สรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ให้ร่างกายและจิตใจ 98
การสบู บุหรี่
ควันบุหรี่เป็นแหล่งของสารก่อมะเร็งที่ส�ำคัญท่ีสุดของมนุษย์
ในบุหร่ี 1 มวน เม่ือเกิดการเผาไหม้จะท�ำให้เกิดสารเคมีมากกว่า 7,000
ชนดิ และมกี ว่า 70 ชนดิ เปน็ สารก่อมะเรง็ โดยพบว่า บุหรีเ่ ปน็ สาเหตขุ อง
มะเร็ง 12 ชนิดในมนุษย์ และพบว่าคนไทยเสียชีวิตจากโรคท่ีเกิดจาก
ควันบุหร่ปี ลี ะ 54,512 คน ได้แก่ มะเร็งหลอดลมและปอด โรคปอดอุดก้ัน
เร้ือรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็งอ่ืนๆ โรคหลอดเลือดสมอง
และความผิดปกติของระบบหายใจเร้ือรังอ่ืนๆ โดยแต่ละคนป่วยหนัก
เฉล่ีย 3 ปีก่อนเสียชีวิต และอายุส้ันลง 18 ปี นอกจากน้ันยังพบว่า
ควันบุหรี่มือสองเป็นอันตรายต่อคนรอบข้าง โดยเฉพาะเด็กท่ีจะได้รับ
อันตรายและส่งผลต่อสุขภาพได้มากกว่าผู้ใหญ่ ซ่ึงสถานที่ท่ีคนไทย
ได้รบั ควันบุหร่ีมอื สองมากที่สดุ คือ ‘บ้าน’
■ ขอ้ ดขี องการเลิกบุหรี่ บุหร่เี ลิกยาก แต่เลกิ ได้
• 20 นาที ความดันเลือดและชีพจรเต้น คนไทยที่เลิกสูบบุหร่ีไปแล้ว 9 ใน 10 คน
ในระดับปกติ เลิกบุหรี่ได้ด้วยตนเองด้วยวิธกี ารหักดิบ และค่อยๆ
ลดปริมาณการสูบลงเร่ือยๆ นอกจากวิธีหักดิบแล้ว
• 2-12 ช่ัวโมง ระดับคาร์บอนมอนอกไซด์ ยงั มวี ิธกี ารอ่ืนๆ ท่ีช่วยเลิกบุหร่ไี ด้ดังนี้
ในเลือดจะกลับมาสปู่ กติ
1• ไม่สูบบุหร่ีในบ้าน มีผลการวิจัยพบว่า
• 24 ช่ัวโมง ปอดจะเริ่มขจัดเสมหะและ การไม่สูบบุหร่ีในบ้าน สามารถท�ำให้เลิก
สงิ่ สกปรกต่างๆ สบู บุหร่ไี ด้ถึง 28%
• 1 สัปดาห์ เลือดไหลเวียนสู่แขนขาได้ดีข้ึน 2• ใช้ยาชว่ ยเลิกบุหร่ี ท้ังสารทดแทนนโิ คติน
ท�ำใหส้ ามารถออกก�ำลังกายได้เต็มท่ี สมุนไพร การฝังเข็ม การนวดกดจุด
สะท้อนเท้า
• 3-9 เดือน ไม่มีปัญหาการไอ การหายใจ
ดีข้นึ เพราะปอดท�ำงานได้ตามปกติ 3• รับบริการช่วยเลิกบุหร่ีในสถานบริการ
สุขภาพ และสายด่วนเลิกบุหร่ี 1600
• 5 ปี อัตราเส่ียงต่อการเกิดโรคหัวใจขาด
เลือดจะลดลงเหลือคร่ึงหน่งึ 4• รับบริการช่วยเลิกบุหร่ี โดยอาสาสมัคร
สาธารณสขุ ประจำ� หมบู่ า้ น (อสม.) / บคุ คล
• 10 ปี อัตราเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอด ใกล้ชิด / โครงการเชิงรุกอ่ืนๆ นอกสถาน
จะลดลงเหลือคร่ึงหน่งึ บรกิ ารสขุ ภาพ
99
เคล็ดลับเลกิ บุหรี่
7 ไม่
3 หา •1 ไมร่ อชา้ ควรเตรยี มตัวใหพ้ รอ้ ม ทิ้งอุปกรณ์
ท่ีเก่ียวข้องกับบุหรี่ทันที พร้อมเปล่ียน
•1 หาท่ีปรึกษา พยายามขอค�ำ กิจกรรมท่ีมกั ท�ำร่วมกับคนสบู บุหรี่
ปรึกษาคนที่เลิกสูบบุหร่ีส�ำเร็จ
หรือโทรขอค�ำแนะน�ำที่ ศูนย์ •2 ไม่หว่ันไหว เม่ือถึงวันลงมือ ควรต่ืนนอน
บ ริ ก า ร เ ลิ ก บุ ห รี่ ท า ง โ ท ร ศั พ ท์ ด้วยความสดช่ืน ทบทวนถึงเหตุผลท่ีท�ำให้
แหง่ ชาติ โทร. 1600 (โทรฟร)ี ตัดสินใจเลิกสูบบุหร่ี
•2 หาก�ำลังใจ บอกคนใกล้ชิดให้ •3 ไม่กระตุ้น ระหว่างเลิกสูบบุหรี่ หลีกเล่ียง
ท ร า บ ถึ ง ค ว า ม ต้ั ง ใ จ เ ลิ ก สู บ กิจกรรมท่ีท�ำให้อยากสูบ เช่น งดกาแฟ
เพ่ือเปน็ ก�ำลังใจ งดแอลกอฮอล์
•3 หาเป้าหมาย ว า ง แ ผ น แ ล ะ •4 ไม่หมกมุ่น เม่ือรู้สึกเครียดอยากสูบบุหรี่
กำ� หนดวันลงมอื เลกิ สบู โดยอาจ ใหห้ ยุดพกั ผอ่ น คลายเครยี ดโดยการพดู คยุ
เลอื กวนั สำ� คญั แตไ่ มค่ วรกำ� หนด กบั เพ่อื น ระลกึ ถึงคนที่เลกิ สบู บุหรไี่ ด้สำ� เรจ็
วันท่ีหา่ งไกลเกินไป
•5 ไมน่ ง่ิ เฉย หากจิ กรรมท�ำ หรอื ออกกำ� ลงั กาย
เพ่ือช่วยให้สมองปลอดโปร่ง และเพ่ือ
ประสิทธภิ าพของหวั ใจและปอด
•6 ไม่ท้าทาย อย่าคิดว่าการท่ีกลับไปสูบเป็น
คร้ังคราว คงไม่เป็นไร เพราะสูบบุหรี่เพียง
มวนเดียว อาจหมายถึงการหวนคืนไปสู่
การสูบต่อไปอีก
•7 ไม่ท้อแท้ หากเผลอกลับไปสูบ ไม่ได้หมาย
ถึงคุณล้มเหลว อย่างน้อยคุณได้เรียนรู้
จุดอ่อนที่จะปรับปรุงการต้ังใจเลิกสูบคร้ัง
ต่อไปได้ สู้ สู้!
