กจิ กรรมท่ี 2 ใครกนั นะ
ประเภทกิจกรรม ภายในสถานท่ี
วัตถุประสงค์ ไดแ้ นะนำ�ตน ละลายพฤตกิ รรม
วิธกี ารเล่น
1. ให้ผู้สูงอายุเขียนสิ่งท่ีชอบ (ชอบเขียนหนังสือมือซ้าย) /หรือประสบการณ์ในชีวิต (ไปเที่ยวมา
78 จงั หวัด) หรืออ่นื ๆ คนละ 1 เรือ่ ง ใหม้ ารวมกนั
2. วทิ ยากรนำ�มาอา่ น ให้ทายวา่ เป็นผใู้ ด
กจิ กรรมท่ี 3 ผืนน้าํ และแผน่ ดนิ
ประเภทกิจกรรม กิจกรรมเป็นทมี นอกสถานท่ี (outdoor team)
วตั ถุประสงค์ เพือ่ ความ สนุกสนาน ได้ออกก�ำ ลังกาย
วิธีการเล่น
1. แบ่งผู้สูงอายเุ ป็น 2 ทมี ยนื เรยี งหน้ากระดาน หนั หนา้ หาวิทยากร
2. กตกิ าในการเล่น ถ้าวิทยากรพูดว่า
“นา้ํ ” ใหผ้ ้สู งู อายุกา้ วไปขา้ งหน้า 1 กา้ ว หมนุ สะโพกตามเข็มนาฬกิ า 1 รอบ
“ทะเล” ใหผ้ ูส้ ูงอายุก้าวไปขา้ งหน้า 2 ก้าว หมนุ สะโพกตามเข็มนาฬกิ า 2 รอบ
“แผ่นดนิ ”ใหผ้ ้สู งู อายุก้าวไปข้างหลงั 1 ก้าว หมนุ สะโพกทวนเขม็ นาฬิกา 1 รอบ
“ภูเขา” ใหผ้ ู้สูงอายกุ รา้ วไปข้างหลงั 2 ก้าว หมนุ สะโพกทวนเขม็ นาฬิกา 2 รอบ
3. การตัดสิน ถา้ ผู้สงู อายุคนไหนกา้ วผิด ใหอ้ อกจากเกม ทีมใดท่ีมสี มาชกิ อย่มู ากกว่าทมี น้ันชนะ
ค�ำ แนะนำ� วทิ ยากรสามารถเพมิ่ คำ�สงั่ อนื่ ๆ ได้
กจิ กรรมที่ 4 : ตาบอดคลำ�ชา้ ง
ประเภทกิจกรรม กจิ กรรมเปน็ ทมี นอกสถานท่ี (outdoor team)
วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อความ สนกุ สนาน ท�ำ งานเป็นทมี วางแผนรว่ มกนั
วิธีการเลน่
1. แบง่ ผูส้ งู อายเุ ป็น 2 ทีม
2. ใหผ้ ู้สูงอายคุ วานหาของทีก่ �ำ หนดในกล่องท่เี ตรยี มไว้ โดยแขง่ กนั ทลี ะคจู่ ากตัวแทนของแต่ละทีม
3. ทมี ทีส่ ามารถหาของไดถ้ กู ต้องและใช้เวลานอ้ ยทส่ี ุดเป็นผู้ชนะ
คำ�แนะน�ำ สิ่งของท่ีน�ำ มาทำ�เป็นปริศนาแลว้ แต่วิทยากรจะก�ำ หนด
คู่มอื “ความสขุ 5 มิตสิ ำ�หรับผสู้ งู อายุ” 41
กิจกรรมท่ี 5 ต่อภาพ
ประเภทกจิ กรรม ภายในสถานที่
วัตถปุ ระสงค์ เพื่อความสนุกสนาน รว่ มกันวางแผน ทำ�งานเป็นทมี
วิธกี ารเลน่
1. นำ�ภาพต่าง ๆ มาฉกี เป็นชนิ้ เล็ก ๆ แบง่ ผู้สูงอายุเป็นทมี (1ทมี ตอ่ 1ภาพ)
2. ใหแ้ ตล่ ะทีมต่อภาพ
3. ทีมใดต่อเสรจ็ ก่อนทีมนน้ั ชนะ
กจิ กรรมท่ี 6 เกมเคล็ดลับสุขภาพดี
ประเภทกจิ กรรม ภายในสถานท่ี
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือแลกเปล่ียนแนวทางการดแู ลสุขภาพตนเองของผสู้ งู อายุ
วิธกี ารเล่น
1. ใหผ้ สู้ ูงอายุแนะน�ำ วิธี/เคล็ดลบั การดแู ลสุขภาพ คนละ 2-3 นาที
2. เรือ่ งของใครฟังแล้วประทับใจชนะ
กจิ กรรมที่ 7 เกมปาร์ตวี้ ันเกิด
ประเภทกจิ กรรม ภายในสถานท่ี
วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื การร้จู กั การอยู่รว่ มกันในสังคมและยอมรบั ผอู้ ่ืน
วิธกี ารเล่น
1. ใหผ้ ูส้ ูงอายเุ ตรยี มจัดงานวันเกดิ ใหก้ ับเพอ่ื นท่ีเกิดในเดือนตา่ ง ๆ
2. ใหผ้ ูส้ ูงอายุรว่ มท�ำ การ์ดวนั เกิดให้เพ่ือน(อุปกรณ์แล้วแต่จะเลอื ก)
กิจกรรมที่ 8 เกมทอ่ งเที่ยว
ประเภทกจิ กรรม ภายนอกสถานที่
วตั ถุประสงค์ ได้ท่องเทยี่ วสถานทปี่ ระวัตศิ าสตร์
วิธีการ
1. ใหผ้ ู้สงู อายุทอ่ งเทยี่ ว สถานทปี่ ระวัติศาสตรภ์ ายในชมุ ชน จงั หวดั ทต่ี นอาศัยอยู่
2. วทิ ยากรให้ข้อมลู เกีย่ วกับประวตั ิความเป็นมาของสถานทีท่ ี่ไปชม
กิจกรรมท่ี 9 เกมปิกนกิ
ประเภทกิจกรรม ภายนอกสถานที่
วัตถปุ ระสงค์ ไดส้ งั สรรค์ รับประทานอาหารกลางวันรว่ มกนั
วธิ กี าร
1. ให้ผู้สงู อายุนำ�อาหารมาคนละ 1 อย่าง เพอ่ื มารับประทานร่วมกัน ณ สวนสาธารณะของหมบู่ า้ น
2. อาหารของใครอร่อยถูกปากได้รางวัล
42 คูม่ ือ “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ”
กิจกรรมที่ 10 เกมท�ำ อาหาร
ประเภทกิจกรรม ภายในสถานที่
วตั ถปุ ระสงค์ ได้ร่วมกนั ท�ำ อาหาร ได้ฟ้นื ฟคู วามจำ� ได้ความพอใจ ความสขุ ใจ
วิธีการ
1. แบง่ ผูส้ งู อายเุ ปน็ 2 ทีม ให้แต่ละทีมเลอื กท�ำ อาหาร 1 อยา่ ง
2. ทมี ใดทำ�อรอ่ ย ทีมน้ันชนะ
กจิ กรรมท่ี 11 เกมรอ้ งเพลง
ประเภทกิจกรรม ภายใน/ภายนอกสถานท่ี
วัตถุประสงค์ เพื่อฟนื้ ฟูความจ�ำ ได้ความพอใจ ความสุขใจ
วธิ ีการ
1. แจกเน้อื ร้องเพลงใหผ้ สู้ ูงอายุ
2. ให้ผสู้ ูงอายุฝึกร้องตาม อาจเลน่ ดนตรปี ระกอบ (พิณ แคน ขล่ยุ ฯลฯ) หรือไม่มกี ็ได้
3. เนือ้ เพลงตามความพอใจของผู้สงู อายุ
กจิ กรรมที่ 12 เกมเดิน 1 กิโลเมตร
ประเภทกจิ กรรม ภายนอกสถานท่ี
วตั ถุประสงค์ ไดอ้ อกก�ำ ลังกาย ได้ความพอใจ ความสุขใจ
วิธกี าร
1. ใหผ้ ู้สงู อายุมชี มรมเดิน 1 กิโลเมตร ให้เดินทกุ วันหรือวันเว้นวันแลว้ แต่จะกำ�หนด
2. ให้รางวลั ผู้สงู อายุท่ีเก็บไมล์สะสมได้มากทส่ี ุดในแต่ละเดือน
รูปแบบการจัดกิจกรรมสขุ สนุกในผู้สูงอายกุ ลุ่มติดบา้ นและกลมุ่ ติดเตียง
กิจกรรมท่ี 1 การทำ�สวน
ประเภทกจิ กรรม ภายนอกสถานที่
วตั ถปุ ระสงค์ ได้ความพอใจ ความสุขใจ
วธิ กี าร
1. ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ตดิ บา้ นทช่ี อบท�ำ สวน ปลกู ผกั วทิ ยากรน�ำ เมลด็ พนั ธพ์ุ ชื ผกั สวนครวั /ดอกไม้ ใหผ้ สู้ งู อายทุ ่ี
ชอบการปลกู ผัก ทำ�สวน
2. ตดิ ตาม ถา่ ยรูปภาพความสำ�เร็จ (รางวัลอาจเป็นอปุ กรณท์ �ำ สวนที่ไมแ่ พง)
คู่มือ “ความสขุ 5 มติ ิสำ�หรับผ้สู ูงอายุ” 43
กจิ กรรมที่ 2 จดั สวน
ประเภทกจิ กรรม ภายนอกสถานที่
วตั ถปุ ระสงค์ ไดค้ วามพอใจ ความสุขใจ
วิธกี าร
1. ผสู้ ูงอายทุ ่ชี อบจดั สวนอาจแนะนำ�ดอกไม้ ทค่ี วรนำ�มาจดั ใหอ้ ปุ กรณ์
2. ตดิ ตามความส�ำ เร็จ ถ่ายภาพ
3. จัดต้ังกลุ่มจดั สวน และจดั สอน
กจิ กรรมที่ 3 งานศลิ ปะ/งานฝีมือ
ประเภทกิจกรรม ภายในสถานที่
วตั ถุประสงค์ ได้ความพอใจ ความสขุ ใจ
วธิ กี าร
1. ให้ผู้สูงอายุทำ�งานฝีมือ/งานศิลปะท่ีชอบ เช่น งานถักโคร์เชต์ ถักนิตต้ิง งานปักผ้า งานวาดภาพ
เขยี นภาพ สานตะกรา้ ฯลฯ อาจสนบั สนุนอปุ กรณ์
2. ถ่ายภาพผลงาน น�ำ เสนอในชมรมผู้สงู อายุ หรอื ใหร้ างวลั คนท่ที �ำ ผลงานส�ำ เรจ็
3. จัดตัง้ กลมุ่ งานฝีมือ และจดั สอน
กจิ กรรมท่ี 4 การศึกษา/ภาษา
ประเภทกจิ กรรม ภายในสถานท่ี
วตั ถุประสงค์ ไดเ้ รียนร้ทู ักษะใหม่ ความรู้ใหม่ ภาษาใหม่
วธิ ีการ
1. ผสู้ งู อายทุ ่ีสนใจเรียนรภู้ าษาใหม่ ทกั ษะใหม่ๆ หรือศกึ ษาตอ่ คน้ หาโปรแกรมการเรยี นท่เี หมาะสม
2. ติดตามความก้าวหนา้ ถ่ายภาพความส�ำ เรจ็ ในชมรมผสู้ ูงอายุ
44 คู่มือ “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรับผ้สู ูงอายุ”
บทที่ 6
การจดั กิจกรรมดา้ นที่ 3: สขุ สง่า
ดา้ นที่ 3 : สขุ สง่า (Integrity)
กจิ กรรมสขุ สง่าเปน็ กิจกรรมท่กี อ่ ให้เกดิ ความภาคภูมิใจซึง่ มีท้ังการใหแ้ ละรบั จากผ้อู ื่น การตระหนกั ถึงความ
มคี ณุ คา่ ในตนเอง การมีพฤตกิ รรมชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ในสงั คมและเกดิ มมุ มองตอ่ การใชช้ วี ิตในเชิงบวก
ทง้ั นใี้ นการเลือกกจิ กรรมใหก้ บั ผู้สงู อายกุ ลมุ่ ตดิ สังคมควรด�ำ เนนิ การท้ัง 5 กจิ กรรม เพือ่ สรา้ งความคิดในเชงิ
บวกใหเ้ กดิ ขนึ้ เนอ่ื งจากการสรา้ งความคดิ เชงิ บวกเปน็ การกระทำ�ทจ่ี ะตอ้ งอาศยั ความตง้ั ใจสว่ นตวั ทเ่ี ขม้ แขง็ และแรงกลา้
เพราะหมายถึงการจะต้องระงับตน ต้องข่มใจ ต้องเลอื กคิดในสง่ิ ท่ีคนส่วนใหญไ่ มไ่ ด้คดิ พร้อมกับต้องรกั ษาการคดิ ใน
เชิงบวกใหค้ งอยเู่ สมอเน่ืองจากคนเกิดมาแตกตา่ งกนั คนส่วนใหญ่มกั จะคิดในเชิงลบมากกว่าการคดิ บวก และการคิด
ลบมักจะมาก่อนเสมอ การคิดบวกเกิดข้ึนยากและหายเร็ว ไมเ่ หมือนกบั การคดิ ลบเกดิ ขึ้นง่ายและเร็วมากแต่หายยาก
ดงั น้นั เพ่ือให้มคี วามคิดเชิงบวกมากขึน้ วิทยากรจงึ ควรจะช่วยเสริมทพั ความคดิ บวกซา้ํ ๆ บอ่ ยๆ เพอ่ื สรา้ งความคิดเชิง
บวก ความภาคภมู ใิ จ และความมคี ณุ ค่าในตวั เองใหก้ ับผู้สูงอายุกลุ่มติดสงั คม ทสี่ ำ�คญั ยงั เป็นการเปลย่ี นทศั นะคติของ
ผูส้ งู อายจุ าก “ภาระกลายเปน็ พลังให้กบั ชุมชนอกี ดว้ ย”
ในกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียง วิทยากรอาจเลือกกิจกรรมท่ีช่วยให้ผู้สูงอายุตระหนักถึงความมีคุณค่า
ในตนเอง เข้าใจคุณค่าของชีวิต วิธีการส่ือสาร และแทรกวิธีการมองชีวิตในมุมกลับจากท่ีเคยเป็นแล้วจะมีความสุข
สิ่งเหลา่ นี้เป็นส่งิ ส�ำ คัญทจ่ี ะช่วยใหผ้ สู้ ูงอายทุ ต่ี ิดบ้าน ติดเตยี งปรับเปลีย่ นมุมมองและความรูส้ ึกในแง่ดตี อ่ ตนเอง และ
ตอ่ ผู้อ่นื ได้ กจิ กรรมท่คี วรจดั ได้แก่ กิจกรรมที่ 3 ขอ้ ดีฉนั มอี ยู่ กิจกรรมท่ี 4 ใจเขาใจเรา
สาระส�ำ คญั ของสขุ สงา่
ในวัยสูงอายุมักจะมีความเช่ือมั่นในตนเองและความภาคภูมิใจในตัวเองท่ีลดน้อยถอยลง บางรายต้องพ่ึงพิง
ผู้อ่ืนเพราะปัญหาความเส่ือมถอยของสมรรถภาพร่างกายและความจำ� บางรายรู้สึกน้อยอกน้อยใจหรือซึมเศร้า
เนื่องจากไม่สามารถสร้างกำ�ลังใจให้กับตนเองเมื่อเกิดความรู้สึกน้อยอกน้อยใจได้ บางรายจู้จี้ข้ีบ่น และรู้สึกสูญเสีย
ภาพลักษณ์ต่อตนเอง แนวทางการชว่ ยเหลอื ผู้สูงอายทุ ี่มปี ัญหาซึง่ เกย่ี วขอ้ งกับจิตใจ มีดังน้ี
แนวทางการช่วยสรา้ งความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
1. ฝกึ ให้ผูส้ ูงอายุชว่ ยเหลือตัวเองในเรอ่ื งงา่ ย เช่น กิจวตั รประจ�ำ วนั งานบ้านเล็กๆนอ้ ย หรอื การดแู ลเดก็ ๆ
เพอื่ ไม่ให้รูส้ กึ เป็นภาระกับคนอืน่
2. ใหผ้ สู้ งู อายใุ กลช้ ดิ กบั เพอ่ื นผสู้ งู อายคุ นอน่ื ๆเพอ่ื ฝกึ ใหเ้ กดิ การชว่ ยเหลอื กนั เอง เชน่ การจดั กจิ กรรมเยย่ี มบา้ น
จิตอาสาในรูปแบบต่างๆ เพื่อทำ�ตนให้เป็นประโยชน์ และเสียสละเพื่อส่วนรวม (อาจเป็นแรงงานหรือ
ทรพั ย์ หรือความรกู้ ไ็ ด้)
คู่มือ “ความสขุ 5 มิติสำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ” 45
3. ฝึกให้ผูส้ งู อายไุ ด้มปี ฏิสัมพนั ธก์ บั ผอู้ ่ืน เช่น การตัง้ ชมรมตา่ งๆ และชมุ ชนควรจดั เวทีใหผ้ ูส้ งู อายไุ ด้แสดง
ความคดิ เห็น หารอื ในประเดน็ ตา่ งๆ เพอ่ื กระตนุ้ สมองป้องกนั ภาวะสมองเส่อื ม เปน็ ตน้
4. แนะน�ำ ใหค้ นใกลช้ ดิ โดยเฉพาะลกู หลานชกั ชวนพดู คยุ และรบั ฟงั ถงึ สว่ นดหี รอื เหตกุ ารณป์ ระทบั ใจในอดตี
ของผูส้ ูงอายุอยา่ งเตม็ ใจ ท�ำ ให้ผสู้ ูงอายรุ สู้ ึกว่ายังมคี นชน่ื ชมในชีวติ ของตนเอง
5. ฝึกให้ผู้สูงอายุเป็นผู้ให้การปรึกษา/วิทยากร/นักจัดรายการวิทยุชุมชน ฯลฯ ให้ท้องถ่ินเพื่อให้ผู้สูงอายุ
เกดิ ความภาคภูมใิ จและเกิดความรู้สึกเปน็ สว่ นหน่งึ ของชุมชนมีพลังในการดำ�เนินชวี ติ และป้องกันภาวะ
ซึมเศรา้
แนวทางการชว่ ยเสริมสรา้ งก�ำ ลงั ใจเมอื่ ผสู้ งู อายบุ น่ วา่ เรือ่ งลกู หลานไมม่ าหา
1. บคุ ลากรสาธารณสขุ ต้องรู้วา่ ผู้สงู อายุในสังคมไทยยึดหลกั ของศักดิ์ศรี คอื เด็กต้องมาหาผใู้ หญก่ อ่ นดงั นน้ั
ต้องตั้งคำ�ถามกับผู้สูงอายุถึงวิธีการแก้ปัญหานี้ วิธีที่ควรแนะนำ�แก่ผู้สูงอายุคือแนะนำ�ผู้สูงอายุว่าให้ลด
ศักดิ์ศรีของตนเอง โดยการไปเย่ียมเยียนลูกหลาน “ลูกหลานไม่มาหา ก็ให้ผู้สูงอายุไปหาลูกหลาน”
