ชอ่ื หนงั สอื คูม่ อื ความสขุ 5 มิตสิ �ำ หรบั ผูส้ ูงอายุ
บรรณาธกิ าร แพทย์หญงิ อัมพร เบญจพลพิทักษ์
นางสาวกาญจนา วณิชรมณีย์
นางสาวพรรณ ี ภาณวุ ฒั น์สุข
มนี าคม 2555 จำ�นวนพิมพ ์ 500 เล่ม
พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1 มนี าคม 2556 จำ�นวนพมิ พ ์ 10,000 เล่ม
พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2
จดั พมิ พแ์ ละเผยแพรโ่ ดย สำ�นักพฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจติ
กระทรวงสาธารณสขุ ถนนตวิ านนท์
อำ�เภอเมอื ง จังหวดั นนทบุรี 11000
โทรศพั ท์ 0 2590 8225 โทรสาร 0 2149 5533
พิมพท์ ่ี โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กดั
คำ�น�ำ
ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปีพ.ศ. 2550 เป็นต้นมา การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากร
ดงั กลา่ วสง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ วงการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ทง้ั นเ้ี พราะผสู้ งู อายมุ รี ะบาดวทิ ยาของโรค ระยะเวลาการ
เจบ็ ปว่ ย ลกั ษณะทางคลนิ กิ ตลอดจนวธิ กี ารดแู ลรกั ษาแตกตา่ งไปจากประชากรกลมุ่ อน่ื จงึ จดั ใหเ้ ปน็ กลมุ่ ทม่ี ภี าวะเสย่ี ง
ทางสขุ ภาพสงู นอกจากการเสอื่ มของสภาพรา่ งกายแลว้ การสญู เสยี สถานภาพและบทบาททางสงั คมยงั สง่ ผลโดยตรง
ตอ่ สภาพจติ ใจของผู้สงู อายุ จากการส�ำ รวจขอ้ มูลด้านสาธารณสุขพบวา่ ผู้สูงอายยุ ังพบปญั หาสมองเสื่อม ซึมเศรา้ และ
ฆา่ ตัวตาย ดงั นน้ั เมอื่ เกดิ การเจ็บปว่ ยท�ำ ให้ค่าใช้จ่ายในการดูแลรกั ษาสุขภาพสูงกวา่ ประชากรกลมุ่ วยั อ่นื มีหลกั ฐาน
ทางการแพทย์และงานวิจัยยืนยันว่าการส่งเสริมสุขภาพท้ังด้านร่างกายและจิตใจจะช่วยชะลอการเสื่อมของร่างกาย
รวมทง้ั เสรมิ สรา้ งพฤติกรรมดีทางดา้ นสุขภาพ ความรสู้ ึกทางบวก และสรา้ งเสริมก�ำ ลังใจใหก้ ับผูส้ งู อายุได้
กรมสขุ ภาพจติ ไดพ้ ฒั นา คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ สิ �ำ หรบั ผสู้ งู อาย”ุ โดยน�ำ แนวคดิ ในการสรา้ งสขุ จากหลกั ธรรมะ
4 ประการของศาสนาพุทธ คอื สขุ กาย สขุ ใจ พลานามยั สมบูรณ์ เพ่มิ พนู งานอดเิ รก แนวคดิ ในการสรา้ งความสขุ เชงิ
จิตวิทยา แนวคิดในการดูแลผู้สูงอายุแบบองคร์ วมคอื กาย จิต สังคม และปญั ญา รวมท้ังการประเมินสขุ ภาวะของ
ผสู้ งู อายจุ ากราชวทิ ยาลยั แพทยแ์ ละสมาคมเวชศาสตรผ์ สู้ งู อายปุ ระเทศองั กฤษ มาเปน็ กรอบสรา้ งความสขุ 5 มติ ไิ ดแ้ ก่
สขุ สบาย สขุ สนุก สขุ สว่าง สุขสง่า และสขุ สงบ เพอื่ เป็นแนวทางใหบ้ ุคลากรสาธารณสขุ และบคุ ลากรในภาคส่วนอน่ื ท่ี
ตอ้ งดแู ลผสู้ งู อายใุ นเขตทต่ี นเองรบั ผดิ ชอบ น�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั กจิ กรรมเพอื่ สง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายใุ หร้ จู้ กั มอง
โลกในแงบ่ วก เขา้ ใจสภาวะธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ รจู้ กั วธิ กี ารดแู ลสขุ ภาพรา่ งกายของตนเอง สามารถจดั การกบั อารมณ์
ลบท่เี กดิ ขึ้น และเรียนรู้ที่จะจดั การกับสงิ่ ต่างๆในชวี ิตอยา่ งมีเหตุผล ถอื เปน็ การเตรียมพรอ้ มของหนว่ ยบริการในการ
รองรับและดูแลประชากรสูงอายุในพ้ืนที่ให้กลายเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ มีพลังในการขับเคลื่อนชุมชนในฐานะผู้ที่มี
ประสบการณ์ มีความคิดอา่ นสุขุมรอบคอบและท�ำ คุณประโยชนใ์ ห้แก่ชมุ ชนดังเชน่ ในอดีตท่ีอยูใ่ นวยั ทำ�งาน
(นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน)์
อธิบดกี รมสุขภาพจติ
คูม่ อื “ความสุข 5 มิติสำ�หรบั ผู้สงู อายุ” ก
ข ค่มู ือ “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรบั ผู้สูงอาย”ุ
บทน�ำ
คมู่ อื ความสขุ 5 มติ ิ ส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ เปน็ คมู่ อื ส�ำ หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ และบคุ ลากรทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การดแู ล
ผสู้ งู อายใุ ชใ้ นการจดั กจิ กรรมความสขุ 5 มติ ิ ซงึ่ เปน็ ความสขุ เชงิ จติ วทิ ยาทพี่ ฒั นาขน้ึ เพอื่ ใชพ้ ฒั นาผสู้ งู อายใุ นการชะลอ
ความเสอ่ื มของรา่ งกาย การพฒั นาใหผ้ สู้ งู อายมุ คี วามสขุ ในเชงิ จติ วทิ ยา ทง้ั นไ้ี ดเ้ นน้ เนอ้ื หาทเ่ี กยี่ วขอ้ งทง้ั ในมติ ทิ างการ
แพทย์ มติ ิทางจิตสังคม และมิตทิ างปัญญา เพือ่ ใหบ้ คุ ลากรได้น�ำ ไปประยกุ ต์ใช้ในการสง่ เสรมิ สุขภาพให้กบั ผ้สู งู อายใุ น
เขตรับผิดชอบ
อย่างไรกต็ าม ไดแ้ บง่ กลมุ่ ผสู้ งู อายอุ อกเป็น 3 กล่มุ คือ กลุม่ ติดสังคม กลุ่มตดิ บ้าน และกลุ่มตดิ เตียง เนื้อหา
ภายในเลม่ จึงเน้นกิจกรรมสร้างสุขตามการจ�ำ แนกกลมุ่ ของผูส้ ูงอายุ โดยความสขุ 5 ด้าน ประกอบดว้ ย สุขสบายซง่ึ
เนน้ เร่อื งสุขภาพรา่ งกาย การปฏบิ ัติกิจวัตรประจำ�วนั และพฤติกรรมเสยี่ งด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ สขุ สนกุ เป็นความ
สามารถของผู้สูงอายุในการเลือกวิถีชีวิตที่รื่นรมย์ ด้วยการทำ�กิจกรรมท่ีก่อให้เกิดอารมณ์เป็นสุข จิตใจสดช่ืนแจ่มใส
สุขสง่าเน้นความเข้าใจในความเป็นไปในชีวิต ความมีคุณค่าในตนเอง มีมุมมองและความรู้สึกต่อตนเองและผู้อื่น
อยา่ งเหน็ อกเหน็ ใจ ไม่ซึมเศร้า ไมท่ ้อแท้ สุขสว่างเป็นความสามารถดา้ นความจ�ำ ความเข้าใจความคิดแบบนามธรรม
การสือ่ สาร การใชเ้ หตผุ ล และการวางแผนแกไ้ ขปัญหา สขุ สงบ เปน็ การรับรู้ เขา้ ใจความรู้สกึ ของตนเอง รจู้ ักควบคมุ
อารมณแ์ ละสามารถจดั การกบั ภาวะอารมณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั ความสามารถในการควบคมุ ความ
ตอ้ งการจากแรงกระตุน้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สามารถผอ่ นคลายใหเ้ กิดความสขุ สงบกับตวั เองได้
นอกจากนี้ยังมีวิธีการจดั ตั้งสถานบริการเพื่อให้การดูแลสุขภาวะของผูส้ ูงอายุซงึ่ ได้ผนวกกิจกรรมทั้งทางด้าน
ร่างกาย สังคม อารมณ์ และจิตใจเข้าด้วยกัน เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้เป็นผู้สูงอายุท่ีมีความสุข มีสมรรถภาพร่างกาย
แข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตท่ีดีตามอัตภาพ ซ่ึงเป็นการเตรียมพร้อมของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการรับมือกับสังคมสูง
อายอุ ย่างเป็นรูปแบบในการเปล่ยี นผู้สงู อายุจาก “ภาระ” ใหเ้ ป็น “พลงั ” ของชุมชนได้เป็นอยา่ งดี
(แพทยห์ ญิงอัมพร เบญจพลพิทกั ษ์)
ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั พฒั นาสขุ ภาพจิต
กรมสขุ ภาพจติ
คูม่ ือ “ความสขุ 5 มติ สิ �ำ หรบั ผู้สงู อาย”ุ ค
ง ค่มู ือ “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรบั ผู้สูงอาย”ุ
สารบญั หนา้
ก
ค
ค�ำ นำ� จ
บทนำ� ช
สารบัญ 1
สารบญั ภาพ 1
บทท่ี 1 : ผู้สูงอายแุ ละการเปลี่ยนแปลงในวัยสงู อาย ุ 4
การเปลี่ยนแปลงทางรา่ งกาย 6
การเปลีย่ นแปลงทางด้านเศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรม 9
การเปล่ียนแปลงทางด้านอารมณแ์ ละจิตใจ 9
บทท่ี 2 : ความสุขเชงิ จิตวิทยาเพือ่ ส่งเสรมิ สุขภาพและปอ้ งกันโรคในผูส้ งู อาย ุ 13
ความหมายของความสุข 15
กรอบแนวคิดเรือ่ งความสุข 5 มิติ เพือ่ สง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกันโรคในผู้สูงอายุ 15
บทที่ 3 : การจัดบรกิ ารสขุ ภาพเพอื่ ส่งเสรมิ ความสุข 5 มติ ใิ นผูส้ งู อายุ 15
ความต้องการการตอบสนองทางดา้ นจติ สงั คมของผู้สูงอายุ 16
การจ�ำ แนกกลมุ่ ผู้สูงอายุเพื่อจัดบริการสขุ ภาพ 19
กลุ่มติดสังคม 21
กล่มุ ตดิ บ้าน 22
กลุ่มตดิ เตียง 23
ศูนย์ผู้สงู อายุเพ่อื ป้องกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ และส่งเสรมิ ความสขุ 5 มติ ใิ นผ้สู ูงอายุ 27
วธิ กี ารประเมินผล 27
บทท่ี 4 : การจดั กจิ กรรมดา้ นที่ 1 : สขุ สบาย 30
สาระส�ำ คญั ของการออกกำ�ลังกายในผู้สงู อาย ุ 39
รูปแบบการจดั กจิ กรรมสขุ สบาย 39
บทที่ 5 : การจดั กิจกรรมด้านท่ี 2 : สุขสนกุ 40
สาระสำ�คญั ของความสขุ สนุกสนานในผู้สงู อาย ุ 43
รูปแบบการจดั กิจกรรมสขุ สนกุ ในผู้สูงอายกุ ลมุ่ ติดสังคม 45
รปู แบบการจดั กิจกรรมสุขสนกุ ในผ้สู งู อายกุ ลุ่มตดิ บา้ นและกลมุ่ ตดิ เตียง 45
บทที่ 6 : การจดั กจิ กรรมด้านท่ี 3 : สุขสง่า 48
สาระสำ�คญั ของสุขสงา่
รูปแบบการจัดกิจกรรมสขุ สง่าในผสู้ ูงอายุ
ค่มู ือ “ความสุข 5 มติ ิสำ�หรับผู้สงู อายุ” จ
สารบัญ หน้า
53
53
บทที่ 7 : การจดั กิจกรรมดา้ นท่ี 4 : สขุ สวา่ ง 54
สาระส�ำ คัญของการฝึกสมอง 71
รปู แบบการจดั กจิ กรรมสุขสว่างในผู้สงู อายกุ ลุ่มติดสังคมและติดบา้ น 73
รูปแบบการจัดกจิ กรรมสขุ สวา่ งในผู้สูงอายกุ ลุม่ ตดิ เตยี ง 73
บทที่ 8 : การจัดกจิ กรรมดา้ นที่ 5 : สขุ สงบ 74
สาระส�ำ คญั ของความสุขสงบทางใจ 84
รปู แบบการจัดกจิ กรรมสุขสงบในผ้สู งู อาย ุ
บรรณานุกรม
ฉ คมู่ อื “ความสุข 5 มิติสำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ”
สารบญั ภาพ
ภาพที่ หน้า
1 ทดสอบความพร้อมในการปฏบิ ตั ิกจิ วตั รประจ�ำ วันของผสู้ ูงอายุด้วยการลกุ ขึน้ ยนื จากเกา้ อ้ี 30 วนิ าที 31
2 ทดสอบความพรอ้ มในการปฏบิ ตั กิ ิจวตั รประจ�ำ วนั ของผู้สูงอายุดว้ ยการงอแขนพับศอก 32
3 ทดสอบความพรอ้ มในการปฏิบตั ิกิจวัตรประจำ�วันของผูส้ งู อายดุ ว้ ยการเดนิ ย่าํ เทา้ 2 นาที 32
4 ทดสอบความพรอ้ มในการปฏิบตั ิกจิ วัตรประจำ�วนั ของผสู้ ูงอายุด้วยการเดนิ 6 นาที 33
5 ทดสอบความพร้อมในการปฏบิ ัติกิจวัตรประจำ�วนั ของผู้สงู อายดุ ว้ ยการน่ังเกา้ อ้ียน่ื แขนแตะปลายเท้า 33
6 ทดสอบความพร้อมในการปฏิบตั กิ ิจวตั รประจ�ำ วันของผสู้ งู อายดุ ้วยการเอ้อื มแขนแตะมือทางดา้ นหลงั 34
7 ทดสอบความพร้อมในการปฏิบัตกิ จิ วัตรประจำ�วันของผู้สงู อายุด้วยการลุกเดินจากเก้าอี้ไป
และกลับ 16 ฟตุ 34
8 บรหิ ารกายประจ�ำ วัน วันอาทิตย์ 35
9 บริหารกายประจำ�วัน วนั จันทร์ 36
10 บริหารกายประจ�ำ วนั วนั องั คาร 36
11 บริหารกายประจ�ำ วนั วนั พธุ 37
12 บริหารกายประจำ�วัน วนั พฤหสั บดี 37
13 บรหิ ารกายประจ�ำ วัน วนั ศกุ ร์ 38
14 บริหารกายประจำ�วัน วันเสาร์ 38
15 การเคล่ือนไหวสลับขา้ ง 61
16 การยืดสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย 63
17 การเคลื่อนไหวเพอ่ื กระตนุ้ 65
18 การบรหิ ารร่างกายง่ายๆ 67
19 การบริหารสมองดว้ ยสองมือ 68
20 ฝึกสมาธดิ ว้ ยการเอาจติ จดจอ่ อยู่กบั การเคลื่อนไหว 79
คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ สิ ำ�หรบั ผสู้ ูงอาย”ุ ช
ซ ค่มู ือ “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรบั ผู้สูงอาย”ุ
บทที่ 1
ผู้สงู อายแุ ละการเปลี่ยนแปลงในวัยสงู อายุ
ความหมายของผสู้ ูงอายุ
ผูส้ ูงอายุ คือบุคคลท่ีมีอายุมากกวา่ 60 ปีขนึ้ ไป (พรบ. ผ้สู ูงอายแุ หง่ ชาติ, 2540) มีการแบ่งเกณฑผ์ ูส้ งู อายุตาม
สภาพของการมีอายุเพิม่ ข้นึ ในลักษณะของการแบง่ ชว่ งอายุของประเทศไทยดังน้ี
ผู้สงู อายุ (Elderly) คอื อายุระหว่าง 60 - 69 ปี
คนชรา (Old) คอื อายรุ ะหวา่ ง 70 - 79 ปี
คนชรามาก (Very old) คือ อายตุ งั้ แต่ 80 ปี ขนึ้ ไป
การเปลีย่ นแปลงในวยั ผูส้ ูงอายุ
มีการเสนอภาพปัญหาของผู้สงู อายุจากการเปลย่ี นแปลงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม 3 ประการ
ใหญ่ ดงั น้ี
1. การเปล่ียนแปลงทางร่างกาย จำ�แนกออกตามระบบของร่างกายไดด้ ังน้ี (สทุ ธชิ ัย จิตะพันธก์ ลุ , 2542)
1.1 ระบบคุ้มกัน พบว่ามีการฝ่อของต่อมธัยมัส (thymus) ทำ�ให้ธัยมิคแฟคเตอร์ (thymic factor)
ซงึ่ เป็นตวั สรา้ งภมู ิคมุ้ กันของรา่ งกายลดนอ้ ยลง จึงมกั พบวา่ ผู้สูงอายจุ ะมอี าการตดิ เช้ือง่าย และมี
อบุ ตั ิการณข์ องมะเร็งในวยั ชราสงู เนอ่ื งจากเซลล์ก�ำ จดั เชอ้ื โรคตามธรรมชาตลิ ดลง
1.2 ผวิ หนงั พบวา่ ความหนาแนน่ และจำ�นวนเซลลใ์ นชนั้ หนงั แทล้ ดลงทำ�ใหผ้ วิ หนงั เปราะบาง แหง้ เปน็
ขุยง่าย หรือเม่ือโดนแสงแดดนานๆจะทำ�ให้เกดิ มะเร็งผิวหนังไดง้ า่ ย แตใ่ ยคอลลาเจน และใยอลี า
สตกิ ซง่ึ เปน็ ความยดื หยนุ่ ของเสน้ เลอื ด กลบั แขง็ หนาเพม่ิ ขน้ึ จงึ มกั พบพรายยาํ้ (ผนื่ แดงเปน็ จา้ํ เลอื ด
ออก) ทผี่ ิวหนงั ผูส้ ูงอายุไดบ้ ่อย
1.3 ตา พบวา่ ไขมนั รอบดวงตาและหนงั ตามปี รมิ าณลดลง เกดิ หนงั ตาตก ขอบหนงั ตามว้ นเขา้ หรอื ขอบ
หนังตามว้ นออกงา่ ย นอกจากนย้ี งั เกดิ การหนาตวั และแขง็ ขนึ้ ของเลนซต์ ามผี ลตอ่ สายตา หรือการ
ขนุ่ มวั ของกระจกตาหรอื การเกดิ ตอ้ กระจกมากขน้ึ นอกจากน้ี เซลลร์ บั แสงลดลงเปน็ ผลใหค้ วามไว
ต่อแสงของจอตาลดลงท�ำ ให้การมองเห็นในความมดื ลดลง ท�ำ ให้เกดิ พลัดตกหกลม้ ง่ายข้นึ
1.4 การได้ยินและการควบคุมการทรงตัว พบว่ามีการเสื่อมของเซลล์ขนบริเวณส่วนฐานของโคเคลีย
(cochlea) และเซลล์ประสาทบริเวณ spiral ganglia ทำ�ให้การได้ยินลดลง ความสามารถใน
การรับฟังเสียงความถ่ีสูงลดลง การแยกคำ�แย่ลง และการกำ�หนดตำ�แหน่งท่ีมาของเสียงลดลง
จึงมักพบว่าผู้สูงอายุจะสูญเสียการได้ยินโดยเฉพาะเสียงที่มีความถี่สูง หรือหูตึง นอกจากน้ียังมี
การเปลี่ยนแปลงของจำ�นวนเซลล์ประสาทเวสติบูลาร์ (vestibular nerve) ซึ่งใช้ในการควบคุม
คู่มือ “ความสุข 5 มิตสิ �ำ หรับผู้สูงอาย”ุ 1
การทรงตัว จึงมักพบวาผู้สูงอายุจะมีปัญหาเร่ืองการควบคุมการทรงตัว นอกจากน้ีเซลล์ประสาท
เวสตบิ ลุ ารท์ ล่ี ดนอ้ ยลงยงั เปน็ ปจั จยั หนงึ่ ทท่ี �ำ ใหผ้ สู้ งู อายมุ อี าการมนึ งง (dizziness) และอาการบา้ น
หมนุ (vertigo) ง่ายกวา่ คนอายนุ อ้ ย
1.5 ระบบการรบั รสและการดมกลน่ิ พบวา่ ตมุ่ รบั รสมจี �ำ นวนลดลง ซง่ึ จะท�ำ ใหก้ ารไวตอ่ การรบั รสลดลง
