไพให้มขี นาดเลก็ และผกู เงอ่ื นตาย ตัดปลายใหด้ ี

4) นาเส้นไหมดิบลงฟอกในถังฟอกท่ีอุณหภูมิ 950C โดยกลับเข็ดไหมทุกๆ 5 นาที ฟอกนาน 30 นาที

หรือนานกว่า หากเส้นไหมยงั ไม่สะอาดพอ

5) ลดอุณหภูมิในถังฟอกลงท่ี 900C โดยการเติมน้าเย็นลงไป 2 ลิตร และลดไฟลงเล็กน้อย ใส่ผง

โซเดยี มไฮโดรซลั ไฟดล์ งไป

6) นาเส้นไหมลงไปฟอกขาวในถังฟอกที่อุณหภูมิ 900C กลับเข็ดไหมทุกๆ 5 นาที ฟอกนาน 30 นาที

หรอื นานกวา่ หากเสน้ ไหมยงั ไมส่ ะอาดพอ

7) นาเขด็ เสน้ ไหมข้นึ ผง่ึ ให้เย็น แล้วบิดเสน้ ไหมให้มากทสี่ ุด

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 38

8) ซกั ลา้ งในนา้ เย็น 4 ครั้ง โดยบิดให้หมาดทกุ ครัง้
9) นาเส้นไหมไปตม้ ในนา้ เดือด 1000C เป็นเวลานาน 10 นาที บดิ ให้หมาด
10) นาไปซักล้างในน้าเยน็ อกี 1-2 ครัง้ บดิ ให้หมาด
11) กระตุกเสน้ ไหมเพอื่ ใหเ้ รียงตวั ขนานกันคนื สูส่ ภาพเดิม
12) ผ่ึงใหแ้ ห้งในที่รม่
หมำยเหตุ
- เส้นไหม 1 และไหมสาวเลย ใช้สบู่ซันไลท์ 1 ก้อนคร่ึง ไหมเปลือกนอก (ไหมลืบ) ใช้ 2 ก้อน และใช้
เวลาในการฟอกรวม 70 นาที
- เสน้ ไหมดบิ ท่ีมีสเี หลืองปนแดงเข้มมาก ตอ้ งใช้โซเดียมไฮโดรซลั ไฟด์ มากขึน้
- โซเดียมไฮโดรซัลไฟด์ จะสลายตัวหรือเส่ือมสภาพได้ง่ายและรวดเร็วท่ีอุณหภูมิสูง ต้องควบคุม
อุณหภูมใิ นถงั ฟอกให้คงที่ 900C ตลอดเวลาท่ที าการฟอกขาวเสน้ ดา้ ยไหม (ภาพท่ี 16-23)

ภำพท่ี 16 วิทยำกรจำกศนู ย์หม่อนไหมเฉลมิ ภำพที่ 17 วทิ ยำกรจำกศนู ย์หม่อนไหมเฉลิม

พระเกียรติฯ ขอนแก่น บรรยำยเร่อื งโครงสร้ำงเสน้ พระเกยี รติฯ ขอนแก่น บรรยำยเรื่องวัสดุอปุ กรณท์ ี่

ใยไหม ใช้ในกำรฟอกย้อมสเี ส้นไหมด้วยวิธีย้อมเย็น


Click to View FlipBook Version