สร้างภมู ิค้มุ กันให้รา่ งกายและจิตใจ 100
■ ความเข้าใจผดิ และความอันตรายของบุหรไี่ ฟฟา้ หลายคนคดิ วา่ การสบู บหุ รไ่ี ฟฟา้ ไมอ่ นั ตราย
เทา่ การสบู บหุ รี่ ซง่ึ เปน็ การเขา้ ใจผดิ
ความเข้าใจผิด ความจริง
• ไมใ่ ชค่ วัน แต่เปน็ ไอน้ำ� • ละอองไอน้�ำจากบุหร่ีไฟฟ้ามีสารเคมีที่เป็นอันตราย
โลหะหนักที่เป็นพิษ และมีฝุ่นขนาดเล็ก PM 1.0
• เปน็ สารปรุงแต่งใหม้ กี ลิ่นหอม และ PM 2.5
• บุหรี่ไฟฟ้าไมม่ นี โิ คติน
• สารเหลา่ นป้ี ลอดภยั เม่อื ใชผ้ สมอาหาร แตไ่ มป่ ลอดภยั
• สบู บุหร่ไี ฟฟ้าไมต่ ิด ส�ำหรับการหายใจเข้าสู่ปอด บางตัวเป็นสารไขมัน
• นโิ คตินไมเ่ ปน็ อันตราย ท�ำใหไ้ ขมนั ค่ังท่ีเน้อื เย่ือปอดได้
• แค่สูบบุหร่ีไฟฟ้า ไม่ท�ำให้หันไป • จริงๆ แล้วบุหรไ่ี ฟฟา้ มนี โิ คติน และแมใ้ นชนดิ ท่ีไมม่ ี
สูบบุหร่ธี รรมดา นโิ คตนิ กย็ งั มสี ารเคมอี ่นื ทเี่ ปน็ อนั ตรายตอ่ ปอด หวั ใจ
และหลอดเลือดอยูด่ ี
• การสบู บุหรไี่ ฟฟา้ ท�ำใหเ้ สพติดนโิ คตินได้เพราะสมอง
ได้รับนโิ คตินภายใน 10 วินาที
• ผสู้ บู บุหรไี่ ฟฟา้ ท่ีเปน็ วัยรุน่ นโิ คตินจะเขา้ ไปขดั ขวาง
การพัฒนาของสมอง ส่งผลต่อสมองในระยะยาว
เปน็ สาเหตใุ หเ้ กิดความผดิ ปกติทางอารมณ์ได้
• จากการวิจัยพบว่า วัยรุ่นท่ีเริ่มต้นสูบบุหรี่ จะหันไป
ทดลองสูบบุหรี่ธรรมดาและสารเสพติดอย่างอ่ืน
เพมิ่ ข้นึ
นวดกดจุดสะท้อนเท้า
ศาสตร์การนวดจุดสะท้อนเท้า ผ่านการวิจัยจนได้รับการยอมรับว่าเป็นหน่ึงใน
การแพทย์ทางเลือกที่ช่วยในการเลิกบุหรี่ที่ประหยัด และไม่ก่อให้เกิดอันตราย
โดยบริเวณเท้าของเราจะมปี ลายประสาทที่เช่ือมโยงกับอวัยวะต่างๆ
การกดจุดที่นวิ้ โปง้ เท้า จุดที่ 1, 3 และ 4 เปน็ การสะท้อนไปยงั สมอง เพ่ือกระตุ้น
ใหร้ บั รูร้ สชาติบุหร่เี ปลี่ยนไป รู้สกึ เหมน็ อยากสบู นอ้ ยลง และใหค้ วามรูส้ กึ ผอ่ นคลาย
นวดจุดสะท้อนเท้าตามทิศทางของลูกศร จุดละ 40 คร้งั เป็นอีกหน่ึงทางเลือก
ท่ีจะช่วยเลิกบุหร่ีโดยวิถีธรรมชาติ สามารถใช้บริการได้ท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ต�ำบล (รพ.สต.) ของจังหวัด
สามารถอ่านและดาวน์โหลดข้อมูลวิธีนวดกดจุดสะท้อนเท้า ต�ำแหน่งและ
ตัวชว่ ยอ่ืนๆ ได้ใน ‘ทางเลือกเพ่อื ลด ละ เลิกบุหร่ี’
http://resource.thaihealth.or.th/media/thaihealth/16195
101
การเสพยาเสพตดิ
ความรู้สึกมึนเมา คึกคะนอง หรือความสุขท่ีได้จาก
สารเคมีต่างๆ ในยาเสพติด จะเกิดข้ึนเพียงช่ัวคราว แต่ส่ง
ผลร้ายท้ังทางร่างกายและจิตใจในระยะยาว ยาเสพติด
มีหลายประเภท ทั้งประเภทกดประสาท กระตุ้นประสาท
หลอนประสาท และออกฤทธิ์ผสมผสาน ซ่ึงล้วนแล้วแต่
ท�ำลายระบบการท�ำงานของร่างกาย ระบบประสาท ส่งผล
ต่อสมอง ท�ำให้อารมณ์แปรปรวน วิตกกังวล ก้าวร้าว
ซมึ เศรา้ หรอื อาจถึงข้ันเสยี ชีวิต
■ ข้อดขี องการเลิกยาเสพติด
• ลดอาการประสาทหลอน สมองทำ� งานดีข้นึ
• สขุ ภาพรา่ งกายและจิตใจดีข้ึน
• ควบคุมตัวเองได้ดีข้ึน
• ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคทางระบบ
ประสาทและโรคทางจิตเวช
เลกิ ยาเสพติดได้ หากต้ังใจจรงิ
สายด่วนยาเสพติด สถาบันธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ โทร. 1165
สรา้ งภมู คิ ุม้ กันใหร้ ่างกายและจติ ใจ 102
สรา้ งภูมคิ ุ้มกันจิตใจ
เม่อื เกดิ การเปล่ยี นแปลงท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ปจั จยั และขอ้ จ�ำกดั ใหมๆ่ ซง่ึ สง่ ผลกระทบตอ่ วถิ ชี วี ติ
ของผู้คนจ�ำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ฉุกเฉิน ภัยธรรมชาติ หรือโรคระบาด หากมี
