The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์ฯ ตำบลบัวเงิน 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Savitri Srimongkol, 2021-11-02 05:08:17

รายงานโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์ฯ ตำบลบัวเงิน 2564

รายงานโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์ฯ ตำบลบัวเงิน 2564

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 39

ภำพท่ี 18 ผ้เู ขำ้ ร่วมกจิ กรรมฝกึ ปฏิบตั ิกำรกำร ภำพที่ 19 ผู้เข้ำร่วมกิจกรรมฝกึ ปฏบิ ตั ิกำรกำรฟอก
เตรยี มอุปกรณ์ใชใ้ นกำรฟอกกำจดั กำวไหมและฟอก ย้อมสีเส้นไหมจำกสำรเคมดี ้วยวธิ ึยอ้ มเยน็

ขำวเส้นดำ้ ยไหม

ภำพที่ 20 ผูเ้ ข้ำรว่ มกิจกรรมฝึกปฏบิ ัตกิ ำรกำรฟอก ภำพที่ 21 ผ้เู ข้ำรว่ มกจิ กรรมฝึกปฏบิ ัติกำรกำรฟอก

ย้อมสเี ส้นไหมจำกสำรเคมีด้วยวิธึยอ้ มเยน็ ยอ้ มสเี ส้นไหมจำกสำรเคมดี ้วยวธิ ึย้อมเย็น

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 40

ภำพท่ี 22 ผู้เขำ้ ร่วมกิจกรรมฝึกปฏบิ ตั ิกำรกำรฟอก ภำพท่ี 23 ผู้เข้ำร่วมกจิ กรรมฝกึ ปฏบิ ัติกำรกำรฟอก

ยอ้ มสเี สน้ ไหมจำกสำรเคมีด้วยวิธยึ อ้ มเยน็ ยอ้ มสีเสน้ ไหมจำกสำรเคมีด้วยวิธยึ ้อมเย็น

1.3 กำรออกแบบลำยผำ้ และลวดลำยท่นี ยิ มใช้ในปจั จบุ ัน
ลายผ้าไทย โดยส่วนใหญ่น้ันมักเกิดจากธรรมชาติและวิถีชีวิตต่างๆ ของผู้คน เช่น ความเช่ือ ศาสนา
พิธีกรรม และการประกอบอาชีพ โดยมีการนาส่ิงเหล่านี้มารวบรวมและแสดงออกมาผ่านทางลายของผ้า
นั่นเอง มีความคลา้ ยคลึงกับการสรา้ งลวดลายจติ รกรรมฝาผนัง และลวดลายบนเครื่องใช้ในสมัยก่อน
ลวดลำยและกรรมวิธกี ำรทอผ้ำในจังหวัดขอนแกน่
ผ้าท่ีทอด้วยมือที่มีช่ือเสียงที่สุดของจังหวัดขอนแก่นคือผ้าไหมอาเภอชนบท ได้แก่ “ผ้าไหมมัดหมี่”
โดยมีขั้นตอนเร่ิมจากการคัดเลือกเส้นไหม การออกแบบลายหม่ี การให้สี การทอเป็นผืนผ้า ซึ่งเป็นงานที่
ละเอียดออ่ น ผา้ ไหมชนบทมจี ดุ เดน่ คือ มคี วามสวยงาม ลวดลายละเอยี ดแตกตา่ งจากทอ่ี ่นื
เอกลักษณ์ของผ้าไหมชนบท คือ “ลาย”และ “เทคนิคการทอผ้า” ลายเก่าแก่ท่ีสืบทอดกันมาและถือ
ว่าเป็นลายต้นแบบและเป็นลายเก่าแก่ของผ้าเมืองขอนแก่น คือ ลายหม่ีกง ลายขันหมากเบ็ง ลายขอพระเทพ
หรือลายเชิงเทียน โดยส่วนใหญ่เกือบท้ังหมดจะเป็นการทอผ้าแบบ 3 ตะกอ ทาให้เน้ือผ้าแน่น สม่าเสมอ มี
ลักษณะสีและลวดลายของผา้ ดา้ นหนง่ึ สีทึบกว่าอีกดา้ น สที เี่ ป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมคือ สีม่วง สีแดง สีเขียว สีเม็ด
มะขาม
เอกลักษณ์ของการทอผ้าอีกแบบหนึ่งของชาวชนบท คือ ผ้าปูมหรือผ้าหน้านาง ซึ่งมีลักษณะแบบโจง
กระเบน ประกอบดว้ ย ลายมดั หมบ่ี ริเวณท้องผา้ ลายมดั หม่หี นา้ นาง และลายมดั หมี่รมิ ชายผ้าทัง้ สองด้าน
ลวดลายผา้ ไหมมดั หม่ีชนบทลวดลายดั้งเดิม เป็นลวดลายท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ใช้วิธีการมัดหมี่
และทอแบบดั้งเดิม อาจเปลี่ยนแปลงสีสันได้ตามความต้องการ ลายดั้งเดิมลายขนาดเล็ก ได้แก่ ลายกง ลาย
โคม ลายหมากจับ ลายปลาซิว ลายดอกแก้วน้อย ลายด้ังเดิมลายขนาดกลาง ได้แก่ ลายแมงมุม ลายกนกเชิง

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 41

เทยี น ลายขอพระเทพ ลายขันหมากเบง็ ลายตน้ สน ลายขาเปียนอ้ ย ลายตาลึงเครือ ลายด้ังเดิมลายใหญ่ ได้แก่
ลายนาคเกยี้ ว ลายขอเกี้ยว ลายสาเภาหลงเกาะ ลายตน้ สนใหญ่ ลายนกยูง เป็นตน้

กรรมวธิ กี ารทอผ้าไหมมัดหมช่ี นบท เปน็ การทอผา้ มัดหมีเ่ สน้ พุ่ง คือมีการมดั ลวดลายและย้อมสีเฉพาะ
เส้นพงุ่ ส่วนเส้นยืนใช้เส้นไหมย้อมสีตามท่ีต้องการแต่ไม่มีการมัดทาลวดลาย ซึ่งเป็นกระบวนการในการทอผ้า
มัดหม่สี ว่ นใหญ่ของประเทศไทย

ลวดลำยผำ้ ต้นแบบ
ในการผลิต ผ้าไทย มักจะมีลวดลายท่ีสามารถพบเห็นอย่างบ่อยคร้ังในการทอผ้า หรืออาจพบเห็น
ลวดลายเหล่าน้ีได้ผ่านทางวัตถุโบราณ ภาชนะเคร่ืองป้ันดินเผาซึ่งสามารถพบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใตต้ ัง้ แต่สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ลวดลายเหลา่ น้ีมักถูกใช้เป็นต้นแบบในการสร้างลายผ้าใหม่ๆ โดยการนา
ลวดลายต้นแบบเหล่าน้ีมา ดัดแปลง เพ่ิม หรือเติมแต่ง เพ่ือให้ได้มาซึ่งลายผ้าใหม่ตามท่ีต้องการ โดยลวดลาย
ต้นแบบที่สามารถพบเหน็ ได้บนผ้าไทยประกอบด้วย 4 ลวดลาย ดังน้ี
1) ลำยเสน้ ตรง หรอื ลำยเส้นขำด เป็นลายเสน้ ท่ีมีเส้นขนานกันในทางตรงหรือทางขวาง เปน็ ลายผ้าที่
ใช้กันโดยท่ัวไปในแถบล้านนาต้ังแต่โบราณ ในบริเวณพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะปรากฏอยู่ในผ้ามัดหมี่
ทงั้ ไหมและฝ้าย โดยผ้ามัดหม่ีอีสานบ่อยครั้งจะพบว่ามีลวดลายในลักษณะคล้ายฝนตกลงมาเป็นทางยาว หรือ
ประดบั ทต่ี ีนผา้ จกเป็นเสน้ ขาดเหมอื นฝนตก
2) ลำยฟันปลำ ลายฟันปลามักจะปรากฏอยู่บริเวณเชิงผ้าของตีนจกและผ้าขิดเสมอ จนกลายเป็น
ลายเชิงของซ่ินมัดหมี่ของผ้าที่ทอในทุกๆ ภาคของประเทศไทย ลายฟันปลาอาจปรากฏในลักษณะทางขวาง
หรอื ทางยาวกไ็ ด้ ในบางคร้ังอาจพบการตกแต่งผ้ามดั หม่ดี ว้ ยลายฟนั ปลาเต็มทงั้ ผนื
3) ลำยสีเ่ หลีย่ มขนมเปียกปูน หรือลำยกำกบำท เป็นลายที่เกิดจากการขีดเส้นทางเฉียงหลายๆ เส้น
ตัดกันทาให้เกิดกากบาท หรือตารางส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูนหลายๆ รูปติดต่อกัน ลวดลายนี้พบอยู่บนผ้าจก
ผ้าขดิ และผา้ มดั หม่ี โดยทัว่ ไปในทกุ ภาคของประเทศไทย
4) ลำยขดเป็นวงเหมือนก้นหอย หรือตะขอ ลายนี้พบทั่วไปบนผ้าจก ผ้าขิด และผ้ามัดหมี่ของทุก
ภาคในประเทศไทย ชาวบ้านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกลวดลายนี้ว่า “ลายผักกูด”
ตัวอยา่ งลวดลายผ้าในประเทศไทย ไดแ้ ก่ (ภาพที่ 24-29)

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 42

ลำยปลำซิว ลำยหมำกจับว่ำน

ลำยคนั่ ลำยขอ

ลำยหม่คี ่ันขอนำรี ลำยนกเชงิ เทยี น

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 43

ลำยแกว้ มุกดำ ลำยหม่ีโฮล

ลำยเตำ่ งบั ลำยหมำกจับ

ลำยสร้อยดอกหมำก ลำยสำเกต

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 44

ลำยหมน่ี ้ำพอง ลำยหมโี่ คมเก้ำ

ลำยหมีใ่ บพดั ลำยหมี่กง

ลำยเชิงเทียน-ฟนั ปลำ ลำยแคนแก่นคูณ

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 45

ภำพที่ 24 วิทยำกรจำกศูนย์หม่อนไหมเฉลิม ภำพที่ 25 ผู้ร่วมดำเนนิ งำน มหำวิทยำลัยขอนแกน่
พระเกยี รติฯ ขอนแก่น บรรยำยเรอื่ งลำยผ้ำ ร่วมเสนอแนะข้อมคดิ เห็นในกำรออกแบบลำยผำ้ แก่

ผเู้ ขำ้ ร่วมกจิ กรรม

ภำพที่ 26 วิทยำกรจำกศูนยห์ ม่อนไหมเฉลมิ ภำพที่ 27 วทิ ยำกรจำกศูนยห์ ม่อนไหมเฉลมิ

พระเกียรติฯ ขอนแก่น รว่ มเสนอแนะข้อมคิดเหน็ ใน พระเกยี รตฯิ ขอนแกน่ รว่ มเสนอแนะข้อมคดิ เหน็ ใน

กำรออกแบบลำยผ้ำแกผ่ เู้ ข้ำรว่ มกิจกรรม กำรออกแบบลำยผ้ำแก่ผเู้ ขำ้ รว่ มกจิ กรรม

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 46

ภำพที่ 28 ผรู้ ่วมดำเนนิ งำน มหำวิทยำลัยขอนแก่น ภำพท่ี 29 นำเสนอผลงำนกำรออกแบบลำยผำ้ ของ

ร่วมเสนอแนะข้อมคิดเห็นในกำรออกแบบลำยผำ้ แก่ ผเู้ ขำ้ ร่วมกิจกรรม

ผู้เข้ำร่วมกจิ กรรม

2. กิจกรรมกำรพฒั นำโลโก้ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน
เป็นการบรรยายเพ่ือให้ความรู้โดยวิทยากรจากสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ผลจากการดาเนนิ กิจกรรมเป็นดังนี้ (ภาพท่ี 30-35)
1. บรรจภุ ัณฑ์
บรรจุภัณฑค์ ืออะไร
“บรรจุภัณฑ์” หมายถึง สินค้าทุกชนิดที่ทาจากวัสดุใดๆ ที่นามาใช้สาหรับห่อหุ้ม ป้องกัน

ลาเลยี ง จัดสง่ และนาเสนอสินค้า ต้งั แตว่ ัตถดุ บิ ถึงสนิ คา้ ทีผ่ า่ นการผลติ ตงั้ แต่ผู้ผลติ ถึงผู้ใชห้ รือผู้บริโภค
“บรรจุภัณฑ์” ประกอบด้วย บรรจุภัณฑ์สาหรับการขาย (Sales packaging) หรือบรรจุ

ภัณฑ์ลาดับทีห่ นึง่ ไดแ้ กบ่ รรจภุ ัณฑท์ ี่ใช้เป็นส่วนหน่ึงของการขายของให้กับผู้ใช้รายสุดท้ายหรือผู้บริโภค ณ จุด
ซอื้ บรรจภุ ัณฑ์กลุม่ (Group packaging) หรอื บรรจุภัณฑ์ลาดับที่สอง ได้แก่บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ท่ีจุดซื้อกลุ่มสินค้า
ท่ีมจี านวนขายมากกวา่ หนง่ึ ไม่วา่ สนิ ค้าน้ันจะถกู ขายใหก้ บั ผใู้ ช้รายสดุ ทา้ ยหรือผู้บริโภคหรือไม่ก็ตาม และไม่ว่า
บรรจุภัณฑ์น้ีจะถูกใช้เพ่ือการดึงสินค้าจากช้ันวางของ ณ จุดขายก็ตาม บรรจุภัณฑ์น้ีสามารถถูกดึงออกจาก
สนิ ค้าโดยไมส่ ่งผลกระทบต่อลักษณะเฉพาะตวั ของสินค้า บรรจุภัณฑ์สาหรับการขนส่ง หรือบรรจุภัณฑ์ลาดับที่
สาม ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ที่ใช้สาหรับช่วยในการลาเลียงและขนส่งสินค้า ท่ีขายจานวนมากหรือกลุ่มบรรจุภัณฑ์
เพื่อป้องกันความเสียหายทางกายภาพระหว่างการขนส่ง บรรจุภัณฑ์สาหรับการขนส่งไม่รวมตู้คอนเทนเนอร์
สาหรบั การขนส่งทาง ถนน รางเลอื่ น เรอื หรอื ทางอากาศ

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 47

กำรตคี วำมหมำยของคำวำ่ “บรรจุภัณฑ์” ใหถ้ อื ตำมเกณฑต์ ่อไปน้ี
จะถือว่าของสิ่งหนึ่งเป็นบรรจุภัณฑ์ ต่อเม่ือของส่ิงนั้นเป็นไปตามความหมายที่กล่าวข้างต้น