โดยความไวของตมุ่ รบั รสจะลดลงตามล�ำ ดบั คือ รสเคม็ รสขม รสเปร้ียว รสหวาน นอกจากนเี้ ซลล์
เยอื่ บแุ ละเซลลป์ ระสาททเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การดมกลน่ิ จะมจี �ำ นวนลดลงเมอื่ อายุ 60 ปเี ปน็ ตน้ ไป จงึ พบ
วา่ ผู้สงู อายจุ ะรบั ประทานอาหารที่มรี สเคม็ จดั การไมไ่ ด้กลน่ิ แก๊สหงุ ตม้ เมือ่ เกดิ แกส๊ รัว่ เบือ่ อาหาร
เพราะไมไ่ ด้กลนิ่ เปน็ ต้น
1.6 การรับความรู้สกึ ตามรา่ งกาย พบว่า Meissner corpuscle (เซลล์ที่ปลายประสาทใตช้ ้ันผวิ หนงั
ท�ำ หน้าท่รี ับความรู้สกึ ชนดิ สัมผสั เบา ๆ และแยกจดุ สัมผัสได)้ และ Pacinion corpuscle (เซลล์
ท่ีปลายประสาทใตช้ ัน้ ผวิ หนงั ทำ�หนา้ ทีร่ บั ความร้สู ึกต่อแรงกดและแรงสนั่ สะเทอื น) มคี ุณภาพและ
จ�ำ นวนลดลง รวมทงั้ จะเคลอื่ นหา่ งจากชนั้ หนงั กำ�พรา้ มากขน้ึ มกั พบวา่ ผสู้ งู อายจุ ะมคี วามไวในการ
รบั ความรสู้ กึ เจบ็ ปวด อณุ หภมู ิ สมั ผสั และการสน่ั เทาของรา่ งกาย ลดลงมาก นอกจากนคี้ วามไวตอ่
การรบั ความรสู้ กึ ทซี่ บั ซอ้ นลดลงไดแ้ ก่ ความสามารถในการรบั รตู้ ำ�แหนง่ ทต่ี า่ งกนั ความสามารถใน
การรบั รวู้ ตั ถุ และความสามารถรบั รสู้ ว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย จงึ พบวา่ ผสู้ งู อายจุ ะมอี าการชาบรเิ วณ
สว่ นปลายของรา่ งกายโดยเฉพาะปลายมอื ปลายเทา้ เมอ่ื ถกู ของมคี มบาดหรอื มบี าดแผลจงึ ไมค่ อ่ ย
รู้สึก
1.7 สมองและไขสันหลัง พบว่าสมองมีน้ําหนักลดลงประมาณร้อยละ 6-11 และจำ�นวนเซลล์ควบคุม
กล้ามเนื้อของไขสันหลังมีจ�ำ นวนลดลงเม่ือเข้าสู่วัยชรา อาจมีการลดลงถึงร้อยละ 50 นอกจากนี้
ยังมีการลดลงของโปรตีนอะไมลอยด์ (amyloid protein) สง่ ผลใหเ้ กิดการผดิ ปกตขิ องการสรา้ ง
การหล่งั ของสารสื่อน�ำ ประสาท โดยเฉพาะสารโดปามีน (dopamine) ซึง่ ส่งผลตอ่ การนอนหลบั
การเคลื่อนไหวและการทรงตัวได้ จะเห็นว่าผู้สูงอายุจะมีท่าเดินที่ก้าวสั้นๆและช้าลง หรือเท้าทั้ง
สองข้างแตะพ้นื พร้อมกนั ในขณะเดนิ เปน็ ระยะเวลานาน หลงั งอ ตัวเอนไปข้างหน้า แขนกางออก
และแกวง่ นอ้ ย เวลาหมนุ ตวั เลยี้ วจะแขง็ และมกี ารบดิ ของเอวนอ้ ย ดคู ลา้ ยกบั การหมนุ ไปพรอ้ มกนั
ท้ังตัว (en block turn) ทำ�ใหผ้ ู้สงู อายุเส่ียงต่อการหกลม้ และความพยายามในการยดึ จบั สิ่งของ
ใกล้เคียงกจ็ ะช้าลงจากสารสื่อน�ำ ประสาทดังกล่าว นอกจากนจี้ ะพบวา่ ผสู้ งู อายจุ ะมคี วามสามารถ
ในการจำ�ลดลงจากการฝอ่ ของสมอง บางรายอาจนำ�ไปสู่กลมุ่ อาการสมองเสือ่ มได้
1.8 ระบบหัวใจและหลอดเลือด พบว่า ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลงโดยเฉพาะหลอดเลือด เอ
ออตา้ (aorta) ทำ�ให้ความดันโลหติ ซิสโตลคิ มีแนวโนม้ เพิม่ สงู ขึน้ กลา้ มเน้อื หวั ใจเสือ่ ม ลิน้ หวั ใจเอ
ออร์ติกเคลื่อนไหวไดล้ ดลงทำ�ให้เกิดเสยี ง systolic ejection murmur เบาๆในผสู้ ูงอายุ นอกจาก
น้ีอาจมกี ารจับเกาะของแคลเซียมทล่ี ิ้นหัวใจไมทรัลทำ�ใหเ้ กิดเสียง pansystolic murmur ได้ จงึ
มกั พบว่าผู้สูงอายุจะมีปัญหาเร่ืองการเตน้ ของหัวใจเพื่อตอบสนองต่อการออกก�ำ ลังกายมแี นวโนม้
ลดลงเมอื่ อายุมากขนึ้ จึงเปน็ ผลใหผ้ สู้ งู อายอุ อกก�ำ ลังกายไดล้ ดลง รวมทงั้ ภาวะความดันโลหิตตก
เมื่อเปลยี่ นทา่ โดยเฉพาะผู้สงู อายทุ มี่ ีโรคความดนั โลหติ สูงหรอื หกลม้ บอ่ ยๆโดยไมท่ ราบสาเหตุ
2 คมู่ อื “ความสุข 5 มิติสำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ”
1.9 ระบบทางเดินหายใจ พบว่าอายุมากข้ึนจะพบแคลเซียมจับบริเวณหลอดลมและกระดูกอ่อนของ
ซ่โี ครง มีการยึดตัวของขอ้ ตอ่ ของกระดกู บริเวณหนา้ อก (costovertebral และ costochondral)
มากขนึ้ และมวลกลา้ มเนอื้ ทรวงอกลดลง มกี ารโคง้ งอของหลงั (หลงั โกง) ท�ำ ใหเ้ สน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางแนว
หนา้ หลังของทรวงอกเพมิ่ ขน้ึ นอกจากน้ีผนังถงุ ลมจะบางลง ยืดหย่นุ ไมด่ ี หลอดลมเล็กๆจะปดิ เรว็
ข้ึนทำ�ให้การระบายอากาศไม่ดี และการสรา้ งแอนติบอดแ้ี ละระบบภมู ิคุ้มกนั ชนดิ เซลลด์ อ้ ยลง มัก
พบวา่ ผู้สูงอายุจะเหนอ่ื ยง่ายข้ึน และความทนลดลงในระหว่างออกกำ�ลังกาย รวมท้งั มกี ารตดิ เชื้อ
ในระบบทางเดนิ หายใจง่ายข้ึน
1.10 ระบบตอ่ มไรท้ อ่ พบวา่ ตอ่ มไรท้ อ่ ตา่ งๆมนี า้ํ หนกั ลดลง มลี กั ษณะของการฝอ่ ปรากฏเมอ่ื อายมุ ากขน้ึ
นอกจากนย้ี งั มลี ดลงของการตอบสนองตอ่ ฮอรโ์ มน และรเี ซปเตอรท์ เี่ หน็ ไดช้ ดั เจนคอื การลดลงของ
ไทรอยด์ฮอร์โมน และการหลั่งอินซูลิน ส่งผลให้ความทนต่อน้ําตาลกลูโคสลดลงเม่ืออายุมากข้ึน
และน้ําตาลในเลอื ดสงู เมอ่ื เจบ็ ปว่ ย นอกจากนีย้ ังพบการเปล่ียนแปลงของฮอรโ์ มน aldosterone
หรือ epinephrine เป็นต้นส่งผลใหก้ ารตอบสนองของร่างกายตอ่ ภาวะเครียดทรี่ ุนแรงเมื่อเกดิ สิ่ง
กระตุน้ ใหเ้ ครยี ด หรือหงุดหงิด
1.11 ระบบสืบพันธุ์ พบว่าในเพศหญิงเมื่อหมดประจำ�เดือน อวัยวะเพศภายนอกมีลักษณะฝ่อ เซลล์ท่ี
บุผิวมคี วามยืดหย่นุ ลดลง ตอ่ มเมอื กหลง่ั นํา้ เมือกลดลง นา้ํ หนกั ของมดลกู ลดลง ปกี มดลกู เลก็ ลง
และ รังไข่ฝ่อไป การที่ฮอร์โมนเพศลดลง เป็นผลให้หญิงในวัยหมดประจำ�เดือนมีอาการทางกาย
และจติ ใจ นอกจากนย้ี งั มปี ญั หากระดกู พรนุ จากการขาดฮอรโ์ มนเพศทชี่ ว่ ยในการดดู ซมึ แคลเซยี ม
สรู่ า่ งกายขณะทเี่ พศชายนาํ้ หนกั ของลกู อณั ฑะลดลง มกี ารฝอ่ ของทอ่ ในการสรา้ งนา้ํ อสจุ ิ การสรา้ ง
และคุณสมบัติของอสุจิลดลง ฮอร์โมนเพศชายน้อยลงทำ�ให้มีการเปล่ียนแปลงทางอารมณ์และ
ปญั หาเสอ่ื มสมรรถนะทางเพศ
1.12 ไตและระบบทางเดนิ ปสั สาวะ พบวา่ ขนาดของไตและจำ�นวนเลอื ดทไี่ ปเลยี้ งไตมปี รมิ าณลดลง แต่
มกี ารหนาตวั ของเยอ่ื บผุ นงั (Basement membrane) เพมิ่ ขน้ึ และใยคอลลาเจนบรเิ วณเสน้ เลอื ด
บรเิ วณตวั กรองของทอ่ หนว่ ยไตเพม่ิ ขน้ึ สง่ ผลใหก้ ารท�ำ งานของไตลดลงราวรอ้ ยละ 50 เมอ่ื อายุ 60 ปี
เป็นต้นไป นอกจากนีใ้ นเพศหญิงจะมีการหย่อนตัวของผนังมดลูกและผนงั กระเพาะปัสสาวะส่วน
ลา่ ง สว่ นเพศชายกลา้ มเนอ้ื ของกระเพาะปสั สาวะกจ็ ะออ่ นตวั และเยอื่ บผุ นงั ดา้ นในของทอ่ ปสั สาวะ
ฝ่อลงเชน่ กนั ท�ำ ใหม้ ปี ัญหาเรอื่ งการปสั สาวะ
1.13 ระบบทางเดนิ อาหาร พบวา่ ฟนั เกดิ การกรอ่ น รากฟนั เปราะแตกงา่ ยขน้ึ การยดึ เกาะของฟนั ดอ้ ยลง
หลดุ รว่ งงา่ ย เยอื่ บผุ วิ ในชอ่ งปากบางลงและฝอ่ เชน่ เดยี วกบั ตมุ่ รบั รส นอกจากนยี้ งั มกี ารท�ำ งานทไี่ ม่
ประสานกนั ของรอยตอ่ ระหวา่ งกลา้ มเนอ้ื ลายกบั กลา้ มเนอื้ เรยี บของหลอดอาหาร การหดรดั ตวั ของ
หลอดอาหารเป็นวงท�ำ ให้เกิดอาการกลืนล�ำ บากหรือส�ำ ลักได้บ่อย ทำ�ให้ติดเชื้อในทางเดินอาหาร
ได้ง่าย นอกจากนี้กระเพาะอาหารบางลง ระบบการย่อยอาหารประเภทไขมันจะใช้การผ่านไปท่ี
ลำ�ไส้นานขึ้นทำ�ให้ผู้สูงอายุเกิดอาการของโรคกระเพาะอาหารได้บ่อยหลังรับประทานอาหารมัน
ส่วนล�ำ ไส้ใหญจ่ ะมีกลา้ มเนือ้ ในผนังลำ�ไสบ้ างลง และฝ่อ การบบี ตวั ลดลง การหดตัวของกล้ามเนื้อ
หูรูดตรงปากทวารหนักน้อยลงเม่ืออายุมากขึ้น ทำ�ให้เกิดปัญหาเรื่องท้องผูก หรือปัญหาการกล้ัน
อุจจาระไม่ได้เพ่มิ สงู ข้ึน
คู่มอื “ความสุข 5 มิติสำ�หรับผู้สงู อาย”ุ 3
1.14 ระบบกลา้ มเนือ้ และกระดกู พบว่าทัง้ เพศหญิงและเพศชายการสลายของกระดกู จะมีมากกวา่ การ
สร้างมวลกระดูกทำ�ให้มวลกระดูกลดลง จะมีการลดลงของมวลกระดูกราวร้อยละ 2 - 4 ต่อปี
สำ�หรบั ผหู้ ญิงหลงั หมดประจำ�เดือนใน 5 ปีแรก โดยเฉพาะกระดกู ชิ้นใหญ่ เชน่ สะโพก สันหลัง ข้อ
ต่างๆ นอกจากนี้ท้ังสองเพศกล้ามเนื้อร่างกายจะมีเซลล์ไขมันและเน้ือเย่ือเกี่ยวพันมากขึ้น ทำ�ให้
กลา้ มเนอ้ื ลายมคี วามแขง็ แกร่งน้อยลง ขณะเดียวกนั เสน้ ประสาทและรอยตอ่ ของเส้นประสาทกับ
กลา้ มเนอื้ ลายลดลง ท�ำ ให้กล้ามเนอ้ื เกรง็ ตัวไมไ่ ด้นานเม่อื เทียบกับคนอายนุ ้อย
1.15 องคป์ ระกอบทวั่ ไปของรา่ งกายและระบบโลหติ พบวา่ นาํ้ หนกั รา่ งกายและความสงู ลดลงเนอ่ื งจาก
การยบุ ตวั ลงของหมอนรองกระดกู ภาวะ Metabolism ท่ีท�ำ หนา้ ท่ีเผาผลาญอาหารท�ำ งานไดล้ ด
ลง ท�ำ ใหเ้ กดิ การสะสมของไขมนั โดยเฉพาะหนา้ ทอ้ งและภายในชอ่ งทอ้ ง รวมทง้ั การสรา้ งและเกบ็
ความรอ้ นลดลง จะพบวา่ ผสู้ งู อายทุ นทานตอ่ ความเยน็ ลดลง เมอ่ื อยใู่ นทอ่ี ณุ หภมู ติ า่ํ โดยอณุ หภมู ทิ ่ี
ผวิ หนงั ของผู้สงู อายุจะลดลงอยา่ งรวดเร็ว เม่ือจับดจู ะรูส้ กึ ว่าผิวหนังของผู้สูงอายุจะเย็น
2. การเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรม
2.1 การปลดเกษยี ณหรือการออกจากงาน (สุจริต สุวรรณชีพ, 2554)
กอ่ นเกษยี ณงานคอื ภาระหนา้ ทท่ี ต่ี อ้ งแบกไว้ แตเ่ มอ่ื เกษยี ณการไดท้ �ำ งานกลบั เปน็ ความรสู้ กึ ตรงขา้ ม
การท�ำ งานกลายเปน็ สง่ิ ทมี่ คี ณุ คา่ ยง่ิ ไดร้ บั การยอมรบั ใหท้ �ำ งานตอ่ กลายเปน็ สง่ิ ทผ่ี สู้ งู อายโุ หยหาเพราะการทำ�งานท�ำ ให้
บคุ คลมีความมัน่ คง มีศักดศ์ิ รี พง่ึ พาตนเองได้แสดงถงึ ความสามารถ ศักยภาพของตนเอง การปลดเกษยี ณหรือออก
จากงานจงึ เปน็ เรอื่ งทส่ี ำ�คญั ถา้ เปน็ การเปลย่ี นแปลงแบบคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปโดยการทผ่ี สู้ งู อายคุ อ่ ยๆถอยตวั เองออกจาก
งานและเปน็ ไปดว้ ยความสมคั รใจจะมผี ลทางดา้ นจติ สงั คมไมม่ ากนกั แตใ่ นทางตรงกนั ขา้ มหากเกดิ ขนึ้ แบบทนั ทที นั ใด
หรือบุคคลน้ันยงั ยดึ ติดกับงานจะท�ำ ให้บุคคลปรับตวั ไมท่ ัน เกิดความเครียด ไมม่ ีความสขุ และเกิดความรู้สึกสญู เสยี ได้
ซงึ่ อธิบายได้ดังนคี้ ือ
2.1.1 สูญเสียสถานภาพและบทบาททางสังคมจากที่เคยเป็นบุคคลท่ีมีบทบาทและตำ�แหน่งต่างๆ
มากมาย เปน็ ผนู้ �ำ มคี นเคารพนบั ถอื ในสงั คม เปลยี่ นเปน็ สมาชกิ คนหนง่ึ ของสงั คม มบี ทบาท
ลดลงทำ�ให้สูญเสียความมั่นคงของชีวิตและรู้สึกว่าตนเองหมดความสำ�คัญในสังคม อยู่ใน
สภาวะทไี่ รค้ ณุ คา่ สญู เสยี ความภาคภมู ใิ จในตนเอง ท�ำ ใหผ้ สู้ งู อายมุ ภี าพลกั ษณท์ ไ่ี มด่ ตี อ่ ตนเอง
(Poor Self-Image) หรือรู้สึกว่าตนเองก�ำ ลังเริ่มเปน็ ภาระของครอบครัว
2.1.2 สญู เสยี การสมาคมกบั เพอ่ื นฝงู เมอื่ ปลดเกษยี ณโอกาสทผี่ สู้ งู อายจุ ะสมาคมกบั เพอ่ื นฝงู ลดลง
เนอ่ื งจากปญั หาทางดา้ นรา่ งกาย เชน่ มโี รคประจ�ำ ตวั ท�ำ ใหช้ ว่ ยตนเองไดน้ อ้ ย การเคลอ่ื นไหว
เชื่องช้าทำ�ให้ไม่สะดวกในการเดินทาง เป็นต้น นอกจากนี้ปัญหาทางด้านจิตใจและการ
เปลีย่ นแปลงทางด้านเศรษฐกิจก็มีสว่ นทำ�ให้ผสู้ ูงอายสุ มาคมกับเพอื่ นฝงู ลดลง
2.1.3 สูญเสียสภาวะทางการเงินท่ีดี เน่ืองจากขาดรายได้หรือรายได้ลดลง ขณะที่ค่าครองชีพ
กลบั สูงขึน้ เรอ่ื ยๆ อาจทำ�ใหผ้ สู้ งู อายุมีปัญหาในการดำ�รงชีพ
4 คมู่ อื “ความสขุ 5 มิติสำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ”
2.1.4 แบบแผนการดำ�เนินชีวิตเปล่ียนแปลงไปเพราะไม่ต้องออกจากบ้านไปทำ�งานทำ�ให้ผู้สูงอายุ
ต้องปรับเปลี่ยนแบบแผนการดำ�เนินชีวิตของตนเองใหม่ ขาดความคุ้นเคย เกิดความรู้สึก
อึดอัดใจ เกิดความเครียด
2.2 การเปลยี่ นแปลงของสงั คมครอบครัว (ศรเี รือน แก้วกงั วาน, 2538)
ปัจจุบันสังคมไทยเป็นสังคมเด่ียวมากข้ึน เมื่อลูกโตขึ้นก็จะแต่งงานแยกครอบครัวออกไป หรือใน
ชนบทกจ็ ะออกไปประกอบอาชพี ตา่ งถน่ิ ท�ำ ใหผ้ สู้ งู อายตุ อ้ งอยกู่ นั ตามล�ำ พงั ถกู ทอดทงิ้ และขาดทพ่ี งึ่ โดยเฉพาะในราย
ทฐี่ านะทางเศรษฐกจิ ไมด่ ี ปญั หาของผสู้ งู อายกุ จ็ ะมมี ากขน้ึ นอกจากนก้ี ารตายจากไปของคคู่ รองจะท�ำ ใหผ้ สู้ งู อายทุ ยี่ งั
มีชวี ิตต้องประสบกบั ความเหงาทค่ี อ่ นขา้ งรนุ แรง หรือการตายจากของคนวยั เดียวกันทำ�ใหร้ สู้ ึกหดหู่ เศร้าหมอง รวม
ท้งั ขาดรายได้ (ในเพศหญิง) หรอื ขาดคนปรนนบิ ัติ (ในเพศชาย) และขาดการตอบสนองทางเพศ ประกอบกบั ผู้สูงอายุ
ส่วนใหญ่มักมีความผูกพันกับสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่อาศัย และสังคมชุมชนท่ีเคยชิน ไม่อยากเปลี่ยนแปลงหรือลดบทบาท
ตวั เองจากหวั หนา้ ครอบครวั ไปเปน็ สมาชกิ ครอบครวั จงึ ไมอ่ ยากจากบา้ นไปอยรู่ วมกบั ครอบครวั ของลกู หลาน ซง่ึ อาจ
เกดิ ปัญหาการไมใ่ ห้เกยี รติกัน ขาดความเคารพนบั ถือ ขาดความสนใจ และเก้ือกลู ตอ่ กัน ดังนน้ั ผสู้ งู อายุจงึ จ�ำ เป็นตอ้ ง
พงึ่ พาตนเองมากข้นึ ในรายท่ีไม่สามารถท�ำ ได้และจำ�เป็นตอ้ งพง่ึ พาผอู้ น่ื อาจทำ�ใหเ้ กิดความกดดนั ทางดา้ นจติ ใจ เกิด
ความรสู้ กึ เหงา วา้ เหว่ เดยี วดาย และไม่มศี ักด์ศิ รี
2.3 การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม
สงั คมไทยมกี ารเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ จากสังคมเกษตรกรรมเปน็ สังคมอุตสาหกรรม ความเจริญ
ก้าวหนา้ มมี ากข้ึน จากขอ้ มลู กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2551 (อ้างถึงในอมรา สุนทรธาดา และ
สพุ ตั รา เลศิ ชยั เพชร, 2552) พบวา่ ปจั จบุ นั มโนทศั นข์ องคนสว่ นใหญต่ อ่ ผสู้ งู อายเุ ปลยี่ นแปลงไป คนสว่ นใหญย่ ดึ ถอื ดา้ น
วตั ถนุ ยิ ม วดั คณุ คา่ ของคนโดยอาศยั ความสามารถในการท�ำ งานหาเงนิ ดงั นน้ั ลกู หลานเรม่ิ มเี จตคตติ อ่ ผสู้ งู อายเุ ปลย่ี นไป
ผู้สงู อายมุ คี ณุ ค่าลดลงเพราะไม่ต้องพึ่งพาการถ่ายทอดความรู้ อาชีพ และประสบการณ์เหมอื นในอดีต ทำ�ใหผ้ สู้ ูงอายุ
ถูกมองวา่ ขาดคุณค่า ขาดความสามารถ มคี วามคดิ ไมท่ ันสมยั สขุ ภาพอ่อนแอ ทำ�ให้ผสู้ ูงอายุเกิดความรสู้ กึ ไมม่ ั่นคง
ปลอดภัย กลายเปน็ คนที่ต้องอาศัยผู้อืน่ มากขึน้ อยา่ งไรก็ตามภาวะเหลา่ นีข้ ึน้ อย่กู ับความสามารถของผสู้ ูงอายุแตล่ ะ
รายในการเผชญิ กับปญั หา ปรัชญาในการดำ�เนินชวี ติ ความเช่อื ความหวัง ความรู้สึกมีคณุ คา่ มศี กั ดศิ์ รีของตนเอง และ