เพราะการไปเยยี่ มบตุ รหลานถอื เปน็ การสรา้ งสมั พนั ธภาพทดี่ ใี นครอบครวั เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี หก้ บั คนรนุ่
ถดั ไป ไมถ่ ือว่าเป็นการเสียเกียรติ
2. บุคลากรสาธารณสุขต้องบอกกับผู้สูงอายุว่า “เมื่อไปถึงต้องไม่ไปบ่นว่าลูกหลานจึงจะทำ�ให้ลูกหลาน
ไมร่ ูส้ กึ วา่ ผูส้ ูงอายุจู้จ้ขี บี้ ่น”
3. สนับสนุนให้ผู้สงู อายคุ บหาเพื่อนบา้ น พูดคุย และสร้างเครือข่ายกับคนในชมุ ชนใหม้ ากท่ีสุด เพ่อื ปอ้ งกนั
ความรู้สึกโดดเด่ยี วและไรท้ ีพ่ ึง่ พงิ
4. ฝึกวิธีการฟงั อยา่ งตั้งใจใหก้ ับผสู้ งู อายุ โดยมเี คลด็ ลบั งา่ ยๆ วา่
5. ฝกึ ทกั ษะการสงั เกตใหก้ บั ผสู้ งู อายุ เพอ่ื ท�ำ ใหเ้ กดิ ความอยากรอู้ ยากเหน็ ท�ำ ใหเ้ กดิ ปญั หา อนั จะน�ำ ไปสขู่ นั้
ตอนในการสบื เสาะเพ่อื หาความรูแ้ ละไดม้ าซ่ึงความรู้มากข้ึน
6. บุคลากรสาธารณสุขต้องสอนวิธีการต้ังคำ�ถามให้กับผู้สูงอายุ ควรเป็นบทสนทนาระหว่างผู้สูงอายุกับ
ลกู หลาน เพื่อใหผ้ ู้สูงอายไุ ดม้ ีหัวข้อในการสนทนา ทไ่ี มใ่ ช่การบ่น การต�ำ หนิ ตเิ ตียน เช่น การต้งั คำ�ถาม
เรื่องเทคโนโลยี หรอื ชวนพูดคุยเรือ่ งท่ลี ูกหลานกำ�ลงั ทำ�อยู่ และควรใหข้ อ้ คิดกับผสู้ ูงอายวุ า่ “การพดู คยุ
กับลูกหลานจะทำ�ให้ตัวผู้สูงอายุเองตามทันเหตุการณ์ และโลกในปัจจุบันได้และยังทำ�ให้ลูกหลาน
ภาคภมู ใิ จ และต้องไมล่ มื กลา่ วค�ำ ขอบใจให้ลูกหลานด้วย”
7. บุคลากรสาธารณสุขต้องเน้นย้ําในเรื่องของศักด์ิศรีเรื่องคนแก่ไม่เคยผิด เป็นเรื่องที่ต้องปรับวิธีคิดของ
ผู้สูงอายุ ดังน้ันควร “เน้นยํ้าว่าคนเราสามารถผิดพลาดได้ แต่ความผิดพลาดจะช่วยให้เราทำ�สิ่งท่ี
ถกู ต้องในอนาคต และทำ�ให้ลูกหลานไดท้ �ำ ในส่ิงที่ถูกต้องต่อไปเพ่ือจะไดเ้ ป็นแบบอยา่ งทด่ี ”ี
8. ชักชวนใหผ้ ้สู ูงอายหุ นั มาท�ำ กิจกรรมทางศาสนา ศึกษาธรรมะ และปฏบิ ตั ิธรรม
9. ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุทำ�กิจกรรมท่ีสนใจต่างๆตามความเหมาะสม เช่น การจักสาน การเล่นหมากรุก
การออกก�ำ ลงั กาย การปลูกตน้ ไม้ และการอา่ นหนงั สือ เปน็ ตน้
46 คมู่ ือ “ความสขุ 5 มิตสิ �ำ หรบั ผู้สูงอาย”ุ
แนวทางการชว่ ยเสรมิ สรา้ งก�ำ ลงั ใจเมอื่ ผสู้ งู อายเุ กดิ ความรสู้ กึ นอ้ ยอกนอ้ ยใจ
หรือซึมเศรา้
1. สง่ิ ท่บี คุ ลากรสารณสขุ ควรทราบเบ้อื งต้นคอื ภมู หิ ลงั ของผสู้ งู อายุ จากนั้นควรหาขอ้ เท็จจริงเกยี่ วกบั เร่อื ง
ท่ีน้อยใจ แล้วพิจารณาตามความเปน็ จรงิ เพอ่ื รว่ มกนั หาทางแก้ไข กรณเี ป็นเรื่องท่เี กิดจากความรู้สกึ ของ
ผสู้ งู อายุเอง ก็ควรมกี ารแกไ้ ขความเขา้ ใจนัน้
2. รว่ มกับลกู หลาน หรอื ผูด้ ูแลในการช่วยกันแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึน้ วิธกี ารดูแลทางด้านจติ ใจให้คำ�นึงถึงการ
ผสมผสานความตอ้ งการของผดู้ ูแลกบั ความตอ้ งการของผูส้ งู อายใุ นลกั ษณะประนปี ระนอม
3. ชว่ ยให้ผู้สงู อายรุ สู้ กึ วา่ ตนเองยงั มีคณุ ค่าและความสำ�คญั เชน่ เป็นทเ่ี คารพของคนอ่ืนๆ การเป็นสว่ นหนงึ่
และการเปน็ คนส�ำ คญั ของครอบครวั ชมุ ชน และสงั คมเชน่ การใหเ้ กยี รตใิ หว้ าระตา่ งๆ การเชญิ รบั ประทาน
อาหาร เป็นต้น
4. ระมัดระวังคำ�พูดหรือการกระทำ�ที่แสดงออกต่อผู้สูงอายุ ให้ความสำ�คัญกับอารมณ์ความรู้สึกของ
ผ้สู ูงอายพุ อๆ กบั เน้ือหาทีต่ อ้ งการสอ่ื สาร ระวังการใช้ค�ำ พูดรุนแรงทอ่ี าจทำ�ร้ายผสู้ งู อายโุ ดยไมต่ ้งั ใจ
5. ลกู หลาน หรอื ผดู้ แู ล ชักชวนพูดคยุ และรบั ฟังถึงสว่ นดี หรือเหตุการณ์ประทบั ใจในอดีตของผอู้ ายอุ ย่าง
เตม็ ใจ ทำ�ใหผ้ สู้ งู อายรุ ้สู กึ วา่ ยังมีคนชน่ื ชมในชีวิตของตนเอง
แนวทางการช่วยเหลือผสู้ ูงอายเุ มือ่ กลัวการถกู ทอดทิ้ง
1. บคุ ลากรสาธารณสุขต้องดูตามสถานการณ์
2. ถา้ ข้างบา้ นมคี นอยใู่ หผ้ ู้สงู อายไุ ปหาเพอื่ นบา้ น พดู คุยกบั เพ่อื นบา้ น พยายามใหผ้ สู้ งู อายลุ ดอตั ตาในตวั ให้
มากท่ีสุด
3. สอนวิธกี ารตงั้ คำ�ถามกบั ผสู้ งู อายุ เพอ่ื ใหเ้ ป็นหัวข้อเรื่องในการพูดคุยสนทนากบั ผอู้ ่นื
4. แนะนำ�เรอ่ื งวิธกี ารพูดคยุ อยา่ งสร้างสรรคไ์ ร้การตำ�หนิ
5. ฝึกทักษะผูส้ ูงอายุ ในเรื่อง การเป็นนักฟงั ท่ดี ี การเปน็ นกั พูดคุยอยา่ งสรา้ งสรรค์ และการเปน็ ท่ปี รึกษาให้
กับผอู้ น่ื
6. ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุทำ�กิจกรรมที่สนใจต่างๆตามความเหมาะสม เช่น การจักสาน การเล่นหมากรุก
การออกกำ�ลังกาย การปลูกตน้ ไม้ เปน็ ตน้
แนวทางการชว่ ยเสริมสรา้ งกำ�ลงั ใจเมือ่ ผสู้ ูงอายุจูจ้ ี้ขีบ้ ่น
1. รับฟังผสู้ ูงอายุทข่ี ้ีบ่นในชว่ งแรกเพ่ือเปดิ โอกาสให้ไดร้ ะบายความไม่สบายใจหรอื ความขบั ข้อง
2. ลกู หลานต้องเปน็ ฝ่ายชวนคยุ หม่ันซักถามเพื่อใหผ้ ู้สงู อายุตอบค�ำ ถามและลมื เรอื่ งตา่ งๆ ที่บน่ ว่าไป
3. บุคลากรสาธารณสุขต้องสอนเทคนิคการตั้งคำ�ถามให้กับลูกหลาน โดยคำ�ถามท่ีดีต้องเป็นคำ�ถามท่ีให้
ผสู้ ูงอายใุ นบา้ นคดิ และตอบเปน็ สิ่งท่ผี ดู้ แู ลอยากรเู้ พือ่ นำ�ไปเปน็ ประเดน็ การคุย หรือต้งั ค�ำ ถาม
คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ ิส�ำ หรบั ผู้สงู อาย”ุ 47
4. ชักชวน หรือ หากิจกรรมให้ผู้สูงอายุทำ� ซ่ึงเป็นงานหรือกิจกรรมท่ีทำ�แล้วเพลิดเพลินไม่หมกมุ่นกับ
ความคิดเดิมๆ อาจเป็นกิจกรรมท่ีชื่นชอบหรือกิจกรรมแปลกใหม่เพ่ือสร้างประสบการณ์แปลกใหม่และ
ดึงความสนใจออกจากเร่ืองท่ีบ่น
5. ไมช่ วนทะเลาะหรอื เกบ็ เรอื่ งทผ่ี สู้ งู อายบุ น่ มาเปน็ อารมณ์ แตพ่ ยายามท�ำ ความเขา้ ใจธรรมชาตขิ องผสู้ งู อายุ
ทีจ่ ะมลี กั ษณะยํ้าคิดยา้ํ ท�ำ และติดอยู่กบั อดตี ไมต่ อบโต้ด้วยอารมณท์ ่ีรุนแรง
รูปแบบการจดั กิจกรรมสุขสงา่ เพื่อช่วยในการเสริมสรา้ งภาพลกั ษณ์
และคุณคา่ ในตนเอง
กจิ กรรมท่ี 1 กลุ่มภาพสะท้อน (Projective Technique Group)
วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้สูงอายุได้แลกเปลย่ี นประสบการณด์ ้านดี หรอื ความภูมิใจในอดตี
2. เพือ่ ให้ผู้สงู อายุไดใ้ ช้จินตนาการเพือ่ ความเพลิดเพลนิ ในยามว่าง
อุปกรณ์ 1. อปุ กรณว์ าดเขียน
การด�ำ เนินกจิ กรรม
1. ผู้น�ำ กล่มุ แบ่งกลุ่มผู้สูงอายุเปน็ กลุ่มขนาด 8-10 คน คละชายหญิงตามความสมคั รใจ
2. ผู้นำ�กลมุ่ ใหส้ มาชิกทกุ คนวาดภาพเรือ่ งราวท่ีเกี่ยวกบั เหตุการณ์ความภาคภูมใิ จในอดตี
3. ใหแ้ ตล่ ะคนน�ำ เสนอผลงานและเลา่ เรอ่ื งราวของตนเองสน้ั ๆ ใหส้ มาชกิ กลมุ่ ฟงั และรว่ มแสดงความคดิ เหน็
ในผลงานแต่ละช้นิ
4. ผนู้ ำ�กลมุ่ สรุปขอ้ คิดการท�ำ กจิ กรรม
กิจกรรมที่ 2 ข้อดีฉันมีอยู่
วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายเุ กิดความตระหนักในคุณคา่ ของตนเอง
2. เพือ่ ใหผ้ สู้ ูงอายุเกิดความรู้สึกทด่ี ตี ่อตนเอง
อุปกรณ์ 1. กระดาษขนาด A 4
2. ปากกา/ดนิ สอสี
การดำ�เนนิ กิจกรรม
1. แจกกระดาษขนาด A 4 ให้ผสู้ งู อายุแตล่ ะคน ส่งั ใหพ้ บั ครงึ่ กระดาษ
2. ให้วาดภาพใบหน้าของตนเองอย่ตู รงกลางหน้ากระดาษทบั เส้นครงึ่ แบ่งที่พบั เอาไวเ้ ทา่ ๆ กนั
3. ทางซีกซ้ายของหน้ากระดาษให้เขียนข้อดีของตนเองท่ีเป็นลักษณะภายนอกที่สังเกตได้ชัดเจน เช่น
สวย หล่อ ยิม้ งา่ ย ตาคม ผมดก หวั ลา้ น เปน็ ตน้
4. ทางซีกขวาของหน้ากระดาษให้เขียนข้อดีของตนเองที่ลักษณะภายใน (นิสัย) เช่น ใจดี มีนํ้าใจ
ชอบช่วยเหลือผู้อนื่ ขยัน อดทน เปน็ ต้น
5. จบั คู่เพ่ือนำ�เสนอผลให้สมาชิกคนอน่ื ไดร้ บั รเู้ ร่ืองราวของตนเอง และเปลีย่ นคู่ไปเร่อื ยๆ
6. ผ้นู �ำ กลมุ่ สรุปกิจกรรม
48 คู่มือ “ความสุข 5 มติ สิ �ำ หรับผ้สู ูงอายุ”
กิจกรรมที่ 3 ใจเขาใจเรา
วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหผ้ ู้สูงอายไุ ดฝ้ ึกการสอ่ื สารท้งั ในรูปแบบทีเ่ ปน็ ค�ำ พดู และทา่ ที
2. เพอ่ื ใหผ้ ูส้ งู อายุลดลักษณะยดึ ตนเองเปน็ ศนู ย์กลาง
อุปกรณ์ 1. กระดาษปรูฟ 2. ปากกาเคมี
การดำ�เนินกจิ กรรม
1. ใหผ้ สู้ ูงอายุชว่ ยกนั คดิ ใคร่ครวญในประเด็นดังต่อไปนร้ี ่วมกนั แลว้ ช่วยกนั ออกมาเขียนใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ
นิสัยท่ไี มพ่ ึงประสงคท์ ีม่ ากบั วยั สงู อายุ
แนวทางแกไ้ ขนิสยั ทีไ่ ม่พึงประสงค์
2. ทุกคนร่วมกนั อภิปรายและเล่าประสบการณ์
3. ผ้นู ำ�กล่มุ สรปุ กจิ กรรม
กจิ กรรมที่ 4 สูงวยั อาสา
วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้ผสู้ งู อายไุ ดม้ โี อกาสชว่ ยเหลอื กันเอง
2. เพื่อใหผ้ สู้ ูงอายุไดม้ ีโอกาสช่วยเหลือสงั คม
3. เพอื่ ใหผ้ สู้ งู อายุได้เกิดความภาคภูมใิ จที่ไดช้ ว่ ยเหลือผอู้ ืน่
อุปกรณ์ -
การดำ�เนนิ กจิ กรรม
1. สรา้ งกลุ่มสมาชกิ ผ้สู ูงอายุในชมุ ชนเดยี วกนั โดยใช้ ชมรม หรอื social network ในการสื่อสาร
2. ชกั ชวนกนั ท�ำ กจิ กรรมบ�ำ เพญ็ ประโยชนเ์ พอ่ื สงั คมเปน็ ครง้ั คราวตามแตจ่ ะสามารถนดั หมายกนั ไดส้ ปั ดาห/์
เดอื น ละ 1-2 ครง้ั เชน่ การเขา้ วดั ปฏบิ ตั ธิ รรม การชว่ ยเหลอื กนั เองของผสู้ งู อายใุ นชมุ ชน ชวนผสู้ งู อายใุ น
ชมรมทำ�ความสะอาดชมุ ชน การสอนหนงั สอื เดก็ การสอนอาชพี การถ่ายทอดภมู ปิ ัญหาทอ้ งถิน่ เปน็ ต้น
3. จัดให้มีการเวียนเยี่ยมเยียนสมาชิกสูงวัยท่ีติดบ้านหรือติดเตียงและไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ได้
บ่อยครง้ั ตามความเหมาะสม
4. มีการสังสรรค์ตามวาระโอกาส จัดกิจกรรมที่ลูกหลานได้มีโอกาสเข้าร่วมและแสดงความรักความเคารพ
เช่น งานเทศกาลตา่ งๆ งานปใี หม่ งานประเพณที ้องถิน่ ต่างๆ
5. จัดกิจกรรมนอกสถานท่ี การศึกษาดูงาน ที่น่าสนใจ เช่น โครงการพระราชดำ�ริ โครงการผู้สูงอายุใน
ทอ้ งถน่ิ อืน่ ๆ เปน็ ต้น
กจิ กรรมที่ 5 เทคนิคการฟงั
วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ฝกึ ทกั ษะการฟงั อย่างใสใ่ จ
2. เพื่อฝึกการจับประเดน็ สำ�คัญของเนอ้ื หาเรือ่ งราว ความร้สู ึก และอารมณ์ต่อเรอ่ื งน้นั ๆ
อปุ กรณ ์ 1. หวั ข้อข่าวทีน่ า่ สนใจจากหนังสอื พมิ พ์
2. หัวข้อข่าวส่งเสริมสขุ ภาพ
คู่มอื “ความสขุ 5 มติ ิสำ�หรบั ผ้สู งู อาย”ุ 49
การด�ำ เนินกิจกรรม
1. วิทยากรเกริ่นนำ�ถึงความหมายของการฟังว่า “เทคนิคในการเป็นผู้ฟังที่ดีจะช่วยให้ผู้ฟังเก็บเนื้อหา
รายละเอียดของเร่ืองราวต่างๆ ได้ดี และถ้าฟังอย่างตั้งใจจะช่วยให้รับรู้เรื่อง ความคิด อารมณ์
ความรสู้ กึ ของผู้พดู ในขณะที่พูดดว้ ย”
2. วิทยากรแนะนำ�วธิ ีการฟงั อยา่ งใส่ใจ ว่าจะต้องมีทา่ ทดี งั นี้
2.1 มองประสานสายตาผู้พูด ตั้งใจฟงั มสี ติ และพยายามจับประเดน็ ส�ำ คญั ในส่ิงทผี่ ู้พูดไดพ้ ูด
2.2 ซกั ถามในจดุ ทส่ี งสยั ในประเดน็ ทเ่ี ปน็ ปญั หา ซง่ึ เปน็ การชว่ ยใหผ้ ฟู้ งั ตามทนั ในเรอ่ื งทผ่ี พู้ ดู ก�ำ ลงั พดู อยู่
2.3 การฟงั ทด่ี ตี อ้ งไมแ่ ทรกหรอื ขดั จงั หวะ ยกเวน้ กรณที สี่ งสยั สง่ิ ทผี่ พู้ ดู ก�ำ ลงั พดู อยู่ สามารถถามค�ำ ถามได้