ภมู คิ มุ้ กนั ดา้ นจติ ใจทด่ี ี จะสามารถทำ� ความเขา้ ใจ ปรบั ตวั และขา้ มผา่ นปญั หาหรอื อปุ สรรคไปได้
ลกั ษณะผลกระทบท่เี กิดขึน้ กบั คนกล่มุ ต่างๆ ในชวี ติ วิถีใหม่
■ กล่มุ ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบหลัก
คือผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
การจ้างงาน และรายได้ที่ลดลงจากรูปแบบ
การใช้ชีวิตท่ีเปล่ียนแปลงไป หรือข้อจ�ำกัด
ในการใชช้ ีวิต
■ กล่มุ ทมี่ คี วามเสย่ี งด้านสขุ ภาพ ■ กล่มุ คนทม่ี คี วามวิตกกังวลง่าย
เช่น ผู้สูงอายุ หรือผู้ท่ีมีโรคประจ�ำตัว หรือมีความเครียดอยู่เดิม เม่ือมีแรง
ซ่ึงอาจเจ็บป่วยไม่สบาย หรือติดเช้ือได้ง่าย กดดันจากความเปล่ียนแปลง จะยิง่ เกิดความ
หากเกิดสถานการณ์เช้ือโรคระบาด เช่น วิตกกังวลมากข้ึน อาจสะท้อนออกมาเป็น
โควิด-19 เปน็ ต้น อาการต่างๆ เช่น หงุดหงิด ควบคุมอารมณ์
ไมค่ ่อยอยู่ นอนไมห่ ลับ เปน็ ต้น
ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนกับแต่ละบุคคลน้ันมีความหนัก-เบาแตกต่างกันไป ซ่ึงอาจก่อให้เกิด
ความเครียดได้ หากมีความเครียดในระดับท่ีรบกวนการด�ำเนินชีวิต ควรหาสาเหตุและจัดการ
ความเครียดเพ่อื ใหส้ ภาพจิตใจดีข้ึน
103
สาเหตุของความเครียด ความวิตกกังวล ความเครียด ความโกรธ ความ
หงุดหงิด ความเศร้าเสียใจ ฯลฯ คือปฏิกิริยาด้านลบ
ขอ้ จ�ำกัดในการใช้ชีวิต ทเ่ี กดิ ขน้ึ หลงั จากเกดิ ความเปลย่ี นแปลงทส่ี รา้ งผลกระทบ
ปญั หาการตกงาน รายได้ลดลง ต่อชวี ิตความเปน็ อยูข่ องผคู้ นแบบไมท่ ันต้ังตัว เราจึงควร
ความไมแ่ นน่ อนและความกังวลในอนาคต มีภูมิต้านทานด้านจิตใจเพ่ือต้ังรับกับสถานการณ์ต่างๆ
ปมปญั หาภายในครอบครัวที่รุนแรงข้ึน ท่ีเข้ามาในชีวิต ก่อนท่ีจะท�ำการรุกเพ่ือแก้ปัญหาหรือ
การสญู เสยี คนใกล้ชดิ หรอื คนรู้จัก สร้างโอกาสใหมๆ่ ท่ามกลางความเปล่ียนแปลง
อาการท่ีสะท้อนถึงความเครยี ด การจดั การความเครียด
อารมณเ์ สียง่าย รู้ตัวว่ามคี วามเครียด
หงดุ หงิดง่ายแล้วรู้สึกไมด่ ีท่ีตัวเองหงดุ หงิด
ความคิดวนเวียน จัดการปัญหาท่ีท�ำให้เครียด เช่น ปัญหา
ไมม่ สี มาธิ เร่ืองการงาน การเงิน สขุ ภาพ ความสมั พนั ธ์
ปวดหวั จั ด ก า ร ป ฏิ กิ ริ ย า ท า ง อ า ร ม ณ์ ท่ี เ กิ ด จ า ก
เจ็บปว่ ย ความเครยี ดอย่างถูกวิธี
กินข้าวไมล่ ง
นอนไมห่ ลับ ■ คนทจ่ี ัดการอารมณ์ได้ดี
สูบบุหรี่ ด่ืมเหล้าเพ่ือระบาย
• ดูแลพ้ืนฐานชีวิต ใส่ใจสุขภาพร่างกาย
ได้แก่ การกิน การนอน ออกก�ำลังกาย
และมชี ่วงเวลาพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ
• ผอ่ นคลายตัวเอง พดู คยุ กับคนที่ไว้ใจได้
ท�ำกิจกรรมท่ีชอบ เช่น การฟังเพลง
ปลูกต้นไม้ ท�ำสมาธิ เปน็ ต้น
■ คนทจี่ ัดการอารมณ์ไมถ่ กู ต้อง
• แสดงปฏิกิริยาทางอารมณ์ เชน่ อารมณ์
เสยี หงดุ หงิด ระบายอารมณ์
• ไมม่ กี �ำลังใจ หมดเรย่ี วแรง ไมท่ �ำอะไร
• ไมด่ แู ลสขุ ภาพพ้นื ฐาน
• ด่ืมเหล้า สูบบุหร่ี มีความเสี่ยงที่จะใช้
สารเสพติด
สรา้ งภูมิค้มุ กันใหร้ ่างกายและจติ ใจ 104
คคนวราอมบเคขร้ายีงสดาไมดา้อรยถา่แงบไง่รบเบา้ าง เมอื่ เกดิ วกิ ฤตในชวี ติ
ส�ำหรับคนท่ีมีความสัมพันธ์ที่ดี จะมี เป็นโอกาสที่ท�ำให้สามารถทบทวนและต้ังค�ำถาม
คนในครอบครัวหรือเพ่ือนฝูงท่ีคอยรักและ ใหญ่ที่ส�ำคัญกับตัวเองได้
เป็นห่วงอยู่ หากเห็นว่าสมาชิกในครอบครัว
มีความเครียด สามารถแบ่งเบาความเครียด ทบทวนชวี ิต สังเกตสิง่ พ้ืนฐานของชวี ิตได้ดีข้ึน
ของเขาตามบทบาทหนา้ ที่ของตัวเอง ดังนี้ หาว่าอะไรเปน็ สิง่ สำ� คัญในชวี ิต
ได้รบั บทเรียนอะไรบา้ ง
