The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

shevitSomdul

shevitSomdul

พระไพศาล วสิ าโล

ชวี ติ สมดุล
พระไพศาล วสิ าโล

ชมรมกัลยาณธรรม

หนงั สอื ดีล�ำดับที ่ ๑๖๖

ชวี ิตสมดุล
พระไพศาล วิสาโล
www.visalo.org

พมิ พ์ครั้งที่ ๑  มกราคม ๒๕๕๕  จ�ำนวนพิมพ ์  ๑๐,๐๐๐ เล่ม
จดั พมิ พโ์ ดย ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั  ตำ� บลปากนำ�้  อำ� เภอเมอื ง 
จงั หวดั สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท ์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ 
ภาพปก/ภาพประกอบ จนั -เจา้ -คะ่   จดั รปู เลม่  คนขา้ งหลงั   ชว่ ยแกค้ ำ�  อะตอ้ ม 
ศลิ ปกรรม ตน้ กลา้   พสิ จู นอ์ กั ษร หะน ู  พมิ พโ์ ดย บรษิ ทั ขมุ ทองอตุ สาหกรรม
และการพมิ พ ์ จำ� กัด  โทรศพั ท ์ ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓

สพั พทานัง ธัมมทานงั  ชินาติ
การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทง้ั ปวง
www.kanlayanatam.com

ธรรขมอมบอรรบณเปา็นการ
แ ด่

จาก

คำ� ปรารภ

ชีวิตมิใช่เส้นตรงหรือมีเพียงระนาบเดียวๆ ส่ิงดีๆ มี 
ประโยชน์ หากมีมากๆ ใช่ว่าประโยชน์จะเพ่ิมพูนตามไปด้วย 
ก็หาไม่ บ่อยคร้ังกลับเป็นโทษด้วยซ้�ำ สารอาหาร เช่น ไขมัน 
หรือน้�ำตาล แม้มีคุณค่าต่อร่างกาย แต่หากบริโภคมากไป ก ็
สามารถทำ� ใหเ้ กดิ โรครา้ ยได ้ ประโยชนจ์ ะเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ  
กต็ อ่ เมือ่ บริโภคแตพ่ อด ี หรอื สมดุลกับองคป์ ระกอบอ่นื ๆ

ทุกวันน้ีเราให้ความส�ำคัญกับการมีมากๆ จนละเลย 
ความพอดีหรือความสมดุล เช่น มีโภคทรัพย์เหลือล้นแต่อริย 
ทรพั ยก์ ลบั มนี อ้ ยนดิ  ประสบความสำ� เรจ็ ในการงานแตล่ ม้ เหลว 
ในชีวิตครอบครัว คิดแต่จะเอาเข้าตัวแต่ไม่ค่อยสละออกไป 
การตงั้ เปา้ แสวงหาสงิ่ ใดสง่ิ หนง่ึ มากเกนิ ไป จนละเลยสงิ่ อน่ื ทมี่ ี 
คุณคา่ ตอ่ ชวี ติ  เปน็ ที่มาของความทุกข์และปญั หาตา่ งๆ ท้งั ใน 
ระดบั บคุ คลและสงั คม กลา่ วอกี นยั หนง่ึ การมองขา้ มความสมดลุ  
ในชีวติ  ทำ� ใหผ้ คู้ นห่างไกลจากความสขุ ย่งิ ขึน้ ทุกที

การสร้างสมดุลในชีวิต อาทิ สมดุลระหว่างการรับกับ 
การให ้ ระหวา่ งกายกบั ใจ ระหวา่ งเหตผุ ลกบั อารมณ ์ ระหวา่ ง 
ประโยชนต์ นกบั ประโยชนท์ า่ น ฯลฯ เปน็ สง่ิ สำ� คญั ทชี่ ว่ ยใหช้ วี ติ  
มคี วามผาสกุ และเปย่ี มดว้ ยคณุ คา่ อยา่ งแทจ้ รงิ  อยา่ งไรกต็ ามการ 
สร้างสมดุลในชีวิตมิใช่เร่ืองง่าย เพราะคนเรามักมีแนวโน้มที่ 

จะเนน้ สงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ มากเกนิ ไปจนละเลยสงิ่ อน่ื ทม่ี คี ณุ คา่ พอๆ กนั  
ความพอดหี รอื สมดลุ ระหวา่ งสงิ่ ดงี ามสองสงิ่ จงึ เกดิ ขนึ้ ไดย้ าก 
เชน่ เดยี วกบั ทผ่ี คู้ นมกั จะพลดั จากทางสายกลางซง่ึ อยรู่ ะหวา่ ง 
ความสดุ โตง่ สองอยา่ ง จะดำ� เนนิ ชวี ติ ใหส้ มดลุ ไดจ้ งึ จำ� เปน็ ตอ้ ง 
มีสติและปัญญา เป็นทั้งเครื่องเตือนใจและแสงสว่างน�ำทางสู่ 
จุดหมายทพ่ี งึ ปรารถนา

หนงั สอื เลม่ นม้ี ที มี่ าจากคำ� บรรยายของอาตมภาพในงาน 
แสดงธรรมและปฏบิ ตั ธิ รรมครง้ั ท ่ี ๒๐ ซง่ึ ชมรมกลั ยาณธรรม 
ไดจ้ ดั ขน้ึ เมอื่ วนั ท ่ี ๑๑ กรกฎาคม ศกน ้ี ณ มหาวทิ ยาลยั เทคโน- 
โลยีราชมงคล กรุงเทพฯ เพ่ือน้อมถวายเป็นพระราชกุศลแด ่
องคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั  ชมรมกลั ยาณธรรมเหน็ วา่  
มีประโยชน์ น่าพมิ พเ์ ผยแพรใ่ นโอกาสขึ้นปีใหม ่ อาตมภาพจึง 
ไดป้ รบั ปรุงแกไ้ ขใหเ้ หมาะแกก่ ารจดั พมิ พ์

ขออนโุ มทนาชมรมกลั ยาณธรรม ทม่ี กี ศุ ลฉนั ทะในการ 
จัดงานแสดงธรรมและจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ หวังว่าหนังสือ 
เล่มนี้จะเอื้อให้ทุกท่านด�ำเนินชีวิตจนเกิดสมดุลในทางธรรม 
และเข้าถึงชีวิตที่โปร่งเบา สงบเย็น และเป็นอิสระ แม้รอบตัว 
จะเต็มไปดว้ ยความผันผวนปรวนแปรเพียงใดก็ตาม

พระไพศาล วสิ าโล
๑๐ ธนั วาคม ๒๕๕๔

คำ� น�ำจากชมรมกัลยาณธรรม

จากงานแสดงธรรม-ปฏบิ ตั ธิ รรมเปน็ ธรรมทานครงั้ ท ี่ ๒๐ 
ของชมรมกลั ยาณธรรม ในวนั อาทติ ยท์  ่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ 
ในหวั ขอ้ พระธรรมเทศนาเรอ่ื ง “ชวี ติ สมดลุ ” ซงึ่ มเี นอื้ หาธรรม 
นา่ สนใจมากและมหี ลายประเดน็ ทชี่ วนคดิ พจิ ารณา นำ� มาปรบั ใช ้
ในการพฒั นาชวี ติ และจติ ใจไดอ้ ยา่ งด ี นอกจากไดจ้ ดั ทำ� วดิ ทิ ศั น ์
การแสดงธรรมเรอ่ื งนอ้ี อกเผยแผแ่ ลว้  ชมรมฯ ยงั ตอ่ ยอดสาระ 
ธรรมน้ีด้วยการเรียบเรียงเป็นหนังสือ เพ่ือให้เหมาะที่จะเป็น 
ธรรมบรรณาการในวาระดถิ เี ปลย่ี นศักราชใหม่ ๒๕๕๕ นี้

กราบขอบพระคณุ พระอาจารยไ์ พศาล วสิ าโล ทเ่ี มตตา 
อนญุ าตและลดั ควิ ตรวจทานตน้ ฉบบั ให ้ เพอื่ ทนั มอบเปน็ ของขวญั  
รบั ศกั ราชใหม ่ ๒๕๕๕ แดเ่ พอื่ นสหธรรมกิ ทงั้ ดว้ ยพระอาจารย ์
มีความสามารถในการใช้ภาษาได้งดงาม และอ่านเข้าใจง่าย 
เหมือนเปิดของที่คว่�ำให้หงาย มีตัวอย่างประกอบมากมาย 
ทันสมัยชวนติดตาม จึงท�ำให้คนรุ่นใหม่รู้สึกว่า ธรรมะไม่ใช่ 
เรื่องยากเกินไปที่จะใคร่ครวญศึกษา ดังน้ันเม่ือทุกท่านได้ 
มีโอกาสอ่านและพิจารณา ย่อมได้รับสาระประโยชน์อย่างยิ่ง 
หนงั สอื เลม่ นจ้ี งึ เปน็ ของขวญั ทถ่ี กู ใจแฟนพนั ธแ์ุ ทก้ ลั ยาณธรรม 
ทร่ี อคอยตดิ ตามผลงานของพระอาจารยอ์ ยทู่ ั่วประเทศ