ภายหลงั จากทผ่ี ้พู ดู พูดจบแล้ว
2.4 แสดงความใส่ใจ และมีท่าทีตอบสนองต่อส่ิงท่ีผู้พูดพูดด้วยสีหน้า ท่าทางท่ีเป็นมิตรพร้อมรับฟัง
และช่วยเหลอื
3. วทิ ยากรฝกึ ผสู้ งู อายคุ รงั้ แรกอาจใหผ้ สู้ งู อายจุ บั คกู่ นั จากนนั้ แจกเนอื้ หาขา่ วในหนงั สอื พมิ พแ์ ลว้ ใหผ้ สู้ งู อายุ
ฝึกฟงั และจบั ประเดน็ ของเนอ้ื หาขา่ ว อารมณ์ความรูส้ ึกต่อเหตกุ ารณ์ในข่าว
4. วิทยากรประเมินความสามารถของผู้สงู อายุ จากน้ันเริ่มสูก่ ระบวนการฟังอย่างตั้งใจ ดว้ ยการให้ผ้สู ูงอายุ
จับคูก่ ัน และให้ถ่ายทอดเรือ่ งความภาคภมู ใิ จของตนเองให้ฟัง ประมาณ 5 นาที
5. วิทยากรให้ผูส้ ูงอายมุ าสรุปเรอ่ื งเล่าที่ได้ฟงั คนละ 2 นาที
6. วทิ ยากรสรปุ สาระส�ำ คญั ทต่ี อ้ งฝกึ ทกั ษะการฟงั เนอ่ื งจากการฟงั อยา่ งตง้ั ใจจะชว่ ยใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถเขา้ ใจ
รายละเอียดของเนื้อหาอารมณ์ ความรู้สึกจากเรื่องราวน้ันๆ และสามารถซักถามสิ่งต่างๆที่สงสัยทำ�ให้
การสนทนาลืน่ ไหลไปไดไ้ มน่ า่ เบ่อื โดยเฉพาะผูส้ ูงอายุมกั ถกู ค่อนขอดบอ่ ยๆว่าพูดจาซ้าํ ซาก วกวน ดงั นัน้
ถ้ารจู้ กั ฟังให้ดี และรู้จกั ถามจะทำ�ใหผ้ ู้พูดรับรู้วา่ ผูส้ งู อายุตอบสนองตอ่ เนอ้ื หาสาระท่พี ดู คุยได้ ไมน่ า่ เบอ่ื
กิจกรรมที่ 6 เทคนคิ การถาม
วัตถุประสงค ์ 1. เพอื่ ฝึกทกั ษะการตง้ั ถาม
2. เพ่ือฝกึ การวเิ คราะห์ประเด็นเนือ้ หาทีฟ่ งั และรับรู้อารมณ์ ความรู้สกึ
อุปกรณ์ หวั ขอ้ ข่าวทีน่ า่ สนใจจากหนังสือพิมพ์
การด�ำ เนินกจิ กรรม
1. วิทยากรเกร่นิ น�ำ ถึงประโยชนข์ องการถามดังนี้ “การถามเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้
ผู้ฟังรู้จักสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาความคิดใหม่ ๆ กระบวนการถามจะช่วยขยาย
ทกั ษะความคิดท�ำ ความเข้าใจใหก้ ระจ่างไดข้ อ้ มูลปอ้ นกลับก่อใหเ้ กดิ การทบทวน เกดิ ความเช่อื มโยง
ระหวา่ งความคดิ ต่าง ๆ ส่งเสรมิ ความอยากรู้อยากเหน็ และเกดิ ความทา้ ทาย” และถา้ ในกลมุ่ มีการ
ตง้ั ค�ำ ถามทด่ี ี จะชว่ ยใหเ้ กดิ การคดิ และชว่ ยสรา้ งกระบวนการเรยี นรใู้ หเ้ กดิ ขนึ้ ทงั้ แกผ่ ถู้ ามและผตู้ อบ และ
มสี ว่ นใหเ้ กดิ การอภปิ รายถกเถยี งทผี่ า่ นกระบวนการคดิ อยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละชว่ ยสรา้ งเสรมิ นสิ ยั การเรยี นรู้
ตลอดชีวิต การต้ังคำ�ถามที่ดีจะช่วยสร้างลักษณะนิสัยของการชอบคิดให้กับผู้สูงอายุ ตลอดจนนิสัยใฝ่รู้
ใฝ่เรียนตลอดชวี ิต
2. การนำ�การตั้งค�ำ ถามไปใช้ในการฟังประกอบดว้ ยเทคนคิ ดงั นี้
50 ค่มู อื “ความสุข 5 มิติส�ำ หรับผู้สงู อายุ”
2.1 ให้ผ้สู ูงอายุ 1 คน อ่านข่าวหนังสอื พิมพ์ท่ีนา่ สนใจโดยเปน็ ประเดน็ ท่ีสง่ เสริมสุขภาพกายและจิตใจให้
กบั ผูส้ ูงอายุ/ประเดน็ อ่นื ๆ ที่ผูส้ งู อายสุ นใจ
2.2 เม่ืออ่านจบวิทยากรควรเร่ิมต้นต้ังคำ�ถามในระดับความจำ� หรือ ความเข้าใจ ที่ผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่
สามารถตอบได้อย่างถูกต้องก่อน เม่ือผู้สูงอายุตอบถูก วิทยากรควรแสดงความชื่นชมทันที
ดว้ ยค�ำ พูด หรือใช้ภาษาทา่ ทาง เช่น พยักหนา้ ยมิ้ ให้ ตบมอื สัมผสั หรอื เดินเขา้ ไปหาผู้ทีต่ อบถกู ก่อน
ทจ่ี ะเรมิ่ คำ�ถามในระดับที่ ซับซอ้ นยงิ่ ขน้ึ ท้ังน้วี ิทยากรต้องระลึกไวเ้ สมอวา่ ในกรณีท่ีผู้สูงอายุตอบชา้
หรอื ตอบไมไ่ ด้ ไมค่ วรดหุ รอื ต�ำ หนผิ สู้ งู อายทุ ตี่ อบค�ำ ถามไมถ่ กู ตอ้ ง หรอื ตอบไมต่ รงประเดน็ เนอ่ื งจาก
การตำ�หนิดังกล่าว จะทำ�ให้เกิดความอับอาย และส่งผลให้เกิดความไม่ม่ันใจตามมา ในกรณีเช่นน้ี
วิทยากรควรเปลยี่ นคำ�ถามใหมใ่ ห้งา่ ยข้นึ
2.3 เมื่อผู้สูงอายุประสบความยากล�ำ บากในการตอบคำ�ถาม วิทยากรผู้สอนควรช่วยผู้สูงอายุให้ตอบได้
โดยอาจใช้วิธีการดงั ต่อไปนี้
หยดุ สกั ครู่ใหผ้ สู้ งู อายุได้มเี วลาคดิ หาคำ�ตอบ
แนะคำ�ตอบให้เลก็ นอ้ ย
ทวนค�ำ ถามซํา้
เล่ยี งวธิ ีถามโดยใช้ถอ้ ยคำ�ใหม่ หรอื ใชค้ �ำ ถามทเี่ ขา้ ใจง่ายขึ้น
ต้ังค�ำ ถามเพิม่ เติม
อาจอ่านข่าวหนงั สือพมิ พ์ในชว่ งค�ำ ถามซา้ํ อกี คร้ัง
กระตุ้นใหผ้ สู้ งู อายุต้ังสมมติฐานหรือทายค�ำ ตอบ
ลดระดับค�ำ ถามทีอ่ าจยากเกินไปลง
3. ถามให้ท่ัวถึงทุกคน แนวทางที่ดีท่ีสุด คือ การถามทั้งกลุ่ม ผู้สูงอายุแต่ละคนควรเข้าใจว่า ตนเอง
ถกู คาดหวงั ใหต้ อบค�ำ ถาม ผสู้ อนไมค่ วรแสดงสญั ญาณ หรอื ทา่ ทใี ด ๆ วา่ ผสู้ งู อายคุ นใด ควรตอบค�ำ ถามนน้ั
ผู้สูงอายุจะร่วมมือในการตอบเต็มท่ี เม่ือรู้ว่าตนเองมีส่วนในการเรียนรู้ส่ิงสำ�คัญคือ ต้องทำ�ให้ผู้สูงอายุมี
ความตื่นตัวตลอดเวลา คำ�ถามแต่ละคำ�ถามควรให้ผู้สูงอายุที่มีความสนใจในกลุ่มเป็นผู้ตอบ แต่อย่างไร
กต็ ามไมค่ วรปลอ่ ยใหผ้ สู้ งู อายคุ นใด คนหนง่ึ ผกู ขาดการตอบค�ำ ถามอยเู่ พยี งคนเดยี ว วทิ ยากรควรพยายาม
ปอ้ นค�ำ ถามใหก้ บั ผสู้ งู อายทุ ไี่ มค่ อ่ ยมสี ว่ นรว่ มในกลมุ่ ดว้ ย ในกรณที ไี่ มม่ ผี สู้ งู อายคุ นใดตอบค�ำ ถาม อาจลอง
เรียกชือ่ เปน็ รายบคุ คลและถามผ้สู ูงอายุวา่ ตอ้ งการตอบค�ำ ถามหรือไม่
4. ควรเพมิ่ ระดบั ความยากของค�ำ ถามขน้ึ ตามล�ำ ดบั เพอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายไุ ดพ้ ฒั นาการคดิ ระดบั วเิ คราะหต์ อ่ ไปได้
วทิ ยากรจงึ ตอ้ งพฒั นาการตง้ั ค�ำ ถามอยา่ งเป็นระบบ
5. สร้างบรรยากาศสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ในกลุ่มโดยการใชย้ ุทธศาสตร์การตงั้ ค�ำ ถาม เชน่
สรา้ งบรรยากาศท่ีผอ่ นคลายในกลุ่มและกระตนุ้ กล่มุ ให้คึกคกั ด้วยการตงั้ ค�ำ ถาม
วิทยากรพดู ใหน้ อ้ ยลงแต่ตง้ั ค�ำ ถามให้มากข้ึน
ตั้งคำ�ถามท่ีผูส้ ูงอายสุ ามารถใช้ค�ำ ตอบแบบใชค้ วามคิดเห็นส่วนตวั หรอื ประสบการณเ์ ดมิ ให้มากขน้ึ
ลดค�ำ ถามประเภททต่ี อบแค่วา่ “ใช”่ หรือ “ไมใ่ ช”่
หลีกเลีย่ งการตั้งคำ�ถามหลายค�ำ ถามในเวลาเดียวกัน
อยา่ ปลอ่ ยให้เกดิ ความเงียบในกลุม่
ตงั้ ค�ำ ถามให้เหมาะสมกบั วัยผูส้ ูงอายุ
คมู่ ือ “ความสขุ 5 มติ สิ �ำ หรบั ผู้สงู อาย”ุ 51
52 คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ ิสำ�หรับผูส้ ูงอาย”ุ
บทที่ 7
การจดั กิจกรรมดา้ นที่ 4 : สขุ สว่าง
ด้านที่ 4 : สขุ สว่าง
การจดั กจิ กรรมสขุ สวา่ งในกลมุ่ ผสู้ งู อายจุ ะเนน้ การกระตนุ้ และคงไวซ้ ง่ึ การชะลอความเสอ่ื มของสมอง ในดา้ น
ต่างๆ เช่นการบรหิ ารสมองในแบบต่างๆ
ในกลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ตี่ ดิ สงั คม การชะลอความเสอื่ มของสมองใหไ้ ดผ้ ลดี ตอ้ งฝกึ ในเรอื่ งการรบั รเู้ กย่ี วกบั เหตกุ ารณ์
ในปัจจุบัน การสังเกตส่ิงตา่ งๆ รอบๆ ตัวหรอื ฝกึ จากภาพ ฝกึ การจ�ำ ฝึกการอา่ น ฝึกการเขียน และฝกึ วธิ กี ารบริหาร
สมอง ดังนั้นวิทยากรสามารถเลือกกจิ กรรมได้ตามทีไ่ ดร้ ะบุไวใ้ นคมู่ ือ ประเด็น สำ�คญั คือระยะเวลาในการฝกึ ซงึ่ จะสง่
ผลตอ่ การชะลอความเสอ่ื มของสมองได้ อยา่ งไรกต็ ามมผี ลงานการวจิ ัยระบชุ ัดเจนถงึ ระยะเวลาในการฝกึ ดงั นี้
1. การฝึกแบบรายบคุ คล
การฝึกความจำ�ต้องฝึกอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละไม่น้อยกว่า 30 นาที และใช้ระยะเวลานาน
6 สปั ดาห์ ถึง 16 สัปดาห์
2. การฝกึ แบบกล่มุ
การฝกึ ความจำ�ตอ้ งฝกึ อย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 3 ครงั้ คร้ังละ ไม่นอ้ ยกว่า 45 นาที และใชร้ ะยะเวลานาน
6 สปั ดาห์ ถงึ 16 สัปดาห์
ในกลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ตี่ ดิ บา้ นและตดิ เตยี ง กจิ กรรมจะเนน้ ไปทก่ี ารปอ้ งกนั ไมใ่ หส้ มองเสอื่ มไปมากกวา่ เดมิ และ
ไดจ้ ัดกิจกรรมบรหิ ารสมองทีเ่ ป็นท่างา่ ยๆรว่ มไปกบั กจิ กรรมกระต้นุ การรับรู้ ซ่งึ ข้ึนอยูก่ บั โอกาส และความพร้อมของ
วทิ ยากรในการจดั กจิ กรรม
สาระส�ำ คญั ของการฝึกสมอง
เนอื่ งจากระบบประสาทของผสู้ งู อายุ จะมเี ซลลส์ มอง และเซลลป์ ระสาทจ�ำ นวนลดลง ประสทิ ธภิ าพของสมอง
และระบบประสาทอตั โนมตั ลิ ดลง เปน็ เหตใุ หค้ วามไวและความรสู้ กึ ลดลง การตอบสนองตอ่ ปฏกิ ริ ยิ าตา่ งๆ ลดลง การ
เคลอ่ื นไหว และความคิดช้าลง มกี ารเปล่ียนแปลงการรับรู้ ความคดิ ความจำ� และการตดั สนิ ใจ รวมทง้ั การแกป้ ญั หา
ต่างๆ เสื่อมลง พบว่าผู้สูงอายุจะมีการจดจำ�ลดลง โดยจะมีการสูญเสียความจำ�เฉพาะหน้าก่อน เช่นถ้าให้จำ�ตัวเลข
5 - 7 หลกั ก็ไมส่ ามารถทำ�ได้ ต่อมากจ็ ะมปี ญั หาเร่อื งความจ�ำ ในสง่ิ ท่ีเปน็ ปจั จุบัน เชน่ ขอ้ มลู ทเี่ กดิ ข้นึ ใน 24 ช่วั โมงท่ี
ผา่ นมา เป็นตน้ ขณะท่คี วามทรงจำ�ในเร่อื งอดตี จะยังจำ�ได้ดี
กิจกรรมที่มุ่งเน้นการส่งเสริมการกระตุ้นท่ีเหมาะสมกับความบกพร่องของผู้สูงอายุจะช่วยให้ผู้สูงอายุมีการ
พัฒนาขึน้ ดา้ นการปรับพฤติกรรม อารมณ์ และการท�ำ หนา้ ท่ขี องสมอง โดยกจิ กรรมทใ่ี ช้เป็นกิจกรรมทเี่ กยี่ วกบั การ
รบั รู้ความจรงิ ในกจิ วัตรประจ�ำ วัน (reality orientation) ท่สี ง่ เสริมการจดจำ�ข้อมูลตา่ งๆ เชน่ วนั เวลา สถานที่ บคุ คล
การกระท�ำ กจิ กรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การฝกึ ฝนดา้ นความจ�ำ จะชว่ ยใหผ้ สู้ งู อายยุ งั คงมคี วามจ�ำ ทดี่ ี ชว่ ยชะลอความเสอ่ื ม
และมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ไี ด้ (อรพรรณ แอบไธสง, 2553)
คูม่ อื “ความสุข 5 มติ สิ �ำ หรับผสู้ ูงอาย”ุ 53
กิจกรรมการบริหารสมอง หรือการออกกำ�ลังสมอง (Neurobic Exercise) ซึ่งเกิดจากระบบอย่างหน่ึงท่ีมี
ลกั ษณะเฉพาะเกย่ี วกบั การบรหิ ารสมอง โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั ทงั้ หา้ รว่ มกบั อารมณค์ วามรสู้ กึ ในการท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั
รูปแบบใหม่เพื่อช่วยกระตุ้นเซลล์สมองให้มีสุขภาพดี คิดค้นข้ึนโดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ลอว์เรนซ์ ซีคาทซ์
ศนู ยป์ ระสาทวทิ ยา ประเทศอเมรกิ า (Lawrence CKatz, 1999) โดยมีหลักการวา่ หากมีการเรียนรู้สงิ่ ใหมต่ ลอดเวลา
ไม่ทำ�อะไรซ้าํ ซาก จะเปน็ การกระตนุ้ ใหส้ มองมีการแตกกิ่งก้านสาขาเพม่ิ ข้นึ สมองไม่เสื่อมถอย
การออกก�ำ ลังสมอง หรือ นวิ โรบคิ เอกเซอรไ์ ซด์ จะเป็นกิจกรรมที่เกิดจากการเรยี นรู้สงิ่ ใหมๆ่ ทไ่ี มค่ ้นุ เคย เช่น
การท�ำ กจิ กรรมดว้ ยมอื ขา้ งทไี่ มถ่ นดั การท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั ทไ่ี มเ่ คยท�ำ ถา้ ฝกึ เชน่ นเี้ ปน็ ประจ�ำ จะท�ำ ใหส้ มองแขง็ แรงขน้ึ
มีการแตกแขนงของเซลลป์ ระสาทมากข้นึ ตลอดอายุขัย
การจัดกิจกรรมสุขสว่างจึงจะเน้นการบริหารสมองตามศักยภาพของผู้สูงอายุ โดยแบ่งเป็นกิจกรรมส�ำ หรับ
ผู้สงู อายตุ ิดสงั คม ตดิ บ้าน และกลมุ่ ผู้สูงอายทุ ่ีตดิ เตยี งตามลำ�ดับ
รปู แบบการจัดกิจกรรมสุขสว่างเพือ่ บริหารสมองส�ำ หรับผสู้ ูงอายตุ ิดสงั คม