■ ลกู สามารถเตบิ โตและดำ� เนนิ ชวี ติ ตอ่ ไปเม่อื วกิ ฤตผา่ นพน้
แบง่ เบาภาระดว้ ยการทำ� กจิ วตั รประจำ� วนั
การตงั้ รบั ชีวติ วถิ ีใหม่
ของตัวเองให้เรียบร้อย ชวนท�ำกิจกรรม
ฟังเพลง หรอื ท�ำงานอดิเรกผอ่ นคลาย ยอมรับในสิ่งท่ีเกิดข้ึน แม้ว่าสถานการณ์ที่เกิดข้ึนจะ
ไมค่ าดคดิ มากอ่ นหรอื ยากลำ� บากเพยี งใด เม่อื ยอมรบั
■ ค่สู มรส ได้เร็ว จะสามารถต้ังรับและปรับตัวได้เร็ว รวมถึง
ชวนออกก�ำลังกาย เดินเล่น อยู่เคียงขา้ ง มองเหน็ ทางออกหรอื การแกไ้ ขปญั หาเชงิ รุกต่อไปได้
รับฟังอย่างเข้าใจ ให้ก�ำลังใจด้วยการสัมผัส เรียนรู้ ศึกษา และติดตามข้อมูลท่ีเกิดข้ึนจากแหล่ง
ไม่ตัดสินหรือวิพากษ์วิจารณ์ความคิด หรือ ข้อมูลที่ถูกต้องและมีความน่าเช่ือถือ ส่ิงนี้จะช่วย
ความกังวลของอีกฝา่ ย ให้สามารถจ�ำแนก แยกแยะ และสามารถก�ำหนด
ทิศทางการด�ำเนนิ ชีวิตได้ดีข้ึน เช่น จะปอ้ งกันตัวเอง
อยา่ งไร ปกปอ้ งคนที่รกั ได้อยา่ งไรจากปญั หาที่รุมเรา้
ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองความปลอดภัยของสุขภาพร่างกาย
หรือปญั หาเร่อื งการงานและการเงิน
รักษาพ้ืนฐานในการด�ำเนินชีวิตให้ดี ได้แก่ การกิน
การนอน การออกก�ำลังกาย และมชี ่วงเวลาพักผอ่ น
หย่อนใจ เพ่ือดูแลสภาพจิตใจ อารมณ์ และสาย
สัมพันธ์ของคนรอบตัว รวมถึงอีกองค์ประกอบ
ท่ีส�ำคัญคือ เป้าหมายในการมีชีวิต ซ่ึงเม่ือเกิด
ความเปลี่ยนแปลงแล้ว อาจจะต้องกลับมาทบทวน
เปา้ หมายใหมอ่ ีกคร้งั
105
สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ด้านจติ ใจด้วยการมองโลกในแง่ดี
การมองโลกในแงด่ จี ะสามารถมองเหน็ ทางเลอื กใหมท่ เ่ี กดิ ขน้ึ วา่ มหี นทางในการแกป้ ญั หา
หรือความเป็นไปได้ในการเรม่ิ ต้นใหมอ่ ยา่ งไร
การมองโลกในแงด่ ีดว้ ยความเปน็ จริง
■ มองว่าสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น ไม่ว่า ■ มองเห็นโอกาสในสถานการณ์ท่ีเป็น
เลวรา้ ยแค่ไหน จะอยูเ่ พยี งช่ัวคราว ขอ้ จ�ำกัดใหม่
วิธีคิดแบบน้ีต้องอาศัยความคิดที่ยืดหยุ่น
การมองเห็นว่าสถานการณ์ที่เลวร้าย จะอยู่
กับเราไปอีกระยะหน่ึง แล้วจะส้ินสุดลงไป สำ� หรบั การจัดการความเครยี ดและการต้ังรบั ท่ีดี
ท�ำให้มองเห็นว่ามีแสงสว่างท่ีปลายทาง แล้ววัน มีความคิดว่าท่ามกลางความเปล่ียนแปลงหรือ
หน่ึงปัญหาน้ันจะผ่านไป เป็นวิธีคิดที่ท�ำให้มี ความจริงที่เปล่ียนไปน้นั ย่อมมโี อกาสบางอยา่ ง
ความหวังว่า หากอดทนและมีวิธีจัดการตัวเอง ปรากฏข้ึนเสมอ ซ่ึงโอกาสน้ันจะต้องมองหา
กจ็ ะสามารถแก้ปญั หาใหผ้ า่ นพน้ ชว่ งเวลาวิกฤต ด้วยตัวเองให้พบ เช่น โอกาสที่มีเวลาท�ำหน้าที่
ไปได้ในที่สดุ ดูแลคนในครอบครัว มีเวลาออกก�ำลังกาย
หรอื มเี วลาทบทวนสิง่ ที่เกิดใหช้ ดั เจนข้นึ
■ มองเห็นว่าควรพัฒนาตัวเองอย่างไร
ในขอ้ จ�ำกัดใหม่ทเ่ี กิดขึน้ เมอ่ื มองเหน็ โอกาสต่างๆ และรู้ว่า
จะพัฒนาตัวเองอย่างไรแล้ว จะเกิด
เป็นวิธคี ิดท่ีท�ำให้มองเห็นว่าในสถานการณ์ จุดหมายในชีวิต ซ่ึงจุดหมายน้ันคือวิธี
ท่ีเกิดข้ึน มีบทเรียนอะไรที่สามารถเรียนรู้ได้ การจดั การสถานการณ์ในเชงิ รกุ เพอ่ื ปรบั
การมองเห็นว่าอุปสรรคหรือสถานการณ์แย่ๆ ตวั ไปสโู่ ลกอนาคตในชวี ติ วถิ ีใหมน่ นั่ เอง
ที่เกิดข้ึนน้ันให้บทเรียนหรือข้อคิดอะไรบ้าง
เปน็ การสะท้อนใหก้ ลับมาทบทวนและค้นหาว่า
ควรพฒั นาทักษะและพัฒนาตัวเองอยา่ งไร
ขอ้ มูลเร่อื งสร้างภมู ิค้มุ กันจิตใจ โดย นพ.ประเวช ตันติพวิ ัฒนสกุลอดีตนายแพทย์ทรงคณุ วุฒิ กรมสุขภาพจิต
สร้างภูมคิ ุ้มกันใหร้ ่างกายและจติ ใจ 106
บนั ทึก
107
109
บทท่ี 7