โดยไมพ่ จิ ารณาคาบเก่ียวกับหน้าที่อื่นที่บรรจุภัณฑ์อาจทาได้ เว้นแต่สิ่งส่ิงนั้นจะถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหน่ึง
ของสินค้า และมีความจาเป็นเพื่อห่อหุ้ม พยุง หรือถนอมรักษาสินค้าตลอดอายุของสินค้าน้ัน และมี
วัตถปุ ระสงคใ์ ห้ใช้ บรโิ ภค หรอื ทง้ิ องค์ประกอบทุกชิน้ พรอ้ มกบั สนิ คา้ ตวั อย่าง

สง่ิ ทถ่ี ือเป็นบรรจภุ ัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ไดแ้ ก่: กล่องขนมหวาน แผ่นฟิล์มหอ่ รอบกล่องซดี ี
ตัวอย่างส่ิงท่ีไม่ถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: กระถางดอกไม้ที่มุ่งหวังให้อยู่คู่กับ
ต้นไมต้ ลอดอายขุ องตน้ ไม้ กล่องใส่เคร่ืองมือชา่ ง ถงุ ชา ช้ันแวก็ ซ์หอ่ ห้มุ เนยแข็ง ผิวหุ้มไส้กรอก เปน็ ต้น
ให้ถือว่า ส่ิงท่ีถูกออกแบบและมีวัตถุประสงค์ให้เติมเต็ม ณ จุดขาย และขายสิ่งท่ีท้ิงได้ ท่ีถูก
เติมเต็มหรือออกแบบและมีวัตถุประสงค์ให้เติมเต็ม ณ จุดขาย เป็นบรรจุภัณฑ์ หากสิ่งสิ่งนั้น ทาหน้าท่ีเป็น
บรรจภุ ัณฑ์
ตัวอย่างสิ่งท่ีถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์น้ี ได้แก่: ถุงห้ิวทาจากกระดาษหรือพลาสติก จาน
หรอื ถว้ ยทใี่ ช้แล้วทิ้ง พลาสติกใสปดิ หนา้ อาหาร (พลาสติกแรป) ถุงแซนวิช แผ่นฟอลยอ์ ลูมเิ นยี ม เปน็ ต้น
ตัวอยา่ งสิ่งทไ่ี ม่ถือเป็นบรรจุภัณฑต์ ามเกณฑ์นี้ ไดแ้ ก:่ ทคี่ น มดี แบบใชแ้ ลว้ ทง้ิ เป็นตน้
ให้ถอื วา่ สว่ นประกอบของบรรจภุ ณั ฑ์ หรือสว่ นชว่ ยท่รี วมอยู่ในบรรจภุ ณั ฑ์ เป็นส่วนหนึ่งของ
บรรจุภัณฑ์ที่รวมองค์ประกอบเหล่านั้น ให้ถือว่า ส่วนช่วยท่ีแขวนโดยตรงกับหรือติดกับสินค้าท่ีทาหน้าที่ของ
บรรจุภัณฑ์ เป็นบรรจุภัณฑ์ เว้นแต่ของเหล่าน้ันจะเป็นส่วนหน่ึงของสินค้า และมีวัตถุประสงค์ให้บริโภค และ
ทิง้ องคป์ ระกอบทุกชน้ิ พร้อมกับสินค้าตวั อยา่ ง
สิ่งที่ถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: แผ่นป้าย Label ท่ีแขวนโดยตรงหรือติดบนตัว
สินค้า เป็นต้น ตัวอย่างส่ิงท่ีถือเป็นส่วนหนึ่งของบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่ แปรงมาสคาร่า ที่เป็นส่วน
หนงึ่ ของฝาปดิ ตลับมาสคารา่ Label ท่ตี ดิ กบั บรรจุภณั ฑ์ช้นิ อนื่ ลวดเยบ็ กระดาษ ซองพลาสติก
2. ตรำสญั ลกั ษณ์ (โลโก)้
ควำมหมำยของโลโก้
เคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ (Logo) หมายถึง ภาพ สัญลักษณ์ ตัวอักษร หรือเครื่องหมายท่ี
ช่วยสร้างความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตัวสินค้าและองค์กร และเพื่อให้เกิดความน่าเช่ือถือ การจดจาและ
ตราตรงึ แก่ลูกคา้ หรือผู้พบเห็นตลอดไป

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 48

โลโกใ้ ช้เพ่อื อะไร
1) ดา้ นจติ วิทยาคือ การต้องการใหผ้ ู้บริโภคเกิดความร้สู กึ ความเชื่อมั่น เกิดความเข้าใจในตัว

สนิ คา้ และยอมรบั ในตวั สนิ คา้ และทสี่ าคญั คอื ความตอ้ งการทจ่ี ะสร้างใหผ้ ูบ้ ริโภคเกิดความรสู้ ึกประทบั ใจ
2) ด้านพฤติกรรมคือ การที่ต้องการให้ผู้บริโภคแสดงพฤติกรรมตอบสนองการจูงใจของ

เอกลกั ษณข์ ององค์กร
3) ดา้ นภาพพจน์ คือ ต้องการให้ผบู้ ริโภคเกดิ ทัศนคติที่ดี มีความนิยมชมชอบตอ่ ผ้ผู ลติ

ท่ีมำของโลโก้
ในด้านการตลาด เอกลกั ษณ์องค์กร หรอื เอกลักษณ์กลุ่มบริษัท เป็นรูปแบบท่ีเป็นเอกลักษณ์

ของหน่วยงานหรือองค์กรซึ่งถูกออกแบบให้สอดคล้องกับเป้าหมายทางธุรกิจ ซ่ึงแสดงออกมาในรูปแบบของ
แบรนดแ์ ละการใชง้ านเคร่ืองหมายการคา้

แม้ว่าเรื่องของเอกลักษณ์ จะไม่ใช่ส่ิงเดียวที่เกี่ยวกับแบรนด์ แต่เร่ืองของแบรนด์กับ
เอกลักษณ์ เป็นเร่ืองที่ต้องเกิดขึ้นควบคู่กันอยู่เสมอ เราสามารถสร้างแบรนด์ให้โดดเด่นได้ด้วยการสร้าง
เอกลกั ษณ์ให้กับ แบรนด์ ซึง่ สามารถสื่อสารออกมาได้ 3 ส่วนด้วยกัน คือ การสร้างเอกลักษณ์ผ่านทางภาพ
การสรา้ งเอกลักษณผ์ า่ นทางพฤติกรรม และการสรา้ งเอกลกั ษณผ์ า่ นการพดู

ควำมสำคัญของโลโก้
การออกแบบเอกลักษณ์ขององค์กร มีส่วนสร้างสรรค์สัญลักษณ์และข้อตกลงร่วมกันของคน

ในสังคมโดยเข้ามามีส่วนช่วยเสริมการรับรู้ทางการมองเห็น เป็นลู่ทางหรือส่ือกลาง ช่วยการรับรู้แห่งข้อตกลง
ต่างๆ ให้มีประสทิ ธภิ าพ มีความชัดเจน มีผลกระทบทางด้านจิตวิทยาในอันที่จะระลึกถึง และเป็นเครื่องหมาย
แห่งความทรงจาข้อเตือนใจ ขอ้ ควรระวงั ในระบบระเบียบของกฎเกณฑ์และความเช่ือที่จะปฏิบัติต่อกันไป เพ่ือ
ความคงอยู่ของสังคมท่ีสงบร่มเย็นดังเช่นที่ปรากฏอยู่เป็นเคร่ืองหมายสัญลักษณ์และข้อตกลงต่างๆ เช่น
สัญลักษณ์แทนศาสนา ลัทธิ เครื่องหมายจราจร เป็นต้น ซ่ึงเครื่องหมาย สัญลักษณ์ต่างๆ ทางเอกลักษณ์ของ
องค์กรนจี้ าเปน็ ตอ้ งอาศยั การออกแบบให้มีขนาดรูปทรงท่ีชัดเจน เรียบร้อย สวยงาม และเหมาะสมกับอานาจ
ทางการมอง (Visual Perception) ของมนุษย์

การออกแบบเอกลักษณ์ขององค์กรเป็นส่ือแสดงแห่งพลังการสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า
ทางวิทยาการท้ังหลายที่คิดค้นข้ึน ล้วนแต่เกิดจากการถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ก็ออกมาผ่านการขีดเขียน
หรือการสร้างภาพ (Image) ทางลักษณะของงานเอกลักษณ์ขององค์กรด้วยกันทั้งนั้น เพราะเป็นลู่ทางท่ี
สามารถรองรับความคิดฉับพลันและการกระทาของมนุษย์ได้รวดเร็วที่สุด แม้กระทั่งมีการขัดเกลาแก้ไข
ดดั แปลงและนาเสนอ (Presentation) รูปร่างของความคิดหรือการประกอบเพื่อสร้างต้นแบบและคาอธิบายท่ี

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 49

เป็นส่ือแสดงให้ผู้ดูได้รู้ ได้เห็น เกิดความสนใจ เข้าใจ และคล้อยตามในความคิดสร้างสรรค์ท่ีได้เพียรพยายาม
ขึ้นมา ดังเช่น การเขียนแบบทางวิศวกรรม สถาปัตยกรรม เครื่องจักรกลต่างๆ ตลอดจนงานสร้างสรรค์
ศลิ ปกรรมแขนงอน่ื ๆ

การออกแบบเอกลักษณ์ขององค์กรเป็นการเสริมสร้างแต่งข่าวสารให้ดึงดูดสายตาและ
นา่ สนใจขึ้น โดยการปรับปรุงเพมิ่ เติมเสริมแต่งด้วยทักษะทางศิลปะ และให้หลักจิตวิทยาการรับรู้เข้าช่วย เช่น
การจัดวางรูปแบบของขอ้ ความ รูปภาพ เปลี่ยนขนาด การเสนอขอ้ ความทีก่ ระทัดรัดไดใ้ จความ เปน็ ต้น

การออกแบบเอกลักษณ์ขององค์กร ช่วยส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางธุรกิจการค้าและ
วงการอุตสาหกรรม

ประโยชนข์ องโลโก้
- สามารถใช้ส่ือสารข้อมูลข่าวสารในช่วงเวลาที่ส้ัน ทั้งนี้เน่ืองจากมีความชัดเจนมากกว่าใช้

ข้อความ
- ใช้พ้ืนท่ีน้อยกว่าการใช้ข้อความหรือวลี ขนาดของสัญลักษณ์สามารถย่อหรือขยาย ได้ตาม

ขนาดทต่ี ้องการ
- มีการนาไปใช้อย่างสากล ท้ังน้ีเน่ืองจากสามารถที่จะสื่อความหมายให้ผู้มาเยือนท่ีไม่เข้าใจ

ภาษาท้องถ่ินเข้าใจได้ สามารถทาให้กลุ่มลูกค้าจดจาได้ง่ายขึ้นและส่ือให้เห็นถึงความมีเอกลักษณ์ทางธุรกิจ
เปน็ Band name ทางการตลาด ทส่ี ร้างความนา่ เช่อื ถอื และภาพพจนท์ ่ดี ี

รปู ร่ำงหรือลกั ษณะของตรำสญั ลักษณ์ (Logo)
เครื่องหมายหรอื สญั ลกั ษณ์ (Logo) มลี กั ษณะแตกต่างกนั ดังนี้

1) สัญลักษณ์ (Symbol) มีลักษณะเป็นเครื่องมือที่ไม่ใช้ตัวอักษรประกอบ ใช้สาหรับแสดง
บอกถึงการรว่ มกนั เช่น บริษัท องค์กร สถาบนั ทก่ี ่อตงั้ ขึ้นโดยกฎหมาย

2) ภาษาภาพ (Pictograph) ไม่ใช้ภาษาทางตัวอักษรประกอบ แต่ใช้ภาพบอกแทน หรือสื่อ
ความหมายด้วยภาพให้ทราบถึงทิศทาง กิจกรรม หรือแทนสิ่งเฉพาะ เช่น เครื่องหมายบอกทิศทางความ
ปลอดภยั การคมนาคม เป็นต้น

3) เครื่องหมายตัวอักษร (Letter Marks) มักอยู่ในรูปตัวอักษรที่เกิดจากการย่อเอาตัวอักษร
ออกมาจากคาเต็ม หรือช่อื เตม็ ขององค์กร บริษัท สถาบันต่างๆ ออกมาใชเ้ ป็นเครอ่ื งหมายแสดงแทน

4) ชื่อหรือคาเต็มท่ีเป็นตัวอักษร (Logo) และอ่านออกเสียงได้ตามหลักไวยากรณ์ของภาษา
โดยใช้ตวั อักษรเพียงเท่าน้ัน

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 50

5) เป็นการผสมผสานระหว่างภาพและตัวอักษร (Combination Marks) เข้ามาใช้ร่วมกัน
และสัมพนั ธก์ ันอยา่ งเหมาะสม

6) เครื่องหมายการค้า (Trademarks) ซ่ึงอาจจะมิได้หลายลักษณะที่ได้กล่าวไว้ทั้ง 5
ประการ ข้ึนอยู่กับว่าเจ้าของกิจการต้องการให้เคร่ืองหมายของตนเองอยู่ในลักษณะใด ก็เลือกใช้ตามความ
เหมาะสม

หลกั กำรทำโลโก้
- อย่าใช้คลิปอาร์ตแจกฟรีบนอินเทอร์เน็ต เน่ืองจากเจ้าของธุรกิจหลายต่อหลายองค์กร

เลือกใช้วิธีง่ายๆ ในการออกแบบโลโก้ให้กับองค์กรโดยเลือกใช้คลิปอาร์ตแจกฟรีบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งลักษณะ
เป็นภาพลายเส้นกราฟิกง่ายๆ แจกจ่ายให้ใช้ฟรีอย่างแพร่หลาย ลองนึกดูว่าเกิดมีลูกค้าท่ีเคยเห็นคลิปอาร์ตนี้
เมือ่ ไดม้ โี อกาสแวะเวียนเขา้ มาเลอื กซือ้ สนิ คา้ ขององค์กร เขาอาจจะจาได้และคิดต่อไปว่า ขนาดโลโก้ยังยืมภาพ
คนอนื่ มาใช้ฟรีๆ เลย แลว้ ธรุ กจิ ขององค์กรน้จี ะน่าเชอ่ื ถอื ไดอ้ ย่างไร

- อยา่ ใสล่ ูกเล่นหรอื เอฟเฟก็ ตก์ ับโลโก้ ขอ้ หา้ มนี้แนะนาว่าไมค่ วรใช้เอฟเฟ็กต์ต่างๆ อย่างเช่น
แสงสว่างเหลือง, เงาด้านหลัง หรือมิตินูนต่ากับโลโก้ เอฟเฟ็กต์พวกนี้เหมาะกับงานสร้างสรรค์กราฟิกและ
รูปภาพในเวบ็ ไซตม์ ากกวา่ ซง่ึ การใช้เอฟเฟก็ ตจ์ ะส่งผลให้โลโก้ท่ีได้ดูไม่ชัดเจน โลโก้ท่ีดีควรจะสามารถดูชัดเจน
เห็นครบรายละเอียด แม้จะใช้แค่สขี าวดาเทา่ นนั้