และติดบา้ น (สขุ พัชรา ซิม้ เจริญ, 2554)
กิจกรรมกลุ่มติดสังคมและติดบ้านกิจกรรมทำ�เช่นเดียวกัน เน้นการทำ�กิจกรรมกลุ่ม เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์
เสรมิ สรา้ งความจ�ำ ความเขา้ ใจการคดิ แบบนามธรรม การสอื่ สาร การใชเ้ หตผุ ล การเรยี นรู้ การวางแผนการแกไ้ ขปญั หา
แตใ่ นกจิ กรรมกลมุ่ ตดิ สงั คม กจิ กรรมท�ำ เปน็ รายกลมุ่ สว่ นกลมุ่ ผสู้ งู อายตุ ดิ บา้ นกจิ กรรมอาจท�ำ เปน็ แบบเดยี่ ว หรอื อาจ
รวมกลุม่ กนั ในบา้ นทใี่ กล้เคยี งกนั ได้
กิจกรรมสง่ เสริมการรับรู้วนั เวลาสถานที่
กิจกรรมที่ 1 ปฏิทนิ มชี ีวิต (กิจกรรมน้ีควรทำ�เป็นประจ�ำ )
เวลาดำ�เนินกจิ กรรม 30 นาที
อปุ กรณ์ ปฏทิ นิ ดินน้ํามนั
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สงู อายุ รบั รู้วนั เวลาและสถานท่ี และกระตุน้ ความจ�ำ
วิธดี �ำ เนินกจิ กรรม
1. ถามผ้สู งู อายวุ ่า วนั นี้ วนั อะไร เดอื นอะไร พ.ศ. อะไร หากผู้สูงอายุ จ�ำ ได้ ให้แจกกระดาษ แตถ่ า้ หากจ�ำ
ไม่ได้ ให้น�ำ ปฏิทินทีม่ วี ันเดือนปี ชัดเจน แสดงให้ผสู้ ูงอายดุ ใู นกลุ่มใหญ่
2. แจกดินน้าํ มัน แลว้ ให้ผู้สงู อายุ ปัน้
สิ่งที่เกดิ ขึ้นในวนั เวลาสถานที่ ณ ปัจจบุ ัน วา่ มกี จิ กรรมอะไรที่ตอ้ งทำ� หรอื ทำ�อะไรอยู่ เชน่ วันน้ีจะ
ทำ�อะไร เวลาอะไร จะทำ�อะไร ท�ำ กบั ใคร หรือส่ิงทปี่ ระทับใจ
ในเดอื นนั้นมีกิจกรรมอะไรทีต่ อ้ งท�ำ บ้าง เช่น วนั นัดไปหาหมอ วันงานประจำ�ปี อาจใช้วิธีเขยี นหรือ
ปั้น และวางไวใ้ นปฏิทินวนั น้นั
3. ให้ผู้สูงอายแุ ตล่ ะค่อู อกมาเลา่ ใหฟ้ งั ถงึ สิ่งทไี่ ดป้ ัน้ และความประทบั ใจท่ีเกิดข้ึน
54 คมู่ อื “ความสุข 5 มิติสำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ”
4. วิทยากรสรุปถึงการรับรู้วันเวลาและสถานท่ี หากเรามีปฏิทิน หรือส่ิงที่จะช่วยในการเตือนไม่ให้ลืม
หากไมม่ ีปฏทิ ินในขณะนนั้ อาจใชว้ ธิ ีการพูดคยุ กบั เพือ่ นหรอื การคดิ วา่ มีเหตกุ ารณ์สำ�คัญอะไรทเี่ กิดข้ึน
ในวนั น้นั บ้างกจ็ ะช่วยให้สามารถนึกถงึ วัน เดือนปไี ด้
กิจกรรมที่ 2 บรหิ ารเวลา
เวลาด�ำ เนนิ กจิ กรรม 30 นาที
อุปกรณ์ กระดาษ A 4 ปากกา
วตั ถปุ ระสงค ์ เพ่อื ใหผ้ ู้สงู อายุ บริหารเวลาใน 1 วนั และกระตนุ้ ความจ�ำ
วธิ ดี ำ�เนินกจิ กรรม
1. แจกกระดาษ A 4 ใหผ้ สู้ ูงอายุ เขียนกจิ กรรมในตารางเวลาใน 1 วัน
2. วาดชว่ งเวลาต้ังแต่ 05.00 น - 16.00 น. เขยี นกจิ กรรมท่ีผู้สงู อายทุ ำ�ใน 1 วัน
3. ให้ผสู้ งู อายเุ ล่าให้กลมุ่ ใหญ่ฟงั
หมวดความจ�ำ
กจิ กรรมท่ี 3 กิจกรรมตอ่ เพลง
เวลาดำ�เนนิ กิจกรรม 30 นาที
อุปกรณ์ -
วตั ถุประสงค์ เพ่ือกระตุ้น ความจำ�
วธิ ดี �ำ เนนิ กิจกรรม
1. วทิ ยากรรอ้ งเพลงทผ่ี ้สู งู อายคุ นุ้ เคย โดยถามผสู้ งู อายวุ า่ เพลงใดที่สามารถรอ้ งได้ ทกุ คน เชน่ ลอยกระทง
แลว้ ให้ผู้สงู อายตุ อ่ เพลงไปเรอ่ื ย ๆ คนละท่อน รอ้ งจนกระทงั่ ครบทกุ คนในกลมุ่
กจิ กรรมท่ี 4 กิจกรรมจ�ำ ภาพผลไม้
เวลาดำ�เนินกิจกรรม 30 นาที
อุปกรณ์ 1. แผน่ ปา้ ยรูปผลไมช้ นิดตา่ งๆ ไมซ่ า้ํ กัน ด้านหลังเขียนเปน็ ตวั เลข 1 - 10 แผ่นละ 1 หมายเลข
2. กระดาษคำ�ตอบ
วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ กระตุน้ ความจ�ำ
วิธดี ำ�เนินกจิ กรรม
1. ใหผ้ สู้ งู อายดุ ภู าพ 2 ภาพ เปน็ ภาพ แผน่ ปา้ ยรปู ผลไมช้ นดิ ตา่ งๆ ไมซ่ า้ํ กนั ดา้ นหลงั เขยี นเปน็ ตวั เลข 1 - 10
แผน่ ละ 1 หมายเลข
2. อธบิ ายกติกาว่าห้ามจดคำ�ตอบลงในกระดาษใหใ้ ช้ความจำ�ของตนเอง
3. สุม่ ผู้สูงอายุข้นึ มา 1 คน บอกว่าถา้ ทายถูกติดตอ่ กนั 10 ภาพได้ 10 คะแนน
4. ชูแผ่นภาพด้านท่ีเป็นตัวเลขขึ้นมาทีละ 2 ภาพแล้วถามผู้สูงอายุคนน้ันว่า “ระหว่างหมายเลข 1 กับ
หมายเลข 2 หมายเลขใดคือ สบั ปะรด?” ผู้สงู อายนุ ัน้ ตอ้ งเดาให้ถูก (ซ่ึงส่วนใหญ่มักจะผิด) ถา้ เดาถูกจะ
ไดเ้ ลน่ ต่อ พลกิ แผ่นป้ายเฉลยให้ผูส้ งู อายทุ กุ คนดู เชน่ ด้านหลงั ของป้ายหมายเลข 1 เปน็ สบั ปะรด จริงๆ
คู่มอื “ความสุข 5 มิตสิ ำ�หรับผ้สู ูงอาย”ุ 55
(ตอนน้ีทกุ คนรแู้ ล้วว่า แผ่นป้ายหมายเลข 1 คือ สบั ปะรด) ถา้ ผู้สูงอายตุ อบผิดให้นัง่ ลงแล้วสุ่มคนใหม่ขน้ึ
มาแทน
5. ชูแผ่นภาพด้านที่เป็นตัวเลขข้ึนมาอีก 2 ภาพแล้วถามผู้สูงอายุคนนั้นว่า “ระหว่างหมายเลข 3 กับ
หมายเลข 4 หมายเลขใดคอื มังคุด?” ผู้สูงอายคุ นนนั้ ต้องเดาใหถ้ ูก (ซง่ึ สว่ นใหญม่ ักจะผดิ ) ถา้ เดาถูกจะ
ไดเ้ ล่นตอ่ ผู้น�ำ กลมุ่ พลิกแผ่นปา้ ยเฉลยให้ผ้สู งู อายทุ ุกคนดู เชน่ ดา้ นหลงั ของป้ายหมายเลข 4 เปน็ มังคุด
จริงๆ (ตอนน้ีทุกคนรแู้ ลว้ วา่ แผ่นปา้ ยหมายเลข 4 คือ มังคุด) ถ้าผูส้ งู อายตุ อบผิดใหน้ ั่งลงแล้วสุ่มคนใหม่
ข้ึนมาแทน
6. ทำ�แบบนี้ไปเรื่อยๆ หากหมดหมายเลขแล้วให้เวียนกลับมาที่หมายเลขเดิมอีกคร้ัง ยกข้ึนมาทีละคู่แล้ว
ให้ทายแบบนี้ไปเร่ือยๆ จนผู้สูงอายุเร่ิมจดจำ�ได้แล้วว่าข้างหลังแผ่นป้ายหมายเลขใดเป็นผลไม้ชนิดใด
(หมายเหตุ : คนแรกๆ อาจจะเสยี เปรยี บเพราะตอ้ งเดาก่อน)
7. เมื่อเห็นว่าผู้สูงอายุเร่ิมจะจดจำ�ได้แล้วให้เขียนคำ�ตอบลงในกระดาษว่าหมายเลข 1 คือผลไม้ชนิดใด
หมายเลข 2 คือผลไม้ชนดิ ใด เช่น
1. สบั ปะรด 2. ทเุ รยี น 3. องนุ่ 4. มงั คุด 5........... จนถงึ 10. นอ้ ยหน่า
กิจกรรมท่ี 5 จำ�ตัวเลข (กิจกรรมนค้ี วรทำ�เปน็ ประจำ�)
เวลาด�ำ เนนิ กิจกรรม 30 นาที
อุปกรณ์ แผน่ ตวั เลข
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื กระตนุ้ ความจ�ำ
วธิ ดี ำ�เนนิ กิจกรรม
1. ให้ผูส้ งู อายุ จ�ำ ตัวเลขดังน้ี
8319
6927
4851
93417
68259
37186
865149
271894
438172
7586943
5219837
1758642
27546398
96375214
72915346
56 คมู่ อื “ความสขุ 5 มิตสิ ำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ”
683259471
419738256
842165973
9417465238
7342917685
3819541762
อา่ นบรรทดั แรกของตวั เลขออกมาดังๆ เพยี งคร้ังเดียว จากนั้นปดิ ตาแลว้ ทอ่ งตวั เลขซ้าํ โดยเรียงลำ�ดบั ให้
เหมือนเดิม แล้ว เลอ่ื นต่อไปเรื่อยๆ ทีละแถว ทำ�ไปเรอื่ ยๆ จนกวา่ จะทอ่ งผิด
2. ชว่ งความทรงจำ�ของชุดลำ�ดบั ทยี่ าวทสี่ ุดเท่าท่ที วนซํ้าได้และอัตราเฉล่ียในคนส่วนใหญ่คือ 6 และ 7 ตัว
3. สอนวิธใี นการจำ� ให้กับผสู้ งู อายุวา่ วธิ ีท่ีจะท�ำ ได้งา่ ย คอื
1. กลมุ่ ละ 3 ตัว
2. ท่องเป็นจังหวะเหมือนสูตรคณู แล้วลองใหท้ อ่ งใหม่ ในตวั เลขชดุ เดิม
กจิ กรรมที่ 6 จนิ ตนาการประสาทสัมผัส
เวลาด�ำ เนนิ กจิ กรรม 30 นาที
อุปกรณ์ 1. หนงั สอื พมิ พ์
2. ภาพอาหาร
3. ซดี เี พลง ทผ่ี ู้สูงอายไุ ม่เคยฟัง
วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ฝึกการรับรูผ้ า่ นประสาทสมั ผสั โดยการจนิ ตนาการ
วธิ ดี ำ�เนินกิจกรรม
1. รูป การรบั รูท้ างสายตา
1.1 ให้ผ้สู งู อายุมองภาพในหนงั สอื พิมพ์แลว้ ให้สังเกต
- มสี ี อะไร บา้ ง
- เปน็ ภาพวาดหรือภาพถ่าย
บอกผสู้ ูงอายุวา่ ไม่ตอ้ งสนใจรายละเอียด ของภาพ
2. รส การรับร้ทู างล้นิ
2.1 ให้ผูส้ งู อายุคิดถงึ อาหารรสเปรี้ยว หวานมีอะไรบ้าง
3. เสียง การรับรทู้ างหู
3.1 เปิดซีดีเพลงแนวทผี่ ูส้ ูงอายไุ ม่เคยฟัง เชน่ เพลงแจส๊ เพลงคลาสสิค
3.2 หลบั ตาแล้วฟังเสียงรอบตวั พยายามนกึ ภาพว่าคนหรอื วตั ถุแต่ละช้ินอยู่ห่างจากตนเองแคไ่ หน
4. สัมผัส การรบั รผู้ ่านทางผิวหนงั
4.1 หลับตาเอื้อมมือไปแตะโต๊ะเบาๆ ไปบนส่ิงของต่างๆ พยายามนึกว่าลักษณะของพ้ืนผิวเป็นอย่างไร
แล้วบอกชื่อสิง่ ทีก่ �ำ ลงั สัมผัสอยู่
หมายเหตุ ถา้ ท�ำ ไม่ได้ หมายถึง ประสาทสมั ผสั ส่วนนนั้ ๆ มีความเสือ่ มถอย มากกวา่ ปกติ จำ�เป็นต้องได้รบั การตรวจ
รักษา
คมู่ อื “ความสขุ 5 มิติส�ำ หรบั ผู้สูงอาย”ุ 57
หมวดการแก้ไขปัญหา (กิจกรรมนีค้ วรทำ�เปน็ ประจ�ำ )
กิจกรรมท่ี 7 กจิ กรรมจัดกลุ่มคำ�
เวลาด�ำ เนนิ กิจกรรม 30 นาที
อุปกรณ์ - บัตรภาพรูปต่างๆ เช่น รปู ผลไม้ รปู ดอกไม้ รปู เครอ่ื งเรอื น
วัตถปุ ระสงค ์ - เพ่อื กระตุน้ ทกั ษะการคิดแก้ไขปัญหา
- การใชก้ ล้ามเนื้อมัดเลก็
- สหสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตาและมือ
วธิ ีด�ำ เนินกจิ กรรม
1. ใหบ้ ตั รค�ำ หลากหลายชนดิ เกย่ี วกบั สง่ิ ของตา่ งๆ โดยค�ำ เหลา่ นนั้ ตอ้ งเปน็ หมวดหมู่ มคี วามยากงา่ ยแตกตา่ ง
กนั อยปู่ ะปนกนั อาจเปน็ รูปภาพหรอื ตัวอกั ษรกไ็ ด้ เชน่ มะลิ ล�ำ ไย ทเุ รยี น กุหลาบ ขนนุ โตะ๊ เก้าอี้ ฯลฯ
วางบนโต๊ะ
2. ให้ผสู้ งู อายุ แบ่งกลุ่มกลมุ่ ละ 3 - 5 คน หรือ จะทำ�เดย่ี วก็ได้แลว้ แตค่ วามเหมาะสม จัดกล่มุ หมวดหมู่
คำ�เหล่านี้ โดยหมวดเดียวกัน ไว้ในกล่องหรือตะกร้าเดียวกัน เช่น หมวดผลไม้ หมวดเคร่ืองเรือน
หมวดดอกไม้ มี 3 ตะกร้า ทัง้ น้ี อาจเพิม่ ความยากโดยการจับเวลา ให้เวลา 10 นาที
3. นำ�คำ�ในกลอ่ งทั้ง 3 หมวด ทั้งหมดมานบั ว่าผสู้ งู อายสุ ามารถจัดหมวดหมู่ได้หมวดละกี่คำ�
กจิ กรรมที่ 8 หมากรกุ จนี (กิจกรรมน้ีควรท�ำ เป็นประจ�ำ )
เวลาดำ�เนินกิจกรรม 30 นาที
อุปกรณ์ - กระดานวงกลม ตัวเดินหมากสนี า้ํ เงนิ จำ�นวน 32 ตวั
วตั ถุประสงค์ - เพือ่ กระตุ้นทักษะการคดิ แกไ้ ขปัญหา
- การใช้กล้ามเนอื้ มัดเลก็
- สหสัมพนั ธ์ระหว่างตาและมอื
วิธดี �ำ เนนิ กจิ กรรม
1. กจิ กรรมนผ้ี ้สู ูงอายุสามารถท�ำ แบบเดีย่ วหรอื กลุม่ กไ็ ด้ โดยกิจกรรมนี้ จะมอี ปุ กรณ์คือ กระดานหมากรกุ
เปน็ วงกลมและมตี วั เดินเป็นหมุดหรอื จะใชฝ้ าน้ําอดั ลมหรอื ฝาขวดก็ได้ จำ�นวนหมาก 32 ตัว
2. เริม่ เดินหมากโดยใชห้ มากสีน้าํ เงินตวั หนึ่งขา้ มหมากสนี ้าํ เงินอกี ตัวหน่งึ เพ่ือกำ�จดั ออกไปใหม้ ากท่สี ดุ เทา่
ท่จี ะมากได้ การเดนิ หมาก ให้เดินในแนวนอน แนวเดยี วเทา่ นัน้
3. หากท�ำ เปน็ กลมุ่ ผสู้ งู อายอุ าจชว่ ยกนั ในกลมุ่ นอกจากนยี้ งั สามารถทำ�แบบเดย่ี วในหอ้ งไปพรอ้ มกนั และดู
ว่าแตล่ ะคนสามารถทำ�ได้ เหลือ จำ�นวนนอ้ ยทสี่ ดุ เท่าใด
58 คู่มอื “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรับผสู้ งู อายุ”
กจิ กรรมท่ี 9 สลบั ตัวอกั ษร (กิจกรรมนี้ควรทำ�เป็นประจำ�)
เวลาดำ�เนนิ กจิ กรรม 30 นาที
อปุ กรณ์ บตั รพยัญชนะ ก - ฮ , สระท้ัง 21 ตัว
วตั ถุประสงค์ เพอ่ื กระตุน้ ทกั ษะการคดิ แก้ไขปญั หา และสหสัมพันธข์ องตาและมือ
วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. แจกบตั รใหผ้ ู้สูงอายุ สลบั คำ� ให้ผ้สู ูงอายสุ ลับแลว้ เรียงให้ถูกต้อง ดังตัวอยา่ ง
้
า ล น ป ำ�
แกไ้ ขเป็น
้
น ำ� ป ล า
2. ในการท�ำ กจิ กรรมสลบั ตัวอักษร อาจใชค้ ำ�ประมาณ 5 - 10 คำ�ตอ่ 1 กจิ กรรม ทงั้ น้ี อาจบอกใบถ้ ึงความ
หมายของค�ำ หากผสู้ งู อายุมคี วามยากลำ�บากในการทำ�
3. ผนู้ �ำ กลมุ่ สรปุ ถงึ กจิ กรรมการคดิ แกไ้ ขปญั หาวา่ เปน็ กจิ กรรมทใี่ ชส้ �ำ หรบั ฝกึ สมอง การคดิ แกป้ ญั หาเปน็ การ
คิดซับซ้อนอย่างหนึ่งซ่ึงเป็นหน้าท่ีของสมองช้ันนอก ถือว่าเป็นทักษะพ้ืนฐานท่ีสำ�คัญท่ีสุดของการคิด