ชีวิตสมดุล เป็นทางชีวิตท่ีชาวพุทธควรพิจารณา ว่า 
ทกุ วนั นเี้ ราดำ� เนนิ ชวี ติ กนั อยา่ งไมส่ มดลุ อยา่ งไร เอยี งไปทางไหน 
ทางสายกลาง อนั เปน็ ทางอรยิ มรรคนนั้ มไิ ดห้ มายถงึ ทางแหง่  
ชีวิตสมดุล แต่เป็นทางที่น�ำไปสู่ความพ้นทุกข์โดยเว้นจาก 
ทางสดุ โตง่  ๒ ขา้ ง สว่ นทางชวี ติ สมดลุ นนั้  คอื ทางทต่ี อ้ งประสาน 
ประโยชน์ระหว่างส่ิงดีๆ สองสิ่งหรือหลายส่ิงในชีวิต ที่ทุกคน 
ตอ้ งพบเจอสถานการณแ์ บบนเี้ สมอและเราไมอ่ าจละทงิ้ เพกิ เฉย 
ต่อสิ่งดีๆ ทางใดได้ จึงจ�ำเป็นต้องเข้าใจ จัดสรรบทบาทให้ 
เหมาะสมและวางใจให้แยบคาย ให้เกิดความสมดุลระหว่าง 
ประโยชน์กับประโยชน์ ระหว่างธรรมกับธรรม เป็นต้น เพ่ือ 
ทุกท่านได้พบความส�ำเร็จในชีวิตและจิตวิญญาณ สมดังที่ได ้
เกิดมาเป็นชาวพุทธผู้ได้ช่ือว่าสามารถพ้นทุกข์ได้ด้วยปัญญา 
และความเพียร

ชมรมกลั ยาณธรรมขอนอ้ มบชู าอาจรยิ คณุ พระอาจารย์ 
ไพศาล วิสาโล พระสุปฏิปันโนผู้เป็นแม่ทัพธรรมในพระพุทธ 
ศาสนาและเป็นภูมิปัญญาบริสุทธ์ิของสังคม หวังอย่างยิ่งว่า 
หนังสือเล่มน้ี ที่ชมรมตั้งใจมอบเป็นของขวัญในศักราชใหม่ 
๒๕๕๕ จะเป็นประโยชน์และน�ำสาระแห่งชีวิตท่ีเป็นสุขด้วย 
ทางชวี ิตทีส่ มดุล แก่ทุกท่านตลอดศักราชใหม่นี้และตลอดไป
ทพญ.อจั ฉรา กล่นิ สุวรรณ์
ประธานชมรมกัลยาณธรรม
๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๔

พวกเราชาวพุทธย่อมทราบกันดีอยู่แล้วว่า 

หนทางแห่งการพ้นทุกข์นั้น คือส่ิงที่เรียกว่าทาง 
สายกลางหรืออริยมรรคมีองค์ ๘ หน้าท่ีของชาว 
พุทธก็คือการด�ำเนินชีวิตบนทางสายกลางจนถึง 
จุดหมายปลายทาง การดำ� เนินบนทางสายนี้ไม่มี 
ใครท�ำให้เราได้ แม้จะมีอยู่แล้วแต่เราต้องเดินเอง 
การดำ� เนนิ ชวี ติ บนทางสายกลาง ไมต่ า่ งกบั การเดนิ  
บนถนนเสน้ ใหญท่ ยี่ าวไกล ซง่ึ ตอ้ งอาศยั ความเพยี ร 
พยายามและความชัดเจนในจดุ หมายปลายทาง

ความสมดลุ
เป็นสิ่งจำ� เป็น

ทกุ ทา่ นยอ่ มทราบดอี ยแู่ ลว้ วา่ ในการเดนิ นนั้  
เราต้องอาศัยขาท้ังสองข้าง แต่เท่าน้ันไม่พอ เรา 
ต้องรู้จักทรงตัวให้สมดุลบนขาท้ังสองข้าง จึงจะ 
สามารถเดินได้อย่างม่ันคงและต่อเน่ือง ถ้าเราม ี
ขาเพียงข้างเดียวก็คงเดินได้ยาก แต่แม้มีขาทั้ง 
สองขา้ งแลว้ กย็ งั ตอ้ งเลย้ี งตวั ใหพ้ อด ี จะเดนิ ชา้ หรอื  
เดนิ เรว็ กแ็ ลว้ แต ่ การทรงตวั ใหส้ มดลุ บนขาทง้ั สอง 
ข้าง เป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการเดินบนเส้นทางที่ 

๑๐ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

ยาวไกล ฉันใดก็ฉนั นน้ั  ในการดำ� เนินชวี ติ บนทาง 
สายกลาง ความสมดุลเป็นส่ิงจ�ำเป็นมาก น่ันคือ 
สมดุลระหว่างส่ิงสองส่ิงท่ีล้วนมีค่ามีความส�ำคัญ 
เช่น ความสมดลุ ระหวา่ งปรยิ ตั กิ บั ปฏบิ ตั  ิ ถา้ เราม ี
ความรใู้ นทางปริยัติแต่ไม่มีการปฏิบัติ ก็ยากท่ีจะ 
ด�ำเนินชีวิตบนทางสายกลางได้อย่างย่ังยืนจนถึง 
เป้าหมาย

ในท�ำนองเดียวกันถ้าเราเอาแต่ปฏิบัติแต่ 
ไมม่ คี วามรดู้ า้ นปรยิ ตั เิ ลย กไ็ มต่ า่ งกบั การเดนิ ดว้ ย 
ขาขา้ งเดยี ว ยอ่ มยากจะถงึ เปา้ หมายไดเ้ พราะตอ้ ง 
เดนิ กะโผลกกะเผลก นกั ปฏบิ ตั จิ งึ ตอ้ งมคี วามรดู้ า้ น 
ปริยัติด้วย เช่น รู้ว่าอริยสัจ ๔ คืออะไร จะต้อง 
ปฏิบัติหรือเกี่ยวข้องกับอริยสัจแต่ละข้ออย่างไร 
เปน็ ตน้  แตถ่ งึ แมจ้ ะมคี วามรดู้ า้ นปรยิ ตั เิ ปน็ พนื้ ฐาน 
แล้ว ก็ใช่ว่าจะพอแค่นั้น ยังมีส่ิงอ่ืนที่ต้องค�ำนึง 
เพื่อจัดให้มีความสมดุล เช่น ในการปฏิบัติธรรม 
เราก็ต้องมีสมดุลระหว่างสมถะกับวิปัสสนา คือ 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๑๑

ถา้ จะเจรญิ วปิ สั สนากต็ อ้ งมสี มถะเปน็ พน้ื เพอื่ ใหจ้ ติ  
มีสมาธิส�ำหรับพิจารณาให้เกิดปัญญา หากเจริญ 
วปิ สั สนาโดยทงิ้ สมถะ กย็ ากทจี่ ะสำ� เรจ็  แตถ่ า้ เอาแต ่
เจริญสมถะโดยไม่สนใจวิปัสสนา ก็ไม่เกิดปัญญา 
จนเขา้ ถงึ สจั ธรรมได ้ เราตอ้ งมที งั้ สมถะและวปิ สั สนา 
อย่างได้ดุลกัน การปฏิบัติธรรมจึงจะได้ผล นำ� ไป 
ส่กู ารพน้ ทุกข์

ถ้าเราสังเกตดูพระพุทธองค์ทรงเน้นเรื่อง 
ความพอดหี รอื ความสมดลุ มาก อนั นเ้ี ปน็ คนละสว่ น 
กับเรื่องทางสายกลาง ทางสายกลางน้ันเราต้อง 
ดำ� เนนิ อยแู่ ลว้  แตจ่ ะดำ� เนนิ อยา่ งไรใหถ้ งึ เปา้ หมาย 
ก็ต้องอาศัยความสมดุลระหว่างปริยัติกับปฏิบัต ิ
สมดลุ ระหว่างสมาธิกบั วิปัสสนา เปน็ ต้น