- โลโก้ไม่ใช่แบนเนอร์อย่าออกแบบโลโก้ให้มีลักษณะเหมือนแบนเนอร์โฆษณาในเว็บไซต์
โดยเฉพาะรูปแบบท่ีเป็นการใส่โลโก้เข้าไปเต็มพื้นท่ีสี่เหล่ียม เนื่องจากสายตาของผู้บริโภคถูกฝึกให้หลีกเลี่ยง
การดูรปู ทรงเหล่าน้ีอยู่แลว้ แน่นอนวา่ โลโก้ของคุณจะถกู ละเลยไปด้วย

- โลโก้ผสมรูปภาพ นักออกแบบโลโก้มือโปรฯ จะไม่พยายามผสมผสานกราฟิกเข้าไปเป็น
เน้ือเดียวกับตัวหนังสือท่ีปรากฏในโลโก้ เน่ืองจากการทาเช่นนี้ นอกจากจะทาให้มันดูดีค่อนข้างยากแล้ว ยัง
เสี่ยงต่อเหตุการณ์ท่ีไม่คาดฝันมากมายอีกด้วย อย่างเช่น ตัวอักษรท่ีใช้กราฟิกแทน อาจจะไปเหมือนกับโลโก้
ของบริษัทอ่ืนเข้า ท่ีพบเห็นบ่อยก็เช่น การแทนตัว O ด้วย โลก, ลูกตา และแว่นขยาย เป็นต้น วันดีคืนดีอาจ
โดนฟ้องหาวา่ เอาโลโกข้ องเขามาเลียนแบบก็ได้

- โลโก้ท่ีใช้ตัวอักษรอย่างเดียว แม้การเลือกใช้โลโก้เป็นตัวอักษรทั้งหมดจะง่ายต่อการ
ออกแบบ แต่มันก็ง่ายต่อการถูกละเลยเช่นกัน ถ้าเป็นไปได้ อาจจะทดลองเอาโลโก้ขององค์กรเราไปวางรวม
กับโลโก้ขององค์กรอ่นื ที่ใช้ตัวอักษรหมดแบบเดยี วกนั แลว้ ให้กลมุ่ เป้าหมายลองดูว่าจาโลโก้ของเราได้มากน้อย
เพียงใด ถ้าจากันได้น้อย อาจจะต้องแก้ไขคุณสมบัติของตัวอักษรท่ีใช้ทาโลโก้ ง่ายท่ีสุดก็คือ ปรับเป็นตัวหนา
เพอ่ื ใหม้ พี ืน้ ท่จี ดจามากขึน้ หรือหารปู แบบฟอนต์ทีไ่ ม่เหมือนใคร ตลอดจนออกแบบใหม่ไปเลย

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 51

- โลโกท้ ี่เปน็ ช่ือย่อ ถ้าช่ือองค์กรยาวมากการใช้ช่ือเต็มๆ มาสร้างโลโก้ดูจะเป็นเรื่องยากมาก
ไอเดยี ของเจา้ ของกิจการสว่ นใหญจ่ ะเลือกใช้ชื่อย่อแทน ซึ่งยากมากที่จะออกแบบมาแล้วจะเวิร์ก ย่ิงถ้าองค์กร
ไมไ่ ดม้ ีงบประมาณในการใชส้ อื่ ประชาสัมพันธ์ด้วยแล้ว กว่าโลโก้ที่เป็นช่ือย่อขององค์กรจะได้รับความไว้วางใจ
บางทีธุรกิจขององค์กรอาจจะหายไปก่อนก็ได้ ส่วนใหญ่ลูกเล่นของโลโก้ที่ใช้ชื่อย่อ ชอบเอาตัวอักษรวาง
ซ้อนทับกัน แม้จะดูสนุก แต่ข้อเท็จจริงท่ีเราอาจจะมองข้ามไปพร้อมๆ กับลูกค้าของเรา นั่นคือ มันไม่ได้บอก
กล่าวอะไรใหผ้ ้บู รโิ ภคได้ทราบเลย อนั นแ้ี ทบไม่ต้องพูดถงึ ความสามารถในการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับสินค้า
และบริการขององค์กรเลย

- โลโก้สุดซับซ้อนหรือมีรายละเอียดมากเกินไป สาหรับโลโก้ท่ีเป็นภาพวาดซ่ึงจะมี
รายละเอยี ดยบุ ยบิ เตม็ ไปหมด รวมถึงพวกทใี่ ช้ภาพถ่ายหรือเลย์เอาต์ที่ซับซ้อน โลโก้ลักษณะน้ีมีโอกาสล้มเหลว
สงู มาก หลักการง่ายๆ กค็ อื ยงิ่ มรี ายละเอียดมากเท่าไร โอกาสท่ีผู้บริโภคจะจาได้ก็น้อยลงเท่านั้น โลโก้ท่ีดูง่าย
เป็นหนง่ึ เดียว ใช้เส้นนอ้ ย จะสรา้ งอิมแพกต์และการจดจาไดง้ า่ ยกวา่

โลโกท้ ่ดี ี
โลโก้ทีด่ นี ัน้ ต้องมีเอกลกั ษณ์เฉพาะ เหมาะสม กราฟิกสวย เรียบง่าย และท่ีสาคัญต้องบอกถึง

ความมุ่งม่ันหรือเจตนาของแบรนด์น้ันได้ น่ันคือ คอนเซ็ป หรือ “ความหมาย” มักอยู่เบื้องหลังของโลโก้ และ
ตอ้ งสามารถส่อื สารไปยงั ผรู้ ับร้ไู ด้ทนั ที อีกหนงึ่ ข้อทีส่ าคัญสาหรบั โลโก้คือ เราต้องทาโลโก้ท่ีสามารถพิมพ์ได้ทุก
ขนาด ไม่ว่าจะใหญ่เท่าตึกใบหยกหรือจะเล็กเท่ามด และถ้าให้ดีข้ึนไปอีก อย่ามีสีเลยจะดีกว่า นั่นก็คือใช้สีดา
อยา่ งเดียว

โลโก้ทจ่ี ดจำง่ำย
การออกแบบท่ีดีนั้นไม่จาเป็นต้องซับซ้อนอะไรมากมาย เพราะหากยุ่งเหยิงซับซ้อนมากไป

นัน่ ก็หมายความวา่ การจดจากย็ ่งิ ยากมากขึ้น ทาให้ผู้บริโภคสับสนหรือไม่จดจาเลยก็ได้ ดังนั้นควรคานึงถึงการ
ออกแบบที่เรียบง่ายเข้าไว้ซ่ึงหากเราออกแบบไม่ยากแล้วการท่ีคนจะจดจา Logo ของเรานั้นก็ไม่ยาก ดังนั้น
พยายามออกแบบให้ง่ายแก่การจดจา ดังจะเห็นได้จากแบรนด์หรือสัญลักษณ่์ด้านบน มองปุ๊บก็พอจะจาได้
ทนั ทวี ่าน้เี ป็นสัญลักษณข์ องอะไร

ข้อดีและข้อเสียของ Logo
ข้อดี คือ สามารถบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์องค์กร สามารถใช้เป็นสื่อประกอบผลิตภัณฑ์

น้ันได้ และเป็นตวั สรา้ งความน่าเชอ่ื ถอื และภาพพจน์ทด่ี ี
ข้อเสีย คือ ถ้าตัว logo ไม่มกี ารจดลิขสิทธอิ์ าจจะถูกนาไปปลอมแปลงได้ และถ้ามีการดีไซน์

ออกมาไมช่ ดั เจนอาจทาใหค้ วามหมายผิดเพย้ี นไปได้

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 52

กำรเลอื กสี
สีนั้นเป็นเรื่องใหญ่ แต่ละคนชอบสีไม่เหมือนกัน ถามความเห็นแต่ละคนก็ออกมาไม่

เหมือนกัน ในขณะที่เราไม่มีทางท่ีจะรวบรวมความชอบของทุกคนได้ แต่เราก็มีหลักการผสมของสีที่ออกมา
ด้วยการนาเสนอผลท่ีหลากหลาย การที่เรารู้และเข้าใจความหลากหลายเหล่านี้ ทาให้เราสามารถเลือกสีให้
เหมาะกบั งานต่างๆ ได้งา่ ยขึน้ โดยในการเลือกสขี องโลโก้น้ันมีปัจจัยในการพิจารณาคือ โลโกนั้นควรจะเห็นชัด
เวลาแสดงในสีเดียว เชน่ สีดา หรือจะเป็นสีหลักๆ ทั่วไป โดยหากเมื่อเรานาไปถ่ายเอกสารหรือส่งแฟ็กซ์ โลโก้
ตอ้ งยงั เดน่ ชัดอย่เู สมอ หรือว่าจะไปอยู่ท่ีไหนกต็ ามอย่างเช่นหนงั สอื พิมพ์ บนเสื้อ บนพ้ืนท่ีต่างไม่ว่าจะเป็นแบบ
ใดโลโก้ก็ควรแสดงได้ ถ้าเราใช้โลโก้หลายสีควรแน่ใจว่าเวลาพิมพ์ออกมาสีเดียวเรายังมองโลโก้ชัดอยู่และดูว่า
เป็นโลโก้ของเรา อีกอย่างท่ีควรคานึงถึงก็คือ การนาไปใช้ต้องให้ใช้ง่าย คืออย่าเลือกสีพิเศษไปจะใช้ยาก
ค่าใช้จ่ายก็สูงขึ้น ส่ิงท่ีควรคานึงถึงอีกสิ่งหนึ่งท่ีให้คิดก่อนทาคือ ผลของตัวโลโก้ท่ีมีผลต่อความรู้สึกในการเล่า
เร่ืองสีน้ัน สามารถส่ือสารความรู้สึกต่างๆ ได้ แสดงถึงความรู้สึกยิ่งใหญ่ มั่งคั่ง อารมณ์ต่างๆ เหตุการณ์ มัน
ไมใ่ ช่เป็นเร่อื งท่บี งั เอิญเลยท่ีเราเจอร้านอาหารสว่ นมากจะใช้สีแดงและเหลอื ง หรอื สีฟ้าจะใช้กับอะไรที่เกี่ยวกับ
สุขภาพ สีนั้นทาให้คนจินตนาการได้ ดังนั้นต้องระวังในจุดนี้ในการทาความเข้าใจอารมณ์ของสีท่ีทาให้เกิด
ความรสู้ ึกน้ัน โลโก้จะเป็นตัวสง่ ผลหลายอยา่ งทม่ี ีหนา้ ท่ีเป็นตัวแทนสาหรับหลักจิตวิทยาและธรรมชาติของการ
นาเสนอทัง้ หมด บางคร้ังการเลอื กสีทีเ่ หน็ ๆ กันอย่างเช่นอยากได้อารมณแ์ บบทะเลหรือน้าก็ต้องใชส้ ีฟ้าจริงๆ

กำรเลอื กตวั อักษร
พยายามเลือกฟอนต์ท่ีเข้าใจได้ง่าย อ่านง่าย ดูแล้วอ่านออกทันที จะทาให้เราสามารถสื่อ

ใจความสาคัญของงานออกมาสู่ผ้บู ริโภคและผพู้ บเห็นไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว การออกแบบแนวศิลป์อาจใช้ฟอนต์ที่ดูมี
ความหมาย อ่านแลว้ ต้องคดิ ตามนดิ นึงถึงจะเข้าใจความหมายได้ แบบนี้อาจจะทาให้โลโก้ของเราน่าติดตามไป
อกี แบบ ไม่ว่าจะเลอื กฟอนตแ์ บบไหนก็ตามควรจะดูดว้ ยว่าเขา้ กบั ธุรกจิ หรอื กิจการท่ีเราทาหรือเปล่า ควรเลือก
ฟอนต์หลายๆ แบบเปรียบเทยี บกนั ดูว่าอนั ไหนเหมาะสมที่สดุ เราก็เลือกใชอ้ ันนนั้

กำรสรำ้ งควำมโดดเด่นในตัวโลโก้
การออกแบบสร้าง “เอกลักษณ์” ให้กับโลโก้หรือแบรนด์เป็นงานท่ียากยิ่ง เพราะไม่ใช่เป็น

เพียงการออกแบบ “โลโก้” ใหส้ วยงามแลว้ จบ แตส่ ิ่งที่เราตอ้ งการคือ เอกลักษณ์ด้านภาพที่จะส่ือสารถึงจุดยืน
บุคลกิ ภาพ รวมถงึ วสิ ัยทัศนข์ องแบรนด์ จากน้ันคอ่ ยพฒั นาต่อในเรื่องระบบการใช้โลโก้ การใช้ตัวอักษร การใช้
สี การใชภ้ าพ และอ่นื ๆ อีกมากมาย ทจ่ี ะทาให้ภาพลักษณ์ขององค์กรมีเอกลักษณ์ตามที่ต้องการ

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 53

ขั้นตอนและวธิ ีกำรออกแบบตรำสัญลักษณ์
1) Design Brief
ก่อนที่นักออกแบบจะเร่ิมลงมือสร้างสรรค์โลโก้ สิ่งสาคัญคือความสามารถในการจัดการกับ

ความคาดหวังของลูกค้า หมายความว่านักออกแบบจะต้อง “เข้าใจ” ว่าส่ิงท่ีลูกค้าต้องการสาหรับโลโก้น้ันคือ
อะไร

การกาหนดโจทย์ทางการออกแบบจะเข้ามาเป็นเครื่องมือที่ดีในการกาหนดทิศทางข องทั้ง
สองฝ่าย ผา่ นการประชมุ และนัดพูดคุยเพ่ือสมั ภาษณ์ข้อมูลตา่ งๆ ในการนามาเป็นพื้นฐานการออกแบบ รู้ความ
ต้องการของลูกค้า และต้องเข้าใจในขีดจากัดบางประการที่ลูกค้ามี นักออกแบบสามารถส่งอีเมลเป็นคาถาม
หรือนัดประชุมเพื่อเข้าไปพูดคุย ข้ึนอยู่กับข้อตกลงการทางานของทั้งสองฝ่าย โดยคาถามเบื้องต้นท่ีควรถาม
ลูกค้า มดี งั น้ี

