The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ball Theeraphat, 2022-09-06 04:58:18

ตัวอย่าง E Book

ตัวอย่าง E Book

รายงานความยั่่�งยืืน 31 มีีนาคม 2565 51

ประเภทความเสย่ี ง ความเส่ียงดา้ นเศรษฐกิจ ความเส่ียงดา้ น ความเสี่ยงดา้ นสงั คม ความเส่ียงดา้ นการ
(Disclosure 102-29) สงิ่ แวดลอ้ ม - กากบั ดูแลกจิ การ
ความเสย่ี งดา้ นกลยทุ ธ์  ความเสยี่ งจากการ -
พงึ่ พิงอตุ สาหกรรมท่ี - -
(Strategic Risk) ประกอบธุรกิจ  ความเสี่ยงจาก
ความเสีย่ งด้านการ  ความเสี่ยงจากการ -
ขยายการลงทุนและ  ความเสย่ี งจากการแพร่ การพ่ึงพาผู้บรหิ าร
ปฏิบัตกิ าร กาลงั การผลติ ใน และบุคลากรทม่ี ี
(Operational Risk) ต่างประเทศ ระบาดของโรคอบุ ตั ิ ความชานาญ
 ความเส่ียงจากการที่ ใหม่ เฉพาะด้านของ
ความเสยี่ งดา้ นการเงิน ค่แู ข่งใช้มาตรการด้าน บริษัท
(Financial Risk) ราคาเขา้ แข่งขัน
-
ความเสี่ยงทเ่ี กิดข้ึนใหม่  ความเสี่ยงจากการ  ความเสีย่ งทอี่ าจจะ -
(Emerging Risk) จดั หาปรมิ าณวัตถุดิบ สูญเสยี รายได้หรือ
และความผันผวนของ สญู เสยี ผลการ
ราคาวัตถดุ ิบ ดาเนินงาน หากเกิด
 ความเสี่ยงจากการถูก วินาศภัยและภัย
บอกเลิกสญั ญาหรือ ธรรมชาติกับโรงงาน
ไม่ไดส้ ัญญาใหมจ่ ากคู่ หรอื เครอื่ งจกั ร
ค้ารายสาคญั
 ความเสี่ยงจากความ
เสียหายอันเน่ืองมาจาก
ปัญหาด้านคณุ ภาพ
สินคา้
 ความเสย่ี งจาก
สทิ ธบิ ัตรของบริษทั
ย่อย/บริษทั ร่วม
หมดอายคุ ุม้ ครอง
 ความเสี่ยงจากการ
เปลย่ี นแปลงของ
เทคโนโลยี
 ความเส่ยี งจากความ -
ผันผวนของอัตรา
แลกเปลย่ี น

 ความเสยี่ งจากความ  ความเสย่ี งจาก
ขัดแย้งทางภูมิ กระแสการอนุรกั ษ์
รฐั ศาสตร์ ธรรมชาตแิ ละ
ส่งิ แวดลอ้ ม

52 บริษิ ััท อีีสเทิิร์์นโพลีเี มอร์์ กรุ๊๊ป� จำ�ำ กััด (มหาชน)

ความเสีย่ งทเี่ กดิ ข้นึ ใหม่ (Emerging Risk) (Disclosure 102-29) วธิ ีการทางานและกระบวนการผลติ โดยใช้ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ในปีท่ผี า่ นมา บริษัทพบว่ามีความเส่ียงที่เกิดขึ้นใหม่ท่ีสาคัญท่ีอาจ และนวัตกรรมทางการผลติ เพ่ือลดการพึ่งพาแรงงาน รวมถึงทบทวน
ส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของบริษัท ในระยะ 3-5 ปี มาตรการป้องกันการแพร่ระบาด การดูแลสุขภาพของพนักงานและ
ขา้ งหนา้ จานวน 3 ประเดน็ ไดแ้ ก่ ความเส่ียงจากการแพร่ระบาด ผู้เก่ียวข้อง การทบทวนจานวนวัตถุดิบเพื่อให้เพียงพอต่อการผลิต
ของโรคอุบัติใหม่ ความเส่ียงจากกระแสอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และ (safety stock) และแผนการบริหารความต่อเนื่องของธุรกิจ
ความเสย่ี งจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ ในปัจจุบันแม้ว่าจะ (Business Continuity Plan) ให้เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์
ยงั ไม่ส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริษัทในภาพรวมอย่างมี เพือ่ ให้สามารถดาเนนิ ธุรกิจได้อยา่ งต่อเนอ่ื ง
นัยสาคัญ แต่บริษัทก็ได้ตระหนักถึงความสาคัญจึงกาหนดให้เป็น อย่างไรก็ตาม การแพรร่ ะบาดของโรคอุบัติใหม่อาจเป็นโอกาสทาง
ความเสย่ี งท่ตี อ้ งตดิ ตาม ประเมนิ สถานการณ์ และระดับความเสี่ยง ธุรกิจได้เช่นกัน จากการใช้บรรจุภัณฑ์ประเภทใช้ครั้งเดียวท้ิงเพื่อ
อย่างใกล้ชิดต่อไป มาตรการในการบริหารความเส่ียงของความ ลดการแพร่ระบาดของเชื้อโรค บริษัทจึงได้กาหนดให้มีการวิจัย
เสย่ี งทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหม่ ไดแ้ ก่ และพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ตอบสนอง
ความตอ้ งการของลกู ค้าและผบู้ ริโภคทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป
1. ความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรคอุบตั ใิ หม่
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคนา 2019 (COVID-19) 2. ความเสี่ยงจากกระแสการอนรุ กั ษธ์ รรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
ต้ังแต่ปลายปี 2562 เป็นต้นมา ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของ ปัจจุบันท่ัวโลกให้ความสาคัญกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเป็นอย่าง
ประชาชนท่ัวโลกซ่ึงก่อให้เกิดวิถีชีวิตใหม่ในการดารงชีวิต (New มาก โดยเฉพาะประเดน็ ด้านการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
Normal) ห่วงโซ่อุปทานของหลายอุตสาหกรรม และระบบ ที่ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ อ ย่ า ง มี นั ย ส า คั ญ ต่ อ ผู้ ค น ใ น สั ง ค ม แ ล ะ
เศรษฐกจิ โลก รวมถึงกระทบตอ่ ธรุ กจิ ของบริษัทเชน่ กัน ภาคอุตสาหกรรม ประเด็นด้านขยะพลาสติก และการปล่อยก๊าซ
บรษิ ัทประเมินว่าในอนาคตมีโอกาสที่จะเกิดโรคอุบัติใหม่ประเภท เรือนกระจกของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นต้นเหตุของสภาวะโลก
อืน่ ขึ้นได้อีก ซึ่งอาจเกิดจากการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ร้อน (Global warming) ล้วนแต่เป็นประเด็นปัญหาท่ีสาคัญและ
และมลพิษทางสิ่งแวดล้อม ตลอดจนพฤติกรรมของคนและสัตว์ เป็นท่ียอมรับในปัจจุบันแล้วว่าต้องหาวิธีการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
โรคอุบัตใิ หมน่ ้ีอาจเปน็ อันตรายต่อผู้คนและสามารถแพร่ระบาดใน ทาให้กระแสสังคมให้ความสนใจด้านการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
วงกวา้ ง รวมถงึ ต้องใช้เวลาในการควบคุมและการพัฒนาวิธีป้องกัน เพิ่มขึน้ รัฐบาลและองค์กรต่างๆ ทั่วโลกรวมถึงในประเทศไทย จึง
การแพร่ระบาด ทาให้เกิดผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงต่อ ได้กาหนดเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และรณรงค์ให้
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจขนาดใหญ่ได้ สร้างความเสียหายต่อ ลดและเลิกใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว (Single-use
เศรษฐกิจโลกและกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของบริษัท เช่น plastic) และทดแทนด้วยบรรจุภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จึง
สูญเสียรายได้จากการชะลอการส่ังซ้ือจากลูกค้า ห่วงโซ่อุปทาน กลายเปน็ ความเส่ยี งต่อธรุ กิจของบริษัท ซึ่งธุรกิจผลิตและจาหน่าย
หยุดชะงัก การหยุดสายการผลิตหากมีการเจ็บป่วยของพนักงาน บรรจุภัณฑ์พลาสติกสาหรับบรรจุเคร่ืองด่ืมและอาหารท่ีใช้เพียง
หรือขาดแคลนแรงงาน การชะลอการลงทุนในโครงการต่างๆ ท่ี ครั้งเดยี วของบรษิ ัท ที่จะไดร้ ับผลกระทบด้านยอดขายโดยตรง
บริษัทเป็นผขู้ ายวสั ดุอปุ กรณใ์ ห้ เป็นต้น นอกจากนี้ การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้า
แนวทางการจัดการ และแนวโน้มความต้องการใช้รถยนต์ไฟฟ้าที่เพ่ิมขึ้น เพ่ือลดการ
บริษัทได้กาหนดมาตรการเฝ้าระวัง ติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิด พงึ่ พาการใช้เชอื้ เพลิงฟอสซิลและลดมลพิษทางอากาศน้ัน อาจจะ
รวมถงึ มแี นวทางในการปรับเปล่ียนให้เป็นองค์กรที่มีความยืดหยุ่น ส่งผลต่อธุรกิจผลิตและจาหน่ายอุปกรณ์ชิ้นส่วนยานยนต์ของ
และสามารถปรบั ตัวไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว (resilience and agility) มาก บริษัทในระยะยาว หากบริษัทไม่ได้ปรับเปล่ียนลักษณะสินค้าให้
ข้ึน เตรียมความพร้อมท้ังวิธีการทางาน สถานที่ทางาน และ สอดคล้องกับความต้องการทเ่ี ปล่ยี นแปลงไป
ทรพั ยากรบคุ คล (work, workplace, workforce) การพัฒนาระบบ
โครงสร้างและการบริหารให้มีความกระชับ ยืดหยุ่น รวมถึงพัฒนา

รายงานความยั่ง่� ยืืน 31 มีนี าคม 2565 53

แนวทางการจัดการ การบรหิ ารความต่อเนื่องทางธุรกจิ
บริษัทกาหนดให้ทุกหน่วยงานติดตามและศึกษาแนวโน้มต่างๆ บริษัทไดพ้ ัฒนาระบบบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ เพื่อให้ม่ันใจ
และการเปล่ียนแปลงของกฎหมายข้อบังคับด้านส่ิงแวดล้อมอย่าง ว่าบริษทั สามารถดาเนนิ ธรุ กิจได้อย่างต่อเนื่องแม้เกิดสภาวะฉุกเฉิน
ใกล้ชิด ปรับปรุงสินค้าและกระบวนการผลิตอย่างต่อเน่ืองเพ่ือลด หรือวิกฤตการณ์ขึ้น โดยในปี 2564/2565 ได้เกิดเหตุการณ์สาคัญ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก วิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างสรรค์ อาทิ ความขัดแย้งระหว่างประเทศรัสเซียกับยูเครน ส่งผลให้ราคา
นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์นวัตกรรมท่ีสร้างคุณค่าเพ่ิมและต่อยอด พลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์สูงข้ึน อัตราเงินเฟ้อท่ัวโลกสูงขึ้น
ทางธุรกิจ เช่น พลาสติกชีวภาพ พลาสติกรีไซเคิล เพื่อตอบสนอง คา่ เงนิ มีความผันผวน การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
ความต้องการของลูกคา้ และผู้บริโภคในอนาคต โดยธุรกิจผลิตและ 2019 ท่ียังคงมีตอ่ เนอ่ื งแมว้ า่ อตั ราการติดเชื้อและเสียชีวิตจะลดลง
จาหน่ายบรรจุภณั ฑ์พลาสตกิ ได้วจิ ยั และพฒั นาเพ่ือลดปริมาณการ รวมถึงการขาดแคลนตคู้ อนเทนเนอร์และค่าขนส่งท่ีเพิ่มสูงข้ึน โดย
ใช้พลาสติกในบรรจุภัณฑ์ ลงทุนในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ บริษัทได้ดาเนินการต่างๆ อาทิ สรรหาคู่ค้ารายใหม่ให้มากขึ้น
ย่อยสลายได้เร็วข้ึน และนาแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular จัดเก็บวัตถุดบิ เพ่มิ ข้นึ เพื่อให้เพียงพอตอ่ การผลิตและบริหารต้นทุน
Economy) มาประยกุ ต์ใช้ในธุรกิจอยา่ งครบวงจร การบริหารจดั การกระบวนการผลิตให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การ
สาหรับธุรกิจผลิตและจาหน่ายอุปกรณ์ชิ้นส่วนยานยนต์ ได้วิจัย ขยายฐานลูกค้าให้กว้างขึ้นในหลายประเทศท่ัวโลก การพัฒนา
และพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีสนับสนุนการใช้รถยนต์ไฟฟ้าให้มีน้าหนัก บคุ ลากรอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการนาโยบาย USE (Utilize, Save,
เบา เพ่อื ช่วยลดนา้ หนกั ของรถยนต์ ลดการใช้พลังงาน และลดการ Efficiency) และ 4C (Change, Chance, Collaboration,
ปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ Challenge) มาใช้ เพื่อให้ธุรกิจสามารถฝ่าฝันวิกฤตและดาเนินไป
ได้อย่างต่อเน่อื ง
3. ความเส่ยี งจากความขัดแยง้ ทางภมู ิรัฐศาสตร์
ในอนาคตความขัดแย้งระหว่างประเทศในเชิงภูมิรัฐศาสตร์อาจมี การสง่ เสริมวัฒนธรรมด้านการบริหารความเสีย่ ง
ความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลต่อความไม่แน่นอนของระบบการเงิน บริษัทมีการดาเนินงานเพื่อส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมด้านการ
และเศรษฐกิจโลก รวมถึงการดาเนินธุรกิจในวงกว้าง เหตุการณ์ บรหิ ารความเสยี่ งภายในองคก์ รในปีบัญชี 2564/2565 ดงั ตอ่ ไปน้ี
ดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริษัท ห่วงโซ่
อุปทาน ความต่อเน่ืองทางธุรกิจ หรือต้นทุนการผลิตท่ีสูงขึ้น ส่ิง  กาหนดให้แต่ละหน่วยงานของบริษัทและบริษัทย่อยมี
เหล่านลี้ ้วนสง่ ผลต่อผลประกอบการของบริษัท การบ่งช้ีและประเมินความเส่ียง พร้อมทั้งจัดทาแผน
แนวทางการจัดการ บริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน ท่ีกาหนดแนวทางหรือ
บริษัทบริหารความเส่ียงโดยติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด มาตรการป้องกนั หรอื ควบคุมความเสย่ี งในแต่ละกิจกรรม
วิเคราะห์เหตุการณ์ท่ีคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อการเนินธุรกิจของ ดาเนินงาน โดยให้เป็นส่วนหนึ่งในการดาเนินงานตาม
บริษัท เพื่อเตรียมแผนรับมือกับผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้น อาทิ มีคู่ มาตรฐานการบริหารงานคุณภาพของบรษิ ัท
ค้าหลายรายท้ังในและต่างประเทศ รวมท้ังจัดหาคู่ค้ารายใหม่ให้
มากข้ึนจากหลากหลายภูมิภาคของโลก เพ่ือลดการพ่ึงพิงผู้ขาย  กาหนดให้ระดับจัดการของบริษัทและบริษัทย่อย ได้มี
เพยี งรายใดรายหนึ่งหรือเพียงภูมิภาคเดียว รวมท้ังขยายฐานลูกค้า การประชุมร่วมกันเป็นประจาทุกเดือน เพ่ือรายงานผล
ใหก้ วา้ งข้นึ ในหลายประเทศทั่วโลก เพ่ือลดการกระจุกตัวของลูกค้า การดาเนินงาน เหตุการณ์และปัญหาจากการดาเนิน
ในประเทศหรือภูมิภาค กิจกรรมต่างๆ รวมถึงหารือความเสี่ยงใหม่ที่เกิดข้ึน
พรอ้ มทัง้ ร่วมกันกาหนดมาตรการป้องกันความเส่ียงและ
ควบคมุ ผลกระทบทีอ่ าจจะเกดิ ข้ึน

 นาผลการวิเคราะหป์ ระเดน็ ความเสี่ยงมาเป็นส่วนหน่ึงใน
การพิจารณาจัดทาแผนกลยุทธ์องค์กร การจัดทา
งบประมาณประจาปี การลงทุน การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ใหม่ และแผนการดาเนนิ งานของบริษทั

54 บริษิ ััท อีีสเทิิร์น์ โพลีีเมอร์์ กรุ๊๊ป� จำำ�กัดั (มหาชน)

Risk
Identification

Risk Risk
Awareness Assessment

Risk
Management

Risk Review and Measure Determination
Management Plan for Risk Management

Monitoring and Reporting
Risk Management

รายงานความยั่ง่� ยืืน 31 มีนี าคม 2565 55

การเติบิ โตของธุรุ กิิจ

ผลประกอบการของบริษิ ััทเป็็นประเด็็นสำคััญที่่ผ� ู้้�มีีส่ว่ นได้้เสีียหลักั ได้้แก่่ ผู้้�ถือื หุ้้�น พนัักงาน และคู่่�ค้้า ให้ค้ วามสนใจเนื่่อ� งจากเป็็นผู้้�ที่�ไ่ ด้ร้ ัับ
ประโยชน์์โดยตรง บริษิ ััทจึึงมุ่�งมั่�นพัฒั นาธุุรกิจิ ให้เ้ ติบิ โตอย่่างต่่อเนื่่อ� งและเพิ่่ม� ขีีดความสามารถในการแข่่งขัันด้ว้ ยนวัตั กรรม บริหิ ารต้้นทุุนอย่า่ ง
มีีประสิทิ ธิิภาพและใช้ท้ รััพยากรให้้เกิิดประโยชน์์สููงสุุด ตลอดจนร่่วมพััฒนากัับคู่่�ค้้าและพันั ธมิติ รทางธุุรกิจิ ให้เ้ ติบิ โตไปด้ว้ ยกันั อย่่างเข้้มแข็็ง เพื่่�อ
สร้้างมููลค่่าและคุุณค่า่ แก่่ผู้้�มีีส่ว่ นได้้เสีียที่�เ่ กี่ย�่ วข้อ้ ง รวมถึึงเศรษฐกิจิ และสัังคมโดยรวม

ตััวชี้้ว� ััดสำำ�หรับั เป้า้ หมาย เป้้าหมาย ผลดำ�ำ เนินิ งาน
ปีีบััญชีี 2564/2565 ปีีบััญชีี 2564/2565
รายได้้จากการขาย
อัตั รากำไรขั้้น� ต้้น 12% - 15% 22.7%

29-32% 31.7%

แนวทางการบริหิ ารจััดการ
บริษิ ัทั ดำเนินิ ธุุรกิิจเพื่่�อมุ่�งสู่�เป้า้ หมายการเป็็น “องค์์กรแห่่งนวัตั กรรมที่�ส่ ร้า้ งสรรค์”์ ตามวิสิ ัยั ทััศน์์ที่่ก� ำหนดไว้้ เพื่่อ� ส่่งมอบคุุณภาพชีีวิิตที่ด�่ ีี
ขึ้�นของคนในสังั คมผ่า่ นผลิติ ภัณั ฑ์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีที่�่โดดเด่่นของบริิษััท และเติิบโตทางธุุรกิิจอย่า่ งรัับผิดิ ชอบและสมดุุลกัับสังั คมและสิ่�ง
แวดล้อ้ ม บริษิ ัทั จึงึ ได้้กำหนดกรอบการดำเนินิ งานเพื่่อ� การเติบิ โตของธุุรกิจิ ดัังนี้้�

นวัตั กรรม บริิษัทั เชื่อ� มั่�นว่่า นวัตั กรรมเป็็นแรงขัับเคลื่�อนสำคััญที่�่สร้า้ งความสำเร็จ็ ให้ก้ ับั องค์์กรอย่่างยั่�่งยืนื
สร้า้ งความสำำ�เร็จ็ นวััตกรรมที่ส่� ร้้างสรรค์ข์ึ้�นควรมีีแนวคิดิ ครอบคลุุมทั้้ง� ความคุ้ม�้ ค่่าทางเศรษฐกิิจ เกิดิ ประโยชน์์
ต่อ่ สัังคม และเป็็นมิติ รกัับสิ่�งแวดล้อ้ ม บริิษััทจึึงมุ่�งมั่่�นในการวิจิ ัยั และพัฒั นานวัตั กรรม โดย
ลงทุุนด้้านการวิิจััยและพััฒนาไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ ร้้อยละ 2 ของรายได้้จากการขายของบริษิ ัทั ต่่อปีี

การเป็็นผู้้�เล่่น บริิษััทมุ่�งเน้้นการขยายฐานลููกค้้าในต่า่ งประเทศตามแนวคิิด “World is our market” โดย
ระดัับโลก ตั้ง� ฐานการผลิติ สิินค้้าในจุุดยุุทธศาสตร์์สำคัญั ของโลก และมีีช่อ่ งทางการจัดั จำหน่่ายสินิ ค้า้
ครอบคลุุมกว่า่ 120 ประเทศทั่่ว� โลก เพื่่อ� ขยายช่อ่ งทางการจำหน่่ายสินิ ค้้าให้้เพิ่่ม� ขึ้น� ในทุุกกลุ่�ม
การเติบิ โต ธุุรกิจิ และมุ่�งมั่่น� ที่จ่� ะเพิ่่ม� สััดส่ว่ นรายได้จ้ ากการขายในต่า่ งประเทศทั้้ง� ทางตรงและทางอ้อ้ ม
อย่่างยั่่ง� ยืืน เป็็นร้้อยละ 70 ในอนาคต
บริิษััทให้้ความสำคััญกับั การเติบิ โตอย่่างยั่�่งยืนื โดยการพัฒั นาระบบการทำงาน ระบบฐาน
ข้อ้ มููล และบุุคลากรให้้มีีความเหมาะสมและสนับั สนุุนกลยุุทธ์์การเติิบโตขององค์ก์ ร พร้้อม
สร้า้ งวััฒนธรรมองค์ก์ รที่่�ใช้้คุุณธรรมในการบริหิ ารงาน ตามเจตนารมณ์ท์ ี่่�จะดำเนิินธุุรกิิจภาย
ใต้ห้ ลักั ธรรมาภิิบาล คำนึึงถึึงผลประโยชน์์ของผู้�้ มีีส่่วนได้้เสีียทุุกกลุ่�มอย่่างเป็น็ ธรรมและสมดุุล
ตลอดจนดููแลรัับผิดิ ชอบต่่อสังั คมและสิ่ง� แวดล้้อม เพื่่อ� มุ่�งหวังั ให้้บริษิ ัทั เติบิ โตไปพร้้อมกับั การ
อยู่�ร่วมกับั ชุุมชนและสัังคมได้้อย่่างยั่�่งยืืน

56 บริษิ ััท อีสี เทิิร์์นโพลีเี มอร์์ กรุ๊ป�๊ จำำ�กััด (มหาชน)

กลยุทุ ธ์ก์ ารสร้า้ งการเติบิ โต

บริิษััทมีีกลยุุทธ์ก์ ารสร้า้ งการเติบิ โต ดัังนี้้�

Licensing Franchising Strategic Alliance

การจำหน่่ายใบอนุุญาตให้้ตััวแทนบริิษััท จำหน่่ายแฟรนไชน์์หรืือให้้สิิทธิิการผลิิต การให้้ความร่่วมมืือเชิิงกลยุุทธ์์กัับ
จำหน่่ายสิินค้้าทั่่�วโลกเพื่่�อสร้้างพัันธมิิตร สิินค้้าของบริิษััทให้้กัับตััวแทนเพื่่�อสร้้าง พัันธมิิตรทางธุุรกิิจเพื่่�อสร้้างความได้้
ทางการค้า้ ฐานการผลิิตทั่่�วโลก โดยใช้้เงิินทุุนใน เปรีียบในการเข้้าแข่่งขัันในประเทศ
ปริิมาณที่่ม� ีีประสิิทธิิภาพ ต่่างๆ ทั่่ว� โลก

Exporting กลยุทุ ธ์์ Joint Venture
การสร้า้ ง
การส่่งออกสิินค้้าไปจำหน่่ายใน การเติบิ โต ก า รร่่ ว ม ทุุ น กัั บ บ ริิ ษัั ท ชั้ � น น ำ ข อ ง
ประเทศต่่างๆ ทั่่�วโลกกว่่า 120 โลกเพื่่�อเพิ่่�มความแข็็งแกร่่งในเชิิง
ประเทศ เทคโนโลยีีและกระแสเงิินสดให้้กัับ
กลุ่�มบริษิ ััท

Merger and Acquisition Wholly Owned Subsidiary

การเข้้าซื้ �อกิิจการและนำมาปรัับปรุุงโดยใช้้ การพิิจารณาลงทุุนสร้้างฐานการผลิิตและจััด
เทคโนโลยีีรวมถึึงนวััตกรรมของบริิษััทเพื่่�อ จำหน่า่ ยในประเทศที่�ม่ ีีศัักยภาพ
สร้้างมููลค่่าเพิ่่ม� ให้แ้ ก่ผ่ ลิติ ภัณั ฑ์แ์ ละบริิษัทั

รายงานความยั่�ง่ ยืนื 31 มีีนาคม 2565 57

ผลการดำเนิินงาน สัดั ส่่วนรายได้ใ้ นปีบี ััญชีี 2564/2565
สรุุปผลประกอบการทางเศรษฐกิจิ
ผลการดำเนิินงานในปีีบััญชีี 2564/2565 (1 เมษายน 64- 31 23.7% 26.6%
มีีนาคม 65) บริษิ ัทั มีีรายได้้จากการขายสิินค้้า 11,739.6 ล้้านบาท เพิ่่ม�
ขึ้น� ร้อ้ ยละ 22.7 จากปีบี ััญชีี 2563/2564 ที่�่มีีรายได้้หลัักจากการขาย 49.7%
สินิ ค้า้ 9,569.2 ล้้านบาท
โดยมีีการเปลี่่�ยนแปลงยอดจำหน่่ายของผลิติ ภัณั ฑ์์ทั้้�ง 3 กลุ่�มดัังนี้้� Aeroflex Aeroklas EPP
• ธุุรกิจิ ฉนวนกันั ความร้อ้ น/เย็น็ ภายใต้แ้ บรนด์์ Aeroflex ในประเทศ
49.7% มาจากยอดขายกลุม่ ธุรกิจอุปกรณ์ชน้ิ ส่วนและตกแตง่
เติิบโตตามการฟื้�้นตััวอย่่างค่่อยเป็็นค่่อยไปของภาคอุุตสาหกรรม ยานยนต์ภายใต้แบรนด์ Aeroklas
ก่อ่ สร้า้ ง ขณะที่ย�่ อดขายตลาดในสหรัฐั อเมริกิ าปรับั ตัวั ดีีขึ้้น� เทีียบกับั 26.6% มาจากยอดขายกลุ่มธุรกิจธุรกจิ ฉนวนยางกันความ
ปีีก่่อน จากการฟื้�้นตััวทางเศรษฐกิิจอย่่างรวดเร็็วในสหรััฐอเมริิกา ร้อน/เย็นภายใต้แบรนด์ Aeroflex และ
ซึ่�งได้้ผ่่อนคลายมาตรการล็็อกดาวน์์หลัังการเร่่งฉีีดวััคซีีน และ 23.7% มาจากยอดขายธุรกจิ บรรจุภณั ฑพ์ ลาสติก ภายใต้
มาตรการสนับั สนุุนของรัฐั บาล ส่ว่ นยอดขายในเอเชีียทยอยฟื้น้� ตัวั แบรนด์ EPP
• ธุุรกิิจชิ้�นส่่วนอุุปกรณ์์และตกแต่่งยานยนต์์ ภายใต้้แบรนด์์
Aeroklas ยอดขายของกลุ่�มบริิษััท แอร์์โรคลาส ปรัับตััวดีี
ขึ้�นเมื่่�อเทีียบกัับปีีก่่อน จากคำสั่�งซื้�อของกลุ่�มผู้้�ผลิิตยานยนต์์
ทั้้�งในและต่่างประเทศ ซึ่่�งเติิบโตตามอุุปสงค์์ของผู้้�บริิโภคที่�่
ต้้องการใช้้ยานยนต์์ส่่วนตััวแทนระบบขนส่่งสาธารณะ โดย
เฉพาะอย่่างยิ่�งรถกระบะซึ่�งใช้้งานอเนกประสงค์์ อย่่างไรก็็ตาม
ยอดขายของกลุ่�มบริิษััท แอร์์โรคลาส ยัังคงได้้รัับผลกระทบ
จากความล่่าช้้าจากกระบวนการขนส่่งสิินค้้าระหว่่างประเทศ
• สำหรัับธุุรกิิจในออสเตรเลีียยอดขายชิ้้�นส่่วนอุุปกรณ์์ตกแต่่งยาน
ยนต์์ ยัังคงปรัับตััวสููงขึ้�น เมื่่�อเทีียบกัับช่่วงเดีียวกัันของปีีก่่อน
แม้้จะเริ่�มเห็็นการชลอตััวจากไตรมาสที่่� 2 ปีีบััญชีี 2564/2565
เนื่่�องจากผลกระทบของมาตรการปิิดเมืืองในบางพื้้�นที่�่ เพื่่�อลด
การแพร่่ระบาดของ COVID-19 และความล่่าช้้าจากการส่่งมอบ
รถยนต์ใ์ หม่เ่ นื่่อ� งจากชิปิ ขาดแคลน (Semiconductor Shortage)
• ยอดขายของบริษิ ัทั อีีสเทิริ ์น์ โพลีีแพค จำกัดั ปรับั ตัวั ดีีขึ้้น� เมื่่อ� เทีียบ
กับั ปีกี ่อ่ น โดยเฉพาะอย่า่ งยิ่ง� บรรจุุภัณั ฑ์พ์ ลาสติกิ ประเภทกล่อ่ งใส่่
อาหารซึ่่ง� ปรับั ตััวดีีขึ้้�นจากความต้้องการของผู้บ้� ริโิ ภคในยุุควิิถีีใหม่่
(New Normal) ที่่�นิยิ มสั่�งอาหารแบบ จัดั ส่่งถึึงที่่� (Delivery) หรือื
ซื้�ออาหารกลับั ไปรับั ประทานที่่�บ้้านมากขึ้น�
ส่่งผลให้้บริิษััทมีีกำไรสุุทธิิ 1,602.4 ล้้านบาท เพิ่่�มขึ้�นจากปีีบััญชีี
2563/2564 จำนวน 1,221.2 ล้า้ นบาท หรือื ร้อ้ ยละ 31.2

58 บริิษััท อีีสเทิิร์น์ โพลีีเมอร์์ กรุ๊�ป๊ จำำ�กััด (มหาชน)

การบรหิ ารจดั การข้อมลู และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารจัดการข้อมูลและเทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ สิ่งที่สาคัญและจาเป็นต่อการดาเนินธุรกิจในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในยุคท่ี
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจมีการเคล่ือนไหว เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ท้ังความต้องการของผู้บริโภค สภาพเศรษฐกิจและส่ิงแวดล้อม
เพื่อตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ทาให้บริษัทสามารถวางแผนและตัดสินใจทางธุรกิ จได้ดี
ย่ิงขึ้น การใช้เทคโนโลยีและระบบดิจิทัล (digital) ในการเช่ือมต่อ (connectivity) ระบบการดาเนินงาน เพ่ือรวบรวมข้อมูลและ
แลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกัน จึงมีบทบาทสาคัญเพื่อให้การดาเนินธุรกิจของบริษัท มีการผลิต ติดตาม ควบคุม บริหารจัดการและ
ประเมนิ ผล เพ่อื ตัดสินใจไดอ้ ย่างทนั ทว่ งที