ทั้งมวล การคิดแก้ปัญหาเป็นสิ่งสำ�คัญต่อวิถีการดำ�เนินชีวิตในสังคมของมนุษย์ ที่วุ่นวายสับสนได้
เป็นอย่างดี ผู้ทม่ี ีทักษะการคิดแกป้ ัญหาจะสามารถเผชิญกับ ภาวะสงั คมท่เี ครง่ เครยี ดได้อย่างเข้มแข็ง
คู่มือ “ความสขุ 5 มติ ิสำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ” 59
กิจกรรมท่ี 10 ปน้ั กระดาษด้วยเทา้ (กจิ กรรมน้คี วรท�ำ เป็นประจ�ำ และควรนำ�ไปฝึกต่อทีบ่ า้ นด้วย)
เวลาด�ำ เนินกจิ กรรม 20 นาที
อปุ กรณ์ กระดาษหนังสอื พิมพ์ 1 แผน่
วัตถปุ ระสงค ์ เพอื่ กระตนุ้ สหสัมพนั ธร์ ะหว่างการเคล่ือนไหวกลา้ มเนื้อขาเท้า และตา
เพอื่ ความสมดุลของรา่ งกาย
เพอ่ื กระตุน้ ประสาทรบั ความรู้สึกบริเวณปลายเท้าทง้ั สองขา้ ง
วธิ ดี �ำ เนนิ กจิ กรรม
1. ใหผ้ ้สู งู อายนุ ่งั บนเกา้ อ้มี ีพนกั พิงหลัง
2. แจกกระดาษหนงั สอื พมิ พ์ให้ผู้สูงอายุ คนละ 1 แผ่น และใหผ้ ู้สงู อายุถอดรองเท้าและเอาเท้าเปล่าวางบน
หนงั สือพิมพ์
3. ใหผ้ สู้ งู อายใุ ชเ้ ทา้ ทงั้ สองขา้ งปนั้ หนงั สอื พมิ พใ์ หเ้ ปน็ ลกู กลมๆ และพยายามปนั้ ใหเ้ ปน็ ลกู กลมๆ ทเี่ ลก็ ทส่ี ดุ
4. บอกผสู้ งู อายวุ า่ ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งท�ำ ใหส้ วยงาม เพยี งแตพ่ ยายามท�ำ ใหเ้ ลก็ ลง เทา่ ทท่ี �ำ ได้ เสรจ็ แลว้ ใหว้ ทิ ยากร
ส�ำ รวจลกู บอลกระดา
5. ให้ผสู้ งู อายคุ ล่กี ระดาษทีป่ ัน้ ออกโดยใชน้ ิว้ เท้า และกางออกใหเ้ หมอื นกอ่ นปนั้ กระดาษ
6. ให้ผูส้ ูงอายุพับกระดาษโดยใชน้ ้วิ เทา้ และพับใหเ้ ล็กท่ีสุดเทา่ ท่จี ะเล็กได้
7. ผู้นำ�กลุ่มสรุปว่า กิจกรรมน้ีจะช่วยให้ผู้สูงอายุมีการเคลื่อนไหว กล้ามเน้ือขาและเท้า ตา สัมพันธ์กัน
โดยเฉพาะในคนไข้เบาหวานและความดันโลหิตสูง เส้นเลือดบริเวณปลายเท้าแข็ง การรับรู้ความรู้สึก
ไมด่ นี กั ควรกระตนุ้ ประสาทรบั ความรสู้ กึ ทปี่ ลายเทา้ บอ่ ยๆ และควรน�ำ กลบั ไปฝกึ ตอ่ ทบ่ี า้ น เชน่ ขณะดทู วี ี
กิจกรรมที่ 11 การบรหิ ารสมอง
(กิจกรรมนค้ี วรท�ำ เป็นประจำ�โดยเลอื กวธิ กี ารบริหารในแตล่ ะสว่ น อย่างน้อย 1 ท่า ในการฝกึ )
เวลาด�ำ เนินกิจกรรม 30 นาที
อปุ กรณ์ -
วตั ถุประสงค์ เพอ่ื กระต้นุ ความจ�ำ และเชื่อมการทำ�งานของสมองทง้ั 2 ซกี เข้าดว้ ยกนั
วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. ผนู้ �ำ กลมุ่ ใหผ้ สู้ งู อายจุ ดั แถวตอนเรยี งหนงึ่ หรอื จดั แถวเปน็ วงกลมเพอื่ ชว่ ยใหส้ ามารถเคลอ่ื นไหวรา่ งกายได้
สะดวก เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มในการฝกึ การบรหิ ารสมอง
2. ผู้นำ�กลุ่มสาธิตท่าทางของการบริหารสมอง และให้ผู้สูงอายุทำ�ตาม โดยผู้นำ�กลุ่มชี้แจงว่าท่าทางในการ
บริหารสมองมมี ากมาย โดยผู้นำ�กลมุ่ เลอื กทา่ บริหารสมองตามความเหมาะสมประกอบดว้ ย ทา่ ทาง ดังน้ี
การบรหิ ารสมอง ประกอบด้วย 4 ส่วนไดแ้ ก่
1. การเคลอ่ื นไหวสลับข้าง (cross-over movement)
2. การยืดส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย (lengthening movement)
3. การเคลอ่ื นไหวเพ่อื กระตนุ้ (energising movement)
4. การบริหารรา่ งกายง่าย ๆ (useful exercises)
60 คมู่ ือ “ความสขุ 5 มิตสิ ำ�หรบั ผูส้ งู อาย”ุ
การเคลื่อนไหวสลบั ข้าง (Cross - over Movement)
ทา่ ที่ 1
ทา่ เดนิ ขา้ ม (skipping) ก้าวเทา้ ขวาวางหนา้ เทา้ ซ้าย พรอ้ มกบั ยืน่ แขนท้ัง 2 ข้างออกไปด้านหนา้ มือควํา่ ลง
ขนานกับพื้น แกวง่ แขนท้ัง 2 ขา้ งไปด้านขา้ งล�ำ ตัว ตรงข้ามกับขาทก่ี ้าวออกไป แกวง่ แขนกลับเอามอื ลง เปลีย่ นเอา
เทา้ ซ้ายไปอยู่หน้าเทา้ ขวา แกว่งแขนทั้ง 2 ขา้ งไปทางด้านขวา ท�ำ สลบั ขา้ งแบบเดมิ
ท่าท่ี 2
กำ�มอื ซา้ ย - ขวา ไขวก้ นั ระดับหนา้ อก กางแขนท้ัง 2 ข้าง คอ่ ย ๆ วาดออกห่างจากกันเป็นวงกลม วาดแขน
กลับมาไวท้ รี่ ะดบั หน้าอกเหมอื นเดิม
คมู่ อื “ความสุข 5 มิติสำ�หรับผู้สงู อายุ” 61
ทา่ ที่ 3
ก�ำ มอื 2 ขา้ ง ยน่ื แขนตรงออกไปข้างหนา้ ให้แขนทงั้ คู่ขนานกัน หมนุ แขนทัง้ 2 ข้าง พร้อม ๆ กนั เปน็ วงกลม
ในลักษณะของเลข 8
ท่าท่ี 4
ยืน่ แขนขวาไปข้างหน้า กำ�มือชนู วิ้ โป้งขน้ึ ตามองทน่ี ้ิวโป้ง ศรี ษะตรง และนงิ่ หมนุ แขนเป็นวงกลม 2 วงต่อกัน
คล้ายเลข 8 ขณะท่หี มุนแขน ตามองทน่ี ว้ิ โป้งตลอดเวลา เปล่ยี นแขน ทำ�เหมอื นเดิม
62 คมู่ ือ “ความสุข 5 มิตสิ �ำ หรบั ผสู้ งู อายุ”
การยืดสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย (Lengthening Movement)
ทา่ ที่ 1
ยกมอื 2 ขา้ งดนั ฝาผนงั งอขาดา้ นขวา ขาซา้ ยยดื ตรง ยกสน้ เทา้ ซา้ ยขน้ึ เอนตวั ไปขา้ งหนา้ พรอ้ มกบั หายใจเขา้
ลึก ๆ ชา้ ๆ วางสน้ เท้าลง ตัวตรง หายใจออกช้า ๆ งอขาซ้าย ท�ำ ให้เหมือนขาขวา
ทา่ ที่ 2
นง่ั ไขวห่ ้าง กระดกปลายเทา้ ข้นึ -ลง พรอ้ มกับนวดขาช่วงหัวเข่าถงึ ข้อเทา้ เปล่ยี นขา ทำ�เช่นเดียวกัน
ทา่ ท่ี 3
คูม่ อื “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรับผูส้ งู อายุ” 63
มือขวาจับไหลซ่ า้ ย พร้อมกบั หายใจเข้าช้า ๆ ตามองมอื ขวา ดงึ หัวไหลเ่ ข้าหาตัว พร้อมกับหนั หน้าไปทางขวา
พร้อมกบั ทำ�เสียง “อ”ู ยาว ๆ เปลีย่ นมอื ท�ำ เชน่ เดยี วกนั
ทา่ ที่ 4
ใช้มือทั้ง 2 ข้าง ทำ�ท่ารดู ซบิ ขึน้ หายใจเข้าชา้ ๆ ท�ำ ทา่ รดู ซบิ ลง หายใจออกช้า ๆ
64 คูม่ อื “ความสขุ 5 มิตสิ ำ�หรับผู้สงู อาย”ุ
การเคลื่อนไหวเพือ่ กระต้นุ (Energising Movement)
ท่าที่ 1
ใช้นว้ิ ชีน้ วดขมับเบา ๆ ท้ัง 2 ข้าง วนเป็นวงกลม
ท่าท่ี 2
ใช้นิ้วโป้งกับนิ้วชี้วางบริเวณกระดูกต้นคอ ลูบเบา ๆ อีกมือวางท่ีสะดือ กวาดตาจากซ้ายไปขวา และจาก
พื้นถึงเพดาน เปลย่ี นมือ ท�ำ เชน่ เดียวกัน
ทา่ ท่ี 3
ใช้นิ้วชี้กับนิ้วกลาง แตะเหนือริมฝีปาก อีกมือวางท่ีตำ�แหน่งกระดูกก้นกบ กวาดตามองจากพื้นถึงเพดาน
หายใจเข้า-ออกลึก ๆ เปลี่ยนมือ ท�ำ เชน่ เดียวกนั
คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ สิ �ำ หรบั ผสู้ งู อาย”ุ 65
ท่าที่ 4
ใช้มือนวดกระดูกหลังใบหเู บา ๆ อีกมอื วางทต่ี ำ�แหน่งสะดอื ตามองตรงไปขา้ งหน้าไกล ๆ จนิ ตนาการวาดรปู
วงกลมด้วยจมกู เปล่ียนมือ ทำ�เช่นเดียวกัน
ท่าท่ี 5
ใช้น้วิ ช้กี ับนว้ิ กลาง วางที่ใต้คาง อกี มอื อยทู่ ีต่ �ำ แหน่งเดยี วกับสะดอื หายใจเข้า - ออกลกึ ๆ ชา้ ๆ สายตามอง
จากไกลเข้ามาใกล้ เปลี่ยนมอื ท�ำ เชน่ เดียวกัน
ทา่ ที่ 6
นวดใบหดู า้ นนอกเบาๆ ทง้ั 2 ขา้ ง แลว้ ใชม้ อื ปดิ ใบหเู บา ๆ ท�ำ ซา้ํ ๆ หลาย ๆ ครง้ั ควรทำ�ทา่ นก้ี อ่ นอา่ นหนงั สอื
66 ค่มู อื “ความสขุ 5 มติ สิ ำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ”
ท่าท่ี 7
ใชม้ อื ทัง้ 2 ข้างเคาะทต่ี ำ�แหนง่ กระดูกหนา้ อก
โดยสลับมอื กนั เคาะเบา ๆ
การบริหารรา่ งกายง่าย ๆ (Useful Exercises)
ท่าท่ี 1
นั่งไขว่ห้าง ใช้มือเดียวกันกับข้างที่ยกขึ้นมากุมที่ฝ่าเท้า มือท่ีเหลือจับ
ขอ้ เท้าทยี่ กไว้ หายใจเข้า - ออกลึก ๆ ชา้ ๆ 1 นาที แลว้ วางเท้า 2 ข้างลงบนพื้น
ก�ำ มือเข้าดว้ ยกนั แลว้ ใชป้ ลายล้ินกดที่ฐานฟันลา่ ง ประมาณ 1 นาที จะเป็นการ
ชว่ ยลดความเครยี ด ความอึดอัด และความคบั ข้องใจ เปล่ยี นขา ท�ำ เหมือนเดิม
ทา่ ท่ี 2
ก�ำ มือทัง้ 2 ข้าง ยกขน้ึ ไขว้กนั ในระดับสายตา ตามองมือท่อี ยูด่ ้านนอก
เปลี่ยนมือ ทำ�เช่นเดียวกัน วางมือซ้อนกันที่ด้านหน้า หายใจเข้าลึก ๆ ช้า ๆ
ยกแขนขน้ึ เหนอื ศีรษะ
คมู่ ือ “ความสุข 5 มติ สิ �ำ หรับผูส้ งู อาย”ุ 67
ท่าท่ี 3
ใช้มือทงั้ 2 ขา้ ง ปดิ ตาท่ีลมื อยู่เบา ๆ ใหส้ นิท (อย่าหลบั ตา) จนเห็นเป็นสีดำ�
มืดสนทิ ซักพกั ค่อย ๆ เอามอื ออก เรมิ่ เปดิ ตาใหม่ ควรจะทำ�กอ่ นอา่ นหนงั สอื
ทา่ ที่ 4
ใช้นิว้ มือทง้ั 2 ขา้ ง เคาะเบา ๆ ทว่ั ศีรษะ จากกลางศรี ษะออกมา
ด้านขวาและซา้ ย พรอ้ ม ๆ กัน
ในการฝกึ ทา่ ทางการบรหิ ารสมอง ใหผ้ สู้ งู อายุ ลองฝกึ ท�ำ ซา้ํ ๆ หลายๆครง้ั และท�ำ สลบั กนั ไปในแตล่ ะทา่ ทาง
โดยควรท�ำ ให้ครบทกุ หวั ข้อ อย่างนอ้ ยหวั ขอ้ ละ หนึ่งท่าทาง
ผู้นำ�กลุ่มสรุปถึงประโยชน์ของการบริหารสมองว่าเป็นการช่วยให้สมองแข็งแรงและทำ�งานสมดุลกันท้ัง
2 ซกี รวมทง้ั ชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการเรยี นรใู้ หม้ ากขนึ้ อกี ทง้ั การฝกึ การบรหิ ารสมองเปน็ ประจำ� ยงั ชว่ ย
ชะลอความเส่อื มของสมองได้เปน็ อย่างดี
กจิ กรรมที่ 12 การบริหารสมองด้วยสองมอื
(กิจกรรมนคี้ วรทำ�เป็นประจำ�)
เวลาด�ำ เนินกจิ กรรม 30 นาที
อุปกรณ์ -
วัตถปุ ระสงค์ เพื่อกระตนุ้ ความจ�ำ และเชอ่ื มการทำ�งานของสมองทงั้ 2 ซีกเข้าด้วยกัน
วิธดี ำ�เนินกิจกรรม
1. ผู้น�ำ กล่มุ ชแ้ี จงถงึ ประโยชน์ของการบรหิ ารสมองดว้ ย 2 มือว่าสามารถทำ�ไดง้ า่ ย และไม่ต้องออกแรงมาก
จึงเหมาะส�ำ หรับผูส้ งู อายทุ ่ีมีปัญหาเรอ่ื งการเคล่ือนไหวร่างกาย การเดิน การยืน
68 คู่มอื “ความสขุ 5 มิตสิ ำ�หรับผสู้ งู อายุ”
ทา่ ท่ี 1
ชมู ือข้ึนทง้ั สองขา้ ง มอื ขวายกน้ิวหวั แม่มอื ขน้ึ พับนิ้วที่เหลือท้งั 4 เขา้ มือซ้าย ยกน้วิ ก้อยขน้ึ พบั น้วิ ที่เหลือลง
ท�ำ สลับกนั 2 มอื
ทา่ ที่ 2
ชมู ือขนึ้ ท้งั สองข้าง มือซ้ายวาด สามเหลย่ี มในอากาศ 3 ครัง้ แล้วหยดุ แล้วจากน้นั มอื ขวา วาดสีเ่ หลี่ยมใน
อากาศ 3 คร้งั แลว้ หยุด จากน้นั ทำ�พรอ้ มกันท้งั มือซ้ายและขวาโดยมอื ซ้ายวาดสามเหลย่ี มในอากาศ ส่วนมอื ขวาวาด
สเ่ี หลีย่ มในอากาศ
ทา่ ที่ 3
ชมู อื ข้นึ ท้งั สองขา้ งแบมอื มือขวา ชูนวิ้ โป้งข้นึ แลว้ พับสีน่ วิ้ ทีเ่ หลอื ลง ขณะเดยี วกันมือซ้ายพบั นิ้วโปง้ เขา้ แล้ว
ชนู ้ิวทีเ่ หลือขน้ึ จากน้ันทำ�สลับกนั ท้งั สองมือ
คมู่ อื “ความสขุ 5 มิตสิ �ำ หรับผู้สงู อายุ” 69
ทา่ ที่ 4
กำ�มือทั้งสองขา้ ง และก�ำ แบสลับกัน (ซ้ายก�ำ ขวาแบ, ซ้ายแบ ขวากำ�) จากน้นั ใช้มอื ทก่ี ำ�ชกไปทฝ่ี ่ามอื ท่แี บ
จากน้นั หันไปจับคกู่ ับเพื่อนและสลับกนั ชกมือและแบมอื
ท่าท่ี 5
ยกมือขวาจบั จมูก มือซา้ ยสอดแขนเขา้ ไปในแขนท่ีจับจมูก สลับแขน ทำ�ทัง้ สองมอื
กจิ กรรมท่ี 13 วาดภาพฝกึ สมองด้วยสองมอื
เวลาด�ำ เนินกจิ กรรม 30 นาที
อปุ กรณ์ กระดาษ A4 ปากกา สองสี
วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื กระตุ้นการทำ�งานของสมองสองซีกใหม้ คี วามสมดุล
วิธดี �ำ เนินกิจกรรม
1. แจกกระดาษใหผ้ สู้ งู อายุ คนละ 1 แผน่ โดยให้ผู้สูงอายุวาดภาพในแนวนอน
2. วาดภาพหนาคนครง่ึ หนา ซา้ ยและขวาประกบกัน
3. ก�ำ หนดใหว้ าดภาพดว้ ยมือซ้ายและขวาพรอ้ มๆ กัน
4. ผู้นำ�กลุ่มสรุปว่าการใชม้ อื ข้างท่ไี ม่ถนัดได้ทำ�กิจกรรมจะช่วยการทำ�งานสมองสองซีกให้เกดิ ความสมดุล
70 คู่มือ “ความสุข 5 มิตสิ �ำ หรับผสู้ ูงอายุ”
การจดั กิจกรรมสขุ สว่างสำ�หรับผูส้ งู อายตุ ิดเตียง
ส�ำ หรบั ผสู้ งู อายตุ ดิ เตยี ง กจิ กรรมเนน้ การปอ้ งกนั ไมใ่ หส้ มองเสอื่ มไปมากกวา่ เดมิ ทงั้ นขี้ น้ึ อยกู่ บั พยาธสิ ภาพและ