• วัตถปุ ระสงค์ของโลโก้ทีบ่ รษิ ัทตอ้ งการนาเสนอ
• ผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการทบ่ี ริษทั นาเสนอให้กบั ผ้บู ริโภค
• ประวตั คิ วามเปน็ มาของบรษิ ทั
• กาหนดการส่งผลงานการออกแบบโลโก้ ระยะเวลาดาเนนิ การ
• กล่มุ เปา้ หมายทงั้ หลกั และรองของบริษัทคือใคร
• คู่แข่งของบรษิ ทั มใี ครบ้าง
• จานวนของแนวคดิ ในการออกแบบโลโก้ที่บริษทั ต้องการพิจารณาก่อนจะอนมุ ัติโลโก้
• ฟอรแ์ มททตี่ ้องการมกี ป่ี ระเภท ระบุขนาดและประเภทไฟล์
คาถามเหลา่ น้ีเป็นเพียงคาถามเบ้อื งตน้ เท่านั้น นักออกแบบสามารถถามคาถามอ่ืนๆ เพิ่มเติม
ที่คดิ วา่ เป็นประโยชน์ตอ่ การออกแบบโลโกไ้ ด้มากที่สดุ
2) Research
อีกหน่ึงคาถามสาคัญคือ บริษัทท่ีออกแบบโลโก้ให้น้ันเป็นบริษัทน้องใหม่พร้อมเปิดตัวหรือ
เปน็ บรษิ ทั ทีเ่ ปดิ ดาเนนิ งานมาอยู่แล้ว
ในกรณีที่เป็นบริษัทท่ีเปิดทาการมาอยู่แล้ว แปลว่าจะต้องมีกลุ่มลูกค้าและการทาแบรนด์ดิ้ง
มาก่อน ไม่ว่าจะเป็นการทาแบรนด์ด้ิงจากเอเจนซ่ีหรือจากบริษัทกับลูกค้าก็ตาม แต่ส่ิงสาคัญคือเร่ืองราวและ
สไตล์บางอย่างท่ีบริษัทต้องการรักษาเอาไว้ให้เป็นที่จดจา นักออกแบบจะต้องค้นคว้าว่า DNA ของบริษัทนั้น
คอื อะไร

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 54

ถ้าหากเป็นบริษัทน้องใหม่ นักออกแบบต้องค้นคว้าเพิ่มเติมถึงวิสัยทัศน์และความฝันของผู้
ก่อต้ัง อาจมีบ้างท่ีนักธุรกิจหน้าใหม่อาจส่ือสารออกมาเป็นคาพูดได้ไม่ดีนัก เป็นหน้าท่ีของนักออกแบบที่ต้อง
ส่ือสารผ่านโลโก้ออกมาให้ชัดเจนมากที่สุด ในกรณีนี้นักออกแบบต้องเข้าใจกลุ่มเป้าหมายของบริษัทด้วย
เช่นกัน

สิ่งสาคญั คือนักออกแบบและบริษัทต้องสอ่ื สารระหว่างกัน นักออกแบบไม่ควรที่จะนึกเอาเอง
ว่าคาตอบอาจจะเป็นไหน ลองค้นคว้าเพิ่มเติมจากบทความหรือข่าวทั้งในหนังสือ นิตยสาร หรือเว็บไซต์ ทา
ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์หรือบริการที่บริษัทกาลังจัดจาหน่าย รูปแบบการดาเนินธุรกิจ ตลอดจนวัฒนธรรม
ภายในองค์กร เพือ่ นามาประกอบเปน็ ข้อมลู ในการออกแบบต่อไป

3) Reference
ให้ลองศกึ ษาโลโกท้ ี่ประสบความสาเรจ็ มาแล้วว่าเขามีแนวคิดอย่างไร ศึกษาเทรนด์และสไตล์
ของโลโก้ช่วงนเ้ี ป็นอยา่ งไร และนามาประยกุ ตเ์ ข้ากับโลโกข้ องเราที่จะทา สามารถตามเทรนด์ได้แต่อย่าไปลอก
ของเขามา อีกเรื่องท่ีควรรู้ไว้อีกอย่างคือ ความยืนยาวคือส่ิงสาคัญของโลโก้ เพราะมันต้องอยู่กับองค์กรไปอีก
นานหรือตลอดไป
4) Sketching and Conceptualizing
หลงั จากการทาการค้นคว้าข้อมูลต่างๆ นักออกแบบน่าจะพอมองเห็นภาพบางอย่างที่เกิดขึ้น
หรือมีไอเดียบางอย่างที่มีศักยภาพในการนาไปพัฒนาเป็นโลโก้ให้กับบริษัทต่อไปได้แล้ว เริ่มจากการสเก็ตช์
ภาพง่ายๆ ท้ังส่ิงท่ีอยากเห็นในโลโก้และส่ิงท่ีไม่อยากเห็น ลองร่างมา 4-5 แบบ แล้วนาไปทดสอบกับคนที่มี
ความน่าเชื่อถือหรือกลุ่มคนที่มีความน่าจะเป็นกลุ่มเป้าหมายของบริษัทได้ รับฟังคอมเมนท์และผลตอบรับทุก
รูปแบบท่ีเกิดขึ้น เพ่ือนามาปรับปรุงโลโก้ เพ่ิมข้อดีและลดข้อเสียต่างๆ ขั้นตอนน้ีอาจจะใช้เวลามากอยู่
พอสมควร เพราะการออกไปหาแรงบันดาลใจน้ันยังเป็นหัวใจสาคัญ นักออกแบบจาเป็นต้องเผื่อเวลานี้ให้กับ
การออกแบบของตัวเองด้วยเชน่ กัน
5) Reflection
หยุดพักการดีไซน์ไปซักพัก แล้วลองกลับมาดูส่ิงที่เราออกแบบใหม่ ซ่ึงเราจะเห็นในส่ิงที่ต้อง
ปรับเปลี่ยน ซ่ึงวิธีน้ีจะช่วยทาให้ไอเดียของเรามีความสมบูรณ์มากข้ึน และมีความคิดสดๆ ใหม่ๆ มาปรับปรุง
โลโก้ของเรา
6) Presentation
เม่ือแนวคิดของการออกแบบแข็งแรงมากพอ นักออกแบบควรเลือก 1-2 แบบ (หรือจานวน
ตามท่ี ตกลงกับลูกค้าไว้ในตอนแรก) เพ่ือมานาเสนอเป็นคร้ังแรก ส่ิงสาคัญคือเป็นหน้าท่ีของนักออกแบบที่

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 55

ต้องอธิบายถึงแนวคิดในการออกแบบให้ชัดเจน มั่นใจ และโน้มน้าวลูกค้าว่างานออกแบบของเราน้ันตรงกับ
ความต้องการ (ในกรณที ีน่ กั ออกแบบทางานได้เปน็ อยา่ งดี)

การนาเสนอควรใช้ไฟล์ PDF จะดีท่ีสุด คุณอาจจะลองโชว์โลโก้ของคุณให้อยู่ในสิ่งต่างๆ เช่น
นามบัตร หรือ ซองจดหมาย เพื่อให้ลูกค้าของคุณได้เห็นถึงความ Brand Identity ชัดเจนมากย่ิงขึ้น สาหรับ
ไฟล์ในการพรีเซ้น ควรเป็นไฟล์คุณภาพสูง ซึ่งมันเป็นสิ่งสาคัญในการทาให้ลูกค้าเห็นด้วยและชอบดีไซน์ของ
คณุ

ในข้นั ตอนนลี้ ูกคา้ อาจมีคอมเมนท์บางประการให้กลับไปแก้ไข ข่าวดีถ้าลูกค้าตกลงปลงใจกับ
งานออกแบบโลโก้ คอมเมนท์อาจเป็นเพียงการแก้ไขขนาดเล็กๆ น้อยๆ แต่ถ้าไม่ นักออกแบบอาจต้องกลับไป
ท่ีขั้นตอนตั้งแต่ Design brief เพื่อหาส่ิงที่ลูกค้าต้องการท่ีแท้จริงซ่ึงอาจมองข้ามไป ออกแบบและนามาเสนอ
ใหม่อกี ครั้ง

7) Delivery and Support
เมอ่ื การนาเสนอเปน็ ไปอย่างเรยี บร้อย ในฐานะนักออกแบบจะต้องสรา้ งไฟลโ์ ลโก้ ขนาดต่างๆ
ท่ลี ูกคา้ ตอ้ งการใชง้ าน ทั้งสาหรับส่ือออนไลนแ์ ละออฟไลน์ เป็นต้น
3. ฉลำกสินคำ้
หลักกำรออกแบบฉลำกสินคำ้ ทด่ี ี
นอกจากการมีสินค้าที่ดีคุณภาพแล้ว บรรจุภัณฑ์ต่างๆ ท่ีมีใช้ ท้ังหมดจะตัวเป็นตัวเลือกใน
การตดั สนิ ใจใหผ้ ซู้ อื้ ซอื้ สินค้าช้นิ น้ันๆ ด้วยเช่นกัน และการที่จะทาให้สินค้าน้ันโดดเด่นมีความน่าสนใจ มีความ
สอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับบรรจุภัณฑ์จึงจาเป็นต้องมีฉลากสินค้ าที่สวยงามและมีข้อมูลครบถ้วน
เพ่อื ให้สนิ คา้ ชน้ิ นั้นมีความสมบรู ณ์มากทสี่ ุด
ฉลากสินค้า คือ แถบรายละเอียดข้อมูลท่ีสาคัญของผลิตภัณฑ์ซึ่งรายละเอียดฉลากสินค้าที่
ถูกต้องน้ันจะต้องประกอบไปด้วย ข้อมูลทางโภชนาการ ปริมาณของขนาดบรรุจภัณฑ์ เลขหมายการค้า (โดย
จะขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้า) ส่วนประกอบท่ีใส่ลงไปในตัวสินค้า วันผลิตวันหมดอายุ ผู้ผลิตและจัดจาหน่าย
เพอื่ ให้ขอ้ มูลทงั้ หมดเปน็ ประโยชน์ต่อผบู้ ริโภคมากที่สดุ
1) อยำ่ ลมื องคป์ ระกอบท่ีสำคัญท่ีสดุ
จากข้อมูลข้างต้น สิ่งท่ีสาคัญอีกอย่างหนึ่งคือการทาโลโก้ให้มีความน่าสนใจและเป็นไปใน
ทิศทางเดียวกันกับงานออกแบบฉลากสินค้า สาหรับธุรกิจเล็กๆ อาจมีสินค้าแค่ตัวเดียว โลโก้แบรนด์กับโลโก้
สินค้าก็อาจจะใช้ตัวเดียวกันได้ สาหรับธุรกิจใหญ่ที่มีสินค้าหลายอย่าง อาจจะต้องออกแบบโลโก้เฉพาะสินค้า
เพ่อื แยกไป และฉลากสินคา้ นน้ั ต้อง Match กบั โลโกส้ นิ คา้ ชนิดน้ันดว้ ย

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 56

2) ตัวหนังสอื ตอ้ งอำ่ นง่ำย
นกั ออกแบบตอ้ งคานงึ ถึงหลกั ข้อน้ใี หม้ ากทีส่ ุดอกี ขอ้ หนึง่ อยา่ มองขา้ มการใช้ตัวหนังสือที่อ่าน
ง่าย เพราะผู้บริโภคหลายกลุ่มชอบอ่านรายละเอียดข้างในฉลากสินค้า ดังน้ันจึงควรเลือกตัวอักษรท่ีไม่แปลก
จนอา่ นยาก เลือกใชอ้ ักษรทดี่ ูสะอาด สบายตา สีของตัวอกั ษรเช่นกนั
3) จับคู่ Font ตำ่ งชนิดให้ลงตวั
การออกแบบฉลากสินค้านั้นต้องเล่นกับพ้ืนท่ีว่าง ท่ีจากัดด้วยข้อมูลส้ันและแตกต่างกัน การ
เลือกใช้ Fonts ที่แตกต่างกันจะช่วยให้ฉลากมีความน่าสนใจและสื่อความหมายถึงข้อมูลแต่ละประเภทให้
ผู้บรโิ ภครับทราบได้
4) สรำ้ งชอ่ งวำ่ งด้วยกำรใชส้ ขี ำว
เพราะการใช้สีขาวเป็นช่องว่างจะทาให้เห็นความแตกต่างและแยกความแตกต่างของ
ส่วนข้อมูลให้ชัดเจน เทคนิคนี้สามารถจับคู่ Fonts ให้มีความสวยงามข้ึน และสีขาวให้ความรู้สึกสะอาดตา ดู
เป็นมิตรและมีความนา่ เชอ่ื ถือ
5) เลือกใช้ภำพและกำรตกแตง่ อย่ำงมศี ลิ ปะ
ถ้าเป็นงานออกแบบฉลากสินค้าที่เราพบเห็นโดยทั่วไปที่ไม่ผู้ออกแบบไม่ได้เป็นอาชีพหรือมี
ความถนดั ก็จะทาเพียงแคเ่ อารปู สนิ ค้าหรือส่วนประกอบของสินค้ามาแปะ และใส่ตัวอักษรลงไป ซึ่งถือว่าเป็น
รปู แบบท่ีไม่มชี นั้ เชงิ และดูท่อื นักออกแบบฉลากสินค้าท่ีมีความชานาญหลายคนอาจใช้ภาพ Abstract ท่ีสื่อถึง
ส่วนประกอบน้ันๆ ได้
เพอ่ื ใหก้ ารออกแบบฉลากสนิ คา้ หรอื แมแ้ ตโ่ ลโก้ บรรจุภัณฑ์ต่างๆ มีความสวยงาม น่าเชื่อถือ
และมีความเปน็ มืออาชีพมากท่ีสุด เราควรเลือกให้ผู้ท่ีเช่ียวชาญเก่ียวกับทางด้านน้ีได้ออกแบบ และประเมินว่า
ควรมีลักษณะหรอื ออกแบบอย่างไร โดยยึดเอาความต้องการ ความพึงพอใจ และรูปแบบของแบรนด์เป็นหลัก
ประกอบด้วย จะทาให้เราได้ผลงานที่ถูกใจ ไม่เสียเวลาในการทาธุรกิจ อีกท้ังความสวยงามโดดเด่นจะช่วยให้
ผบู้ รโิ ภคจดจาสินค้าของเราไดอ้ กี นานเท่านาน

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 57

ภำพท่ี 30 ผู้ประสำนงำนโครงกำร ภำพที่ 31 วิทยำกรจำกคณะศลิ ปกรรมศำสตร์
มหำวิทยำลัยขอนแก่น ชี้แจงวัตถปุ ระสงคก์ ำร มหำวิทยำลัยขอนแก่น บรรยำยเรือ่ งควำมหมำย

ดำเนนิ กจิ กรรม และประโยชนข์ องบรรจภุ ัณฑแ์ ละโลโก้กลมุ่

ภำพที่ 32 ผู้ร่วมดำเนินงำน มหำวิทยำลัยขอนแกน่ ภำพที่ 33 วทิ ยำกรจำกคณะศลิ ปกรรมศำสตร์