ทากราฟฟคิ

แนวทางการบริหารจัดการ

Decision making
(Business Strategy)

Decision making

(Business Strategy)

Information

(BusineInssfoinrtmelaligteionnce)
(Business intelligence)
Analysis & Improvement
Proc(PeImsrpsorovcemeesnts)

(Improvement)

Data & IT Edit Data
Management Create Intergrate
DATA
Data and
IT Delete

Management Data

View

Approve

รายงานความยั่ง่� ยืืน 31 มีนี าคม 2565 59

บริษัทกำหนดวัตถุประสงค์ในกำรบริหำรจัดกำรระบบข้อมูล 2. ระบบการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจ
สำรสนเทศไว้ 2 ด้ำน ดงั น้ี ทางธุรกิจ (Data for business decision) ซ่ึงครอบคลุม
1. ระบบการบริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศสาหรับ ทั้งกำรบริหำรจัดกำรภำยใน เช่น กำรบริหำรจัดกำรและ
พัฒนำพนักงำน (Human resource management) ระบบ
กระบวนการผลิตประจาวัน (Data for manufacturing บญั ชี กำรเงิน และกำรวำงแผนเชิงกลยุทธ์ เช่น กลยุทธ์ธุรกิจ
system) ทั้งระบบอัตโนมัติ (full automation) และ กลยุทธ์ด้ำนกำรตลำด กำรบริหำรจัดกำรควำมสัมพันธ์ลูกค้ำ
กึ่งอัตโนมัติ (semi-automation) โดยบูรณำกำรข้อมูลจำก เป็นต้น ข้อมูลทั้งหมดจะถูกนำไปใช้ในกำรบริหำรจัดกำร
ทุกหน่วยงำนเข้ำมำประกอบ รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เชิงกลยุทธ์ Balance Score Card และกำรจัดทำรำยงำน
ภำยนอกองค์กร ลูกค้ำ คู่ค้ำและพันธมิตรทำงธุรกิจ เพ่ือนำ (Reporting) ตลอดจนกำรตัดสินใจในกำรพัฒนำนวัตกรรม
ข้อมูลเข้ำมำวำงแผนกำรผลิต กำรจัดเก็บสินค้ำ กำรส่งมอบ และผลิตภัณฑ์นวัตกรรมทำงธุรกิจ ซึ่งดำเนินกำรภำยใต้
รวมถึงกำรใช้ข้อมูลจำกกระบวนกำรผลิตประจำวันเข้ำมำใช้ เคร่ืองมือ Business Intelligence เพื่อให้กำรตัดสินใจ
พิจำรณำท้ังในด้ำนคุณภำพ (Quality) ปริมำณ (Quantity) ดำเนินกำรเกิดขึ้นได้อย่ำงทันท่วงทีและมีประสิทธิภำพสูงสุด
ต้นทุน (Cost) และเวลำ (Time) เพื่อให้บริษัทสำมำรถวำง ภำยใต้สถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ที่เกิดข้ึน เช่น กำรพัฒนำศักยภำพ
แผนกำรผลิตท่ีสำมำรถตอบสนองต่อควำมต้องกำรของลูกค้ำ ของพนักงำน โดยกำรนำข้อมูลจำกฝ่ำยทรัพยำกรบุคคล มำ
ไดใ้ นทุกสถำนะกำรณ์ ตลอดจนพัฒนำนวัตกรรมเพ่ือปรับปรุง วิเครำะห์และตัดสินใจเพ่ือกำหนดแนวทำงและวิธีเพิ่ม
กระบวนกำรผลิต ศักยภำพของพนักงำนในองคก์ ร
บรษิ ทั ไดก้ ำหนดเป้ำหมำยของกำรบริหำรจัดกำรข้อมลู ในทุก
สว่ นงำน เช่น บริษัทได้วำงโครงสร้ำงกำรบริหำรจัดกำรข้อมูล (Data structure)
ท้ังสองด้ำนให้มีกำรเช่ือมต่อและสร้ำงกำรไหลของข้อมูล กำร
- ด้ำนกำรผลิต (Manufacturing) ลดของเสีย กำรใช้ วิเครำะห์อย่ำงเป็นระบบ โดยใช้ระบบ ERP เป็นระบบหลัก และ
วัตถดุ บิ ทรัพยำกร และเวลำในกำรผลิตช้ินงำน เพ่ือให้กำรบรหิ ำรจดั กำรมีประสิทธภิ ำพและเป็นมำตรฐำนเดียวกัน
บริษัทจึงได้มีกำรจัดทำคู่มือกำรใช้งำนสำรสนเทศ สำหรับบริษัท
- ด้ำนกำรบริหำรจัดกำรสินค้ำคงคลัง (Inventory และบริษัทย่อยเพื่อให้เกิดควำมมั่นใจว่ำกำรปฏิบัติงำนจะสำมำรถ
management) กำรลดเวลำกำรจัดซ้ือ กำรลด บรรลไุ ด้ตำมวัตถุประสงค์
สต็อกสินค้ำคงคลังภำยในตกคำ้ ง กำรเตมิ เต็มสินค้ำ
ตรงเวลำ กำรลดสนิ คำ้ หมดอำยุและค่ำเสอื่ มสินค้ำ

- ภำยในคลัง เชน่ กำรนำระบบ VMI (Vendor
management inventory) มำใชพ้ ฒั นำ
กระบวนกำรวำงแผน กำรผลติ และกำรบริกำร
จัดกำรสนิ คำ้ คงคลัง โดยกำรใชข้ ้อมลู ร่วมกัน
ระหว่ำงผูม้ ีส่วนไดเ้ สยี ภำยใน และ ภำยนอก เพอ่ื ทำ
ให้ห่วงโซ่อุปทำนให้ส้ันลง ลดควำมซับซ้อนและ
ระยะเวลำในกำรดำเนินงำน

60 บริษิ ััท อีีสเทิิร์์นโพลีีเมอร์์ กรุ๊๊�ป จำำ�กัดั (มหาชน)

นวตั กรรม

นวัตกรรมมบี ทบาทอยา่ งมากตอ่ ความสาเรจ็ ตลอดระยะเวลา 44 ปี ในการดาเนินธุรกจิ ของบริษทั และเป็นหัวใจสาคัญที่ช่วยขับเคล่ือน
ธรุ กจิ ให้เตบิ โตไดอ้ ย่างย่ังยืน ด้วยความสามารถทางการแขง่ ขนั ทีโ่ ดดเดน่ และการสร้างโอกาสทางธุรกิจ จากผลิตภณั ฑน์ วตั กรรมและ
บริการ นอกจากน้ี การพัฒนาของเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของตลาดและสภาพแวดล้อมทาง
เศรษฐกิจ สังคม หรือส่ิงแวดล้อม ทาให้บริษัทต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองท้ังด้านนวัตกรรมและกระบวนการทางาน และด้าน
ความสามารถขององค์กร เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันที่จะทาให้รับมือกับความท้าทายต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและมี
ประสทิ ธภิ าพ รวมถงึ สรา้ งสรรค์ผลติ ภณั ฑ์และบริการทส่ี รา้ งคุณค่าตอ่ สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ มอย่างยงั่ ยนื

ทากราฟฟคิ ท้ังตาราง เป้้าหมาย เป้้าหมาย ผลดำ�ำ เนิินงาน
ปีีบัญั ชีี 2564/2565
ระยะยาว 2568 ปีีบััญชีี 2564/2565
เป้าหมายระยะยาว เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน
ปีบัญชี 258864/2565
จำนวนนวัตั กรรมที่จ่� ดสิทิ ธิบิ ัตั ร หรือื นวัตั กรรม 30 ปี 2568 ปบี ัญช1ี 0215064/2565
ที่�่ได้ร้จับัำนราวงนวันัล วตัต่อ่กปรีรี มทจี่ ดสทิ ธิบตั ร หรือ นวตั กรรมท่ี 30 2222

ไดร้ บั รำงวัล ตอ่ ปี
จำนจวนำนโควรนงโกคารรงนกวำัตั รกนรวรตั มกทีร่ไ่�รดม้จ้ ทาี่ไกดกจ้ าำรกปกรำะรกปวรดะ กวด
หรือื หกราอืรคกิิดำคร้คน้ ดิ ขคอน้ งพขอนังกั พงนานกั งตำ่่อนปีตี ่อปี 60 60 4040

แนวทางการบรหิ ารจดั การ สร้ำงมูลค่ำและคุณค่ำให้แก่บริษัทและผู้เกี่ยวข้องทุกภำคส่วน
บรษิ ัทยึดมนั่ ในพนั ธสัญญำที่จะสร้ำงสรรค์เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึงสังคมโดยรวมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนป้องกำรกำรเสื่อม
ถอยของธุรกจิ เน่อื งมำจำกขำดแคลนผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือขำดควำม
เพื่อโลกที่สมดุล “Creating A World In Harmony with ยืดหยุ่น ควำมรวดเร็วในกำรทำธุรกิจตำมยุคสมัย บริษัทจึงมุ่ง
Technology and Innovation” จึงได้กำหนด “นโยบำยกำร ดำเนินกำรเพ่ือก้ำวไปสู่กำรเป็นองค์กรชั้นนำในกำรบริหำรจัดกำร
พัฒนำอยำ่ งยงั่ ยืน ด้ำนนวตั กรรม” ทม่ี ุง่ เนน้ และส่งเสริมกำรใชอ้ งค์ นวัตกรรมแห่งอนำคต และได้กำหนดกรอบกำรดำเนินงำนด้ำน
นวัตกรรม 3 ดำ้ น และ กลยุทธ์ในกำรดำเนนิ งำน ดังนี้
ควำมรู้และควำมคิดสร้ำงสรรค์ในกำรนำเสนอส่ิงประดิษฐ์ใหม่

วิธีกำรใหม่ แนวคิดใหม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ยังไม่เคยมีผู้ใดคิดค้นมำ

ก่อน หรือปรับปรุงพัฒนำสิ่งที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้นกว่ำเดิมด้วยกำรใช้

ทรัพยำกรของบรษิ ัทเพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธิภำพในกำรดำเนนิ งำนและ

 

Innovation for Innovation and
Future Technology



Innovative
Organization

รายงานความยั่�ง่ ยืืน 31 มีนี าคม 2565 61

นวตั กรรม และ เทคโนโลยี (Innovation and Technology) New S-Curve อย่ำงต่อเน่ืองและกำรลดต้นทุนกำรผลิต รวมถึง
บริษัทพัฒนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือสร้ำงควำมมั่งค่ัง และใช้ กำรใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยในกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลและพัฒนำ
ควำมม่ังคั่ งต่อยอด “นวัตกรรมท่ีสร้างสรรค์ - creative สินค้ำและบริกำรที่ช่วยยกระดับคุณภำพชีวิตของผู้คนและลด
innovation”เพื่อควำมมั่นคงและย่ังยืนของธุรกิจ บริษัทจึงให้ ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทมุ่งเน้นกำรพัฒนำ
ควำมสำคัญกับกำรค้นคว้ำวิจัยพัฒนำนวัตกรรมโดยลงทุนทั้ง นวัตกรรมตำมกรอบกำรดำเนินงำนด้ำนนวัตกรรม 3 ด้ำน ที่ส่งเสริม
ทำงตรงและทำงอ้อมเป็นเงินประมำณร้อยละ 2 จำกยอดขำยของ ศักยภำพกำรเป็นผู้นำของบริษัทในอุตสำหกรรมผลิตภัณฑ์จำก
บริษัท เพื่อยกระดับขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของบริษัทใน โพลีเมอร์และพลำสติก ดงั น้ี
ตลำดโลก ด้วยกำรสรำ้ ง

ทากราฟฟคิ ท้ังภาพใหม่

นวัตั กรรมด้า้ น นวััตกรรมด้า้ น นวััตกรรมด้า้ น
วัสั ดุศุ าสตร์์ การออกแบบ กระบวนการผลิิต

องคก์ รนวตั กรรม (Innovative Organization)
บริษัทมุ่งม่ันสร้ำงองค์กรแห่งนวัตกรรมที่เป็นศูนย์รวมของ บรษิ ทั เลง็ เหน็ ถึงควำมเส่ียงจำกกำรที่ไม่มีนวัตกรรมหรือองค์ควำมรู้
นวัตกรรมและกำรบริหำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนโพลีเมอร์รวมทั้ง ท่ีจะสนับสนนุ กำรดำเนนิ ธรุ กิจ ดังน้นั บริษัทจึงมุ่งเน้นกำรลงทุนเพ่ือ
บ่มเพำะวัฒนธรรมแห่งกำรเรียนรู้ เพ่ือส่งเสริมกำรพัฒนำ พัฒนำศักยภำพและควำมสำมำรถของบริษัทย่อยในกำรวิจัยและ
ควำมสำมำรถของบุคลำกรและกำรพัฒนำนวัตกรรมในองค์กร พัฒนำนวัตกรรมทำงธุรกิจ บริษัทกำหนดให้ทุกกลุ่มธุรกิจหลักมี
บริษัทจึงมุ่งเน้นกำรพัฒนำทุนมนุษย์นวัตกรรม ด้วยกำรปลูกฝัง หน่วยงำนของตนเองที่ทำหน้ำที่วิจัยและพัฒนำนวัตกรรมสำหรับ
แนวคิดนวัตกรรมให้กับพนักงำนทุกระดับให้มีควำมคิดริเริ่ม พัฒนำผลติ ภัณฑแ์ ละบริกำร ตลอดจนปรบั ปรงุ กระบวนกำรผลติ ให้
สร้ำงสรรค์ ช่ำงสังเกต และรู้จักวิธีแก้ปัญหำ สร้ำงต้นแบบคน มปี ระสทิ ธิภำพสงู ขนึ้ โดยมี บรษิ ทั อพี จี ี อนิ โนเวชัน เซน็ เตอร์ จำกัด
นวัตกรรม และสนบั สนุนผลงำนนวตั กรรมของพนกั งำน (EIC) ซึ่งมีบทบำทสำคัญด้ำนกำรวิจัยและพัฒนำเป็นหน่วยงำน
สนับสนุนให้กับทุกกลุ่มธุรกิจ โดยมีกำรรำยงำนควำมคืบหน้ำด้ำน
นวัตกรรมใหค้ ณะกรรมกำรบรหิ ำรรบั ทรำบเป็นประจำทุกเดือน
ทากราฟฟคิ ท้ังภาพใหม่
EPG
นวัตั กนรวรัตมกร=รมปัญั = หปาญั +หคา ว+ามคควิิดาสมรค้ิดา้ งสรสา้ รงรสค์ร์ รค์ EXCOM

CREATIVE  EIC

Imagination สร้้างสรรค์์ INNOVATION AFC EPP
R&D R&D
Vision พััฒนาให้เ้ กิดิ
น วั ต ก ร ร ม เ พื่ อ Aeroklas
วิสิ ััยทััศน์์ โดยมองทางออก โครงสร้างการดาRเน&นิ งDานดา้ นนวตั กรรม
ของปััญหาอย่า่ งไม่่ปิดิ กั้้�น

Flexibilities บนพื้�้นฐาน

ของความยืืดหยุ่่น�

อนาคต (Innovation for the Future)
โครงสร้า้ งการดำำ�เนินิ งานด้้านนวััตกรรม

62 บริษิ ััท อีสี เทิิร์์นโพลีีเมอร์์ กรุ๊�ป๊ จำ�ำ กัดั (มหาชน)

บริษทั มุ่งมัน่ ค้นควำ้ วจิ ยั และพฒั นำนวตั กรรมเพ่อื สร้ำงสรรค์ และพฒั นำ บริษัทย่อย มีนักวิจัยและเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยพัฒนำสินค้ำรวม
ผลิตภณั ฑ์แหง่ อนำคตทตี่ อบโจทย์กำรเปลี่ยนแปลงของตลำดโลกและ 120 คน บริษทั ได้กำหนดกลยุทธใ์ นกำรพฒั นำนวัตกรรมทั้งแบบปดิ
แสวงหำโอกำสทำงธรุ กิจใหม่ บรษิ ัทจงึ ไดจ้ ัดตงั้ ศนู ย์วจิ ัยและพัฒนำ (Close innovation) และแบบเปดิ (Open innovation)
และห้องทดลองต้นแบบคือ บรษิ ัท อพี จี ี อินโนเวชัน เซ็นเตอร์ จำกดั โดยร่วมมอื กับพันธมติ รในกำรทำงำนวจิ ัยและพัฒนำ ดังนี้
(“EIC”) เพื่อสนับสนุนกำรวจิ ยั พัฒนำของบรษิ ัทย่อย ซึง่ EIC เปน็
หนว่ ยงำนหลักทด่ี ำเนินธุรกจิ วจิ ัยพัฒนำ ทดสอบวัสดแุ ละผลติ ภัณฑ์ 1. พัฒนำนวตั กรรมด้ำนผลติ ภณั ฑท์ สี่ รำ้ งควำมต่อเน่อื งทำงธรุ กิจ
และบรกิ ำรสอบเทยี บ เพ่ือพัฒนำสนิ คำ้ ใหม่ และเป็นหนึ่งในศูนย์กำร 2. พัฒนำนวัตกรรมด้ำนกระบวนกำรที่ส่งเสริมกำรใช้ทรัพยำกร
วิจยั ดำ้ นโพลีเมอรภ์ ำคเอกชนท่ที ันสมยั ท่สี ดุ แห่งหนึ่งในประเทศไทย
ดว้ ยศักยภำพด้ำนบุคลำกร เทคโนโลยี และประสบกำรณใ์ นด้ำนวิจัย อย่ำงมีประสิทธภิ ำพ (eco-efficiency)
3. พัฒนำนวัตกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ีช่วยยกระดับ

คณุ ภำพชีวติ ของคนในสังคม

ผลการดาเนนิ งาน

Prodผลuงcาtนsดf้าoนrนSวoตั cกiรaรlมในปบี ัญชี 25684/25658สิิทNทธิาิบeักตัwรราใiหฟnม่ฟt่ eแิคลllะeอcนุtุสuิิทaธิlบิ ัPตั รroperties
ผนปีวีบลัััตงญั กานชP8รีrีดNoร้deมwuา้ cนใItnนftoerllesocctuiaallผPลroิตpภeัณrผฑtiลeเ์ ิพsิต่อืภสัสทิัณงั ธคฑบิ ์มเ์ตั พืค่ร่�อใือหสัเมังต่แคียลมงะสอนนาุสมิทแอธิบร์โตั รรคลาส7(Aerokผ7laลLิsิตaFภัuiณัenlฑdc์์นhHวeัตัodsกpรPiรtrมaoทlี่d่�อBuอeกcdสt)ู่s�่ตลาด
2564/72La5u6nc5hed Products ผลติ ภณั ฑ์นวัตกรรมทอี่ อกสู่ตลาด 5 5 New Process Innovations
นวััตกรรมสำำ�หรัับกระบวนการผลิติ

5 New Process Innovations นวัตกรรมสาหรับกระบวนการผลติ
2 Other Innovations นวAตั eกrรoรkมlดa้าsนอFน่ืieๆld Bed 2 2 Other Innovations
นวััตกรรมสำำ�หรัับผลิิตภัณั ฑ์ใ์ หม่่

การสง่ เสรมิ วัฒนธรรมองค์กรด้านนวัตกรรม แนวคิดนวัตกรรมท่ีสำมำรถสร้ำงสรรค์สินค้ำเพื่อตอบสนองกับ
บริษัทส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของพนักงำนในกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ ควำมต้องกำรของผู้บริโภคได้จริง โดยมีคณะกรรมกำร
และปรับปรุงกระบวนกำรทำงำน ที่จะนำมำซึ่งควำมภำคภูมิใจ ประกอบด้วย ประธำนเจ้ำหน้ำท่ีบริหำร และคณะผู้บริหำรเป็นผู้
ควำมรักและผูกพันกับองค์กร รวมถึงสรรหำต้นแบบคนนวัตกรรม พิจำรณำกำรให้รำงวัล โครงกำรดังกล่ำวมีพนักงำนส่งแนวคิด
เพ่อื เป็นกำลงั สำคญั ในกำรขบั เคลือ่ นบรษิ ัทตอ่ ไปในอนำคต นวัตกรรมเขำ้ ประกวดรวม 109 คน ได้รบั รำงวัลรวม 8 โครงกำร
ในปบี ัญชี 2564/2565 บริษัทจึงได้จัดทำโครงกำร “Idea Can Do”
เพ่ือส่งเสริมให้พนักงำนมีควำมคิดริเร่ิมสร้ำงสรรค์ กล้ำแสดงออก
และเปิดโอกำสใหพ้ นกั งำนได้แสดงศักยภำพ โดยใหพ้ นกั งำนส่ง

ภาพประกอบโครงการ “Idea Can Do”

รายงานความยั่�ง่ ยืืน 31 มีีนาคม 2565 63

ผลการดาเนินงานดา้ นนวัตกรรม สำมำรถนำเตียงเข้ำเครื่อง X-Ray ได้โดยไม่ต้องเคลื่อนย้ำย
ในปีบญั ชี 2564/2565 บริษัทไดร้ ับกำรจดสทิ ธบิ ัตรและ ผู้ป่วย ไม่มีปัญหำเร่ืองกำรสะสมของเช้ือโรคเมื่อต้องใช้ซ้ำ
อนุสิทธิบัตรใหม่ 8 รำยกำร มีผลิตภัณฑ์นวัตกรรมท่ีออกสู่ เนอื่ งจำกสำมำรถทำควำมสะอำดด้วยแอลกอฮอล์ น้ำยำทำ
ตลำด 7 รำยกำร มีนวัตกรรมด้ำนกระบวนกำรผลิต 5 ควำมสะอำดทั่วไป หรือน้ำเปล่ำได้ง่ำย เพรำะเป็นวัสดุที่ไม่
รำยกำร และนวัตกรรมด้ำนอื่น ๆ อีก 2 รำยกำร นอกจำกนี้ อมน้ำ และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เพรำะสำมำรถนำเตียง
บรษิ ัทยงั ไดอ้ อกนวตั กรรมฉกุ เฉินเพอื่ ชว่ ยเหลือสังคมใหผ้ ่ำน มำใชซ้ ้ำ (Reuse) และรีไซเคิล (Recycle) ได้ นอกจำกนี้ได้
พ้นสถำนกำรณ์โควิด 19 ไปด้วยกัน ภำยใต้นวัตกรรมช่ือ ยื่นจดสิทธบิ ัตรกำรออกแบบผลติ ภัณฑแ์ ละอนุสิทธิบัตรเป็น
“เตียงสนำมแอร์โรคลำส” (Aeroklas Field Hospital Bed) ท่ีเรียบร้อย และอยู่ในกระบวนกำรตรวจสอบของกรม
โครงกำรนวัตกรรมน้ีเป็นกำรทำงำนของบริษัท แอร์โรคลำส ทรัพยส์ ินทำงปญั ญำ
จำกัด รว่ มกบั พันธมิตรตำ่ ง ๆ ได้แก่ ในช่วงเดือนสิงหำคมถึงเดือนตุลำคม 2564 บริษัทและ
บริษัทย่อย ร่วมกับพันธมิตร ได้ส่งมอบ เตียงสนำมแอร์โร
 กล่มุ ผผู้ ลติ เมด็ พลำสตกิ ที่ใชเ้ ปน็ วตั ถุดบิ หลกั ใน คลำส พร้อมชุดเคร่ืองนอนเพ่ือช่วยเหลือสังคม กว่ำ 6,324
กำรผลิต GC/ Chevron Phillips/ IRPC/ DOW เตียง รวมมูลค่ำ 18,972,000 บำท มอบให้แก่โรงพยำบำล
Chemical/ HMC/ Lyondell Basell และ SCG สนำมและ ศูนย์พักคอยต่ำง ๆ ท่ัวประเทศ รวม 116
โรงพยำบำล ใน 50 จังหวัด ได้แก่ ศำลำกลำง จังหวัด
 กลมุ่ ผรู้ ว่ มสนบั สนนุ ชดุ เคร่ืองนอน GPSC ปัตตำนี/ โรงพยำบำลสนำมตำกสิน จังหวัดระยอง/
โรงพยำบำลสงขลำ/ วัดป่ำนำแก จังหวัดยโสธร/ ศูนย์
 บริษทั แอร์โรเฟลกซ์ จำกัด สนบั สนุนแผน่ ยำงรอง พัฒนำเด็กเล็ก เทศบำลตำบลน้ำคอก จังหวัดระยอง/
ขำเตียง สำธำรณสุข จังหวัดนรำธิวำส/ โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพ
จงั หวดั ขอนแก่น เป็นตน้
 เพจอีจัน และ Triple I Logistics ร่วมเป็นส่วน “เตยี งสนำมแอร์โรคลำส” ถอื เปน็ อกี หน่ึงควำมภูมิใจที่ได้ใช้
หนึ่งในกำรดูแลและจัดกำรกำรประชำสัมพันธ์ ศักยภำพของบริษัทและพันธมิตรช่วยเหลือสังคมตำม
กำรขนส่ง และกำรกระจำยเตียงสนำมแอร์โร ปรัชญำ “รบั จำกสงั คม คนื ส่สู ังคม”
คลำสไปสู่โรงพยำบำลสนำมต่ำง ๆ ท่ัวประเทศ
โดยเฉพำะโรงพยำบำลสนำมและศูนย์พักคอยที่ ตวั อยา่ งสนิ ค้านวตั กรรม: เตยี งสนามแอร์โรคลาส
อยูใ่ นถิน่ หำ่ งไกล เข้ำถึงยำก (Aeroklas Field Hospital Bed)
สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของ Covid-19 ยังคงยืดเยื้อ มี
เตยี งสนำมแอร์โรคลำส เปน็ นวตั กรรมฉุกเฉนิ ทบี่ ริษทั จำนวนผู้ติดเชอ้ื รำยวันอย่ใู นระดับสงู ตอ่ เนื่อง
แอร์โรคลำส จำกัด ได้ใช้ศักยภำพ ควำมสำมำรถของ สถำนกำรณม์ แี นวโนม้ รนุ แรงข้ึน สง่ ผลใหเ้ กดิ ภำวะขำด
พนกั งำนในกำรออกแบบท่ีตอบโจทย์ ผลิตแม่พิมพ์ ทดสอบ แคลนเตยี งผปู้ ่วย บริษัทจึงขอร่วมเป็นสว่ นหนึ่งของสังคมใน
ผลิตภัณฑ์ และผลิตเตียงสนำมแอร์โรคลำส ภำยใน กำรบรรเทำผลกระทบท่เี กิดขนึ้ บรษิ ัท และ บริษัท แอร์โร
ระยะเวลำ 12 วนั ด้วยกำลังกำรผลิต 350 เตียงต่อวัน โดย คลำส จำกดั ได้นำเทคโนโลยีทมี่ อี ยู่มำใช้ให้เกิดประโยชน์
เตียงสนำมแอร์โรคลำส ผลิตจำกเม็ดพลำสติกพอลิเอทิลีน สงู สดุ ผลิตนวตั กรรมฉุกเฉนิ ภำยใต้ช่ือ “เตยี งสนามแอร์โร
(Polyethylene)/ พ อ ลิ โ พ ร พิ ลี น (Polypropylene) คลาส” และทำงำนรว่ มกับพันธมติ รตำ่ ง ๆ ของบริษทั ผำ่ น
คุณภำพสูง ซึ่งเป็นวัสดุเดียวกันกับที่ใช้ผลิตเตียงใน แนวคดิ Reduce Reuse Recycle เพือ่ แกไ้ ขปญั หำท่ี
โรงพยำบำลชั้นนำท่ัวไป ขนำดของเตียงสนำมแอร์โรคลำส เกดิ ขน้ึ และช่วยเหลอื สังคม
มีขนำดกว้ำง 91 เซนติเมตร ยำว 210 เซนติเมตร สูง 30
เซนติเมตร สำมำรถรับน้ำหนักผู้ป่วยได้ถึง 200 กิโลกรัม
จุดเด่นของเตียงสนำมแอร์โรคลำส คือ มีน้ำหนักเบำแต่
แข็งแรง มีอำยุกำรใช้งำนที่ยำวนำน ติดตั้งง่ำย ใช้เวลำใน
กำรประกอบตำ่ กว่ำ 5 นำที มคี วำมคงทนสงู ไม่ยบุ ตวั

64 บริิษััท อีสี เทิริ ์์นโพลีีเมอร์์ กรุ๊๊�ป จำ�ำ กััด (มหาชน)

คณุ สมบัติ ขนำด

แมพ่ ิมพ์ ประกอบเสร็จ กำรทดสอบควำมแข็งแรง

กำรขนสง่ ในพน้ื ท่ีห่ำงไกล

โรงพยำบำลสนำม
แหล่งข้อมลู เพ่ิมเติมเก่ียวกบั การบรจิ าคเตยี งสนามแอรโ์ รคลาส
https://www.ejan.co/ejan-social/ภำรกิจสูช้ วี ติ -อีจนั ส่งต่อเตยี งสนำม-1-วนั -4-หน่วยงำน-2-จังหวดั
https://www.ejan.co/ejan-social/เสน้ ทำง-240-กม-อจี นั เดนิ ทำงสง่ ต่อเตียงสนำมสโู้ ควดิ -day2
https://www.youtube.com/watch?v=aiRk_emlvLw (เตยี งสนำมนวัตกรรมไทย เพือ่ คนไทยสโู้ ควดิ ! | อีจัน EJAN)
https://www.youtube.com/watch?v=EaYsI9JBsMc (ส่งมอบเตยี งสนำมส้โู ควดิ จำนวน 10 เตียงให้กับ เทศบำลตำบล
พระลับ อ.เมือง จ.ขอนแกน่ TJM Max-1 By Aeroklas)
https://thunhoon.com/article/244239 (EPG ผนึกกำลงั AEROKLAS ส่ง “เตียงสนำมแอร์โรคลำส” บรจิ ำคให้ รพ.
สนำม-จำหน่ำยรำคำตน้ ทนุ แกเ่ อกชน)