ศรัทธากับปัญญา

หลักธรรมข้อหน่ึงท่ีชาวพุทธคุ้นเคย ก็คือ 
อินทรีย์ ๕ หรือธรรม ๕ ประการท่ีเป็นใหญ่ใน 
การท�ำกิจต่างๆ ถ้าเราพิจารณาดูก็จะพบว่าใน 
๕ ประการนม้ี ธี รรมะอยสู่ องค ู่ ซง่ึ ตอ้ งมคี วามสมดลุ  
หรอื พอด ี จงึ จะเกดิ ผลทมี่ งุ่ หมาย สองคนู่ น้ั  ไดแ้ ก่ 
ศรทั ธากบั ปญั ญาและวริ ยิ ะกบั สมาธ ิ ถา้ มแี ตศ่ รทั ธา 
แตไ่ มม่ ปี ญั ญากอ็ าจทำ� ใหเ้ รางมงายได ้ เหมอื นกบั  
รถท่ีแล่นเร็วแต่ไม่มีพวงมาลัยก็อาจจะว่ิงลงคูได้ 
เราพบคนประเภทน้ีเยอะคือมีศรัทธาแต่ขาด 
ปญั ญา กอ็ าจทำ� ใหด้ ำ� เนนิ ชวี ติ อยา่ งผดิ ทศิ ผดิ ทาง 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                         

เพราะหลงเชื่อคนท่ีสอนผิด ไม่รู้จริง ส่วนคนท ่ี
มีปัญญาแต่ขาดศรัทธา ก็อาจจะเป็นคนอวดดี 
ไมฟ่ งั ใคร หรอื ไดแ้ ตค่ ดิ และตง้ั ค�ำถาม มวั แตส่ งสยั  
แต่ไม่ยอมลงมือปฏิบัติเสียที เพราะไม่เชื่อใครเลย 

๑๔ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

สักคนแม้กระทั่งพระพุทธเจ้า ท่ีจริงการรู้จักต้ัง 
ค�ำถามเป็นส่ิงที่ดีถ้าใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล 
แต่เหตุผลน้ันไม่สามารถให้ค�ำตอบได้ในทุกเรื่อง 
จนกว่าจะลงมือปฏิบัติและเห็นผลด้วยตัวเอง แต ่
คนเราจะลงมือปฏิบัติได้แม้จะยังเห็นผลไม่ชัดก็ 
ต่อเม่ือมีศรัทธาในค�ำสอนของครูบาอาจารย์หรือ 
ผรู้  ู้ คอื เชอื่ วา่ ทา่ นสอนไมผ่ ดิ ทาง กท็ ำ� ใหก้ ลา้ ลงมอื  
ปฏบิ ตั  ิ แตถ่ า้ ขาดศรทั ธาแลว้  แมจ้ ะมปี ญั ญาชนดิ ท่ี 
ทำ� ใหเ้ หน็ ชดั วา่ การปฏบิ ตั ธิ รรม เชน่  การเจรญิ สติ 
นนั้ มปี ระโยชน ์ เปน็ เรอื่ งด ี แตพ่ อปฏบิ ตั ไิ ปไดส้ กั พกั  
มปี ญั หาขน้ึ มา เกดิ ความทอ้ แท ้ กเ็ ลกิ ปฏบิ ตั ไิ ปเลย 
หรอื ไมก่ ท็ ำ� แบบเฉอื่ ยเนอื ย เหมอื นรถยนตท์ เี่ ครอื่ ง 
ไม่ค่อยมีก�ำลังหรือไม่ค่อยมีน้�ำมันจึงไปได้ไม่ไกล 
ในทางตรงขา้ มถา้ เขามศี รทั ธาในครบู าอาจารยแ์ ลว้  
เวลาท่านกระตุ้นหรือแนะน�ำ เขาก็จะเกิดก�ำลังใจ 
ท่ีจะเพียรพยายามต่อไป ไม่ละท้ิงกลางคัน แม้จะ 
มองไมเ่ ห็นผล แต่ก็มัน่ ใจวา่ ท่านสอนไมผ่ ดิ แน ่ จึง 
ไม่เลิกปฏบิ ตั ิ

วิริยะกับสมาธิ

ธรรมอกี คหู่ นง่ึ กค็ อื วริ ยิ ะกบั สมาธ ิ วริ ยิ ะคอื  
ความขยันหม่ันเพียร เป็นของดีใครๆ ก็รู้ แต่ถ้า 
ขยันมากไป ใจก็ฟุ้งซ่านได้ มีคนหลายคนที่ขยัน 
ขนั แขง็ มากแตว่ า่ นอนไมห่ ลบั  กลางคนื กย็ งั คดิ เรอ่ื ง 
งานการอยู่ อยู่นิ่งๆ ไม่เป็น ถ้าไม่มีอะไรท�ำจะ 
กระสบั กระสา่ ย ฉะนน้ั จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งมสี มาธเิ ขา้ มา 
กำ� กบั เพอ่ื ไมใ่ หข้ ยนั แบบเลยเถดิ จนบน่ั ทอนตวั เอง 
คนขยันจ�ำนวนไม่น้อยบั่นทอนจิตใจตัวเองเพราะ 

ขาดสมาธ ิ ฉะน้ันจึงต้องมสี มาธเิ ข้ามากำ� กับวิริยะ 
จะได้รู้จักนิ่ง สงบ เยือกเย็น แต่ถ้ามีแต่สมาธิไม่มี 
วิริยะเลยก็กลายเป็นพวกเฉ่ือยเนือย มีคนจ�ำนวน 
ไมน่ อ้ ยท่พี อเขา้ วัดปฏิบัตธิ รรม จติ สงบแลว้  กเ็ ลย 
น่ิงเฉย ไม่เอาธุระ ไม่อยากจะท�ำอะไร ท�ำให้คน 
จำ� นวนไมน่ อ้ ยตง้ั ค�ำถามว่าปฏิบัติธรรมแล้วทำ� ไม 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๑๗

กลายเปน็ คนเฉอ่ื ยขาดความกระตอื รอื รน้  ไมใ่ สใ่ จ 
กบั การงาน ไมอ่ ยากรบั ผดิ ชอบอะไรเลย อนั นไ้ี มใ่ ช่ 
คุณสมบัติท่ีดีของชาวพุทธ ชาวพุทธท่ีดีต้องมีท้ัง 
ความขยันหม่ันเพียร กระฉับกระเฉง แต่ว่าในใจ 
นน้ั นิ่งสงบ เหมือนรถไฟญ่ีปุ่นท่ีแล่นเร็วมากมอง 
จากขา้ งนอก แตข่ า้ งในรถนน้ั สงบเงยี บ คนทม่ี ที ง้ั  
วิริยะและสมาธิอย่างสมดุลจะมีลักษณะแบบน้ัน 
กระฉับกระเฉง คล่องแคลว่  แต่ใจไม่รน สงบน่ิง

ทงั้ ศรทั ธากบั ปญั ญาลว้ นเปน็ ของด ี แตก่ ต็ อ้ ง 
มีอย่างพอดีหรือสมดุลกัน เช่นเดียวกับวิริยะกับ 
สมาธิ จะเลือกอันใดอันหน่ึงและท้ิงอีกอันไม่ได้ 
ต้องมีท้ังสองอย่างแบบพอดีๆ จะท�ำเช่นนั้นได้ก็ 
ต้องมีธรรมประการที่ ๕ คือ สติ สติเป็นตัวเช่ือม 
ระหว่างศรัทธากับปัญญา ระหว่างวิริยะกับสมาธ ิ
ทำ� ใหเ้ กดิ ความสมดลุ ระหวา่ งองคธ์ รรมทดี่ เู หมอื น 
มีคณุ สมบตั ิตรงข้ามกัน แต่ทจี่ ริงเสรมิ กนั มาก

๑๘ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

อันน้ีเป็นตัวอย่างท่ีชี้ให้เห็นว่าความสมดุล 
เปน็ สงิ่ สำ� คญั สำ� หรบั การปฏบิ ตั ธิ รรม สำ� หรบั การ 
ด�ำเนินชีวิตบนทางสายกลาง ชีวิตจะเจริญมั่นคง 
ได ้ เราตอ้ งใสใ่ จกบั ความสมดลุ ระหวา่ งองคธ์ รรม 
เช่น ระหว่างศรัทธากับปัญญา วิริยะกับสมาธิ 
เปน็ ตน้  เรอื่ งความสมดลุ ยงั สามารถพดู ไดอ้ กี มาก 
แตท่ อ่ี ยากจะพดู ในทน่ี กี้ ค็ อื  ทำ� ไมในการดำ� เนนิ ชวี ติ  
เราจึงตอ้ งให้ความส�ำคัญและใส่ใจกับความสมดุล 
คำ� ตอบกเ็ พราะคนเรามแี นวโนม้ ทจ่ี ะเอยี งไปทางใด 
ทางหนึ่ง ไม่ใช่เอียงไปสู่ทางสุดโต่งท่ีไม่ดีเท่าน้ัน 
เชน่  เอยี งไปทางการหมกมนุ่ ในกาม หรอื การทรมาน 
ตนเท่านั้น แต่คนเรายังมีแนวโน้มท่ีจะเอียงหรือ 
หนักไปทางธรรมะข้างใดข้างหนึ่งจนขาดความ 
สมดุล เช่น เอียงไปทางศรัทธา หรือเอียงไปทาง 
ปญั ญา ซง่ึ ทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ ชวี ติ ไมส่ ามารถกา้ วไป 
สู่จุดหมายปลายทางท่ีพึงประสงค์ได้ เหมือนกับ 
การเดนิ ทางไกลด้วยขาเพยี งขาเดยี ว