ความรู้สึกปลอดภัยในสังคม ในรายทแี่ รงกดดนั มากๆ และไม่สามารถปรบั ตัวได้ บคุ ลิกภาพจะเสยี ไป กลายเปน็ ภาระ
ตอ่ สังคม กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาทางจิตอาจท�ำ ร้ายตวั เอง และผอู้ ื่นได้
2.4 การเปลยี่ นแปลงทางวัฒนธรรม (สถาบนั พัฒนบริหารศาสตร,์ 2553)
ปัจจุบันวัฒนธรรมไทยเปลี่ยนแปลงเป็นวัฒนธรรมทางตะวันตกมาข้ึน ขณะท่ีผู้สูงอายุยังมีความคิด
เหน็ ทคี่ งที่ ยดึ มน่ั กบั คตนิ ยิ มของตนเอง ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละวฒั นธรรมดงั้ เดมิ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากความสามารถ
ในการเรยี นรแู้ ละความจำ�เกยี่ วกบั สง่ิ ใหมๆ่ ลดลง แตย่ งั สามารถจำ�เรอื่ งราวเกา่ ๆซงึ่ เปน็ สงิ่ ทป่ี ระทบั ใจไดด้ ี จงึ ท�ำ ใหผ้ สู้ งู
อายุเกดิ การต่อต้านความคิดใหม่ๆ ก่อให้เกิดชอ่ งว่างระหวา่ งวยั มากข้นึ ผ้สู ูงอายกุ ลายเป็นคนลา้ สมยั จ้จู ี้ข้ีบน่ นอ้ ยใจ
งา่ ย ท�ำ ใหล้ กู หลานไมอ่ ยากเลย้ี งดู กลายเปน็ สว่ นเกนิ ของครอบครวั ผสู้ งู อายจุ งึ แยกตวั เองและเกดิ ความรสู้ กึ เบอื่ หนา่ ย
ท้อแท้ ไม่มีความสขุ
ค่มู อื “ความสุข 5 มิติสำ�หรบั ผู้สงู อาย”ุ 5
3. การเปลยี่ นแปลงทางด้านอารมณแ์ ละจติ ใจ (สมภพ เรอื งตระกลู , 2547)
การเปลยี่ นแปลงสภาพรา่ งกายและสงั คม มผี ลโดยตรงตอ่ สภาพจติ ใจของผสู้ งู อายุ การมองรปู ลกั ษณข์ อง
ตนเอง และมโนทศั นต์ อ่ ตนเองจะเปลยี่ นแปลงไป ผสู้ งู อายจุ ะปรบั สภาวะทางจติ ใจและอารมณไ์ ปตามการเปลย่ี นแปลง
ของรา่ งกาย และสิ่งแวดล้อมโดยอัตโนมตั ิ เปน็ การเรียนรู้ประสบการณท์ างจิตใจอยา่ งต่อเน่ือง
ผู้สูงอายุจะมีการปรับและพัฒนาโครงสร้างขององค์ประกอบจิตใจระดับต่างๆ กันไป โดยทั่วไปจะมีการ
ปรบั ระดบั จติ ใจในทางทด่ี งี ามมากขนึ้ สามารถคมุ จติ ใจไดด้ กี วา่ จงึ พบวา่ เมอ่ื คนมอี ายมุ ากขนึ้ จะมคี วามสขุ มากขน้ึ ดว้ ย
ผสู้ งู อายมุ ลี กั ษณะของโครงสรา้ งทางจติ ใจเฉพาะเปน็ ของตนเอง ซง่ึ จะเปน็ รากฐานของการแสดงออกของคน แตล่ กั ษณะ
การแสดงออกข้ึนอยู่กับปัจจัยต่างๆร่วมด้วย ได้แก่ บุคลิกภาพเดิม การศึกษา ประสบการณ์ สภาพสังคมในวัยเด็ก
อยา่ งไรก็ดีมักพบบอ่ ยๆวา่ ผสู้ ูงอายุจะมคี วามเครียดเนอ่ื งจากโรคทางกายแบบเฉียบพลันและเรอื้ รัง การสญู เสยี อาชพี
การงาน มกี ารเสียชีวิตของบคุ คลผู้เป็นทร่ี กั และความเหงาโดดเดยี่ วเน่อื งจากการขาดคนดูแล
มีการอธบิ ายลักษณะการเปล่ียนแปลงทางอารมณ์และจิตใจของผสู้ งู อายไุ ว้ ดังนี้
3.1 ด้านบุคลิกภาพ (Personality) บุคลิกภาพของบุคคลมีพื้นฐานมาจากวัยเร่ิมต้นของชีวิตโดยมี
พฒั นาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปญั ญาเป็นส่วนประกอบทส่ี ำ�คัญ และอรี คิ
สันเช่ือวา่ บคุ ลกิ ภาพตอ้ งมีการพัฒนาตลอดเวลาและตลอดชีวติ ในวยั สูงอายุบคุ ลกิ ภาพมักไม่ตา่ งไป
จากเดมิ แต่ถ้ามีการเปลยี่ นแปลงทางดา้ นบคุ ลกิ ภาพในวัยสูงอายุ อีริค อิรคิ สัน (Erik Erikson) เชอื่
ว่าอาจเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของอัตมโนทัศน์ การยอมรับของสังคม สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน
และการรบั รู้ (อา้ งถงึ ใน ลกั ขณา สรวิ ฒั น์, 2544) Neugarten (1964) ไดแ้ บ่งบุคลิกภาพของผู้สูง
อายุไว้ 4 แบบ ได้แก่
3.1.1 บคุ ลิกแบบผสมผสาน (Integrated personalities) ซึง่ เป็นบุคลกิ ภาพทีด่ สี ามารถพบไดใ้ นผู้
สูงอายุ ได้แก่
แบบ Reorganizer คอื ผสู้ งู อายทุ ค่ี น้ หากจิ กรรม เพอ่ื ปรบั ปรงุ ความสามารถดงั้ เดมิ ทห่ี ายไป
มกี ารทำ�กจิ กรรมประจ�ำ วนั และพงึ พอใจตอ่ ชีวติ ค่อนข้างมาก
แบบ Focused คือผสู้ งู อายทุ ่มี กี ิจกรรมและระดับความพึงพอใจต่อชีวิตปานกลาง
แบบ Disengaged คอื ผสู้ งู อายทุ ถี่ ดถอยตนเองออกจากสงั คม มกี จิ กรรมนอ้ ยแตพ่ งึ พอใจ
ต่อชีวิตท่ตี นเองไดเ้ ลือกแลว้
3.1.2 บคุ ลิกแบบต่อตา้ น (Defended personalities) แบง่ เปน็ 2 แบบดังนี้
แบบ Holding on คอื ผู้สงู อายุทเี่ กลยี ดกลวั ความชรา พยายามยดึ รูปแบบบคุ ลกิ ภาพ
ของตน ในวยั กลางคนไว้ และมคี วามพงึ พอใจในระดบั สูงต่อการยดึ ถือเชน่ น้ี
แบบ Constricted คอื ผสู้ งู อายทุ เ่ี กลยี ดกลวั ความชรา ชอบจ�ำ กดั บทบาทและพฤตกิ รรม
ของตนเอง จะมคี วามพึงพอใจสงู ถ้าได้ทำ�ตามบทบาทท่ตี นเองต้องการ
3.1.3 บคุ ลิกแบบเฉยชา และพึง่ ผ้อู น่ื (Passive-dependent personalities) แบง่ เปน็
แบบ Succurance seeking คอื ผสู้ งู อายทุ ่ีต้องพ่ึงพาผู้อ่นื เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ
ด้านอารมณข์ องตนเอง
6 คู่มือ “ความสขุ 5 มติ สิ �ำ หรบั ผ้สู ูงอาย”ุ
แบบ Apathy คือ ผสู้ งู อายทุ ่ไี มส่ นใจใยดีสงิ่ แวดล้อม มกี ิจกรรมน้อย มพี ฤตกิ รรมเฉยชา
มคี วามพึงพอใจต่อชวี ติ ตา่ํ
3.1.4 บคุ ลกิ ภาพแบบขาดการผสมผสาน (Disintegrated and disorganized personalities) คอื
ผู้สูงอายุท่ีไม่สามารถปรับตัวให้ยอมรับความชราของตนได้ ขาดการควบคุมอารมณ์ มีการ
บกพร่องดา้ นความคดิ อ่าน และสภาวะจติ ใจอย่างเหน็ ไดช้ ัด มพี ฤติกรรมและความพงึ พอใจ
ในชีวติ ระดบั ต่าํ
3.2 ด้านการเรียนรู้ (Learning) เม่ือเข้าสู่วัยสูงอายุการเรียนรู้จะลดลงมากโดยเฉพาะหลังอายุ 70 ปี
แม้การเรียนรู้ของผู้สูงอายุจะลดลง แต่ก็ยังสามารถเรียนรู้ส่ิงใหม่ๆได้ ถ้าการเรียนรู้นั้นสัมพันธ์กับ
ประสบการณเ์ ดมิ ทผ่ี า่ นมา ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการเรยี นรแู้ ละความตงั้ ใจจรงิ ของผสู้ งู อายุ ดงั นนั้ จงึ ควร
ลดความคาดหวังต่อการเรียนรูข้ องผสู้ ูงอายุ โดยการเรียนรทู้ ี่ผ้สู งู อายุท�ำ ไดด้ แี ละเรียนไดเ้ รว็ คือ การ
เรียนร้เู ฉพาะอยา่ งโดยไม่เรง่ รดั
3.3 ด้านความจำ� (Memory) ผู้สูงอายุจะมีความจำ�เรื่องราวในอดีตได้ดี แต่จะมีความจำ�เกี่ยวกับสิ่ง
ใหมๆ่ ลดลง ซึง่ อาจเปน็ ผลมาจากการเปลยี่ นแปลงทางดา้ นร่างกาย และทางดา้ นจิตสังคม การกระ
ตนุ้ ความจ�ำ ของผสู้ งู อายุ จะตอ้ งอาศยั การปฏบิ ตั เิ ปน็ ล�ำ ดบั ขนั้ ตอน เชน่ การเขยี นหนงั สอื ตวั โต การใช้
สีกระตนุ้ การมองเห็น ไม่ควรเนน้ หรอื ถามซํ้าในเรอื่ งท่ผี ู้สูงอายจุ �ำ ไมไ่ ด้ การจดบันทึกจะชว่ ยผสู้ งู อายุ
จำ�ได้มากขน้ึ
3.4 ด้านสติปัญญา (Intelligence) ความสามารถทางสมองจะเร่ิมลดลงเม่ืออายุ 30 ปีเป็นต้นไป
ในผู้สูงอายุจะเก่ียวข้องกับระดับการศึกษา การเรียนรู้ในอดีต ประสบการณ์ในการแก้ปัญหา และ
สภาวะสุขภาพในขณะน้ัน โดยท่ัวไปการเสื่อมทางสติปัญญาจะค่อยเป็นค่อยไป ไม่เท่ากันทุกคน
คุณลกั ษณะความเสอื่ มทางปญั ญาทพี่ บในผสู้ ูงอายไุ ดแ้ ก่
ความสามารถในการใชเ้ หตผุ ล (Inductive reasoning)
ความสามารถในการค�ำ นวณบวกลบตัวเลข (Numerical ability)
ความสามารถในการคิดเร่อื งนามธรรม (Abstract ability)
ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ลดลง (Creative ability) แต่จะดีขึ้นถ้าผู้สูงอายุใช้
ประสบการณ์เดิมที่ผ่านมาชว่ ย อย่างไรก็ตามก็ยงั ใชเ้ วลาในการคิดนานกว่าวัยหนมุ่ สาว
ความสามารถในการคดิ ตัดสนิ ใจชา้ ลง (Judgment ability) ต้องให้บคุ คลอนื่ ช่วยในการตดั สนิ ใจ
3.5 ด้านสมรรถภาพการรับรขู้ ้อมูลและการนำ�ความรูส้ กู่ ารปฏิบัติ (Competence and Performance)
ลดลงโดยสว่ นใหญส่ มรรถภาพในการน�ำ ความรสู้ กู่ ารปฏบิ ตั ติ า่ํ กวา่ สมรรถภาพการรบั รขู้ อ้ มลู เนอ่ื งจาก
หลายปจั จยั เช่น สมองท�ำ งานลดลง การรับรนู้ อ้ ยลง ความจ�ำ สน้ั ลง การตอบสนองชา้ ลง ผสู้ ูงอายมุ กั
กลวั สงิ่ ทตี่ นเองไมร่ แู้ ละตน่ื เตน้ เมอ่ื ตอ้ งเผชญิ กบั สถานการณใ์ หมๆ่ เนอื่ งจากไมแ่ นใ่ จวา่ ตนเองจะตอบ
สนองไดห้ รอื ไม่ กลัวความล้มเหลว ผ้สู ูงอายจุ ึงต้องการการสง่ เสรมิ สนบั สนุน และต้องการแรงจูงใจ
เพอ่ื กระตุ้นในการท�ำ กจิ กรรมใหม่ๆ
คูม่ อื “ความสขุ 5 มติ ิส�ำ หรบั ผู้สงู อายุ” 7
3.6 ด้านเจตคติ ความสนใจ และคุณคา่ (Attitude, Interest and Values) พบวา่ จะแตกตา่ งกันไปใน
แตล่ ะบคุ คล ซ่งึ มอี ิทธิพลมาจาก เพศ สังคม อาชีพ เช้อื ชาติ และวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงเจตคติ
ของผ้สู ูงอายไุ มใ่ ช่สงิ่ งา่ ย การสอนเพอื่ ให้ผู้สูงอายุรบั รเู้ ร่ืองราวใหม่ โดยการเปลย่ี นแปลงเจตคติของ
ผสู้ งู อายุจะช่วยใหผ้ ู้สงู อายุปรบั เปลีย่ นเจตคติได้
3.7 ด้านการรบั รู้เกีย่ วกับตนเองและความรสู้ ึกมีคณุ คา่ ในตนเอง (Self - concept and Self - esteem)
ถ้าเป็นไปในทางบวกจะช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถปรับตัว และแก้ปัญหาได้ดี ความรู้สึกมีคุณค่าในตัว
เองมผี ลมาจากกระบวนการความคดิ อารมณ์ ความปรารถนา คุณคา่ และพฤตกิ รรม นอกจากนน้ั
ยงั เกีย่ วขอ้ งกับงาน และสงั คมของผู้สูงอายดุ ้วย ดังนั้นการเตรียมงานทีเ่ หมาะสมส�ำ หรบั ผ้สู งู อายจุ ึง
เปน็ วิธีการหนง่ึ ที่จะช่วยสง่ เสริมความรสู้ ึกท่ีมคี ุณคา่ ในตัวเอง เช่น การทำ�งานอดิเรก การเป็นอาสา
สมัครท�ำ งานชว่ ยเหลอื สงั คม การท�ำ งานที่ผสู้ งู อายุชอบ เป็นต้น
8 ค่มู ือ “ความสุข 5 มิตสิ ำ�หรับผสู้ งู อาย”ุ
บทที่ 2
ความสขุ เชิงจิตวิทยาเพือ่ สง่ เสริมสขุ ภาพ
และป้องกันโรคในผสู้ งู อายุ
ความหมายของความสุข
ในทางพุทธศาสนา ความสุขคือการมีทุกข์น้อย ทั้งนี้ความทุกข์ในพุทธศาสนาจะมุ่งเน้นเร่ืองความทุกข์ทาง
ใจเพราะความทุกขท์ างกายเปน็ เร่อื งธรรมชาติ โดยความทุกขท์ างใจพระพทุ ธเจา้ กลา่ วไว้ใน “หลักปฎิจจสมุปบาท”
ว่า “ความทุกข์ทางใจมีกระบวนการทางจิตเป็นสาเหตุทั้งนี้ตัณหาหรือความทะยานอยากที่ผลักดันให้คนเราเกิด
ทกุ ข”์ มกี ารแบง่ ความสุขไว้ 3 ระดับ คอื
ระดบั ท่ี 1 : กามสขุ หรือความสขุ ทีเ่ กดิ จากความใคร่ ความอยาก และความปรารถนาทงั้ หลายอันเนอื่ งมา
จาก “วตั ถุกาม” หรอื ความสุขจากภายในอก เชน่ รูป เสียง กลน่ิ รส สัมผสั ทนี่ า่ ใคร่ นา่ พอใจ อาทสิ ขุ จากไดใ้ ช้ทรัพย์
สมบัติ ด่ืม เที่ยว การเสพเคร่ืองอำ�นวยความสะดวกต่างๆ เป็นต้น หรือ ความสุขเนื่องมาจากความต้องการภายใน
“กิเลสกาม” เช่น ความพอใจว่าตนเองมฐี านะ ชื่อเสยี ง มีตำ�แหนง่ ใหญโ่ ต เปน็ ต้น
ระดับท่ี 2 : ฌานสขุ หรอื ความสุขสงบเปน็ ความสขุ ท่ีปราศจากกิเลสช่ัวคราว เมือ่ อย่ใู นสมาธิ และมีผลต่อไป
อกี ระยะหนึ่งหลงั ออกจากสมาธิ เมอื่ กลับสูส่ ถานการณป์ ัจจบุ ันท่ียังมีความโลภ โกรธ หลง ความทะยานอยากในจติ ใจ
แล้วความทกุ ขท์ างใจกจ็ ะกลบั มาอีก เนื่องจากยงั ไมร่ ้เู ทา่ ทนั ความคดิ ปรงุ แตง่ ของตัวเองหรอื ยังมคี วามเป็นตวั ตนของ
ตนเองอยู่
ระดบั ท่ี 3 : ญาณสขุ หรอื สขุ จากการปลอ่ ยวาง เปน็ การรเู้ ทา่ ทนั ความทะยานอยาก และความคดิ ปรงุ แตง่ ดว้ ย
กเิ ลสของตวั เอง ท�ำ ใหส้ ามารถควบคมุ ความคดิ ปรงุ แตง่ และปลอ่ ยวางไดใ้ นทส่ี ดุ ในทางพทุ ธศาสนาจดั วา่ เปน็ ความสขุ
ทย่ี ง่ิ กวา่ และยงั่ ยนื กวา่ ความสขุ ทางโลก สามารถมองทกุ อยา่ งตามความเปน็ จรงิ เปน็ ความสขุ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ไดต้ ลอดเวลาใน
ชีวิตประจ�ำ วัน หากบคุ คลน้นั สามารถเจรญิ สตทิ ่จี ะรตู้ ัวและรเู้ ทา่ ทนั ตัณหาและสงั ขารของตนเองได้ (อา้ งถึงใน ยงยุทธ
วงศภ์ ริ มยศ์ านติ์, 2554)
ในเชงิ จติ วิทยา ความสขุ เปน็ การวดั เชงิ อตั วิสยั (Subjective) คอื เป็นเรอ่ื งของอารมณ์ความร้สู กึ ดังนั้นความ
สุขของแต่ละคนกจ็ ะแตกต่างกนั ไป ความสุข (Happiness) ในเชิงจติ วทิ ยาจึงเป็นการวัดเฉพาะความอยูด่ ที างอารมณ์
(emotional well - being) เทา่ นนั้ ซ่ึงคำ�ว่าความอยู่ดี (well - being) กจ็ ะวัดรวมเอามิติของสุขภาพกาย (physical
health) และสุขภาพใจ (mental health) รวมเข้ามาเป็นบรบิ ทของความอยดู่ ี มสี ขุ (Lyubommirsky; 2008) มีการ
ทบทวนวรรณกรรมเก่ยี วกบั ความสุขจากนักวชิ าการทางดา้ นจิตวิทยาหลายท่านพบว่าความสุขในเชิงจติ วิทยามีความ
หมายดงั ตอ่ ไปนี้
Andrews and Whitney (1978) ไดใ้ ห้ ความหมายวา่ ความสขุ คือการได้รับความพงึ พอใจ ความสมหวังจาก
สิง่ ต่าง ๆ รอบดา้ น ความสขุ มอี งค์ประกอบดงั น้ี
คูม่ ือ “ความสขุ 5 มิติส�ำ หรบั ผสู้ ูงอาย”ุ 9
1. อารมณท์ างบวก
2. ความพงึ พอใจในชวี ติ
3. ปราศจากอารมณ์ทางลบหรือความเศรา้ โศก
Diener (1984) นกั จิตวทิ ยาชาวอเมริกนั ได้ให้แนวคดิ ทล่ี ะเอียดข้ึนเกยี่ วกับความอยู่ดที างอารมณ์ โดยแบง่
ออกเป็นสามมิติ ซ่ึงในแต่ละมติ สิ ามารถแยกส่วนการวิเคราะหอ์ อกจากกันได้ คอื
มติ ิท่ี 1 เป็นความรู้สึกทางบวก กล่าวคอื คนเรามอี ารมณท์ างบวกบอ่ ยคร้งั แค่ไหน
มิติท่ี 2 เปน็ ความรูส้ ึกทางลบ กล่าวคือ คนเรามอี ารมณค์ วามรู้สกึ ทางลบบ่อยแคไ่ หน
มิติที่ 3 เป็นความพึงพอใจในชีวิต กล่าวคือ การท่ีปัจเจกบุคคลประเมินความพึงพอใจในชีวิตของตนเองใน
ภาพรวมอย่างไร
อภชิ ยั มงคล และคณะ (2544) ไดจ้ ดั ท�ำ ดชั นชี วี้ ดั ความสขุ คนไทย ซงึ่ เปน็ แบบวดั ความสขุ ทส่ี รา้ งขนึ้ เพอื่ ประเมนิ
ภาวะความสขุ ของบคุ คล ภายใตบ้ รบิ ทของสงั คมไทย และมมุ มองของศาสนาพทุ ธ และมกี ารใหน้ ยิ ามความสขุ ในเบอื้ ง
ตน้ วา่ มคี วามหมายเชน่ เดยี วกบั ผทู้ มี่ สี ขุ ภาพจติ ดี และใหค้ วามหมายของสขุ ภาพจติ วา่ เปน็ สภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ สขุ อนั เปน็ ผล
จากการมคี วามสามารถในการจดั การปญั หาในการดำ�เนนิ ชวี ติ โดยครอบคลมุ ถงึ ความดงี ามภายในจติ ใจ ภายใตส้ ภาพ
สังคมและสิง่ แวดลอ้ มทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป โดยองคป์ ระกอบของผู้ทีม่ ีสขุ ภาพจิตดปี ระกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบหลักคือ
1. สภาพจิตใจ ซึ่งเน้นอารมณด์ ้านบวกและอารมณ์ดา้ นลบ และดัชนที ี่เก่ียวขอ้ งกบั การเจบ็ ปว่ ยทางจิต และ
วดั จากความรสู้ กึ อารมณ์ ความคดิ พฤตกิ รรมวา่ ในปจั จบุ นั เปน็ อยา่ งไร และมอี าการของโรคตา่ งๆเกดิ ขน้ึ
หรือไม่ เปน็ การวดั ณ ปัจจบุ ัน
2. สมรรถภาพจิต ซึ่งเน้นความสามารถในการเผชิญปัญหา หรือสมรรถภาพในการแก้ปัญหาในการดำ�เนิน
ชีวิต 3 ด้านคือ 1) ปัญหาการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น สามารถสร้าง รวมท้ังดำ�รงรักษาสัมพันธภาพให้คง
อยู่อย่างราบร่ืน 2) ปัญหาจากสังคมภายนอกท่ีมากดดัน สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในสถานการณ์น้ันๆ
มีผลงานที่มีคุณค่ามีประโยชน์ อันเป็นความสามารถของบุคคลท่ีจะอยู่ได้ในสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ี
เปล่ียนไป 3) ปัญหาท่ีเกิดจากภายในจิตใจตนเอง โดยสามารถดูแลจิตใจให้สามารถสร้างความสมดุล
ให้เกิดข้ึนระหว่างความต้องการที่เกิดข้ึนจากความขัดแย้งในใจ หรือความต้องการตามสัญชาติญาณ
จนสามารถแกไ้ ขปัญหาท่เี กดิ ข้นึ ได้
3. คุณภาพจิต ซึ่งเน้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ด้วยการมีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง มีบุคลิกภาพที่
ผสมผสาน มคี วามเปน็ ตัวของตวั เอง มีการดำ�เนินชีวิตอยา่ งสร้างสรรค์
4. ปจั จยั สนบั สนนุ ซงึ่ เนน้ ความผาสกุ ของบคุ คล (Subjective well-being) และคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี โดยประเมนิ
บคุ คลตอ่ การรบั รู้เกยี่ วกบั บุคคลแวดล้อม และสงิ่ แวดลอ้ มทีส่ ง่ ผลตอ่ จิตใจ และการด�ำ เนนิ ชวี ิต
Babara Fredrickson (2003) ได้ให้ความหมายของความสุขว่า เป็นแหล่งพลังงานสำ�รองที่ช่วยให้คนเรา
กระตอื รอื ร้น และมองโลกในแงด่ ี
วิทยากร เชยี งกูล (2550) ได้ให้ความหมายของความสขุ วา่ เป็นความรูส้ ึก หรอื อารมณ์ประเภทหนงึ่ ทีเ่ กิดข้นึ
ของบคุ คลมหี ลายระดบั ตง้ั แตค่ วามสบายใจเลก็ นอ้ ย หรอื ความพอใจจนถงึ ความเพลดิ เพลนิ หรอื เตม็ ไปดว้ ยความสนกุ
ดงั นนั้ ความสขุ จงึ แตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะบคุ คล อยา่ งไรกต็ ามความสขุ ในเชงิ จติ วทิ ยาพบวา่ ความสขุ ของคนเรามาจาก
การมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทีด่ ี มองโลกในแงด่ ี แง่บวก มคี วามสมั พันธ์ที่ดกี บั ครอบครวั เพ่อื น มคี วามพอใจใน
10 คมู่ ือ “ความสขุ 5 มิตสิ �ำ หรับผสู้ งู อาย”ุ
งานและสภาพชวี ิตความเปน็ อยู่ รู้สึกไดร้ ับการยอมรับ รูส้ ึกว่างานและชีวติ ของตนเองมคี วามหมาย มโี อกาสได้เรียนรู้
และเปน็ คนเอือ้ เฟื้อเผอื่ แผ่
Martin Saligman (2004) ได้ใหค้ วามหมายของความสขุ วา่ เปน็ ความรสู้ กึ ทางบวกและการทำ�กจิ กรรมเชิง
บวกทีน่ �ำ ไปสู่ความดืม่ ดำ่� ใหค้ ุณค่าตอ่ การมชี วี ิตอยู่อยา่ งมีความหมาย ทั้งนี้ ความสุขในความหมายดงั กล่าวประกอบ
ด้วยความสขุ 3 ระดบั ไดแ้ ก่
ความสุขขั้นแรก (The pleasant life) คือ การมีชีวิตท่ีรื่นรมย์ มีความสนุกสนาน ตอบสนองความ
เพลดิ เพลนิ เท่าที่บุคคลตอ้ งการ มีอารมณ์ทางบวก มองโลกในแง่ดี มที กั ษะในการใช้ชวี ติ หรอื เปน็ ความ
สุขทไี่ ดร้ ับการสนองตอบจากสิ่งรอบๆ ตวั ของบคุ คลนน้ั ๆ ตวั อยา่ งเชน่ การได้ของทพี่ ึงพอใจ การใช้ชีวิต
ในแบบท่ตี นเองตอ้ งการ การได้ครอบครองของทต่ี นเองต้องการ เปน็ ต้น
ความสขุ ข้ันทสี่ อง (The good life) คือ การมชี วี ติ ทส่ี ามารถออกแบบวิถชี ีวิตของตัวเองได้ สามารถท�ำ
กิจกรรมตามวิถีชีวิตท่ีต้องการ และท�ำ ให้เกิดความอิ่มเอิบงอกงามทางใจ เกิดมุมมองต่อชีวิตและโลกใน
เชงิ บวก
ความสุขขัน้ ทีส่ าม (The meaningful life) คือ การมีชวี ติ อยูอ่ ยา่ งมีคุณคา่ มคี วามหมายตอ่ ตนเองและ
ผู้อื่น และทำ�ให้เกิดความสงบสุข จากการใช้ชีวิตตามแนวทางนั้น อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของความสุข
และเปน็ ความสุขทยี่ ง่ั ยนื
จากความหมายในเร่ืองของความสุขเบือ้ งต้น ทำ�ใหส้ รุปความได้วา่ ในการพัฒนาบคุ คลให้มคี วามสขุ ทางพุทธ
ศาสนาจำ�เป็นต้องลดความคดิ ปรุงแตง่ ดว้ ยความโลภ โกรธ หลง จนกลายเป็นความทะยานอยากทท่ี �ำ ให้เกิดทกุ ข์ ดว้ ย
การเจรญิ สตแิ ละสมาธใิ หเ้ กดิ การตระหนกั รตู้ นเอง และปลอ่ ยวาง ขณะทกี่ ารพฒั นาบคุ คลใหม้ คี วามสขุ ในเชงิ จติ วทิ ยา
จ�ำ เป็นตอ้ งพฒั นาใหบ้ ุคคลรูจ้ ักมองโลกในแงด่ อี ยา่ งมีเหตผุ ล อย่างเขา้ ใจสภาวะธรรมชาติของมนษุ ย์ และสังคมอยา่ ง
ที่เป็นจรงิ ไม่ได้มองโลกแงด่ แี บบเพอ้ ฝัน หรือหลอกตวั เอง ดว้ ยการรูจ้ ักจัดการความทุกขท์ เ่ี กดิ ข้ึนโดย การจดั การกับ
อารมณล์ บทีเ่ กิดข้นึ การจัดการกับความคดิ การเรียนรทู้ ีจ่ ะมองโลกในแง่บวก และการเรยี นรู้ในการแก้สาเหตทุ ีท่ ำ�ให้
เกิดความทุกข์น้นั ๆ
ราชวทิ ยาลยั แพทยแ์ ละสมาคมเวชศาสตรผ์ สู้ งู อายอุ งั กฤษ ไดเ้ สนอกรอบ/ประเดน็ ในการประเมนิ ความจ�ำ เปน็
ดา้ นสขุ ภาพของผสู้ งู อายทุ ค่ี รอบคลมุ กวา้ งขวางกวา่ สขุ ภาพเชงิ การแพทยไ์ ว้ และเปน็ กรอบทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ สขุ ภาวะที่
ดขี องผู้สูงอายทุ ่คี วรจะเปน็ ตามอัตภาพดงั นี้ (กรมอนามัย, 2553)
1. การประกอบกิจวตั รประจำ�วัน (Activity of daily living, ADL)
การดแู ลสุขวิทยาสว่ นบุคคล เช่นการอาบนา้ํ การขับถ่าย การรับประทานอาหาร
การเคล่อื นไหวของร่างกาย
การใช้ชวี ิตประจำ�วนั ในสังคม เช่นการเดนิ ทาง
2. การทำ�งานของสมอง (Mental health functioning)
ความรู้ ความจำ� (Cognition)
การมอี าการทางจติ ประสาท (Psychaitric symptoms)
คู่มอื “ความสขุ 5 มติ สิ ำ�หรับผู้สงู อาย”ุ 11
3. สภาพจติ ใจ (Psychosocial functioning)
อารมณ์ ความรู้สึก สภาพจติ ใจ (Emotional well-being in social and cultural contexts)
4. สขุ ภาพทางกาย (Physical health functioning)
การประเมนิ ภาวะสุขภาพเชงิ อัตตวสิ ัย (Self-percieved health)
การเจ็บปว่ ย (Morbidity)
ความสามารถในการปฏบิ ัติกิจกรรมตา่ งๆ (Activity levels and measures of incapability)
5. การเข้าถงึ บริการต่างๆ (Social resource)
มีบริการด้านการแพทย์และสังคมให้บริการเมื่อมีความจำ�เป็น มีรายได้ท่ีพอเพียง (Economic
Resources)
การเขา้ ถงึ ลกู หลาน บคุ คลในครอบครวั เพอื่ น เจา้ หนา้ ทแ่ี ละอาสาสมคั รทจ่ี ะใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตา่ งๆ
6. มสี ภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสม (Environmental resources)
มที ่พี กั อาศยั เพียงพอ และราคาเหมาะสม
สภาพที่พกั อาศัย ที่สาธารณะต่างๆ เอ้ือตอ่ การใช้ชวี ิตของผู้สูงอายุ
อยา่ งไรกต็ ามเพอื่ ทจ่ี ะน�ำ สกู่ ารพฒั นาความสขุ ใหก้ บั ผสู้ งู อายุ ในโครงการปอ้ งกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ ในผสู้ งู อายุ
ส�ำ นกั พฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ จะนยิ ามความสขุ เพอ่ื น�ำ สกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาผสู้ งู อายโุ ดย จะน�ำ แนวคดิ ใน
การสร้างสขุ ระดับที่ 1 ด้วยการนำ�หลักธรรมะ 4 ประการ คือ สุขกาย สขุ ใจ พลานามยั สมบรู ณ์ และเพม่ิ พนู งานอดิเรก
(เชดิ เจริญรัมย,์ 2552) มาใช้ นำ�แนวคดิ ในการสรา้ งความสุขระดับที่ 2 ทางพุทธศาสนา มาใช้เพือ่ พฒั นาความสุขให้
เกดิ ขน้ึ ภายในตวั ของผสู้ งู อายเุ อง รว่ มกบั นยิ ามความสขุ ในเชงิ จติ วทิ ยา ของ Martin Saligman และกรอบการประเมนิ
สุขภาวะของราชวิทยาลัยแพทย์และสมาคมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุของอังกฤษมาใช้เพ่ือสร้างกรอบแนวคิดในการพัฒนา
ผู้สงู อายุ 5 ด้านอย่างเป็นรปู ธรรมโดยจะใช้ช่ือวา่ ความสุขเชิงจิตวิทยาในผู้สงู อายุ เพ่อื ส่งเสริมสขุ ภาพและป้องกนั โรค
ใหก้ บั ผู้สงู อายุ ตลอดจนเปล่ยี นทศั นคติเก่ียวกับผสู้ ูงอายุวา่ เป็น “ภาระ” ใหก้ ลายเป็น “พลงั ของชมุ ชน” ด้วยการ
เป็นผู้ให้อย่างมีคุณค่าและมีศักดิศ์ รี
12 คูม่ ือ “ความสุข 5 มิตสิ �ำ หรับผสู้ งู อายุ”
กรอบแนวคิดเรือ่ งความสขุ 5 มิติ เพือ่ สง่ เสริมสขุ ภาพ
และปอ้ งกันโรคในผ้สู ูงอายุ
(สุจรติ สวุ รรณชพี , 2554 และ ส�ำ นกั พฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต, 2554)
เพอ่ื ทจ่ี ะพฒั นาความสขุ เชงิ จติ วทิ ยาในผสู้ งู อายจุ �ำ เปน็ ตอ้ งนยิ ามความสขุ ทพี่ รอ้ มจะน�ำ มาปฏบิ ตั แิ ละสามารถ
วัดในเชิงสมั พนั ธไ์ ด้ จึงจะท�ำ ใหผ้ ้สู ูงอายุมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดดี งั นิยามขา้ งต้นในเนือ้ หาที่จะกลา่ วต่อไปนจี้ ะ
จำ�แนกความสุขของผสู้ ูงอายุ 5 มติ ิ ดังนี้
ด้านท่ี 1 : สขุ สบาย (Health)
หมายถงึ ความสามารถของผสู้ งู อายใุ นการดแู ลสขุ ภาพรา่ งกาย ใหม้ สี มรรถภาพรา่ งกายทแี่ ขง็ แรง คลอ่ งแคลว่
มกี �ำ ลงั สามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการทางกายภาพไดต้ ามสภาพทเ่ี ปน็ อยู่ มเี ศรษฐกจิ หรอื ปจั จยั ทจ่ี �ำ เปน็ พอเพยี ง
ไม่มีอบุ ตั ภิ ัยหรอื อันตราย มสี ภาพแวดล้อมทีส่ ่งเสรมิ สขุ ภาพ ไมต่ ิดสิ่งเสพตดิ
ด้านท่ี 2 : สุขสนกุ (Recreation)
หมายถึง ความสามารถของผู้สูงอายุในการเลือกวิถีชีวิตท่ีร่ืนรมย์ สนุกสนาน ด้วยการทำ�กิจกรรมที่
ก่อให้เกิดอารมณ์เป็นสุข จิตใจสดชื่นแจ่มใส กระปรี้กระเปร่า มีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งกิจกรรมท่ีเหล่าน้ีสามารถลด
ความซมึ เศรา้ ความเครียดและความวติ กกังวลได้
ด้านท่ี 3 : สุขสง่า (Integrity)
หมายถึง ความรู้สึกพึงพอใจในชีวิต ความภาคภูมิใจในตนเอง ความเช่ือมั่นในตนเอง เห็นคุณค่าในตนเอง
การยอมรับนับถือตนเอง ให้กำ�ลังใจตนเองได้ เห็นอกเห็นใจผู้อื่น มีลักษณะเอ้ือเฟื้อแบ่งปัน และมีส่วนร่วมในการ
ชว่ ยเหลือผู้อ่ืนในสังคม
ดา้ นที่ 4 : สุขสวา่ ง (Cognition)
หมายถึงความสามารถของผู้สูงอายุดา้ นความจ�ำ ความคดิ อยา่ งมเี หตมุ ีผล การสือ่ สาร การวางแผนและการ
แกไ้ ขปญั หา ความสามารถในการคดิ แบบนามธรรม รวมทง้ั ความสามารถในการ จดั การสง่ิ ตา่ งๆไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ด้านท่ี 5 : สขุ สงบ (Peacefulness)
หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการรับรู้-เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์ และสามารถ
จัดการกับสภาวะอารมณท์ ีเ่ กิดขนึ้ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถผอ่ นคลาย ใหเ้ กิดความสขุ สงบกบั ตนเองได้ รวมท้งั
ความสามารถในการปรับตวั ยอมรับสภาพส่ิงทเี่ กิดขึ้นตามความเปน็ จรงิ
คู่มือ “ความสุข 5 มิติสำ�หรบั ผู้สงู อายุ” 13
14 คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ ิสำ�หรับผูส้ ูงอาย”ุ
บทที่ 3
การจดั บริการสขุ ภาพเพื่อสง่ เสริมความสขุ
5 มิติในผู้สงู อายุ
ความต้องการการตอบสนองทางดา้ นจิตสงั คมของผูส้ ูงอายุ
การตอบสนองความต้องการทางสังคมและจิตใจของผู้สูงอายุได้แก่ ความตั้งใจต่อการมีชีวิตท่ียืนยาว
ความตอ้ งการความมน่ั คงปลอดภยั ในสงั คม ความตอ้ งการการเอาใจใสด่ แู ลทงั้ ทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ ความตอ้ งการ
การยอมรบั นบั ถอื จากลกู หลานและสงั คม รวมทงั้ ความตอ้ งการเปน็ สว่ นหนงึ่ ของสงั คมโดยการมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมและ
ทำ�ประโยชนต์ อ่ สังคม จะช่วยใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถปรบั ตวั ได้ และมคี วามสขุ ตอ่ การใชช้ ีวติ ในบ้ันปลายท่เี หลอื อยู่ ดังนนั้
การจดั บรกิ ารสขุ ภาพใหก้ บั ผสู้ งู อายจุ ึงควรเตรยี มความพร้อมใหก้ บั ผสู้ ูงอายใุ นการปรบั ตวั ต่อการเปลยี่ นแปลงทก่ี �ำ ลงั
เกดิ ขนึ้ ได้แก่
การปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับสภาพรา่ งกายท่เี ส่อื มลง
การปรบั ตวั ให้เข้ากับสภาวะทไ่ี ม่ตอ้ งท�ำ งานและมรี ายไดล้ ดลง
การปรบั ตัวให้ยอมรับการจากไปของค่คู รอง เพื่อนสนิทและสมาชกิ ในครอบครัว
การปรับตวั ให้ยอมรับแบบแผนของสังคมในกลุ่มผสู้ ูงอายุด้วยกนั
การสรา้ งความสุขและความพงึ พอใจให้กับตนเองภายใตส้ ภาวะแวดล้อมที่เป็นจรงิ
การเปลยี่ นแปลงแบบแผนการดำ�เนินชวี ิต
การจำ�แนกกลุ่มผูส้ ูงอายเุ พื่อการจดั บริการสขุ ภาพ
(วรรณภา อรุณแสง และลดั ดา ด�ำ ริการเลิศ, 2553)
จากการสังเคราะห์สัดส่วนของผู้สูงอายุท่ีมีสุขภาพในระดับต่างๆ ซึ่งอาศัยในชุมชนพบว่า ร้อยละ 27 ของ
ผู้สูงอายุในชุมชนเป็นผู้มีสุขภาพดี ร้อยละ 73 มีโรคเรื้อรังอย่างน้อย 1 โรค อย่างไรก็ตามได้จำ�แนกกลุ่มผู้สูงอายุ
ดังกล่าวออกเปน็ 3 กลุ่มตามลักษณะทางสุขภาพและสงั คมของผสู้ ูงอายดุ ังนี้
กลมุ่ ที่ 1 : กลมุ่ ติดสังคม
กล่มุ ที่ 2 : กลุม่ ติดบ้าน
กลุ่มที่ 3 : กลุ่มตดิ เตยี ง
คมู่ ือ “ความสขุ 5 มิติสำ�หรับผู้สูงอาย”ุ 15
กล่มุ ที่ 1 กลุ่มติดสงั คม
หมายถงึ กลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ย่ี งั สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองไดด้ ี ด�ำ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งอสิ ระ สามารถทำ�กจิ วตั ร
ประจำ�วนั พืน้ ฐาน และกจิ วตั รประจำ�วนั ตอ่ เน่อื งได้ เปน็ ผ้ทู ี่มสี ุขภาพทวั่ ไปดี ไมม่ โี รคเรื้อรัง หรือเปน็ เพยี งผู้ท่ีมภี าวะ
เสีย่ งต่อการเกิดโรค หรอื เปน็ ผทู้ ีม่ ีโรคเร้ือรงั 1-2 โรค ทย่ี ังควบคุมโรคได้
กลุ่มท่ี 2 กลมุ่ ตดิ บา้ น
หมายถงึ กลมุ่ ผสู้ ูงอายุท่ีช่วยเหลอื ตนเองได้บา้ ง หรอื ต้องการความชว่ ยเหลือจากผอู้ ่ืนเพยี งบางสว่ น มีความ