รายงานความยั่�ง่ ยืืน 31 มีนี าคม 2565 65

กกาารรบบรรหหิิ าารรหหวว่่ งงโโซซออ่่ ปปุุ ททาานนออยยาา่่ งงยยงงั่ั่ ยยนนืื
กกาารรบบรริิหหาารรหห่่ววงงโโซซ่่ออุุปปททาานนออยย่่าางงมมีีปปรระะสสิิททธธิิภภาาพพแแลละะมมีีคคววาามมรรัับบผผิิดดชชออบบเเปป็็นนหหนนึ่ึ่งงใในนอองงคค์์ปปรระะกกออบบสสาาคคััญญทที่ี่จจะะสส่่งงเเสสรริิมมใใหห้้บบรริิษษััททสสาามมาารรถถ
เเตติบบิ โโตตไไดดอ้้อยยา่า่ งงยย่ังัง่ ยยนืืน กกาารรดดาาเเนนนินิ ธธุรรุ กกจิิจกกบัับคคู่คู่ค้า้าททม่ีม่ี คีคี ววาามมเเสส่ยี่ยี งงดด้าา้ นนเเศศรรษษฐฐกกิจจิ สสิง่ง่ิ แแววดดลล้อ้อมม ดด้าา้ นนสสังังคคมม หหรรืออื บบรรรรษษัทัทภภิบบิ าาลล ออาาจจสส่่งงผผลลกกรระะททบบ
ตต่่ออคคววาามมตต่่ออเเนน่ืื่อองงขขอองงธธุุรรกกิิจจแแลละะชช่ื่ืออเเสสีียยงงขขอองงบบรริิษษััททไไดด้้ บบรริิษษััททจจึึงงมมุุ่่งงเเนน้้นนกกาารรบบรริิหหาารรจจััดดกกาารรคคูู่่คค้้าาตตลลออดดหห่่ววงงโโซซ่่ออุุปปททาานน รรววมมถถึึงงกกาารรพพััฒฒนนาา
ศศัักกยยภภาาพพขขอองงคคูู่่คค้้าา เเพพื่ื่ออลลดดคคววาามมเเสส่ี่ียยงงจจาากกคคูู่่คค้้าาแแลละะผผลลกกรระะททบบตต่่ออกกาารรดดาาเเนนิินนธธุุรรกกิิจจขขอองงบบรริิษษััทททท้ั้ังงใในนรระะยยะะสส้ั้ันนแแลละะรระะยยะะยยาาวว ตตลลออดดจจนนเเพพิ่่ิมม
คคววาามมไไดดเ้้เปปรรียียบบใในนกกาารรแแขขง่ง่ ขขนันั ขขอองงบบรริษษิ ทััท แแลละะคคววาามมเเชช่ือ่ือมม่นััน่ ขขอองงคคคูู่่คา้้าใในนกกาารรเเตตบิบิ โโตตรรว่ว่ มมกกนัันตตอ่อ่ ไไปปออยย่า่างงยยัง่ง่ั ยยนืนื

ททาากกรราาฟฟฟฟิคคิ ทท้ัั้งงตตาารราางง แแลละะ ddiiaaggrraamm ปปบบีี ญัญั เเชชปปีี ้้าา22หห55มม66ป44ีาาีบยย//ั22ญั 55เ66ชปี55้ี ้า2ห5ม64าย/2565 ปปผผบีบี ลลัญญั กกชชาาปีรรีีผบี22ดดัล55ัญาา66กเเนน44ชาีิินน//รี 222งงด55าา5ำ�ำ66นน6เ554นิ/ิน2ง5า6น5
กกาารรจจดดัั กททาาารจจจัรรดั รรทยยำาาจบบรรรรรรยณณาบคครคูู่ค่ ร้าา้ ณขขออคู่งง่�คบบ้้ารรขษษิิ อัทัทงบแแรลลิษิะะับบทั รรแิษิษลััททะบยยรอ่อ่ ิษิยยัทั ย่อ่ ย จจดดัั ททาาจจรรรรยยาาบบจัรรดั รรทณณำคคจรคูคู่่ ร้้าายาบรรณคู่่�ค้า้ ดดาาเเนนิินนกกดาาำรรเเเนสสินิ รรก็จจ็ าตตราาเมมสเเรปป็จ็ า้า้ ตหหามมาาเปยย้า้ หมาย
กกาารรปปรรกะะาเเรมมปินินรคคะววเาามิมมินเเคสสวยยี่่ี างงมดดเาา้้ สีนน่ย่� งEEดSS้า้GGนขขEออSงงGคค คคูู่่ ข้้าาอสสงาาคู่คค่�คัญัญ้้าสำคัญั
ดดาาเเนนนิินกกาารรปปรรดะะำเเเมมนินิินนิ การประเมิิน ออยยููใ่ใ่ นนรระะอหหยู่วว�ใา่า่นงงรดดะาาหเเวนน่า่นนิิ งกกดาาำรรเนินิ การ

แแนนววททาางงกกาารรบบรรหิิหาารรจจดัดั กกาารร กกัับบมมาาตตรรฐฐาานนสสาากกลลแแลละะมมาาตตรรฐฐาานนจจรริิยยธธรรรรมม ตตลลออดดจจนนดดาาเเนนิินนกกาารร
บบรริิษษััททมมออบบหหมมาายยใใหห้้ฝฝ่่าายยบบรริิหหาารรหห่่ววงงโโซซ่่ออุุปปททาานนเเปป็็นนผผูู้้รรัับบผผิิดดชชออบบใในน จจััดดททาาแแลละะเเผผยยแแพพรร่่คคูู่่มมืืออจจรรรรยยาาบบรรรรณณธธุุรรกกิิจจสสาาหหรรัับบคคูู่่คค้้าา ((SSuupppplliieerr
กกาารรบบรริิหหาารรจจััดดกกาารรหห่่ววงงโโซซ่่ออุุปปททาานนขขอองงกกลลุุ่่มมบบรริิษษััทท โโดดยยรราายยงงาานนตตรรงง CCooddee ooff CCoonndduucctt)) เเพพือ่อื่ สสื่ออ่ื สสาารรเเจจตตนนาารรมมณณข์ข์ อองงบบรริษษิ ทััทททจ่ีีจ่ ะะดดาาเเนนิินน
ตตอ่่อรรอองงปปรระะธธาานนเเจจา้า้ หหนน้้าาททีี่่บบรริิหหาารร แแลละะรราายยงงาานนคคววาามมคคืืบบหหนน้้าาใในนกกาารร ธธุรุรกกจิจิ ออยย่า่างงมมีคีคุณุณธธรรรรมม โโปปรร่งง่ ใใสส แแลละะมมคีคี ววาามมรรัับบผผิิดดชชออบบตต่่ออผผูู้้มมีีสส่่ววนนไไดด้้
ดดาาเเนนิินนงงาานนตต่่ออคคณณะะกกรรรรมมกกาารรบบรริิหหาารรเเปป็็นนปปรระะจจาาททุุกกเเดดืืออนน ฝฝ่่าายย เเสสียียตตลลออดดหหว่่วงงโโซซอ่อ่ ุปปุ ททาานน รรววมมถถึึงงสสัังงคคมมแแลละะสสิ่ิ่งงแแววดดลล้้ออมม โโดดยยกกาาหหนนดด
บบรริิหหาารรหห่่ววงงโโซซ่่ออุุปปททาานนมมีีขขออบบเเขขตตกกาารรททาางงาานนคครรออบบคคลลุุมมกกาารรจจััดดซซื้ื้ออ เเปป็็นนเเปป้้าาหหมมาายยใในนกกาารรดดาาเเนนิินนงงาานนเเพพ่ื่ืออลลดดคคววาามมเเสส่ีี่ยยงง เเพพิ่ิ่มม
คคลลัังงสสิินนคค้้าา แแลละะกกาารรจจััดดสส่่งง แแลละะมมีีหหนน้้าาทท่่ีีดดููแแลลกกาารรบบรริิหหาารรจจััดดกกาารรหห่่ววงง ปปรระะสสทิทิ ธธิภิภาาพพ เเพพม่ิิม่ มมูลูลคค่าา่ แแลละะลลดดคค่า่าใใชชจ้้จ่าา่ ยยขขอองงบบรรษิิษทัทั
โโซซ่่ออุุปปททาานนขขอองงททุุกกหหนน่่ววยยธธุุรรกกิิจจ พพััฒฒนนาานนโโยยบบาายยแแลละะแแนนววปปฏฏิิบบััตติิขขอองง บบรรษิิษทััทยยงังั คคงงกกาาหหนนดดแแนนววททาางงกกาารรบบรริิหหาารรจจััดดกกาารรหห่่ววงงโโซซ่่ออุุปปททาานนออยย่่าางง
บบรรษิิษัทัทแแลละะบบรริษิษัทัทยยอ่่อยย ใใหห้เ้เปป็นน็ มมาาตตรรฐฐาานนเเดดียียววกกนันั มมคีคี ววาามมสสออดดคคลลอ้อ้ งง ยยั่งัง่ ยยนืนื ดดังงั นน้ีี้
ททาากกรราาฟฟฟฟคิคิ ddiiaaggrraamm

IPmIIrPPmmorrpPooppPPcccrrrrrroouuooouovvrrcceeveereecmmmmesseesseeeemmnnsnnttstteenntt

MReaSlnauaMMRRtpeeiaagSSollpnnaauueaattnpplggiimiooppeesennllmmiihesseerhheerrniiinnpppttt SSuuSSpMMSSuuaasuupppnnsstppttaalEEaallaggyyyPPiieennGGiCCmmaanChhbbeeaallanneehiinnttbalien SSSSeeuullSppeeSccppettulliiiiooleepennrr cptliioern
Management

SDDueepvvSSeeuupllppoopplppillmmiieeerreernntt SSSAAuuussppsspppeesslliipsseemmrrlieeRRenniissttrkk Risk
Development Assessment

66 บริษิ ััท อีีสเทิิร์์นโพลีีเมอร์์ กรุ๊ป�๊ จำำ�กัดั (มหาชน)

ผลการดาเนนิ งาน แนวทางการดาเนินงานของบริษัท และได้นาไปใช้เป็นแนวทางใน
บริษัทกาหนดนโยบายและ แนวปฏิบัติในการจัดซ้ือจัดจ้าง โดย การปฏิบัติ เพอ่ื ดาเนนิ ธรุ กิจและเติบโตไปด้วยกันในระยะยาว โดย
มุ่งเน้นให้เกิดการจัดซ้ือจัดจ้างอย่างโปร่งใส เป็นธรรม มี บริษัทมุ่งเน้นดาเนินการกับคู่ค้าสาคัญของบริษัท (Critical Tier-1
ประสิทธิภาพ และลดความเสี่ยงจากคู่ค้า รวมถึงการปรับปรุง Suppliers) เปน็ ลาดบั แรก
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างให้มีการพิจารณาการคัดเลือกและ รายละเอียดจรรยาบรรณธรุ กิจสาหรบั คคู่ า้ เปดิ เผยในเวบ็ ไซด์
ประเมนิ คู่ค้าในประเด็นความเส่ียงด้านความย่ังยืนท่ีครอบคลุมมิติ บรษิ ัท ภายใตห้ มวดบรรษัทภบิ าล สามารถดูเพ่ิมเติมได้ท่ี
ส่ิงแวดล้อม สังคม และการกากับดูแล (ESG) เช่น การปฏิบัติตาม
ข้อบังคับและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง การปฏิบัติต่อแรงงานตามหลัก https://www.epg.co.th/wp-
สิทธิมนุษยชน การจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยใน content/uploads/2021/05/SupplierCodeOfConduct210516-TH.pdf
การทางาน และการจัดการด้านส่ิงแวดล้อม นอกเหนือจากการ
พจิ ารณาเร่ืองคณุ ภาพสนิ คา้ และบรกิ าร ราคา และระยะเวลาส่งมอบ การปรบั ปรุงนโยบายและแนวทางในการจัดซ้ือจดั จา้ ง
อีกท้ัง บริษัทได้กาหนดมาตรการในกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้างเพื่อ ในปีบัญชี 2564/2565 นอกเหนือจากการประกาศใช้จรรยาบรรณ
ลดความเส่ียงและเพิ่มประสิทธิภาพ ได้แก่ การบริหารจัดการผู้ส่ง ของซัพพลายเออร์และการประเมินตนเอง (SAQ) แล้ว บริษัทยังมี
มอบน้อยรายในกลุ่มสินค้าเดียวกัน การเพิ่มมูลค่าและลดต้นทุน การเพ่มิ หัวขอ้ ในประเด็นด้านส่ิงแวดล้อม สังคม และการกากับดูแล
สินคา้ โดยการรวมการจัดซื้อบริษัทในเครือเพ่ืออานาจการต่อรองท่ี (ESG risks) ในชุดเอกสารการตรวจสอบซัพพลายเออร์ด้วยเช่นกัน
สูงข้ึน และการแลกเปล่ยี นความรู้เพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพการทางาน (Disclosure 308-1, 414-1)
ของบคุ ลากร เป็นตน้
นอกจากนี้ บริษัทได้ดาเนินการจัดทาจรรยาบรรณคู่ค้าของบริษัท การสรรหาและคัดเลือกคู่ค้าท่ีมีศกั ยภาพ
(EPG Supplier Code of Conduct) โดยพิจารณาเนื้อหาและ บรษิ ัทอยู่ในระหว่างปรบั ปรุงกระบวนการและเกณฑ์การคัดเลือกคู่
ขอบเขตใหอ้ ยภู่ ายใต้ข้อกาหนด ข้อบังคบั และกฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง คา้ โดยเพ่ิมเตมิ เกณฑ์คัดเลอื กให้ครอบคลมุ ประเด็นด้าน ESG เพื่อ
และสอดคลอ้ งกับจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัท ตลอดจนหลักการ สรรหาคู่ค้าท่ีมีความสามารถและมีศักยภาพในการเติบโต และมี
และมาตรฐานการปฏิบัติในระดับสากล เพื่อให้คู่ค้าท่ีดาเนินธุรกิจ แนวทางในการดาเนินธรุ กจิ ท่ีสอดคล้องกบั บรษิ ัทและบรษิ ทั ยอ่ ย
กับบริษัทและบรษิ ทั ยอ่ ยมคี วามเข้าใจในเจตนารมณ์และ
การบริหารความเสยี่ งของคคู่ ้าในหว่ งโซอ่ ุปทาน
บริษัทยังคงใชก้ ระบวนการบรหิ ารความเสย่ี งของคคู่ ้าในหว่ งโซ่
อปุ ทานที่ใช้ในปบี ัญชี 2564/2565 ดงั นี้

ทากราฟฟคิ diagram การประเมินิ ความ การตรวจ การจััดการ
เสี่�่ยงด้้านความ ประเมินิ คู่่�ค้า้ ความเสี่�่ยง
การวิิเคราะห์์ ยั่่ง� ยืืนของคู่่�ค้้า
คู่่�ค้า้ สำำ�คััญ

• มููลค่า่ การจััดซื้้อ� กจาัรัดวจเิ ค้รา้ าะงหค์ คู่ ้าสาคัญ • ด้้านสิ่ด่ก�งา้ านรแคปววราะดมเลมยิน้ัง่ ยค้อนืวมาขมอเงสค่ยี ูค่ ง้า การตรวจปร•ะเคมู่นิ ่�คคู้่ค้า้าปัจั จุุบันั การจัดการความเสี่ยง• มาตรการควบคุมุ ความ
เสี่่�ยง
• การเป็็นผู้้�ขายสิินค้้าและ • ด้า้ นสัังคม • คู่่�ค้้าใหม่่
บริกิ าร•ที่่เ� ป็มน็ ลู อค่างกคา์ร์ปจัดรซะ้อื กจดั อจบ้าง • ด้านส่งิ แวดลอ้ ม • คคู่ า้ ปจั จุบัน • มาตรการควบค•มุ แควผามนการพััฒนาคู่่�ค้า้
สำำ�คััญ•ของกธาุรรุ เปกิน็ ิจผู้ขายสินคา้ และบรกิ ารทเี่ ป็น• ด้้านก•ารกำดำ�้ากนัสบั ังคดูมูแล • คคู่ า้ •ใหEมS่ G Audit เส่ยี ง
• ESG•ASuidtiet visit
•ตกลาารดเ•ป็็นผู้้อก�ขางคราเป์ ยปร็นนะผ้ก้อู้ขอาบยยสนรา้อาคยญัยรขาใยอนใงนธุรตกลิจาด • ด้้านเ•ศรษดฐ้ากนิกิจารกากบั ดูแล • Site visit • แผนการพฒั นาคคู่ า้
• ดา้ นเศรษฐกจิ

รายงานความยั่�ง่ ยืืน 31 มีนี าคม 2565 67

การวิเคราะหค์ คู่ ้าสาคัญ (critical supplier) เชื้อไวรัส Covid19 ร่วมกบั ซพั พลายเออรเ์ ปน็ ระยะเพอ่ื ตดิ ตาม
บรษิ ัทได้ทาการวิเคราะห์และระบุกลุ่มคู่ค้าสาคัญ จากคู่ค้าในห่วง สถานการณแ์ ละประเมินความเสี่ยงเพอื่ จัดการหว่ งโซอ่ ปุ ทาน
โซ่อุปทานทีม่ กี ารดาเนนิ ธรุ กจิ กับบริษทั อย่างตอ่ เนื่อง โดยใช้เกณฑ์ โดยรวมใหด้ ีขึน้ และเพือ่ ความตอ่ เน่ืองทางธรุ กจิ รวมถงึ เพอื่ ให้
พิจารณาคู่ค้าสาคัญจาก มูลค่าการจัดซ้ือจัดจ้าง การเป็นผู้ขาย แน่ใจว่าซพั พลายเออรท์ ราบถงึ การคาดการณ์และแผนการผลติ
สินค้าที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของธุรกิจ และการเป็นผู้ขายน้อย ของบริษัท ส่งผลให้ซพั พลายเออรส์ ามารถเตรยี มวัตถดุ ิบได้ดียงิ่ ขนึ้
รายในตลาด บริษัทได้พัฒนาระบบ Vendor Manage Inventory (VMI)
ในปีบัญชี 2564/2565 บริษัทมีคู่ค้าสาคัญคิดเป็นร้อยละ 20 ของ เพ่อื ใหบ้ รษิ ทั และซพั พลายเออร์เข้าถึงข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็ว
จานวนคู่ค้าท้ังหมดในห่วงโซ่อุปทาน คิดเป็นมูลค่าการจัดซ้ือจัดจ้าง ในปบี ัญชีนมี้ ีซพั พลายเออรล์ งทะเบียนในระบบน้เี พิม่ ขึน้ ร้อยละ 26
ในห่วงโซ่อุปทาน ร้อยละ 81 ของมูลค่าการจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมดใน จากปีก่อน ยกตัวอย่างฟังก์ชั่น Online Billing ของระบบ
ห่วงโซ่อุปทาน เพื่อให้การบริหารจัดการคู่ค้าสาคัญเป็นไปอย่างมี Vendor Manage Inventory (VMI) ช่วยให้ซัพพลายเออร์
ประสทิ ธภิ าพ บริษัทจึงมีการประเมินความเส่ียงของคู่ค้าสาคัญ เพ่ือ สามารถวางบิลออนไลน์ได้
จัดกลุ่มตามระดับความเสี่ยงและความรนุ แรงของผลกระทบที่เกิดข้ึน
โดยบรษิ ัทจะมุ่งเน้นการบริหารจัดการคู่ค้าสาคัญในห่วงโซ่อุปทานที่ การพัฒนาคู่คา้
มรี ะดับความเสย่ี งสูงหรือมีผลกระทบที่รนุ แรงก่อนเปน็ ลาดับแรก บริษัทให้ความสาคัญในการพัฒนาคู่ค้า จึงส่งเสริม สนับสนุน และ
ร่วมมือกับคู่ค้าในการพัฒนาความสามารถและประสิทธิภาพการ
การประเมินความเสี่ยงดา้ นความยง่ั ยนื ของคคู่ า้ ทางานของคู่ค้าให้ดียิ่งข้ึนและเป็นไปตามมาตรฐานของบริษัท ซ่ึงจะ
รอ้ ยละ 88 ของซัพพลายเออรท์ ่สี าคัญจากขอ้ มลู ปงี บประมาณ ทาให้บริษัทสามารถลดความเส่ียงในการดาเนินธุรกิจ และมีคู่ค้าที่มี
2564/2565 ได้รบั ทราบจรรยาบรรณของซพั พลายเออร์ ของ ศกั ยภาพพรอ้ มท่จี ะเติบโตไปกับบรษิ ทั นอกจากนี้ ยังเป็นการบริหาร
บรษิ ัท และตอบแบบสอบถาม EPG Self-Assessment ความสัมพันธ์ระยะยาวกับคู่ค้า เช่ือมโยงและสร้างความสัมพันธ์ท่ีดี
Questionnaire (SAQ) แลว้ นอกจากน้ี ร้อยละ 57 ของซัพพลาย กับคู่ค้า
เออรใ์ นห่วงโซ่อุปทานไดร้ บั ทราบจรรยาบรรณของซพั พลายเออร์ บริษัทสนับสนุนให้คู่ค้าท่ีส่งมอบวัตถุดิบหลักให้แก่บริษัท มีการ
และตอบแบบสอบถามการประเมนิ ตนเอง (SAQ) แล้ว จาก พัฒนาในกระบวนการดาเนินธุรกิจและได้รับการรับรองระบบการ
ทัง้ หมดทีต่ อบกลบั ไม่มซี ัพพลายเออร์รายใดตกในแบบสอบถาม บริหารจัดการท่ีสอดคล้องตามมาตรฐานสากล เช่น ISO 9001 ISO
การประเมนิ ตนเอง (SAQ) 14001 ISO/IATF16949 ISO 17025 OSHAS 18001 ISO 45001
ISO 50001
การบรหิ ารความเสย่ี ง ในปีบัญชี 2563/2564 บริษัทได้จัดทาโครงการเพ่ือพัฒนาคู่ค้า
บริษัทกระจายความเสยี่ งในการจดั หาด้วยการขยายรายชื่อซัพพลาย จานวน 2 โครงการ
เออรท์ ่ไี ด้รับอนุมัติ (Approved Supplier list) อย่างตอ่ เนื่อง ในปี 1. โครงการอบรมเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการทางานของผู้รบั เหมา
บัญชี 2564/2565 บรษิ ทั ได้เพ่ิมซพั พลายเออร์ 111 ราย ใน บริษัทให้ความสาคัญกับคุณภาพการทางานและความปลอดภัย
รายการซพั พลายเออร์ทีไ่ ดร้ บั อนมุ ตั ิ มีซพั พลายเออร์ 8 ราย ซึ่ง ของผูร้ บั เหมา จึงสง่ เสริมให้ผรู้ ับเหมาปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบ
รวมถงึ critical ซัพพลายเออร์ 5 ราย ได้รับการตรวจสอบที่ ข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด และมีการบริหารจัดการ
สถานท่ีของซัพพลายเออร์หรือการตรวจสอบผ่านชอ่ งทางออนไลน์ ผลกระทบทางส่ิงแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ บริษัท อิสเทิร์นโพลี
ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั Covid19 ทีมซพั พลาย แพค จากัด จึงได้จัดการอบรมผู้รับเหมาเป็นประจาทุกปี โดยใน
เชนของบริษัททางานร่วมกันอย่างใกล้ชดิ กบั ซัพพลายเออร์เพื่อให้ ปบี ญั ชี 2564/2565 ไดจ้ ัดการอบรมเจา้ หนา้ ทจี่ ากบรษิ ัทผู้รับเหมา
แน่ใจวา่ ทุกฝา่ ยสามารถฝ่าฟนั สถานการณท์ ไ่ี มแ่ นน่ อนนร้ี ว่ มกนั ได้ ต่าง ๆ มีบริษัทเข้าร่วม 24 แห่ง รวม 365 คน มีเนื้อหาการจัด
บรษิ ทั ไดด้ าเนินการสารวจ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด อบรมประกอบด้วยเร่ืองเก่ียวกับนโยบายบริษัท กฎระเบียบ

68 บริิษััท อีสี เทิิร์์นโพลีเี มอร์์ กรุ๊๊�ป จำำ�กััด (มหาชน)

ข้อบังคบั ท่ตี ้องปฏิบัติตาม กฎของบริษัท ระบบการจัดการอาชีวอ ท้ังหมด เปล่ียนมาใช้ ฟังก์ชั่น "Online Billing" ในระบบ Vendor
นามยั และความปลอดภัย ISO 45001 การจัดการสิ่งแวดล้อมตาม Manage Inventory (VMI) ซึ่งซัพพลายเออร์สามารถวางบิล
มาตรฐาน ISO 14001การจัดการพลังงานตามมาตรฐาน ISO ออนไลนโ์ ดยไม่ต้องนาเอกสารตัวจริงมาที่บริษัท ลดการเดินทางของ
50001 ซัพพลายเออร์และลดการสัมผัสของบุคลากร อีกทั้งสามารถติดตาม
สถานะของใบแจ้งหน้ีทว่ี างบิลออนไลนแ์ ล้วผ่านระบบ

นอกจากนี้ ทมี ซัพพลายเชนของบริษทั ไดพ้ ฒั นาระบบภายในเพ่อื ให้
แน่ใจวา่ เอกสารใบสง่ั ซื้อจะถูกส่งอเี มลไปยงั ซัพพลายเออร์อยา่ ง
ครบถ้วนทันเวลา และไม่มีการหยุดชะงักในกระบวนการชาระเงินให้
ซพั พลายเออร์ โดยใช้ “Request for payment online” รวมทั้งใช้
เว็บไซต์ประมลู E bidding มาใชเ้ พื่อขยายกลุ่มซัพพลายเออร์ทม่ี ี
ศกั ยภาพ

2. โครงการพฒั นาคู่คา้
บริษัท แอร์โรคลาส จากัด ได้จัดทาแผนพัฒนาคู่ค้าเป็นประจาทุก
ปี เพ่ือพัฒนาศักยภาพของคู่ค้าให้เติบโตไปด้วยกันในระยะยาว
โดยมุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการผลิต ยกระดับความสามารถ
กระบวนการตรวจสอบสายการผลิต ส่งเสริมและให้คาปรึกษาใน
การยกระดับระบบบริหารคุณภาพและระบบความปลอดภัยและ
สง่ิ แวดลอ้ ม ของคคู่ ้า

การพัฒนาการจัดซ้อื จดั จา้ งเชงิ กลยทุ ธ์
บ ริ ษั ท ไ ด้ พั ฒ น า ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ซ้ื อ จั ด จ้ า ง ข อ ง บ ริ ษั ท ใ ห้ มี
ประสิทธิภาพดีขึ้น โดยการพัฒนาและปรับปรุงระบบ Vendor
Manage Inventory (VMI) นอกเหนือจากฟังก์ช่ันที่ทาให้ซัพพลาย
เออร์ทราบวา่ จะต้องสง่ มอบอะไรและเม่อื ไหร่ ซัพพลายเออร์สามารถ
ดูความต้องการจากแผนการผลิตระยะส้ันและการคาดการณ์ระยะ
ยาวเพ่ือให้ซัพพลายเออร์สามารถเตรียมวัตถุดิบได้อย่างเหมาะสม
ปัจจุบันน้ีมี 96 ซัพพลายเออร์ในห่วงโซ่อุปทานท่ีใช้ฟังก์ชั่น
นอกจากน้ี ในไตรมาส 4 ของปีบัญชี 2564/2565 ซัพพลายเออร์

รายงานความยั่ง�่ ยืืน 31 มีนี าคม 2565 69

ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ลกู คา้ และผลติ ภณั ฑ์

ลูกค้าเป็นปัจจัยหลักท่ีจะช่วยนาพากิจการของบริษัทไปสู่ความสาเร็จ การเข้าใจในความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าจึงมี

ความสาคัญต่อบริษัทในการพัฒนากระบวนการผลิตและส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าตามมาตรฐานทาง
คอตุ วสาาหมกรรรบั มอผยดิ่างคชรอบถบว้ ตน อ่พรล้อมกู ทคัง้ กา้ าแรใลหบ้ ะรผกิ ลารติท่ีมภปี ณัระสฑิทธ์ ิภาพทสี่ รา้ งความพึงพอใจและพัฒนาความสัมพันธ์ท่ดี รี ะหว่างกันในระยะยาว
ลูกค้าเป็นปัจจัยหลักที่จะช่วยนาพากิจการของบริษัทไปสู่ความสาเร็จ การเข้าใจในความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าจึงมี

คทวากามราสฟาฟคัิคญตตา่อรบางริษัทในการพัฒนากระบวนการผลิตและส่งมอบผลิตภัณฑ์ท่ีตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าตามมาตรฐานทาง
อตุ สาหกรรมอย่างครบถว้ น พร้อมท้ังการใหบ้ ริการทีม่ ีประสิทธภิ าพที่สร้างควปามบี พัญึงเชพปีปอ้า2ีใีบห5จัม6ญั แ4าลเย/ชปะี2้พี ้า52ัฒห655มน6า4าคย/ว2า5ม6ส5ัมพนั ธป์ทผีบลดี่ ปญั กีรี ีบะชาัหผรัญี 2ดวล5่าชด6ีงเำีนก42�ำ ินั/เ5น2ใง6ิน5านิ 46นรงะ/5าย2นะ5ย6า4ว
คทคะาะแกแนรนานฟนคคฟวาวคิ มาตพมาพึงรึพาึงองพใอจใขจอขงอลงูกลคูกู า้ ค้า้
- ธรุ กจิ ฉนวนยางกนั ความร้อน/เยน็ รเปอ้ ย้าหละมา9ย0 ผลกราอ้ รยดลาะเน9นิ 6งาน
- ธุุร-กิจิ ฉนธรุวกนิจกัอนั ุปคกวราณมร์ช้อ้ ิน้ นส/ว่ เยน็็นและตกแตง่ ยานยนต์ ปบี ัญรชอ้ ี ย2ล5ะ648ร/้0อ้2ย5ล6ะ5 90 ปบี ัญรช้อี ย2ล5ร้ะ6อ้ 4ย8/ล22ะ59665
คะแน-นควธาุรมกพจิ ึงบพรอรใจจภุ ขณั องฑล์พกู ลคาา้ สตกิ
จ-า นธุุวร-กนิิจขชิ้อ้�นธรุรสอ้ ่ก่วงิจเนรฉอยีุุนปนวกดนร้ายณน์าคต์งวกาันแมตค่ป่งวลยาอามนดรย้อภนยั ต/ข์เ์อยงน็ ผลิตภณั ฑห์ รอื รอ้ ยละ 92 ร้อยละ 90
ผ-ล ธกุุรร--กะิิจทบบรธธจรรรุุจาุกกกุภิจจิ กับอณั าุปรรฑรใ์ก์พชจร้ผุภลณลาณั ช์สิตฑนิ้ตภิสพ์กิณั ว่ลฑนา์แสลตะกิ ตกแตง่ ยานยนต์ ร้อยละ 9ร้0อ้ ยละ 80 รอ้ ยลร้ะ้อย9ล6ะ 82
ร้อยล0ะ 80 รอ้ ยล0ะ 82
รอ้ ยละ 9ร้2้อยละ 92 ร้อยลร้ะอ้ ย9ล0ะ 90

จผขแจใาลนอชำน้กบวผ้นวรลทเวินะขาิตนทขตงภขอ้บักก้ณั้อรจาา้อรรฑาร้์้องบกร์ เงกรราเิหายียรีรนีางยใรนาดชจน้าดผ้ ้ดันข้าลกนค้อติ าวคมภราวูณัลมากฑปมาลป์ รอลบดอรภดิหภัยัาขัยรอขคงอวผงาลผมติลิสภิตัมณั ภัพัณฑัน์หฑธ์ร์ห์แอืรืลือะผคลวการมะทบจากกผกาลราิตใรภช้เัณทฑคโ์แนลโ0ะลบยีเรพิก่อืากรใ0าหรพ้ดียัฒิ่งนขา้ึนอยต่าลงอตดอ่ จเนน่ือสงร้างสร0รค์น0วัตกรรมและ