การใหก้ บั การรับ

ความสมดุลไม่ได้มีประโยชน์แก่การด�ำเนิน 
ชวี ติ เทา่ นน้ั  แตเ่ ปน็ พนื้ ฐานหรอื เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ สำ� หรบั  
ชวี ติ เลยทเี ดยี วกว็ า่ ได ้ ยกตวั อยา่ งเชน่  ชวี ติ คนเรา 
ตอ้ งมคี วามสมดลุ ระหวา่ งการรบั กบั การให ้ พทุ ธ- 
ศาสนาเน้นความสำ� คัญของการให้ทาน ทานเป็น 
องค์ธรรมข้อแรกในการบ�ำเพ็ญความดีที่เรียกว่า 
บญุ กริ ยิ า และเปน็ บารมขี อ้ แรกของทศบารมหี รอื  
บารม ี ๑๐ ทงั้ นเี้ พราะทานเปน็ สง่ิ พน้ื ฐานทชี่ ว่ ยให ้
ชวี ติ เรามคี วามสมดลุ  ถา้ ไมร่ จู้ กั ใหท้ านแลว้  คนเรา 
จะเป็นฝ่ายรับอย่างเดียว ขอให้สังเกต ต้ังแต่เกิด 



พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๒๑

เราจะเปน็ ฝา่ ยรบั อยา่ งเดยี ว คอื รบั จากแมจ่ ากพอ่  
จากญาตผิ ใู้ หญ ่ จากลงุ ปา้ นา้ อา ตอ่ มากร็ บั ความร้ ู
จากครูบาอาจารย์ ยิ่งสมัยนี้เด็กจะเป็นฝ่ายรับ 
เสียมาก จนกระท่ังจำ� นวนไม่น้อยเลยลืมท่ีจะเป็น 
ผู้ให้ ชีวิตท่ีเอาแต่รับอย่างเดียวเป็นชีวิตท่ีขาด 
สมดลุ อยา่ งยง่ิ  และเปน็ ชวี ติ ทเ่ี จรญิ กา้ วหนา้ ไดย้ าก 
ทจ่ี รงิ ไมม่ ใี ครในโลกนท้ี มี่ ชี วี ติ อยไู่ ดห้ ากเปน็ ฝา่ ยรบั  
อย่างเดยี ว คนเราหายใจเขา้ แลว้ กต็ อ้ งหายใจออก 
หายใจเข้ารับเอาอากาศเข้ามา แต่ไม่ยอมหายใจ 
ออกเลยจะเปน็ อยา่ งไร หว้ งน้�ำหรอื บอ่ นำ้� ทเี่ อาแต่ 
รับน�้ำอย่างเดียว แต่ไม่ระบายหรือถ่ายเทให้ใคร 
เลย จะเกิดอะไรขึ้น ก็กลายเป็นน�้ำเน่าในท่ีสุด 
แหล่งน้�ำสะอาดก็เพราะว่าไม่ได้เป็นฝ่ายรับอย่าง 
เดียว แต่รู้จักให้หรือถ่ายเทให้แก่ท่ีอ่ืนด้วย จึงมี 
นำ�้ สะอาดใชส้ อยได ้ ไมเ่ ปน็ โทษ  ยงิ่ นำ้� ตกดว้ ยแลว้  
ท�ำไมถึงสวยงาม ก็เพราะว่าไม่ได้รับอย่างเดียว 
แต่ให้ด้วย

๒๒ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

ธรรมชาติงดงามได้เพราะมีความสมดุล 
ระหว่างการรับกับการให้ ดูต้นไม้เป็นตัวอย่าง 
ตอนท่ียังเป็นต้นกล้าก็ดูดเอาน้�ำเอาปุ๋ยจากดิน 
ในเวลาเดียวกันก็คายน�้ำให้กับโลก ทิ้งก่ิงทิ้งใบให้ 
เป็นปุ๋ยกลับคืนสู่พ้ืนดิน เมื่อโตขึ้นก็ยังแผ่ก่ิงก้าน 
สาขาให้ดอกผลเพ่ือเป็นประโยชน์แก่สรรพสัตว ์
หลงั จากทเ่ี ปน็ ฝา่ ยรบั มานาน อนั นเี้ ปน็ คณุ สมบตั ิ 
หรือกฎเกณฑ์พื้นฐานของทุกชีวิต ทุกชีวิตต้องมี 
คุณสมบัติข้อนี้ถึงจะอยู่รอดและเจริญงอกงามได้ 
มนุษย์ก็เช่นกันต้องมีสมดุลระหว่างรับกับให้ แต ่
ทุกวันนี้เราใช้ชีวิตอย่างขาดสมดุลมาก จึงเต็มไป 
ดว้ ยปญั หาทล่ี กุ ลามจนเปน็ วกิ ฤต ทง้ั ในระดบั โลก 
และในระดบั ชีวติ

ปจั จบุ นั นคี้ นจำ� นวนไมน่ อ้ ยเปน็ ฝา่ ยรบั อยา่ ง 
เดียว ไม่ให้ใครเลย แต่ถ้าเราพยายามเป็นฝ่ายให้ 
ด้วยการบ�ำเพ็ญทาน ซึ่งไม่จ�ำเป็นต้องให้ทานกับ 
พระ แมก้ ารใหท้ านกบั ฆราวาส หรอื ใหท้ านกบั คน 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๒๓

ทเ่ี ดอื ดรอ้ นกช็ ว่ ยใหเ้ กดิ สมดลุ ในชวี ติ ได ้ ถา้ หากวา่  
ชีวิตของเรามีแต่รับหรือรับมากกว่าให้ก็แสดงว่า 
ขาดสมดุลแล้วตั้งแต่แรก ต้องปรับตัวมาเป็นผู้ให ้
หรือบ�ำเพ็ญทานมากขึ้น โดยเฉพาะลูกหลานของ 
เรา ตอ้ งสอนใหเ้ ขาเปน็ ผใู้ หม้ ากขนึ้  ไมเ่ ชน่ นน้ั เขา 
จะเปน็ คนทมี่ แี ตค่ วามทกุ ข ์ เพราะชวี ติ ทเ่ี อาแตร่ บั  
ไมร่ จู้ กั ใหเ้ ลย เปน็ ชวี ติ ทไ่ี มร่ จู้ กั คำ� วา่ พอ คณุ ภาพจติ  
จะตกต�่ำเหมือนกับแหล่งน�้ำท่ีเอาแต่รับไม่รู้จักให้ 
จงึ เตม็ ไปดว้ ยนำ�้ เนา่  เดก็ หรอื ผใู้ หญท่ ไ่ี มร่ จู้ กั ใหเ้ ลย 
จะกลายเปน็ คนเหน็ แกต่ วั  มชี วี ติ ทวี่ า่ งเปลา่ ไรค้ ณุ คา่  
อีกทั้งตัวเองก็จะเป็นคนทุกข์ง่าย เพราะว่าจิตท่ี 
คดิ แตจ่ ะเอานน้ั เปน็ จติ ทมี่ คี วามสขุ ไดย้ าก เพราะได ้
เท่าไหร่ก็ไม่พอ ได้แล้วก็ยังอยากได้อีกไม่รู้จักจบ 
ไมร่ จู้ กั สนิ้  เพราะถกู อบรมบม่ เพาะมาอยา่ งนน้ั  แต่ 
ถา้ เรารจู้ กั ให ้ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยการใหว้ ตั ถสุ งิ่ ของ ตอ่ ไป 
กใ็ หส้ ง่ิ อนื่  เชน่  ใหเ้ วลา ใหส้ ตปิ ญั ญา กจ็ ะชว่ ยใหม้ ี 
ชวี ิตสมดุล กลายเป็นคนท่ีมีความสขุ ง่าย