จ�ำ กัดในการด�ำ เนนิ ชวี ิตในสังคม และเปน็ กลมุ่ ผสู้ งู อายุท่มี ีโรคเร้ือรงั ทค่ี วบคุมไมไ่ ด้มีภาวะแทรกซ้อนทางดา้ นรา่ งกาย
หรือทางด้านจิตใจจนส่งผลตอ่ การรู้คดิ การตดั สนิ ใจ การปฏบิ ตั ิกจิ วตั รประจำ�วันพืน้ ฐาน
กลมุ่ ที่ 3 กลมุ่ ตดิ เตยี ง
หมายถงึ กลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ไ่ี มส่ ามารถชว่ ยเหลอื ตนเองในการท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั ได้ ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จาก
ผู้อื่นๆ ในเรอื่ งการเคล่ือนย้าย การปฏิบัติกจิ วัตรพ้ืนฐานประจำ�วนั อืน่ ๆ มโี รคประจำ�ตวั หลายโรคทัง้ ทค่ี วบคุมได้และ
ควบคมุ ไม่ได้มีการเจบ็ ป่วยเร้ือรังมายาวนานและมีภาวะแทรกซ้อนจากโรคท่เี ป็นอยู่
อย่างไรก็ตามในการจัดบริการสุขภาพท่ีเน้นด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟ้ืนฟูสุขภาพ
ในศูนย์ผู้สูงอายุในชุมชนจึงต้องจำ�แนกกลุ่มผู้สูงอายุตามลักษณะทางสุขภาพและสังคมของผู้สูงอายุ และเป้าหมาย
สดุ ทา้ ยคอื เกดิ ความสขุ ทง้ั ทางกาย จติ สงั คม และปญั ญาในผสู้ งู อายุ เชน่ เดยี วกบั ค�ำ กลา่ วทางพทุ ธศาสนา ถงึ ธรรมชาติ
4 ประการสำ�หรับผู้สูงอายุที่พึงกระทำ�และควรทำ�ให้เกิดข้ึนได้แก่ สุขกาย สุขใจ พลานามัยสมบูรณ์ และเพิ่มพูน
งานอดเิ รก จดั เปน็ เส้นทางเรม่ิ ตน้ ของความสุขในขนั้ โลกียส์ ขุ (เชดิ เจรญิ รมั ย,์ 2552)
กลุม่ ติดสงั คม
ความสขุ 5 มิติ เพอ่ื ส่งเสรมิ สขุ ภาพ และปอ้ งกนั โรคในผสู้ ูงอายใุ นกลุ่มติดสังคม
ในกลุ่มผู้สูงอายุท่ีติดสังคมเป็นกลุ่มท่ีสามารถช่วยเหลือตนเองได้ดี สามารถทำ�กิจวัตรประจำ�วันพ้ืนฐาน
และกิจวัตรประจำ�วันต่อเน่ืองได้เช่นเดียวกับผู้ท่ีมีสุขภาพดีท่ัวไป แม้จะมีโรคเร้ือรัง แต่ก็สามารถควบคุมโรคได้
การสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค เพอื่ คงสขุ ภาพดไี ว้ หรอื ชะลอการเสอื่ มของรา่ งกายใหน้ านทส่ี ดุ รวมทงั้ ความสามารถ
ในการพึ่งพาตนเองเช่นผู้ท่ีมีสุขภาพดีท่ัวไป จำ�เป็นต้องสร้างเสริมพฤติกรรมดีทางด้านสุขภาพ ความรู้สึกทางบวก
และการสร้างกำ�ลังใจ ให้ผู้สูงอายุกลุ่มน้ีมีความสุขจากการมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี ในการสร้างความสุข
5 มิติมดี งั น้ี
ด้านท่ี 1 : สุขสบาย (Health)
หมายถงึ ความสามารถของผสู้ งู อายใุ นการดแู ลสขุ ภาพรา่ งกาย ใหม้ สี มรรถภาพรา่ งกายทแ่ี ขง็ แรง คลอ่ งแคลว่
มกี �ำ ลงั สามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการทางกายภาพไดต้ ามสภาพทเ่ี ปน็ อยู่ มเี ศรษฐกจิ หรอื ปจั จยั ทจี่ �ำ เปน็ พอเพยี ง
ไมม่ อี บุ ตั ภิ ยั หรอื อนั ตราย มสี ภาพแวดลอ้ มทส่ี ง่ เสรมิ สขุ ภาพ ไมต่ ดิ สงิ่ เสพตดิ อยา่ งไรกต็ าม สมรรถภาพทางกายส�ำ หรบั
ผู้สูงอายุติดสังคม ซึ่งมสี ขุ ภาพดีเช่นเดียวกับผู้ทีม่ สี ุขภาพดีท่วั ไป
16 คมู่ อื “ความสขุ 5 มิติส�ำ หรบั ผู้สูงอายุ”
กิจกรรมสุขสบาย (Health) ในที่น้ีจะเน้นไปท่ีการเคลื่อนไหวปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วัน (Functional
mobility) โดยสมรรถภาพในการปฏิบตั กิ ิจกรรม คือความสามารถทางกายท่จี ะปฏบิ ตั ิกจิ วตั รประจ�ำ วนั ไดอ้ ยา่ งอิสระ
และปลอดภัย โดยปราศจากความอ่อนล้า ซ่ึงจะวัดความพร้อมในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำ วันต่อเนื่องของกองออก
ก�ำ ลังกายเพือ่ สุขภาพ กรมอนามยั (2552) ไดแ้ ก่
1. ความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื (Muscular Strength)
2. ความอดทนด้านแอโรบกิ (Aerobic endurance)
3. ความออ่ นตวั (Flexibility)
4. ความว่องไวและการทรงตวั (Agility/dynamic balance)
5. ดชั นมี วลกาย (BMI)
และวัดพฤตกิ รรมเส่ยี งด้านสขุ ภาพในผูส้ ูงอายุ (กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสขุ , 2536)
1. สุขภาพร่างกาย
2. พฤติกรรมเส่ยี งดา้ นสขุ ภาพ
วิธกี ารประเมนิ :
1. แบบประเมินเรื่องการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย (กรมอนามัย, 2552)
2. และแบบประเมินพฤตกิ รรมเส่ียงดา้ นสขุ ภาพ (กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, 2536)
ดา้ นที่ 2 : สขุ สนุก (Recreation)
หมายถงึ ความสามารถของผู้สูงอายใุ นการเลือกวิถชี ีวิตทรี่ น่ื รมย์ สนกุ สนาน ดว้ ยการทำ�กิจกรรมท่ีกอ่ ให้เกิด
อารมณ์เป็นสขุ จติ ใจสดชน่ื แจม่ ใส กระปร้กี ระเปร่า มคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี และกิจกรรมทเี่ หลา่ นส้ี ามารถลดความซมึ เศรา้
ความเครียด และความวิตกกังวลได้
กิจกรรมสุขสนุก (Recreation) จะเน้นไปท่ีการจัดกิจกรรมนันทนาการ ท่ีสร้างความสดช่ืน สร้างพลัง
ความมีชีวิตชีวาอย่างสร้างสรรค์และดีงามในรูปแบบของการทำ�กิจกรรม การแสดงออกในด้านกีฬา ดนตรี ศิลปะ
งานอดเิ รก เปน็ ตน้ และเปน็ กจิ กรรมทท่ี ำ�ในเวลาวา่ ง ท�ำ ดว้ ยความสมคั รใจ อาจท�ำ กจิ กรรมไดท้ งั้ เดยี่ วหรอื การรวมกลมุ่
วิธกี ารประเมิน :
1. แบบบันทึกเรื่อง
การเขา้ รว่ มในกจิ กรรมต่างๆ ของชมุ ชน
การออกก�ำ ลงั กายทีเ่ หมาะสมกับสภาพรา่ งกาย
การท�ำ กจิ กรรมนันทนาการอื่นๆ ทั้งเดี่ยวหรอื กล่มุ เพ่อื ให้เกิดอารมณเ์ ป็นสุข สนกุ สนาน
2. แบบวัดคุณภาพชีวติ
ด้านที่ 3 : สขุ สงา่ (Integrity)
หมายถึง ความรู้สึกพึงพอใจในชีวิต ความภาคภูมิใจในตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเอง เห็นคุณค่าในตนเอง
การยอมรบั นบั ถือตนเอง เห็นอกเห็นใจผูอ้ ่ืน มีลักษณะเออื้ เฟื้อแบง่ ปนั และมีส่วนรว่ มในการช่วยเหลอื ผูอ้ ืน่ ในสงั คม
กิจกรรมสขุ สงา่ (Integrity) จะเนน้ ไปทก่ี ิจกรรมท่ีก่อให้เกิดความภาคภูมใิ จ และตระหนักถึงความมีคณุ คา่
ในตนเอง การมีพฤตกิ รรมช่วยเหลือผอู้ น่ื ในสังคมและเกิดมมุ มองตอ่ การใชช้ วี ิตในเชิงบวก ซ่งึ จะประเมินจาก
3.1 การชว่ ยเหลือกจิ กรรมตา่ งๆ ของชุมชน
3.2 การมีจิตอาสา และใหก้ ารชว่ ยเหลือผ้อู ่นื
3.3 การช่วยเหลือคนในครอบครัว อาทกิ ารดแู ลเดก็ เป็นต้น
คมู่ อื “ความสขุ 5 มิตสิ ำ�หรับผู้สูงอายุ” 17
วธิ กี ารประเมนิ :
1. แบบบนั ทกึ เรอ่ื งกิจกรรมทก่ี ่อให้เกิดความภาคภมู ใิ จ และตระหนกั ถงึ ความมคี ณุ ค่าในตนเอง
2. แบบวัดความมีคณุ ค่าในตนเอง/แบบวดั คุณภาพชวี ิต
ดา้ นที่ 4 : สุขสวา่ ง (Cognition)
หมายถงึ ความสามารถของผสู้ งู อายดุ า้ นความจำ� ความเขา้ ใจ การคดิ แบบนามธรรม การสอื่ สาร การใชเ้ หตผุ ล
การเรยี นรู้ การวางแผนการแก้ไขปญั หา
กจิ กรรมสุขสวา่ ง (Cognition) จะเน้นไปท่ี กิจกรรมทช่ี ว่ ยในการชะลอความเสือ่ มทางสมอง เพม่ิ ไหวพริบ
ความจำ� การมีสติ การคดิ อยา่ งมีเหตุผล และจดั การกับสิ่งตา่ งๆ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ประเมินจาก
1. ความจ�ำ
2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา (problem solving) ดว้ ยหลกั เกณฑท์ ี่มเี หตผุ ล
3. ความสามารถในเชงิ ภาษา การตดิ ต่อสือ่ สารด้วยค�ำ พดู และวาจา
4. มคี วามสามารถทางสงั คม มคี วามสนใจผอู้ นื่ และสามารถสรา้ งปฏสิ มั พนั ธต์ อ่ กนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
5. ใส่ใจเรยี นรทู้ ักษะใหมๆ่
6. การน�ำ ความร้แู ละประสบการณท์ ส่ี ่ังสมในอดตี มาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ผอู้ น่ื และตอ่ ชุมชน
วิธีการประเมนิ :
1. แบบคดั กรองภาวะสมองเสือ่ ม (TMSE)
ดา้ นที่ 5 : สุขสงบ (Peacefulness)
หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการรับรู้-เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์ และสามารถ
จดั การกบั สภาวะอารมณ์ท่ีเกิดขนึ้ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รวมท้ังการสามารถควบคมุ ความต้องการจากแรงกระตนุ้ ได้
อยา่ งเหมาะสมสามารถผอ่ นคลาย ใหเ้ กิดความสุขสงบกับตนเองได้ และยอมรับส่งิ ตา่ งๆ ทเ่ี กิดข้ึนตามความเป็นจรงิ
กจิ กรรมสุขสงบ (Peacefulness) จะเนน้ ไปที่ ความสามารถของบคุ คลในด้าน
1. การรอู้ ารมณ์ตน (Knowing Emotion) หมายถงึ ตระหนักรู้ตนเอง สามารถรบั รแู้ ละเขา้ ใจความรู้สึก
ความคิด และอารมณข์ องตนตามความเป็นจริง
2. การควบคุมอารมณ์ (Managing Emotion) หมายถงึ ความสามารถในการจัดการ กับอารมณ์ตนเอง
ได้อยา่ งเหมาะสม ตามสถานการณ์ เพื่อไม่ให้เกิดความเครียด สามารถคลายเครียด สลัดความวติ ก
จริตรุนแรงได้อย่างรวดเร็ว ไม่ฉุนเฉยี วงา่ ย ทำ�ให้อารมณ์ขุ่นมัวหายไปโดยเรว็
3. การยอมรับสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง หมายถึง ความสามารถในการยอมรับส่ิงท่ีเกิดข้ึน
และสามารถเผชญิ กบั ความจรงิ ในชวี ติ ได้ มคี วามเขา้ ใจในธรรมชาตขิ องชวี ติ วา่ ตอ้ งมสี ขุ -ทกุ ข์ สมหวงั -
ผดิ หวงั สำ�เรจ็ -ล้มเหลว ได้มา-เสยี ไป เปน็ ต้น ไม่ยึดมั่นกบั ส่ิงใดมากเกนิ ไป สามารถมองสง่ิ ตา่ ง ๆ ทง้ั
ในดา้ นทเี่ ปน็ ความสขุ และความทกุ ขใ์ นชวี ติ ยอมรบั และกลา้ ทจี่ ะเผชญิ กบั ปญั หาหรอื อปุ สรรคตา่ ง ๆ
ดว้ ยจติ ใจทม่ี ่ันคง
วธิ ีการประเมิน :
แบบวัดความสขุ ฉบับ 15 ข้อ (กรมสุขภาพจติ , 2547)
18 คู่มอื “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรับผ้สู งู อายุ”
กลมุ่ ติดบา้ น
ความสุขเชิงจติ วทิ ยาเพอื่ ส่งเสรมิ สุขภาพ และปอ้ งกันโรคในผูส้ งู อายใุ นกลมุ่ ตดิ บ้าน
จากนิยามผู้สูงอายุในกลุ่มติดบ้าน ซ่ึงมีข้อจำ�กัดในการดำ�เนินชีวิตในสังคม ระดับสมรรถภาพตํ่า ต้องพึ่งพา
ผู้อื่น ทั้งน้ีอาจมีภาวะแทรกซ้อนทางด้านร่างกาย หรือทางด้านจิตใจจนส่งผลต่อการรู้คิด การตัดสินใจ การปฏิบัติ
กิจวัตรประจำ�วันพ้ืนฐาน เพื่อท่ีจะพัฒนาความสุขเชิงจิตวิทยาในผู้สูงอายุติดบ้านจึงได้จำ�แนกความสุขของผู้สูงอายุ
เปน็ 5 ดา้ นโดยจะเนน้ การส่งเสรมิ สุขภาพจิต และการคงไวซ้ งึ่ ความสามารถในการพง่ึ พาตนเองเทา่ ทจ่ี ะท�ำ ได้ ดังนี้
ด้านท่ี 1 : สขุ สบาย (Health)
หมายถึง ความสามารถของผู้สงู อายุกลุ่มติดบา้ นในการดูแลสุขภาพรา่ งกาย ตามสภาพที่เปน็ อยู่ มเี ศรษฐกจิ
หรือปัจจัยทจี่ �ำ เปน็ พอเพียง ไม่มีอบุ ัตภิ ัยหรืออนั ตราย มีสภาพแวดลอ้ มทไ่ี ม่กอ่ ใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตุ ไมต่ ดิ สิ่งเสพตดิ
อยา่ งไรกต็ ามสมรรถภาพทางกายส�ำ หรบั ผสู้ งู อายตุ ดิ บา้ น ซง่ึ มภี าวะแทรกซอ้ นทางรา่ งกาย ตอ้ งอาศยั ผอู้ น่ื ใน
เรื่องกิจวตั รประจำ�วันข้ันพื้นฐาน
กจิ กรรมความสขุ สบาย (Health) ส�ำ หรบั ผสู้ งู อายตุ ดิ บา้ นจะเนน้ ไปทกี่ ารเคลอ่ื นไหวปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำ วนั
ข้ันพ้นื ฐาน (Barthel’s Index) ซ่งึ จะแบ่งการประเมินออกเปน็ 10 ด้าน ไดแ้ ก่
1. การรบั ประทานอาหาร
2. การแต่งตัว
3. การลุกนง่ั จากทนี่ อน
4. การใช้ห้องสขุ า
5. การข้ึน-ลงบนั ได 1 ข้นั
6. การสวมใส่เส้อื ผ้า
7. การอาบน้าํ
8. การเดนิ ในบ้าน/ห้อง
9. การกลน้ั อุจจาระ
10. การกล้ันปสั สาวะ
นอกจากนีจ้ ะประเมินภาวะเส่ยี งตอ่ การหกล้ม ประเมินความตอ้ งการความชว่ ยเหลือ และแหล่งชว่ ยเหลือ
วธิ ีการประเมนิ :
1. แบบประเมินการเคลื่อนไหวปฏบิ ตั ิกิจวตั รประจ�ำ วันข้ันพ้นื ฐาน (Barthel’s Index)
2. แบบประเมนิ ภาวะเสี่ยงต่อการหกล้ม (Thai FRAT)
ด้านท่ี 2 : สุขสนุก (Recreation)
หมายถงึ ความสามารถของผสู้ งู อายทุ ต่ี ดิ บา้ นในการปรบั ตวั สามารถสรา้ งพลงั ความมชี วี ติ ชวี าอยา่ งสรา้ งสรรค์
และดงี ามในรปู แบบของการท�ำ กจิ กรรมหรอื การแสดงออกในดา้ นกฬี าเบาๆ ดนตรี ศลิ ปะ งานอดเิ รก เปน็ ตน้ และเปน็
กิจกรรมทีท่ �ำ ในเวลาวา่ ง ทำ�ดว้ ยความสมัครใจ อาจทำ�กิจกรรมไดท้ ั้งเดย่ี วหรือการรวมกลุ่ม
คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ สิ ำ�หรบั ผูส้ ูงอายุ” 19
วิธกี ารประเมิน :
1. แบบบันทึกเร่อื ง
การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของครอบครัว/ชุมชน
การออกก�ำ ลงั กายทีเ่ หมาะสมกบั สภาพร่างกาย
การทำ�กิจกรรมนันทนาการอ่ืนๆ ท้งั เด่ยี วหรอื กลุ่มเพือ่ ให้เกิดอารมณเ์ ป็นสุข สนุกสนาน
ด้านท่ี 3 : สขุ สง่า (Integrity)
หมายถงึ ความเขา้ ใจในความเปน็ ไปในชวี ติ ตระหนกั ถงึ ความมคี ณุ คา่ ในตนเอง ไมย่ อ่ ทอ้ ไมซ่ มึ เศรา้ ไมท่ อ้ แท้
มีมุมมองและความรสู้ กึ ในแง่ดตี อ่ ตัวเอง และต่อผู้อน่ื รูจ้ กั เหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่
กิจกรรมสขุ สงา่ (Integrity) จะเน้นไปทก่ี จิ กรรมท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความภาคภูมิใจ และตระหนักถงึ ความมคี ุณค่า
ในตนเอง ไม่ซึมเศรา้ ทอ้ แท้ เครยี ด หงุดหงิด การมมี ุมมองและความรูส้ ึกในแงด่ ตี อ่ ตนเอง และตอ่ ผู้อ่นื และการเห็น
อกเหน็ ใจผู้อ่ืน จะประเมินจาก
3.1 การไม่ซมึ เศร้า ไมท่ ้อแท้
3.2 การนำ�ความรแู้ ละประสบการณท์ ส่ี ่งั สมในอดตี มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อผอู้ นื่
3.3 การมคี วามรักและความสัมพันธท์ ีด่ ีกบั ผอู้ ่ืน
3.4 แหลง่ สนบั สนุนทางสงั คม
วิธีการประเมิน :
แบบบนั ทึกการทำ�กิจกรรมทก่ี ่อให้เกดิ ความภาคภมู ใิ จและตระหนักถึงความมีคุณค่าในตวั เอง
ดา้ นท่ี 4 : สขุ สวา่ ง (Cognition)
หมายถึงความสามารถของผู้สูงอายุติดบ้านด้านความทรงจำ� ความคิดอย่างมีเหตุมีผล การสื่อสารและ
ความสามารถในการปรับตวั แบบยอมรับสภาพสง่ิ ท่ีเกิดขึ้น สามารถจดั การส่งิ ต่างๆได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
กิจกรรมสุขสว่าง (Cognition) จะเน้นไปที่ กิจกรรมท่ีช่วยในการชะลอความเส่ือมทางสมอง การรับรู้
(Perception) การรับความรู้สึก (sensation) การเคลื่อนไหว (kinesthesia) เพิ่มไหวพริบความจ�ำ การคิดอย่างมี