รบั ผิดชอบต่อลกู ค้าในรายงานความย่ังยืนฉบับน้ี ครอบคลุมหน่วย บริษัทได้กาหนดกรอบแนวทางการดาเนินงานด้านความรับผิดชอบ
ธแุรนกวิจทฉางนกวานรยบารงิหกาันรจคดัวกาามรร้อน/เย็น ธุรกิจอุปกรณ์ช้ินส่วนและ ผตล่อิตลภูกคัณ้าฑใน์แภลาะพบกริกว้างรใเหพ้ดื่อียเป่ิงข็น้ึนแนตวลทอาดงจในกสารร้าดงสาเรนรินค์งนาวนัตขกอรงรบมรแิษลัทะ
ตขอกแบตเข่งยตากนายรนราตย์ แงลานะธขุร้อกมิจูลบกรารรจบุภรัณิหฑา์พรคลาวสาตมิกสัมทพ่ีดันาเธน์แินลกะาครวโดามย กยา่อรยใชไเ้ดท้แคกโ่นกโาลรยสเี รพ้าอ่ื งกสารรรพคฒั์ผลนิตาอภยัณา่ ฑงต์ท่อี่มเนีคื่อุณงภาพสูงและปลอดภัยใน
บรบั รผษิ ิดทั ชยอ่ บยตท่อตี ลง้ั อกู ยคูใ่า้ นในปราะยเทงาศนไทคยวาเทม่ายน่ังั้นยืนไฉมบร่ วับมนห้ี คนรว่ อยบธุรคกลิจุมทห่อี นย่วใู่ ยน บการริษใัชท้งไาดน้กากหารนบดรกกิ ราอรบทแ่มี นปี วรทะาสงทิ กธาิภราดพาเแนลินะงกาานรดบ้ารนหิ คาวราคมวราับมสผัมิดพชอันบธ์
ตธุร่ากงปิจรฉะนเทวนศยเานง่ือกงันจคากวบามริษร้อัทนอย/เู่รยะ็นหวธ่าุรงกกิจาอรพุปัฒกรนณาร์ชะ้ินบสบ่วจนัดแเกล็บะ ตระ่อหลูวก่าคง้ากในั ภแาพละกไวด้า้งกาเพหื่อนเดปก็นลแยนุทวทธ์ดาง้าในการดบารเิหนาินรงจาันดขกอารงบลรูกิษคัท้า
ขต้อกแมตูล่งยเพา่ืนอรยานยตง์ าแนลกะธาุรกดิจาบเนรินรจกุภารัณใฑห์พ้เปล็นาไสปตติกาทมี่ดมาเตนรินฐกาานรขโดอยง ยเพ่อื่อยใหได้บ้แรกิษ่ ัทกายร่อสยรแ้าตงส่ลระรแคห์ผ่งลสิตาภมาัณรฑถน์ทา่ีมไีคปุณปภรับาพใชส้เูงพแื่อลดะาปเลนอินดกภาัรยใหน้
บริษทั ยแล่อะยมทาี่ตตัง้ รอฐยาู่ในสปารกะลเทศไทยเทา่ นั้น ไมร่ วมหนว่ ยธุรกจิ ท่ีอยใู่ น กสาอรดใคชลง้ าอ้ นงกกบั าลรักบษริกณาะรขทอ่ีมงีปลรกู ะคส้าทิแธตภิ ่ลาะพกลแุ่มลธะรุ กกาจิรบดรังิหนาี้ รความสัมพันธ์
ตลูก่างคป้าขระอเงทบศริษเัทนแื่อลงจะาบกรบษิ รัทิษยัทอ่ ยอมยหีู่ระลหากวห่างลกาายรปพรัฒะเนภาทระแบตบกจตัด่างเก็บัน ระหว่างกัน และได้กทาหากนรดากฟลฟยคิ ุทธd์ดia้าgนrกamารบริหารจัดการลูกค้า
ไขป้อตมาูลมเธพุรื่อกริจาแยลงะานทก่ีตาั้งรขดอางเแนติน่ลกะาบรใรหิษ้เัทปย็น่อไปยตอาามทมิ าลตูกรคฐ้าทน่ีขเปอ็นง เพ่ือให้บริษัทย่อยแต่ละแห่งสามารถนาไปปรับใช้เพ่ือดาเนินการให้
บองรคษิ ์กัทรแรละะดมับาสตารกฐาลนลสูกาคกล้าที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม ลูกค้าท่ีเป็น สอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของลกู ค้าแตล่ ะกลมุ่ ธรุ กิจ ดังนี้
ลผูกป้ คระ้าขกองบบกราษิ รคัทา้แปลละกีบแรลษิ ะทั คย้า่อสย่งมรหี วลมาไกปหถลึงลายูกปคา้รระาเภยบทุคแคตลกเตป่า็นงตก้ัน ทากราฟฟคิ diagram

ไบปรตษิ าทั มจธึงมุรุ่งกมิจั่นแใลนะกทา่ีรตสั้ง่งขมอองบแผตล่ลิตะภบัณริฑษ์นัทวยัต่อกยรรอมาทท่ีมิ ีคลุณูกคภ้าพทแ่ีเปล็นะ
คองวคาม์กปรรละอดับภสัยาตกาลมมลาูกตคร้าฐทานี่เปส็นากโรลงงเพานอ่ื อตุตอบสาสหนกอรงครมวาลมูกตค้อ้างกทาี่เปร็น
ผขู้ปอรงะแกตอ่ลบะกกาลรุ่คม้าลปูกลคกี ้าแลระวคม้าถสึง่ กราวรมใไหป้บถึงรลิกกู าคร้าทร่ีดายีแบลุคะคกลารเปรั็นกตษ้นา Relationship Product Quality
บควราิษมทั สจัมึงพมุ่งันมธั่น์รใะนยกะายราสว่งกมับอลบูกผคล้าิตโภดัณยมฑีก์นาวรัตปกรระรเมทิน่ีมคีควาุณมภพาึงพพแอลใะจ Management and Safety
คแลวาะมกปารลสอ่ือดสภาัยรตเพาม่ือมรับาตฟรังฐคาวนาสมาคกิดลเหเ็นพ่ือคตวอาบมตส้นองอกงาครวาขม้อตเส้อนงกอาแรนะ


แขลอะงขแ้อตร่ลอ้ ะงเกรียลนุ่มลเพูกอื่ คน้าามราวบมรถิหึงากรจาดัรกใหาร้บแรลิกะพารฒั ทนี่ดากีแาลระสกง่ มาอรบรักษา Customer
ความสัมพันธ์ระยะยาวกับลูกค้า โดยมีการประเมินความพึงพอใจ Responsibility

และการสื่อสารเพ่ือรับฟังความคิดเห็น ความต้องการ ข้อเสนอแนะ Service
และข้อรอ้ งเรียน เพอ่ื นามาบรหิ ารจดั การและพัฒนาการส่งมอบ Quality

70 บริษิ ััท อีสี เทิิร์น์ โพลีีเมอร์์ กรุ๊ป๊� จำำ�กััด (มหาชน)

กรอบการดาเนนิ งาน กลยทุ ธด์ า้ นการบริหารจดั การลกู ค้า

คุณภาพและความปลอดภยั ของ  มุง่ มั่นท่จี ะพัฒนาการส่งมอบผลติ ภณั ฑ์และบริการทม่ี คี วามปลอดภยั และผ่านการตรวจสอบ
ผลติ ภัณฑ์ ตามมาตรฐาน ตลอดจนไดก้ ารรับรองดา้ นคุณภาพตามข้อตกลงทุกดา้ น

(Product and Service Quality)  สรา้ งความร่วมมอื และความไว้วางใจในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์และบรกิ ารร่วมกนั

คุณภาพการบรกิ าร  ปฏิบตั ิกบั ลกู คา้ อยา่ งสภุ าพ เปน็ มติ ร และเป็นมอื อาชพี (Being Professional)

(Service Quality)  สร้างความไวว้ างใจดว้ ยการบริการทซี่ ่ือตรง ซือ่ สตั ย์ และโปรง่ ใส (Integrity)

 พร้อมทจ่ี ะแก้ไขปญั หาและสถานการณเ์ ฉพาะหน้าให้กับลกู ค้าไดอ้ ยา่ งทันท่วงทีและ

ประสทิ ธภิ าพ (Responsiveness)

การบริหารความสมั พนั ธก์ บั ลูกคา้  สร้างชอ่ งทางการส่อื สารกับลูกคา้ ที่หลากหลาย เขา้ ถึงงา่ ย และมีประสทิ ธิภาพ
(Relationship Management)  สารวจความพึงพอใจของลูกค้าอย่างต่อเน่ือง
 รกั ษาขอ้ มลู และปกป้องความลบั ของลูกค้า

ผลการดาเนนิ งาน 2. การสร้างความสัมพนั ธ์และการสร้างความเชอ่ื มั่นใหก้ ับลกู ค้า
1. การรับรองคณุ ภาพและมาตรฐานของผลติ ภณั ฑ์และบรกิ าร บริษัทจัดให้มีการอบรมด้านการสร้างบุคลิกภาพท่ีดี การมีมนุษย์
บริษัทมีความต้ังใจท่ีจะส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ สัมพันธ์ และการมีใจบริการให้กับพนักงาน โดยเฉพาะหน่วยงาน
ปลอดภัย และได้มาตรฐานให้กับลูกค้าอย่างถูกต้องครบถ้วน โดย การขาย เพื่อท่ีจะสามารถสร้างความสัมพันธ์และให้บริการท่ีมี
แต่ละบริษัทย่อยได้จัดให้มีระบบตรวจสอบคุณภาพและความ ประสิทธิภาพกับลูกค้าได้อย่างเหมาะสม ในปีบัญชี 2564/2565
ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ ท่ีมีต่อลูกค้าและผู้ใช้งาน รวมถึง บรษิ ัทได้พัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้สาหรับฝ่ายขายและการตลาด
ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม โดยได้รับการรับรองตามมาตรฐานต่างๆ ข้ึนมาโดยเฉพาะ โดยมีเป้าหมายท่ีจะเพ่ิมพูนทักษะของบุคลากร
จากหน่วยงานภายนอกท่ีเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่น การขายและการตลาดให้มีความร้อู ยา่ งเป็นระบบ มีความพร้อมใน
มาตรฐานระบบการจัดการด้านคุณภาพ (ISO 9001) มาตรฐาน การรบั มอื กับสภาวะของตลาดทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ระบบการจัดการส่ิงแวดล้อม (ISO 14001) มาตรฐานระบบการ นอกจากน้ี บริษัทยังมีระบบการตรวจสอบภายในสาหรับป้องกัน
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ISO 45001) มาตรฐาน การทุจริตของพนักงานเพื่อสร้างความเชื่อม่ันให้กับลูกค้าอีกทาง
ระบบการจัดการพลังงาน (ISO 50001) ระบบการประเมิน โดยบรษิ ัทได้จดั ใหพ้ นักงานเขา้ อบรมในหลักสูตรต่อต้านการทุจริต
คาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององค์กร (ISO 14064-1) ระบบการประเมิน (CAC) ในปีบัญชี 2564/2565 ร้อยละ 100 ของพนักงานของ
วอเตอร์ฟุตพริ้นท์การบริการจัดการน้า (ISO 14046) หลักเกณฑ์ หน่วยงานขายทงั้ หมดไดร้ บั การอบรมในเรอื่ งน้ี
และวิธีการผลิตที่ดี (GMP) และ มาตรฐานระบบการวิเคราะห์
อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร (HACCP) 3. การแกป้ ญั หาให้กับลกู คา้
ในปีบัญชี 2564/2565 กลุ่มผลิตภัณฑ์ของบริษัทร้อยละ100 ของ บริษัทมุ่งมั่นท่ีจะให้ความช่วยเหลือกับลูกค้าในทุกสถานการณ์
กลุ่มผลิตภัณฑ์ทั้งหมดได้รับการประเมินและตรวจสอบด้านความ โดยเฉพาะในสถานการณท์ ี่จาเปน็ ตอ้ งได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
ปลอดภัยต่อสุขภาพและการใช้งานของลูกค้า เพื่อปรับปรุง เพื่อเป็นการช่วยลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้น บริษัทจึงได้มอบ
คุณภาพอย่างต่อเน่ือง และไม่มีผลิตภัณฑ์ของบริษัทในกลุ่มธุรกิจ นโยบายให้บริษัทย่อยทาการประเมินความเสี่ยงและวางแผน
ใดละเมิดหรอื ไม่สอดคลอ้ งกบั กฎหมายระเบยี บข้อบังคับดา้ นความ จาลองสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น รวมไปถึงการวางแผน
ปลอดภัยของผลิตภณั ฑ์แต่อย่างใด (Disclosure 416-2) ตอบสนองให้ได้อย่างทันท่วงที ในปีบัญชี 2564/2565 บริษัทย่อย
ร้อยละ 100 ได้ดาเนินการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า
และการขาย และจัดทาแผนรองรับความเส่ียงต่าง ๆ ได้อย่าง
ครบถว้ น

รายงานความยั่ง่� ยืืน 31 มีนี าคม 2565 71

4. ชอ่ งทางการส่อื สาร ร้องเรยี น และแนะนาติชม จากลูกคา้ ลดลงมาอย่ทู ่ี รอ้ ยละ 90 เนือ่ งจากมคี วามตอ้ งการสินค้า
บรษิ ัทและบริษทั ย่อยไดจ้ ดั ช่องทางการส่ือสารหลากลายช่องทางท่ี
ลกู คา้ สามารถเข้าถงึ ไดอ้ ยา่ งสะดวก เพือ่ ให้ลูกค้าสามารถร้องเรียน เพ่ิมขึ้นในระยะเวลาอันส้ัน (Pent-up Demand) ทาให้บริษัทต้อง
และแนะนาตชิ มดา้ นคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์และบริการของบริษัท โดย
ในปัจจบุ นั บรษิ ัทเนน้ การจดั ช่องทางการส่ือสารด้านออนไลน์ อาทิ มีการปรบั แผนการส่งมอบสนิ คา้
เว็บไซต์และอีเมล์ เป็นต้น รวมไปถึงการเริ่มใช้โซเชียลมีเดียต่างๆ
ในการรับฟังเสียงของลูกค้าอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งบริษัทได้รวบรวม คะแนนความพงึ ปบี ัญชี ปบี ัญชี ปีบญั ชี
ข้อร้องเรียนและความคิดเห็นของลูกค้า และดาเนินการตาม
กระบวนการจัดการข้อร้องเรียนของบริษัทที่กาหนดไว้ ในปีบัญชี พอใจของลกู ค้า 2562/2563 2563/2564 2564/2565
2564/2565 บริษัทไม่ได้รับข้อร้องเรียนจากลูกค้าในเร่ืองความ
ปลอดภยั ของผลิตภณั ฑแ์ ต่อยา่ งใด ธุรกิจยางฉนวนกนั รอ้ ยละ 95 ร้อยละ 96 ร้อยละ 96
ความร้อน/เยน็
5. การสารวจความพึงพอใจของลูกค้า
บริษัทมอบนโยบายให้แต่ละบริษัทย่อยจัดทาการสารวจความพึง ธรุ กจิ อุปกรณ์
พอใจของลูกค้าเป็นประจาทุกปี ด้วยการส่งแบบสอบถามและให้
เจ้าหน้าที่ติดต่อกับลูกค้าโดยตรง เพื่อนาความคิดเห็นและข้อมูล ชน้ิ ส่วนและ ร้อยละ 81 รอ้ ยละ 81 ร้อยละ 82
ต่างๆ มาใช้ปรับปรุงข้อบกพร่องและรวบรวมข้อมูลเพ่ือนาไป
วิเคราะห์และค้นหาแนวทางการพัฒนานวัตกรรม ตลอดจน ตกแต่งยานยนต์
ผลติ ภัณฑ์และบริการใหม่เพอื่ สร้างความพึงพอใจและความเช่ือมั่น
ของลกู ค้าให้มากขึน้ ธรุ กิจบรรจภุ ณั ฑ์ รอ้ ยละ 91 รอ้ ยละ 92 รอ้ ยละ 90
ในปบี ัญชี 2564/2565 ธรุ กจิ ยางฉนวนกันความร้อน/เย็น สามารถ พลาสติก
รักษามาตรฐานความพึงพอใจของลูกค้าไว้ได้ท่ี ร้อยละ 96
เช่นเดียวกับปีก่อนหน้า ในส่วนของธุรกิจอุปกรณ์ชิ้นส่วนและ 6. การรักษาข้อมูลและปกปอ้ งความลับของลกู ค้า
ตกแต่งยานยนต์มพี ฒั นาการที่เพิม่ สูงขนึ้ จาก ร้อยละ 81 เป็น ร้อย บริษัทมีนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการรักษาข้อมูลและปกป้อง
ละ 82 สว่ นธรุ กจิ บรรจภุ ณั ฑ์พลาสตกิ ได้รับคะแนนความพึงพอใจ ความลับของลูกค้าให้ปลอดภัย ไม่อนุญาตให้นาข้อมูลของลูกค้าไป
ส่งต่อใหก้ ับผอู้ ืน่ โดยปราศจากความยนิ ยอมจากเจ้าของข้อมูล โดยใน
ปีบัญชี 2564/2565 บริษัทและบริษัทย่อยจัดให้มีการอบรมเชิง
ปฏิบัติการในเรอ่ื งน้ีอย่างจริงจัง เพื่อส่งเสริมความรู้และแนวทางการ
ทางานเพ่ือให้สอดคล้องไปกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วน
บคุ คล พ.ศ. 2562 (PDPA)
อนึ่งบริษัทและบริษัทย่อยไม่ได้รับการร้องเรียนในประเด็นความ
เป็นส่วนตัวของลูกคา้ ในปบี ญั ชีทผ่ี ่านมา

72 บริษิ ััท อีีสเทิริ ์์นโพลีเี มอร์์ กรุ๊ป๊� จำำ�กััด (มหาชน)

ความมนั่ คงปลอดภยั ทางไซเบอรแ์ ละความปลอดภยั ของขอ้ มลู

เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมด้านซอฟแวร์เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการดาเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพในปัจจุบัน การเช่ือมต่อ
แบบออนไลน์สร้างความสะดวก รวดเร็ว ลดข้อจากัดด้านเวลาและสถานท่ีในการเข้าถึงข้อมูล ทาให้เกิดการเช่ือมโยงและการปฏิรูป
แนวปฏิบัติทางธุรกิจท่ีเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันได้ในระดับสากล ในขณะเดียวกัน ความเส่ียงด้านอาชญากรรมทางไซเบอร์มี
แนวโน้มเพ่ิมสงู ข้นึ เช่นกนั จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี จึงทาให้การโจมตีระบบและการจารกรรมข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์กลายเป็นภัย
คุกคามท่ีสาคัญ เกิดความเสี่ยงในการร่ัวไหลหรือการสูญหายของข้อมูลทางธุรกิจ ส่งผลกระทบต่อความม่ันคงของระบบการทางาน
ชอ่ื เสียงและภาพลักษณ์ของบริษัท ตลอดจนความเช่ือมั่นของผู้มีส่วนได้เสีย และหากข้อมูลถูกนาไปใช้อย่างไม่ถูกต้อง สามารถสร้าง
ความเสียหายรนุ แรงจากการสูญเสยี ลกู คา้ และคู่ค้าทางธรุ กจิ ดว้ ย

ทากราฟฟิค เป้า้ หมาย เป้า้ หมาย ผลดำ�ำ เนินิ งาน

สััดส่่วนของหน่่วยธุุรกิิจที่่�ได้้รัับการป้้องกัันการ รเปะย้าหะยมาาวยร2ะ5ย6ะ8ยาว ปีีบัญั ชเีปี 2า้ 5ห6ม4าย/2565 ปีผีบลััญกาชรีดี 2า5เน6ิน4ง/า2น565
รั่�วไสหัดลสขว่อนงขข้้อมงูหูลนว่ ยธรุ กจิ ที่ไดร้ ับการปอ้ งกัน ปี 2568 ปบี ญั ชี 2564/2565 ปีบัญชี 2564/2565

การร่วั ไหลของขอ้ มลู ร้้อรย้อลยะละ101000 รร้อ้ อ้ ยยลละะ110000 ร้อร้อ้ยยลละะ110000
จำนจวานนข้วอ้ นร้ขอ้ ้องเรรอ้ีียงนเรในียนปใรนะปเดร็น็ ะทเีด่่� เ็นกี่ทย�่ ่ีวเกกับัีย่ ขว้กอ้ ับมููล
ส่ว่ นบุุคคล ขอ้ มลู ส่วนบุคคล 00 00 00

แนวทางทางบรหิ ารจัดการ บริษัทจึงได้กาหนดให้มีการดาเนินงานร่วมกันกับหน่วยงานท่ี
บริษัทให้ความสาคัญต่อการพัฒนาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ เกี่ยวข้องท่ัวทั้งบริษัทในการบริหารจัดการระบบความปลอดภัย
เพือ่ รักษาความปลอดภัยของข้อมูลของบริษัทและข้อมูลของผู้มีส่วน ข้อมูลส่วนบุคคล และสารสนเทศ (Information Security
ได้เสียท้ังหมดที่เก่ียวข้อง ได้แก่ พนักงาน ลูกค้า พันธมิตรทางธุรกิจ Management System : ISMS) ตามแนวทางการรักษาความ
คู่คา้ ผรู้ ับจา้ ง และ หน่วยงานภาครฐั โดยมุ่งเน้นการลดความเสี่ยงทั้ง ปลอดภัยและความม่ันคงของสารสนเทศ (C.I.A.) ที่ครอบคลุมถึง
โอกาสในการเกิด (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) ท่ีจะ ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม ลั บ ข อ ง ข้ อ มู ล แ ล ะ สิ ท ธิ ก า ร เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล
เกิดข้นึ จากเหตกุ ารณ์และการโจมตีทางไซเบอร์เข้าสู่ระบบเทคโนโลยี (Confidentiality) ความครบถ้วน ถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล
สารสนเทศของบริษัท โดยมีการกาหนดคณะทางานเพ่ือทาการ (Integrity) ความพรอ้ มใช้งาน หรอื การเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลาจาก
ทบทวน (Review) ระบบความปลอดภัยบนสถาปัตยกรรมโครงสร้าง บุคคลที่มีสิทธิ (Availability) ความถูกต้องแม่นยา (Accuracy)
ทาการทดสอบ (Testing) และอบรมเพอื่ ให้เกิดความมั่นใจว่าทุกจุดท่ี ความเป็นของแท้ของแหล่งสารสนเทศ (Authenticity) และความ
เป็นอ่อนไหวของระบบจะได้รับการตรวจสอบดูแลอย่างสม่าเสมอ เป็นสว่ นตวั (Privacy)
เพื่อให้การบริหารจัดการภัยคุกคามและความอ่อนไหวของระบบ บริษัทมีการกาหนดโครงสร้างการบริหารจัดการเพื่อให้มีการ
(Threat and Vulnerability Management) ถูกดาเนินการอย่าง ติดตาม รายงาน อนุมัติสนับสนุนการดาเนินงานและการพัฒนา
ตอ่ เน่อื ง อย่างต่อเนื่องทว่ั ทัง้ องคก์ ร ดงั นี้

รายงานความยั่ง�่ ยืืน 31 มีีนาคม 2565 73

ทากราฟฟคิ บริษทั อีสเทริ น์ โพลีเมอร์ กรุ๊ป จากดั (มหาชน)
ผังโครงสร้างองคก์ ร สายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)

รองประธานเจ้า้ หน้้าที่่�บริหิ ารสาย
เทคโนโลยีสี ารสนเทศ

รองประธานเจ้าหน้าทบ่ี ริหาร
สายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผ้จู ดั การสายผูเ้ท้�จคัดั โนกโาลรยี ผจู้ ัดกาสราสราสสยนาเเยททคเศทโนคโโผลูน้้�ยโจัลีดั ยกีสี ารารสนผเจู้ ทัดศกาสราสราสยนเเททคศโนสโลายยีเทคโผูน้้�โจัลดั ผยกีจู้ีสาัดรากราสสรานสรเาสทยนศเเททคศโนโลยี ผู้้�จััดการ
สายสเาทรคสนโนเทโศลยีีสารสนเทศ สายเทคโนโลยีีสารสนเทศ
บริษทั บอริสี ษิ เัทัทิรน์อีโสี พเลทเี ิมริ ์อน์ รโ์ กพรลปุ๊ ีีเมอร์์
บริษทั แอร์โบรเรฟิิษลััทกซแ์ อจรา์กโ์ รดั เฟลกซ์บ์ จรำ�ำ ิษกััทดั แอรโ์ รคลาส จบารกิษิ ดั ััท แอร์โ์ รบครลษิ าัทสอจีสำำ�เทกัิรดั ์น โพลีแพคบริษิ ััท อีีสเทิริ ์์น โพลีีแพค จำ�ำ กััด
จกากรุ๊๊ดัป� (จมำห�ำ กาัชัดน)(มหาชน) จากดั

นอกจากนี้ บริษัทได้มีการว่าจ้างท่ีปรึกษาที่มีประสบการณ์และ 1) นโยบายเกย่ี วกับความมนั่ คงของเครอื ข่าย
ความชานาญ เพื่อให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการ ป้องกัน แก้ไขปัญหา (Network Security Policy)
และการตรวจทานด้านความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ตาม
นโยบายของบริษัท และสอดคล้องตามกรอบการดาเนินงาน 2) นโยบายเกีย่ วกับความมน่ั คงของการจดั เก็บข้อมูล
ภายใต้กฎหมายการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ และการ (Storage Security Policy)
คุ้มครองข้อมลู ส่วนบุคคล ได้แก่
3) นโยบายเก่ียวกับโปรแกรมประยุกต์ (Application
Policy)

4) นโยบายด้านการเกบ็ รักษาข้อมลู (Backup Policy)

ทากราฟฟิค

Network
Policies

Storage นโยบายความ Application
Policies มั่่น� คงปลอดภัยั ทาง Policies

ไซเบอร์์ / ข้้อมูลู

Backup
Policies

74 บริษิ ััท อีีสเทิริ ์์นโพลีเี มอร์์ กรุ๊๊�ป จำ�ำ กัดั (มหาชน)

บริษัทกาหนดกรอบการบริหารจัดการด้านความม่ันคงปลอดภัย ขอ้ มลู คคู่ า้ ท่ีมกี ารจดั เกบ็ ไว้ในฐานขอ้ มูลของบรษิ ทั รวมถงึ ขอ้
ทางไซเบอร์ของกลุ่มบริษัทแบบรวมศูนย์ (Centralization) โดยมี สญั ญาตา่ ง ๆ โดยมกี ารดาเนินการตามระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพใน
ฝ่ายสารสนเทศ (IT) ซ่ึงอยู่ภายใต้การกากับดูแลของ EPG เป็น การรอ้ งขอการใชง้ าน (Document Amendment request)
หน่วยงานท่ีรับผิดชอบหลัก ท้ังนี้แต่ละหน่วยธุรกิจ (Business รวมถึงการใช้งานระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ซึ่งมี
Unit) จะมเี จา้ หน้าท่ี IT ท่ผี ่านการอบรมเรื่องความมั่นคงปลอดภัย การกาหนดรหัส (Password) ในการเขา้ ใชง้ าน และเปลย่ี นแปลง
ทางไซเบอร์ และความปลอดภัยของข้อมูล รับผิดชอบในการ รหสั อย่างสมา่ เสมอตามระยะเวลาท่ีกาหนด โดยบริษัทไดจ้ ดั สรร
ติดตาม เฝ้าระวังภัยคุกคาม และดาเนินการสารองข้อมูล (Back งบประมาณด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นประจาทุกปี เพอื่
Up) เป็นประจาทุกวัน พร้อมท้ังรายงานการปฏิบัติการอย่าง ดาเนินงานตามกรอบการบรหิ ารจดั การดา้ นความมนั่ คงปลอดภยั
สม่าเสมอ อีกท้ังผู้ใช้งานก็จะได้รับการเสริมสร้างความรู้ผ่านการ ทางไซเบอร์ท่กี าหนดไว้ ดังน้ี
อบรม สัมมนา การเรยี นออนไลน์ และสือ่ ประชาสมั พนั ธเ์ กย่ี วกับ
การคุ้มครองขอ้ มูลสว่ นบคุ คล เช่น ขอ้ มูลพนกั งาน ขอ้ มูลลกู ค้า

ทากราฟฟคิ

วิิเคราะห์์ / จััดลำ�ำ ดัับ  มาตรการป้้องกันั
ความสำำ�คััญในการ
 ความมั่่�นคง
ดููแลรักั ษา ปลอดภััยไซเบอร์์

การกู้้�คืืนระบบ  กรอบการบริหิ าร  ระบบป้้องกันั
Recovery จัดั การด้า้ นความมั่่น� คง ข้้อมููล
ปลอดภััยไซเบอร์์ & ข้อ้ มููล
Contingency plan

ป้้องกัันรับั มืือและ   กระบวนการตรวจสอบภััย
ลดความเสีียหาย คุกุ คามโจมตีีที่�เ่ หมาะสม/
ที่อ�่ าจจะเกิิดขึ้�น้ ทันั เวลา

เพ่ือให้ดาเนนิ งานทว่ั ท้ังองคก์ รเป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั บริษัทได้ และความปลอดภยั ของขอ้ มูล ในการปอ้ งกัน ลด และแกไ้ ขปญั หา
จัดทาค่มู อื การใชง้ านสารสนเทศ ข้นั ตอนการปฎบิ ตั ิงาน และ ระบบ และผลกระทบ รวมถึงการปกปอ้ งขอ้ มลู สว่ นตัวของ พนกั งาน
การควบคมุ สารสนเทศ" เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบตั ิของบริษัท และ ลกู คา้ พันธมิตรทางธรุ กจิ ค่คู า้ ผรู้ บั จา้ ง และหน่วยงานภาครัฐ
บริษทั ยอ่ ยในการบรหิ ารจดั การความม่ันคงปลอดภยั ทางไซเบอร์

รายงานความยั่ง�่ ยืนื 31 มีนี าคม 2565 75

ผลการดาเนนิ งาน

บรษิ ัทกาหนดเปา้ หมายในการดาเนนิ งานด้านความมัน่ คงปลอดภัย ชารุด บริษัทได้ทาการซ่อมบารุงและเพิ่มการติดตามอย่างใกล้ชิด
สว่ น cyber security บริษทั ได้ตดิ ตามดแู ลอย่างใกล้ชดิ พร้อมท้ัง
ทางไซเบอร์ และการรกั ษาความปลอดภยั ของข้อมูลให้มีระบบการ

ป้องกันการร่ัวไหลของข้อมูลครอบคลุมทุกหน่วยธุรกิจ (ร้อยละ

100) และไม่มีเหตุการณ์ระบบล่ม (Zero down time) ของ ประเมินความเส่ียงเป็นระยะโดยผู้ดูแลระบบส่วนกลางร่วมกับ
ผู้ดูแลระบบของทุกหน่วยธุรกจิ
Network และ Server เกิดขึ้น และในกรณีท่ีเกิดปัญหาต้องมีการ

ฟ้นื ฟรู ะบบ (recovery) ให้กลับมาใชง้ านอยา่ งทนั ท่วงที บริษทั ได้มี

การปรับปรุงพัฒนาระบบอย่างต่อเนอื่ งและดาเนนิ การดังต่อไปน้ี เปา้ หมาย ปบี ญั ชี ปีบญั ชี ปีบัญชี
0 2562/2563 2563/2564 2564/2565
1)ตดิ ตาม (Monitoring) และตรวจสอบระบบเป็นประจาทกุ วัน Network
Down 0 0.73 0.03 0
อย่างตอ่ เน่อื งและสม่าเสมอ Time (ครงั้ / 0
เดอื น) 2.11 2.72 0
2) ปรบั ปรุงระบบ (Improvement) อุปกรณ์ Hardware หรือ
Server 0.03 0.06 0
โปรแกรม Software ให้ทนั สมยั อยตู่ ลอดเวลา Down time
(ครัง้ /เดอื น)
3) ติดตงั้ และ update โปรแกรมรกั ษาความปลอดภัย
Cyber
(security) เช่น โปรแกรม Anti Virus ในอปุ กรณส์ ว่ นกลาง security
(คร้ัง/เดือน)
ของบรษิ ัทและอปุ กรณ์ทีพ่ นักงานใชง้ านอยา่ งสมา่ เสมอ