สุขง่ายทกุ ข์ยาก

ชีวิตที่เอาแต่รับเป็นชีวิตท่ีทุกข์ง่ายสุขยาก 
ชวี ติ ทรี่ จู้ กั ใหเ้ ปน็ ชวี ติ ทส่ี ขุ งา่ ยทกุ ขย์ าก คอื มคี วาม 
สขุ ไดง้ า่ ย และยากทจี่ ะเปน็ ทกุ ข ์ เพราะเมอื่ ใหด้ ว้ ย 
ความปรารถนาด ี กจ็ ะมคี วามสขุ ทไี่ ดใ้ ห ้ เปน็ ความ 
สุขใจที่ไม่ต้องอาศัยเงินทองและไม่ต้องพ่ึงสิ่งเสพ 
ความสุขแบบนี้จึงเกิดข้ึนได้ง่ายเพราะไม่มีเงินก ็
สขุ ได ้ ไมต่ อ้ งไปเทย่ี วหา้ งหรอื ซอ้ื ของแพงๆ กส็ ขุ ได ้
ยง่ิ ใหก้ ย็ ง่ิ มคี วามสขุ  โดยเฉพาะเมอื่ เหน็ คนทไี่ ดร้ บั  
จากเรามคี วามสขุ  ยมิ้ แยม้ แจม่ ใส เขาสขุ เรากส็ ขุ ดว้ ย 
แตถ่ งึ แมจ้ ะไมเ่ หน็ วา่ ผรู้ บั มคี วามสขุ อยา่ งไร เพยี ง 

๒๖ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

แคไ่ ดใ้ หเ้ รากม็ คี วามสขุ แลว้  ความสขุ แบบนยี้ งั ชว่ ย 
ลดความเหน็ แกต่ ัว และทำ� ให้คดิ ถงึ คนอืน่ มากขนึ้  
คนทค่ี ดิ ถงึ คนอนื่ นน้ั จะมคี วามทกุ ขไ์ ดย้ าก เพราะ 
ถึงแม้ตัวเองจะมีน้อย แต่พอนึกถึงคนอื่นท่ีเขาม ี
น้อยกว่าเราก็จะรู้สึกว่าเรายังโชคดีกว่าคนอื่นอีก 
มาก แลว้ จะทุกข์ไปท�ำไม

การเป็นผู้รับหรือมีทรัพย์สมบัติมากๆ แม ้
จะทำ� ใหเ้ กดิ ความมงั่ ม ี แตเ่ ปน็ ความมง่ั มภี ายนอก 
ข้างในอาจจะรู้สึกพร่อง ว่างเปล่า ขาดความสุข 
ตรงกันข้ามกับชีวิตท่ีรู้จักให้หรือรู้จักสละ จะม ี
ความร�่ำรวยภายใน เปี่ยมด้วยความสุขภายใน 
คนเราสมัยนี้รู้จักแต่สุขภายนอกคือสุขจากวัตถ ุ
สขุ จากการมีการเสพ แต่เท่านั้นยังไม่พอ ชีวิตที่ม ี
แต่สุขภายนอกหรือรู้จักแต่สุขทางวัตถุเป็นชีวิตที่ 
หาความสขุ ไดย้ าก เพราะอยากไดไ้ มร่ จู้ กั พอ ทำ� ให้ 
จิตใจเร่าร้อนกระหายอยากอยู่เสมอ แต่ถ้าเรา 
มีความสุขภายใน ก็ช่วยให้สุขทางวัตถุหรือสุข 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๒๗

ภายนอกเป็นสุขท่ีไม่บ่ันทอนจิตใจ แต่สามารถจะ 
เกื้อกูลให้เกิดประโยชน์หรือความสุขใจมากข้ึน 
เชน่ เมอื่ มคี วามสขุ ภายในแลว้  หากมวี ตั ถเุ รากย็ นิ ด ี
ทจี่ ะแบง่ ใหแ้ กผ่ อู้ นื่  หรอื เพอื่ ประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวม 
ท�ำให้เกิดความสุขเพิ่มพูนข้ึน แต่ถ้าเก็บเอาไว้ 
คนเดยี วกจ็ ะมคี วามทกุ ข ์ กลวั คนขโมย เหนด็ เหนอ่ื ย 
ในการรกั ษา อกี ทงั้ ยงั อจิ ฉาทเี่ หน็ คนอนื่ มมี ากกวา่  
ตน นอกจากการรบั กบั การใหแ้ ลว้  สขุ ภายนอกกบั  
สุขภายในก็เปน็ อกี คหู่ นึง่ ท่ีเราควรมีอยา่ งสมดลุ



ชีวติ ดา้ นนอก ชวี ิตด้านใน

ทกุ วนั นเี้ ราใหเ้ วลาหรอื เสยี เวลาสว่ นใหญไ่ ป 
กบั การทำ� กจิ กรรมภายนอก เชน่  การทำ� มาหากนิ  
การติดต่อสัมพันธ์กับผู้คน รวมท้ังการกินการ 
บรโิ ภคและเท่ียว แต่เวลาแต่ละวันเราหมดไปกับ 
สงิ่ ภายนอก ไมว่ า่ คน สตั ว ์ สง่ิ ของ หรอื วตั ถ ุ นน่ั ก็ 
เป็นความไม่สมดุลอีกอยา่ งหนึ่ง เพราะวา่ สิ่งทีถ่ กู  
ละเลยไปกค็ อื ชวี ติ ดา้ นใน ชวี ติ จะเจรญิ งอกงามได ้
ต้องมีสมดุลระหว่างชีวิตด้านนอกกับชีวิตด้านใน 
ชวี ติ ดา้ นในกค็ อื คณุ ภาพของจติ ใจ การดแู ลเอาใจใส่ 
จติ ใจ การเตมิ ความร�่ำรวยภายใน จะเหน็ ไดว้ า่ คน 
ส่วนใหญ่ละเลยชีวิตด้านใน มัวสนใจแต่ชีวิตด้าน 
นอก ใหค้ ณุ คา่ แกส่ ง่ิ นอกตวั มาก แมแ้ ตก่ ารศกึ ษา 

๓๐ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

หาความรู้ก็ล้วนเป็นเรื่องนอกตัว จิตส่งออกนอก 
อยู่ตลอดเวลา ถามว่าทุกวันน้ีความต้องการของ 
คนส่วนใหญ่คืออะไร กค็ อื ความสำ� เรจ็ ในการงาน 
การมีทรัพย์สมบัติ มีชื่อเสียงเกียรติยศ แต่เราลืม 
ไปวา่ ยง่ิ ใหค้ วามสำ� คญั กบั ชวี ติ ดา้ นนอกมากเทา่ ไหร ่
ก็ย่ิงจ�ำเป็นต้องสร้างฐานภายในให้หย่ังลึกและ 
มัน่ คงมากเท่านน้ั

ตน้ ไมท้ พี่ งุ่ สงู เอาๆ แตถ่ า้ รากมนั ตน้ื  หรอื ไม ่
หย่ังรากให้ลึกเพียงพอ จะเกิดอะไรข้ึน มันจะอยู่ 
ไดน้ านไหม ขอใหส้ งั เกตดจู ากธรรมชาต ิ ตน้ ไมย้ ง่ิ  
แทงยอดสูงเท่าไหร่ รากก็ย่ิงหยั่งลึกลงไปในดิน 
มากเท่านั้น ทำ� ไมต้นไมใ้ หญ่สามารถทานลมพายุ 
ไดน้ น่ั กเ็ พราะตน้ ไมเ้ หลา่ นนั้ มรี ากทล่ี กึ มาก ตน้ ไม ้
ย่ิงสูงใหญ่มากเท่าไหร่ ยิ่งแทงยอดขึ้นฟ้ามาก 
เท่าไหร่ก็ยิ่งหย่ังรากลึกลงไปในดินมากเท่าน้ัน 
เพ่ืออะไร ก็เพื่อให้เกิดความม่ันคง สามารถยืน 
หยัดต้านลมพายไุ ด ้ คนเราถา้ คดิ แตก่ ารสรา้ งตวั ให ้