รว่ มระดมควำมคดิ เห็นเพ่อื คน้ หำอตั ลกั ษณ์และ มหำวิทยำลัยขอนแกน่ นำเสนอผลที่ไดจ้ ำกกำร

ขอ้ มูลกลุ่มอำชีพเพอ่ื นำไปพัฒนำและจัดทำโลโก้ ระดมควำมคดิ เหน็ ของแต่ละกลมุ่ อำชีพทีเ่ ขำ้ ร่วม

และบรรจภุ ัณฑข์ องกลุ่มอำชีพ กจิ กรรมเพื่อนำไปพัฒนำให้เกิดโลโกแ้ ละบรรจภุ ณั ฑ์

ของกล่มุ

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 58

ภำพท่ี 34 วิทยำกรจำกคณะศิลปกรรมศำสตร์ ภำพท่ี 35 วิทยำกรจำกคณะศิลปกรรมศำสตร์
มหำวิทยำลัยขอนแก่น นำเสนอโลโกแ้ ละบรรจุ มหำวิทยำลัยขอนแก่น รว่ มกับคณะทำงำนได้มอบ
ภณั ฑ์กลมุ่ อำชีพ พร้อมชแ้ี จงกำรนำไปใชป้ ระโยชน์ concept logo ไฟลโ์ ลโก้ พรอ้ มทั้งตวั อย่ำงบรรจุ

ภัณฑ์ คอื tag สินค้ำ ให้แกก่ ลมุ่ เป้ำหมำย

3. กิจกรรมกำรบริหำรจดั กำรกลุ่ม

เป็นการบรรยายเพ่ือให้ความรู้และร่วมแลกเปลี่ยนเรีนรู้ร่วมกันโดยวิทยากรจากสาขาเศรษฐศาสตร์

เกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ผลจากการดาเนินกิจกรรมเปน็ ดังนี้ (ภาพท่ี 36-41)

1) ควำมหมำยของกลมุ่
กลุ่ม หมายถึง การที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปมารวมกัน โดยมีการติกต่อสัมพันธ์กัน หรือปฏิสัมพันธ์
กัน และมีจดุ มุ่งหมายท่ีจะกระทากิจกรรมอบ่างใดอย่างหนึ่งรค่วมกัน อลัความสัมพันธ์นี้จะช่วยให้สมาชิกกลุ่ม
อยรู่ ว่ มกันได้ในระดับที่พอดี
การท่ีบคุ คลมารวมกนั เปน็ กลุ่ม จะต้องมีลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรอื หลายลักษณะต่อไปนี้เกิดข้ึน คือ

1) จะตอ้ งมีปฏิสัมพันธก์ ันเสมอ
2) แต่ละคนจะถือว่าตนเองเปน็ สมาชกิ กลุ่ม
3) แต่ละคนในกล่มุ จะยอมรับกนั เป็นสมาชิกกลุ่ม
4) แต่ละคนจะมีบทบาททีช่ ดั เจน
5) มกี ารเลยี นแบบลกั ษณะบางอย่างทต่ี นเองคดิ วา่ เหมาะสมจากสมาชกิ กลุม่
6) สมาชกิ กลุ่มมีความคิดว่ากลุม่ จะต้องใหผ้ ลประโยชน์ต่อสมาชิก
7) สมาชกิ จะแสวงหาเป้าหมายร่วมกัน
8) มกี ารรบั รูค้ วามเป็นเอกภาพของกลมุ่ รว่ มกนั
9) สมาชกิ กลมุ่ จะปฏิบตั ติ นให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของกลมุ่
กลุ่มอำชีพ หมายถึง การรวมตัวชองชาวบ้านท่ีประกอบอาชีพเดียวกัน ดาเนินกิจกรรมด้านอาชีพ
กจิ กรรมผลิต และจาหนา่ ยอย่างต่อเนือ่ ง โดยมคี ณะกรรมการดาเนนิ งานของกลุม่ มีระเบียบข้อบงั คบั

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 59

2) วตั ถุประสงค์ในกำรจดั ตงั้ กล่มุ อำชีพ
1) เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนชุมชนมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความมั่นคงในการ

ประกอบอาชพี และกอ่ ใหเ้ กดิ รายได้อย่างต่อเน่อื ง
2) เพอ่ื พัฒนาทักษะ ความรคู้ วามสามารถ ในด้านการผลิต การตลาด และการจัดการอย่างมี

ประสทิ ธภิ าพ เพื่อก้าวไปสกู่ ารเป็นผปู้ ระกอบการชมุ ชน
3) เพ่อื เป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนร้ดู า้ นสมั มาชีพ

3) ข้ันตอนและวธิ ีกำรจัดตัง้ กลุ่มอำชพี
1) ประชาสมั พันธเ์ ชญิ ชวนครัวเรือนในชุมชนที่ประกอบอาชีพเดียวกัน หรือประเภทเดียวกัน

เข้ารว่ มเปน็ สมาชิกกลมุ่ อาขพี
2) ประชุมหรอื จดั เวทีสร้างความรู้ความเข้าใจ โดยอธิบายวัตถุประสงค์ หลักการ และวิธีการ

ดาเนินงานของกลุ่มอาชีพ ความสาคัญของกลุ่มท่ีมีต่อสมาชิกกลุ่มและชุมชน รวมถึงกิจกรรมท่ีสมาชิกจะ
รว่ มกนั ทาตามความต้องการและเหมาะสมกับศักยภาพและสภาพท้องถนิ่

3) ดาเนินการจัดต้ังกองทุนกลุ่มอาชีพ โดยสมาชิกร่วมกันกาหนดองค์ประกอบพื้นฐานของ
กลมุ่ ดงั น้ี

- ตัง้ ช่อื กลุ่มตามความเหน็ ชอบของสมาชิก
- กาหนดวัตถุประสงคข์ องกล่มุ เพ่ือเปน็ ทศิ ทางท่ชี ัดเจนในการดาเนนิ งานของกลมุ่
- กาหนดทีต่ ้ังกลุม่ เพ่ือเปน็ สถานที่จดุ ศนู ย์รวมสาหรับดาเนนิ กิจกรรมของกลมุ่
- เลือกคณะกรรมการประกอบด้วยตาแหน่งหลัก คือ ประธาน รองประธาน
เลขานุการ เหรัญญิก และประชาสัมพันธ์ โดยสมาชิกในกลุ่มเลือกกันเอง เพื่อเป็นตัวแทนของกลุ่มในการ
บรหิ ารงาน การตดิ ตอ่ ประสานการดาเนินงานต่างๆ กบั หนว่ ยงานและผูเ้ กีย่ วข้อง
- จัดทากติกาของกลุ่ม เพ่ือใช้เป็นแนวทางปฏิบัติร่วมกันระหว่างสมาชิกกลุ่มและ
กรรมการ
- จัดทาแผนปฏิบัตกิ ารของกลุ่ม เพือ่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนินกิจกรรมร่วมกัน
4) รวบรวมขอ้ มูลกลุ่ม คณะกรรมการกองทุนกลุ่มอาชีพ ดาเนินการจัดทาและรวบรวมข้อมูล
การจัดตง้ั กลมุ่ อาชพี ประกอบด้วย บนั ทึกการประชุม ข้อบงั คับกลุ่ม รายช่ือคณะกรรมการกลุ่ม รายช่ือสมาชิก
กลุ่ม แผนงาน/กิจกรรมกลุ่ม และอ่นื ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง
5) ย่ืนจดทะเบียบกลุ่มอาชีพ คณะกรรมการกลุ่มอาชีพ นาข้อมูลกลุ่มยื่นเสนอขอจัดตั้งกลุ่ม
อาชีพกับสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ โดยสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอจะตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้อง
แล้วออกหนังสือสาคัญแสดงการจดทะเบียนจัดต้ังกลุ่มอาชีพพร้อมรายงานการจัดต้ังกลุ่มอาชีพไปยังจังหวัด
เพือ่ รายงานกรมพฒั นาชุมชน
6) กลุ่มอาชีพดาเนนิ กจิ กรรมตามแผนปฏบิ ตั ิการ ท่ไี ดร้ ่วมกนั จดั ทาขน้ึ

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 60

7) ประสานงานหน่วยงานภาคีการพัฒนา เพ่ือสนับสนุนการพัฒนากลุ่มอาชีพในด้านต่างๆ
เชน่ การเข้าถึงปจั จัยการผลิต องค์ความรู้ การตลาด การประชาสัมพนั ธ์ การบริหารจัดการ

4) คุณสมบัติและเอกสำรในกำรจดั ต้งั กลุ่มอำชพี
คุณสมบัตขิ องกลุ่มอำชพี ทข่ี อจดทะเบียนจดั ตงั้ กลุ่มอำชีพ คือ

1) เป็นประชาชนทีม่ ีภูมลิ าเนาในหมู่บา้ น ตาบล อาเภอ ที่ตง้ั กลุ่มและมีสัญชาติไทย
2) มีจานวนสมาชิกตั้งแต่ 5 คน ข้ึนไป ท่ีประกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภทอาชีพเดียวกัน
และมีความสมคั รใจในการเขา้ รว่ มเปน็ สมาชิกกลุม่
3) มีการบรหิ ารงานโดยคณะกรรมการที่มาจากการเลือกตง้ั ของสมาชิก
4) มีข้อบังคบั กตกิ า หรือ ระเบียบของกลมุ่ ท่ชี ัดเจนและสมาชกิ รับทราบ
5) มีการดาเนินกิจกรรมที่ส่งเสริมการประกอบอาชีพของสมาชิกโดยรวมมิใช่เพื่อประโยชน์
ตอ่ บคุ คลใดเปน็ การเฉพาะ
6) มวี ตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดตั้งกลุม่ ท่ชี ัดเจน
7) มีสถานทตี่ ง้ั กล่มุ ทเ่ี หมาะสม
เอกสำรในกำรขอจดทะเบยี นจดั ตั้งกลมุ่ อำชพี
1) รายชื่อสมาชกิ กลุม่
2) รายช่ือคณะกรรมการกลุ่ม
3) กติกา ระเบียบหรือข้อบังคับของกลมุ่
4) แผนการดาเนินกิจกรรมที่สง่ เสรมิ การประกอบอาชีพของสมาชิก
5) บนั ทกึ รายงานการประชุมจดั ตั้งกลมุ่
6) หลักฐานประธานกลุ่ม (สาเนาบัตรประชาชนและทะเบยี บบ้าน)
7) ภาพถ่ายท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินกิจการ เช่น สถานที่ประกอบกิจการการประชุมกลุ่ม
ผลติ ภณั ฑข์ องกลุ่ม เป็นต้น
5) กำรบรหิ ำรกลุม่ อำชพี
การดาเนินกิจกรรมกลุ่มอขกงลุ่มอาชรีพให้ประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ร่วมกันของสมาชิก
รวมถึงทพใหก้ ลุ่มมีความเขม้ แข็งสาสมารถดาเนนิ การไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ดงั นี้
5.1 กลุ่ม/สมำชิก
- กลุ่มเป็นการรวมตัวกันของคนท่ีมีความสมัครใจพร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการดาเนิน
กิจกรรมของกลุ่มท่ีมีอาชีพเดียวกัน หรือประเภทเดียวกัน อย่างน้อย 5 คน ขึ้นไป สมาชิกกลุ่มโดยท่ัวไปมี 3
ประเภท คือ สมาชกิ สามัญ สมาชิกกติ ติมศักด์ิ และสมาชกิ สมทบ
- ที่ตั้งของกลุ่ม ควรเลือกสถานท่ีที่เป็นท่ีสาธารณะ หรือสถานท่ีที่มีความพร้อมสามารถเป็น
ศูนย์กลางการดาเนนิ งานของกลุม่ สมาชกิ เดนิ ทางไปมาสะดวก และควรมีการขอใชส้ ถานที่ถูกตอ้ ง

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 61

- สมาชิก เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติตามท่ีกลุ่มกาหนด เช่น มีภูมิลาเนาหรือถิ่นอาศัยเดียวกับสถาน
ท่ตี ้งั กลุ่ม มคี วามรคู้ วามเข้าใจและเห็นชอบในหลักการของกลุ่ม รวมถึงพร้อมที่จะปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลง
ของกลุม่ และสมัครเป็นสมาชกิ กลุ่มดว้ ยความสมคั รใจ

- บทบาทหน้าท่ีของสมาชิก เข้าร่วมการประชุมและแสดงข้อคิดเห็น ให้ความร่วมมือ
สนับสนุนการดาเนินบงานของกลุ่ม นาความที่ได้รับไปพัฒนาอาชีพ ร่วมกาหนดและปฏิบัติตามระเบียบของ
กลมุ่

5.2 กรรมกำร
- กรรมการ คือ กลุ่มคนซ่ึงได้รับมอบหมายและเป็นตัวแทนจากสมาชิกให้บริหารกลุ่มนั้นๆ
ซ่ึงกลุ่มจะม่ันคงและบรรลุผลเพียงใด ข้ึนอยู่กับคณะกรรมการท่ีต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ การ
แตง่ ตั้งคณะกรรมการควรเปน็ เลขคี่ เพ่อื ใหส้ ดั ส่วนของการออกเสียงมีความเป็นเอกฉันท์ จานวนอยู่ระหว่าง 5-
21 คน มวี าระการดารงตาแหนง่ อยรู่ ะหวา่ ง 1-4 ปี
- บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการ คือ ดาเนินการร่างระเบียบหรือข้อบังคับกลุ่ม โดย
ความเห็นขอบของสมาชิกกลุ่ม จัดให้สมาชิกมาประชุมแสดงความคิดเป็นและวางแผนการดาเนินงานกิจกรรม
กล่มุ รว่ มกนั จดั ให้มีบรกิ ารแก่สมาชกิ ในด้านต่างๆ และประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง
- ตาแหนง่ ของกรรมการ ประกอบด้วย
ตาแหน่งหลัก คือ ประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก ปฏิคม และประชาสัมพันธ์
โดยบทบาทหนน้ ทค่ี ณะกรรมการแตล่ ะตาแหนง่ มดี ังน้ี

1. ประธาน
- เป็นประธานในท่ีประชุม กาหนดเร่ืองที่จะเข้าประชุม กาหนดแผนการ

ประชุม เพื่อให้ไดม้ ติ นโยบาย แผนงาน วิธีการ ข้ันตอนของการปฏิบัติงาน
- จัดทาแผนการดาเนินงานของกลุ่มร่วมกับคณะกรรมการ โดยความ