ความสามารถทางสมองของผูส้ งู อายุ ความสามารถในการสอื่ สาร ประสาทสัมผสั หรอื การรับความรูส้ ึกด้านตา่ งๆ อนั
ไดแ้ ก่ การรบั รส การไดย้ นิ การมองเห็น กจิ กรรมเน้นการรบั รู้วันเวลา สถานที่ ความจำ�เน้นเพยี งสง่ิ ท่ผี ู้สูงอายุคุ้นเคย
เน้นการรับรู้การเคลื่อนไหว (kinesthesia) การใช้กลา้ มเนือ้ มัดเล็ก สหสมั พันธร์ ะหวา่ งตาและมอื
ทง้ั นอ้ี าจตอ้ งมกี ารประเมนิ ในเบอื้ งตน้ กอ่ นวา่ ผสู้ งู อายมุ สี ภาพรา่ งกาย การท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั การรบั รู้ การ
เคลื่อนไหว เป็นอยา่ งไร หลงั จากน้นั จงึ จะให้การฟ้นื ฟูสมรรถภาพผู้สูงอายไุ ด้
กรณีผู้สูงอายุท่ีเป็นอัมพาตครึ่งซีก และสามารถช่วยเหลือตนเองได้บ้าง การฟ้ืนฟูสมรรถภาพสมองสามารถ
ทำ�ได้ หากผสู้ ูงอายุสามารถนงั่ รถเข็นได้ จะต้องให้ผ้สู ูงอายุนั่งรถเขน็ และท�ำ กจิ กรรม แต่หากไมส่ ามารถ น่ังรถเข็นได้
ผ้ชู ่วยเหลอื อาจตอ้ งไปท�ำ กจิ กรรมทีเ่ ตียงของผูส้ งู อายุ
กรณีผู้สงู อายุบางคนอาจมภี าวะถดถอย หรอื Regression การท�ำ กจิ กรรมจะเนน้ กิจกรรมท่กี ระตนุ้ เร่ืองการ
รบั รู้ ทง้ั วันเวลา สถานท่ี การรับรทู้ างด้านวัตถุ การเคลือ่ นไหว ต่างๆ
กรณีผ้สู ูงอายุทีม่ ีความจำ�เสอ่ื ม กจิ กรรมเน้นการรับรวู้ นั เวลาสถานท่ี การพูดคยุ เนน้ เร่ืองชีวิตประจ�ำ วัน
ทงั้ นสี้ ามารถเลือกกิจกรรมการบริหารสมองที่เปน็ ทา่ ง่ายๆ รว่ มไปกับกิจกรรมกระตุ้นการรับรู้ได้
กิจกรรมท่ี 1 การรับรู้วันเวลาและสถานที่
เวลาดำ�เนนิ กิจกรรม 30 นาที
อปุ กรณ์ ปฏิทิน นาฬกิ ากระดาษ
วตั ถุประสงค์ เพ่ือกระตนุ้ การรับร้วู ันเวลาและสถานที่
วธิ ีด�ำ เนนิ กจิ กรรม
1. นำ�ปฏิทนิ ให้ผู้สงู อายุดแู ลถามว่าวนั นี้วันอะไร เวลาอะไร และอย่ทู ไ่ี หน หากผสู้ งู อายุตอบได้ ให้ถามต่อ
2. ให้ผสู้ งู อายเุ ลา่ วา่ ในวนั หนึง่ ๆ ผสู้ งู อายุทำ�อะไรไปบา้ ง พรอ้ มทั้งอาจจะใหด้ ูนาฬิกา นอกจากนี้อาจใชภ้ าพ
กลางวนั กลางคนื ทดแทน โดยกลางวันเปน็ ภาพพระอาทิตยข์ นึ้ กลางคืนเปน็ ภาพพระอาทิตยต์ ก และ
มีดวงดาว ถามวา่ เวลาเหล่านั้นผู้สงู อายทุ ำ�อะไร
3. ให้ผู้ช่วยเหลือสรุปว่าวันนี้คือวันอะไร เวลาอะไร และวันนี้ผู้สูงอายุต้องทำ�อะไรบ้าง จากนั้นให้ดูภาพวัน
ส�ำ คัญทีค่ นุ้ เคย เช่น ภาพการท�ำ บญุ ใส่บาตร ภาพกิจกรรมในวนั ส�ำ คัญต่างๆ เช่น วันพอ่ วนั แม่ ถามผู้สงู
อายวุ ่าวนั เหล่าน้ตี รงกับวนั ที่เท่าไร และมีเหตกุ ารณท์ ส่ี �ำ คัญอะไรบา้ ง
คมู่ อื “ความสุข 5 มติ ิส�ำ หรบั ผูส้ งู อาย”ุ 71
กิจกรรมท่ี 2 หยบิ จบั วตั ถุ
เวลาด�ำ เนินกจิ กรรม 30 นาที
อุปกรณ์ ลกู กลมเสยี บทป่ี ลายไมห้ รอื ตะเกยี บปดิ ปลาย ขนาดตา่ งกนั สตี า่ งกนั ลกู ปดั และไหมพรม ลกู บอลนม่ิ
วตั ถุประสงค์ เพ่ือกระต้นุ การทำ�งานกล้ามเน้ือมัดเลก็ สหสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตาและมอื
วธิ ดี ำ�เนินกจิ กรรม
1. ใหผ้ สู้ งู อายหุ ยบิ ลกู กลมเสยี บทป่ี ลายไมห้ ยบิ ออกและน�ำ ไปใสใ่ นตะกรา้ และน�ำ มาใสก่ ลบั เขา้ ไปทป่ี ลายไม้
2. ปรับทศิ ทางใหห้ ยิบลูกกลมแบบขา้ มแนวกลางล�ำ ตัว
3. เมอื่ ท�ำ ได้ให้ผู้สูงอายุ หยบิ ลูกปัดทม่ี ีขนาดและสตี ่างกนั ร้อยไหมพรม โดยไมใ่ ชเ้ ข็ม ทั้งนีล้ ูกปัดต้องมขี นาด
ไมเ่ ลก็ จนเกนิ ไป ปรบั เปลี่ยนเป็นสีเดยี วกัน ขนาดตา่ งกนั
4. ใหผ้ ู้สูงอายุ บบี ลกู บอลนิ่มหลังจากนั้นใหส้ ลบั มือไปมาขา้ มแนวกลางลำ�ตัว
กิจกรรมท่ี 3 จ�ำ ได้หรอื ไม่
เวลาด�ำ เนินกจิ กรรม 30 นาที
อุปกรณ์ บัตรภาพตัวอย่าง 1 ภาพ และภาพทดสอบอีก 10 ภาพ
วัตถปุ ระสงค์ เพื่อกระตุ้นความจำ�
วิธีด�ำ เนินกจิ กรรม
1. ใหผ้ สู้ งู อายดุ ภู าพตวั อยา่ งในบัตรภาพและจ�ำ ลกั ษณะน้ันไว้
2. ใหผ้ ู้สงู อายุดูภาพแล้วถามผสู้ งู อายวุ า่ เหมือน หรอื ไม่เหมือน
3. เมอ่ื ดภู าพครบทงั้ 10 ภาพแลว้ ใหเ้ ก็บคะแนนไว้ และให้ผสู้ ูงอายุท�ำ ซํ้าอีกคร้ัง
72 คมู่ อื “ความสุข 5 มติ สิ ำ�หรบั ผสู้ งู อายุ”
บทที่ 8
การจัดกิจกรรมด้านที่ 5 : สุขสงบ
ด้านที่ 5 : สุขสงบ (peacefulness)
การจัดกจิ กรรมสขุ สงบจะเน้นการรับรอู้ ารมณท์ เ่ี กิดขน้ึ ของตนเอง วิธีการผ่อนคลายความตงึ เครยี ด การปรับ
ความคดิ และการบรหิ ารจิตเพอื่ ให้เกิดสติ สมาธิ ปญั ญา
ในกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม การรู้จักบริหารจิต ถือเป็นการออกก�ำ ลังจิตท่ีดี จะช่วยท�ำ ให้จิตแข็งแกร่ง การฝึก
กิจกรรมทงั้ 7 กิจกรรมจงึ เหมาะส�ำ หรับผูส้ ูงอายุกลุ่มนี้ อยา่ งไรกต็ ามมงี านวิจัยระบุอยา่ งชดั เจนว่าการฝกึ สติ ฝึกสมาธิ
ใหจ้ ติ ใจจดจอ่ อยกู่ บั สง่ิ ใดสงิ่ หนง่ึ เปน็ ประจ�ำ ทกุ วนั จะชว่ ยใหผ้ ฝู้ กึ สามารถรบั รสู้ ภาวะอารมณ์ ของตนเองไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
สามารถควบคมุ สภาวะอารมณข์ องตนเองในดา้ นลบไดด้ ี และท�ำ ใหเ้ กดิ ความสงบในจติ ใจไดอ้ กี ดว้ ย ทง้ั นกี้ ารจดั กจิ กรรม
ก็ยังขนึ้ อยกู่ บั ความพร้อมของผ้สู งู อายุ ความถนัดหรือจรติ ของวิทยากรผู้สอน แตค่ วรแนะนำ�ใหผ้ ้สู งู อายฝุ ึกบรหิ ารจิต
ดว้ ยการรบั รลู้ มหายใจเขา้ ออก การเกรง็ เหยยี ดกลา้ มเนอ้ื หรอื วธิ กี ารหายใจเพอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายกุ ลมุ่ นก้ี ลบั ไปท�ำ ตอ่ ทบ่ี า้ นได้
ในกลุ่มผู้สูงอายุติดบา้ นและติดเตียง ที่ตอ้ งเผชิญกับความเปลย่ี นแปลง และการสูญเสีย เชน่ การเคลอื่ นไหว
ได้ช้าลง โดดเด่ียว ส้ินหวัง ซึมเศร้า ไร้ที่พึ่ง การช่วยให้ผู้สูงอายุกลุ่มน้ีสามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงเหล่าน้ีได้
ตอ้ งให้มกี ารเปลีย่ นแปลงทศั นะตอ่ การเผชิญความเจบ็ ปว่ ยได้ การฝกึ บรหิ ารจิตดว้ ยการฝึกสติ ฝกึ สมาธิ เปน็ ประจำ�
ทุกวัน จะช่วยใหผ้ ้สู ูงอายุกลมุ่ นมี้ พี ลงั ในตนเอง รู้จกั ตนเอง มคี วามมั่นใจ เข้าใจผสู้ งู อายุด้วยกัน (Lantz et al., 1997)
การฝึกวิธีการหายใจ การฝึกเกร็งเหยียดกล้ามเน้ือ การฝึกสติด้วยการเอาจิตจดจ่ออยู่กับการเคล่ือนไหวจะช่วยให้
ผสู้ ูงอายมุ คี วามผาสกุ ไดต้ ามอตั ภาพได้
สาระสำ�คัญของความสงบสขุ ทางใจ
ความสงบสขุ ทางใจเปน็ ปจั จยั หนงึ่ ขององคป์ ระกอบดา้ น สขุ ของความฉลาดทางอารมณ์ ทชี่ ว่ ยใหก้ ารดำ�เนนิ
ชีวติ ของบคุ คลเป็นไปอย่างมคี วามสุข แบง่ เป็น ความสงบทางใจ และความสุขทางใจ ดงั น้ี
ความสงบทางใจ เป็นสภาวะของจติ และอารมณ์ทีต่ อบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทง้ั ภายในและภายนอก ธรรมชาติของ
อารมณ์มักจะมีท้ังทุกข์และสุขสลับกันตลอดเวลา เม่ือเราทุกข์มักจะคิดว่าตนเองมีแต่ความทุกข์อย่างเดียวหาความ
สุขไมไ่ ดเ้ ลย หากตระหนักรูอ้ ารมณเ์ ข้ามาขจัดความทกุ ข์ได้ดว้ ยตนเอง ก็จะสามารถสรา้ งความสงบสุขได้กบั ตนเองได้
ท่ีสำ�คญั ความสงบทางใจสามารถสรา้ งเสริมให้เกดิ ขนึ้ กับตนเองได้
ความสขุ ทางใจ เปน็ ความปตี ิ เบกิ บาน ท่ดี ำ�รงอยู่ภายในสว่ นลกึ ของจติ ใจเปน็ สงิ่ ทเี่ กิดข้ึนดว้ ยการบรหิ ารจติ
(ให้มสี ติ สมาธิ ปญั ญาอนั สมบูรณ์ ลดอตั ตา กเิ ลส ความเหน็ แกต่ ัวลง) เช่น การทำ�สมาธิ เจรญิ สติ ภาวนา การเรยี นรู้
สงิ่ ใหมๆ่ การออกก�ำ ลงั กาย การบ�ำ เพญ็ ประโยชน์ เปน็ ตน้ เปน็ สงิ่ ทไ่ี มต่ อ้ งซอื้ หาดว้ ยเงนิ เมอื่ เกดิ ความสขุ ทางใจจะมผี ล
ตอ่ การหล่งั สารตา่ งๆ ภายในร่างกายรวมท้งั สารเอนดอรฟ์ นี ส์ (สารสขุ ) และเพ่มิ ภมู ิต้านทานโรค ซึง่ มผี ลดีต่อสุขภาพ
กายและใจ และการอยรู่ ว่ มกนั กบั ผอู้ ่นื อยา่ งมีความสุข
คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ ิสำ�หรับผสู้ งู อายุ” 73
รปู แบบการฝึกกิจกรรมความสุขสงบทางใจ
กิจกรรมความสุขสงบทางใจกจิ กรรมท่ี 1 2 3 และ 5 สามารถใชฝ้ ึกใหก้ บั ผูส้ งู อายุ กลุม่ ตดิ สังคม ติดบ้าน และ
ตดิ เตยี งได้ แตใ่ นกจิ กรรมท่ี 4 ปรบั วธิ คี ดิ พชิ ติ ความเครยี ด และ 6 การเคย้ี วลกู เกด/ผลไมแ้ หง้ ใหว้ ทิ ยากรพจิ ารณาความ
เหมาะสมของผู้สงู อายุ ถา้ มีปญั หาในเรอื่ งการเคล่อื นไหว ความจำ� หรอื การกลืนไมค่ วรให้ฝึกกิจกรรมที่ 4 และ 6
กิจกรรมที่ 1 ฝึกการหายใจทถี่ ูกวธิ เี พือ่ ลดความเครียด
วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ฝกึ วิธกี ารหายใจอย่างถกู วธิ ี
2. เพ่ือบริหารปอด
3. เพอ่ื คลายเครยี ด และหยุดอารมณด์ า้ นลบท่เี กดิ ข้ึน
ขัน้ ตอนการด�ำ เนนิ งาน
1. วิทยากรเกร่ินนำ�ดังน้ี “เม่ือร่างกายเกิดความรู้สึกว่าขาดสมดุล การเรียนรู้ที่จะควบคุมความสมดุลของ
รา่ งกาย จติ ใจ ดว้ ยการตอบสนองสง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ อยา่ งถกู วธิ จี ะชว่ ยใหช้ วี ติ ปรบั ตวั เขา้ สสู่ มดลุ ใหมอ่ กี ครง้ั การ
เรียนรู้ท่ีจะควบคุมความสมดลุ ของรา่ งกายนอกจากการเรยี นรูใ้ นเร่ืองการปรบั สภาพอารมณ์แล้ว การฝกึ
สติ ฝกึ สมาธกิ เ็ ปน็ อกี วธิ หี นงึ่ ทจี่ ะชว่ ยควบคมุ การใชส้ ตปิ ญั ญา และเปน็ อกี หนทางหนงึ่ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ สมดลุ ทาง
จติ ใจ อารมณ์ได้ มหี ลากหลายวธิ ที สี่ ามารถนำ�ไปปฏบิ ตั เิ พ่อื ใหร้ ่างกายเกิดความสมดลุ ทางจิตใจ อารมณ์
ได้ เช่นการฝึกการหายใจทถ่ี ูกวธิ ี การฝกึ การผอ่ นคลายท่มี ีสาเหตุมาจากความเครยี ด ความวา้ วุ่นใจ ทั้งน้ี
เทคนคิ ทจ่ี ะกล่าวถงึ ตอ่ ไปนี้ เป็นเทคนิคในการคลายเครียดทที่ ่านสามารถฝึกเองได้ โดยใชส้ งิ่ ที่อย่รู อบตวั
มาเป็นประโยชน์ และสามารถฝกึ ได้ทุกเวลาทีต่ ้องการ”
2. วทิ ยากรเกรน่ิ น�ำ ถงึ หลกั การฝึกการหายใจอย่างถกู วธิ ี
ตามปกตคิ นทว่ั ไปจะหายใจตน้ื ๆ โดยใชก้ ลา้ มเนอ้ื หนา้ อกเปน็ หลกั ท�ำ ใหไ้ ดอ้ อกซเิ จนไปเลย้ี งรา่ งกายนอ้ ย
กว่าที่ควร โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเวลาเครียด คนเราจะย่ิงหายใจถ่ีและต้ืนมากกว่าเดิม ทำ�ให้เกิดอาการ
ถอนหายใจเปน็ ระยะ ๆ เพ่อื ให้ไดอ้ อกซิเจนมากขนึ้ การฝึกหายใจช้า ๆ ลึก ๆ โดยใช้กล้ามเนื้อกระบงั ลม
บรเิ วณทอ้ งจะช่วยใหร้ ่างกายได้อากาศเขา้ สู่ปอดมากขึน้ เพ่ิมปริมาณออกซเิ จนในเลอื ด และยงั ชว่ ยเพม่ิ
ความแขง็ แรงแกก่ ลา้ มเนอื้ หนา้ ทอ้ งและลำ�ไสด้ ว้ ย การฝกึ หายใจอยา่ งถกู วธิ ี จะท�ำ ใหห้ วั ใจเตน้ ชา้ ลง สมอง
แจม่ ใส เพราะไดอ้ อกซเิ จนมากขนึ้ และการหายใจออกอยา่ งชา้ ๆ จะท�ำ ใหร้ สู้ กึ วา่ ไดป้ ลดปลอ่ ยความเครยี ด
ออกไปจากตัวจนหมดส้ิน
3. วิทยากรนำ�วธิ ีการฝกึ ใหผ้ ู้สูงอายุดังนี้
3.1. นง่ั ในท่าที่สบาย หลับตา เอามือประสานไว้บรเิ วณทอ้ ง คอ่ ย ๆ หายใจเขา้ พร้อม ๆ กับนบั เลข 1 ถึง
4 เป็นจงั หวะช้า ๆ 1...2...3...4... ให้มือรูส้ ึกว่าทอ้ งพองออก
3.2 กลั้นหายใจเอาไวช้ ว่ั ครู นับ 1 ถงึ 4 เป็นจังหวะช้า ๆ เช่นเดยี วกับเม่ือหายใจเข้า
3.3 คอ่ ย ๆ ผอ่ นลมหายใจออก โดยนบั 1 ถึง 8 อย่างชา้ ๆ 1...2...3...4...5...6...7...8...