รบั สมรอืา้ ทงภกุ มูคคิวมุ้ามกเันปใลห่ีย้พนรแ้อปมลง
แตล่ ะวนั ทใ่ี ชช้ วี ติ ดว้ ยความเคยชนิ หากเกดิ ความเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็
หรือรุนแรง ยอ่ มเกิดผลกระทบต่อการใช้ชวี ิตและความเปน็ อยู่ ดังน้นั หากหนั มา
ให้ความส�ำคัญกับการสร้างภูมิคุ้มกันให้พร้อมรับมือทุกความเปลี่ยนแปลง
จะสามารถปรับตัวอยู่รอดในชีวิตวิถีใหมไ่ ด้อยา่ งทันท่วงที
การสรา้ งภมู ิค้มุ กันสำ� หรบั พรอ้ มรับความเปล่ียนแปลงประกอบไปด้วย
1. การรับมือกับภาวะเศรษฐกิจ
2. การรับมอื กับการเปล่ียนแปลงโลกปัจจุบัน
3. การสรา้ งภมู ิคุ้มกันไปกับสว่ นรวม
สรา้ งภูมิคุ้มกันให้พร้อมรับมอื ทุกความเปลย่ี นแปลง 110
การรับมอื กับภาวะเศรษฐกิจ
เม่ือเกิดความเปล่ียนแปลงหรือวิกฤตท่ีกระทบต่อการด�ำเนินชีวิตและการท�ำงาน
อยา่ งกะทันหนั ท�ำใหห้ ลายคนขาดรายได้ ไมม่ เี งินส�ำหรบั ใช้จ่ายในชีวิตประจ�ำวันเหมอื นเคย
ดังน้นั หากใครท่ีเคยคิดว่าหารายได้แค่พอใชแ้ ละคิดว่าจะมกี ินมใี ชอ้ ยา่ งน้นั ตลอดไป ลองกลับ
มาทบทวนถึงความส�ำคัญของการวางแผนเร่ืองการใช้เงินและการออมเงินอีกครั้ง เพ่ือท่ีจะ
สามารถแก้ปญั หาเฉพาะหน้าและรบั มอื กับภาวะฉุกเฉินได้อยา่ งไมป่ ระมาท
การวางแผนเรอ่ื งการใช้เงินและการออมเงิน
• ประเมินสถานการณ์ทาง • วางแผนออมเงิน • บริหารจัดการหน้สี ิน
การเงินของตัวเอง
111
ประเมนิ สถานการณ์ทางการเงินของตัวเอง
เร่ืองการเงินเป็นเร่ืองใกล้ตัวมากกว่า
ที่คิด และการรู้สถานการณ์ทางการเงินของ
ตัวเองจะท�ำใหส้ ามารถมรี ายรบั
■ ท�ำบญั ชรี ายรบั -รายจ่าย
เพ่ือประเมินว่าแต่ละเดือนมีรายรับเท่าไร
เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายหรือไม่
■ จัดหมวดหมขู่ องค่าใช้จ่าย ■ ท�ำรายการหนสี้ นิ ท้ังหมด
เ พ่ ื อ แ ย ก ป ร ะ เ ภ ท ค่ า ใ ช้ จ่ า ย จ� ำ เ ป็ น เห็นว่ามีหนี้สินอะไรบ้าง รวมเป็น
กับค่าใช้จ่ายฟุม่ เฟือย จ�ำนวนเงินเท่าไร ต้องช�ำระเดือนละ
เท่าไร
■ ตรวจสอบเงินในบญั ชธี นาคาร
เ พ่ ื อ ส า ม า ร ถ ว า ง แ ผ น ส� ำ ห รั บ ใ ช้ จ่ า ย
ช�ำระหน้ี และออมเงินในอนาคตได้
สรา้ งภูมิค้มุ กนั ใหพ้ ร้อมรับมอื ทกุ ความเปลย่ี นแปลง 112
บรหิ ารจัดการหน้ีสิน
จดั ประเภทของหนส้ี นิ ที่มอี ยู่ เชน่ ค่าผอ่ นบา้ น
ค่าผ่อนรถ หนี้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา หน้ีลงทุน
ท�ำธรุ กิจ หนบ้ี ัตรเครดิต หนนี้ อกระบบ ฯลฯ
สำ� รวจอัตราดอกเบย้ี และยอดการชำ� ระหน้ี
ข้นั ต่�ำของแต่ละก้อน
เรียงล�ำดับความส�ำคัญจากหนี้ท่ีมีดอกเบี้ย
สูงท่ีสุด พยายามช�ำระหนี้ก้อนน้ันให้หมด
เร็วกว่าหนกี้ ้อนอ่ืนๆ
ชำ� ระหนอี้ ยา่ งมวี ินยั ไมเ่ พ่มิ หนกี้ ้อนใหม่
หากไมส่ ามารถชำ� ระหนต้ี ามกำ� หนดพรอ้ มกนั
ได้ทุกยอด ลองหาทางเจรจาประนอมหนี้
เพ่ือจ่ายข้นั ต่�ำ
บอกสถานการณ์หน้ีสินให้คนในครอบครัว
รับทราบ เพ่ือร่วมมือกันไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
และไมส่ รา้ งภาระหนเ้ี พิม่ ข้ึน
113
ระวงั ! หน้บี ัตรเครดิต
บตั รเครดิต รูดสะดวก กสู้ บาย ดอกเบ้ยี สูง
เด๋ียวนบี้ ัตรเครดิตหรอื บัตรกดเงินสดท�ำง่าย
ใครๆ ก็มี หรืออาจจะมีหลายใบด้วยซ้�ำ แต่ถ้าใช้
ไมร่ ะวัง รูดเพลิน แล้วไมจ่ ่ายเต็มยอด อาจจะกลาย
เป็นหน้ีก้อนใหญ่ได้ การเลือกจ่ายยอดข้ันต่�ำ
ดอกเบี้ยจะสูงทบต้นไปเร่ือยๆ รู้ตัวอีกทีอาจมีหนี้
บัตรเครดิตจ�ำนวนมาก หากจ่ายไม่ไหวให้ปิดบัตร
เครดิตท่ีมีทุกใบ เพ่ือหยุดการเพ่ิมหน้ี แล้วทยอย
ช�ำระจนครบ
จ่ายเตม็ ฉลาดใช้ ไมเ่ ป็นหน้ี