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๓๑

สงู เดน่  ประสบความสำ� เรจ็ ในการงานเพอ่ื มตี ำ� แหนง่  
สูงๆ แต่ถ้าใจของเราไม่ลุ่มลึกพอ เราก็จะมีความ 
ทุกข์ง่าย คนที่มีต�ำแหน่งสูงๆ ในองค์กรหรือใน 
ราชการบา้ นเมอื งกแ็ ลว้ แต ่ เลยี่ งไมไ่ ดท้ จี่ ะตอ้ งตก 
เปน็ เปา้ ของการวพิ ากษว์ จิ ารณ ์ หรอื ถกู กลน่ั แกลง้  
ถ้าฐานใจของเขาไม่หยงั่ ลึก เขาจะหวัน่ ไหวได้งา่ ย 
บางคนเจอแคล่ มปากกส็ ะเทอื นแลว้  ยงั ไมต่ อ้ งเจอ 
พายุหรอก พวกเราเป็นอย่างนี้หรือเปล่า คนที่มี 
ตำ� แหนง่ สงู ๆ มหี นา้ ทก่ี ารงานความรบั ผดิ ชอบมาก 
เวลาถกู ต�ำหน ิ ถกู วพิ ากษว์ จิ ารณ ์ เจอบตั รสนเทห่ ์ 
ใจเราเปน็ อยา่ งไร ถา้ ใจเราหวนั่ ไหวกแ็ สดงวา่ ฐาน 
ใจเราไม่ลึกพอ ยังไม่มีความสมดุลระหว่างชีวิต 
ด้านนอกกับชีวิตด้านใน จึงจ�ำเป็นมากท่ีเราต้อง 
หนั มาดแู ลเสรมิ สรา้ งชวี ติ ดา้ นในของเรา ดว้ ยการ 
ฝึกจิตให้มีสมาธิ สงบเย็น มีสติรู้ทันอารมณ์ และ 
มีปัญญาที่ช่วยให้ไม่หว่ันไหวกับความผันผวน 
ปรวนแปรตา่ งๆ อนั นเ้ี ปน็ เรอ่ื งของการปฏบิ ตั ธิ รรม 
เป็นเร่อื งของการทำ� สมาธภิ าวนา

ขอเวลาใหจ้ ิตใจบา้ ง

วันหนึ่งๆ เราให้เวลากับร่างกายเยอะมาก 
อย่างน้อย ๘ ช่ัวโมงต่อวันหมดไปกับการท�ำมา 
หากิน ซ่ึงส่วนใหญ่ก็เป็นไปเพ่ือหาวัตถุมาสนอง 
ความตอ้ งการของรา่ งกายหรอื ปรนเปรอรา่ งกาย 
เชน่  หาอาหาร ซอ้ื เสอื้ ผา้  ซอื้ รถยนต ์ ผอ่ นบา้ น แม้ 
เลิกงานแล้วก็ยังใช้เวลาไม่น้อยไปกับการจับจ่าย 
ซ้ือของเพ่ือประโยชน์แก่ร่างกาย แม้แต่เวลานอน 
เราก็ใช้ไปกับการพักผ่อนร่างกาย ส่วนใจไม่ค่อย 
ไดพ้ กั  สว่ นใหญห่ ลบั แลว้ กย็ งั ฝนั ตอ่  เรยี กวา่ กลางคนื  
ฝนั  กลางวนั ฟงุ้  เราเคยถามตวั เองไหมวา่ วนั หนงึ่ ๆ 
เราใหเ้ วลากบั จติ ใจเทา่ ไหร ่ เราอาบนำ้� ทกุ วนั วนั ละ 
๒-๓ ครั้ง ช�ำระร่างกายรวมแล้วนานเป็นชั่วโมง 



๓๔ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

แตเ่ ราเคยใหเ้ วลาในการชำ� ระใจบา้ งหรอื ไม ่ เรากนิ  
อาหารบ�ำรุงกายวันละหลายมื้อ แต่อาหารใจเรา 
เคยใหไ้ หม ถา้ คำ� นวณดแู ลว้ จะพบวา่ วนั หนงึ่ ๆ เรา 
ให้เวลากับร่างกายของเราเยอะมาก เรียกได้ว่า
วันหน่ึง เราให้เวลาอาจจะถึง ๒๓ ชั่วโมงส�ำหรับ 
ร่างกาย ตอบสนองความต้องการของร่างกาย 
ปรนเปรอร่างกาย รวมทั้งปรนเปรอตา หู จมูก 
ลิ้น ส่วนใจนั้นเราไม่ค่อยได้มีเวลาให้เลย น่ันคือ 
ความไมส่ มดลุ อยา่ งหนงึ่ ในชวี ติ ของเรา จงึ จำ� เปน็ ที ่
เราจะต้องหันมาให้เวลากับจิตใจของเรามากข้ึน 
อาหารกายมกี ด็ แี ลว้ แตอ่ ยา่ ลมื อาหารใจ ชำ� ระกาย 
ก็ถูกต้องดีแล้ว แต่อย่าลืมช�ำระใจ เรามีเวลาพัก 
กายแตอ่ ย่าลมื เวลาพักใจดว้ ย

เหตผุ ลกับอารมณ์
หรือสมองกบั หัวใจ

พูดถึงเรื่องใจก็มีสมดุลอีกประเภทหน่ึงที่ 
สำ� คญั มาก นนั่ คอื สมดลุ ระหวา่ งเหตผุ ลกบั อารมณ ์
หรอื พดู อปุ มาเปน็ ภาพพจนว์ า่  สมดลุ ระหวา่ งสมอง 
กบั หวั ใจ เดยี๋ วนเ้ี ราใหน้ ำ�้ หนกั มากกบั การใชค้ วามคดิ  
หรือการใช้สมองให้เชี่ยวชาญ แต่เราละเลยการ 
พฒั นาอารมณห์ รอื การดแู ลรกั ษาจติ ใจ สง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้  
คอื อะไร กค็ อื เราคดิ เกง่  มคี วามรเู้ ยอะ รวู้ า่ อะไรดี 
อะไรไมด่  ี อะไรควรทำ�  อะไรไมค่ วรทำ�  แตป่ รากฏวา่  

ชี วิ ต ส ม ดุ ล

ใจไมน่ อ้ มตาม หลายคนรวู้ า่ กนิ เหลา้ ไมด่  ี สบู บหุ ร่ ี
เป็นโทษ แต่ท�ำไมเลิกไม่ได้ หรือว่าท�ำไมไม่ยอม 
เลกิ  คำ� ตอบกเ็ พราะใจไมเ่ อาดว้ ย พดู อกี อยา่ ง หวั ใจ 
ไมค่ ลอ้ ยตามสมอง เดก็ ๆ ทกุ คนกร็ วู้ า่ การขยนั เรยี น 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๓๗

หนงั สอื  การขยนั ทำ� การบา้ นเปน็ ของด ี เดก็ ควรดู 
โทรทัศน์น้อยๆ ศึกษาค้นคว้ามากๆ แต่ท�ำไมเด็ก 
จำ� นวนไมน่ อ้ ยถงึ ทำ� ไมไ่ ด ้ นนั่ กเ็ พราะใจไมไ่ ป ผใู้ หญ ่
กเ็ หมอื นกนั  เรารวู้ า่ ความโกรธไมด่  ี เรารวู้ า่ ความ 
โกรธบั่นทอนกัดกร่อนจิตใจ แต่ท�ำไมเราไม่เลิก 
โกรธ นน่ั กเ็ พราะใจไมเ่ อาดว้ ย ใจยงั หวงแหนยดึ ตดิ  
ความโกรธอย ู่ หลายคนรทู้ งั้ รวู้ า่ พระพทุ ธเจา้ สอน 
อะไร ลว้ นแตด่ ที งั้ นน้ั  แตท่ ำ� ไมไ่ ด ้ หลายคนไตรต่ รอง 
ด้วยเหตุผลก็เชื่อว่าผีไม่มีจริงแต่ท�ำไมถึงกลัวผี 
ไมก่ ล้าไปอยู่ในที่มดื  น่นั กเ็ พราะใจมนั ยงั กลัวอยู่

ลองสงั เกตด ู ทกุ วนั นเ้ี รารอู้ ะไรดๆี  เยอะเลย 
แตเ่ ราทำ� ไมไ่ ดเ้ พราะวา่ ใจมนั ไมไ่ ป ใจไมค่ ลอ้ ยตาม 
รวู้ า่ ปฏบิ ตั ธิ รรมดแี ตว่ า่ เอาไวว้ นั หลงั แลว้ กนั  ตอนน ี้
ใจยังอาลัยในความสุขจากทางโลก เห็นไหมมันมี 
ความขัดแย้งกันระหว่างสมองกับหัวใจ สมองน้ัน 
ถ้าใช้เหตุผลหรือคิดถูกคิดเป็นก็สามารถรู้ได้ว่า 
อะไรคือความถูกต้อง แต่ถ้าอารมณ์หรือจิตใจไม ่

๓๘ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

พัฒนาก็จะหันไปหาความถูกใจอย่างเดียว คน 
ทุกวันนี้รู้ท้ังรู้ว่าอะไรคือความถูกต้อง แต่ไม่ยอม 
ท�ำส่ิงที่ถูกต้อง หรือผัดผ่อนอยู่เร่ือย ก็เพราะยัง 
เพลิดเพลนิ ในสิง่ ถูกใจอยู่