4) พัฒนาบุคลากรภายในบริษัท โดยจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญและท่ี

ปรึกษาเข้ามาทาการฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่ฝ่าย

เทคโนโลยีสารสนเทศ ในเร่ืองการใช้งานระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศอย่างปลอดภัย เพ่ือให้พนักงานของบริษัทมีความ ส่วนการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลนั้น ผู้มีส่วนได้เสียท่ี
เกี่ยวข้องสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านการประเมินผลความพึง
รเู้ ท่าทันต่อสถานการณท์ ี่เปลีย่ นแปลงไป และรับมือได้อย่างมี พอใจภายใน การประเมินความพึงพอใจลูกค้า และการประเมิน
ความพึงพอใจของคู่ค้า หรือ ร้องเรียนผ่านกระบวนการรับเรื่อง
ประสิทธิภาพ รอ้ งเรยี นของบรษิ ทั ในกรณีท่กี ารดาเนินงานไม่เปน็ ไปตามระเบียบ
ปฏิบัติ หรือมีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล หรือมีเหตุการณ์การ
เปา้ หมาย ปบี ัญชี ปบี ัญชี ปีบญั ชี ร่ัวไหลของข้อมูลของผู้มีส่วนได้เสีย ซ่ึงในปีบัญชี 2564/2565
2562/2563 2563/2564 2564/2565 บริษัทไม่ได้รับการร้องเรียนในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการละเมิด
ข้อมูลสว่ นบคุ คล หรอื การร่วั ไหลของข้อมูลผมู้ สี ว่ นได้เสยี รวมถึง
สดั สว่ นของ ร้อยละ รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100 ร้อยละ 100 ไมพ่ บเหตุการณ์การรัว่ ไหลของขอ้ มลู บริษทั หรอื การโจมตีทาง
ไซเบอรแ์ ต่อยา่ งใด
พนักงานท่ี 100

ไดร้ ับการ

อบรม

การดาเนินงานในปีบัญชี 2564/2565 ท่ีผ่านมา แม้ว่าบริษัทจะไม่
บรรลุเป้าหมายระดับสูงสุด zero down time/zero cyber
security แต่สามารถดาเนินการฟื้นฟูระบบให้กลับมาใช้งานได้
ภายใน 1 ชว่ั โมง บรรลเุ ปา้ หมายระดับการใช้งาน
บริษัทสามารถปรับปรุงระบบให้จานวน Network down time
ลดลง โดยเพ่ิมการติดตามอย่างใกล้ชิด และสม่าเสมอ จานวน
server downtime ท่ีเพม่ิ ขน้ึ มผี ลมาจากอุปกรณ์ Hard disk ท่ี

76 บริิษััท อีีสเทิริ ์น์ โพลีีเมอร์์ กรุ๊๊ป� จำำ�กััด (มหาชน)

การบรหิ ารจดั การผลกระทบทางสง่ิ แวดลอ้ ม

เกคอเชทาวเคกกคกเอกยชชิงคราาา่ววยาลงิงิโดาามรรงาา่นบลลาดดมมมนรรงโบบตเาามนนา่าลนบบตตอ่เเเก่า่ายนนินชส่ออ่ เเกทีรรนิินธชชื่อัโสสงเีุ่รดธธหหิิค่ืื่ถออััโงงหกุรุรดยืคคมอถถมจิกกาายมืืขมมออแาขจจิิรรมุ่งขขลอแแะขขอเุ่สงงลลออะจจนงออเบสมงงะะภน้งงนดดัั บบิ่สสงรแภภา้นกแิษ่ิ่ิงงรรลคกกาากาวแแิิษษัทะอคครดาววมาาััททอุตออปรดดลีปีกออรรสุตุตปฏ้ลลอรีีดกกาสสผผฏิ้้มออบะห้ดดวาาสิมมบไัตหหย้้กววลลดทิไไัิตทรยยกก้ดดหบธกกริทรร่ีส้้หหาบบภิมรรรี่สอกรริษาามมานรรอดมกกพิิษษันนทัน้ะะดคมมีกททััททั้้นันแแคลีีากกลแแมแแรบบ้ลอาาลละมมว้บรร้องผา่ะะ้วว้ททบบรกงจผผู้ม่าา่ิหัรรกบะาาจจูู้้มมีสิิหหาับชกะะีี่สสวงงราาชชก่วฎน่่ววจรรสสยว่ว่ฎหนนัดจจไขยยดหมััดดไไกงง่ิ่ิ ขขับ้ดดเมากกาสแแับับ้้เเเรยาาาีสสยคทเเรรววยรจีียยลคคทที่ไะรึงจจือ่ลลดดมเ่ี่ีไไะใึึงงน่อื่ือบมม่ดหเลลใในนบเีย่่ีดดหห้คศซเเียบีีออ้้้้คควศศรซซ่ึงบขษาววรรอมม่ึ่ึงงมข้ษษอาาฐาออมมส้อบจกฐฐาาสสาบสจจิจกกังคาาค่สสิิงขจจังัคคญผัค่่งงบขขอััญญผผลับงออกแลลกปงงับกกแลรกกปปรัับบปะะลรระรปปรทะะเบะะะทรรททบเเบรเะะททศดบบิตหรเเศศ็ดดนิ่ตตอหแา็็นนก่่กออรตแแาาจกกากร่ตตใรนรัาาจดา่่ใใบไรรนนรัขดกดบบไไรขขณกา้ดดริหรรรณณาับ้้รระิิหหามรัับบอเะะราาดมลนออเเจรรีดดยลพนนัดจจุญวีียยพิษััดดกุุญญกาววิษากกทตันกกาาราาที่อตตใัันนยผรรนี่อาใใังยยผผลนนกจาสัังงลลกากกจจสสารกกราาจะมาาะรรปรเะมมาทะะกปปรเราาททบิกะดรรถรรบบกทิะะดขสถถอกกททาขึ้นสสรบงออาา้าึ้นรรโสบบงงงกด้้าาโิ่สสงผงงิจกกดยแิิ่่งงผผลิิกจจยเวแแลลลกากกเดววืลอรกกราาดดละืแอกรรร้ลลอทะะลแแกใ้้มออททชบลละใมมช้บบะะ้
จทแกำฎนเทอจกกจทเำททนจกกำำฎฎหยวำำคคำนนำวรกก่ทหหามหนโโนำววรรงำามมนนฟนนำำควมยงำำโโฟฟฟดรคคนกแยยาลลงั้ขฟฟรริคาลกแแคยยกัังง้้อริคคิะลลีททีรัำกก้บงโร�ะะงร่เ่เีีำำดกะรหหรรกลรรฎยิหเะะมมะาลลบหมเเาเราาะะบบยีมรุ่มงะะลเเบยยีีจิดมมเาสสะนบบขัดคดดิิยมมเอ้้ขขนกแ่ำคคมแแิบมออ้้ลา่ำ่ำกิดลลบบำมมรงัะคาะะคต่รำำงังัรมม่าบัรคคะตตปมีีปปฐเัับบรรบฏำาฐฐรรีนีิบะะำำตยบนนตสสัรตำตตขิิททฐิท้มอ้ำำธธาี่สขมมบนิิภภัอ้อขขังาาตดกอ้้อคพพัาำกกคบั มหำำลขหหน้้อ้อนนดงขดดกอขขับงออกงงฎหรมะยเาเปปะเเย้ปปย้า้ารห้า้าาหะ0หหมวปเมบมมาปปี 2า2ยียาาีี05ย522รยยบ0066ะ55รรขย8866ะะ้อะยย88ยบะะายยังวาาคววับ และบริหารจัดการมลพิษท่ีอาจจะเกิดข้ึนโดยเลือกใช้

เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน
ปีบี ปัญั ปบี ีบญัเชปีัญ้ชี า้2เเชี หปป52ี ้้าา5ม620หห654า4มม6ย//4าา22ยย/5526655565 ปปีปีบบี ผผับีัญผญั ลลัญลชกกชชีดาาี2ำีรรี �ำ2520ดดเ565นาา6ิ46เเินนน/442งินิน//52างง265าาน556นน655
ปีบญั ชี 20564/2565
ปบี ัญช0ี 25064/2565
0 0

ขบอธุรอสีบขแขบแอรกษิบเออสีนนรรทิจิษษิบบเัทเววทขิรททััทเเททน์ตขขริแ่ีอาาน์กตตอแแยโงงำกกรพออกกู่ใโร์โำำรรนพลาารรรร์โ์โรรแีพลเำรรรฟบบพยีแเเ้ืนำำฟฟลรรงพยยคทำกหิิหลลงงคี่นจซำำกกาาจนนำขจ์รรซซังจก้อจจำขข์์หำจจัดกมดดัั้อ้อวกำำดัูลมมกกัดทดักกใาาูลลู สท่อีดััดนรรใใมยอ่ีบนนรู่ใุยำทบบรรรนยู่ใิษำำรรรนพงยยิิษษปทั ำพืน้งงัทัทรนำำแ้นืทำนนคอแแท่จีกวคครออังจี่ำำววโ์หรรรังมรำำโ์โ์หวคยมมรรกดัวลคค่ังยยรรัดยำลลั่่งังุงะรสืนยยำำเยะทสสืนืนฉอจยพบฉฉำงอจจบบบัมเกำำงทบับันหัดเกกท่ำนนดัดัี้ำนแค่ำน้ี้ี น้ัลนแแรคคคอะั้ลลนรรรไบบออะะมไบบบครแ่มริษลลคครรว่ริิษษัทุมมลละวััททุุมมม หน่วยธุรกิจในต่ำงประเทศ เน่ืองจำกบริษัทอยู่ระหว่ำงกำรพัฒนำ

มระำรหหตบะนนรบบ่่ววฐยยบจำธธัดจนุุรรัดเขกกกอเิิจจ็กบงใใ็บบขนนร้ขอตตษิ ้อม่่ำำทั งงูมลปปแูลลเรรพะะะเพื่อมเเททื่อำรศศตำรรยำเเฐนนยงำำ่ืื่อองนนำงงสนจจกำำำกำกกกรำลบบดรรรดำิิษษเำนััททเนินออินกยยูู่่กรรำะะรำหหใรหใววห้เ่่ำำปงง้เปกก็นำำ็นไรรปไพพปตััฒฒตำมนนำมำำ
มระำตบรบฐจำัดนเขกอ็บงบขร้อิษมัทูลแลเพะ่ือมำรตำรยฐงำนนสกำำกรลดำเนินกำรให้เป็นไปตำม

บททอธธรำุุกษิรรสีำกกรกเทั ทำิิจจรมฟริำททีแ์นฟฟี่่ีออนฟิคยยโวพิคูู่่ใใทนนลำีแพพงกพื้้ืนนำคททร่ีี่บจจจำรัังงกหิ หหัดำววรััดดทจสสอี่ดั มมยกู่ใุุททำนรรรพผปปลืน้ รรกทำำรจ่ีกกะังำำทหรรบวกกดัทรรำุุงงะงเเสยททิง่อพพแงวมมเทดหห่ำลำำน้อนน้ันมคครรไดมงั แแ่รนลลวี้ มะะ มำตรฐำนของบรษิ ทั และมำตรฐำนสำกล

บทรำกิษรทั ำมฟีแฟนิควทำงกำรบรหิ ำรจัดกำรผลกระทบทำงสงิ่ แวดลอ้ ม ดงั น้ี

บรษิ ทั มแี นวทำงกำรบรหิ ำรEจEดั nกnำvรvผiลriกorระonทบnmทmำงeสิ่งenแวntดลat้อalม Iดlmงั นIm้ี ppacatcMt Maannagaegmemenetnt
EnvMiraoEEnnnnamgvveenmiitrraeoolnRtnnismmk eennttaaEnCllvoiIImrmmopnlmippaenaancecctattl MMaannaaMggCaeeonmmmagpeleeaminnnetnttt

บEริษnัทvใMiหr้คaoวnnำaมmgสeำeคnmัญtกaeEEับnnlnกvvMMRtiiำrriรaaoosบnnnnkรaammิหggeeeeำnnรmmจttaaeeัดllnnกRRttำiiรsskkผลกรEะnCทvบoEEiทmrnnCCำovvooงpiinmmrrloomippnnallmmeiinaaตneenncิดnnccteตeettaำaaมlllกำรเปลี่ยนแปMMลCCงaaooขnnmmอaaงggppกeellฎMaammหiiCnnaeeมttonnำnยttmaรgpะeเlบamียiบneขnt้อบtังคับ หรือ

กดยอกสคส่งั่ิ้ำงรยออคยกดสบกดกคอยสบำวยแรนะ่งั่งั่ิ่ิ้้งำำยรรยดำำววรรืนจยยวแแรบงนนะะ่่สมำำิิคำษษดันืนืดเจววบบงงิ่งวสสมมลรดคััททลดดัดเเกแนั่ิ่ิงงวว้บอรร้ำดดคคร้อลลำกใใวแแนนัันก่บบงงำ้ำ้รรผหหร้้มออดำววคกนนกกำส่่งงิผผสดร้้มมเดดลคครัคคบร่ิงำำสสปิิ่ิงสดดชเเ้อลลแทัววดรรรรงิ่ง่ิกแปป็น่ิงชชอ้้วออมแแททััำำดดำวฎแ็็นนอบดออบววงมมทมมำำดวหยออบบลำดดรบงงทที่ตเสสดล่ำยยมนิก้อษลลำำรรี่่ี่ตตเเ้ออลำำง่่ำนนี่ำิิมกกย้ออ้ษษัทม่่้ออมอคคปผงงยี่่ีมมวยยััททกมมำใััมปปผผญญลฏทขววหกกกำำำใใลลแฏฏิก้ี่อบขขเหหหกกท้กำำปลแิิกก้้จงออบบรัตััหห้ทท้กุนบบละลึงะจจงงรรััิตตตบตุกุกนนดกกไ่ียเะึึงงะะทิิตตำดพบบตรลดดใไไนำำเททมหบษิำำ้ปดดพอรรลลื่อใใรรแมมกหหบบิษษิ้้้ทัทปปทออรด่ืลบบปกกฎะ้้ัททัทยุทรรกดดจดลำรรลฎฎกะะหอ่ยยุุนกกบจจดคงำำิิหหงำกกยหหอ่่อสมนนบบควรงงรไศำำำใยย่ิิำะสสมมปษงำวรรรรนนศศรรมใใยแบ่ิ่ิิะะำษษงงำำัทนนกนจจโบมเแยยแแบบวบััททยยสลกกััโโดดรเลแแดววบบม่บยยอยยีุ่่มยสลลิษกกลละดดลมมำ่่บบออย่ีำงมุุม่ยบัทระะำำ้ลลตจอยำำดยยำำงบบระรรรรก้้ตตำรกจออยยมิษดดำรรเะะผผกฐำำรรำกกเมมบิิษษำำทัทเเนหำกกรฐฐลลำำเเบบีททััยทที่ยเนพนนินำำำกนรรกกกีีบยยึี่่ดยยเเนนรพพสิินนัำฒธดิกกรรดบบึึถดดขปรำสสุรััฒฒธธใิิะะนดดืขอถถ้อขขปกฏหกำำุุรรททนนำึ้ปืืขขออน้้ออบลกกฏิจกกิบ้มอำำึ้ึ้ปปบบนนฏบบัลลจดงิิดจจิบีัตกยออคฏฏิบ้ััจจดดำ้ททำงงดดวัิตไำ่ำยยัคคบนิิมบบกั้้ยตำำ้้ำำววริงไำำ่่ำัับบนน่มิกกััยยตตงงง่ิิ รผดมขทISะ้ำ้ลำอมผรขIตIขผมทตร่ีเOSSกนตบะะ้้กิิลลำำออกดดี่เOO่ียกรตตสบบรกกบกกำตต1วฐ่ียะ่ิงรรหรรบบำำม4ำ11กำแวฐฐทะะหหนมม0มม44ำนับกำำวททบ0นน00ตกกดำำนนดดับสบบ1ท00ตตรดดำำองัลดดิ่งส11ททำกฐรรรร่ืแอ้ออนังงั ิ่ ซงเเลำำำกกฐฐวม่ื่ืแนนตสปปึ่งซซงงนำ่ลลำำดวขบตตำิ่งสสึ่ึ่งงลลวนน่ำ่ำสลดอแมบบรำำิ่่ิงงเีี่่ววยยสส้ำอลปงวิษแแมมแรรเเนนทกม้ำำอดปปน็ววิิษษัตทแแแแกกกุลมทลดด็นน็ป่ััตตททอจบปปลลม้อทล้ังปปร่่ัดุออตจจหรมมม้้ำลลออะ้ังรรััใดดุุตตสิษใหจมหมมำำะะงงใใสสำชไัทำขขใใจจมหหด้มดห้ำำชชเไไทำำยออนด้้ีมมกพ้แดดหหก้้เเททกุ อ่ งงน้ันำีีกกกพพ้้แแ่ือกกรปกุุกกยรั้นำำ่มกก่ื่ืออครรรปปบทเีฎฎรร่่มมำปมปคครรวบททีีรบหหตำำมมปปน็อีลบววิษรบบทรตตมมะผอลอีลียบบคิษัทฐททวรรำำ้่รูะะยยำุคคมำัท1มนฐฐววยยบั ง่่ำำุุนมมดำำ11มอนนตสคผงงนนกูดดรรแบอิดตตสสมิดรคคำะะกกููลแแบิิตดดหัง้ ่มมชำรรรเเำำลลกำตตหั้ง้ังเมอ่่บบำำจโรรสมกกำดำำเเมำบัดจจีีโโยยสสมรมมตยำำดดยำดัักดดบบบมมรรรกตตอใยยแูำกกหขขวบบำรรรกกออใรลำำ้้จหบออ้คริววหำำรรสรดสจจบบ้ณครรบิิรหหิ่งำสสำดดอิสสษแณรรััรงงิ่่ิงงำำะเำำบออิิษษวคคแแจัทนรรทะเเดบบรัััววดจจบบัททนนินไทำะลดดดรรััดกิินนงไไงำบะะ้อหหลล้ดดำนำกกำงงบบบ้้มนออน้้รรำนนรำำำำืืบบมมนนออรรำำ
ทดำ้ี่เกน่ียสว่ิงกแับวดสล่ิงแ้อวมดขลอ้องทมุกทบั้งหริษมัทดยน่อ้ันยบเปรน็ ิษผัทูร้ มับอผบดิ หชมอำบยดใแู หล้คณะทำงำน

กสำอรดจคัดลก้อำงรกสับิ่งกแวฎดหลม้อำมยทแี่เปลละี่ยเพนื่อแลปดลคงวไำปมบเสร่ียิษงัทจกำกำหกำนรดปใฏหิบ้มีัตกิไำมร่ ดำ้ นส่งิ แวดล้อมของทกุ บริษทั ย่อยเปน็ ผ้รู บั ผดิ ชอบดแู ล

สอดคล้องกับกฎหมำยที่เปล่ียนแปลงไป บริษัทกำหนดให้มีกำร

รายงานความยั่ง่� ยืืน 31 มีีนาคม 2565 77

ผลการดาเนินงาน

การปฏิบัติตามกฎระเบยี บข้อบงั คบั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง การตรวจสอบโดยหนว่ ยงานภายนอกท่ีใหก้ ารรบั รองมาตรฐาน

บริษัทได้มีกำรประเมินควำมเสี่ยงที่อำจทำให้เกิดเหตุกำรณ์ที่ไม่ ในปัจจุบันธุรกิจหลักของบริษัท ได้รับกำรรับรองมำตรฐำนจำก

สอดคล้องกับกฎหมำยหรือระเบียบมำตรฐำนด้ำนสิ่งแวดล้อมของ หน่วยงำนภำยนอก ซ่งึ มีกำรตรวจสอบกำรปฏบิ ตั ิตำมกฎหมำยและ

ธรุ กจิ หลัก ดังน้ี ระเบยี บขอ้ บังคบั ที่กำหนดด้ำนส่ิงแวดล้อม ได้แก่ มำตรฐำนระบบ

ควำมเสยี่ งทำงส่ิงแวดล้อมท่เี กดิ ขึน้ กำรจัดกำรด้ำนคุณภำพ (ISO 9001) มำตรฐำนระบบกำรจัดกำร

กำร กำร สิง่ แวดลอ้ ม (ISO 14001) มำตรฐำนระบบกำรจัดกำรอำชีวอนำมัย

ธุรกิจหลกั รว่ั ไหล รว่ั ไหล คณุ ภำพ คณุ ภำพ เสยี ง และควำมปลอดภัย (ISO 45001) มำตรฐำนระบบกำรจัด
ของนำ้ ของ น้ำท้งิ อำกำศ
กำรพลังงำน (ISO 50001) ระบบกำรประเมินคำร์บอนฟุตพริ้นท์
เสีย สำรเคมี
ขององคก์ ร (ISO 14064) และระบบกำรประเมนิ วอเตอร์ฟุตพร้ินท์
บริษัท อสี เทริ ์น
กำรบรกิ ำรจัดกำรนำ้ (ISO 14046)
โพลเี มอร์ กร๊ปุ   

จำกดั (มหำชน) ธุรกจิ หลกั ISO ISO ISO ISO ISO ISO
9001 14001 45001 50001 14064 14046

บริษัทกำหนดให้ทุกหน่วยธุรกิจตระหนักและกำกับดูแลกำร บรษิ ัท อสี เทริ ์น
ดำเนินงำนอย่ำงใกล้ชิด เพ่ือลดควำมเสี่ยงด้ำนสิ่งแวดล้อมตำมท่ี
ประเมินไว้ เพ่ือให้ม่ันใจว่ำบริษัทมีระบบกำรควบคุมที่ครอบคลุม โพลีเมอร์ กรปุ๊      
ทุกกิจกรรมในกำรดำเนนิ ธุรกิจอย่ำงเพียงพอและเหมำะสมเพ่ือลด
ควำมเสีย่ งในกำรปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตำมกฎหมำยระเบียบข้อบังคับ จำกัด (มหำชน)
นอกจำกกำรตรวจสอบกำรดำเนินงำนและควำมสอดคล้องของ
กฎหมำยโดยหน่วยงำนภำยในองค์กรแล้ว บริษัทยังได้เปิดโอกำส การจัดการข้อร้องเรยี น
ให้หน่วยงำนภำยนอกอ่ืนๆ ที่มีควำมน่ำเช่ือถือ เช่น หน่วยงำน
รำชกำรท่เี กยี่ วข้อง และหน่วยงำนรับรองมำตรฐำนสำกล เข้ำมำมี บริษัทได้จัดให้มีช่องทำงรับข้อร้องเรียนที่หลำกหลำยที่ผู้มีส่วนได้
ส่วนร่วมในกำรตรวจสอบผลกำรดำเนนิ งำนของกลุ่มธุรกิจหลักของ
บริษัท เพอ่ื เป็นกำรยกระดบั ควำมเชอ่ื มั่นของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ำย เสยี ทีไ่ ด้รับผลกระทบจำกกำรดำเนินงำนของบริษัทสำมำรถเข้ำถึง
วำ่ กำรดำเนินกำรของบรษิ ัทมคี วำมถกู ตอ้ ง โปร่งใส และสอดคล้อง
กบั กฎหมำยระเบยี บข้อบังคับทีก่ ำหนดไว้ ได้ง่ำย ได้แก่ โทรศัพท์ เว็ปไซต์ และกล่องรับข้อร้องเรียนที่ติด

ตั้งอยู่บริเวณด้ำนหน้ำบริษัท และบริษัทได้กำหนดกระบวนกำร

จัดกำรข้อร้องเรียนอย่ำงเป็นระบบตำมมำตรฐำน ISO 14001 :

2015 นอกจำกน้ี บริษัทได้มกี ำรสอบกลบั เร่ืองรอ้ งเรยี นจำกชุมชน

ภำยนอก โดยทำจดหมำยถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและ

อุตสำหกรรมจังหวัดเพื่อขอตรวจสอบข้อร้องเรียนจำกผู้ท่ีได้รับ

ผลกระทบจำกกำรดำเนนิ งำนของบรษิ ัทท่รี ้องเรียนมำยังหน่วยงำน

การตรวจสอบโดยหนว่ ยงานราชการ ภำครัฐที่มอี ำนำจในกำรกำกบั ดแู ลโดยตรง
ในปีบัญชี 2564/2565 กรมโรงงำนอุตสำหกรรม กระทรวง
อุตสำหกรรมได้มีกำรตรวจสอบกำรดำเนินงำนของบริษัทในด้ำน ผลกำรดำเนินกำรในปีบญั ชี 2564/2565 นน้ั บรษิ ัทไมไ่ ดร้ บั เรอ่ื ง
ส่ิงแวดล้อมและควำมปลอดภัย และผลกระทบท่ีอำจเกิดขึ้นต่อ
สิ่งแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่น ซ่ึงพบว่ำบริษัทดำเนินกำรอย่ำง ร้องเรยี นที่เกย่ี วกับผลกระทบจำกกำรดำเนนิ งำนของบรษิ ทั และไม่
ถูกต้องเป็นไปตำมข้อกำหนด และไมม่ กี ำรละเมิดกฎหมำยระเบียบ
ข้อบงั คบั ดำ้ นสิ่งแวดล้อม (Disclosure 307-1) มีเรื่องรอ้ งเรยี นไปยงั ภำครฐั ไม่ว่ำจะเป็นหนว่ ยงำนปกครองส่วน

ท้องถ่ินและอตุ สำหกรรมจงั หวัดแต่อย่ำงใด

ปบี ัญชี ปีบญั ชี ปบี ญั ชี

2562/2563 2563/2564 2564/2565

จำนวนขอ้ รอ้ งเรยี น 0 0 0

ดำ้ นผลกระทบทำง

ส่ิงแวดล้อม

78 บริิษััท อีีสเทิิร์น์ โพลีเี มอร์์ กรุ๊ป๊� จำ�ำ กัดั (มหาชน)

การจดั การมลพิษอากาศ

จากปัญหาหมอกควันที่เป็นประเด็นสาคัญในสังคมยุคปัจจุบัน ภาคอุตสาหกรรมมักถูกกล่าวหาว่าเป็นส่วนสาคัญในการก่อให้เกิด
ปัญหาดังกล่าว จึงทาให้ภาคอุตสาหกรรมต้องหันมาพิจารณาจัดทามาตรการควบคุมปัญหามลพิษอากาศท่ีเกิดจากกระบวนการผลิต
และทาการตรวจวดั ติดตามมลพษิ อากาศให้เป็นไปตามกฎหมายกาหนดอย่างสมา่ เสมอ เพ่ือสร้างความเชื่อมั่นว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่อ
สภาพแวดลอ้ ม และสขุ ภาพของพนกั งาน รวมทง้ั ผ้มู ีส่วนได้เสยี ภายนอกอีกดว้ ย

ทำกรำฟฟิค

เป้เา้ ปห้ามหามยายระยะยาว เป้า้ หเปม้าาหยมาย ผผลลกดำา�ำ รเดนิาินเนงินางนาน
ระยะยาว 2ป5ี 265868 ปีบี ััญปชบี ีีัญ25ช6ี 245/6245/625565 ปีีบปัญั ีบญั ชีชี 2ี 2556644//22556655

จจำำนนววนนคครร้งัั้�งกกำราลระลเะมเดิ มิคิด่ำคม่่าำตมราฐตำรนฐตาำนมตขา้อมกขำ้ห้อนดของ 00 00 00
กฎำหนมดำขยแอลงกะฎระหเมบายี ยบแขลอ้ ะบรังะคเบับีียบข้้อบัังคับั

แนวทางการบรหิ ารจัดการ ในกำรพัฒนำระบบกำรจัดกำรด้ำนมลพิษอำกำศนั้น บริษัทได้
บริษัทกำหนดแนวทำงบริหำรจัดกำรมลพิษอำกำศท่ีเกิดจำกกำร อ้ำงอิงแนวทำงปฏิบัติตำมมำตรฐำนสำกล ISO 14001:2015
ดำเนนิ ธุรกจิ ของบริษัท โดยม่งุ เนน้ กำรจัดกำรมลสำรทแี่ หลง่ กำเนดิ และแนวทำงปฏิบัติอ่ืนที่เกี่ยวข้องตำมแต่กลุ่มอุตสำหกรรม ซึ่งทุก
อย่ำงมีประสิทธิภำพ และควบคุมคุณภำพอำกำศให้เป็นไปตำม ธุรกิจได้กำหนดกำรวดั ผล ติดตำม และตรวจสอบตำมมำตรฐำนสำกล
เกณฑ์มำตรฐำนทกี่ ำหนด รวมทัง้ กำหนดดัชนชี ีว้ ัดคุณภำพอำกำศที่ โดยบริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จำกัด และบริษัท แอร์โรคลำส จำกัด
เก่ียวข้องกับธุรกิจ ได้แก่ ก๊ำซซัลเฟอร์ออกไซด์ (SO2) ก๊ำซ ได้รับกำรรับรองควำมถูกต้องของข้อมูลจำก บริษัท ทูฟ นอร์ด
ไนโตรเจนออกไซด์ (NO2) ฝุ่นละอองขนำดเล็ก (PM) เพ่ือใช้ (ประเทศไทย) จำกัด ส่วนบริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค จำกัด ได้รับ
ติดตำมและตรวจวัดคุณภำพอำกำศในพื้นท่ี โดยมีเป้ำหมำยให้ค่ำ กำรรับรองจำกบริษัท เอสจเี อส (ประเทศไทย) จำกดั
ดัชนีชี้วัดคุณภำพอำกำศอย่ำงน้อยต้องมีค่ำเป็นไปตำมเกณฑ์
มำตรฐำนท่ีกฎหมำยกำหนดหรือดกี ว่ำเกณฑ์ทก่ี ฎหมำยกำหนด

กลยทุ ธห์ ลกั ของบริษทั ในการจัดการการปล่อยมลพิษอากาศ

ทำกรำฟฟิค

1

1 22
จัดทำข้อจมัดั ลู ทพำำ�ื้นข้ฐอ้ ำมูนลู ดพื้ำ้้�นนฐมาลนพิษอำกำศของทกุ หน่วยธุรกจิ ลดมลพิิษอากาศจาก
ลดมลพษิ ด้อา้ ำนกมำลศพจิิษำอกาแกหาลศ่งขกอำงเนดิ แหล่ง่ กำ�ำ เนิิด

ทุุกหน่่วยธุุรกิจิ

บริษัทได้กำหนดแนวทำงกำรดำเนนิ งำนเพ่อื ตอบสนองกลยทุ ธแ์ ตล่ ะดำ้ น โดยควำมรว่ มมอื ของบริษัทยอ่ ย โดยมรี ำยละเอยี ด ดงั นี้