ใช้เพ่ืออ�ำนวยความ ใชเ้ ม่อื รูต้ ัวว่าสามารถ ผ่ อ น ช� ำ ร ะ สิ น ค้ า ไ ด้ ร ะ ลึ ก ไ ว้ เ ส ม อ ว่ า
สะดวกเม่ือไม่ได้พก จา่ ยยอดเตม็ จำ� นวนได้ แ ต่ ค ว ร เ ลื อ ก ที่ ผ่ อ น บั ต ร เ ค ร ดิ ต ไ ม่ ใ ช่
0 % แ ล ะ จ่ า ย เ ต็ ม แหล่งเงินกู้ เพราะ
เงินสด
จ�ำนวนทุกคร้งั อัตราดอกเบี้ยสูง
สร้างภมู ิคุ้มกนั ให้พรอ้ มรบั มอื ทกุ ความเปลย่ี นแปลง 114
วางแผนออมเงนิ
การออมเงินเปน็ อีกหน่งึ เร่อื งสำ� คัญมากๆ ในชวี ิตวิถีใหม่ เพราะเม่อื มคี วามเปล่ียนแปลง
หรอื เกิดวิกฤตข้นึ กะทันหนั อาจสง่ ผลกระทบด้านการงานและการเงิน เชน่ มกี ารลดวันทำ� งาน
หยุดงาน หรือเลิกจ้าง ท�ำให้รายได้ลดหรืออาจขาดรายได้ไปเลย ถ้าไม่มีเงินออมจะใช้ชีวิต
ล�ำบากมาก ดังน้ันจึงควรเห็นความส�ำคัญของการออมเงิน เพ่ือพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
ท่ีอาจเกิดข้นึ ได้ทุกเม่ือ
พอพูดถึงเงินออม หลายคนอาจท้อแท้ เพราะแค่หาเงินมาให้พอใช้ก็ยากแล้ว แต่ถ้า
มีความต้ังใจจริง ไมว่ ่าจะอายุเท่าไร มเี งินแค่ไหน ก็ไมม่ ีค�ำว่าสายเกินไปส�ำหรับการออมเงิน
ปรบั พฤตกิ รรมให้มีเงินออม
ลดรายจ่าย เพิม่ รายได้
ยับย้ังช่งั ใจ ไมจ่ �ำเป็นอยา่ ถอน
แยกบัญชีเงินเก็บกับบัญชีใช้จ่าย
ออกจากกัน
115
เทคนิคการออมเงิน
เก็บก่อน ใชท้ หี ลัง ถา้ ทำ� ไดก้ ม็ เี งนิ ออมเหมอื นกนั แตส่ ว่ นใหญ่
มกั จะท�ำไมไ่ ด้ เพราะเวลามเี งนิ ติดกระเปา๋ กอ็ าจ
เวลาได้เงินมาแล้ว หลายคนคิด จะใช้ซ้ือของที่อยากได้หรืออยากกินจนหมด
ว่าเอาเงินมาใช้จ่ายก่อน แล้วเหลือ ไปซะก่อน
เท่าไรค่อยเก็บ แบบนี้
ดังน้ันเม่ือมีรายได้ควรแบ่งมาออมไว้ก่อน
รายได้ - ค่าใช้จ่าย = เงินเก็บ แลว้ ทเี่ หลอื คอ่ ยนำ� มาเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย โดยประเมนิ
ค่าใช้จ่ายท่ีจ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวันของตัวเอง
จากการท�ำบัญชีรายรับ-รายจ่าย แล้วค�ำนวณ
ว่าจะออมเงินได้เท่าไร พอมีรายได้เข้ามาแล้ว
หกั เงินเก็บไว้ก่อนเลย
รายได้ - เงินเก็บ = ค่าใช้จ่าย
ก า ร ท� ำ แ บ บ น้ี เ ป็ น ก า ร ส ร้ า ง วิ นั ย ใ ห้ มี
เงินเก็บเปน็ ประจ�ำ อาจจะเริม่ จากค่อยๆ สะสม
ทีละน้อย แต่รับรองว่าถ้าท�ำได้เร่ือยๆ จะมี
เงินออมแนน่ อน
สร้างภูมคิ ้มุ กนั ใหพ้ ร้อมรับมอื ทุกความเปลยี่ นแปลง 116
ชอ้ ปเท่าไร เกบ็ เทา่ น้นั
กินมอื้ ใหญ่ 300 บาท
ออมเงิน 300 บาท
ซ้ือกระเปา๋ 500 บาท
ออมเงิน 500 บาท
ผ่อนค่าโทรศัพทม์ ือถอื เทคนิคนี้ส�ำหรับคนท่ีชอบใช้เงินตามใจ
เดือนละ 1,000 บาท ตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นการกินม้ือใหญ่ราคาแพง
ออมเงนิ เดอื นละ 1,000 บาท หรือช้อปป้ งิ ซ้ือของฟมุ่ เฟอื ย แล้วควบคุมตัวเอง
ไม่ค่อยอยู่ เพราะค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยส่วนใหญ่
จะเกิดจากการใช้เงินซ้ือของไมจ่ �ำเปน็ การช้อป
เทา่ ไร เกบ็ เทา่ นน้ั จะชว่ ยใหร้ ะมดั ระวงั การใชจ้ า่ ย
มากข้ึน
117
เก็บเหรียญหรอื ธนบัตรทช่ี อบ
ลองเลือกว่าอยากจะเก็บเหรียญหรือธนบัตร
ชนิดไหน เม่ือได้รับเหรียญหรือธนบัตรชนิดน้ันมา
ไมน่ ำ� ไปใช้ แล้วเก็บมาหยอดกระปุกหรือใส่โหลท่ีบ้าน
ไมว่ ่าจะเปน็ เหรียญ 5 เหรียญ 10 หรือ ธนบัตร
50 บาท เม่ือเก็บไว้จนเต็มกระปุกแล้ว ลองนำ� ออกมา
นับดู จะพบว่าการเก็บเล็กผสมน้อยก็ท�ำให้เงินเก็บ
งอกเงยเปน็ เงินออมได้เหมอื นกัน
กรณเี ก็บเหรียญ
เม่อื เกบ็ สะสมเหรยี ญไวจ้ ำ� นวนมากแลว้
อยา่ เพงิ่ นำ� ไปฝากธนาคาร เพราะทางธนาคาร
มีบริการคิดค่านับเหรียญร้อยละ 1 ของ
จ�ำนวนเงิน ดังน้ันควรน�ำเหรียญไปแลกกับ