เหตผุ ลและจัดการกบั สิ่งตา่ งๆ อย่างมีประสิทธภิ าพซ่ึงจะประเมนิ
1. ความจ�ำ
2. การน�ำ ความรูแ้ ละประสบการณท์ ส่ี ่ังสมในอดีตมาใช้ให้เกิดประโยชนต์ อ่ ผอู้ น่ื
3. ความสามารถในเชงิ ภาษาการตดิ ตอ่ สื่อสารดว้ ยคำ�พูดและวาจา
4. มคี วามสามารถทางสงั คม มคี วามสนใจผอู้ น่ื และสามารถสรา้ งปฏสิ มั พนั ธต์ อ่ กนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
วิธกี ารประเมนิ :
แบบคดั กรองภาวะสมองเส่ือม (TMSE)
ดา้ นที่ 5 : สขุ สงบ (Peacefulness)
หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการรับรู้-เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์ และสามารถ
จดั การกบั สภาวะอารมณ์ทีเ่ กดิ ข้ึนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ สามารถผ่อนคลาย ใหเ้ กดิ ความสุขสงบกับตนเองได้
วธิ ีการประเมนิ :
แบบคดั กรองภาวะซึมเศร้าและฆ่าตัวตาย (กรมสขุ ภาพจติ , 2547)
20 คูม่ ือ “ความสุข 5 มิตสิ ำ�หรบั ผู้สงู อาย”ุ
กลมุ่ ติดเตียง
จากนยิ ามผสู้ งู อายใุ นกลมุ่ ตดิ เตยี ง ซง่ึ มขี อ้ จ�ำ กดั ในการท�ำ กจิ วตั รพนื้ ฐานประจ�ำ วนั ได้ ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื
จากผอู้ น่ื ในเรอื่ งการเคลอื่ นยา้ ย มรี ะดบั สมรรถภาพตาํ่ ตอ้ งพงึ่ พาผอู้ นื่ มกี ารเจบ็ ปว่ ยเรอื้ รงั ยาวนาน มภี าวะแทรกซอ้ น
จากโรคทเ่ี ปน็ อยู่ เพอ่ื ทจี่ ะพฒั นาความสขุ เชงิ จติ วทิ ยาในผสู้ งู อายตุ ดิ เตยี งจงึ ไดจ้ ำ�แนกความสขุ ของผสู้ งู อายุ เปน็ 5 ดา้ น
โดยจะเน้นการสง่ เสรมิ ดงั น้ี
ดา้ นที่ 1 : สขุ สบาย (Health)
หมายถงึ ความสามารถของผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ตดิ เตยี งในการดแู ลสขุ ภาพรา่ งกาย ตามสภาพทเี่ ปน็ อยู่ มเี ศรษฐกจิ หรอื
ปจั จยั ทจ่ี �ำ เปน็ พอเพยี ง ไมม่ อี บุ ตั ภิ ยั หรอื อนั ตราย มสี ภาพแวดลอ้ มทไ่ี มก่ อ่ ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ ไมต่ ดิ สง่ิ เสพตดิ อยา่ งไรกต็ าม
สมรรถภาพทางกายส�ำ หรบั ผสู้ งู อายตุ ดิ เตยี ง ซง่ึ มภี าวะแทรกซอ้ นทางรา่ งกาย ตอ้ งอาศยั ผอู้ น่ื ในเรอื่ งกจิ วตั รประจ�ำ วนั
ขัน้ พ้นื ฐาน
กจิ กรรมสขุ สบาย (Health) จะเนน้ ไปทค่ี วามสามารถในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำ วนั ขน้ั พน้ื ฐาน (Katz Index
of ADL) ซ่ึงจะแบ่งการประเมินออกเปน็ 6 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. การอาบนาํ้ การแต่งตัว
2. การแต่งกาย
3. การไปห้องสขุ า
4. การเคล่อื นย้ายตวั เอง
5. การควบคมุ การขับถ่าย
6. การรับประทานอาหาร
นอกจากนี้จะประเมนิ ภาวะเสย่ี งตอ่ การหกลม้ ประเมินความต้องการความช่วยเหลือ และแหล่งช่วยเหลือ
วิธกี ารประเมนิ :
1. แบบประเมนิ การเคลื่อนไหวปฏบิ ตั กิ ิจวัตรประจำ�วันขนั้ พน้ื ฐาน (Katz Index of ADL)
2. แบบประเมินภาวะเสยี่ งตอ่ การหกลม้ (Thai FRAT)
ด้านท่ี 2 : สุขสนกุ (Recreation)
หมายถงึ ความสามารถของผสู้ งู อายทุ ตี่ ดิ เตยี งในการปรบั ตวั สามารถสรา้ งพลงั ความมชี วี ติ ชวี าอยา่ งสรา้ งสรรค์
และดงี ามในรปู แบบของการท�ำ กิจกรรมนันทนาการ
วธิ ีการประเมิน :
1. แบบบนั ทกึ ในเรื่อง
การออกก�ำ ลังกายท่ีเหมาะสมกับสภาพร่างกาย
การทำ�กิจกรรมนันทนาการอ่ืนๆ เพ่อื ใหเ้ กิดอารมณ์เปน็ สขุ และสนกุ สนาน
ด้านที่ 3 : สขุ สงา่ (Integrity)
หมายถงึ ความเขา้ ใจในความเปน็ ไปในชวี ติ ตระหนกั ถงึ ความมคี ณุ คา่ ในตนเอง ไมย่ อ่ ทอ้ ไมซ่ มึ เศรา้ ไมท่ อ้ แท้
มีมุมมองและความรสู้ ึกในแง่ดตี อ่ ตวั เอง และต่อผู้อ่ืน รูจ้ กั เห็นอกเหน็ ใจผอู้ ่นื
คมู่ ือ “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรบั ผู้สงู อาย”ุ 21
กิจกรรมสุขสง่า (Integrity) จะเน้นไปทกี่ ิจกรรมทกี่ ่อใหเ้ กดิ ความภาคภูมใิ จ และตระหนักถึงความมคี ุณค่า
ในตนเอง ไมซ่ มึ เศรา้ ท้อแท้ เครียด หงุดหงดิ การมมี ุมมองและความรู้สึกในแง่ดตี ่อตนเอง และตอ่ ผูอ้ ่นื และการเหน็
อกเหน็ ใจผอู้ ื่น จะประเมนิ จาก
1. การไม่ซมึ เศรา้ ไมท่ อ้ แท้
2. การมีความรักและความสัมพนั ธท์ ่ีดกี บั ผอู้ ่ืน
3. แหลง่ สนบั สนนุ ทางสังคม
วิธีการประเมนิ :
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า และความเส่ยี งตอ่ การฆ่าตัวตาย (กรมสุขภาพจิต, 2547)
ดา้ นที่ 4 : สุขสว่าง (Cognition)
หมายถึง ความสามารถของผู้สูงอายุติดเตียงด้านความทรงจำ� ความคิดอย่างมีเหตุมีผล การสื่อสารและ
ความสามารถในการปรับตัวแบบยอมรบั สภาพสิ่งท่ีเกดิ ขนึ้
กิจกรรมสุขสว่าง (Cognition) จะเน้นไปท่ีกิจกรรมที่ช่วยในการชะลอความเสื่อมทางสมอง การรับรู้
(Perception) การเคล่ือนไหว (Kinesthesia) ความจ�ำ
วิธกี ารประเมิน
แบบคัดกรองภาวะสมองเสอ่ื ม (TMSE)
ด้านท่ี 5 : สขุ สงบ (Peacefulness)
หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการรับรู้-เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์ และสามารถ
จดั การกบั สภาวะอารมณท์ ีเ่ กดิ ข้ึนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ สามารถผ่อนคลาย ให้เกดิ ความสุขสงบกบั ตนเองได้
กจิ กรรมสุขสงบ (Peacefulness) จะเน้นไปที่ ความสามารถของบคุ คลในด้าน
1. การรอู้ ารมณต์ น (Knowing Emotion) หมายถงึ ตระหนกั รู้ตนเอง สามารถรบั รแู้ ละเขา้ ใจความรสู้ ึก
ความคดิ และอารมณข์ องตนตามความเป็นจรงิ และสามารถควบคมุ ความรูส้ ึกได้
2. การควบคุมอารมณ์ (Managing Emotion) หมายถึง ความสามารถในการจดั การ กับอารมณต์ นเอง
ไดอ้ ย่างเหมาะสม ตามสถานการณ์ เพื่อไม่ใหเ้ กิดความเครยี ด สามารถคลายเครยี ด ไม่ฉุนเฉยี วงา่ ย
วธิ ีการประเมิน :
การซกั ถามเรอื่ ง ความร้สู ึกทางดา้ นลบท่เี กิดข้นึ และวิธกี ารควบคุมอารมณ์
เศชนู ิงยจผ์ิตู้สวงูิทอยาาย5เุ พดือ่ า้ ปน้อใงนกผนั ้สู ปูงัญอาหยาุสุขภาพจิต และส่งเสริมความสขุ
ศูนยผ์ ้สู ูงอายุเพือ่ ปอ้ งกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ หมายถึงสถานทที่ ใ่ี ชใ้ นการดำ�เนนิ กจิ กรรมท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ความสขุ
เชิงจติ วิทยาในผสู้ ูงอายุ 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นสุขสบาย ดา้ นสขุ สนกุ ด้านสขุ สงา่ ด้านสุขสว่าง และดา้ นสุขสงบ ให้กับกลุม่
ผสู้ ูงอายเุ ปา้ หมายหลกั 3 กลุ่มคือ
1. กลุ่มผสู้ งู อายตุ ิดสงั คม
2. กลมุ่ ผู้สงู อายุตดิ บ้าน
3. กลุม่ ผูส้ ูงอายตุ ิดเตยี ง
22 ค่มู ือ “ความสุข 5 มิตสิ �ำ หรบั ผสู้ งู อาย”ุ
ซึ่งสถานท่ีท่ีใช้ในการดำ�เนินงานจะเป็นมุมใดมุมหนึ่งของสถานบริการที่สะดวกในการจัดกิจกรรมความสุข
5 ด้าน โดยเนน้ การสร้างคุณคา่ การสรา้ งความตระหนกั ถึงศักยภาพของผสู้ งู อายุโดยตัวผู้สงู อายุ เพอื่ ให้เกิดแรงจูงใจ
ในการดแู ลตนเองใหแ้ ขง็ แรง จติ ใจเขม้ แขง็ มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี เหมาะสมตามวยั ตามสขุ ภาวะ และเปน็ ตน้ แบบในชมุ ชน
ด้านการสง่ เสริมสุขภาพ การปอ้ งกนั โรค และเป็นผใู้ ห้ในชุมชน
รปู แบบการดำ�เนินงาน
มกี ารดำ�เนินงานด้านการส่งเสริมเสรมิ ปอ้ งกัน และฟืน้ ฟสู ขุ ภาพกายและจติ ในผูส้ งู อายุ เพือ่ ให้เกดิ ความสุข
เชงิ จติ วทิ ยาใน 5 ดา้ น มีขั้นตอนการด�ำ เนนิ งานดังนี้
1. จดั ตงั้ คณะท�ำ งาน โดยใหผ้ สู้ งู อายใุ นชมรมผสู้ งู อายมุ สี ว่ นรว่ มเปน็ คณะท�ำ งาน พรอ้ มทงั้ บรู ณาการกบั
ภาคส่วนอ่ืน อาทิ กรมพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ องคก์ ารบรหิ ารต�ำ บล เปน็ ต้น
2. น�ำ ข้อมลู การคัดกรองผสู้ งู อายุซ่งึ จำ�แนกเป็นกลุ่มติดสังคม กลุ่มตดิ บา้ น และกลุม่ ติดเตียงมาวางแผน
การด�ำ เนินเพ่ือใหเ้ กิดความสุข 5 มติ ิ
3. ด�ำ เนนิ กิจกรรมการให้บรกิ ารเพอ่ื ใหเ้ กิดความสขุ 5 มิติ
4. วดั และประเมนิ ผลกลมุ่ ผ้สู ูงอายุทีม่ ารบั บริการในรายดา้ นพร้อมกบั การใหค้ �ำ แนะน�ำ ท่ีเหมาะสม
วิธีการประเมินผล
การประเมินผลจะแบ่งเปน็ 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี
1. การประเมินผลโครงการ
2. ประเมนิ ผู้สงู อายทุ ่เี ข้ารว่ มโครงการตามมิตคิ วามสุข 5 มิติ
1. การประเมนิ ผลโครงการ
ประเมนิ ผลโครงการด้วย CIPP Model และแบ่งประเด็นการประเมินออกเป็น 4 ประเภทคือ
1.1 บรบิ ทหรอื สภาวะแวดลอ้ ม (Context Evaluation) เปน็ การประเมนิ บรบิ ทของสถานบรกิ ารตอ่ ความ
พร้อมในการจดั บริการให้แกข่ องผสู้ ูงอายุกลุ่มตา่ งๆ ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู ของผู้รับบริการ
ผู้ให้บริการ ความพร้อมด้านความรู้ความเข้าใจต่อโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ แผนการ
ดำ�เนินงาน/แผนการจัดกิจกรรม และวิธีในการตรวจสอบประเมินผล และเครือข่ายที่สามารถ
บรู ณาการงานร่วมกัน
1.2 ปัจจยั น�ำ เข้า (Input Evaluation) เปน็ การประเมนิ ปจั จัยปอ้ น ไดแ้ ก่ งบประมาณ บุคลากร วัสดุ
อุปกรณ์ เวลา และแผนการด�ำ เนนิ งานซ่ึงจะประเมินความเหมาะสม ความพอเพยี ง ความทนั เวลา
เป็นต้น
1.3 กระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินระหว่างการดำ�เนินงานโครงการเพื่อให้เกิด
การดำ�เนินงานที่มีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยจะประเมินการด�ำ เนินกิจกรรมตามแผนหรือผังควบคุม
ก�ำ กบั กจิ กรรม เพอ่ื ปรบั กจิ กรรมใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปน็ ไปตามกำ�หนดเวลา และประเมนิ ความ
ก้าวหนา้ ของงานในชว่ งเวลาต่างๆ ทด่ี �ำ เนนิ งานอย่างครอบคลมุ กลุม่ เป้าหมาย
ค่มู ือ “ความสขุ 5 มิติส�ำ หรบั ผ้สู งู อายุ” 23
1.4 ผลผลติ (Product Evaluation) เปน็ การประเมนิ เพ่อื เปรียบเทียบผลผลติ ท่ีได้กบั วัตถุประสงค์ของ
โครงการ หรือความต้องการ/เปา้ หมายทก่ี �ำ หนดไว้ ผลทีค่ าดหวังจากโครงการเชน่ ร้อยละ 70 ของ
กลุ่มผสู้ ูงอายุท่ีเขา้ รว่ มโครงการมีความสขุ เพิ่มข้ึน หรอื ร้อยละ 70 ของผ้สู ูงอายุท่เี ขา้ รว่ มโครงการมี
คณุ ภาพชวี ิตที่ดขี ้ึน รวมทัง้ การพจิ ารณาในประเด็นการยุบ เลิก ขยาย หรอื ปรับเปลีย่ นโครงการ
2. การประเมินผสู้ ูงอายทุ ่เี ขา้ รว่ มโครงการตามมติ คิ วามสขุ 5 มิติ
2.1 กลุ่มผสู้ ูงอายตุ ิดสังคม
2.1.1 สขุ สบาย : ประเมนิ ความพรอ้ มในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจำ�วนั ตอ่ เนอ่ื งและแบบวดั พฤตกิ รรมเสยี่ ง
ด้านสขุ ภาพ
2.1.2 สุขสนุก : ประเมินจากการบันทึกเร่ือง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของครอบครัว/ชุมชน
การออกกำ�ลงั กายทเ่ี หมาะสมกบั สภาพรา่ งกาย และการทำ�กจิ กรรมนนั ทนาการอนื่ ๆ และแบบวดั
คุณภาพชีวติ
2.1.3 สขุ สงา่ : ประเมนิ จากแบบวดั ความมคี ณุ คา่ ในตนเอง/แบบวดั คณุ ภาพชวี ติ และแบบบนั ทกึ การทำ�
กจิ กรรมทก่ี อ่ ให้เกดิ ความภาคภมู ิใจและตระหนักถงึ ความมคี ณุ คา่ ในตนเอง
2.1.4 สขุ สวา่ ง : ประเมินจากแบบคัดกรองภาวะสมองเสอ่ื ม (TMSE)
2.1.5 สขุ สงบ : ประเมินจากแบบวัดความสขุ ฉบับ 15 ข้อ ของกรมสขุ ภาพจิต
2.2 กลมุ่ ผู้สงู อายุติดบา้ น
2.2.1 สขุ สบาย : ประเมนิ การเคลอ่ื นไหว การปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำ วนั ขน้ั พน้ื ฐาน (Bethel’s Index) และ
แบบประเมนิ ภาวะเสยี่ งต่อการหกล้ม (Thai FRAT)
2.2.2 สุขสนุก : ประเมินจากการบันทึกเรื่อง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของ ครอบครัว/ชุมชน
การออกกำ�ลังกายทเ่ี หมาะสมกบั สภาพร่างกาย และการท�ำ กิจกรรมนันทนาการอ่นื ๆ
2.2.3 สขุ สงา่ : ประเมนิ จากแบบบนั ทกึ การท�ำ กจิ กรรมทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความภาคภมู ใิ จและตระหนกั ถงึ ความ
มีคุณคา่ ในตนเอง
2.2.4 สุขสว่าง : แบบคัดกรองภาวะสมองเสอื่ ม (TMSE) และแบบวดั คณุ ภาพชีวิต
2.2.5 สขุ สงบ : ประเมินจากแบบวัดภาวะซมึ เศรา้ และการฆา่ ตวั ตายของกรมสขุ ภาพจิต
2.3 กลุ่มผูส้ ูงอายตุ ิดเตียง
2.3.1 สุขสบาย : ประเมนิ การเคล่ือนไหว การปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วนั ขั้นพื้นฐาน (Katz Index of ADL)
และแบบประเมนิ ภาวะเสย่ี งตอ่ การหกล้ม (Thai FRAT)
2.3.2 สุขสนุก : ประเมินจากแบบบันทึกเรื่อง การออกกำ�ลังกายท่ีเหมาะสมกับสภาพร่างกาย
และการท�ำ กจิ กรรมนนั ทนาการอนื่ ๆ เพ่อื ใหเ้ กดิ อารมณ์เป็นสุข และสนุกสนาน
2.3.3 สขุ สง่า : แบบคดั กรองภาวะซึมเศร้าและฆ่าตัวตาย
2.3.4 สุขสว่าง : แบบคัดกรองภาวะสมองเสอ่ื ม (TMSE)
2.3.5 สุขสงบ : ไม่ประเมิน
24 คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ สิ ำ�หรบั ผ้สู ูงอาย”ุ
ตาราง สรุปวิธีการประเมินผู้สูงอายุกล่มุ ตา่ งๆ ใน 5 มิติ
กลมุ่ วิธกี ารประเมนิ
ผูส้ งู อายุ สุขสบาย สุขสนุก สุขสงา่ สขุ สวา่ ง สุขสงบ
ติดสังคม 1. แบบประเมิน 1. แบบวัดคุณภาพ 1. แบบวัดคุณภาพ 1. แบบคดั กรอง 1. แบบวดั
ติดบา้ น ความพร้อม ชีวิต ชวี ิต/แบบวดั ภาวะสมอง
ในการปฏิบตั ิ 2. แบบบันทกึ เรอ่ื ง ความมีคุณค่า เส่ือม (TMSE) ความสุข
กจิ วตั ร การมีสว่ นรว่ มใน ในตนเอง ฉบบั 15 ข้อ
ประจำ�วนั กจิ กรรมต่างๆ ของ 2. แบบบันทึก 1. แบบคัดกรอง
แบบตอ่ เนื่อง ครอบครัว/ชุมชน เรื่องกจิ กรรมท่ี ภาวะซึมเศร้า
2. แบบวัด การออกกำ�ลงั กาย ก่อให้เกิดความ และฆา่ ตวั ตาย
พฤตกิ รรมเส่ยี ง การท�ำ กจิ กรรม ภาคภมู ใิ จ และ
ด้านสุขภาพ นนั ทนาการ ตระหนักถงึ
ความมคี ุณค่า
ในตนเอง
(self report)
1. แบบประเมิน 1. แบบสอบถามเรื่อง 1. แบบบนั ทกึ 1. แบบคัดกรอง
การปฏิบัติ การมีส่วนรว่ มใน เร่ืองกิจกรรมท่ี ภาวะสมอง
กิจวตั ร กิจกรรมตา่ งๆ ก่อใหเ้ กิดความ เส่ือม (TMSE)
ประจ�ำ วัน ของครอบครัว ภาคภูมใิ จ และ
ขนั้ พืน้ ฐาน การออกก�ำ ลังกาย ตระหนกั ถงึ