กลยุทธ์ แนวทางการดาเนินงาน การดาเนนิ งานในปบี ัญชี 2564/2565

จัดทำขอ้ มลู พ้ืนฐำนดำ้ น จัดทำขอ้ มลู พนื้ ฐำนดำ้ นมลพิษอำกำศตำม ทำฐำนขอ้ มูลพื้นฐำนโดยผำ่ นกำรคำนวณกำร
มลพษิ อำกำศ กฎหมำยกำหนด โดยครอบคลมุ ทกุ ธุรกิจ ปลอ่ ยมลพษิ อำกำศท้ังปี

ตรวจวดั คณุ ภำพมลพิษอำกำศตำมขอ้ กงั วลของ

ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สียครอบคลุมทุกบริษัทยอ่ ย

รายงานความยั่ง�่ ยืนื 31 มีีนาคม 2565 79

กลยทุ ธ์ แนวทางการดาเนินงาน การดาเนนิ งานในปบี ัญชี 2564/2565

ลดมลพิษอำกำศจำก  ปรับปรุงระบบบำบัดมลพษิ อำกำศ ติดตำมค่ำกำรปลอ่ ยมลพษิ อำกำศและนำเขำ้
แหล่งกำเนิด พจิ ำรณำในกำรทบทวนโดยฝ่ำยบริหำรอยำ่ ง
น้อย 1 ครง้ั ตอ่ ปีเพอ่ื ลดควำมเสยี่ งจำก
ผลกระทบด้ำนมลพิษอำกำศ

 หนว่ ยงำนวศิ วกรรมและฝำ่ ยผลติ รว่ มกนั
ออกแบบดัดแปลงระบบบำบดั Wet scrubber
ใหม้ ขี นำดใหญข่ ึน้ เพิม่ ประสทิ ธิภำพกำรดกั จบั
มลสำร

ผลการดาเนินงาน

ธุรกิจของบริษัทท้ังหมดเป็นอุตสำหกรรมท่ีไม่มีปล่องที่มีกำรเผำใหม้ มีเฉพำะปล่องท่ีระบำยมลพิษอำกำศจำกกระบวนกำรผลิตเท่ำนั้น

บรษิ ัทได้กำหนดวิธีดักจับมลพษิ อำกำศกอ่ นปลอ่ ยออกจำกปลอ่ งระบำย ดงั น้ี

ชนิดมลพิษอำกำศ วิธกี ำรดักจับมลพิษอำกำศก่อนปลอ่ ยออกจำกปล่องระบำย

NOx Wet Scrubber System

SOx Wet Scrubber System

Persistent Organic Pollutants (POP) Activated Carbon System

Volatile organic compounds (VOC) Activated Carbon System

Hazardous air pollutants (HAP) Activated Carbon System

Particulate matter (PM) Dust Collector System

Carbon monoxide (CO) Wet Scrubber System

Carbon dioxide (CO2) Activated Carbon System

Dichloromethane (CH2Cl2) Activated Carbon System

Total Suspended Particulate (TSP) Dust Collector System

ในรอบกำรรำยงำนปบี ัญชี 2564/2565 บริษัทกำหนดให้ทุกบริษัทย่อยในกลุ่มบริษัทฯทำกำรตรวจวัดค่ำปริมำณกำรปล่อยมลพิษอำกำศท่ี

เป็นขอ้ กงั วลของผมู้ สี ่วนได้เสยี ปัจจุบนั เพอ่ื สร้ำงควำมเชอ่ื มน่ั ในกำรบริหำรจดั กำรมลพษิ อำกำศของบริษัท

ปี 2564/2565

บริษัท อสี เทริ ์นโพลีเมอร์ กรุ๊ป จำกดั (มหำชน) SO2 (<60ppm) NO2 (<200ppm) PM2.5 (ไมม่ คี ่ำมำตรฐำน)
2.50 8.00 0.00

นอกจำกนี้บรษิ ทั ไดท้ ำกำรตรวจวดั มลพิษอำกำศภำยในสถำน จัดกำรทแี่ หล่งกำเนิด เพ่อื ให้กำรดำเนินงำนเกิดประสิทธิภำพสูงสดุ
ประกอบกำรจำกทกุ แหล่งปล่อยมลพิษอำกำศเปน็ ประจำโดยใช้ ในกำรในกำรบรหิ ำรจัดกำรมลพิษอำกำศ ซ่งึ ในปบี ัญชี
บรกิ ำรทดสอบและตรวจวเิ ครำะหท์ ำงหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำรภำยนอกทีไ่ ด้ 2564/2565 ที่ผ่ำนมำ คำ่ มลพษิ อำกำศทว่ี ัดไดท้ กุ ค่ำจำกทุก
มำตรฐำนและเปน็ ทีย่ อมรับ รวมท้งั คำนวณกำรปล่อยมลพิษ แหล่งกำเนดิ อยู่ในเกณฑ์ที่กฎหมำยกำหนดตลอดทั้งปี
อำกำศในภำพรวมของบรษิ ัท เพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทำงในกำรบรหิ ำร

80 บริษิ ััท อีีสเทิิร์น์ โพลีเี มอร์์ กรุ๊�๊ป จำ�ำ กััด (มหาชน)

การใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

จากการเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาของโลกในปัจจุบัน โดยเฉพาะภาคการผลิตนั้น ทาให้มีการใช้ทรัพยากร และพลังงาน
เพื่อเข้าสู่กระบวนการผลิตในปริมาณสูง ส่งผลให้เกิดมลภาวะจากการผลิตและใช้งานทรัพยากรและพลังงานสู่สิ่งแวดล้อมและ
ระบบนิเวศน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม สาหรับแนวคิดด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนน้ัน บริษัทฯพยายามสร้างสมดุลระหว่างการเติบโตทาง
เศรษฐกิจ ควบคู่กับการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพื่อให้องค์กรเติบโตทางผลกาไรควบคู่กับการดูแลสิ่งแวดล้อมไป
พร้อมกัน

แนวทางการบรหิ ารจัดการ ฐำน โดยเป้ำหมำยหลักสำคัญของ Eco-efficiency คือ กำรสร้ำง
บรษิ ทั มงุ่ มัน่ ดำเนนิ ธุรกิจตำมกรอบกำรดำเนินงำนด้ำนควำมยั่งยืน สมดุลระหว่ำงกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจ ควบคู่กับกำรเพ่ิม
ที่ ใ ห้ ค ว ำ ม ส ำ คั ญ ต่ อ ก ำ ร เ ติ บ โ ต ข อ ง ธุ ร กิ จ ค ว บ คู่ ไ ป กั บ ค ว ำ ม ประสิทธิภำพกำรใช้ทรัพยำกรและกำรลดกำรปล่อยมลภำวะต่อ
รับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม บริษัทจึงนำหลักกำรประเมิน สิ่งแวดล้อม จะเป็นแนวทำงที่นำไปสู่กำรผลิตและกำรบริโภคที่
ประสิทธิภำพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ หรือ Eco-Efficiency ของสภำ ยง่ั ยนื (Sustainable Consumption and Production: SCP) ทั้ง
ธุรกิจโลกเพ่ือกำรพัฒนำท่ีย่ังยืน (World Business Council for ในส่วนของกำรผลิต กำรใช้สินค้ำ และกำรบริกำรที่สนองควำม
Sustainable Development: WBCSD) มำใช้เป็นดัชนีชี้วัด ต้องกำรขั้นพื้นฐำนของมนุษย์ และยกระดับคุณภำพชีวิตให้ดีขึ้น
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงมูลค่ำทำงเศรษฐกิจ (Product Value) และ ขณะเดยี วกนั ก็สำมำรถลดกำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติ ลดกำรปล่อย
ผลกระทบส่ิงแวดล้อม (Environmental impact) ท่ีแสดงถึง มลพษิ และของเสียตลอดวฏั จักรชวี ติ ของสนิ ค้ำและกำรบรกิ ำร โดย
ศักยภำพดำ้ นกำรผลิตเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของคนในสังคม มุ่งเน้นกำรผลิตและกำรใช้สินค้ำและกำรบริกำรท่ียั่งยืน กำร
และนำมำซง่ึ คณุ ภำพชีวิตที่ดีข้ึน ในขณะท่ีรักษำระดับผลกระทบที่ ปรับปรุงประสิทธิภำพกำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติและพลังงำน
มีตอ่ ระบบนิเวศและทรพั ยำกรธรรมชำติใหอ้ ยู่ในระดบั ทเ่ี หมำะสม รวมทั้งเนน้ กำรคำนึงถึงตลอดวัฏจักรชีวิตของสินค้ำและผลิตภัณฑ์
บริษัทนำผลกำรประเมินประสิทธิภำพเชิงนิเวศเศรษฐกิจไป ตั้งแต่กำรผลิต กำรใช้งำน กำรใช้ซ้ำ กำรนำวัสดุกลับมำใช้ใหม่
ป รั บ ป รุ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก ำ ร ผ ลิ ต ข อ ง บ ริ ษั ท ใ ห้ มี และกำรกำจดั ซำกผลติ ภัณฑ์
ประสิทธิภำพดีย่ิงข้ึน ลดต้นทุน รวมถึงลดกำรใช้พลังงำนและ ซ่ึงกำรคำนวณประสิทธิภำพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ หรือ Eco-
ทรัพยำกรในกระบวนกำรผลิต เพื่อสร้ำงควำมได้เปรียบในกำร Efficiency บริษัทได้ยึดถือตำมแนวทำงมำตรฐำนสำกล ISO
แข่งขันเมื่อเปรียบเทียบสมรรถนะด้ำนกำรจัดกำรกับองค์กรหรือ 14045 โดยใช้ปริมำณผลิตภณั ฑท์ ่ีผลติ ในปนี ั้นๆ สะทอ้ นกำรเตบิ โต
ภำคธุรกิจอื่นๆ ท่มี ลี ักษณะใกลเ้ คียงกนั (Benchmarking) โดยกำร ทำงเศรษฐกิจของบริษัท และใช้ปริมำณกำรปลอ่ ยก๊ำซเรือนกระจก
ประเมินค่ำประสิทธิภำพเชิงนิเวศเศรษฐกิจสำมำรถทำได้จำกกำร เป็นตัวแทนผลกระทบทำงส่ิงแวดล้อม เน่ืองจำกมีควำมเกี่ยวข้อง
พิจำรณำสัดส่วนของมูลค่ำผลิตภัณฑ์ หรือปริมำณผลิตภัณฑ์ โดยตรงกับกำรดำเนินธุรกิจของบริษัท โดยขอบเขตกำรรำยงำน
เปรียบเทียบกับผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อส่ิงแวดล้อม ซึ่งค่ำ ฉ บั บ นี้ ค ร อบ ค ลุ ม ป ริ ม ำ ณ ก ำ ร ป ล่ อย ก๊ ำ ซ เ รื อน ก ร ะ จ ก ทำ ง ต ร ง
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ ำ พ เ ชิ ง นิ เ ว ศ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ท่ี สู ง แ ส ด ง ถึ ง ก ำ ร ผ ลิ ต ท่ี มี (scope 1) และทำงอ้อม (scope 2) ของบริษัท แอร์โรเฟลกซ์
ประสิทธิภำพสูงและมีผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่ำ และ ค่ำสัดส่วน จำกดั และบรษิ ทั อีสเทริ น์ โพลีแพค จำกัด ท่ีตั้งอยู่ในพื้นท่ีจังหวัด
ระหว่ำงค่ำประสิทธิภำพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของผลิตภัณฑ์ของปีที่ ระยองเท่ำน้ัน ทงั้ น้ีข้อมูลในรำยงำนฉบับนไ้ี มร่ วมธุรกิจท่อี ยู่ในพ้ืนท่ี
ประเมนิ เทยี บกบั ประสทิ ธภิ ำพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของผลิตภัณฑ์ใน จังหวัดสมุทรปรำกำร กรุงเทพมหำนคร และหน่วยธุรกิจใน
ปีฐำน ท้ังนี้ค่ำแฟคเตอร์ X (Factor X) ที่มำกกว่ำ 1 แสดงถึงมี ต่ำงประเทศ
กำรปรับปรุงประสิทธิภำพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่ดีขึ้นเม่ือเทียบกับปี

รายงานความยั่่ง� ยืนื 31 มีนี าคม 2565 81

ผลการดาเนนิ งาน

ปบี ญั ชี 2562/2563 ปีบัญชี 2564/2565

ประสทิ ธภิ ำพเชงิ นิเวศเศรษฐกจิ 1.61 1.53
(ผตลนั กาตรอ่ ดตาันเนคนิ ำงราบ์ นอนไดออกไซดเ์ ทยี บเทำ่ )
คำ่ แฟคเตอร์ X ปบี ญั ชี 12.50602/2563 ปบี ญั ชี 02.59654/2565

ปห*(ตปมรนัีฐำะำยสนตเหทิ อ่ ปตธีบุ:ตภิ ญัผนัำลชพคกี ำ2เำชร5รงิ6ดบ์ น2ำอเ/เินน2วนิ5ศไ6ดงเำ3ศอนรอใษนกปฐไซบีกดัญจิ ์เชที 2ยี 5บ6เ4ท/2ำ่ 5) 65 มำจำกบริษัท แอรโ์ รเฟลกซ์ จำกัด และบ1ริษ.6ัท1อีสเทิรน์ โพลีแพค จำกัด 1.53

แคกำ่ ไ้แขฟกรคำเฟตฟอคิร์ X 1.00 0.95

*ปีฐำน ปีบญั ชี 2562/2563 2564/2565 มำจำกบรษิ ทั Gแrอeรโ์eรเnฟลhกซo์ uจำsกeัด แGลaะบsรษิ ทั อีสเทิรน์ โพลแี พค จำกดั
หมำยเหตุ: ผลกำรดำเนนิ งำนในปีบญั ชี

1.10 1.00 GREEN HOUSE GAS 0.95

แกไ้ ขก1ร.ำ1ฟ0ฟิค 1.00 Green house Gas 0.95

1.00 1.00 0.87 0.95
ปีฐำน 2562/63 2564/65
1.03 0.87

01..1900 2506.38/764

0.95

01..0800

0.88

0.90

0.80 2562/63 eco25e6f3f/ic6i4ency 2564/65

ปฐี ำน 2562/63 2E5c6o3e/f6fi4ciency 2564/65
ผลกำรประเมินประสิทธิภำพเชิงนิเวศเศรษฐกิจในปี 2564/2565 ใหมท่ ่ตี ิดตง้ั เพ่ิมเตมิ นน้ั ท่ีในปีท่ีผ่ำนมำยงั ไมค่ รบถว้ น แต่ทั้งน้ีบริษัท

มีค่ำแฟคเตอร์ X เท่ำกับ 0.95 ซึ่งลดลงเมื่อเทียบกับปีฐำนeco eกff็ไiมci่นeิ่งnนcอyนใจถงึ ปัญหำดังกล่ำว บริษัทยังคงมุ่งมั่นดำเนินโครงกำร

2562/2563 ในปนี ยี้ อดกำรส่งั ซื้อผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของบริษัท เร่ิม ดำ้ นกำรอนุรักษพ์ ลังงำนอย่ำงเขม้ ข้น ให้ครอบคลุมทุกเครื่องจักรที่

มผ2กตเค5ลลลีคร6ับำก่ำ่ือ2ดำสแง/ใรู่สฟ2นจปภ5ัคกอรำ6นเระวต3ใำเะหอมคใปนมิรนตก์่ปเปตXโพนีดริ ื่อแะย้ียขตสอกย่ทิทดำเำรก้งัทธจยนิำภ่ำัดกร้ี กำบสทำพับร่งัลำเษิซมชัง0้อืัทกำิง.ผต9นำแล5รริเอวกิตผซรศำภล์โึ่งรเริัณตศลดเรรฟ้ำฑดอษนลล์ทงฐพกงั้งรกซเลหับมิจ์ังมจก่ืใองดนำำำเขกปนทรอดัขีใียน2งยบมบ5เำคกีก6รยรัำบิษ4ต่ือร/ัทปัตว2งีฐจขดิ5เำักร6อตนิ่ม5รง้ัง ใกพมทดหไ็้ำีนำรมมนอ้งัยน่ท่อกมส่งิ้อตี่ำำนๆรมดิ คออตกัญนเน้ังพันรุใเเพจ่ือักพถ่ิมดษื่อึงเำ์พตปลเลนิมญัดังินนกหงน้ัธำำำุรนทรดกอป่ีใังนิจยกลปคำ่ล่องวที่ำยเบว่ผีขกคำ่ม้ บ๊ำนู่กขรซมับน้ ิษเำกรัทใยือำหยังรน้คไังดมครกูแค่องรลรมบะบรุ่งคจักมถลกษว้่ันุมทนำดท้ังสำแุกท่ิเงตนเแำค่ทินงวรั้งตดโื่อคนรลงรี้บง้จองแรักมกิษลรไำัปททะรี่

กลบั สู่สภำวะปกติ แต่ทั้งนี้ บรษิ ัท แอร์โรเฟลกซ์ จำกดั มกี ำรตดิ ตั้ง มีนัยสำคัญเพื่อลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกทั้งทำงตรงและ

เคร่ืองจักรใหม่เพ่ือขยำยกำลังกำรผลิตรองรับกำรขยำยตัวของ ทำงอ้อม เพื่อดำเนินธุรกิจควบคู่กับกำรดูแลรักษำสิ่งแวดล้อมไป

ตลำดในอนำคต โดยกำรจัดทำมำตรกำรด้ำนพลังงำนในเคร่ืองจักร พร้อม ๆ กัน

82 บริษิ ััท อีสี เทิริ ์น์ โพลีเี มอร์์ กรุ๊๊�ป จำ�ำ กััด (มหาชน)

การบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก

การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเป็นอีกหนึ่งวิกฤตท่ีมวลมนุษย์ชาติกาลังเผชิญ ซ่ึงนับวันปัญหาย่ิงทวีความรุนแรงมากข้ึนอย่างเห็นได้ชัด
ทั้งระดับน้าทะเลสูงขึ้น และสภาพอากาศแปรปรวนอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เม่ือเดือนพฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา ผู้นาจาก 196
ประเทศท่วั โลกรวมถึงประเทศไทย เข้าร่วมการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
สมัยที่ 26 (COP26) เพ่ือหารือแนวทางท่ีแต่ละประเทศจะใช้ดาเนินการจัดการปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ
ตั้งเปา้ หมายการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกสุทธิเป็นศูนย์ หรอื "net zero" ภายในปี 2050 ส่งผลให้ภาคธุรกิจต้องปรับตัวให้พร้อมต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขนึ้ ในอนาคต

แก้ไขกราฟฟคิ เป้้าหมาย เป้้าหมาย ผลดำำ�เนินิ งาน

ปริิมาณการปล่่อยก๊๊าซเรือื นกระจก ระยะยาว 2เป5้า6ห8มายระยะยปาีวบี ััญชีี 2564เป/2า้ ห56มา5ย ปีบี ัญั ผลชีกี 2า5รด6า4เ/น2ิน5ง6าน5
ป(เsทรีcียิมoบาpกณeับั ก1ปาี&ีฐร2าปน)ลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก (scope 1&2) ลดลงร้อ้ ยละ 5.00ปี 2568 ลดลงร้ป้อบียลญั ะช2ี 2.05064/2565 ลดปลีบงัญร้้อชยี ล2ะ56141/.276565
อเอตทั่ตัตัอ่ ยี รหรบนาา่กกก่วาาบั ยรรปผปปลีฐิลลา่ติ ่อ่อนภยยักัณก๊๊า๊าฑ์ซซ์ เเรรืือือนนกกรระะจจกกตอ่ หน่วยผลติ ภณั ฑ์
เททียี บกกัับปปีฐี าน ลดลงร้อยละ 5.00 ลดลงรอ้ ยละ 2.00 ลดลงร้อยละ 11.76

ลดลงร้อ้ ยละล2ด.5ล0งร้อยละ2.50 ลดลงร้อ้ ยลลดะลง1ร.อ้0ย0ละ1.00 เพิ่่เม� พขึ้มิ่ น� ขร้น้ึ อ้ รย้อลยะล4ะ.747.77

*ปีฐาน ปบี ญั ชี 2562/2563

หมายเหตุ: ผลการดาเนินงานในปบี ัญชี 2564/2565 มาจากบรษิ ัท แอรโ์ รเฟลกซ์ จากัด และบรษิ ัท อีสเทิรน์ โพลีแพค จากดั

แนวทางการบริหารจดั การ บริษัท อีสเทิร์นโพลีเมอร์ กรุ๊ป จากัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย
เม่ือโลกร้อนขึ้น ทั้งจากการเผาผลาญ น้ามัน ก๊าซ และถ่านหิน ตระหนักดีว่าการใช้พลังงานเป็นปัจจัยพ้ืนฐานที่จาเป็นต่อการ
ของภาคครัวเรือน ภาคอุตสหกรรม ภาคการเกษตร และ การ ดาเนนิ ธุรกิจ ซ่ึงกิจกรรมการใช้พลังงานก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก
ขนส่ง การเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ก่อให้เกิดภัย ดังน้ัน บริษัทจึงได้กาหนดนโยบายการพัฒนาอย่างย่ังยืนด้าน
ธรรมชาติที่รุนแรง ได้แก่ ภัยแล้งที่หนักกว่าเดิม ฝนท่ีตกหนัก ส่ิงแวดล้อม แนวปฏิบัติ กลยุทธ์และเป้าหมายในการใช้พลังงาน
กว่าเดิม น้าท่วมฉับพลัน ไฟป่าที่รุนแรง คล่ืนความร้อนนาน อย่างมีประสิทธิภาพ และการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน
กว่าเดมิ และพืชผลท่ีไมอ่ อกตามฤดกู าล เป็นต้น กระจกขององค์กร รวมถึงการป้องกันและลดผลกระทบจากการ
นอกจากนี้ ท่วั โลกมเี ปา้ หมายร่วมกันในการจากัดอุณหภูมิของโลก เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยบริษัทได้มอบหมายให้บริษัท
ให้สูงข้ึนไม่เกิน 2 องศาเซลเซียส โดยพยายามท่ีจะการรักษา ย่อยกาหนดมาตรการเพื่อบริหารจัดการการใช้พลังงานและการ
อณุ หภมู ิโลกให้สงู เพิม่ ข้นึ ไมเ่ กนิ 1.5 องศาเซลเซียสจากระดับก่อน ปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกตามความเหมาะสมของแต่ละลักษณะธุรกิจ
ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ตามข้อตกลงปารีสในการประชุม COP21 ใหส้ อดคลอ้ งกบั กลยุทธ์หลักในการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
สาหรับประเทศไทยประกาศเป้าหมายจะเป็นกลางทางคาร์บอน ของบริษัท ทั้งน้ี บริษัทได้มอบหมายให้คณะทางานการพัฒนา
(Carbon Neutral) และ เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิ อย่างยั่งยืนและคณะทางานกลุ่มย่อยของแต่ละบริษัทย่อย เป็น
เป็นศูนย์ (Net Zero GHG Emission) อาจนามาสู่การออก ผูต้ ิดตามผลการดาเนนิ การโดยมีการประชมุ เพือ่ สรปุ ผล 1 ครงั้ ต่อปี
กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ พร้อมท้ังสื่อสารและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกระดับ
ภมู ิอากาศทเ่ี ข้มข้นขึ้นในอนาคต ซ่ึงเป็นความท้าทายของบริษัท ที่ รวมไปถึงคู่ค้าในห่วงโซอ่ ปุ ทาน ใหม้ ีความตระหนักรแู้ ละดาเนนิ งาน
จะยกระดับการบริหารจัดการด้านก๊าซเรือนกระจก ให้สอดคล้อง เพอ่ื สนบั สนนุ การลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกรว่ มกนั
กบั ทิศทางของโลกท่กี าลงั จะเกิดข้นึ เช่นกนั

รายงานความยั่่ง� ยืืน 31 มีีนาคม 2565 83

กลยทุ ธ์หลักของบริษัทในการบริหารจดั การก๊าซเรอื นกระจก

แกไ้ ขกราฟฟคิ

1 จดั ทา Carbon Footprint ขององคก์ รและผลิตภณั ฑ์
ลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนผกลลริดะิตกจเกาพืร่จ่�อปาลลก่ดอ่แกยหากล๊ร๊าง่ ปซผลเ่ลร่อืติือยนกเ๊กพ๊ารซอ่ื ะเลจรืดกอื กจนาากรกรปแะจลหกอ่ล่ง่ยก๊าซเรอื นกระจกทางตรง
เพิ่มประสทิ ธภิ าพการใชทพ้ าลงังตงรางน(เsพcoอื่ pลeดก1)ารปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกทางอ้อม (scope 2) (scope 1)ส่่งเสริมิ การใช้้พลังั งาน
2 ทดแทน

2 43

4 สง่ เสรมิ การใช้พลังงานทดแทน เพิ่่�มประสิิทธิิภาพการใช้พ้ ลังั งาน

1 จััดทำ�ำ Carbon Footprint 3 เพื่่�อลดการปล่อ่ ยก๊๊าซเรืือนกระจก
ขององค์ก์ รและผลิติ ภััณฑ์์ ทางอ้อ้ ม (scope 2)

บริษทั ได้กาหนดแนวทางการดาเนนิ งานเพ่ือตอบสนองกลยทุ ธ์แตล่ ะด้าน โดยความรว่ มมือของบริษัทยอ่ ย โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้

กลยุทธ์ แนวทางการดาเนินงาน การดาเนนิ งานในรอบการรายงานปบี ญั ชี 2564/2565

จัดทา Carbon จดั ทาการประเมินการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก  บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จากดั ได้รับใบรับรองคาร์บอนฟตุ

Footprint ขององค์กร ขององคก์ ร และ/หรือ ผลติ ภัณฑ์ ในทุกธรุ กิจ พร้ินท์ขององค์กร ต่อเนื่องเป็นปที ี่ 5 และใบรับรอง

และผลติ ภัณฑ์ คาร์บอนฟุตพร้ินท์ของผลติ ภณั ฑ์เพิ่มจากเดิมจานวน 26

ผลติ ภัณฑ์ รวมท้ังสน้ิ 40 ผลิตภณั ฑ์ และเป็นบริษัทฯ

แรกในประเทศไทยที่ขอรับรองคาร์บอนฟตุ พริ้นท์ของ

ผลติ ภัณฑ์ประเภทเทปกาว

 บรษิ ทั อสี เทิร์น โพลีแพค จากดั ไดร้ ับการรับรองการ

ปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกขององค์กรเป็นต่อเนอื่ งเปน็ ปที ่ี 2

 บรษิ ัท แอร์โรคลาส จากัด เข้ารว่ ม โครงการขยายผลการ

สง่ เสริมการจดั ทาคารบ์ อนฟตุ พรน้ิ ทข์ ององค์กรใน

ภาคอตุ สาหกรรม ภายใต้งบประมาณสนบั สนนุ จาก

องค์การบริหารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก องคก์ ารมหาชน

เพอ่ื ประเมินคา่ การปล่อยก๊าซเรอื นกระจกขององคก์ รเปน็

ปีแรก

ลดการปลอ่ ยก๊าซเรือน ลดการรว่ั ไหลของสารทาความเย็น  เปล่ยี นเครื่องปรับอากาศทีใ่ ช้สารทาความเย็นชนิด R22

กระจกจากแหลง่ ผลติ เปน็ R32

เพอื่ ลดการปล่อยก๊าซ ลดการใชเ้ ช้อื เพลงิ ฟอสซิล  เปลี่ยนรถโฟลค์ ลิฟท์ในองค์กรให้มีประสิทธภิ าพดขี ้นึ

เรือนกระจก scope 1

84 บริษิ ััท อีีสเทิริ ์์นโพลีเี มอร์์ กรุ๊ป๊� จำ�ำ กัดั (มหาชน)

กลยทุ ธ์ แนวทางการดาเนินงาน การดาเนินงานในรอบการรายงานปบี ญั ชี 2564/2565
เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการใช้ ลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าในกระบวนการผลิต  เปลยี่ นหลอดไฟส่องสวา่ งจาก Fluorescent เปน็ LED
พลังงาน เพ่ือลดการ
ปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก เพิ่มประสทิ ธภิ าพการใช้พลงั งาน โดย High bay
scope 2 ตรวจสอบและปรับปรงุ เคร่อื งจกั รท่ีใช้  เครือ่ งปรับอากาศท่ีมีประสิทธิภาพสูง
พลงั งานไฟฟา้ มากในกระบวนการผลติ  ปรับลดอณุ หภูมิเครอ่ื งเคลือบกาว
สง่ เสรมิ การใชพ้ ลงั งาน
ทดแทน เพิ่มการใช้พลังงานสะอาดในกระบวนการ  เปล่ียนเครื่องอดั อากาศประสทิ ธิภาพสูง
ผลติ และในพ้นื ทตี่ า่ งๆ ของบริษทั  เปลี่ยนระบบทาความเย็นจาก Chiller เป็น Cooling

Tower
 ปรบั ปรุงประสิทธภิ าพเคร่อื งทาน้าเย็น

 บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จากัด อยรู่ ะหว่างการตดิ ตัง้ ระบบ
ผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานแสงอาทิตยบ์ นหลังคาอาคารผลิต
กาลังการผลติ ไฟฟ้าอยูท่ ี่ 3.9 เมกะวัตต์

 บริษัท แอร์โรคลาส จากัด อยรู่ ะหว่างการติดตง้ั ระบบ
ผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานแสงอาทติ ย์บนหลังคาอาคารผลิต
กาลังการผลิตไฟฟ้าอยู่ท่ี 8.0 เมกะวตั ต์

 บริษัท อสี เทิรน์ โพลีแพค จากัด อยู่ระหวา่ งการตดิ ตั้ง
ระบบผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาอาคาร
ผลิต โดยมกี าลงั การผลิตไฟฟา้ อยทู่ ี่ 4.9 เมกะวัตต์
เพ่ิมเตมิ จากเดมิ ทีม่ ีการตดิ ตั้งอยู่แลว้ 1 เมกะวัตต์

ผลการดาเนินงาน 2564/2565 น้ี ได้รับการทวนสอบข้อมูลความถูกต้องของข้อมูล
การจดั ทา Carbon Footprint ขององค์กรและผลิตภัณฑ์ จากสถาบันน้าและส่ิงแวดล้อมเพ่ือความย่ังยืน สภาอุตสาหกรรม
บรษิ ทั ได้จัดทารายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (scope แห่งประเทศไทย
1) การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกทางอ้อมจากการใช้พลังงาน (scope ในปีบัญชี 2564/2565 บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จากัด ได้รับการรับรอง
2) และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ (scope 3) โดย การปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร (Carbon Footprint for
อ้างอิงวิธีการคานวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากแนว Organization: CFO) จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
ทางการประเมินคาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององค์กรขององค์การบริหาร (องค์การมหาชน) ต่อเนื่องเป็นปีท่ี 5 ในการดาเนินการจัดทา
จัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ทั้งน้ี ก๊าซเรือนกระจก คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร บริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค จากัด
ในแต่ละ scope ที่บริษัทใช้ในการคานวณประกอบด้วย ได้รับการรับรองคาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององค์กรต่อเนื่องเป็น ปีท่ี 2
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) และบริษัท แอร์โรคลาส จากัด เข้าร่วม โครงการขยายผลการ
กลุ่มไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFC6) เพอร์ฟลูออโร-คาร์บอน ส่งเสริมการจัดทาคาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรม
(PFCs) ซัลเฟอร์เฮ็กซาฟลูโอไรด์ (SF6) และไนโตรเจนฟลูออไรด์ ภายใต้งบประมาณสนับสนุนจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน
(NF3) ซ่ึงบริษัทได้ทาการรวบรวมข้อมูลกิจกรรมการปล่อยก๊าซ กระจก องคก์ ารมหาชน เพ่ือประเมินค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
เรือนกระจกเพ่ือนามาคานวณค่าคาร์บอนฟุตพริน้ ทข์ ององค์กรเป็น ขององค์กรเป็นปแี รก
ประจาทุกปี โดยข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ บริษัท
แอร์โรเฟลกซ์ และบริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค จากัด ในปีบัญชี