ร้านค้าท่ีต้องการ หรือแลกกับศูนย์บริหาร
จั ด ก า ร เ ห รี ย ญ ก ษ า ป ณ์ ข อ ง แ ต่ ล ะ จั ง ห วั ด
แล้วจึงน�ำไปฝากธนาคาร
กรณเี กบ็ ธนบตั ร
ตรวจนบั ธนบตั รแลว้ นำ� ไปฝากธนาคาร
รั บ ร อ ง ว่ า จ ะ ต้ อ ง ท่ึ ง กั บ ย อ ด เ งิ น ท่ี เ ก็ บ ไ ด้
แน่นอน
สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ให้พร้อมรบั มอื ทกุ ความเปลี่ยนแปลง 118
วางแผนการออมเงนิ เพอ่ื ความมน่ั คง
เม่อื เรมิ่ เกบ็ ออมเงนิ ไดแ้ ลว้ ใหล้ องวางแผนสำ� หรบั การออมเงนิ
เพ่ือการใช้จ่ายอย่างม่ันคง เพราะวัตถุประสงค์ของการออมเงิน
มหี ลายประเภท
ออมเงนิ ระยะส้นั เป็นเงินท่ีสะสมไว้ใช้ในระยะเวลา 1-2 ปี
วตั ถุประสงค์
ส�ำหรับใช้จ่ายยามฉุกเฉิน ได้แก่
ค่ารักษาพยาบาล ใช้จ่ายส่ิงของจ�ำเป็น
กะทันหัน ใช้ในชีวิตประจ�ำวันเม่ือขาด
รายได้ เปน็ ต้น
ออมเงินระยะกลาง เปน็ เงินท่ีสะสมไว้สำ� หรบั ระยะเวลา 2-10 ปี
วัตถปุ ระสงค์
ส�ำหรับสร้างความม่ันคง ได้ แก่
ทนุ การศกึ ษาสำ� หรบั ลกู ดาวนบ์ า้ น ดาวนร์ ถ
หรือการลงทนุ เพ่อื สรา้ งรายได้ เปน็ ต้น
ออมเงนิ ระยะยาว เป็นเงินท่ีสะสมไว้ใช้ในระยะยาวเกิน 10 ปีข้ึนไป
วัตถุประสงค์
เพ่ือใชใ้ นวัยเกษียณ หรือไมส่ ามารถ
ท�ำงานได้แล้ว
119
ตวั ช่วยเรอ่ื งการออม
กองทนุ การออมแห่งชาติ (กอช.)
กองทนุ บำ� นาญสำ� หรบั ผปู้ ระกอบอาชพี มอี ายุ 15-60 ปี
อิสระ ท่ีไม่อยู่ในระบบสวัสดิการบ�ำเหน็จ-
บ�ำนาญของรฐั หรอื นายจ้าง เปน็ การออมเพ่ือ ประกอบอาชีพอิสระ
ใช้จ่ายในวัยเกษียณ ซ่ึงเม่ือแบ่งเงินส่วนหน่ึง หรอื แรงงานนอกระบบ
มาออมกับ กอช. แล้ว จะได้รบั เงินสมทบจาก ยืดหยุ่น ไม่ต้องออมทุกเดือน
รัฐบาลสงู สุด 100% เม่อื อายุถึง 60 ปี จะได้รบั มนี อ้ ยออมนอ้ ย มมี ากออมมาก
เงินกลับคืนมาในรูปแบบเงินบ�ำนาญ ส�ำหรับ
ใชจ้ ่ายยามเกษียณ ออมสูงสดุ ปลี ะไมเ่ กิน 13,200 บาท
สนใจกองทุนการออมแหง่ ชาติ (กอช.) หาข้อมลู เพิม่ เติมได้ทาง www.nsf.or.th
กองทนุ สำ� รองเล้ยี งชพี หรือ Provident Fund
เ ป็ น ก อ ง ทุ น ท่ี น า ย จ้ า ง แ ล ะ ลู ก จ้ า ง แบ่งเก็บสะสมต้ังแต่ 2-15% ของเงินเดือน
สมัครใจร่วมกันจัดต้ังข้ึน เพ่ือเป็นเงินส�ำรอง
ส�ำหรับลูกจ้างยามเกษียณอายุ ออกจากงาน นายจ้างจะจ่ายเข้ากองทุนเป็นเงินสมทบ
ทพุ พลภาพ หรอื เปน็ หลักประกันใหค้ รอบครวั ในอัตราท่ีไมต่ ่�ำกว่าเงินสะสมของลูกจ้าง
ในกรณีลูกจ้างเสียชีวิต โดยแบ่งสะสมจาก ไดร้ บั เงนิ กอ้ นเม่อื สนิ้ สมาชกิ ภาพ ดว้ ยสาเหตุ
เงินเดือนของลกู จ้างเปน็ ประจ�ำทุกเดือน ออกจากงาน, เกษยี ณอาย,ุ โอนยา้ ยกองทนุ ,
เสยี ชีวิต
สามารถตรวจสอบขอ้ มลู กองทุนส�ำรองเล้ียงชพี กับบริษัทท่ีตนเองท�ำงานอยู่
สร้างภมู คิ มุ้ กันใหพ้ ร้อมรบั มือทกุ ความเปลย่ี นแปลง 120
หน่วยงานช่วยเหลอื ปัญหาด้านการเงนิ
ศนู ย์คุ้มครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ (ศคง.)
ท�ำหน้าท่ีส่งเสริมความรู้เก่ียวกับบริการทางการเงิน ให้ค�ำปรึกษาและรับเร่ืองร้องเรียน
เพ่ือคุ้มครองให้ประชาชนได้รับความเป็นธรรมจากการใช้บริการทางการเงินจากสถาบันการเงิน
ต่างๆ
ใหค้ วามรูเ้ ร่อื งการวางแผนทางการเงิน การออม การลงทนุ
ให้ข้อมูลเร่ืองการบริหารหน้ีสิน เปรียบเทียบสินเช่ือกู้ในกรณีต่างๆ แก้ปัญหาเร่ือง
หนสี้ ิน
ปรึกษาเร่อื งภัยทางการเงิน กลโกงหลอกโอนเงินทางโทรศพั ท์หรือออนไลน์ การเงิน
นอกระบบ
สอบถามขอ้ มูลหรือต้องการความชว่ ยเหลือ สายด่วน โทร. 1213 หรอื www.1213.or.th/th/Pages/default.aspx
121
ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค (สคบ.)