(Barthel’s การทำ�กิจกรรม ความมคี ณุ คา่
Index) นันทนาการ ในตนเอง
2. แบบประเมนิ (self report)
ภาวะเสย่ี ง
ต่อการหกล้ม
(Thai FRAT)
คมู่ ือ “ความสุข 5 มิตสิ ำ�หรบั ผูส้ งู อายุ” 25
ตาราง สรปุ วิธีการประเมินผู้สูงอายกุ ลุ่มตา่ งๆ ใน 5 มิติ
กลุ่ม วธิ ีการประเมนิ
ผู้สูงอายุ สุขสบาย สขุ สนกุ สขุ สงา่ สุขสว่าง สขุ สงบ
กลมุ่ ตดิ เตยี ง 1. แบบประเมนิ 1. แบบสอบถามเรอ่ื ง 1. แบบคัดกรอง 1. แบบคดั กรอง ไม่ประเมนิ
การปฏบิ ตั ิ การมสี ว่ นรว่ มใน ภาวะซมึ เศรา้
กจิ วัตร กิจกรรมตา่ งๆ ของ และฆ่าตวั ตาย ภาวะสมอง
ประจำ�วัน ครอบครัว เสอื่ ม (TMSE)
ขัน้ พืน้ ฐาน การออกก�ำ ลงั กาย
(Katz’s Index) การท�ำ กจิ กรรม
2. แบบประเมนิ นนั ทนาการ
ภาวะเสีย่ ง
ตอ่ การหกลม้
(Thai FRAT)
26 คมู่ ือ “ความสขุ 5 มิติส�ำ หรับผ้สู งู อายุ”
บทที่ 4
การจัดกิจกรรมด้านที่ 1 : สขุ สบาย
ด้านที่ 1 : สขุ สบาย (Happy Health)
ในการจดั กิจกรรมสุขสบายใหก้ ับผสู้ ูงอายุกลุ่มตดิ สังคมจะเน้นการวัดความพร้อมในการปฏิบัตกิ จิ วตั รประจำ�
วันอย่างต่อเนอ่ื ง และเปน็ กจิ กรรมบังคับที่ควรประเมนิ ผ้สู ูงอายุกลุม่ ติดสังคมท่ีเข้าโครงการและหลงั เสร็จสิน้ โครงการ
พร้อมการออกกำ�ลังกายให้กับผู้สูงอายุ ทั้งน้ี ในการเลือกกิจกรรมออกกำ�ลังกายให้กับผู้สูงอายุข้ึนอยู่กับดุลยพินิจ
หรือความถนัดของวิทยากรในการจัดกิจกรรม แต่ต้องไม่ลืมวัตถุประสงค์ของสุขสบายคือ กลุ่มติดสังคมต้องการให้
เกดิ ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว ความยดื หยนุ่ ของกลา้ มเนอื้ จดั เปน็ จดุ สงั เกตทชี่ ดั เจนในผสู้ งู อายุ ซงึ่ แสดงถงึ ความแขง็ แรง
กระฉบั กระเฉง และความมสี ขุ ภาพรา่ งกายทแี่ ขง็ แรง นอกจากนค้ี วรประเมนิ พฤตกิ รรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพรว่ มดว้ ยเพอ่ื จะ
ไดใ้ หส้ ขุ ศกึ ษาแกผ่ สู้ งู อายุ หรอื ชว่ ยทำ�ใหผ้ สู้ งู อายรุ สู้ กึ วา่ ยงั มคี นใสใ่ จ หว่ งใย ซง่ึ เปน็ การสรา้ งกำ�ลงั ใจทดี่ ใี หก้ บั ผสู้ งู อายุ
สว่ นในกลมุ่ ตดิ บา้ นและตดิ เตยี ง การจดั กจิ กรรมสขุ สบายเปน็ ไปเพอื่ ใหผ้ สู้ งู อายกุ ลมุ่ นส้ี ามารถชว่ ยเหลอื ตวั เองและพงึ่
พงิ ผอู้ นื่ ใหน้ อ้ ยทสี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะท�ำ ได้ ดงั นนั้ การวดั การเคลอื่ นไหวปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำ วนั ขนั้ พน้ื ฐาน และการวดั ความเสยี่ ง
ตอ่ การหกลม้ จงึ เปน็ กจิ กรรมทค่ี วรประเมนิ ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ตดิ บา้ นและตดิ เตยี งทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ สว่ นการออกก�ำ ลงั กาย
ใหก้ บั ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ นขี้ น้ึ อยกู่ บั ความพรอ้ มของผสู้ งู อายุ รว่ มกบั ดลุ ยพนิ จิ ของวทิ ยากรในการสอนเรอื่ งการออกก�ำ ลงั กาย
ให้กบั ผู้สงู อายุ ท้ังนว้ี ทิ ยากรอาจประยุกต์การออกก�ำ ลังกายบางท่าเพ่อื น�ำ ไปสอนผสู้ ูงอายใุ นกลุ่มน้ีได้
สาระส�ำ คญั ของการออกก�ำ ลงั กายในผ้สู ูงอายุ
การเปลย่ี นแปลงของรา่ งกาย และสมรรถภาพตามวยั อายขุ ยั ของคนอาจแบง่ ไดเ้ ปน็ 4 ระยะ คอื (กรมอนามยั ,
2553)
ระยะที่ 1 วัยเด็กนาน 15 ปี (อายุแรกเกิด - 15 ปี)
ระยะท่ี 2 (วัยเปลย่ี นอปลงเปน็ ผูใ้ หญ)่ นาน 10 ปี (อายุ 16 - 25 ป)ี
ระยะท่ี 3 (วยั ผูใ้ หญ)่ นาน 35 ปี (อายุ 26 - 60 ป)ี
ระยะที่ 4 (วัยชรา) นาน 10 ปี (อายุ 61 - 70 ปี)
การยดื ระยะท่ี 4 ออกไปอกี ในปจั จบุ นั สามารถทำ�ได้ และคงท�ำ ไดม้ ากขนึ้ ในอนาคต แตค่ วามพยายามทแี่ ทจ้ รงิ
ในการยดื อายคุ น คอื การยดื ระยะที่ 3 มใิ ชร่ ะยะที่ 4 นนั่ คอื ท�ำ ใหค้ นสงู อายไุ มเ่ ปน็ คนชราทไ่ี รส้ มรรถภาพ หรอื จะเรยี กวา่
“แกอ่ ยา่ งสงา่ ” เปน็ การยากทจี่ ะพสิ จู นใ์ หแ้ นช่ ดั วา่ การออกก�ำ ลงั กายท�ำ ใหค้ นมอี ายยุ นื ขน้ึ ได้ แตม่ หี ลกั ฐานแนน่ อนวา่
ผู้ที่ออกกำ�ลังกายโดยถูกต้องเป็นประจ�ำ แม้จะสูงอายุแล้วก็ยังมีความกระฉับกระเฉง มีสมรรถภาพดีทั้งร่างกายและ
จิตใจ มีโรคภยั ไข้เจบ็ เข้ามาเบียดเบียนน้อย สามารถทำ�ประโยชนใ์ ห้แกส่ งั คมไดต้ ่อไป แทนทจี่ ะเป็นภาระแกส่ ังคม
ค่มู ือ “ความสุข 5 มติ สิ �ำ หรับผสู้ ูงอาย”ุ 27
ประโยชน์ของการออกกำ�ลงั กายในผู้สงู อายุ
1. ช่วยลดการเส่ยี งจากการตายก่อนวยั อนั ควร
2. ลดอัตราเสยี่ งต่อการเสยี ชวี ิตด้วยโรคหัวใจ
3. ลดปัจจัยเสย่ี งที่ท�ำ ให้เกดิ โรคมะเรง็
4. ช่วยให้ระบบไหลเวียนเลอื ด ปอด หวั ใจทำ�งานดีข้ึน เพอ่ื ปอ้ งกันโรคหวั ใจ ความดันโลหติ สงู และชว่ ยให้
ไมเ่ ป็นลมหนา้ มืดงา่ ย
5. ช่วยป้องกนั โรคกระดูกผุ ทำ�ใหก้ ระดกู แขง็ แรงไมห่ ักงา่ ย
6. ทำ�ใหก้ ารทรงตัวดีข้นึ รปู ร่างดีขึน้ และเดนิ ได้คลอ่ งแคล่ว ไม่หกล้ม
7. เพิม่ ความต้านทางโรค และชะลอความชราภาพ
8. ชว่ ยผ่อนคลายความเครียด ไม่ซมึ เศร้า ไม่วติ กกังวล สขุ ภาพจิตดีข้ึนและนอนหลบั สบาย
9. ชว่ ยให้กลา้ มเน้อื แขง็ แรง และอดทนยง่ิ ขน้ึ
10. ชว่ ยให้ระบบขบั ถ่ายดีขึ้น
11. ช่วยรักษาโรคบางชนิดได้ พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง สามารถลดระดับน้ําตาลและ
ไขมันลงไดจ้ ากการออกกำ�ลงั กาย
12. ควบคมุ นํา้ หนกั ตัว
13. ท�ำ ใหพ้ ลงั งานทางเพศดีขึ้น
ประโยชน์ของการออกกำ�ลังกายต่อสภาพร่างกายของผู้สูงอายุดังกล่าว อาจถือได้ว่าเป็นการชะลอ
“ความชรา” ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีหลักฐานยืนยันทางการทดลองที่แน่นอน ว่าการออกกำ�ลังกายจะสามารถยืดอายุให้
ยนื ยาวออกไป แตจ่ ากผลของการออกกำ�ลังกายต่าง ๆ รวมทงั้ จากการปฏิบัติในการพืน้ ฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือด
หัวใจตีบ โดยการออกก�ำ ลังกาย แสดงใหเ้ หน็ วา่ สามารถท�ำ ใหผ้ ปู้ ่วยมีชีวติ ยนื ยาวตอ่ ไป อย่างมีสมรรถภาพ ท�ำ ใหเ้ ชอ่ื
ไดว้ ่า การออกก�ำ ลังกายสามารถยดื อายุให้ยืนยาวออกไปได้อีก
การออกก�ำ ลงั กายทีน่ ิยมปฏิบัติกนั มีอยหู่ ลายวิธี ได้แก่
1. กายบริหาร จุดมุ่งหมายหลักของการทำ�กายบริหารคือการเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบการเคลื่อนไหว
ไดแ้ ก่ กลา้ มเนอ้ื (รวมทง้ั เอน็ กลา้ มเนอ้ื ) และขอ้ ตอ่ (ปลายกระดกู , เยอื้ หมุ้ ขอ้ , เอน็ ยดึ ขอ้ ) ผสู้ งู อายคุ วรปฏบิ ตั ิ
เป็นประจ�ำ ทุกวัน โดยใช้เวลาวันละ 5 ถงึ 15 นาที วธิ ที ำ�กายบรหิ ารมีหลายรปู แบบ เช่น การบริหารแบบ
หัดพละการรำ�มวยจีน การฝึกโยคะ เปน็ ต้น แตล่ ะรปู แบบใหผ้ ลตา่ งกันไปบางแง่ ขนึ้ อยูก่ บั ความหนกั เบา
ของการปฏบิ ตั แิ ละระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิ แตท่ กุ แบบชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของระบบการเคลอ่ื นไหวได้
2. การฝึกแรงกล้ามเนื้อ การฝึกแรงกล้ามเน้ือมีโดยใช้อุปกรณ์กับไม่ใช้อุปกรณ์ ส่วนการฝึกโดยใช้อุปกรณ์
จะใชใ้ นการเสรมิ สมรรถภาพของกลา้ มเนอ้ื เปน็ พเิ ศษ ในนกั กฬี าบางประเภท สว่ นในคนทว่ั ไปทมี่ สี ขุ ภาพดี
และสามารถท�ำ กายบรหิ าร และฝกึ แรงกลา้ มเนอ้ื โดยไมใ่ ชอ้ ปุ กรณไ์ ดอ้ ยแู่ ลว้ สำ�หรบั ผสู้ งู อายุ ถา้ หากปฏบิ ตั ิ
กายบริหาร โดยมีท่าทใี ช้แรงกลา้ มเนื้อคอ่ นขา้ งมากประกอบอยดู่ ้วยแลว้ ไม่จำ�เป็นตอ้ งฝกึ แรงกลา้ มเน้อื
เปน็ พเิ ศษ โดยเฉพาะผูท้ ีอ่ ายเุ กนิ 60 ปีขนึ้ ไป
3. การฝึกความอดทนท่วั ไป เปน็ การฝึกทจ่ี �ำ เปน็ ท่สี ดุ สำ�หรับผ้สู งู อายุ เพราะท�ำ ให้การไหลเวยี นเลือดและ
การหายใจดขี น้ึ ซ่งึ นอกจากจะท�ำ ใหผ้ ู้สูงอายุ มสี มรรถภาพท่ัวไปดขี น้ึ แลว้ ยงั เป็นการป้องกนั โรคหลาย
28 ค่มู อื “ความสขุ 5 มติ ิส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ”
ชนิดในผู้สูงอายุ และช่วยฟ้ืนฟูสภาพ ในผู้ท่ีเกิดอาการของโรคจากการเสื่อมสภาพข้ึนแล้ว สำ�หรับผู้สูง
อายคุ วรเลือกชนิดการฝึกทเี่ หมาะสมกับสภาพรา่ งกายและส่งิ แวดล้อม
ระหว่างออกกำ�ลังกาย ควรควบคุมการหายใจให้เป็นจังหวะตามการออกกำ�ลัง การหายใจ
ลึกอาจผ่อนออกทางปากด้วยก็ได้ ห้ามเร่งการหายใจให้เร็ว หมั่นสังเกตความหนักของการฝึก โดย
อาศัยการสังเกตความเหน่ือย คือไม่เหนื่อย จนหอบ ถ้าหายใจไม่ทันให้พัก 10 นาที จะรู้สึกหาย
เหน่ือยและกลับเป็นปกติ หรือเกือบปกติ อาจอาศัยการนับอัตราชีพจรร่วมด้วย กล่าวคือ เม่ือพัก
แล้ว 10 นาที อัตราชีพจรควรลดลงตํ่ากว่า 100 ครั้งต่อนาที เมื่อฝึกไปได้ระยะหนึ่ง ความเหนื่อย
จะน้อยลง และชีพจรควรลดลงตํ่ากว่า 100 คร้ังต่อนาที เมื่อฝึกนานข้ึน ความเหน่ือยจะน้อยลง
และชีพจรหลังออกกำ�ลังต่ํากว่าเดิมอาจลองเพ่ิมความหนัก (เช่นเดิมหรือว่ิงให้เร็วขึ้น) ขึ้นทีละน้อย
ถ้ามีความผิดปกติข้ึนระหว่างการออกกำ�ลังกาย เช่น เวียนศีรษะควบคุมการเคลื่อนไหวไม่ได้ดี
เจ็บหน้าอก หายใจขัด ต้องลดความหนักลง หรือหยุดออกกำ�ลังก่อน และให้ปรึกาแพทย์ก่อนเริ่มออก
ก�ำ ลงั กายอกี ครง้ั
4. การเลน่ กฬี า กฬี าเปน็ รปู แบบหนงึ่ ของการออกก�ำ ลงั กาย ทผี่ สู้ งู อายอุ าจน�ำ มาใชฝ้ กึ ฝนรา่ งกายไดโ้ ดยมที ง้ั
ขอ้ ดแี ละขอ้ เสีย ข้อดี คือมคี วามสนกุ ตน่ื เต้น ไมน่ ่าเบ่อื เปน็ แรงผลักดันท่ที �ำ ให้ฝึกซอ้ มสมํา่ เสมอ และได้
สังคม ขอ้ เสีย คือจัดความหนกั เบาไดย้ าก บางครงั้ อาจหนักเกินไป หรือนอ้ ยเกนิ ไป การแขง่ ขันบางครง้ั
เพิ่มความเครยี ดทงั้ รา่ ยกายและจิตใจ และมโี อกาสเกดิ อุบตั ิเหตุได้ง่ายกว่า หากผสู้ ูงอายุจะเลือกการเล่น
กฬี า เป็นการออกกำ�ลังกายเพอื่ สุขภาพ พงึ ยดึ หลกั ปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
การออกก�ำ ลงั กายในผสู้ งู อายุ ควรเปน็ การออกก�ำ ลงั กายทใ่ี ชก้ ลา้ มเนอื้ มดั ใหญๆ่ ใหต้ อ่ เนอื่ งอยา่ งนอ้ ย
20 - 30 นาที โดยออกก�ำ ลงั กายอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 3 วนั การออกก�ำ ลงั กายเปน็ ประจ�ำ จะท�ำ ใหร้ า่ งกาย
แขง็ แรง กระฉบั กระเฉง และที่สำ�คัญ ควรยึดหลักการออกกำ�ลงั กายในผู้สงู อายุ ดงั นี้ คือ
ไมค่ วรออกก�ำ ลังกายเพ่อื การแขง่ ขัน ควรออกก�ำ ลังกายเพื่อใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลินผ่อนคลาย
ควรออกกำ�ลงั กายให้ครบทกุ สว่ น ทุกขอ้ ตอ่ ของรา่ งกาย และควรออกกำ�ลังกายในลกั ษณะราบเรยี บ
สมํ่าเสมอแทนการออกกำ�ลังกายแบบรุนแรง และกระตุก
ควรออกก�ำ ลังกายท้งั 2 ขา้ งของรา่ งกาย ไมเ่ น้นด้านใดด้านหนง่ึ
ควรออกก�ำ ลงั กายอยา่ งชา้ ๆ ไม่หกั โหม พยายามเริ่มตน้ ทีละน้อยแล้วค่อย ๆ เพม่ิ ขนาดท่ีพอเหมาะ
ควรออกกำ�ลงั กายเปน็ ประจ�ำ ใหร้ ูส้ ึกว่าเปน็ สว่ นหนง่ึ ของชวี ิตประจ�ำ วัน
ไมค่ วรกล้ันหายใจขณะออกก�ำ ลังกาย เพราะจะทำ�ใหค้ วามดันโลหิตสูงทันที
หลังการออกก�ำ ลงั กายอย่างเตม็ ท่ี ไม่ควรหยุดแบบทนั ที ควรออกกำ�ลังกายตอ่ อยา่ งชา้ ๆ เปน็ เวลา
ประมาณ 5 - 10 นาที แล้วจึงหยุด
5. การใชแ้ รงกายในชวี ิตประจ�ำ วันและงานอดเิ รก มีผู้สงู อายจุ ำ�นวนมากทีถ่ กู ลูกหลาน ห้ามใชแ้ รงกายใน
ชีวติ ประจำ�วนั และหา้ มทำ�งานอดเิ รกท่ีใชแ้ รงกาย เนื่องจากความเขา้ ใจผิดว่า ผสู้ งู อายคุ วรงดการใชแ้ รง
กาย และตอ้ งพกั ผอ่ นมาก แทจ้ รงิ การใชแ้ รงกายในชวี ติ ประจ�ำ วนั หรอื การท�ำ งานอดเิ รกทใี่ ชแ้ รงกาย หาก
จัดให้พอเหมาะแล้ว จะเป็นการฝึกฝนร่างกายของผู้สงู อายุไดอ้ ย่างดียิ่ง งานอดิเรกหลายอย่างท่นี อกจาก
ใหป้ ระโยชน์ทางสขุ ภาพ และจิตแก่ผูส้ งู อายแุ ล้ว ยังใหผ้ ลประโยชน์ดา้ นการครองชีพอีกดว้ ย เช่น การท�ำ
สวน ซอ่ มแซมเคร่ืองใช้ไมส้ อย เล้ยี งเด็ก ฯลฯ แตท่ ัง้ นี้จะต้องจัด หรอื ปรบั ใหเ้ ขา้ กบั หลกั ของการฝึกฝน
ร่างกาย ทงั้ ในแง่ปรมิ าณ และส่วนประกอบอื่นๆ ซงึ่ ไดแ้ กป่ จั จัยในตัวเอง ปัจจัยนอกตัว และการพักผ่อน
คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ ิสำ�หรับผ้สู ูงอายุ” 29
เทคนิคการสรา้ งแรงจงู ใจใหผ้ ู้สงู อายุอยากออกกำ�ลงั กาย
สงิ่ ท่ีวทิ ยากรควรคำ�นงึ ถงึ คือการสรา้ งแรงจูงใจให้ผ้สู ูงอายุอยากออกก�ำ ลงั กาย พงึ ระลกึ เสมอว่า แรงจูงใจท่ีดี
คือการหาสิ่งท่ีผู้สูงอายุชอบ การรวมกลุ่ม และการเป็นผู้นำ�ด้วยการให้ผู้สูงอายุผลัดกันสอนท่าออกกำ�ลังกาย หรือ
หากุศโลบายใหผ้ ้สู งู อายอุ ยากออกก�ำ ลังกาย เชน่
1. วทิ ยากรดดั แปลงทา่ การออกกำ�ลงั กายใหเ้ ปน็ การออกกำ�ลงั กายประจำ�วนั ทง้ั 7 วนั ดงั นน้ั จะมี 7 ทา่ ออก
กำ�ลงั กาย
2. เมื่อผูส้ งู อายเุ ข้าโครงการให้ถามผูส้ งู อายุว่าใครเกดิ วันไหน จนั ทร์ องั คาร พุธฯ ให้ดวู ิธกี ารออกกำ�ลังกาย
ประจ�ำ วนั เกดิ ของตัวเอง
3. ให้ผู้สูงอายุฝึกออกกำ�ลังกายประจำ�วันเกิดของตัวเอง และคราวหน้าเมื่อรวมกลุ่มกันก็ให้ผู้สูงอายุกลุ่ม
วนั จันทร์ มาออกก�ำ ลังกายนำ�เพือ่ ใหเ้ พ่อื นๆ ได้ฝึกฝนตาม จากนัน้ กจ็ ดจ�ำ ทา่ ออกก�ำ ลงั กายวันถัดไปและ
กลบั ไปฝกึ ตอ่ ที่บา้ น ท�ำ เช่นนีจ้ นครบ 7 วัน จะไดท้ ่าออกก�ำ ลงั กาย 7 ทา่
4. อย่างไรก็ตามวิธีการสร้างแรงจูงใจยังมีอีกหลายวิธี เช่นการชวนผู้สูงอายุออกกำ�ลังกายตามเพลง หรือ
หาวิธีการออกก�ำ ลังกายที่เหมาะกับโรคเร้ือรังท่ีผู้สูงอายุก�ำ ลังเป็นอยู่และให้กลับไปฝึกที่บ้าน เม่ือมารวม
กลุ่มกันคราวหนา้ ใหผ้ ู้สูงอายุสาธติ วธิ ีการออกกำ�ลังกาย หรอื อาจใชว้ ธิ ีการแข่งขนั เพื่อสรา้ งแรงจูงใจหรอื
ชักชวนใหเ้ กิดการออกก�ำ ลังกาย เปน็ ตน้
รปู แบบการจดั กิจกรรมสขุ สบายในผู้สูงอายุ
กจิ กรรมท่ี 1 ประเมนิ ความพร้อมในการปฏิบตั กิ ิจวัตรประจ�ำ วนั ตามกลุ่มผสู้ ูงอายุ
วัตถุประสงค์ เพ่ือประเมินความพรอ้ มในการปฏบิ ัติกจิ วัตรประจ�ำ วันตามกลุ่มผู้สูงอายุ
ข้ันตอนการดำ�เนินกิจกรรม