รายงานความยั่�ง่ ยืนื 31 มีนี าคม 2565 85

*รายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกลมุ่ บรษิ ัท EPG ครอบคลุมเฉพาะ แม้ว่าปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวมขององค์กรจะ
บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จากัด และบริษัท อีสเทิรน์ โพลีแพค จากดั ลดลง แต่อัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของ
บริษัทยังคงเพิ่มข้ึนร้อยละ 4.77 เมื่อเทียบกับปีฐาน 2562/2563
ในรอบการรายงานปีบัญชี 2564/2565 บริษัทมีการปล่อยก๊าซเรือน จาก 0.62 เป็น 0.65 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อตัน
กระจกทางตรง (scope 1) จานวน 826 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ ผลติ ภณั ฑ์ เน่อื งจากบริษัท แอรโ์ รเฟลกซ์ จากัด ขยายพนื้ ที่โรงงาน
เทียบเท่า (Disclosure 305-1) และปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพ่ิมข้ึน 15,000 ตารางเมตร สามารถเพิ่มกาลังการผลิตข้ึนอีก
ทางอ้อมจากการใช้พลังงาน (scope 2) จานวน 29,982 ตัน 6,000 ตนั ต่อปี เพือ่ รองรับความต้องการของตลาดในอนาคต ทั้งน้ี
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (Disclosure 305-2) รวมก๊าซเรือน จ า ก ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ดั ง ก ล่ า ว ส่ ง ผ ล ใ ห้ ก า ร จั ด ท า ม า ต ร ก า ร ด้ า น
กระจก scope 1 และ 2 ที่บริษัทปลดปล่อยเท่ากับ 30,808 ตัน พลังงานเพ่ือควบคุมเครื่องจักรใหม่ที่มีนัยยะสาคัญยังไม่ครบถ้วน
คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ ลดลง 4,105 ตนั คารบ์ อนไดออกไซด์ จึงทาให้คา่ อัตราการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกตอ่ หนว่ ยผลติ ภัณฑ์เพ่ิม
เทยี บเท่า หรือรอ้ ยละ 11.76 เมื่อเทียบกับปีฐาน 2562/2563 สงู ข้นึ ในรอบการรายงานน้ี

การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทางออ้ มอ่นื ๆ (Scope 3)
ในรอบการรายงานปีบัญชี 2564/2565 บริษัทปล่อยก๊าซเรือน
กระจกทางอ้อมอ่ืนๆ (scope 3) จานวนรวม 39,915 ตัน
คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ เนอ่ื งจากองค์การบริหารจัดการก๊าซ
เรือนกระจก องค์การมหาชน ผู้ให้การรับรองการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกของประเทศได้ทาการเปล่ียนข้อกาหนดการรายงานก๊าซ
เรือนกระจกจากการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ (Scope
3) ซ่ึงเป็นไปตาม ISO 14064 -1 โดยเพิ่มเติมข้อกาหนดท่ีว่า
องค์กรต้องมีกระบวนการช้ีบ่งแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก พร้อม
ทงั้ ระบเุ กณฑ์ประเมินนยั สาคญั ที่ใช้ในการพิจารณา โดยมีผลบังคับ
ใช้ในการรายงานในเดือนตุลาคม 2564 จากข้อกาหนดดังกล่าว
บริษัทฯจึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนประเภทของกิจกรรมที่ต้องถูก
รายงานในการก๊าซเรือนกระจกจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ทางออ้ มอื่นๆ (Scope 3) ในรอบปที ผี่ ่านมา

*รายงานการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกของกลมุ่ บริษัท EPG ครอบคลมุ เฉพาะ
บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จากัด และบริษทั อสี เทิร์น โพลีแพค จากัด

86 บริิษััท อีสี เทิริ ์์นโพลีีเมอร์์ กรุ๊ป๊� จำ�ำ กััด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ ประเภทของกิจกรรม การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก
ทางออ้ มอืน่ ๆ (scope 3)
การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกทางอ้อมจากการซ้ือวัตถดุ บิ และบรกิ าร
หน่วย: ตัน CO2e
(Purchased goods and services) 35,553

การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกทางออ้ มจากกิจกรรมทีเ่ กยี่ วข้องกบั เชอ้ื เพลิง 4,294

บรษิ ัท อสี เทริ ์นโพลีเมอร์ กรุ๊ป และพลังงาน (Fuel- and energy related activities) 29

จากัด (มหาชน) การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทางออ้ มจากของเสียจากดาเนินกิจกรรมใน 39

องค์กร (Waste generated in operations)

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการขนส่งปลายน้าและการกระจายสนิ คา้

(Downstream transportation and distribution)

ภาพประกอบเกย่ี วกับการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก

รายงานความยั่่�งยืืน 31 มีีนาคม 2565 87

การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพพลงั งาน

จากท่ีประเทศไทยรว่ มประกาศเป้าหมายทจ่ี ะปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศนู ย์ (Carbon Neutral) จากการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก
จากการดาเนินธุรกจิ หลักของบริษัทฯทงั้ สามธุรกจิ คอื การปล่อยก๊าซเรอื นกระจกทางออ้ มจากการใช้พลังงานไฟฟ้าที่ซ้ือมา (scope 2)
โดยบริษัทฯได้พยายามมุ่งเน้นการค้นหาแหล่งพลังงานทดแทน รวมทั้งดาเนินมาตรการลด และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานใน
กระบวนการผลิต เพอื่ ลดตน้ ทนุ รวมทงั้ ลดทอนความเสย่ี ง และผลกระทบจากการใช้พลงั งานขององค์กร

ทากราฟฟคิ ระยเเปปะ้ยา้า้ าหหวมปมาี2า2ย5ย5ร66ะ8ย8ะยาว ปีบี ัปญั บี เชัญปี้ี ้าเ2ชปห5ี า้2ม6ห54าม6ย/4า2ย/5256655 ปีปีบผับี ผญัลญั ลกชชาดีำรีี ำ�22ดเ55าน6ิ6เนิน44นิง//2งา25าน56น655
ลดลงลรด้อ้ ลยงลระอ้ ย2ล.5ะ02.50 ลดลลดงลร้อ้งรย้อลยะล1ะ.010.00 เเพพิ่่ม�ม่ิ ขขึ้�นึ้นรร้้ออ้ ยยลละะ 1155..1144
ออตััตั รราากกาารรใชใชพ้้้พลลังัังงาานนตตอ่่อ่ หหนน่ว่ ว่ยยผผลติิ ิตภภณััณั ฑฑ์์(์ Energy
In(Etennesrgityy)Inเtทeยีnบsiกtyับ) ป เีฐทาีีนยบกับั ปีฐี าน
*ปฐี าน ปีบัญชี 2562/2563

ผลการดาเนนิ งาน
บริษัทได้พัฒนาและปรบั ปรุงกระบวนการทางานเพื่อลดการใช้พลังงานในจุดท่ีประเมินแล้วว่ามีการใช้พลังงานมาก โดยไม่ส่งผลกระทบต่อ

คณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์ ตามแนวทางการดาเนินงานดา้ นพลงั งาน ดังนี้

ทากราฟฟิค

ตมรกีวจารปใรชะ้พเมลินังงจาดุ นท่ี 

ตรวจประเมิิน มาก จัดั ทำำ�โครงการ
เพื่่�อเพิ่่�ม
จุดุ ที่่ม� ีีการใช้้
พลัังงานมาก ปรจเะพัดสิท่มิ ิทใาปชธ้โิรพ้คภิ ะลราสังพทิังกธางกรภิ าาเานพรพื่อ
การใช้พลงั งาน
รายงานผล
โครงการและ
ปรบั ปรุงเพิ่มเติม



รายงานผล 
โครงการ
และปรับั ปรุุง ดำำ�เนิินการ
เพิ่่�มเติมิ
ดาเนนิ การ ปรับั ปรุงุ
ตดิ ตามวัดผล ปรับปรุง
โครงการ 

ติิดตาม
วััดผลโครงการ

88 บริิษััท อีสี เทิิร์น์ โพลีีเมอร์์ กรุ๊๊�ป จำำ�กัดั (มหาชน)

บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จากัด และบริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค จากัด โพลีแพค จากดั ได้ผา่ นการรบั รองมาตรฐาน ISO 50001:2011
บริษัทไดด้ าเนนิ การวดั ผล ติดตาม และตรวจสอบตามมาตรฐานสากล แลว้ สว่ นบรษิ ัท แอร์โรคลาส จากดั มแี ผนดาเนนิ การใหไ้ ดร้ ับการ
ดา้ นระบบการจดั การดา้ นพลังงาน ISO 50001:2011 ส่วนข้อมูลด้าน รบั รองตอ่ ไปในอนาคต
ระบบการจัดการพลังงานที่รายงานในฉบับนี้ ได้รับการรับรองความ ในรอบการรายงานปีบัญชี 2564/2565 บริษัทมีโครงการเพื่อเพิ่ม
ถกู ต้องของกระบวนการ จาก บรษิ ทั ทูฟ นอรด์ (ประเทศไทย) จากดั ประสิทธิภาพการใช้พลังงานจานวน 6 โครงการ ซึ่งสามารถ
บริษัทต้งั เปา้ หมายใหท้ กุ หนว่ ยธุรกิจต้องได้รบั รองมาตรฐานสากล ประหยัดการใช้พลังงานได้รวมท้ังส้ิน 15,512,576 เมกะจูล คิด
ด้านระบบการจดั การดา้ นพลงั งาน ISO 50001:2011 ซึ่งในปบี ัญชี เป็นมลู ค่า 15.25 ล้านบาท สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
2564/2565 บรษิ ัท แอร์โรเฟลกซ์ จากัด และบรษิ ทั อีสเทริ ์น ได้ 2,154 ตันคาร์บอนไดออกไซดเ์ ทียบเทา่ (Disclosure 302-4)

หนว่ ยธรุ กิจ โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชพ้ ลงั งาน พลังงานท่ลี ดได้ มลู ค่า ลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก
(เมกะจูลต่อป)ี (บาท/ป)ี (ตันคารบ์ อนไดออกไซด์
เทยี บเทา่ )
6,774,325
โครงการเปล่ยี น Air Compressor 6,661,420 941
ประสิทธภิ าพสงู 617,142
บริษัท อีสเทริ น์ โครงการเปลี่ยน Chiller เปน็ Cooling 909,967 606,856 86
โพลีเมอร์ กรุป๊ Tower 63,151 894,801 126
จากัด (มหาชน) โครงการตดิ ตั้งโคมไฟ LED High Bay 62,099
2,529,512 9
โครงการติดตง้ั เครอ่ื งปรบั อากาศ
ประสทิ ธภิ าพสูง 4,618,478 2,487,353 351
โครงการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพเคร่ืองทานา้ 15,512,576
เย็น 4,541,504 641
โครงการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลงั งาน 15,254,033 2,154
แสงอาทิตย์

รวมทง้ั หมด

หลังจากดาเนินโครงการไปตลอดทั้งปี พบว่าบริษัทใช้พลังงานใน 400,000,000 ปริมาณการใชพ้ ลังงานขององคก์ ร MJ 381,317,384
องคก์ รรวมท้ังสิน้ 381,317,384 เมกะจลู ลดลง 55,523,480 350,000,000 4,618,478
เมกะจูล หรือร้อยละ 1.43 เม่ือเทียบกับรอบการรายงานปีฐาน 386,840,865
2562/2563
4,717,585

355,821,056
4,718,449

300,000,000 382,123,280 351,102,607 376,698,906
2562/63 2563/64 2564/65
ปรมิ าณการใชพ้ ลงั งาน
ปริมาณพลังงานหมนุ เวยี น

รายงานความยั่�่งยืนื 31 มีีนาคม 2565 89

แม้ว่าปรมิ าณการใช้พลังงานโดยรวมของบริษัทลดลง แต่อัตราการ มหาชน เพ่ือประเมินค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ใช้พลังงานต่อหนว่ ยผลติ ภณั ฑเ์ พิม่ ขนึ้ รอ้ ยละ 14.99 เมอ่ื เทียบกับ ขององคก์ รเป็นปแี รก
ปีฐาน 2562/2563 ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ เน่ืองจากบริษัท 2. บริษทั แอร์โรเฟลกซ์ จากัด ได้รับการรับรอง ฉลาก
แอร์โรเฟลกซ์ จากัด ติดต้ังเครื่องจักรใหม่เพ่ือขยายกาลังการผลิต คาร์บอนฟุตพริ้นท์สาหรับผลิตภัณฑ์ (Carbon
รองรับการขยายตัวของตลาดในอนาคต ส่งผลให้การจัดทามาตรการ Footprint for Product: CFP) ได้แก่ฉนวนกัน
ด้านพลังงานในเคร่ืองจักรใหม่ท่ีใช้พลังงานมากในปีท่ีผ่านมายังไม่ ความรอ้ นในระบบทาความเย็นที่ผ่านมาตรฐานการ
ครบถ้วน รวมท้ังสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ทาให้ ลามไฟตามข้อกาหนด FM Approve “ Aeroflex
ผู้บริโภคมีพฤติกรรมเปล่ียนไปโดยนิยมสั่งสินค้าเป็นแบบย่อยๆแต่ EP และ Aefoflex FO” รวมทั้งฉนวนปราศจาก
หลายคร้ังทาให้ไม่สามารถเข้าสู่การผลิตแบบ Economic Scale ส่วนผสมของสารฮาโลเจนปลอดภัยต่อผู้อยู่อาศัย
สง่ ผลใหต้ ้นทุนการใชพ้ ลงั งานในการผลิตสงู มากขึ้นในรอบปีท่ีผ่านมา “Aeroflex HF” และได้รับการรับรองผลิตภัณฑ์
ประเภทเทปกาวรายแรกของประเทศไทย
การสรา้ งความร่วมมือกับพนั ธมติ รเพือ่ สง่ เสรมิ การลดการปลอ่ ย “Aerotape” จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน
ก๊าซเรอื นกระจก กระจก (องค์การมหาชน)
ในรอบการรายงานปีบัญชี 2564/2565 บริษัทแสดงเจตนารมณ์
และความมุ่งม่ันที่จะเป็นผู้นาด้านการบริหารจัดการก๊าซเรือน
กระจก ดงั น้ี

1. บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จากัด ได้รับการรับรองการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร ( Carbon
Footprint for Organization: CFO) จากองค์การ
บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
ตอ่ เนอื่ งเปน็ ปีท่ี 5 ในการดาเนินการจัดทาคาร์บอน
ฟุตพร้ินท์ขององค์กร บริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค
จากัด ได้รับการรับรองคาร์บอนฟุตพร้ินท์ของ
องค์กรต่อเนื่องเป็นปีท่ี 2 และบริษัท แอร์โรคลาส
จากัด เข้าร่วม โครงการขยายผลการส่งเสริมการ
จั ด ท า ค า ร์ บ อ น ฟุ ต พ ร้ิ น ท์ ข อ ง อ ง ค์ ก ร ใ น
ภาคอตุ สาหกรรม ภายใต้งบประมาณสนับสนุนจาก
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก องค์การ

90 บริษิ ััท อีสี เทิิร์์นโพลีีเมอร์์ กรุ๊�๊ป จำ�ำ กัดั (มหาชน)

3. บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จากัด ลงนามบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือในโครงการนาร่องซื้อขายก๊าซเรือน
กระจกในเขตพน้ื ท่ีโครงการพฒั นาระเบียงเศรษฐกิจ
พิเศษภาคตะวันออก เพ่ือสนับสนุนการลงทุนแบบ
เศรษฐกิจคารบ์ อนต่า ร่วมกับองค์การบริหารจัดการ
กา๊ ซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน) และ ศูนย์ความ
เ ป็ น เ ลิ ศ ท า ง ด้ า น พ ลั ง ง า น เ ชิ ง นิ เ ว ศ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์
ส า นั ก ง า น ศู น ย์ วิจั ย แ ล ะ ให้ ค า ป รึ ก ษ า แ ห่ ง
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

รายงานความยั่�่งยืนื 31 มีนี าคม 2565 91

การบรหิ ารจดั การของเสยี

จากโครงสร้างพืน้ ฐานเร่ืองการบริหารจัดการของเสียในประเทศนั้น ถูกยกเป็นปัญหาสาคัญที่ต้องเร่งแก้ไข รวมทั้งภาครัฐได้ยกปัญหา
ดงั กล่าวข้นึ เปน็ วาระแหง่ ชาติ ส่งเสริมแนวคิดและมาตรการให้แก่ภาคอุตสาหกรรม โดยมุ่งเน้นท่ีมาตราการตอบสนองในการป้องกัน
ผลกระทบเชิงลบตอ่ สิ่งแวดล้อม และคานงึ ถึงการพฒั นาอยา่ งย่งั ยืนตามแนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวียนเปน็ หลกั ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรม
ต้องหาแนวทางการบริหารจัดการของเสียอย่างถูกต้องและเป็นไปตามมาตรฐานท่ีกฎหมายกาหนดอีกท้ังบริษัทยังสามารถลดต้นทุนใน
การผลติ ไดอ้ กี ดว้ ย

ทำกรำฟฟิค เปเ้ป้า้าหหมมาายยระยะยาว เป้า้ หเปม้าาหยมาย ผผลลกดำาำ�รเดนิาินเนงนิ างนาน
ระยะยาว ป2ี5265868 ปีบี ัญั ปชีบีีัญ25ช6ี 245/6245/625565 ปีบี ปััญบี ัญชีชี 2ี 2556644//22556655
Gอ(อ(ตWััตeััตนั รnaรตำes่าก่อtrกeaำตัรtาันiGเoรกผenเลิดกิnิขติIิeดnอภrขัtaงณัeเอtnสiฑoง์sยี ์)เniตtสyี่อีI)nยหตเt่นทe่อว่ยีnหยบsนผi่ปtลy่วฐี )ติยำภผเนทลณัีิี(ยติฑตบนั ์ภป(ัตีWัีฐณอ่ าaตฑน์sัน์te เพิ่เ่�มพข่มิึ้�นขง้นึ ร้ร้ออ้ ยยลละะ88.6.611
ผลิตภณั ฑ)์ ลดลงรล้อ้ ดยลลงะรอ้ 1ย0ล.0ะ010.00 ลดลลงดร้้อลยงรลอ้ ะย4ล.ะ004.00

*ปีฐำน ปบี ัญชี 2562/2563

แนวทางการบรหิ ารจดั การ ข้อบังคับที่เก่ียวข้องกับกำรจัดกำรของเสียอย่ำงเคร่งครัด และ
ขอบเขตกำรรำยงำนข้อมูลของเสียในรำยงำนควำมย่ังยืนฉบับน้ี สง่ เสรมิ กำรพัฒนำกระบวนกำรผลิตท่ีช่วยลดกำรเกิดของเสียหรือ
ครอบคลุมบริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จำกัด, บริษัท แอร์โรคลำส จำกัด นำกลับมำใช้ใหม่ โดยมีกรอบกำรดำเนินงำนตำมมำตรกำร 3 ป.
และบริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค จำกัด ท่ีอยู่ในพ้ืนที่จังหวัดระยอง ได้แก่ “กำรประหยัด” คิดทบทวนกำรเกิดของเสีย ลดกำรเกิด
เท่ำนั้น ไม่รวมธุรกิจท่ีอยู่ในพ้ืนท่ี จังหวัดสมุทรปรำกำร ของเสียโดยไม่จำเป็น และพิจำรณำลดของเสียที่แหล่งกำเนิด
กรงุ เทพมหำนคร และหน่วยธุรกิจในต่ำงประเทศ เน่ืองจำกบริษัทอยู่ “ประโยชน์” สร้ำงประโยชน์จำกของเสียที่เกิดขึ้นขององค์กรโดย
ระหวำ่ งกำรพัฒนำระบบจัดเก็บข้อมูล เพ่ือรำยงำนกำรดำเนินกำรให้ พิจำณำ ปรับปรุงของเสียให้มีคุณภำพที่เหมำะสมและเข้ำสู่
เปน็ ไปตำมมำตรฐำนของบรษิ ทั และมำตรฐำนสำกล กระบวนกำรผลิตอีกครั้ง และ “กำรเพิ่มประสิทธิภำพ” เพิ่ม
บริษัทกำหนดเปน็ นโยบำยกำรพฒั นำอย่ำงย่งั ยืน ด้ำนสิ่งแวดล้อม ให้ ประสิทธิภำพกระบวนกำรผลิตเพ่ือลดกำรเกิดของเสียให้มำกที่สุด
ทุกหนว่ ยธุรกิจปฏบิ ัติตำมกฎหมำยระเบียบ

92 บริษิ ััท อีีสเทิิร์์นโพลีีเมอร์์ กรุ๊ป�๊ จำ�ำ กััด (มหาชน)

บริษัทมอบหมำยให้คณะทำงำนกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนเป็นผู้ ผ่ำนคณะทำงำนด้ำนส่ิงแวดล้อมของแต่ละบริษัทย่อย โดยในกำร
ท บ ท ว น ก ำ ร ก ำ ห น ด เ ป ้ำ ห ม ำ ย ด ้ำ น ข อ ง เ ส ีย ป ร ะ จ ำ ป ีเ พื ่อ ใ ห้ ดำเนินกำรของแต่ละหน่วยธุรกิจนั้น อ้ำงอิงแนวทำงปฏิบัติตำม
สอดคล้องตำมแต่ลักษณะของธุรกิจ และติดตำมผลและควำม มำตรฐำนสำกล ISO 14001:2015 และมำตรฐำนแนวทำงปฏิบัติ
คืบหน้ำของกำรพัฒนำระบบกำรจัดกำรด้ำนของเสียเป็นประจำ อ่ืนท่ีเก่ียวข้องตำมแต่กลุ่มอุตสำหกรรม

ทำกรำฟฟิก

กลยทุ ธ์หลกั ของบรษิ ัทในการบริหารจดั การของเสีย

1 จัดทำระบบฐำนข้อมลู ของเสีย

1 22 ลดปริิมาณของเสีีย
อันั ตรายที่่�กำำ�จัดั
3 ด้ว้ ยวิิธีฝี ังั กลบ
ลดปจัรัดิมทำำ�ำ ณระขบอบงฐเสานียอันตรำยที่กำจัดด้วยวิธฝี ังกลบ 3 เพิ่่�มประสิิทธิิภาพ
เพิม่ ขป้้อรมะููลสขิทอธงิภเสำีพียกำรใช้ของเสีย การใช้ข้ องเสีีย

บริษัทได้กำหนดแนวทำงกำรดำเนนิ งำนเพื่อตอบสนองกลยทุ ธแ์ ตล่ ะดำ้ น โดยควำมรว่ มมอื ของบรษิ ทั ยอ่ ย โดยมรี ำยละเอียด ดังน้ี

กลยุทธ์ แนวทางการดาเนนิ งาน การดาเนินงานในรอบการรายงาน
จดั ทำข้อมูลพ้นื ฐำนของเสยี ปีบญั ชี 2564/2565

ลดปรมิ ำณของเสยี อนั ตรำยที่ จัดทำสมดลุ ของเสยี (Waste Balance) ให้ ใช้ระบบเครือข่ำยออนไลนภ์ ำยในบรษิ ัทบนั ทึก
กำจัดด้วยวิธฝี งั กลบ
เพมิ่ ประสิทธิภำพกำรใช้ของเสีย ครอบคลมุ ทุกหนว่ ยธุรกจิ ข้อมลู ของเสยี แตล่ ะประเภทเพื่อใหง้ ำ่ ยตอ่ กำร
แบง่ แยกชนดิ และวธิ กี ำรกำจดั

ทบทวนแผนผงั กำรไหลของของเสยี ในกลุ่ม
บริษัทยอ่ ย

 พจิ ำรณำควำมเส่ยี งของเสยี อันตรำยท่กี ำจัด  โครงกำรพจิ ำรณำลดกำรจดั ซอื้ วตั ถดุ ิบหรอื
ดว้ ยวิธีฝังกลบ อุปกรณส์ นบั สนนุ ในองค์กรท่ีมีควำมเสยี่ งตอ่ กำร
กำจดั แบบฝงั กลบ

 เพิ่มสัดส่วนของเสียท่ีนำกลับมำใช้ซ้ำและใช้  โครงกำรจดั หำค่คู ้ำทสี่ ำมำรถสรำ้ งคณุ คำ่ ร่วมใน
ใหม่ กำรแลกเปล่ยี นของเสยี (Industrial
Symbiosis)

 โครงกำรปรบั ปรงุ เพ่มิ ประสทิ ธภิ ำพเคร่อื งบด

เม็ดพลำสตกิ

ผลการดาเนนิ งาน ผลกำรปฏิบัติงำนต่อคณะทำงำนด้ำนส่ิงแวดล้อมของแต่ละบริษัท
บริษัทมุ่งเน้นกำรดำเนินกำรเพื่อให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุดในกำร ย่อยเป็นประจำทุกเดือน เพื่อติดตำมผลกำรดำเนินงำนเช่น กำร
บริหำรจัดกำรของเสีย จึงกำหนดให้แต่ละหน่วยธุรกิจมีเป้ำหมำย ปนเปื้อนของของเสียไม่อันตรำย กำรคัดแยกของเสียอย่ำงถูกวิธี
ด้ำนกำรจัดกำรของเสยี ท้งั ของเสยี อนั ตรำยและไม่อันตรำย รวมท้ัง กำรจัดทำฐำนข้อมูลของเสียในหน่วยงำนอย่ำงถูกต้องครบถ้วน
มีกำรสื่อสำรเป้ำหมำยให้แต่ทุกหน่วยงำนในบริษัทย่อยรับทรำบ พรอ้ มทง้ั จัดทำแผนผงั กำรไหลของของเสียของบริษัท (Disclosure
เพื่อนำไปจัดทำแผนควบคุมปริมำณของเสียภำยในหน่วยงำนของ 306-1) ดงั นี้
ตนเอง ตรวจสอบดูแลกำรดำเนินงำนและรำยงำน

รายงานความยั่ง่� ยืนื 31 มีนี าคม 2565 93

การบริหารจัดการของเสียขององคก์ ร ปริมำณของเสียทัง้ หมดที่ ปีบญั ชี ปบี ญั ชี ปีบญั ชี
ในรอบกำรรำยงำนปีบัญชี 2564/2565 บริษัทมีปริมำณของเสีย นำกลบั มำใชซ้ ำ้ และใช้ 2562/2563 2563/2564 2564/2565
ทั้งหมดจำกกระบวนกำรผลิตจำนวน 1,607 ตัน (Disclosure 306-3) ใหม่ (ตัน)
ลดลงจำกปีบญั ชี 2562/2563 รอ้ ยละ 6.89 สืบเน่ืองจำกสถำนกำรณ์ 1,025 955 1,158
กำรแพร่ระบำดของ COVID-19 เกิดกำรชะลอตัวของภำวะเศรษฐกิจ ปริมำณของเสียทัง้ หมดท่ี
โลก ส่งผลให้บริษัทยังคงไม่เดินกำลังกำรผลิตเทียบเท่ำปีฐำน ส่งไปกำจดั (ตัน) 701 453 449
2562/2563
โดยบริษัทได้นำของเสียกลับมำใช้ซ้ำและใช้ใหม่จำนวน 1,158 ตัน
คิดเป็นร้อยละ 72.09 ของของเสียท้ังหมด (Disclosure 306-4) และ
มีของเสียท่ีส่งไปกำจัดด้วยวิธีต่ำง ๆ จำนวน 449 ตัน (Disclosure
306-5) ซึ่งปริมำณของเสียที่ส่งไปกำจัดด้วยวิธีฝังกลบมีจำนวน 13
ตัน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.78 ของของเสยี ทัง้ หมด
ในรอ บปี ท่ี ผ่ ำน มำบ ริ ษั ท ไ ด้ ผ ลั กดั นนโ ยบำ ยด้ ำ นสิ่ ง แวด ล้ อม ท่ี
เกยี่ วข้องกบั กำรบริหำรจัดกำรของเสยี ขององค์กรให้เห็นเป็นรูปธรรม
โดยมีสัดส่วนของเสียที่นำกลับมำใช้ใหม่คิดเป็นร้อยละ 72.09 ของ
ของเสยี ทง้ั หมด หรือเพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 21.42 จำกปีฐำน 2562/2563

94 บริษิ ััท อีีสเทิริ ์์นโพลีเี มอร์์ กรุ๊๊ป� จำ�ำ กััด (มหาชน)

แม้ว่ำปริมำณของเสียท้ังหมดจำกกระบวนกำรผลิตโดยรวมของ
องค์กรจะลดลง แต่อัตรำของเสียต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของบริษัท
ยังคงเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.61 เม่ือเทียบกับปีฐำน 2562/2563 จำก
0.022 เป็น 0.024 ตันของเสียต่อตันผลิตภัณฑ์ เนื่องจำก
พฤติกรรมผู้บริโภคในช่วงเกิดสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของ
COVID-19 มีแนวโน้มสั่งซื้อแบบน้อยๆแต่บ่อยคร้ัง ส่งผลให้ของ
เสยี จำกกำรตั้งค่ำเคร่ืองจักรในแต่ละกระบวนกำรมีควำมถี่มำกข้ึน
ตำม ท้งั นีบ้ ริษทั ไม่นงิ่ นอนใจพยำยำมจัดทำมำตรกำรในกำรลดของ
เสียจำกกระบวนกำรผลิตให้เป็นไปตำมเป้ำหมำยที่องค์กรกำหนด
ในระยะยำว

การจดั การ ประเภทของเสยี ปริมาณ วิธีการจัดการ
(ตัน)
ปริมาณของเสียที่ ของเสียอันตรำย 22  นำส่งบริษัทรบั กำจดั ภำยนอกเพือ่ เขำ้ สู่กระบวนกำรนำไปใชซ้ ำ้
กลับมาใชซ้ ้าและ นำ้ มนั หลอ่ ลนื่ ใชแ้ ลว้ แบตเตอรี่ (รอ้ ยละ 1.37) และรไี ซเคิล
ใช้ใหม่ ใชแ้ ล้ว
(ร้อยละ 72.09) ถังปนเปือ้ น 1,136  ตดิ ตำมกำรจดั กำรด้วย Hazardous Waste Manifest
ของเสยี ไมอ่ นั ตรำย (รอ้ ยละ 66.62)
เศษยำง เศษพลำสติก ไม้พำเลท  นำสง่ บริษัทรับกำจดั ภำยนอกเพ่ือเขำ้ สูก่ ระบวนกำรนำไปใช้ซ้ำ
พลำสตกิ พำเลท และรไี ซเคิล