3.4 พยายามไล่ลมหายใจออกมาใหห้ มด สงั เกตว่าหน้าทอ้ งแฟบลง
3.5 ทำ�ซํา้ อกี โดยหายใจเขา้ ชา้ ๆ กลน้ั ไว้ แล้วหายใจออก โดยชว่ งทห่ี ายใจออกให้นานกว่าชว่ งหายใจเขา้
74 คมู่ อื “ความสุข 5 มติ สิ �ำ หรบั ผู้สงู อาย”ุ
4. วทิ ยากรให้ขอ้ แนะนำ�
4.1 การฝกึ การหายใจ ควรทำ�ตดิ ตอ่ กันประมาณ 4-5 คร้ัง
4.2 ควรฝึกทกุ ครง้ั ทร่ี สู้ กึ เครียด รูส้ กึ โกรธ รสู้ กึ ไมส่ บายใจ หรือฝึกทกุ ครง้ั ทนี่ กึ ได้
4.3 ทุกครั้งที่หายใจออก ให้รู้สึกได้ว่าผลักดันความเครียดออกมาด้วยจนหมด เหลือไว้แต่ความรู้สึกโล่ง
สบายเท่าน้ัน
4.4 ในแต่ละวัน ควรฝึกการหายใจท่ีถูกวิธีให้ได้ประมาณ 40 ครั้ง แต่ไม่จำ�เป็นต้องทำ�ติดต่อในคราว
เดยี วกนั
กิจกรรมท่ี 2 การฝกึ การเกรง็ เหยยี ดกล้ามเน้อื
วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ยดื เหยียดกล้ามเนอ้ื
2. เพอ่ื ให้เกิดการผอ่ นคลายกลา้ มเน้ือ
ข้ันตอนการด�ำ เนนิ การ
1. วทิ ยากรเกรนิ่ น�ำ เรอื่ ง “ความเครยี ด เมอื่ เกดิ ความเครยี ด สมองจะสง่ั ตอ่ มหมวกไตใหห้ ลง่ั ฮอรโ์ มน คอรต์ ซิ อล
มผี ลท�ำ ใหก้ ลา้ มเนอื้ หดเกรง็ ตวั เมอื่ คนเราเกดิ ความเครยี ดรา่ งกายจะตอบสนองทางอารมณไ์ ดแ้ ก่ นอนไม่
หลบั หงดุ หงดิ งา่ ย อารมณแ์ ปรปรวน ไมม่ สี มาธใิ นการท�ำ สง่ิ ใดๆ การตอบสนองทางรา่ งกายพบวา่ จากการ
หดเกง็ ตวั ของกลา้ มเน้อื ท�ำ ใหเ้ กิดอาการเจ็บปวดบริเวณต่างๆ เช่น ปวดต้นคอ ปวดหลัง ปวดไหล่ เปน็ ตน้
ถา้ ความเครยี ดไมไ่ ดร้ บั การแกไ้ ข ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ นานๆ กจ็ ะสง่ ผลเรอ้ื รงั ตอ่ ความเจบ็ ปว่ ยไดแ้ ก่ โรคกระเพาะ
อาหาร โรคหวั ใจ โรคความดนั โลหติ สงู มะเรง็ เปน็ ตน้ ฉะนน้ั อยา่ ปลอ่ ยใหเ้ กดิ ความเครยี ดเรอื้ รงั เมอ่ื เรม่ิ รสู้ กึ
เครยี ดเราตอ้ งรวู้ ธิ กี ารผอ่ นคลาย ดงั นน้ั เราจะฝกึ วธิ กี ารเกรง็ เหยยี ดกลา้ มเนอ้ื เพอื่ ใหเ้ กดิ การผอ่ นคลาย การ
ฝกึ การคลายกล้ามเน้อื จะช่วยให้อาการหดเกรง็ ของกลา้ มเน้ือลดลง ในขณะฝกึ จิตใจจะจดจอ่ อยู่กับการ
คลายกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ทำ�ใหล้ ดการคดิ ฟุ้งซ่าน และวิตกกังวล จติ ใจจะมีสมาธมิ ากขึน้ กว่าเดมิ ดว้ ย”
2. วทิ ยากรควรเลอื กสถานทที่ สี่ งบ ปราศจากเสยี งรบกวน จากนน้ั กลา่ วถงึ วธิ กี ารฝกึ โดยใหผ้ สู้ งู อายนุ ง่ั ในทา่
ทสี่ บาย คลายเสือ้ ผ้าให้หลวม ถอดรองเทา้ หลบั ตา ทำ�ใจใหว้ า่ ง ตั้งสมาธิอยทู่ ่ีกล้ามเนือ้ ส่วนตา่ ง ๆ จากน้ี
ไปจะฝกึ เกรง็ และคลายกล้ามเน้อื 10 กลมุ่ ไดแ้ ก่มือ ใบหน้า คอ ไหล่ หลัง หนา้ ทอ้ ง ก้น ตน้ ขา เทา้
3. วิทยากรกล่าวนำ�วิธีการฝึกดังน้ี ให้ผู้เข้ารับการอบรมถอดแว่นตา รองเท้าออกก่อน และขอให้ทำ�ตามที่
ผม/ดฉิ นั บอกดังตอ่ ไปนี้ (ให้ใชเ้ สียงที่นมุ่ นวล ชวนฟัง)
1. มอื และแขนขวา โดยก�ำ มอื เกร็งแขน แลว้ คลาย
2. มือและแขนซ้าย โดยท�ำ เช่นเดยี วกัน
3. หน้าผาก โดยเลิกค้ิวสงู แลว้ คลาย ขมวดคิ้วแล้วคลาย
4. ตา แก้ม จมูก โดยหลับตาแนน่ ย่นจมูกแล้วคลาย
5. ขากรรไกร ล้ิน รมิ ฝีปาก โดยกดั ฟัน ใช้ล้นิ ดนั เพดานปาก แล้วคลาย เมน้ ปากแนน่ แลว้ คลาย
6. คอ โดยกม้ หน้าใหค้ างจดคอแล้วคลาย เงยหน้าจนสดุ แลว้ คลาย
7. อก ไหล่ และหลัง โดยหายใจเขา้ ลึก ๆ กลั้นไวแ้ ล้วคลาย ยกไหล่สงู แลว้ คลาย
8. หน้าทอ้ ง และก้น โดยแขม่วท้องแล้วคลาย ขมบิ ก้นแล้วคลาย
9. เทา้ และขาขวา โดยเหยียดขา งดนิว้ เทา้ แลว้ คลาย เหยยี ดขา กระดกปลายเทา้ แลว้ คลาย
10. เทา้ และขาซา้ ย โดยท�ำ เช่นเดียวกนั
คู่มือ “ความสขุ 5 มติ ิสำ�หรับผู้สงู อาย”ุ 75
ข้อแนะน�ำ
1. ระยะเวลาที่เกร็งกล้ามเน้ือ ต้องน้อยกว่าระยะเวลาที่คลายกล้ามเน้ือ 1 เท่า เช่นเกร็งกล้ามเน้ือ
5 วนิ าที ผอ่ นคลาย 10 วนิ าที เปน็ ต้น
2. เวลาก�ำ มอื ระวงั อยา่ ให้เล็บจกิ เน้อื ตวั เอง
3. ควรฝึกประมาณ 8-12 คร้ัง เพอื่ ให้เกดิ ความชำ�นาญ
4. เมอื่ ค้นุ เคยกับการผ่อนคลายแล้ว ใหฝ้ ึกคลายกลา้ มเนื้อไดเ้ ลย โดยไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งเกร็งกอ่ น
5. อาจเลือกคลายกลา้ มเน้ือเฉพาะส่วนทเ่ี ป็นปัญหาเทา่ นั้นก็ได้ เชน่ บรเิ วณใบหนา้ ตน้ คอ หลงั ไหล่
เป็นตน้ ไม่จำ�เป็นตอ้ งคลายกล้ามเนือ้ ทงั้ ตัว จะชว่ ยใหใ้ ชเ้ วลานอ้ ยลง และสะดวกมากขึน้
กจิ กรรมท่ี 3 การฟงั เพลง/รอ้ งเพลง (จากเทปเพลงใจใสโลกสวย)
วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ผ่อนคลายความเครยี ด
2. เพอื่ ความสนุกสนาน
อุปกรณ์
1. โทรทัศน์
2. เครื่องเลน่ วิดทิ ศั น์
3. ซดี เี พลงใจใสโลกสวยทจ่ี ดั ท�ำ ขน้ึ โดยเฉพาะโดยผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นดนตรี เพอ่ื ใชป้ ระกอบกจิ กรรมดนตรบี �ำ บดั
ขนั้ ตอนการดำ�เนินกจิ กรรม
1. วทิ ยากรเปดิ เพลงตามลำ�ดบั ดงั นี้
1.1 เรมิ่ เปดิ เพลงใจใส โลกสวย ท่ีมีทว่ งท�ำ นองผอ่ นคลาย เบาสบาย เพอ่ื นำ�เขา้ สูก่ ระบวนการแนะน�ำ ตวั
โดยเนื้อหาในเพลงจะเน้นการสร้างศรัทธาต่อคุณงามความดี ซ่ึงมีจำ�นวนจังหวะต้ังแต่ 60-70 บีท
ต่อนาที และความถ่ีของเสียงต่อรอบอยู่ระหว่าง 50-70 Hertz นาน 5 นาที
1.2 เปดิ เพลง สวสั ดใี จใสทมี่ จี งั หวะเรว็ ขน้ึ เพอ่ื ละลายพฤตกิ รรมของผปู้ ว่ ย ซง่ึ จะเปน็ จงั หวะทเี่ รว็ ขน้ึ และ
จะน�ำ สกู่ ารออกก�ำ ลงั กาย ซง่ึ จะมจี �ำ นวนจงั หวะตง้ั แต่ 70-90 บที ตอ่ นาที และความถข่ี องเสยี งตอ่ รอบ
อยูร่ ะหว่าง 60-100 Hertz พร้อมกับให้ผู้ป่วยอบอนุ่ รา่ งกายก่อนนำ�สู่การออกก�ำ ลงั กาย นาน 5 นาที
1.3 เปิดเพลงอ่ึมๆ ก่ะท่ีใช้ออกกำ�ลังกายแบบ Anaerobic Exercise มีจังหวะท่ีกระตุ้นเร้าร่างกาย
มจี ำ�นวนจังหวะ 100-120 บีทตอ่ นาที และความถขี่ องเสยี งต้งั แต่ 100-110 Hertz เน้ือหาของเพลง
จะปลุกเร้าใหเ้ กดิ ก�ำ ลังใจ พร้อมที่จะตอ่ สู้กับความเจ็บปว่ ย นาน 10 นาที
1.4 เปิดเพลง หัวเราะกันเถอะที่ใช้ออกกำ�ลังกายแบบเร็ว มีท่วงทำ�นองและเนื้อหาที่ชวนลุกข้ึนมาเต้น
ระบำ� มจี ังหวะกระตนุ้ เร้ารา่ งกาย 120 บที ตอ่ นาที และความถีข่ องเสียง 110-120 Hertz เนอื้ หา
ของเพลงจะช้ใี ห้เห็นถงึ ประโยชนข์ องการออกกำ�ลังกาย และการกินอยทู่ ีถ่ ูกวธิ ี นาน 5 นาที
1.5 เรม่ิ เปดิ เพลงผอ่ นคลาย Smile Meditationทมี่ ที ว่ งท�ำ นองผอ่ นคลายเพอื่ ฝกึ สตแิ ละสมาธิ และเพลงที่
มเี นอ้ื หาในการสรา้ งศรทั ธาตอ่ คณุ งามความดี ซง่ึ มจี �ำ นวนจงั หวะตง้ั แต่ 60-70 บที ตอ่ นาที และความถี่
ของเสยี งต่อรอบอยู่ระหวา่ ง 30-60 Hertz มีเสียงแนะนำ�วิธกี ารหายใจในบทเพลง นอกจากนี้จะใช้
ความกงั วานของเสยี ง (Sority) เพือ่ เร้าให้เกิดความรู้สึกจากส่วนลึกของจติ ให้สงบ นาน 10 นาที
76 คู่มือ “ความสุข 5 มิติสำ�หรับผสู้ ูงอาย”ุ
1.6 เปดิ เพลงพรอ้ มภาพเคลอ่ื นไหว ชอื่ เพลงขอใหเ้ ธอสขุ ใจ โดยเพลงจะมที ว่ งทำ�นองผอ่ นคลาย มเี นอื้ หา
ในเรือ่ งการให้อภยั การแบ่งปันความสขุ จากน้นั จะใหบ้ คุ ลากรและผ้ปู ่วยรอ้ งเพลงร่วมกนั เพอ่ื สรา้ ง
สมั พันธภาพซึ่งกันและกนั นาน 10 นาที
2. วิทยากรสุ่มถามความคิดเห็นของผู้สูงอายุต่อกิจกรรมที่จัด และความต้องการบทเพลงเฉพาะที่ผู้เข้ารับ
การอบรมตอ้ งการ
กิจกรรมที่ 4 ปรบั วธิ คี ดิ พิชติ ความเครียด
วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ฝกึ การคิดเชิงบวก
2. เพื่อฝกึ การคดิ แบบสร้างสรรค์
ข้ันตอนการทำ�กจิ กรรม
1. วทิ ยากรบรรยายเรือ่ งความคิดดังน้ี
ความคดิ เป็นตัวการส�ำ คัญทที่ �ำ ให้คนเราเกดิ ความเครียด หากรจู้ กั คิดให้เปน็ กจ็ ะชว่ ยลดความเครยี ดไป
ไดม้ าก
วธิ ีคดิ ทเ่ี หมาะสม ได้แก่
1. คิดในแง่ยดื หยุ่นให้มากขน้ึ
อยา่ เอาแต่เขม้ งวด จบั ผดิ หรือตัดสินผิดถกู ตัวเอง และผอู้ ่นื อยตู่ ลอดเวลา รจู้ กั ผ่อนหนกั เปน็ เบา ลดทฐิ ิ
มานะ รจู้ ักใหอ้ ภัยไม่ถอื โทษโกรธเคอื ง ละวาง ชวี ิตจะมีความสุขมากขึน้
2. คิดอยา่ งมีเหตุผล
อยา่ ดว่ นเชอื่ อะไรงา่ ยๆ แลว้ เกบ็ เอามาคดิ วติ กกงั วล ใหพ้ ยายามใชเ้ หตผุ ลตรวจสอบหาขอ้ เทจ็ จรงิ ไตรต่ รอง
ให้รอบคอบเสียก่อน นอกจากจะไมต่ กเป็นเหยือ่ ให้ใครหลอกได้ง่ายๆ แล้ว ยงั ตัดความวิตกกงั วลได้ดว้ ย
3. คิดหลายๆ แง่มุม
ลองคดิ หลายๆ ดา้ น ทง้ั ดา้ นดี และดา้ นไมด่ ี เพราะไมว่ า่ คนหรอื เหตกุ ารณอ์ ะไรกต็ าม ยอ่ มมที ง้ั สว่ นดแี ละ
ไมด่ ปี ระกอบกันทง้ั น้ัน อย่ามองเพียงดา้ นเดียวให้ใจเป็นทุกข์ นอกจากน้ีควรหดั คิดในมุมมองของคนอ่ืนบ้าง เชน่ สามี
จะรู้สกึ อย่างไร ลกู จะรู้สกึ อยา่ งไร เพ่อื นบ้านจะรู้สกึ อยา่ งไร หรอื ถ้าเราเป็นเขาเราจะรู้สึกอยา่ งไร เปน็ ตน้ ซงึ่ จะชว่ ยให้
มองอะไรได้กวา่ งไกลมากขึ้น
4. คดิ แต่เรอ่ื งทด่ี ๆี
ถ้าคอยคิดถงึ แตเ่ รอ่ื งร้างๆ เร่อื งความล้มเหลว ผิดหวัง หรือเรอื่ งไมเ่ ปน็ สขุ ท้งั หลายก็จะยิง่ เครียดกันไป
ใหญ่ ควรคดิ ถงึ เรือ่ งดีๆ ใหม้ ากขน้ึ เช่น คิดถงึ ประสบการณท์ เ่ี ป็นสขุ ในอดีต ความส�ำ เรจ็ ในชวี ติ ท่ีผ่านมา คำ�ชมเชยที่
ได้รบั ความมีน้ําใจของเพอื่ บา้ น เปน็ ตน้ จะช่วยให้สบายใจมากข้นึ
5. คิดถึงคนอน่ื บ้าง
อยา่ คดิ หมกมนุ่ อยกู่ บั ตวั เองเทา่ นน้ั เปดิ ใจใหก้ วา้ ง รบั รคู้ วามเปน็ ไปของคนอนื่ ๆ เรมิ่ ตน้ งา่ ยๆ จากคนใกลช้ ดิ
ดว้ ยการใสใ่ จชว่ ยเหลอื สนใจเอาใจใสค่ นใกลช้ ดิ เราบา้ ง จากนนั้ กใ็ หห้ นั ไปมองคนอนื่ ๆ รอบๆ ขา้ งทมี่ ปี ญั หาหนกั หนว่ ง
ในชวี ติ บางทที า่ นอาจจะพบว่าปัญหาทท่ี า่ นกำ�ลงั เครียดอยู่นไ้ี ม่หนกั หนาอะไรมากนัก เมื่อเทียบกบั ปัญหาของคนอน่ื
และทา่ นจะรู้สึกดีข้ึน และย่งิ ถ้าไดช้ ่วยเหลอื คนอน่ื ๆ ได้ ก็จะสุขใจเป็นทวีคณู
ใหย้ กตวั อยา่ งการเจบ็ ปว่ ยของผสู้ งู อายใุ นชมุ ชน และใหส้ ะทอ้ นความรสู้ กึ ของแตล่ ะคนวา่ รสู้ กึ อยา่ งไร
ให้ผ้สู ูงอายวุ างแผนการให้การชว่ ยเหลอื ผ้สู งู อายทุ เ่ี จ็บปว่ ยกลมุ่ นี้ พร้อมวิธีการพูดให้กำ�ลงั ใจ
คมู่ อื “ความสุข 5 มิตสิ �ำ หรบั ผู้สูงอาย”ุ 77
กจิ กรรมท่ี 5 ฝกึ จติ ให้นิ่งโดยอยกู่ บั ลมหายใจ
วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ ฝกึ วธิ ีการบริหารจติ หยุดความคิดและอารมณ์ทางลบทเ่ี กดิ ขน้ึ
2. เพือ่ ให้เกิดความเบาสบาย และมปี ระสิทธภิ าพของสมองตอ่ การคดิ แก้ปัญหา
ขั้นตอนและวิธกี าร
1. วทิ ยากรบรรยายดังนี้ “ในช่วงทค่ี นเราไม่สบายใจ จะสงั เกตได้ว่าใจมกั จะคิดฟ้งุ ซา่ นหลายเรอื่ งหรอื คิดวน
เวียนซํ้าๆ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยหาทางออกไม่ได้ เหมือนหลงป่าความคิดของตนเองยังทำ�ให้เกิดความ
รู้สึกเหนื่อยเพราะใจไม่ได้พัก เม่ือเป็นเช่นน้ีเราจึงควรให้ใจเราได้พักบ้างโดยถอยจากการคิดเรื่องต่างๆไว้
ช่ัวคราว แล้วหนั มารับรลู้ มหายใจเขา้ - ออกของตนเอง”
2. ใหผ้ ู้เข้ารบั การอบรม นงั่ ในทา่ ที่สบายๆ หลบั ตา เอามือประสานกันไวท้ ่ีตกั และใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมบอก
กบั ตวั เองว่าช่วง 1 นาทีจากนไี้ ปเราจะหยุดคิดฟ้งุ ซา่ น จะขอรับรู้ลมหายใจเขา้ -ออก เพียงอยา่ งเดยี ว
3. จากนนั้ กใ็ หผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมรบั รวู้ า่ ขณะทเี่ ราหายใจเขา้ จะมลี มหายใจกระทบกบั ปลายจมกู เวลาหายใจ
เขา้ และรบั รูว้ า่ มลี มหายใจออกโดยจับลมหายใจที่กระทบกบั ปลายจมกู ใหร้ ับรลู้ มหายใจ เขา้ - ออก นี้ไป
ตลอดชว่ ง 1 นาที หากในชว่ ง 1 นาที มคี วามคิดอ่นื แทรกเขา้ มา ถา้ รูต้ ัวกใ็ ห้บอกกับตนเองว่าเราขอหยดุ
ความคดิ เร่ืองอนื่ กอ่ น แลว้ หันกลบั มารบั รู้ลมหายใจ เข้า-ออกอยา่ งเดิม
4. ครบ 1 นาที ใหผ้ ้เู ข้ารบั การอบรมลืมตาและให้วทิ ยากรสุม่ ถามผู้เข้ารับการอบรมวา่ 1 นาทที ่ีผา่ นมาหยดุ
ความคดิ ฟุง้ ซา่ นไดห้ รอื ไม่ รู้สกึ สบายหรือไม่
5. วิทยากร กลา่ วสรุปว่า “ในการฝึกเจรญิ สติ กเ็ พื่อใหเ้ ราอยู่กับอารมณท์ เ่ี ปน็ หนง่ึ เดยี ว ถ้าจะอยู่กับความ
วา่ งกใ็ หเ้ ปน็ ความวา่ ง ถา้ จะอยกู่ บั ลมหายใจกต็ อ้ งจดจอ่ อยทู่ ลี่ มหายใจ ถา้ จะอยกู่ บั พทุ -โธ กต็ อ้ งจดจอ่ อยู่
ทพ่ี ทุ -โธ ถา้ จะอยกู่ บั การเคลอ่ื นไหวกใ็ หอ้ ยกู่ บั การเคลอื่ นไหวนนั้ เพอ่ื การปลอ่ ยวางทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ ง ไมเ่ อา
มาเป็นอารมณ์ และการฝกึ เปน็ ประจ�ำ จะทำ�ใหเ้ รารู้สึกดีข้ึน”
กจิ กรรมที่ 6 การท�ำ สมาธิด้วยการเคีย้ วลกู เกด/ผลไมแ้ ห้ง (John Kabat-Zinn; 2002)
วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อฝกึ สติ ให้มคี วามต้ังม่ันแนว่ แน่ตอ่ สิ่งทีก่ �ำ หนด
2. เพอื่ ฝกึ สมาธิ ให้อารมณ์เป็นหน่ึงเดยี วไม่ฟุ้งซา่ น
ขัน้ ตอนการด�ำ เนนิ การ
1. ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมพจิ ารณาลกู เกด/ผลไม้แหง้ ช้นิ เล็กๆ ที่ผสู้ อนหยบิ ให้
2. ผสู้ อน/วิทยากร ให้ผ้เู ขา้ รบั การอบรมหลบั ตา นึกจินตนาการภาพลูกเกดทเ่ี ห็น และบรรยายลกั ษณะของ
ลกู เกด/ผลไมแ้ หง้ ที่เห็นหรือกำ�ลงั ถืออยู่ในมอื วา่ รสู้ ึกอย่างไร รปู รา่ งเป็นอยา่ งไร
3. ใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมลมื ตา และคอ่ ยๆนำ�ลกู เกด/ผลไม้แหง้ ใสป่ าก การเคลอ่ื นไหวใหเ้ คล่อื นไหวมืออยา่ ง
ช้าๆ เพือ่ ใหส้ ตจิ ดจ่ออยทู่ กี่ ารเคลอื่ นไหวของมอื