1. ให้วิทยากรจำ�แนกกลุ่มผู้สูงอายุและดำ�เนินกิจกรรมการประเมินสมรรถนะและความพร้อมในการปฏิบัติ
กจิ วตั รประจำ�วนั ตามกลุม่ ต่างๆ ดงั น้ี
1.1 กลุ่มติดสังคม : จะเน้นการจัดกิจกรรมที่จะวัดความพร้อมในการปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันต่อเน่ือง
(ดเู อกสารแนบของกองออกก�ำ ลงั กายเพอื่ สุขภาพ กรมอนามัย)
1.2 กลุ่มติดบ้าน : จะเน้นการจัดกิจกรรมท่ีจะวัดการเคลื่อนไหวปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำ วันข้ันพ้ืนฐาน
(Barthel Index) การวดั ความเสย่ี งต่อการหกล้ม (Thai FRAT)
1.3 กลุ่มติดเตียง : จะเน้นการจัดกิจกรรมที่จะวัดความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันพ้ืนฐาน
(Katz Index of ADL) และวัดความเสีย่ งต่อการหกลม้ (Thai FRAT)
2. วิทยากรอาจจัดกิจกรรมท่ีจะส่งเสริมสมรรถภาพร่างกายท่ีแข็งแรง เกิดความคล่องแคล่วมีกำ�ลัง มีใน
ครั้งต่อไปดว้ ยกิจกรรมการออกก�ำ ลงั กาย กจิ กรรมการฝกึ โยคะ เปน็ ต้น
กิจกรรมท่ี 2 การฝึกโยคะในผู้สูงอายุ (เหมาะสำ�หรับผสู้ งู อายตุ ดิ สังคม)
วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ฟน้ื ฟูสมรรถภาพของรา่ งกายของผสู้ ูงอายุให้มคี วามคลอ่ งแคลว่ และยืดหยนุ่
2. เพ่ือใหร้ า่ งกายมีเสถยี รภาพท่ดี ี ไม่ลม้ งา่ ย
3. เพือ่ ฝึกความแขง็ แรงของกลา้ มเนือ้ ส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย
30 คมู่ ือ “ความสุข 5 มิติส�ำ หรบั ผ้สู ูงอายุ”
ขัน้ ตอนการด�ำ เนนิ กิจกรรม
1. วทิ ยากรให้คำ�แนะนำ�ก่อนการฝกึ (ดูตามเอกสารกายบรหิ ารแบบโยคะส�ำ หรับผสู้ งู อาย)ุ
2. วทิ ยาการสาธติ การฝกึ ตามเอกสารกายบรหิ ารแบบโยคะสำ�หรบั ผสู้ งู อายุ หรอื ซดี กี ารออกก�ำ ลงั กายแบบโยคะ
กจิ กรรมที่ 3 การทดสอบความพรอ้ มของรา่ งกาย (เหมาะสำ�หรบั ผ้สู งู อายกุ ลุ่มติดสงั คม)
กิจกรรมสำ�หรับผสู้ ูงอายตุ ดิ สังคม จะเนน้ การเคลอื่ นไหวรูปแบบตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็นความอดทนของหัวใจและ
หลอดเลอื ด ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ และความยดื หยนุ่ ของขอ้ ตอ่ เพอ่ื เพม่ิ ความสามารถในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำ วนั
สง่ เสรมิ ให้ผู้สงู อายุชว่ ยเหลือตนเองได้
วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
เพือ่ ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย
สอ่ื และอปุ กรณ์
1. อุปกรณ์ในการออกกำ�ลังกายรูปแบบต่างๆ (สายวัดรอบเอว เคร่ืองชั่งนํ้าหนัก ท่ีวัดส่วนสูง ตลับเมตร
ตุม้ นา้ํ หนัก ไม้บรรทัด เกา้ อ้ี นาฬกิ าจับเวลา กรวย)
การทดสอบความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจวัตรประจำ�วนั ของผูส้ ูงอายุ
1. การประเมนิ ส่วนสงู น้ําหนัก และรอบเอว (Height, Weight and Waist circumference)
วัตถุประสงค์ เพ่อื ประเมนิ ความอ้วน ความเสย่ี ง ซึ่งสำ�คัญตอ่ สุขภาพ
การประเมนิ
1. ชง่ั นํ้าหนกั
2. วัดส่วนสูง
3. วดั เสน้ รอบเอวระดบั สะดอื หรือสว่ นที่คอดท่ีสดุ
2. ลกุ ขน้ึ ยืนจากเกา้ อี้ 30 วนิ าที (30 - Second Chair Stand)
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความแข็งแรงของ
กล้ามเนอ้ื ส่วนขา (lower body strength)
การประเมิน
1. นงั่ หลังตรงเทา้ ทงั้ 2 ขา้ งตดิ พ้นื มอื ท้ัง
2 ข้างประสานไว้ที่หน้าอก
2. ลุกขึ้นยืนขึ้นยืนตรงจากเก้าอ้ีภายใน
30 วนิ าที
3. นบั จำ�นานคร้ังทส่ี ามารถทำ�ได้
ค่มู ือ “ความสขุ 5 มติ สิ �ำ หรบั ผูส้ งู อาย”ุ 31
3. งอแขนพบั ศอก (Arm Curl)
วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ประเมนิ ความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ ส่วนขา (lower body strength)
การประเมิน
1. โดยงอแขนพบั ศอกอยา่ งสมบูรณ์ ภายใน 30 วนิ าที
2. ผ้หู ญิงใหม้ อื ถอื นาํ้ หนกั 5 lb หรือ 2.27 kg และผู้ชายถอื นาํ้ หนัก 8 lb หรือ 3.63 kg
3. นบั จ�ำ นวนครง้ั ทส่ี ามารถงอแขนพับศอกได้
4. เดินย่าํ เทา้ 2 นาที (2 - Minute Step Test)
วัตถปุ ระสงค์ เพื่อประเมนิ ความอดทน หรอื พลังแอโรบกิ (aerobic endurance)
การประเมนิ
1. ยกเข่าให้สูงถึงวัตถุที่อยู่กึ่งกลางระหว่างลูกสะบ้า (patella) กับขอบบนสุดของกระดูกสะโพก
(iliac crest)
2. จ�ำ นวนครั้งนบั จากเข่าขวาท่ยี กสงู ขึน้ อยา่ งสมบูรณ์ใน 2 นาที
32 คู่มอื “ความสุข 5 มิติสำ�หรบั ผ้สู ูงอายุ”
5. เดนิ 6 นาที (6 - Minute Walk)
วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือประเมินความอดทน หรือพลงั แอโรบกิ ของรา่ งกาย (aerobic endurance)
การประเมิน
1. วดั ระยะทางเปน็ 50 หลา หรอื 45.7 เมตร
2. วดั ระยะทางท่ีสามารรถเดนิ ไดภ้ ายใน 6 นาที
6. นง่ั เก้าอ้ยี ่นื แขนแตะปลายเท้า (Chair-Sit-and - Reach)
วตั ถุประสงค์ เพ่อื ประเมินความออ่ นตวั ของร่างกายส่วนลา่ ง (lower body flexibility)
การประเมิน
1. นง่ั เก้าอคี้ ่อนไปด้านหน้า ขาเหยียดตึง
2. กม้ เหยียดมือทัง้ สองข้างไปแตะปลายเทา้ แล้ววดั ระยะห่างจากปลายนว้ิ มือถงึ ปลายน้วิ เท้า
3. ระยะหา่ งจากปลายนว้ิ มอื ไมถ่ งึ นวิ้ เทา้ คา่ ท่ี ไดจ้ ะเปน็ ลบ ถา้ ปลายนวิ้ มอื ยน่ื เลยปลายนวิ้ เทา้ คา่ ทไี่ ดจ้ ะ
เป็นบวก
คมู่ ือ “ความสุข 5 มิตสิ �ำ หรับผู้สงู อาย”ุ 33
7. เอื้อมแขนแตะมือทางดา้ นหลัง (Back Scratch)
วตั ถุประสงค์ เพ่อื ประเมินความอ่อนตัวของร่างกายส่วนบน โดยเฉพาะหัวไหล่ (upper body) (shoulder
flexibility)
การประเมนิ
1 วัดระยะห่างของปลายมือท้งั สองขา้ ง
2. ปลายมอื ทัง้ สองขา้ งยังไม่ชนกนั ค่าจะตดิ ลบ หากปลายมอื ทงั้ สองข้างชิดเกยกนั ระยะท่เี กยกันทีไ่ ด้
จะเป็นบวก
8. ลุกเดินจากเกา้ อีไ้ ปและกลับ 16 ฟุต (8 - Foot Up - and - Go)
วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ประเมนิ ความคลอ่ งแคล่ว และการทรงตวั ขณะเคล่ือนไหว
การประเมิน
จับเวลาที่ใช้ในการลุกขึ้นจากเก้าอี้ แล้วเดินต่ออีก 8 ฟุต หรือ 2.44 เมตร แล้วเลี้ยวกลับมานั่งเก้าอ้ี
ตามเดิม รวมระยะทาง 16 ฟุต
34 คู่มือ “ความสุข 5 มติ สิ �ำ หรบั ผสู้ ูงอาย”ุ
กจิ กรรมท่ี 4 การยืดเหยยี ดกลา้ มเนอ้ื ส�ำ หรับผสู้ ูงอายุ
วตั ถุประสงค์ เพอ่ื เพม่ิ ความยืดหยุ่นให้กบั กลา้ มเนื้อและขอ้ ต่อของผ้สู ูงอายุ (ดใู นVCD ทแี่ จกให้)
ทา่ หมุนศีรษะ
ทา่ เอียงศีรษะ
ท่ายืดเหยยี ดไหล่
ทา่ ยดื ล�ำ ตวั ด้านขา้ ง
ท่ายดื ต้นแขนด้านหลงั
ท่ายดื ปลายแขน
ทา่ ยดื เหยียดหน้าอก
ท่ายืดเหยียดกล้ามเนอื้ หลัง
ท่ายดื ตน้ ขาและน่อง
กิจกรรมท่ี 5 บรหิ ารกายประจ�ำ วนั
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื คงสภาพความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื ในผสู้ งู อายุ
วันอาทติ ย์ ทา่ ยกแขน (กลา้ มเนื้อไหล)่
คู่มอื “ความสุข 5 มิติส�ำ หรบั ผูส้ ูงอายุ” 35
วันจันทร์ ท่ากรรเชียง (กลา้ มเนอื้ หนา้ อก)
วันอังคาร ทา่ เหยียดขอ้ เท้า (กล้ามเนอ้ื นอ่ ง)
36 คมู่ อื “ความสุข 5 มติ สิ �ำ หรับผู้สงู อายุ”
วันพุธ ทา่ เหยียดเข่า (กลา้ มเน้ือตน้ ขาดา้ นหนา้ )
วันพฤหสั บดี ทา่ เหยียดหลัง (กลา้ มเนอื้ หลัง)
คูม่ ือ “ความสขุ 5 มิติส�ำ หรบั ผู้สงู อาย”ุ 37
วันศกุ ร์ ทา่ งอและเหยยี ดสะโพก (กลา้ มเน้อื ตน้ ขาดา้ นหนา้ /หลัง)
วันเสาร์ ท่าโยกล�ำ ตวั (กลา้ มเน้อื ล�ำ ตัว)
38 คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ ิส�ำ หรบั ผู้สงู อายุ”
บทที่ 5
การจัดกิจกรรมดา้ นที่ 2 : สุขสนุก
ด้านที่ 2 สุขสนุก (Recreation)
ปญั หาทพี่ บเสมอในผสู้ งู อายคุ อื ความเหงา วา้ เหว่ ซมึ เศรา้ และขาดกจิ กรรมทจ่ี ะชว่ ยท�ำ ใหช้ วี ติ มสี สี นั หรอื ขาด
กจิ กรรมขณะรวมกลมุ่ ในสถานบรกิ าร/ในชมรม เปน็ ตน้ กจิ กรรมสขุ สนกุ จงึ เปน็ กจิ กรรมเสรมิ ทที่ ำ�ใหค้ วามเพลดิ เพลนิ
เมอ่ื มกี ารรวมกลมุ่ ของผสู้ งู อายุ หรอื บางกจิ กรรมกเ็ หมาะสมในการท�ำ กจิ กรรมเปน็ รายบคุ คลและสามารถน�ำ กลบั ไปใช้
กบั คนในครอบครัวเพ่ือเสรมิ สร้างสมั พนั ธภาพระหวา่ งสมาชิกในครอบครัวกบั ผสู้ งู อายไุ ด้
ท้ังนี้ในการเลือกกิจกรรมเพื่อแนะนำ�ให้กับผู้สูงอายุขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของวิทยากรหรือความชอบของ
ผู้สูงอายุเป็นหลัก และไม่มีข้อจ�ำ กัดของจำ�นวนหรือประเภทกิจกรรมท่ีจะด�ำ เนินการ แต่วิทยากรควรเน้นเรื่องการมี
สว่ นรว่ มของผสู้ งู อายตุ อ่ กจิ กรรมทจี่ ดั ขน้ึ เพอ่ื สรา้ งความรสู้ กึ ถงึ การมสี ว่ นรว่ ม ลดการแยกตวั และเพม่ิ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์
ของผู้สูงอายุกับเพื่อนๆในกลุ่ม ซ่ึงเป็นการสร้างสังคมให้กับผู้สูงอายุท่ีติดสังคม และส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีเพ่ือชีวิต
ให้ยืนยาว
แต่ในกลุ่มผู้สูงอายุท่ีติดบ้านและติดเตียง การจัดกิจกรรมสุขสนุกเป็นการทำ�กิจกรรมเพ่ือความเพลิดเพลิน
ลดความเครยี ด ความฟงุ้ ซา่ นของความคดิ ขณะอยคู่ นเดยี วของผสู้ งู อายุ ดงั นน้ั ในกลมุ่ ตดิ บา้ นและตดิ เตยี ง เมอื่ ไปเยยี่ ม
บ้านอาจแนะนำ�กิจกรรมตัวอย่างภายในเล่มมาใช้ได้ท้ังน้ีไม่มีข้อจำ�กัดของจำ�นวนหรือประเภทของกิจกรรมที่ดำ�เนิน
การเช่นเดียวกัน แต่ให้วิทยากรคำ�นึงถึงวัตถุประสงค์หลักของสุขสนุกในกลุ่มติดบ้านติดเตียงคือการลดความฟุ้งซ่าน
ความเครียดขณะอยคู่ นเดยี วให้กับผู้สูงอายุ และให้ค�ำ นึงถงึ ความชอบของผ้สู งู อายรุ ว่ มด้วย
สาระส�ำ คัญของความสุขสนุกสนานในผู้สงู อายุ
อารมณ์ถอื เปน็ พลงั ชีวิต เปน็ สสี ันของชีวิต และยงั มพี ลังมหาศาลในการด�ำ รงชีวิต ผสู้ ูงอายุที่มีอารมณ์ดี เป็น
ผมู้ ชี วี ติ ชวี า มกั มเี พ่อื น ไมเ่ หงา ห่างไกลจากภาวะซมึ เศรา้ การจะเปน็ ผูม้ อี ารมณ์ร่าเรงิ ยินดี มีความพึงพอใจในชีวติ
ตอ้ งมกี ารพฒั นาอารมณ์ใหเ้ กิดความสุขสนุก ซ่งึ นนั ทนาการกว็ ธิ หี นงึ่ ทที่ ำ�ใหม้ ีกจิ กรรมท�ำ เพ่ือใหเ้ กดิ ความสนกุ สนาน
เพลิดเพลินผ่อนคลายความตึงเครียด และเกิดความสุขทางใจ กิจกรรมนี้ต้องไม่เป็นอาชีพ มีคุณประโยชน์ต่อตนเอง
และสว่ นรวม ทั้งยังไม่ขดั ตอ่ ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรม และกฎหมายบา้ นเมอื ง
หลกั ในการเลอื กกจิ กรรมนนั ทนาการ เนอื่ งจากกจิ กรรมนนั ทนาการมอี ยมู่ ากมายหลายอยา่ งและมปี ระโยชน์
แกบ่ คุ คลแตกต่างกนั ออกไป จึงควรมีหลกั เกณฑใ์ นการพิจารณาดังต่อไปนี้
1. สขุ ภาพของรา่ งกาย ควรเลอื กกิจกรรมท่ีเหมาะสมกบั อายุ เพศ ขนาดของรูปร่าง ตลอดจนความพร้อม
ของร่างกายและจิตใจ ส่วนกิจกรรมที่เกินก�ำ ลังหรือเกินความสามารถควรหลีกเล่ียงเพราะจะกลับกลาย
เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น ผู้ป่วยท่ีเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน และผู้สูงอายุ ก็ไม่ควรเล่นกีฬาหนักหรือ
โลดโผน ตน่ื เต้น น่าหวาดเสียว เปน็ ตน้
คู่มือ “ความสุข 5 มติ สิ ำ�หรับผสู้ ูงอาย”ุ 39
2. ความสนใจ ความสามารถ และความถนัดส่วนบุคคล ควรเลือกกิจกรรมท่ีตนถนัด สนใจ และมีความ
สามารถ จะท�ำ ใหป้ ระสบความส�ำ เรจ็ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดแี ละมคี วามสขุ สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ กบั กจิ กรรมนน้ั ๆ
3. ความเหมาะกบั งานทท่ี �ำ อยู่ แตล่ ะคนจะมภี ารกจิ ในการงานของตนแตกตา่ งกนั ออกไป บางคนมเี วลาวา่ งมาก
บางคนมีเวลาว่างน้อย บางคนต้องทำ�งานใช้แรงและกำ�ลังมาก บางคนทำ�งานใช้สมองมากแต่ไม่เหน่ือย
ดังนัน้ จึงต้องเลือกกจิ กรรมนันทนาการให้เหมาะสมในแต่ละคนไป เช่น การท�ำ งานใช้แรงมากตอ้ งเลือก
กจิ กรรมเบา ๆ อาทิ ฟังเพลง ดูโทรทัศน์ อ่านห นังสือ สว่ นคนท่ใี ช้สมองมากกค็ วรเล่นกีฬาทใ่ี ช้กำ�ลัง เช่น
แบดมนิ ตนั ตะกร้อ เปน็ ต้น
4. สถานท่ี ความสะดวก และความปลอดภยั กิจกรรมบางอยา่ งจำ�เป็นตอ้ งมีอุปกรณ์ เคร่ืองมือ หรอื สถานที่
เข้ามาเกย่ี วข้อง การเลือกกิจกรรมจงึ ตอ้ งพจิ ารณาถึงความพร้อมของอปุ กรณ์และสถานท่ดี ้วย เชน่ บาง
คนสนใจว่ายนํ้าแตไ่ ม่มสี ระ บางคนสนใจฟตุ บอลแต่ไม่มสี นาม เปน็ ตน้
5. ฐานะทางเศรษฐกิจ มีกิจกรรมหลายประเภทที่จำ�เป็นต้องใช้เงินจำ�นวนมากและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง
เชน่ การเลน่ กอลฟ์ การสะสมวัตถุโบราณ สะสมรถเก่า เลน่ กล้องถ่ายรูป เปน็ ตน้ กิจกรรมประเภทนีจ้ ึง
ไมเ่ หมาะสมกบั ผทู้ มี่ ฐี านะทางเศรษฐกจิ ไมม่ นั่ คง กจิ กรรมทปี่ ระหยดั และสามารถใหป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากกวา่
ได้แก่ การออกกำ�ลงั กาย การเลน่ ดนตรี เปน็ ตน้
6. ไมข่ ัดต่อศีลธรรม ประเพณี และวัฒนธรรมของสังคม ตลอดจนกฎหมายของบ้านเมอื ง กจิ กรรมบางอยา่ ง
อาจเหมาะสมกบั ขนบธรรมเนยี มประเพณใี นทอ้ งถน่ิ หนง่ึ แตอ่ าจขดั กบั ประเพณี วฒั นธรรมของอกี ทอ้ งถน่ิ หนง่ึ
7. ประโยชนต์ ่อสังคม ถ้ามีโอกาสควรเลือกกจิ กรรมที่นอกจากจะให้ เกดิ คุณประโยชน์แก่ตนเองแลว้ ยังกอ่
ใหเ้ กดิ ประโยชน์แกส่ ่วนรวมและสงั คมด้วย
8. ควรหลีกเลยี่ งกจิ กรรมทีจ่ ะทำ�ความรบกวนหรอื ท�ำ ความรำ�คาญใหแ้ ก่ผู้อ่ืน ควรเลอื กกจิ กรรมทท่ี ำ�ให้เกิด
ความรกั ความพอใจ และความสมัครสมานสามัคคีกนั
รูปแบบการจัดกิจกรรมสุขสนกุ ในผู้สูงอายุกลมุ่ ติดสังคม
กิจกรรมท่ี 1 กจิ กรรมร�ำ สวย
ประเภทกจิ กรรม กจิ กรรมเป็นทีมนอก/ในสถานที่
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ความสนุกสนาน ได้เคลือ่ นไหวร่างกาย ให้ผ้สู งู อายไุ ด้ร�ำ วงอีกครงั้
วิธีการเลน่
1. วิทยากรเปดิ เพลงร�ำ วง (1-2 เพลง)
2. ให้ผ้สู ูงอายยุ ืนเป็นวงกลม และรำ�วง สมาชกิ โหวต ใครร�ำ สวยคนน้ันชนะ
40 คมู่ ือ “ความสขุ 5 มติ สิ ำ�หรับผ้สู งู อายุ”