อาตมานกึ ถงึ นกั บญุ คนหนงึ่ ของศาสนาครสิ ต์ 
นิกายโรมันคาทอลิกช่ือนักบุญออกัสติน ตอนที่ 
เปน็ หนมุ่  ออกสั ตนิ ยงั ไมไ่ ดบ้ วช เปน็ คนฉลาดมาก 
แตเ่ ปน็ หนมุ่ เจา้ สำ� ราญ หลงใหลในอสิ ตร ี แมจ้ ติ ใจ 
จะใฝ่มาทางพระเจ้าแต่ว่าไม่สามารถท�ำตามค�ำ 
สอนของศาสดาได้ ออกัสตินอยากอุทิศตัวให ้
พระเจ้า และรู้ว่าการถือเพศพรหมจรรย์เป็นสิ่ง 
ทดี่  ี แตก่ ย็ งั หว่ งความสขุ ในทางกามอย ู่ คราวหนงึ่  
ออกัสตินสวดอธิษฐานต่อพระเจ้าว่า “โปรด 
ประทานชีวิตพรหมจรรย์และความไม่มักมากใน 
กามคุณใหล้ กู ด้วย” แลว้ ทา่ นพดู ตอ่ วา่  “แตย่ งั ไมใ่ ช่ 
ตอนน”้ี  อนั นแี้ สดงวา่ สมองกับหัวใจไม่ไปด้วยกัน 
เหตุผลบอกว่าพรหมจรรย์นั้นดี แต่ใจยังไม่คล้อย 

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๓๙

ตาม เห็นไหมว่าถ้าใจเรายงั ไมพ่ ฒั นา ถงึ แมเ้ ราจะ 
คดิ เกง่  รอู้ ะไรดอี ะไรไมด่  ี แตถ่ า้ ใจยงั ไมม่ กี ารอบรม 
บม่ เพาะให้ด ี ถึงจะคิดดรี ูด้ ีแค่ไหนก็ทำ� ไมไ่ ด้

เราคงเคยได้ยินคนพูดว่า “ดีช่ัวรู้หมด แต ่
อดใจไมไ่ ด”้  คนสว่ นใหญเ่ ปน็ อยา่ งนนั้  รวู้ า่ อบายมขุ  
ไม่ดี แต่เลิกไม่ได้ ชีวิตจึงจมปลักอยู่ในอบายมุข 
พวกเราอาจไมไ่ ดเ้ ปน็ อยา่ งนน้ั  แตก่ ป็ ลอ่ ยใหจ้ ติ ใจ 
จมปลกั อยใู่ นความโกรธ ความเกลยี ด หรอื หลงใหล 
เพลิดเพลินในกาม ตรงนี้เองท่ีการพัฒนาจิตใจ 
สำ� คญั มาก สมยั นเ้ี ขาเรยี กวา่ การพฒั นาอารมณเ์ พอ่ื  
ใหโ้ นม้ เขา้ หาความถกู ตอ้ ง ไมใ่ ชเ่ อาแตค่ วามถกู ใจ 
เมอ่ื ใชเ้ หตผุ ลหรอื ปญั ญาไตรต่ รองจนรวู้ า่ อะไรถกู  
อะไรผิด ก็สามารถตัดสินใจแน่วแน่ท�ำสิ่งถูก เว้น 
สิ่งผิดได้ จะท�ำอย่างน้ันได้ก็ต้องเห็นความส�ำคัญ 
ของสมดุลระหว่างสมองกับหัวใจ ระหว่างเหตุผล 
กบั อารมณ์

เอาชนะเหตุผลของกเิ ลส
ดว้ ยใจเท่าทัน

น่ีคือเหตุผลท่ีเราต้องพัฒนาจิตใจและหรือ 
บ�ำเพ็ญจิตตภาวนา จิตตภาวนาก็คือการพัฒนา 
อารมณเ์ พอื่ ใหป้ ระสานกลมกลนื หรอื เปน็ หนง่ึ เดยี ว 
กับเหตุผล รวมทั้งเป็นพลังให้แก่ปัญญาด้วย เช่น 
เวลาจะใชค้ วามคดิ หรอื ปญั ญา ใจกส็ งบนงิ่  เปน็ สมาธิ 
ช่วยให้สมองแล่น ใช้ปัญญาอย่างได้ผล ไม่ติดขัด 
เม่ือรู้ว่าอะไรดี อะไรไม่ดี อะไรควรท�ำ ไม่ควรท�ำ 
ใจก็ขับเคลื่อนให้กายและวาจาท�ำสิ่งน้ันอย่างที่ 
ปญั ญาหรอื เหตผุ ลบอก ไมใ่ ชผ่ ลกั ใหก้ ายและวาจา 
ทำ� อกี อยา่ งหนง่ึ  ทงั้ ๆ ทเี่ หตผุ ลบอกวา่ ไมด่  ี อยา่ ทำ�  
เป็นอนั ตราย



๔๒ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

การพัฒนาอารมณ์หรือการท�ำจิตตภาวนา 
ยังช่วยท�ำให้เหตุผลไม่พาเข้ารกเข้าพง เพราะเรา 
ทกุ คนลว้ นมกี เิ ลส และกเิ ลสนนั้ มนั กม็ เี หตผุ ลของมนั  
ถา้ ใจเราไมพ่ ฒั นา ไมร่ เู้ ทา่ ทนั กเิ ลส กเิ ลสกส็ ามารถ 
อ้างเหตุผลพาเราเข้ารกเข้าพงได้ ไม่ใช่ว่าเหตุผล 
ทุกอย่างเป็นของดี บางทีเหตุผลก็ถูกสร้างข้ึนมา 
เพอื่ ลอ่ หลอกชกั จงู ใหเ้ ราท�ำสงิ่ ทไี่ มด่  ี ตวั อยา่ งเชน่  
นกั การเมอื งหลายคนบอกวา่  เขาจำ� เปน็ ตอ้ งคอร-์  
รปั ชันไม่ใช่เพื่อตัวเอง แต่เพ่ือประเทศชาติ เพราะ 
วา่ จะไดม้ เี งนิ ไปหาเสยี ง เอาไปรณรงคท์ างการเมอื ง 
เน่ืองจากการหาเสียงจะต้องใช้เงินมาก ถ้าไม่มี 
เงิน ก็ไม่ได้รับการเลือกตั้ง แล้วจะไปรับใช้ชาติได้ 
อย่างไร ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องคอร์รัปชันเพื่อจะได ้
มเี งนิ หาเสยี งรวมทง้ั ซอ้ื เสยี งดว้ ย เพอ่ื จะไดม้ าเปน็  
รัฐบาล จะได้ท�ำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติตาม 
อดุ มการณ ์ นเี่ ปน็ เหตผุ ลทฟ่ี งั แลว้ ดดู  ี นกั การเมอื ง 
ไมน่ อ้ ยกเ็ ชอ่ื เหตผุ ลหรอื คดิ แบบนนั้ จรงิ ๆ ดว้ ย นน่ั  
เปน็ เพราะวา่ เขาไมร่ เู้ ทา่ ทนั วา่ นเ่ี ปน็ เหตผุ ลของกเิ ลส

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๔๓

คนที่มีก๊ิกมีเมียน้อยเขาก็มีเหตุผลของเขา 
ไมใ่ ชเ่ ขาไมม่  ี บางทกี เ็ ปน็ เหตผุ ลทด่ี ดู  ี เชน่  เพอ่ื ชว่ ย 
ผหู้ ญงิ ใหม้ ที พี่ ง่ึ  ลมื ตาอา้ ปากได ้ หรอื เพอ่ื ฉนั จะได้ 
ผอ่ นคลายความเครยี ด ท�ำงานหนกั มามากกต็ อ้ ง 
ให้รางวัลแก่ตัวเองบ้าง แค่น้ีจะเป็นไรไป ฯลฯ แต ่
น่ันล้วนเป็นเหตุผลที่กิเลสปรุงแต่งข้ึนมา ถ้าใจ 
ไม่พัฒนา ใจก็จะเอนโอนเอียงไปตามเหตุผลของ 
กเิ ลส อยา่ ลมื วา่ กเิ ลสนน้ั สามารถสรรหาเหตผุ ลดๆี  
ทที่ �ำใหเ้ ราหลงเช่ือคลอ้ ยตามมันได้