เห็นชอบของสมาชิก
- ประชาสัมพนั ธ์ขา่ วสารไปสสู่ มาชกิ
- ตดิ ต่อประสานงานกบั หน่วยงานหรือบคุ คลที่เกย่ี วข้อง
- ปฏบิ ตั ติ ามมตทิ ป่ี ระชุม

2. รองประธาน
- ติดตอ่ ประสานงานและร่วมกับประธานในการปฏิบตั งิ านต่างๆ
- ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีอ่นื ใดตามท่ีประธาน หรอื ที่ประชมุ กลุ่มมอบหมาย

3. เลขานุการ
- รวบรวมเร่ืองต่างๆ ให้ประธานกรรมการเพื่อพิจารณา หรือสั่งการให้

นาเขา้ ท่ีประชุม

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 62

- จัดทารายงานการประชุมและจดบันทึกต่างๆ ในการดาเนินงานของ
คณะกรรมการ

- ตดิ ตอ่ ประสานงานกบั คณะกรรมการและสมาชิก
- ปฏิบตั ติ ามทปี่ ระธานหรอื ที่ประชุมมอบหมาย
4. เหรัญญิก
- จัดทาทะเบยี นต่างๆ หลักฐานการรับ-จ่ายเงินของกลมุ่
- ดาเนินการตดิ ตามและควบคุมเกี่ยวกับการเงินและบัญชขี องกลุ่ม
- รบั ผิดชอบเก็บรกั ษาเงนิ ของกลุ่ม
- ปฏิบัตงิ านอืน่ ๆ ตามทป่ี ระชุมกลุ่มมอบหมาย
5. ปฏิคม
- ดาเนินการท่ีเก่ียวข้องกับการต้อนรับ การประสานงาน การอานวยควม
สะดวก การสร้างความเป็นมิตรอบอ่นุ ใจ การใหค้ วามสะดวกสบาย การใหข้ อ้ มูลข่าวสาร การปฏิบัติตามคาร้อง
ขอ และการให้ความช่วยเหลือตามสมควร
- ปฏิบัติงานอ่นื ๆ ตามท่ปี ระชุมกล่มุ มอบหมาย
6. การประชาสัมพนั ธ์
- ติดต่อประสานงาน และเผยแพร่ข่าวสารหรือแจ้งเรื่องราวต่างๆ ซ่ึงงที่
ประชมุ ใหล้ งมตไิ วแ้ ลว้ ใหค้ ณารรมการกลมุ่ อาชพี สมาชกิ หรือผเู้ กี่ยวข้องได้รับทราบ
- เสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างคณะกรรมการหรือสมาชิกด้วยกันกับ
หนว่ ยงานภาครฐั หรือภาคเอกชนที่เก่ียวข้อง
- ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ตามทป่ี ระชมุ กลุม่ มอบหมาย
ตาแหน่งอ่ืนๆ เช่น การตลาด บัญชี ออกแบบ ฝ่ายศิลป์ ฝ่ายขาย ฝ่ายผลิต ฝ่าย
จดั ซือ้ ฝ่ายรับออเดอร์ ฝ่ายแปรรูป ฝ่ายตรวจนบั ฝา่ ยตรวจสอบคณุ ภาพ
ท่ีปรึกษา อาจแต่งตั้งจากผู้ที่มีความรู้ ความเช่ียวชาญเฉพาะด้านต่างๆ ที่จาเป็น
สาหรับกลมุ่ อาชีพนนั้ ๆ เช่น ดา้ นการเกษตร ดา้ นสง่ เสริมอาชพี
5.3 กฏ กตกิ ำ ระเบียบข้อบงั คบั กลุ่ม
กฏ กติกา ระเบียบข้อบังคับกลุ่ม ควรทาเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อมช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
รว่ มกนั ระหวา่ งสมาชิกและคณะกรรมการ วิธีการอาจเป็นการร่วมกันร่างขึ้นมาเอง หรืออาศัยกฎหมายอ่ืนมา
รองรบั การกาหนดสาระสาคัญในระเบยี บอาจกาหนดเป็นหมวดหมู่ ดังนี้
หมวดท่ี 1 ข้อความท่วั ไป ประกอบดว้ ย ชื่อกลมุ่ ท่ีตงั้ กลุ่ม วันทรี่ ะเบยี บน้ีใชบ้ งั คับ
หมวดที่ 2 วัตถปุ ระสงค์ของการจดั ตงั้ กลุ่มอาชพี
หมวดที่ 3 สมาชิกกลมุ่ ประกอบด้วย คุณสมบัติของสมาชิก การสมัครเข้าเป็นสมาชิก บทบาทหน้าที่
ของสมาชิก การพน้ จากสมาชกิ

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 63

หมวดที่ 4 เงินทนุ ของกลุม่ ท่มี าเงินทนุ ของกลุ่ม การใช้จ่ายเงินทนุ ของกลมุ่
หมวดที่ 5 การดาเนนิ งานของกลุ่ม ประกอบดว้ ย กิจกรรมของกลมุ่ วธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรมการจัดสรร
ประโยชนห์ รอื กาไรของกลุ่ม
หมวดท่ี 6 คณะกรรมการบริหารกลุ่ม ประกอบด้วย คุณสมบัติของคณะกรรมการ จานวน
คณะกรรมการ โครงสร้างของคณะกรรมการ บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ วิธีคัดเลือก วาระในการดารง
ตาแหนง่ การพน้ จากตาแหน่ง การประชมุ ของคณะกรรมการและสมาชิก
หมวดที่ 7 การแก้ไขหรือเพิ่มเติมระเบยี บกาหนดวธิ ีการแก้ไขหรือเพ่ิมเตมิ ระเบียบ
หมวดที่ 8 บทเฉพาะกาลใครเปน็ ผลู้ งนามในระเบยี บ วนั ทร่ี ะเบยบมผี ลบังคับใช้

5.4 กองทนุ
กองทุนของกลุ่มอาชีพอาจเป็นเงินหรือเคร่ืองมือ ที่ทาให้กิจกรรมของกลุ่มดาเนินการได้และ
บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ของกลมุ่ ท่ีมาของทุน ไดแ้ ก่
1) ทนุ จากการระดมหุ้นของสมาชิกควรกาหนดจานวนหุ้นของสมาชิกให้ชัดเจนเพ่ือใช้เป็นตั้ง
ต้นในการดาเนนิ งานของกลุม่
2) ทุนจากภาครัฐ/เอกชน เช่น ภาครัฐสนับสนุนงบประมาณ เงินบริจาค เงินสมทบจาก
เครือข่าย หรอื กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลติ
3) ทุนจากการจัดกิจกรรม เชน่ จาหน่ายขา้ วเปลือก เสน้ ฝา้ ยแล้วหกั รายไดเ้ ขา้ กลมุ่
4) ทุนจากการกยู้ ืม แบง่ เป็น
- แหลง่ ทนุ ภายในชมุ ชน เชน่ เงนิ กูจ้ ากสหกรณ์ กองทุนหมู่บ้านฯ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
กลุม่ ออมทรพั ย์เพอื่ การผลิต เครือญาติ
- แหลง่ ทุนภายนอกชมุ ชน เช่น สถาบนั การเงนิ ตา่ งๆ (ธกส. ออมสนิ SME ฯลฯ)
.5.5 กจิ กรรม
เป็นส่ิงที่สมาชิกกลุ่มร่วมกันปฏิบัติ เพ่ือสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและชุมชน โดยมีการก
กาหนดเป็นแผนกิจกรรมต่างๆ เช่น การประชุม การวางแผน การผลิต และการจาหน่าย การสะสมทุนของ
กลุ่ม การพัฒนาความรู้ความสามารถของสมาชิก การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การจัดสวัสดิการ
การตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนินงาน
กิจกรรมของกลุ่ม ถือเป็นหัวใจสาคัญท่ีทาให้กลุ่มมีชีวิต บรรลุวัตถุประสงค์ของกลุ่ม ดังน้ัน
คณะกรรมการจึงจาเป็นต้องส่งเสริมให้กลุ่มมีแผนและดาเนินกิจกรรมตามแผนอย่างต่อเนื่อง และสม่าเสมอ
โดยกิจกรรมของกลุ่มต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วม ก่อให้เกิดความร่วมมือ และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้
มนั่ คง ชุมชนพ่ึงตนเองไดต้ ามวถิ เี ศรษฐกจิ พอเพยี ง
6 กำรพัฒนำกล่มุ อำชพี
กลุ่มอาชีพที่สามารถดาเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีการดาเนิน
กจิ กรรมกลุ่มอาชีพไดอ้ ย่างย่งั ยนื นนั้ กลุ่มอาชพี จาเป็นต้องมีการพฒั นาด้านต่างๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ดงั น้ี

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 64

6.1 กำรบริหำรจดั กำร
- การมสี ว่ นร่วมในการดาเนินงานกลมุ่
- การมีกจิ กรรมกลุ่มอยา่ งต่อเนื่อง
- การแบง่ ปนั ผลประโยชนข์ องกลุ่มทเ่ี หมาะสม เปน็ ธรรม และสมาชกิ มีความพงึ พอใจ
- การมีกิจกรรมทส่ี ง่ เสริมและพัฒนากระบวนการเรยี นรู้
- การมีกฏระเบียบกตกิ าทีเ่ ป็นท่ยี อมรบั ของทุกคน
- มีการกากับ ติดตาม และตรวจสอบการดาเนนิ งาน
- มกี ิจกรรมสร้างแรงจูงใจ เชน่ การให้รางวัล การยกย่องชมเชย
6.2 กำรพฒั นำด้ำนกำรผลติ
- ปริมาณการผลิตค ผลงานไดต้ ามเปา้ หมาย
- คุณภาพผลผลติ ผลงานได้ตามเปา้ หมาย
- ความหลากหลายของผลผลติ
- การพฒั นาตอ่ ยอดของผลผลิต
6.3 กำรเพ่มิ มูลตำ่ ผลิตภัณฑ์
- การคัดวัตถุดิบที่มีคุณภาพ คานึงถึงความปลอดภัยและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การ
ใชว้ ตั ถดุ บิ จากธรรมชาติ
- การใช้ภมู ปิ ญั ญา/วฒั นธรรม เปน็ ฐานในการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ เช่น การหมักโคลนผ้า
- การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และรปู แบบผลิตภณั ฑ์ ท่สี อดคล้องกบั ความต้องการของตลาด
- มกี ารนาเทคโนโลยี/องคค์ วามรใู้ หม่ มาใช้ในการดาเนินงาน
- การขอเครื่องหมายรองรับคุณภาพ เช่น มผช. อย. ฮาลาน เปน็ ตน้
6.4 กำรสง่ เสรมิ ชอ่ งทำงกำรตลำดและกำรประชำสัมพันธ์ เป็นการเปิดโอกาสในการสร้าง
การรบั รู้ และการจาหน่ายผลติ ภัณฑข์ องกลุมอาชีพ ดงั น้ี
- ณ ทีท่ าการกลมุ่
- ตลาดในชุมชน
- รา้ นโอทอป
- รา้ นคา้ ในโรงแรม/ท่พี ัก/แหล่งทอ่ งเท่ยี ว
- รา้ นจาหนา่ ยของฝาก/จดุ พกั รถนกั ทอ่ งเทยี่ ว
- งานแสดงสนิ ค้าของหน่วยงานราชการ เช้น ทีว่ า่ การอาเภอ ศาลากลางจังหวัด ศูนย์ส่งเสริม
อุตสาหกรรม ฯลฯ
- งานแสดงสนิ ค้าของภาคเอกชน
- การประชาสัมพนั ธท์ างส่อื สงิ่ พมิ โปสเตอร์ แผน่ พบั แผน่ ปลวิ
- สือ่ ออนไลน์ เช่น เวปไซต์ ไลน์ เฟซบคุ๊

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 65

6.5 กำรจัดสรรผลกำไร
- การจดั สรรสวัสดิการ เช่น การจัดฌาปนกิจ ค่ารักษาพยาบาล ทุนการศึกษา จัดทาประกัน
ชีวิต คา่ อาหารและเครือ่ งดม่ื ซ้อื และซอ่ มวสั ดุ/อปุ กรณ์
- พัฒนาสาธารณประโยชน์ เช่น พฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
- ส่งเสริมและพัฒนาคณะกรรมการและสมาชิก เช่น ศึกษาดูงาน ให้กู้ยืมเงิน ค่าตอบแทน
คณะกรรมการ ค่าตอบแทนคนจาหน่ายสนิ ค้า สมาชกิ ยืมเงนิ เปน็ ทนุ หมนุ เวียน
- การจดั สรรเปน็ ทุนของกลุ่ม
- การปนั ผลแก่สมาชกิ

ภำพที่ 36 ผู้ประสำนงำนโครงกำร ภำพที่ 37 วทิ ยำกรจำกคณะเกษตรศำสตร์
มหำวิทยำลัยขอนแกน่ ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์กำร มหำวิทยำลัยขอนแกน่ บรรยำยให้ควำมรู้เรื่องกำร

ดำเนนิ กิจกรรม บริหำรจัดกำรกลุ่ม

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 66

ภำพท่ี 38 วิทยำกรจำกคณะเกษตรศำสตร์ ภำพท่ี 39 วิทยำกรจำกคณะเกษตรศำสตร์
มหำวิทยำลัยขอนแก่น ร่วมอภิปรำยแลกเปล่ียนกับ มหำวิทยำลัยขอนแกน่ ระดมควำมคดิ เห็นรว่ มกับ
ผู้เข้ำร่วมกจิ กรรมเพื่อใหท้ รำบถงึ ผลกำรดำเนนิ งำน
ผ้เู ขำ้ ร่วมกจิ กรรมเพือ่ ค้นหำต้นทนุ กำรผลติ
ทผ่ี ่ำนมำ

ภำพที่ 40 วทิ ยำกรจำกคณะเกษตรศำสตร์ ภำพที่ 41 วทิ ยำกรจำกคณะเกษตรศำสตร์
มหำวิทยำลัยขอนแก่น รวบรวมข้อมูลเพ่ือสรุป มหำวิทยำลัยขอนแกน่ สรุปผลกำรดำเนินกจิ กรรม
ต้นทุนกำรผลิตของอำชีพทอเส่อื บ้ำนบวั ม.17
พรอ้ มข้อเสนอแนะในกำรแกไ้ ขและพัฒนำกำร
ต.กดุ เคำ้ อ.มญั จำคีรี จ.ขอนแกน่ ดำเนนิ งำนของกลมุ่ เป้ำหมำย

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 67

4. กิจกรรมกำรจดั กำรด้ำนกำรตลำด
เป็นการบรรยายเพ่ือให้ความรู้และร่วมแลกเปล่ียนเรีนรู้ร่วมกันโดยวิทยากรจากสาขาเศรษฐศาสตร์

เกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ผลจากการดาเนินกจิ กรรมเปน็ ดังนี้ (ภาพที่ 42-47)
1. กำรตลำดชมุ ชน
โดยทัว่ ไปคาวา “ตลาด” และ “การทาตลาด” จะเปนคาสองคาท่ีไดยินควบคูกัน หากแตมีนัยยะของ

ความหมายท่ีคอนขางแตกตางกัน กลาวคือ เมื่อพูดถึงคาวา “ตลาด” มักจะหมายถึง สถานท่ีท่ีเปนชุมชนหรือ
เปนที่ชุมนุมเพื่อซ้ือและขายสินคา ทั้งในรูปของวัตถุดิบและสินคาสาเร็จรูปเปนประจาเปนครั้งคราว หรือตาม
วนั ทีก่ าหนด สวนคาวา “การทาตลาด” มักจะมคี วามหมายท่ีเนนความสาคัญไปท่ีกระบวนการหรือการจัดการ
ใหเกิดการสงผานสินคาและบริการ หรือคุณคาอื่นๆ จากผูผลิตไปยังผูบริโภคผานชองทางตางๆ ทั้งที่ผานและ
ไมผานคนกลางเมื่อกลาวถึง “ตลาดพืชอาหารปลอดภัย” จะหมายถึง สถานที่ที่มีการซ้ือขาย แลกเปล่ียนสินคา
พืชอาหารที่ปลอดภัย ไรสารเคมีและสารปนเปอนทุกรูปแบบ สวน “การทาตลาดพืชอาหารปลอดภัย” ไดนา
แนวคิดแบบ 4P (Product , Price , Place , Promotion) ของหลักการตลาด มาประยุกตใชในการ
ดาเนนิ งาน ดังนี้

• Product (ผลผลิต) คือ มีการพัฒนาผลผลิตพืชอาหารปลอดภัยใหมีคุณภาพ และไดรับการรับรอง
มาตรฐานพืชอาหารปลอดภยั

• Price (ราคา) คอื มกี ารกาหนดราคาของผลผลิต ท่เี ปนธรรมตอผูผลติ และผูบรโิ ภค
• Place (ตลาด) คือ มีการกระจายสินคาอยางเปนระบบสูผูบริโภคอยางท่วั ถึง
• Promotion (การรณรงค) คอื มีการประชาสมั พันธและการสงเสรมิ การบริโภคพืชอาหารปลอดภัย
2. กำรตลำดออนไลน์ (Online Marketing) คอื อะไร
ในสังคมท่ีโลกออนไลน์กาลังเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนินชีวิตของคนรุ่นใหม่ เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่า
ส่ือออนไลน์ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อเราในทุกขณะ ตั้งแต่ตื่นเช้าจนกระท่ังเข้านอน อีกทั้งความรวดเร็วและความ
สะดวกสบายของโลกออนไลน์ยังถูกนามาใช้ประโยชน์กับกลุ่มคนทุกสาขาอาชีพ โดยเฉพาะการตลาดออนไลน์
(Online Marketing) ทกี่ าลังเป็นทนี่ ิยมกันอย่างแพรห่ ลาย เพราะสามารถทาให้ผู้อ่ืนรู้จักเราหรือสินค้าของเรา
ได้อย่างกว้างขวาง สาหรับใครท่ีเคยได้ยินหรือยังไม่เข้าใจว่า การตลาดออนไลน์ (Online Marketing) ซ่ึงเป็น
คาท่ีมคี วามหมายคอ่ นข้างกวา้ ง เน่อื งจากการตลาดออนไลน์ในปัจจุบัน มีช่องทางหลากหลายเพิ่มมากขึ้น และ
มีการพัฒนาต่อยอดอยู่ตลอดเวลา ก่อนอื่นเราไปทาความเข้าใจกันก่อนว่า การตลาดออนไลน์ หรือ Online
Marketing คืออะไร

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 68

กำรตลำดออนไลน์ (Online Marketing) คือ การทาการตลาดในสื่อออนไลน์ เช่น โฆษณา
Facebook, โฆษณา Google, โฆษณา Youtube, โฆษณา Instagram มีวตั ถุประสงคห์ ลักเพอื่ ทาให้สินค้าของ
เราเป็นท่ีรู้จักเพ่ิมมากข้ึน โดยใช้วิธีต่างๆ ในการ โฆษณาเว็บไซต์ หรือ โฆษณาขายสินค้าที่จะนาสินค้าของเรา
ไปเผยแพร่ตามสือ่ ออนไลน์ เพอื่ ให้ผอู้ ่ืนได้รับรู้และเกิดความสนใจ จนกระทั่งเข้ามาใช้บริการหรือซ้ือสินค้าของ
เราในที่สุด โดยการตลาดออนไลน์ (Online Marketing) สามารถทาไดห้ ลายชอ่ งทาง ดังนี้

- Search Engine Marketing คือ การตลาดออนไลน์บน Search Engine เป็นการทาให้
สินค้าของเราตดิ อันดับการค้นหาในลาดับแรกๆ ซ่ึงจะทาให้เราถูกค้นพบได้ง่ายและถูกคลิกได้บ่อยกว่าเว็บไซต์
ทอี่ ยู่ดา้ นล่างหรืออยู่ในหน้าถัดไป

- Email Marketing คอื การตลาดออนไลน์ท่ที าผา่ นอีเมล เพ่ือสง่ ข่าวสาร โปรโมช่ันต่างๆ ถึง
ลูกค้าที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย เป็นการตลาดท่ีต้นทุนต่าท่ีสุดเมื่อเทียบกับการตลาดในรูปแบบอื่นๆ อีกท้ังยังเป็น
การตลาดออนไลนท์ ต่ี รงกลุม่ และสามารถเข้าถึงผู้รับภายในเวลาอันรวดเร็ว

- Social Marketing คือ การตลาดออนไลน์ท่ีทาผ่าน Social Network ต่างๆ เช่น
Facebook, Twitter, Instagram, Pinterest, Tiktok, ฯลฯ ซ่ึง Social Marketing กาลังได้รับความนิยม
อยา่ งมาก เพราะมสี ถิติการใชง้ านสูงกว่าแหล่งออนไลน์ประเภทอนื่

การตลาดออนไลน์ (Online Marketing) ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่เรารู้จักสินค้าของเรา และ
สามารถกาหนดกลุ่มเป้าหมายท่ีชัดเจนได้ เพียงเท่านี้สินค้าของเราก็สามารถเป็นท่ีรู้จัก และสร้างยอดขายใน
โลกออนไลน์ไดอ้ ย่างงา่ ยดาย

กำรตลำดออนไลน์ (Digital Marketing) ทำอะไรบ้ำง
งานของนักการตลาดออนไลน์ ท่ีใช้ช่องทางดิจิทัลเพ่ือสื่อสารกับลูกค้า จะต้องคานึงถึง
ปฏสิ มั พันธ์กับลกู ค้า 5 อย่างตอ่ ไปนี้
1) การเช่ือมต่อ (Connections) เปล่ียนแปลงวิธีการสื่อสารจากทางหน้าร้าน มาใช้ช่องทาง
ดิจทิ ลั เช่น การทาวดิ โี อไลฟเ์ พอ่ื ใชช้ ่องทางอนิ เทอรเ์ นต็ สร้างการเชอื่ มโยงกับลกู คา้
2) การปฏสิ มั พันธ์ (Conversations) สรา้ งปฏิสมั พนั ธก์ บั ผู้บรโิ ภคในกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้สินค้า
และบรกิ าร โดยอาศยั เครอ่ื งมือวจิ ัยแบบกล่มุ (Focus Group) ขนาดใหญเ่ พือ่ เรียนรพู้ ฤตกิ รรมของผูบ้ ริโภค
3) การรว่ มกนั สร้าง (Co-Creation) แบ่งปันขอ้ มลู แนวคิดการทาการตลาดจากช่องทางต่างๆ
เช่น สถาบันการศึกษา หน่วยงาน นักวิชาการ ผู้ประกอบการ เพ่ือปรับปรุงเทคนิคการตลาดออนไลน์ให้
ทันสมัย ตรงกบั ความตอ้ งการสงู สดุ ของผู้บรโิ ภค

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 69

4) ทา E-Commerces สร้างระบบตะกร้า หรือการสั่งซื้อบนหน้าเว็บไซต์ หรือวางสินค้าบน
เวบ็ ไซต์ท่รี องรบั การซ้อื ขายออนไลนผ์ า่ นชอ่ งทางนั้น เช่น Amazon, Ebay, Lazada, Shopee เป็นตน้

5) สร้างชมุ ชน (Community) เช่ือมโยงแบรนด์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ทั้ง Facebook
และ Social Media อนื่ ๆ
(ที่มา : https://nipa.co.th/th/article/digital-marketing/online-marketing)

ภำพท่ี 42 วิทยำกรจำกคณะเกษตรศำสตร์ ภำพที่ 43 วทิ ยำกรจำกคณะเกษตรศำสตร์
มหำวิทยำลัยขอนแกน่ บรรยำยเรอื่ งกำรจัดกำร มหำวิทยำลัยขอนแกน่ รว่ มแลกเปลย่ี นเรยี นร้กู ับ

ตลำดชุมชนและตลำดออนไลน์ ผเู้ ขำ้ ร่วมกิจกรรมเพ่อื ค้นหำกำรจัดกำรดำ้ น
กำรตลำดทเ่ี หมำะสม

ภำพท่ี 44 ผู้ประสำนงำนโครงกำร ภำพที่ 45 ผ้รู ่วมดำเนนิ งำน มหำวิทยำลัยขอนแกน่

มหำวิทยำลัยขอนแกน่ รว่ มเสนอแนะขอ้ คดิ เหน็ ใน รว่ มเสนอแนะข้อคดิ เหน็ ในกำรจดั กำรกำรตลำด

กำรจดั กำรกำรตลำดออนไลนแ์ กผ่ เู้ ข้ำร่วมกจิ กรรม ออนไลนแ์ กผ่ เู้ ข้ำรว่ มกจิ กรรม

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 70

ภำพท่ี 46 วิทยำกรจำกคณะเกษตรศำสตร์ ภำพที่ 47 ผู้เข้ำร่วมกิจกรรมฝกึ ปฏิบัติกำรกำร
มหำวิทยำลัยขอนแก่น บรรยำยประโยชน์กำรจดั ทำ ถ่ำยทอดสดกำรจำหน่ำยผลิตภณั ฑ์กลุ่ม

กำรตลำดแบบออนไลน์

นอกจากการลงพ้ืนท่เี พอ่ื สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรู้และสอบถามความก้าวหน้าในการดาเนินงานและ
รว่ มวเิ คราะห์และหาแนวทางการแก้ไขปัญหาท่เี กิดขน้ึ น้ันๆ แลว้ คณะทางานยังได้จัดทาแบบประเมินความพึง
พอใจในการดาเนินโครงการฯ เพ่ือประเมินกระบวนการทางานและผลการจัดกิจกรรมเป็นไปตามแผนงาน
ความตอ้ งการของผ้เู ข้าร่วมกิจกรรม ประเมินสิ่งที่ผู้เขา้ รว่ มจะไดร้ ับ และความต้องการเพิ่มเติมนอกเหนือจาก
กิจกรรมที่ได้จัดขน้ึ ดงั แสดงในตารางที่ 2

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 71

ตำรำงที่ 2 แสดงความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย ตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี และตาบลบัวเงิน อาเภอ
นา้ พอง จังหวดั ขอนแก่น ในการดาเนินโครงการพฒั นาการใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากร

ควำมพงึ พอใจแตล่ ะดำ้ น รอ้ ยละควำมพึงพอใจ
1 ดำ้ นกระบวนกำรข้ันตอนกำรจัดโครงกำร
1.1 การรับรู้ข้อมลู เก่ยี วกับโครงการ 95.00
1.2 การประชาสมั พนั ธท์ ่วั ถงึ หลากหลายรูปแบบ 100.00
1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจดั โครงการ 100.00
1.4 ความเหมาะสมของรูปแบบ การจดั ลาดับข้นั ตอนของโครงการ 100.00
2 ดำ้ นบุคลำกรผ้ใู หบ้ ริกำร
2.1 การไดร้ ับการอธบิ าย ช้ีแจง และแนะนาท่ีดีจากผใู้ หบ้ ริการ 100.00
2.2 การอานวยความสะดวกของผู้ให้บรกิ าร 100.00
2.3 ความรวดเรว็ และคลอ่ งตัวในการปฏิบัตงิ านของผู้ให้บริการ 100.00
2.4 กรยิ ามารยาท และการมีมนุษย์สัมพันธ์ทีด่ ี 100.00
2.5 วิทยากรอธบิ ายไดช้ ดั เจน ส่อื ความหมายไดเ้ หมาะสม 100.00
2.6 เปดิ โอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการซักถามหรือมีส่วนร่วม 100.00
3 ด้ำนสิ่งอำนวยควำมสะดวก
3.1 ความเหมาะสมและความพร้อมของสถานที่จดั โครงการ 100.00
3.2 เอกสารประกอบ วัสดุอปุ กรณ์ มเี พยี งพอต่อความต้องการ 100.00
3.3 เอกสารประกอบครอบคลุมเนือ้ หาของโครงการ 100.00
3.4 โสตทศั นปู กรณม์ ีความพร้อมและเพยี งพอตอ่ ความต้องการ 100.00
3.5 ความเหมาะสม เพียงพอของอาหาร อาหารวา่ ง 100.00
4 ด้ำนเทคนคิ กำรบรรยำยและกำรปฏบิ ัติ
4.1 ความพร้อมของวทิ ยากรในการใหค้ วามรู้ 100.00
4.2 วทิ ยากรมเี ทคนคิ ในการบรรยาย การใช้ส่ือ ภาษาเขา้ ใจง่าย เหมาะสม 100.00
4.3 วทิ ยากรมคี วามสามารถถ่ายทอดความรู้ตามลาดบั ข้ันตอนและชดั เจน 100.00
4.4 วิทยากรดูแลเอาใจใส่ผเู้ ข้ารว่ มโครงการอย่างทว่ั ถึง 100.00
4.5 เน้ือหาสอดคล้องกบั สง่ิ ท่ีต้องการ 100.00
5 ด้ำนคุณภำพกำรให้บริกำร
5.1 ความรูท้ ไ่ี ดร้ บั ก่อนเขา้ รว่ มโครงการ 50.00
5.2 ความรทู้ ่ีได้รับหลังเขา้ รว่ มโครงการ 100.00
5.3 ประโยชน์และความรทู้ ี่ได้จากการเขา้ ร่วมโครงการ 100.00