4. ใหผ้ สู้ อน/วทิ ยากร สงั่ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมหลบั ตา จากนนั้ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมคอ่ ยๆเคย้ี ว และจ�ำ รสชาติ
ครัง้ แรกทีเ่ คีย้ วผลไม้แห้งนัน้ (เป็นการนำ�สติจดจอ่ อย่ทู ่ีลน้ิ ) โดยยงั ไมใ่ หก้ ลืน
5. ให้ผสู้ อน/วทิ ยากร ส่งั ใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การอบรมจดจำ�ลักษณะของลูกเกดในปากวา่ มีเนอื้ หยาบ ละเอียดเพยี ง
ใด โดยผูเ้ ข้ารับการอบรมยังไมต่ ้องพูดอะไร
78 คมู่ อื “ความสขุ 5 มิตสิ ำ�หรับผู้สูงอาย”ุ
6. ใหผ้ สู้ อน/วทิ ยากรสง่ั ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมกลนื สง่ิ ทเ่ี คย้ี วในปากจนละเอยี ด และใหบ้ รรยายรสชาตขิ องผล
ไม้แหง้
7. ผู้สอน/วิทยากร ส่ังให้ผู้เข้ารับการอบรมลืมตาและแลกเปล่ียนความรู้สึกต่อการเคี้ยวลูกเกดในคร้ังนี้กับ
เพื่อนๆ และผูส้ อน
8. ใหผ้ สู้ อน/วทิ ยากรสรปุ ดงั นี้ “สง่ิ ทผี่ เู้ ขา้ รบั การอบรมเปน็ การฝกึ สมาธโิ ดยเอาจติ จดจอ่ อยกู่ บั การเคลอ่ื นไหว
ของมือเมือ่ น�ำ ลกู เกดใสป่ ากชา้ ๆ จากน้ันกเ็ ป็นการนำ�สตจิ ดจอ่ อย่ทู ่ลี ้นิ เพ่ือรบั รส ซงึ่ เปน็ การฝกึ เจรญิ สติ
ในชีวิตประจ�ำ วันที่สามารถน�ำ ไปใช้ได้ จะทำ�ให้มีการเพ่ิมข้อมูลด้านสติปัญญาทางธรรม และสามารถใช้
ข้อมูลสติปญั ญาทางธรรมในความจ�ำ ของสมองทำ�การก�ำ กบั และควบคุมการรับรขู้ ้อมลู ของการรู้สึก การ
นกึ การคดิ การพจิ ารณา การจดจ�ำ รวมทง้ั การกระท�ำ ตา่ งๆทงั้ ทางกาย วาจา ใจในชวี ติ ประจ�ำ วนั ไดอ้ ยา่ ง
มปี ระสิทธิภาพ เปน็ ผลให้เกิดการปฏบิ ตั งิ านและการด�ำ เนนิ ชวี ติ ประจำ�วนั อยา่ งมีคณุ ค่า มีความบริสทุ ธ์ิ
ปราศจากกิเลส และกองทุกข์ พร้อมแนะผู้เข้ารับการอบรมว่าผู้เข้ารับการอบรมควรเจริญสติอย่างน้อย
5 นาทตี ่อครง้ั เพราะการเจรญิ สตจิ ะเปน็ ฐานของปญั ญา”
กิจกรรมท่ี 7 ฝกึ สมาธดิ ว้ ยการเอาจติ จดจอ่ อยูก่ บั การเคล่ือนไหว
วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ฝกึ สติ สมาธิ
2. เพอ่ื ลดความคดิ ฟงุ้ ซ่าน
วิทยากรสาธติ วธิ กี ารฝกึ ตามภาพที่ 1-14
1. เอามอื วางไวท้ ขี่ าท้ังสองขา้ ง... ควํา่ ไว้ 2. เอามือขวาตบที่ตน้ ขา.. ทำ�ช้าๆ ใหร้ ูส้ กึ
ค่มู อื “ความสขุ 5 มิติส�ำ หรบั ผสู้ ูงอาย”ุ 79
3. ต้ังมอื ขวาแบบตะแคงขน้ึ ทำ�ชา้ ๆ ให้รูส้ กึ 4. ยกมอื ขวาข้ึนชา้ ๆ มาทีอ่ ก ทำ�ชา้ ๆ ให้รูส้ กึ
5. ยกมือขวาจากอกลงมาที่หนา้ ขาและยงั ตะแคงมือขึ้น 6. สบั มือขวาลงกบั หน้าขา ท�ำ ชา้ ๆ ใหร้ ูส้ กึ
ท�ำ ช้าๆ ให้ร้สู ึก
80 คมู่ ือ “ความสขุ 5 มติ สิ �ำ หรับผสู้ ูงอาย”ุ
7. เอามือขวาควํ่าลงทห่ี นา้ ขา ใหร้ ูส้ กึ 8. เอามอื ซ้ายไว้ทีข่ าท้งั สองขา้ ง... ควํ่าไว้
9. ตบมือซ้ายท่ีหนา้ ขา ... ให้ร้สู ึก 10. ต้งั มือซา้ ยแบบตะแคงข้นึ ทำ�ช้าๆ ใหร้ ู้สกึ
คมู่ อื “ความสขุ 5 มิตสิ ำ�หรับผู้สงู อายุ” 81
11. ยกมอื ซา้ ยขึน้ ชา้ ๆ มาที่อก ท�ำ ช้าๆ ให้รูส้ ึก 12. ยกมือซา้ ยจากอกลงมาท่ีหน้าขาและยังตะแคงมือ
ข้ึน ท�ำ ช้าๆ ให้ร้สู ึก
13. สับมือซ้ายลงกบั หนา้ ขา ทำ�ช้าๆ ให้รู้สึก 14. ตบมอื ซา้ ยที่หน้าขา ... ให้รู้สึก
หมายเหตุ : กจิ กรรมการฝกึ ความสขุ ทางใจ เปน็ การฝกึ เพอ่ื ให้ลดอัตตาความเป็นตวั ตนของตนเอง ไม่ยดึ ติดกับตวั เอง
กิจกรรมที่ใช้ฝึกความสุขทางใจจึงมีกิจกรรมอีกมากท่ีสามารถลดตัวตนและใฝ่หาความสงบสุข อาทิ
การฝึกปฏิบัติในเร่ืองทาน ศีล ภาวนา การสวดมนต์ การบำ�เพ็ญประโยชน์ การฝึกสติ ฝึกสมาธิ
การละหมาด การไปโบสถ์ เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือฝึกจิตให้เข้มแข็ง ฝึกจิตให้เกิดความปิติ
ความสุขสงบ
82 คมู่ อื “ความสุข 5 มติ ิสำ�หรบั ผู้สงู อาย”ุ
ตัวอย่าง การฝึกโปรแกรมสมาธิแบบ TM (Transcendental Meditation
Program) โดย Maharisha Vedic (2005) ดังนี้
ผสู้ อน/วิทยากร ควรนำ�สวดมนต์กอ่ น
สอนวธิ กี ารหายใจทถ่ี กู วธิ ี
เรมิ่ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมหลบั ตาตงั้ สตอิ ยทู่ ลี่ มหายใจ และเรม่ิ ทำ�สมาธดิ ว้ ยการนำ�จติ จดจอ่ อยทู่ ล่ี มหายใจ
หรือ ตามจรติ ทถี่ นัด อยา่ งน้อย 5 นาที
ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมแผส่ ว่ นกศุ ลหลังทำ�สมาธิ
อาจสอนการทำ�สมาธิต่อด้วยกิจกรรมท่ีน่าสนใจ เช่น การจัดดอกไม้ การวาดภาพ โดยผู้สอน/วิทยากร
ต้องแนะนำ�ให้ผู้เข้ารับการอบรมมีจิตจดจ่ออยู่กับกิจกรรมที่ท�ำ เช่น ขณะจัดดอกไม้ให้มีใจจดจ่ออยู่กับ
การเคลื่อนมอื ไปท่ีดอกไม้ ขณะปักดอกไมใ้ นแจกัน เปน็ ต้น หรือ การลากเส้นด้วยปากกาขณะหายใจเขา้
โดยให้ขีดเสน้ ไปเรื่อยๆ และหายใจออกพรอ้ มหยุดการลากเสน้ เป็นตน้ รวมทัง้ กจิ กรรมอืน่ ๆท่เี หมาะสม
และถูกจรติ ผสู้ อน
คูม่ ือ “ความสขุ 5 มติ สิ ำ�หรบั ผู้สงู อายุ” 83
บรรณานกุ รม
กรมอนามยั . (2553). การดแู ลสุขภาพผู้สงู อายรุ ะยะยาว. พิมพ์ครงั้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตร
แหง่ ประเทศไทย จ�ำ กดั .
กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. (2537). การเสรมิ สร้างการดแู ลตนเองของผสู้ ูงอายุในชุมชน. พิมพค์ รัง้ ท่ี
2. กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์
กองออกกำ�ลังกายเพ่ือสุขภาพ กรมอนามัย. (2552). การทดสอบความพร้อมในการปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันของ
ผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร: องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
คงคา วารี แปลและเรยี บเรียงจาก Judith Jewell . (2549). ฟติ เนสสมอง, บรษิ ัท พิมพด์ ี จำ�กดั , กรุงเทพฯ.
เชดิ เจริญรัมย.์ (2552). เส้นทางความสุข. พิมพค์ รัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สหมิตรพร้ินต้งิ แอนด์ พับลิสซง่ิ จำ�กัด.
พัชรีวัลย์ เกตุแก่นจันทร์ (2542). เล้ียงลูกอย่างไรให้ฉลาด. เอกสารประกอบการสัมมนาโครงการดูแลจิตใจคนใน
ครอบครัว บริษทั ไทยประกันชวี ิต.
ยงยทุ ธ วงศภ์ ิรมยศ์ านต.์ิ (2554). จิตวิทยาแนวพทุ ธ (ตอนที่ 1 และ 2). ค้นหาเมอื่ 4 ธันวาคม 2554. เขา้ ถงึ ได้จาก
http://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=938.
ลกั ขณา สรวิ ัฒน.์ (2544). จติ วิทยาในชวี ติ ประจำ�วนั . กรงุ เทพมหานคร: โอ. เอส. พร้นิ ตง้ิ เฮ้าส์.
วรรณนภิ า บญุ ระยอง และคณะ. (2549). ผสู้ งู อายกุ บั กจิ กรรมบ�ำ บดั ภาควชิ าเทคนคิ การแพทย์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
วรรณภา อรณุ แสง และลดั ดา ด�ำ รกิ ารเลศิ . (2553). การจดั การความรแู้ ละสงั เคราะหแ์ นวทางปฏบิ ตั ขิ องโรงพยาบาล
สง่ เสรมิ สุขภาพตำ�บล: แนวปฏิบัติในการบรกิ ารผสู้ ูงอาย.ุ พิมพ์ครัง้ ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจยั
ระบบสาธารณสขุ (สวรส.)
วทิ ยากร เชยี งกลู . (2550). ความรกั การสร้างสรรค์ และความสขุ . กรุงเทพมหานคร: สายธาร.
ศรีเรือน แก้วกงั วาน. (2538). จิตวิทยาพัฒนาการชวี ิตทกุ ช่วงวัย วยั รุ่น-วัยสูงอาย.ุ พิมพค์ รง้ั ที่ 9. กรงุ เทพมหานคร:
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์
สถาบนั พัฒนบรหิ ารศาสตร์. (2553). รายงานผลการส�ำ รวจความคดิ เห็นของประชาชน เร่อื ง ผู้สงู อายแุ ละความ
หว่ งใยดแู ล. รายงานวนั ที่ 12 เมษายน 2553. ค้นหาวนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2554: เข้าถึงจาก http://nidapoll.
nida.ac.th/main/index.php/th/poll-new/nidapoll-2553/117-7-2553.
สมภพ เรอื งตระกูล. (2547). ตำ�ราจิตเวชผูส้ งู อายุ. พิมพค์ รั้งที่ 1. กรงุ เทพมหานคร: เรือนแกว้ การพิมพ์.
สุจริต สุวรรณชีพ. (2554). ถอดเทปการสัมภาษณ์ประสบการณ์การดแู ลรักษาผูส้ งู อาย.ุ วันท่ี 2 ธนั วาคม 2554.
ณ ห้องประชมุ สำ�นกั พฒั นาสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต.
สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล. (2542). หลักสำ�คัญของเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. พิมพ์คร้ังที่ 2 กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
สขุ พัชรา ซิม้ เจริญ. (2554). บริหารสมองชะลอความเส่ือม. กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพห์ มอชาวบา้ น.
สำ�นักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. (2554). การพัฒนาความสุขของผู้สูงอายุ. เอกสารประกอบการประชุม
กระทรวงสาธารณสขุ . วันที่ 6 มิถนุ ายน 2554. ณ อาคาร 7 ชน้ั 6 กรมสนบั สนุนบริการ.
84 คู่มือ “ความสขุ 5 มิติสำ�หรับผ้สู ูงอาย”ุ
อภิชัย มงคล, วัชนี หัตถพนม, ภัสรา เชษฐ์โชติศักด์ิ, วรรณประภา ชะลอกุล และละเอียด ปัญโญใหญ่. (2544).
การศึกษาดัชนีช้ีวัดความสุขคนไทย. เอกสารประกอบการประชุมวิชากร เรื่อง รู้ได้อย่างไรว่าคนไทยมี
ความสุข. กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ ขอนแกน่ : พระธรรมขันต์ ขอนแก่น.
อมรา สนุ ทรธาดา และสพุ ตั รา เลศิ ชยั เพชร. (2552). การลดลงของครอบครวั สามชว่ งวยั ในสงั คมไทย: นยั เชงิ นโยบาย.
ครอบครวั ในสถานการณเ์ ปลย่ี นผา่ นทางสงั คมและประชากร บรรณาธกิ าร ชาย โพธสิ ติ า และสชุ าดา ทวสี ทิ ธ์
นครปฐม: สถาบันวิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหดิ ล.
อรพรรณ แอบไธสง. (2553). การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการฝึกความจ�ำ ในผู้สูงอายุสมองเส่ือม. สารนิพนธ์
ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบณั ฑิต (การพยาบาลสขุ ภาพจิตและจิตเวช).มหาวทิ ยาลยั มหิดล.
Andrew, F.M. & Whitney, S.B. (1976). Social Indicator of Well-Being : The Development of and Meas-
urement of Perceptual Indicators. New York : Plenum.
Babara Fredrickson. (2003). The Value of Positive Emotions. American Scientist J. (91) : 330 – 335.
Diener, Ed. (1984). Subjective well-being Psychological Bullentin. 95: 542-575.
John Kabat-Zinn. (2002). Munching mindfully: Eating Meditation. (on line). Available in http://www.
interluderetreat.com/meditate/eating.htm. [searh on 4 December 2002]
Lawrence C.Katz. & Manning Rubin (1999) Keep Your Brain Alive, Workman Publishing Company,
New York.
Lyubommirsky; S. (2008). The How of Happiness : A Scientific Approach to Getting the Life You Want.
New York: The Penguin Press.
Neugarten, Bernice L. &Associations. (1964). Personality in Middle and Late Life. New York: Atherton
Press.
Seligman, Martin E. P. (2004). “Can Happiness be Taught?”. Daedalus, Spring 2004.
คมู่ อื “ความสขุ 5 มติ ิสำ�หรับผูส้ งู อายุ” 85
รายนามคณะทำ�งาน
โครงการปอ้ งกันปัญหาสุขภาพจิตผ้สู ูงอายุ
1. นายแพทยณ์ รงค์ สหเมธาพฒั น์ อธบิ ดกี รมสขุ ภาพจิต ประธานท่ปี รกึ ษา
2. นายแพทย์เกยี รตภิ มู ิ วงศ์รจิตร รองอธิบดกี รมสขุ ภาพจติ ที่ปรกึ ษา
3. นายแพทยอ์ ิทธิพล สงู แข็ง รองอธบิ ดกี รมสุขภาพจติ ทป่ี รกึ ษา
4. นายแพทยท์ วี ตง้ั เสรี รองอธิบดกี รมสุขภาพจติ ทีป่ รึกษา
5. นายแพทย์สจุ ริต สวุ รรณชพี ท่ปี รกึ ษากรมสขุ ภาพจติ ทป่ี รกึ ษา
6. พระมหาปรกฤษณ์ กนตฺ สีโล วดั ดุสติ วนาราม ทป่ี รึกษา
7. นางสาวรัตนา สำ�โรงทอง ผู้ชว่ ยคณบดี คณะวิทยาลยั ศาสตรส์ ุขภาพ ที่ปรกึ ษา
จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประธาน
8. แพทย์หญิงอมั พร เบญจพลพิทกั ษ์ ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นักพัฒนาสขุ ภาพจติ รองประธาน
สำ�นกั พฒั นาสุขภาพจติ รองประธาน
9. นางสาวอมรากุล อินโอชานนท ์ รองผอู้ �ำ นวยการส�ำ นักพฒั นาสขุ ภาพจติ คณะทำ�งาน
ส�ำ นักพฒั นาสขุ ภาพจติ คณะทำ�งาน
10. นางเสาวลักษณ์ สวุ รรณไมตร ี รองผู้อำ�นวยการสำ�นักพฒั นาสุขภาพจติ คณะท�ำ งาน
สำ�นักพัฒนาสขุ ภาพจติ คณะทำ�งาน
11. นางสาวชิดชนก โอภาสวัฒนา นักสงั คมสงเคราะห์ชำ�นาญการพเิ ศษ คณะท�ำ งาน
สำ�นักพฒั นาสขุ ภาพจิต คณะทำ�งาน
12. นางสาวนันท์นภสั ประสานทอง นักวิชาการสาธารณสขุ ชำ�นาญการ คณะทำ�งาน
ส�ำ นักพฒั นาสขุ ภาพจติ และเลขานกุ าร
13. นางสาวขจติ รตั น ์ ชุนประเสรฐิ นักสงั คมสงเคราะหช์ �ำ นาญการ คณะทำ�งาน
สำ�นกั พฒั นาสขุ ภาพจติ และผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
14. นางธญั ลกั ษณ์ แก้วเมอื ง นกั กจิ กรรมบำ�บดั ชำ�นาญการ คณะท�ำ งาน
ส�ำ นักพฒั นาสขุ ภาพจิต และผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
15. นางประภาพร สงั ขป์ ระไพ นกั วชิ าการสาธารณสุขช�ำ นาญการ
ศูนยส์ ขุ ภาพจิตที่ 3
16. นางวรรณวิไล ภ่ตู ระกลู นกั วิชาการสาธารณสุขช�ำ นาญการพเิ ศษ
ศูนย์สุขภาพจิตที่ 13
17. นางสาวกาญจนา วณชิ รมณีย์ นกั จติ วทิ ยาคลนิ กิ ช�ำ นาญการพิเศษ
สำ�นักพัฒนาสขุ ภาพจติ
18. นางสาวพรรณ ี ภาณวุ ฒั น์สุข นกั วิชาการสาธารณสขุ ช�ำ นาญการ
ส�ำ นักพฒั นาสุขภาพจติ
19. นายวรี ์ เมฆวลิ ัย นกั จิตวิทยาคลินกิ ปฏบิ ตั กิ าร
สำ�นักพัฒนาสุขภาพจิต
86 คู่มอื “ความสุข 5 มติ สิ �ำ หรบั ผู้สงู อายุ”