มเี รอ่ื งเลา่ วา่ ชายผหู้ นง่ึ ตดิ เหลา้ มาก แกอยาก 
เลกิ เหลา้ แตเ่ ลกิ ไมไ่ ดเ้ สยี ท ี เพราะหลงั จากเลกิ งาน 
ตอ้ งเดนิ กลบั บา้ นและตอ้ งผา่ นรา้ นเหลา้  แกอดใจ 
ไมไ่ ดส้ กั ท ี ตอ้ งเลยี้ วเขา้ รา้ นเหลา้ ทกุ ครง้ั ไป นบั วนั  
ชีวิตแกก็แย่ลง เป็นหน้ีท่วมตัว สุขภาพก็ย�่ำแย ่
ครอบครวั กท็ ะเลาะแบะแวง้ ไมเ่ วน้ แตล่ ะวนั  วนั หนงึ่  
แกตั้งใจว่าวนั น้ีฉนั จะเลกิ เหล้าให้ได ้ ถา้ เลกิ ไมไ่ ดก้ ็ 
ขอเป็นหมาดีกว่า ตั้งใจม่ันขนาดนี้ วันน้ันพอเลิก 

๔๔ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

งานแกก็เดินกลับบ้าน เดินได้สักพักใจก็รู้สึกตุ๊มๆ 
ตอ่ มๆ เพราะรวู้ า่ ขา้ งหนา้ คอื รา้ นเหลา้  แตแ่ กกย็ ้�ำ 
กบั ตวั เองว่าวนั น้ีฉันจะตอ้ งเลกิ เหลา้ ใหไ้ ด้ พอเดนิ  
ถงึ รา้ นเหลา้ กร็ สู้ กึ เปรย้ี วปากขน้ึ มา ความคดิ หนง่ึ  
กแ็ วบขน้ึ มาวา่  “เอาหนอ่ ยนา่ เปก๊ หนง่ึ กย็ งั ด ี ขอกนิ  
วนั นเ้ี ปน็ วนั สดุ ทา้ ย พรงุ่ นไ้ี มเ่ อาแน ่ เอาหนอ่ ยนา่ ... 
คร้ังสุดท้ายแล้ว” แต่แกก็หักห้ามใจไว้ได้ เดินต่อ 
สกั พกั กไ็ ดย้ นิ เพอื่ นในรา้ นเหลา้ เรยี ก “เอย้ ...มากนิ  
เหลา้ ส”ิ  ในใจกค็ ดิ ขนึ้ มา “เพอื่ นอตุ สา่ หเ์ รยี ก...ปฏเิ สธ 
เพอ่ื น มนั นา่ เกลยี ด” เกอื บจะเดนิ เขา้ ไปแลว้  แตว่ า่  
หักหา้ มใจไว้ไดอ้ กี

ร้านเหล้ากว้างขนาดสองคูหา ประมาณ ๖ 
เมตรเทา่ นนั้  แตต่ อนนนั้ เขารสู้ กึ วา่ มนั ยาวเปน็ กโิ ล 
ทเี ดยี ว เขารสู้ กึ วา่ ใชเ้ วลานานมากกวา่ จะเดนิ ผา่ น 
รา้ นเหลา้ ไปได ้ ตอ้ งตอ่ สกู้ บั ตวั เองอยา่ งหนกั  เกอื บ 
จะเดินเข้าร้านเหล้าไม่รู้กี่คร้ัง แต่ในท่ีสุดก็เดิน 
ผา่ นรา้ นเหลา้ ได ้ เขาดใี จมาก ภมู ใิ จตนเองอยา่ งยงิ่  

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๔๕

เพราะวา่ ไมเ่ คยทำ� สำ� เรจ็ อยา่ งนม้ี ากอ่ น แลว้ ความ 
คิดหน่ึงก็ผุดขึ้นมาว่า “ง้ันเราไปฉลองชัยชนะกัน 
ดกี วา่ ” วา่ แลว้ เขากเ็ ดนิ กลบั ไปฉลองชยั ชนะทรี่ า้ น 
เหล้าทนั ที !

เห็นลกู ไมข้ องกิเลสไหม กิเลสมันฉลาดมาก 
สามารถสรรหาเหตุผลให้ชายคนน้ีวกกลับไปกิน 
เหล้าจนได้ ไปด้วยเหตุผลที่สวยงามว่า “ไปฉลอง 
ชัยชนะกันดีกว่า” ถ้าใจเราไม่เท่าทันเหตุผลหรือ 
อุบายของกเิ ลส เราก็ไมม่ ที างหลุดพน้ จากอ�ำนาจ
ของมันได ้ ชวี ิตก็มแี ตจ่ ะตกตำ�่ ลงเรื่อยๆ แตถ่ ้าเรา 
มีสติรู้เท่าทันเหตุผลของกิเลส เราก็จะไม่มีทาง 
คลอ้ ยตามหรือหลงเชอื่ กเิ ลสงา่ ยๆ หรือถา้ หากว่า 
ชายคนนี้มีจิตท่ีตั้งมั่นคือมีสมาธิ ขณะท่ีเดินผ่าน 
ร้านเหล้าก็ก�ำหนดลมหายใจเข้า-ออก เข้า-ออก 
ไม่สนใจเสียงเรียกของเพื่อนในร้านเหล้า เขาก็ 
สามารถเอาชนะกเิ ลสได ้ การทค่ี นเราจะมสี ตหิ รอื  
สมาธพิ อฟดั พอเหวย่ี งกบั กเิ ลส ไมต่ กเปน็ ทาสของ 

๔๖ ชี วิ ต ส ม ดุ ล

กิเลส ไม่ว่ามันจะเสกสรรปั้นแต่งเหตุผลให้ดูสวย 
งามเพียงใด ก็ต้องอาศัยการพัฒนาจิตหรือท�ำ 
จติ ตภาวนา ซง่ึ กค็ อื การพฒั นาอารมณอ์ กี แบบหนงึ่  
นน่ั เอง

แมผ้ หี ่าซาตาน
กม็ ีเหตผุ ลของมนั

การพัฒนาจิตนั้นช่วยให้เหตุผลกับอารมณ ์
สมดุลกันและเก้ือหนุนกัน ในยามที่เหตุผลรู้ว่า 
อะไรถกู อะไรผดิ  ใจกค็ ลอ้ ยตาม สนบั สนนุ  ทำ� ใหช้ วี ติ  
เดนิ หนา้ ไปตามทางทถ่ี กู ตอ้ ง ไมเ่ อาแตค่ วามถกู ใจ 
ถา้ ใจคลอ้ ยตามเหตผุ ลหรอื ความถกู ตอ้ งแลว้  ผลท่ ี
ไดอ้ ยา่ งหนงึ่ คอื  ท�ำแลว้ มคี วามสขุ  คอื ถกู ตอ้ งดว้ ย 
ถูกใจด้วย แต่ถ้าใจไม่คล้อยตามแล้ว บางคนอาจ 
ฝืนใจท�ำไปเพราะรู้ว่าเป็นสิ่งถูกต้อง แต่ก็ท�ำด้วย 
ความทุกข์ เพราะใจไม่คล้อยตาม คอยบ่น งอแง 

ชี วิ ต ส ม ดุ ล

พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล                          ๔๙

คอยขัดขวาง ปัญหาแบบน้ีจะไม่เกิดถ้าใจยินดี 
ในส่ิงท่ีท�ำ เพราะมีเมตตา มีสติ มีสมาธิ ท�ำให้ม ี
ความสขุ เมอ่ื ทำ� สงิ่ ทถี่ กู ตอ้ ง ขณะเดยี วกนั เวลาเหตผุ ล 
ถกู ครอบงำ� ดว้ ยกเิ ลส นกึ คดิ ไปในทางฉลาดแกมโกง 
หรือ “เฉโก” มีเหตุผลร้อยแปดสนับสนุนให้ไปใน 
ทางน้ัน ถ้าใจได้รับการพัฒนา เช่น มีสติ ใจก็จะ 
รู้เทา่ ทนั  สามารถระงบั  ยบั ยั้ง หรือขัดขวางไม่ให ้
ทำ� ตามเหตผุ ลแสนกลนนั้ ได ้ เรยี กวา่ เปน็ ตวั ถว่ งดลุ  
ไม่ให้ใช้เหตุผลในทางที่ผิด หรือท�ำตามเหตุผล 
ท่ผี ิด

ประเดน็ นส้ี ำ� คญั สำ� หรบั คนสมยั นม้ี าก เพราะ 
คนสมยั นค้ี ดิ เกง่  สามารถหาเหตผุ ลสนบั สนนุ การ 
กระทำ� ทไี่ มด่ หี รอื เปน็ โทษไดท้ ง้ั นน้ั  เชน่  สนบั สนนุ  
ให้ผิดศีล ยักยอก ฉ้อโกง เข้าหาอบายมุข หรือว่า 
ข้ีเกียจ หลายคนไม่ถึงกับท�ำอย่างน้ัน แต่ก็อดท�ำ 
ส่ิงท่ีเป็นโทษแก่ตัวเองไม่ได้ เช่น ทุกวันน้ีเรามี 
เหตุผลที่จะโกรธท่ีจะเกลียดใครต่อใครเยอะแยะ 


Click to View FlipBook Version