 ตดิ ตำมกำรจดั กำรดว้ ย Non-Hazardous Waste Manifest

ขยะอนั ตรำย 267  นำส่งบรษิ ัทรบั กำจดั ภำยนอกเพือ่ นำไปเป็นเช้ือเพลงิ ผสม หรอื
หลอดฟลอู อเรสเซนต์ (รอ้ ยละ 16.62) ทำลำยในเตำเผำเฉพำะสำหรบั ของเสียอันตรำย
ถำ่ นไฟฉำย เศษผำ้ /ถุงมือ
ปนเป้อื น  ติดตำมกำรจดั กำรดว้ ย Hazardous Waste Manifest
ขยะอนั ตรำย
ปรมิ าณของเสียท่ี นำ้ ล้ำงอุปกรณเ์ ครอื่ งแก้วจำก 0.46  นำสง่ บริษัทรบั กำจดั ภำยนอกเพอื่ นำไปบำบดั ด้วยวิธที ำงเคมี
สง่ ไปกาจดั หอ้ งปฏิบัตกิ ำร (ร้อยละ 0.03) กำยภำพ
(ร้อยละ 27.91)
ขยะอนั ตรำย 13  ติดตำมกำรจดั กำรดว้ ย Hazardous Waste Manifest
บรรจภุ ัณฑ์ปนเปอื้ น กระป๋อง (ร้อยละ 0.78)
สเปรย์  นำสง่ บริษทั รับกำจดั ภำยนอกพอ่ื นำไปฝังกลบอย่ำงปลอดภยั
ของเสียไม่อันตรำย  ติดตำมกำรจดั กำรด้วย Hazardous Waste Manifest
เศษยำงท่ีบนเปอ้ื นเศษพลำสตกิ
161  นำสง่ บรษิ ทั รับกำจดั ภำยนอกเพ่อื นำไปเป็นเช้ือเพลงิ ผสม
(ร้อยละ 10.01)  ตดิ ตำมกำรจดั กำรด้วย Non-Hazardous Waste Manifest

รายงานความยั่่�งยืนื 31 มีนี าคม 2565 95

การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใช้ของเสีย สถำบันส่ิงแวดล้อมไทย/ กระทรวง
บริษัทมุ่งม่ันที่จะเพ่ิมสัดส่วนของของเสียที่นำกลับมำใช้ซ้ำ อุตสำหกรรม/ สภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศ
(Reuse) และใช้ใหม่ (Recycle) ให้เพ่ิมขึ้น ท้ังของเสียอันตรำย ไทย
และของเสียไม่อันตรำย ในปีบัญชี 2564/2565 บริษัทใช้วิธีกำร
ดำเนินกำรหลำยวธิ เี พ่ือเพม่ิ สัดส่วนกำรนำของเสียกลบั มำใชซ้ ำ้ และ แ ล ะ ผ่ ำ น ก ำ ร รั บ ร อ ง จ น ไ ด้ รั บ เ ค รื่ อ ง ห ม ำ ย
ใช้ใหม่เช่น กำรนำระบบเครือข่ำยออนไลน์ภำยในบริษัทบันทึก Circular Mark เป็นกลุ่ม 30 บริษัทแรกใน
ข้อมูลของเสียแต่ละประเภท รวมทั้งกำรพิจำรณำจัดหำคู่ค้ำท่ี ประเทศไทยท่ีได้รับกำรรับรองในเคร่ืองหมำย
สำมำรถสร้ำงคุณค่ำร่วมกันบริษัทในกำรแลกเปล่ียนของเสีย ดังกล่ำว
(Industrial Symbiosis) ส่งผลให้ของเสียอันตรำยท่ีนำกลับมำใช้
ซ้ำและใช้ใหม่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 7.27 ของปริมำณของ
เสียอันตรำยท้ังหมด หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 69.04 และของเสียไม่
อันตรำยท่ีนำกลับมำใช้ซ้ำและใช้ใหม่มีสัดส่วนเพิ่มข้ึนเป็นร้อยละ
87.09 เชน่ กนั หรือเพ่มิ ขึ้นร้อยละ 3.87 จำกปฐี ำน 2562/2563

การสรา้ งความร่วมมอื กับพันธมติ รเพือ่ ส่งเสรมิ การพฒั นาอย่าง บริษัทให้ควำมสำคัญกับกำรดูแลจัดเก็บและกำรขนส่งของเสีย
ยัง่ ยืนตามแนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น รวมถึงกำรกำจัด ที่อำจเกิดเหตุกำรณ์กำรรั่วไหลหรือปนเป้ือน
ในรอบกำรรำยงำนปีบญั ชี 2564/2565 บริษัทแสดงเจตนำรมณ์ ระหว่ำงดำเนินกำร และส่งผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทจึง
และควำมมุ่งม่ันทจ่ี ะม่งุ สพู่ ัฒนำอยำ่ งย่งั ยนื ตำมแนวคดิ เศรษฐกจิ กำหนดให้มีกำรตรวจติดตำมใบกำกับกำรขนส่งและกำจัดของเสีย
หมุนเวียน ดังนี้ อันตรำยตำมกฎหมำย เพื่อให้ม่ันใจว่ำกำรดำเนินกำรตลอด
กระบวนกำรบริหำรจัดกำรของเสียเป็นไปตำมมำตรฐำนท่ีกำหนด
1. บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จำกัด ผ่ำนกำรคัดเลือก ไว้ ทั้งน้ีบริษัทได้กำหนดช่องทำงรับเร่ืองร้องเรียนจำกผู้มีส่วนได้
เ ข้ ำ ร่ ว ม โ ค ร ง ก ำ ร ก ำ ร พั ฒ น ำ ร ะ บ บ ฉ ล ำ ก เสีย ผำ่ น Website : www.epg.co.th หรือ ร้องเรียนไปยังบริษัท
สง่ิ แวดลอ้ มสำหรบั ผลติ ภณั ฑห์ มนุ เวียนอันเป็น ย่อยโดยตรง บรษิ ัทและบริษัทย่อยจะดำเนินกำรตำมกระบวนกำร
กำรส่งเสริมกำรหมุนเวียนวัสดุเพื่อขับเคล่ือน จดั กำรขอ้ รอ้ งเรียนทร่ี ะบไุ ว้ในคู่มอื ปฏิบัตกิ ำรรบั เร่ืองร้องเรียนตำม
นโยบำยเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศไทย มำตรฐำน ISO 14001 : 2015 ซึ่งในปีบัญชี 2564/2565 บริษัท
โดยได้รับกำรสนับสนุนจำก ศูนย์วิจัยด้ำนกล ไม่ได้รับเร่ืองร้องเรียนท่ีเกี่ยวกับกำรจัดกำรของเสียของบริษัทแต่
ยุทธ์ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คณะ อย่ำงใด
สงิ่ แวดลอ้ ม มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์/

96 บริษิ ััท อีสี เทิิร์น์ โพลีีเมอร์์ กรุ๊ป๊� จำำ�กััด (มหาชน)

การบรหิ ารจดั การนา้

ตอ่ ให้ประเทศไทยมสี ภาพทางภมู ศิ าสตร์มคี วามอดุ มสมบูรณ์มากเท่าไร แต่จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ และการขยายตัวของ
ภาคเกษตรกรรม และอตุ สาหกรรมยอ่ มส่งผลใหแ้ หล่งนา้ ธรรมชาติมีความเส่ียงต่อการขาดแคลนน้าในพืนท่ี ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรม
ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบดังกล่าว บริษัทจึงต้องมุ่งม่ันให้ความส้าคัญกับการบริหารจัดการดูแลทรัพยากรน้าอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รวมทังแบง่ ปนั โอกาสในการเขา้ ถงึ ทรพั ยากรน้าอย่างเท่าเทียม

ทำกรำฟฟคิ

เป้า้ หมาย เป้้าหมาย ผลดำ�ำ เนิินงาน
ระยะยาวเป2้า5ห6ม8ายระยะยาวปีีบััญชีี 256เ4ป/้า2ห5ม6า5ย
ปีบี ััญผชลีกี 2า5ร6ดา้4เ/น2ิน5ง6า5น

ปี 2568 ปบี ัญชี 2564/2565 ปบี ญั ชี 2564/2565
Iอnัอเัทตtัตeรียรnาบำกsกปiาtำีฐyรรำ)ใในชชเ้ทน้้นี้ี้ำยำบตต่ปอ่ ่อีหฐี หานนน่ว่ ่วยยผผลลิติิตภภณั ััณฑฑ์ ์(W์ (aWtearteInrtensityล) ดลงร้้อยลละดล2ง.5รอ้0ยละ 2.50 ลดลงร้อ้ลยดลละงร1้อ.ย0ล0ะ 1.00 เพิ่่ม�เพขึ้ม่ิ�นขร้นึ้อยร้อลยะล4ะ54.656.66

*ปฐี ำน ปีบญั ชี 2562/2563

แนวทางการบริหารจดั การ ยั่งยืน ด้ำนสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมกำรอนุรักษ์และกำรใช้
ขอบเขตกำรรำยงำนข้อมูลนำในรำยงำนควำมยั่งยืนฉบับนี ทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงคุ้มค่ำและมีประสิทธิภำพ และ
ครอบคลุมบรษิ ัท แอรโ์ รเฟลกซ์ จำกดั / บริษัท แอร์โรคลำส จำกัด มอบหมำยให้ทุกหน่วยธุรกิจต้องมีกำรชีบ่งและประเมินควำม
และบริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค จำกัด ท่ีอยู่ในพืนที่จังหวัดระยอง เสี่ยงด้ำนทรัพยำกรนำด้วยกำรจัดทำ Water Scarcity
เท่ำนัน ไม่รวมธุรกิจที่อยู่ในพืนท่ี จังหวัดสมุทรปรำกำร Footprint ตำมมำตรฐำน ISO 14046 เพื่อให้ทรำบถึงปริมำณ
กรุงเทพมหำนคร และหน่วยธุรกิจในต่ำงประเทศ เน่ืองจำกบริษัท นำที่ใช้ในกำรผลิตในแต่ละผลิตภัณฑ์ ตังแต่กำรได้มำซึ่งวัตถุดิบ
อยู่ระหว่ำงกำรพัฒนำระบบจัดเก็บข้อมูล เพ่ือรำยงำนกำร กำรขนส่ง กำรผลิต กำรใช้งำน และกำรกำจัดซำก รวมถึงกำร
ดำเนินกำรให้เป็นไปตำมมำตรฐำนของบรษิ ทั และมำตรฐำนสำกล ขำดแคลนนำในพืนที่ท่ีบริษัทดำเนินธุรกิจอยู่
บริษัทกำหนดให้ทุกบริษัทย่อยปฏิบัติตำมกฎหมำยท่ีเก่ียวข้องกับ ในส่วนของนำใช้เพื่อกำรอุปโภคบริโภคในสถำนประกอบกำรนัน
กำรบริหำรจัดกำรนำใช้และนำเสียภำยใต้พระรำชบัญญัติโรงงำน บริษัทกำหนดเป็นนโยบำยให้ทุกธุรกิจมีเป้ำหมำยและกำหนด
พ.ศ. 2535 และมำตรฐำนส่ิงแวดล้อม ISO 14001:2015 อย่ำง มำตรกำรควบคุมกำรใช้นำแต่ละหน่วยงำน ร่วมถึงส่งเสริม
เครง่ ครัด มีกำรตรวจวัดคุณภำพนำเป็นประจำโดยห้องปฏิบัติกำร บุคลำกรในองค์กรมีจิตสำนึก ตระหนักรู้ถึงกำรใช้นำ รณรงค์กำร
ท่ีขึนทะเบียนกับกรมโรงงำนอุตสำหกรรม และเปิดเผยผลกำร ใช้นำอย่ำงประหยัด เพื่อบริหำรจัดกำรนำให้คุ้มค่ำที่สุด และ
ดำเนินงำนเรื่องกำรบริหำรจัดกำรนำใช้และนำเสีย โดย กำหนดให้มีกำรตรวจติดตำมควำมสำเร็จของเป้ำหมำ ยอย่ำง
ประชำสัมพันธ์ผ่ำนช่องทำงสื่อสำรภำยในให้พนักงำนและผู้มีส่วน ต่อเน่ือง และรำยงำนผลกำรดำเนินงำนต่อคณะทำงำนกำรพัฒนำ
ไดเ้ สียอนื่ รบั ทรำบถึงขอ้ มลู เพ่ือลดขอ้ กังวลและสรำ้ งจิตสำนึกด้ำน อย่ำงยั่งยืนของบริษัทและคณะกรรมกำรบริหำรอย่ำงน้อย 1 ครัง
กำรใชน้ ำในองค์กร ต่อปี
บริษัทตระหนักถึงควำมท้ำทำยในด้ำนกำรบริหำรจัดกำรนำอย่ำง
มีประสิทธิภำพ จึงกำหนดเป็นนโยบำยกำรพัฒนำอย่ำง

รายงานความยั่ง�่ ยืนื 31 มีีนาคม 2565 97

กลยทุ ธห์ ลกั ของบริษทั ในการบรหิ ารจัดการน้าและน้าเสยี

ทำกรำฟฟิค

1 จัดทำระบบข้อมูลพนื ฐำนด้ำนกำรใชน้ ำ และคุณภำพนำทิง

1 22 บรจัหิ ัดทำำรำ�ครวะบำมบเขส้้อีย่ มงูลู ดพ้ำื้้น�นกำรจัดกำรนำ บริหิ ารความเสี่่�ยง 3 ลดอััตราการใช้น้ ้ำ��ำ ต่อ่
ด้้านการจัดั การน้ำ�ำ� หน่่วยผลิติ ภััณฑ์์
3 ลดแฐอลาัตนะครดุุ้ณำ้ากนภำการาพใรนช้ใำน้ช��ำ้ทน้ำิ้้ำ้ต��ำ�งอ่ หน่วยผลติ ภัณฑ์

บรษิ ัทได้กำหนดแนวทำงกำรดำเนนิ งำนเพอ่ื ตอบสนองกลยทุ ธ์แตล่ ะดำ้ น โดยควำมร่วมมอื ของบรษิ ัทยอ่ ย โดยมรี ำยละเอียด ดังนี

กลยทุ ธ์ แนวทางการด้าเนนิ งาน การด้าเนนิ งานในรอบการรายงานปบี ัญชี
2564/2565

จัดทำระบบขอ้ มลู พนื ฐำนดำ้ น จดั ทำสมดุลนำ (Water Balance) ให้ จดั ทำ Water Flow Diagram ครอบคลุมทกุ กลมุ่
กำรใชน้ ำ และคณุ ภำพนำทิง ธุรกจิ
ครอบคลมุ ทกุ หน่วยธุรกจิ

ติดตงั มำตรวดั เพือ่ ตรวจสอบควำมถกู ตอ้ งของปริมำณ

นำเขำ้ -ออกครอบคลมุ ทกุ กลุ่มธรุ กจิ

ทำกำรตรวจวดั คุณภำพนำทงิ ตำมกฎหมำยกำหนด

บริหำรควำมเส่ียงด้ำนทรพั ยำกร  ประเมินควำมเส่ยี งด้ำนกำรจดั กำรนำ  ประเมินควำมเส่ยี งผำ่ นกำรประเมนิ บริบทของ ISO
นำ 14001:2015

 จดั หำมำตรกำรรองรับในกรณีควำมเส่ียงสูง

 ส่งเสริมกำรใช้นำจำกแหล่งนำท่ีมีควำม  ลดสดั ส่วนกำรใช้นำใตด้ ิน

เสย่ี งตำ่  เพม่ิ สัดสว่ นกำรใชน้ ำผวิ ดินจำกแหล่งกักเก็บของ

บริษัท

ลดอตั รำกำรใชน้ ำตอ่ หน่วย  ใชน้ ำอย่ำงมีประสิทธภิ ำพในสำนักงำน  รณรงค์กำรใช้นำในสำนักงำนอยำ่ งรู้คุณคำ่ ผ่ำน
ผลิตภณั ฑ์  พัฒนำนวัตกรรมเพือ่ ลดกำรใชน้ ำใน โครงกำร 1 ครัง 1 กด

กระบวนกำรผลติ  โครงกำรปรับปรงุ ระบบกรองนำในระบบ Wet

Scrubber ใหม้ ีประสิทธภิ ำพ

ผลการด้าเนินงาน
การบริหารจัดการนา้ ภายในองค์กร
แม้วำ่ ธุรกิจทังหมดของบรษิ ัทเป็นอุตสำหกรรมท่ใี ช้นำน้อย แต่บริษัท แคลนนำ แต่อย่ำงไรกต็ ำม บริษัทยังคงให้ควำมสำคัญกับกำรบริหำร
ได้ทำกำรประเมินควำมเสี่ยงเร่ืองนำในแต่ละพืนท่ีฐำนกำรผลิต จดั กำรนำทงั ในสำนักงำนและโรงงำนผลติ อย่ำงตอ่ เนื่อง
(water stress areas) รวมถึงกำรจัดทำสมดุลนำ (water balance) ในรอบกำรรำยงำนปีบัญชี 2564/2565 บริษัทใช้นำในกำรดำเนิน

ของแตล่ ะธุรกิจหลัก ซ่ึงพบว่ำโรงงำนของบริษัทตังอยู่ในแหล่งลุ่มนำ ธุรกิจ แบ่งเป็นนำสำหรับกำรหล่อเย็นในกระบวนกำรผลิต และนำ
ภำคตะวันออก (East Coast Gulf) ทมี่ คี วำมเส่ียงตำ่ ในดำ้ นกำรขำด เพ่ือกำรอุปโภคในโรงงำน เช่น กำรซักล้ำง กำรทำควำมสะอำด

98 บริิษััท อีสี เทิิร์น์ โพลีเี มอร์์ กรุ๊๊�ป จำำ�กััด (มหาชน)

ร่ำงกำย และกำรทำควำมสะอำดพนื ท่ปี ฏบิ ตั ิงำน โดยในรอบปีที่ผ่ำน มำตรฐำนกำรระบำยนำทิงจำกโรงงำน พ.ศ.2560 ก่อนปล่อยออกสู่

มำบรษิ ทั ใช้ประปำปริมำณ 71,449 ลกู บำศก์เมตร และ ลำรำงสำธำรณะหรือแหลง่ นำธรรมชำติ

นำบำดำล จำนวน 34,950 ลูกบำศกเ์ มตร รวมปริมำณนำที่บริษัทดึง ทังนีในรอบกำรรำยงำนปีบัญชี 2564/2565 แม้ว่ำบริษัทจะมีกำร

มำจำกแหลง่ ตำ่ ง ๆ จำนวนรวม 106,399 ลกู บำศกเ์ มตร (Disclosure ควบคุมกำรใช้นำอย่ำงเข้มงวดมำกขึน แต่เน่ืองจำกเกิดสถำนกำรณ์

303-3) เพิ่มขึน 14,239 ลูกบำศก์เมตร หรือร้อยละ 15.45 แต่ทังนี กำรแพร่ระบำดของ COVID-19 ยังไม่ทุเลำ ทำให้บริษัทต้องผ่อน

บริษัทมกี ำรใชน้ ำบำดำลทล่ี ดรอ้ ยละ 18.28 ปรนมำตรกำรควบคุมกำรใช้นำลง เพื่อสุขอนำมัยท่ีดีของพนักงำน

จำกปีฐำน 2562/2563 เน่ืองจำกในรอบปีที่ผ่ำนมำระบบส่ง ลดควำมเส่ียงต่อกำรหยุดชะงักกำรผลิตจำกกำรแพร่ระบำดใน

นำประปำของเขตอุตสำหกรรม IPP จังหวัดระยอง ท่ีโรงงำนของ องค์กร อีกทังยอดกำรผลิตท่ียังไม่กลับสู่ช่วงก่อนกำรแพร่ระบำด

บริษัทตังอยู่ ได้ถูกซ่อมแซมและปรับปรุงให้สำมำรถเดินระบบกำร เนื่องจำกยอดปริมำณกำรสั่งซือที่ลดลง แต่บริษัทยังคงต้องมีกำรใช้

จำ่ ยนำได้เหมอื นเดมิ รวมทงั ได้เพ่มิ ประสทิ ธภิ ำพในปรับปรุงคุณภำพ นำของปรมิ ำณกำรใชน้ ำคงที่ (Fixed water consumption)

นำเพียงพอต่อกำรนำไปใช้กระบวนกำรผลติ อีกดว้ ย ในกำรผลิต ส่งผลให้ใช้นำในกระบวนกำรผลิตเพิ่มขึน 6,092

ลูกบำศก์เมตร หรือเพ่ิมขึนร้อยละ 243.86 เม่ือเทียบกับปีฐำน

แหล่งนา้ ทดี่ ึงนา้ ปีบัญชี ปีบัญชี ปบี ัญชี 2562/2563 อัตรำกำรใช้นำต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของบริษัท เพิ่มขึน

มาใช้ 2562/2563 2563/2564 2564/2565 เท่ำกับ 0.14 ลูกบำศก์เมตรต่อตันผลิตภัณฑ์ หรือเพิ่มขึนร้อยละ
42,766 43,181 34,950 45.66 เม่อื เทียบกบั ปฐี ำน 2562/2563
นำใตด้ นิ (ลบ.ม.)
นำประปำ

(ลบ.ม.) 49,394 70,315 71,449

การเพิม่ ประสิทธภิ าพการน้าและน้าเสีย
ในรอบกำรรำยงำนท่ีผ่ำนมำบริษัทมีกำรระบำยนำทิงออกสู่แหล่งนำ ในรอบกำรรำยงำนท่ีผ่ำนมำบริษัทพยำยำมเพิ่มประสิทธิภำพกำรใช้
ผิวดินทังหมดรวม 75,803 ลูกบำศก์เมตร (Disclosure 303-4) ซึ่ง นำในกระบวนกำรผลิตผำ่ นโครงกำรปรับปรุงระบบกรองนำในระบบ
นำทิงท่ีทำงบริษัทระบำยออกสู่ส่ิงแวดล้อมนัน แบ่งเป็น 2 ส่วน นำ บำบดั Wet Scrubber ให้มปี ระสิทธภิ ำพ เพอ่ื นำนำหมนุ วนในระบบ
ทงิ ท่ีมีกำรปนเปื้อนสำรเคมีจะถูกส่งไปบำบัดแบบกำรบำบัดทำงเคมี ให้ไดม้ ำกท่ีสดุ เพอ่ื ลดกำรเติมนำดีเข้ำสรู่ ะบบ ลดกำรถ่ำยนำเสียออก
(Chemical Treatment) ส่วนนำท่ีมำจำกโรงอำหำรนันจะต้องผ่ำน เพ่ือส่งกำจัด แต่กำรปรับปรุงดังกล่ำวต้องไม่ส่งผลกระทบต่อควำม
ถงั ดักไขมนั และถกู สง่ ตอ่ ไปยงั บอ่ เติมอำกำศในพืนที่ของบริษัท และ เส่ียงด้ำนมลพิษอำกำศท่ีอำจเกิดขึนผ่ำนกำรติดตำมผลกำรดำเนิน
มีกำรวิเครำะห์คุณภำพนำทิงโดยบริษัทภำยนอกที่ได้รับรอง โครงกำรจำกคณะทำงำนด้ำนส่ิงแวดล้อมของบริษัทย่อย จำก
มำตรฐำนกำรตรวจวิเครำะห์ตำมระบบ ISO 17025 เพ่ือให้นำทิงมี โครงกำรดังกล่ำวทำให้บริษัทสำมำรถลดกำรใช้นำได้ถึง 500
คุณภำพเป็นไปตำมประกำศกระทรวงอุตสำหกรรมเร่ืองกำหนด ลกู บำศกเ์ มตรต่อปี

ซึมและแจ้งซ่อมทันที จัดกำรประชุมชีแจงเป้ำหมำยและผลกำร
ดำเนินงำนแต่ละเดือนให้พนักงำนรับทรำบ รณรงค์และอบรม
พนักงำนทุกหน่วรยางยำงนานเพค่ือวาสมรยั้ำ่�่งงยืคืนว3ำ1มมีตนี ราคะมห2น5ัก6ร5ู้เร่ืองก9ำ9รใช้
ทรพั ยำกรนำอย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ รวมทังจัดทำ “โครงกำร 1 กด 1
ครัง” เพ่ือรณรงค์ลดกำรใช้นำ โดยให้พนักงำนใช้ห้องนำกดนำชัก
โครกเพยี ง 1 ครังตอ่ กำรเขำ้ ห้องนำ 1 ครงั

เพ่อื ใหเ้ กิดประสิทธิภำพสูงสุดในกำรใช้นำนัน บริษัทมอบหมำยให้ พทุรกะหรนำช่วบยัญธญุรภกัตำิิโจพรไปงดงรำ้ะปนกฏอพิบบ.ัศตเก.ิตยี่ 2ำว5กม3ับก5กฎอำหรยป่ำมงรำเะคยหรทย่งดั่ีคเกนรี่ัดำย ว ข้ อ ง ภ ำ ย ใ ต้
บริษัทย่อยกำหนดเป้ำหมำยกำรใช้นำในกิจกรรมทั่วไปของแต่ละ มีกำรตรวจวัด
บริษัท โดยส่ือสำรเป้ำหมำยให้หน่วยงำนภำยในองค์กรรับทรำบ
และจัดทำมำตรกำรและแผนกำรดำเนินงำนเพ่ือควบคุมปริมำณ คณุ ภำพนำ ติดตำมและตรวจสอบตำมมำตรฐำนสำกล ISO 14001
กำรใชน้ ำภำยในหน่วยงำน เช่น ตรวจสอบปริมำณกำรใช้นำแต่ละ
สปั ดำห์ ในกรณที พี่ บว่ำมปี รมิ ำณกำรใช้ผิดปกตใิ หต้ รวจสอบจุดรั่ว- : 2015 โดยบริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จำกัด และบริษัท แอร์โรคลำส
ซึมและแจ้งซ่อมทันที จัดกำรประชุมชีแจงเป้ำหมำยและผลกำร
ดำเนินงำนแต่ละเดือนให้พนักงำนรับทรำบ รณรงค์และอบรม จำกัด ได้รับกำรรับรองควำมถูกต้องของข้อมูลและกระบวนกำร
พนักงำนทุกหน่วยงำนเพ่ือสร้ำงควำมตระหนักรู้เรื่องกำรใช้
ทรพั ยำกรนำอยำ่ งมีประสทิ ธิภำพ รวมทังจดั ทำ “โครงกำร 1 กด 1 จำก บริษัท ทูฟ นอร์ด (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท อีสเทิร์น
ครัง” เพ่ือรณรงค์ลดกำรใช้นำ โดยให้พนักงำนใช้ห้องนำกดนำชัก
โครกเพียง 1 ครงั ต่อกำรเขำ้ หอ้ งนำ 1 ครงั โพลีแพค จำกัด ได้รับกำรรับรองจำกบริษัท เอสจีเอส (ประเทศ

ไทย) จำกัด โดยในรอบกำรรำยงำนปีบัญชี 2564/2565 คุณภำพ

นำทิงของบริษัทที่ปล่อยสู่ส่ิงแวดล้อมยังเป็นไปตำมคุณภำพ

มำตรฐำนทกี่ ฎหมำยกำหนดทุกประกำร

ทุ ก ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ต ำ ม ก ฎ ห ม ำ ย ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ภ ำ ย ใ ต้
พระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2535 อย่ำงเคร่งครัด มีกำรตรวจวัด
คณุ ภำพนำ ติดตำมและตรวจสอบตำมมำตรฐำนสำกล ISO 14001
: 2015 โดยบริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จำกัด และบริษัท แอร์โรคลำส
จำกัด ได้รับกำรรับรองควำมถูกต้องของข้อมูลและกระบวนกำร
จำก บริษัท ทูฟ นอร์ด (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท อีสเทิร์น
โพลีแพค จำกัด ได้รับกำรรับรองจำกบริษัท เอสจีเอส (ประเทศ
ไทย) จำกัด โดยในรอบกำรรำยงำนปีบัญชี 2564/2565 คุณภำพ
นำทิงของบริษัทที่ปล่อยสู่ส่ิงแวดล้อมยังเป็นไปตำมคุณภำพ
มำตรฐำนท่กี ฎหมำยกำหนดทุกประกำร

100 บริษิ ััท อีสี เทิิร์น์ โพลีเี มอร์์ กรุ๊ป�๊ จำ�ำ กัดั (มหาชน)

สทิ ธมิ นษุ ยชน

ประเดน็ ดา้ นสิทธิมนุษยชนเป็นประเด็นที่อ่อนไหว และสามารถเช่ือมโยงกับประเด็นอ่ืน ๆ ที่สามารถส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของ
บริษัทได้ บริษัทจึงให้ความสาคัญกับการเคารพสิทธิมนุษยชนของผู้มีส่วนได้เสียในทุกกิจกรรมของธุรกิจหลักตลอดห่วงโซ่คุณค่า และ
ดาเนินธุรกิจอย่างมีจรยิ ธรรมและคณุ ธรรมดว้ ยตระหนักถึงคุณคา่ และศักดศ์ิ รีความเปน็ มนุษย์ สทิ ธิเสรภี าพ และความเสมอภาคของทกุ คน

ทำกรำฟฟคิ เป้้าหมาย เป้้าหมาย ผลดำ�ำ เนินิ งาน

ระยะยาวเป2้า5ห6ม8ายระยะยาวปีีบััญชีี 256เ4ป/้า2ห5ม6า5ย ปีบี ัญั ชผีลี 2ก5า6รด4า/เ2น5ิน6ง5าน

จสจำำำคนนััญววนนขข้้้ออรร้อ้้องงเเรรียี ียนนกด้ำ้ารนลสะิิทเมธิดิ ิมสนิทุุธษมิ ยนชนษุ ทยี่่�ชมีีนนัทัยีม่ ีนยั สำคญั 0 ปี 2568 ปีบัญชี 2564/2565 ปีบญั ชี 2564/2565
0 00 00

แนวทางบริหารจัดการ (หัวข้อรอง) ผลกระทบในเชงิ ลบจำกกำรดำเนินธุรกิจท่ีจะเกิดจำกกำรละเมดิ สิทธิ
บริษทั มงุ่ ม่นั ทจ่ี ะดำเนนิ ธรุ กจิ ด้วยควำมเคำรพในสทิ ธมิ นุษยชนตลอด มนษุ ยชน บริษัทไดย้ ึดหลักปฏิบตั ติ ำมกรอบกำรดำเนนิ งำนด้ำนสทิ ธิ
มนุษยชนท่สี อดคล้องตำมหลกั กำรของสหประชำชำตวิ ำ่ ด้วยกำร
หว่ งโซ่คณุ คำ่ กำรปฏิบัตติ อ่ ผู้มสี ่วนได้เสียทุกกล่มุ ด้วยควำมเสมอ ดำเนนิ ธุรกจิ และสทิ ธิมนษุ ยชน (UN Guiding Principles on
ภำค เทำ่ เทียมกัน และไม่เลือกปฏบิ ตั ิตำม เพศ เช้อื ชำติ ศำสนำ หรือ Business and Human Rights : UNGP) เพื่อใช้เป็นแนวทำงปฏบิ ตั ิ
ควำมคิดเห็นทีแ่ ตกตำ่ ง เพือ่ รักษำไว้ซ่ึงควำมสัมพนั ธ์ ขวัญและ สำหรับคณะกรรมกำร ผู้บริหำร และพนักงำนทกุ ระดับ
กำลงั ใจทดี่ ขี องผู้มีส่วนได้เสียทุกกลมุ่ ลดควำมเสย่ี งเกยี่ วกับ

ทำกรำฟฟิคเกีย่ วกบั สิทธิมนุษยชน ตัวอยำ่ ง


Click to View FlipBook Version