ให้ข้อมูลด้านสิทธิผู้บริโภค ให้ข้อแนะน�ำและรับเร่ืองร้องเรียน ในกรณีที่ผู้บริโภค
ไมไ่ ด้รับความเปน็ ธรรมจากสินค้าและบริการต่างๆ รวมถึงการบริการทางการเงินด้วย
โดนทวงหนแี้ บบไมเ่ ปน็ ธรรม โดนไฟแนนซ์ยึดรถยนต์ขายทอดตลาด การซ้ือสนิ ค้าเงินผอ่ น
สอบถามขอ้ มลู หรอื ต้องการความชว่ ยเหลือ สายด่วน สคบ. โทร. 1166 หรือ www.ocpb.go.th
มูลนิธิเพือ่ ผู้บริโภค และชมรมหนีบ้ ัตรเครดิตและสินเชื่อสว่ นบคุ คล
คลนิ กิ ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแบบตวั ตอ่ ตวั สำ� หรบั ผปู้ ระสบปญั หา
หนบี้ ัตรเครดิต สามารถขอค�ำปรึกษาท่ี
ส�ำนักงานมลู นธิ เิ พ่ือผูบ้ รโิ ภค
อนสุ าวรียช์ ยั สมรภูมิ ซอยราชวิถี 7
วันท�ำการ จันทร-์ ศกุ ร์ เวลา 09.00-18.00 น.
และสามารถขอค�ำปรึกษาได้ตลอดเวลาท่ีเว็บไซต์
มลู นธิ เิ พ่ือผบู้ ริโภค ในส่วนชมรมหนบ้ี ัตรเครดิตและสินเช่ือ
ส่วนบุคคลท่ี www.consumerthai.org หรือติดต่อ
สอบถามข้อมูลและจองคิวขอค�ำปรึกษาได้ที่เบอร์โทรศัพท์
0 2248 3734-37
สร้างภูมคิ มุ้ กันใหพ้ รอ้ มรบั มือทุกความเปล่ยี นแปลง 122
การรับมือกับการเปลย่ี นแปลงของโลก
ส่ิงท่ีเกิดข้ึนในชีวิตวิถีใหม่ท่ีส่งผลให้คนปรับรูปแบบการใช้ชีวิต ก่อให้เกิดพฤติกรรม
และความต้องการใหม่ๆ ข้ึนในสังคม ดังน้ันจึงมีบางอาชีพ บางต�ำแหน่งงานท่ีถูกลดจ�ำนวน
หรือไม่ต้องการอีกเลย ขณะเดียวกันก็มีโอกาสในการท�ำงานและการสร้างอาชีพใหม่ๆ ข้ึน
เพ่อื ตอบสนองความต้องการของสงั คมด้วยเหมือนกัน
ดังน้ันการหาความรู้เพ่ิมเติมและพัฒนาทักษะใหม่ๆ อยู่เสมอ จึงเป็นการเตรียมตัว
ใหพ้ รอ้ มสำ� หรบั การปรบั ตัวเพ่ืออยูร่ อดได้ หากเกิดความเปล่ียนแปลงข้ึนในอนาคต
ประเทศไทยมีแหล่งเรียนรู้ส�ำหรับพัฒนา
ทักษะอยูท่ ่ัวประเทศ ได้แก่ ศนู ยเ์ รยี นรูเ้ ศรษฐกจิ
พอเพยี ง ศนู ยก์ ารเรยี นรูช้ ุมชน สำ� นกั งานพฒั นา
ฝมี อื แรงงานจังหวัด เปน็ ต้น หากใครสามารถใช้
อินเทอร์เนต็ ได้จะย่ิงสะดวก โดยสามารถเข้าไป
ค้นหาความรู้และหลักสูตรออนไลน์มากมาย
ส�ำหรับพัฒนาทักษะและศักยภาพด้วยตัวเอง
ซ่ึงมที ้ังแบบเรียนฟรแี ละเสยี ค่าใช้จ่าย
123
แหล่งเรยี นรู้และพฒั นาทักษะสำ� หรบั คนทว่ั ไป
ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ
เว็บไซต์ www.rdpb.go.th/th
สำ� นกั งานพฒั นาฝมี ือแรงงานจงั หวัดต่างๆ
เว็บไซต์ www.dsd.go.th
กรมการจดั หางาน
เว็บไซต์ www.doe.go.th
สร้างภูมิคุม้ กนั ให้พรอ้ มรับมอื ทกุ ความเปลี่ยนแปลง 124
สรา้ งภมู คิ ้มุ กนั ไปกับส่วนรวม
นอกเหนือจากการสร้างภูมิคุ้มกันให้ตัวเองสามารถรับมือกับภาวะเศรษฐกิจและ
การเปล่ียนแปลงของโลกปัจจุบันได้แล้ว หากคนในชุมชนร่วมมือร่วมใจกันน�ำองค์ความรู้
ภูมิปัญญา และทรัพยากรในท้องถิ่น มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ จะสามารถสร้างงาน
สร้างอาชีพ ให้คนในชุมชนมีรายได้เล้ียงดูตนเอง จนเกิดเป็นชุมชนเข้มแข็งท่ีพัฒนาคุณภาพ
ชวี ิตและความเป็นอยูข่ องคนในชุมชนใหด้ ีข้ึนได้
เรียนรูแ้ นวทางการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นท่ัวประเทศสกู่ ารเปน็ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเองอย่างย่ังยืนได้ท่ี
Facebook: สุขภาวะชุมชน เว็บไซต์ thaihealthycommunity.org
www.facebook.com/thaihealthycommunity
แหล่งรวบรวมข้อมูลของการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น เป็นแหล่งรวมความรู้ และศาสตร์หลายแขนงในการพ่ึงพา
ตนเอง ท่ีถอดบทเรียนจากการปฏิบตั ิจรงิ
125
บนั ทึก
สรา้ งภมู คิ ุ้มกันใหพ้ รอ้ มรบั มอื ทกุ ความเปลยี่ นแปลง 126