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 72

ควำมพงึ พอใจแต่ละด้ำน ร้อยละควำมพึงพอใจ
6 ด้ำนกำรนำควำมรู้ทไี่ ดป้ ระยุกตใ์ ช้
6.1 สิ่งท่ีท่านได้รับจากโครงการนตี้ รงตามความคาดหวงั ของทา่ น 100.00
6.2 ท่านไดร้ บั ความรู้ แนวคดิ ทกั ษะ และประสบการณ์ใหม่ ๆ จากโครงการ 100.00
6.3 โครงการน้ีเอื้ออานวยต่อการเรยี นรู้และพฒั นาความสามารถของท่าน 100.00
6.4 ท่านสามารถนาความร้ทู ่ีได้รับจากโครงการน้ีไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงานได้ 100.00
7 ควำมพึงพอใจของทำ่ นตอ่ ภำพรวมของโครงกำร 100.00

จากตารางแสดงความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย ตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี และตาบลบัวเงิน
อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ในการดาเนินโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ภายใต้โครงการ
พัฒนาการจัดการทรัพยากรเพ่ือการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 จานวน
65 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 มีความพึงพอใจด้ำนบุคลำกรผู้ให้บริกำร ด้ำนสิ่งอำนวยควำม
สะดวก ด้ำนเทคนิคกำรบรรยำยและกำรปฏิบัติ ด้ำนคุณภำพกำรให้บริกำร ด้ำนกำรนำควำมรู้ท่ีได้
ประยุกต์ใช้ ควำมพึงพอใจของท่ำนต่อภำพรวมของโครงกำร ส่วนด้ำนกระบวนกำรข้ันตอนกำรจัด
โครงกำร กลมุ่ เปา้ หมายมีความพึงพอใจร้อยละ 99

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรพั ยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 73

บทที่ 4
บทสรปุ

การดาเนนิ โครงการพัฒนาการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใต้โครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากร
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 ดาเนินการในพ้ืนท่ีตาบลบัวเงิน
อาเภอน้าพอง และตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเป็นพื้นท่ีสนองพระราชดาริโครงการ
อนรุ ักษพ์ ันธกุ์ รรมพชื อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
งานฐานทรัพยากรท้องถ่ินในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ดาเนินการร่วมกับกลุ่มอาชีพเป้าหมายจานวนรวม 5 กลุ่ม
ได้แก่ 1)กลุ่มอาชีพแปรรูปเสื่อกกบ้านบัว หมู่ 1 ตาบลกุดเค้า อาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น จานวน 15
ครวั เรอื น 2)กล่มุ ทอผา้ ฝ้ายบ้านหนองกุงข้ีควง หมู่ 5 ตาบลบัวเงนิ อาเภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแก่น จานวน 10
ครัวเรอื น 3)กล่มุ ทอผ้าไหมบา้ นหนองกงุ ขคี้ วง หมู่ 5 ตาบลบัวเงนิ อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น จานวน 10
ครัวเรือน 4)กลุ่มทอผ้าฝ้ายบ้านคาบอน หมู่ 8 ตาบลบัวเงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น จานวน 10
ครวั เรือน และ5)กลมุ่ ทอผา้ ไหมบา้ นคาจน่ั เหนอื หมู่ 15 ตาบลบัวเงิน อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น จานวน
10 ครัวเรอื น โดยมีวตั ถุประสงคใ์ นการดาเนินโครงการเพ่ือพัฒนาศักยภาพและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน เพ่ือ
ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากร/กลุ่มอาชีพ และเพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
การดาเนินงานร่วมกนั แบบมีส่วนร่วม

การดาเนินกจิ กรรมต่างๆ มขี ้ันตอน ดังนี้ 1) การประสานงานกลุ่มเป้าหมายและส่วนท่ีเก่ียวข้อง 2)
การจัดเวทีระดมความคิดเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหา 3) การกาหนดแผนการดาเนิน
กิจกรรม 4) การปฏิบัติการตามแผนการดาเนินกิจกรรม 5) การเสริมศักยภาพและการแสวงหาความรู้และ
ประสบการณ์ 6) สรุปบทเรียนการดาเนินกิจกรรมเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มได้เรียนรู้ร่วมกันถึงผลของกิจกรรม
ปญั หาและวิธีแก้ไขปัญหาร่วมกนั ซึ่งข้ันตอนการทางานบางขั้นตอนอาจดาเนินการไปพร้อมๆ กันได้ และต้อง
ทาซ้าเมื่อเกิดการเรียนรู้ว่าต้องมีการปรับปรุง กลยุทธ์หลักในการดาเนินโครงการ คือ 1) การเสริมสร้าง
กระบวนการเรียนรู้ 2) การเสริมสร้างกลุ่มและความเข้มแข็งของกลุ่ม และ 3) การเสริมสร้างเครือข่ายของ
กลมุ่ อาชพี

ผลกำรดำเนินงำนของโครงกำรฯ สามารถสรุปโดยภาพรวมได้ ดงั น้ี
1. มีการพัฒนาระบบการบริหารจดั การกลุ่มอยา่ งเป็นระบบมากย่งิ ข้นึ โดยกลมุ่ เปา้ หมายได้นาความรู้
ที่ได้รับไปพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น คือ ปรับโครงสร้างการบริหาร
จัดการกลุ่มให้เหมาะสม เพ่ิมภาระหน้าท่ีให้คณะกรรมการแต่ละฝ่ายให้เหมาะสมและครอบคลุมกับภาระงาน

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 74

ของกลุ่มมากยงิ่ ขึ้น ปรับแก้ระบบการเงินกลุ่มทร่ี ัดกมุ มากย่งิ ข้ึนพร้อมจดั สรรสัดส่วนการปันผลเพื่อให้เกิดความ
พึงพอใจ เกิดความเหมาะสม และเพ่ือให้เกิดการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องมากข้ึน การจัดทากฏระเบียบ
ขอ้ บงั คบั กล่มุ อย่างเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรเพือ่ ให้สมาชกิ กลมุ่ รบั ทราบร่วมกัน และการจัดทาต้นทุนการผลิตเพื่อ
กาหนดราคาขายทเี่ หมาะสมได้

2. เกิดการพัฒนาการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม เดิมท่ีได้ดาเนินการมาจากการส่ังสมประสบการณ์ในการ
ดาเนินงานและจากภูมิปัญญาท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ โดยได้รับความรู้ใหม่ๆ เพ่ิมเติมทาให้เกิดการแก้ไข
ปัญหาท่ีเกิดข้ึนได้ เชน่ พันธุ์ไหมและหม่อนทเ่ี หมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ทากิน พันธุ์หม่อนและตัวไหมท่ีมีคุณภาพ
ดี การแก้ไขปญั หาโรคหมอ่ นและตัวไหม เกดิ การพฒั นาให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน อีกท้ังยังมี
การวางแผนการผลิตเพ่ือให้เกิดการเหมาะสมในการดาเนินงาน เกิดเครือข่ายผู้ปลูกหม่อนเล้ียงไหมเพื่อ
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้และร่วมแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขนึ้ จากการดาเนนิ งานรว่ มกนั

3. พัฒนาการย้อมสีผ้าฝ้ายและไหม จากเดิมย้อมสีเคมีแบบย้อมร้อนและได้รับความรู้ใหม่เพ่ิมเติม
เป็นการยอ้ มสเี คมแี บบยอ้ มเยน็ และแก้ไขปญั หาสไี มต่ กได้ นอกจากน้ียังได้รับความรู้เร่ืองสีที่เหมาะสมกับกลุ่ม
ลูกค้าแต่ละช่วงวัยอีกด้วย เช่น ลูกค้าช่วงวัยรุ่นถึงวัยทางานนิยมใช้เคร่ืองนุ่งห่มโดยเฉพาะผ้าฝ้ายหรือผ้าไหม
เป็นสเี อริ ์ทโทน สว่ นวัยสูงอายุจะนิยมสีสดและเข้ม เป็นต้น (ภาพท่ี 48-49)

ภำพที่ 49 ผำ้ ไหมย้อมสีเคมีแบบยอ้ มเยน็ ลวดลำยต่ำงๆ

ภำพท่ี 48 ผ้ำยอ้ มสีเคมีแบบย้อมเยน็

4. การพัฒนาลวดลายใหม่ๆ หลังจากท่ีได้รับการความรู้จากการเข้ารับการฝึกอบรม เช่น ลายขอเจ้า
ฟ้าสิรวิ ัณณวรฯี ลายเต่า ลายค่ันขอนารี เปน็ ต้น ท้งั นส้ี มาชิกบางรายยังได้คิดค้นลายผ้าแบบใหม่ๆ เพ่ือสร้าง
อตั ลกั ษณ์ของกลุม่ หรือของเกษตรกรแต่ละราย เชน่ ลายดอกบัว เปน็ ต้น (ภาพท่ี 50-51)

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 75

ภำพท่ี 50 ผำ้ ไหมลำยเต่ำ ภำพท่ี 51 ลำยขอเจำ้ ฟำ้ สริ วิ ณั ณวรีฯ

5. พัฒนาชอ่ งทางการตลาดนอกเหนือจากตลาดชุมชนแล้วยังได้ดาเนินการทาการตลาดแบบออนไลน์
อีกด้วย โดยเป็นการทาการตลาดผ่านช่องทางโลกโซเชียล ได้แก่ แอปพริเคชั่นไลน์ และเฟสบุ๊ค จากการทา
การตลาดแบบออนไลน์ทาให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้วิทยาการด้านการตลาดใหม่ๆ รู้จักกลุ่มค้าท่ีกว้างมาก
ยิ่งข้ึน ทาให้เกิดเครือข่ายผู้จาหน่ายผ้าฝ้ายและฝ้าไหม และยังทาให้เกิดการเพ่ิมรายได้ให้แก่กลุ่มเป้าหมายได้
อีกดว้ ย (ภาพที่ 52-63)

ภำพท่ี 52 เพจเฟสบุค๊ ของกลุม่ กลุ่มทอผำ้ ไหมบ้ำน ภำพที่ 53 เพจเฟสบุ๊คของกลุ่มทอผ้ำไหมบำ้ นคำจ่ัน

หนองกุงข้คี วง ม.5 ต.บัวเงนิ อ.น้ำพอง จ.ขอนแกน่ ม.15 ต.บัวเงิน อ.นำ้ พอง จ.ขอนแก่น

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 76

6. เกิดโลโก้กลุ่มเพ่ือสร้างการจดจา อัตลักษณ์ และเป็นข้อมูลในการติดต่อส่ือสารกับกลุ่มลูกค้าหรือ
ภาคีเครือข่ายต่างๆ พร้อมท้ังบรรจุภัณฑ์รูปแบบต่างๆ เพ่ือให้กลุ่มได้เลือกนาไปใช้ได้ประโยชน์ได้อย่าง
เหมาะสม (ภาพท่ี 54-16)

ภำพที่ 54 โลโก้กลุ่มทอผ้ำฝ้ำยบ้ำนคำบอน ภำพที่ 55 โลโกก้ ลุ่มทอผำ้ ไหมบำ้ นคำจ่ัน
ม.8 ต.บัวเงนิ อ.น้ำพอง จ.ขอนแกน่ ม.15 ต.บวั เงิน อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น

ภำพท่ี 56 โลโกก้ ลุ่มทอผำ้ ไหมบ้ำนหนองกุงข้คี วง ภำพที่ 57 โลโก้กลุ่มทอผ้ำฝ้ำยบำ้ นหนองกุงขีค้ วง
ม.5 ต.บัวเงิน อ.นำ้ พอง จ.ขอนแก่น
ม.5 ต.บัวเงนิ อ.น้ำพอง จ.ขอนแกน่

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนรุ ักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 77

ภำพที่ 58 โลโกก้ ลุ่มทอผำ้ ไหมบำ้ นคำจัน่ ม.16 ต.บัวเงนิ อ.นำ้ พอง จ.ขอนแกน่
ภำพที่ 59 บรรจภุ ัณฑ์ของกลุ่มทอผำ้ ฝ้ำยบ้ำนคำบอน ม.8 ต.บวั เงนิ อ.น้ำพอง จ.ขอนแกน่

ภำพที่ 60 บรรจภุ ณั ฑข์ องกลมุ่ ทอผ้ำไหมบำ้ นหนองกุงขี้ควง ม.5 ต.บัวเงิน อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น

โครงการพฒั นาการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร ภายใตโ้ ครงการพฒั นาการจดั การทรัพยากรเพอื่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 78

ภำพท่ี 61 บรรจภุ ณั ฑ์ของกลมุ่ ทอผ้ำไหมบำ้ นคำจนั่ ม.15 ต.บวั เงิน อ.นำ้ พอง จ.ขอนแก่น
ภำพที่ 62 บรรจภุ ัณฑข์ องกลุ่มทอผำ้ ฝำ้ ยบ้ำนหนองกุงขี้ควง ม.5 ต.บัวเงิน อ.น้ำพอง จ.ขอนแกน่

ภำพท่ี 63 บรรจภุ ัณฑข์ องกลุ่มทอผ้ำไหมบำ้ นคำจ่นั ม.16 ต.บวั เงิน อ.นำ้ พอง จ.ขอนแก่น

โครงการพัฒนาการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร ภายใตโ้ ครงการพัฒนาการจัดการทรัพยากรเพอื่ การอนุรักษ์และใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน ประจาปีงบประมาณ 2564 | 79

7. เกิดภาคีเครือข่ายการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ผลจากการดาเนินงานตาม
แผนการดาเนนิ โครงการฯ ส่งผลให้เกิดภาคีเครือข่ายในการสนับสนุนองค์ความรู้เรื่องการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
และสนบั สนุนวัสดุอุปกรณ์ที่เก่ียวข้องในการดาเนินงานแก่กลุ่มผู้ปลูกหม่อนเล้ียงไหมจากศูนย์หม่อนไหมเฉลิม
พระเกยี รตฯิ ขอนแกน่

ข้อเสนอแนะในกำรดำเนินโครงกำรฯ
ในการดาเนินโครงการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเพื่อให้เกิดการพัฒนานาไปสู่ความยั่งยืน

ต่อไป ควรดาเนินการติดตามความก้าวหน้าของกลุ่มเป้าหมายอย่างเป็นระยะและอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ทราบ
ถึงสถานการณก์ ารดาเนนิ งานและปญั หาของกลุ่มเป้าหมายอย่างเป็นปัจจุบันเพื่อสามารถหาแนวทางการแก้ไข
ปญั หาได้อยา่ งทันทว่ งที สามารถเสนอแนะข้อคิดเห็นเพ่ือให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง
เหมาะสม และเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นการดาเนินงานของกลุ่มเป้าหมายให้เกิดประสิทธิภาพในการ
ดาเนนิ งานมากยิ่งข้ึน


Click to View FlipBook Version