บทบาทหน้าทีข่ อง
พยาบาลวชิ าชีพ
กองการพยาบาล
สำ�นกั งานปลดั กระทรวง
กระทรวงสาธารณสขุ
หนงั สือบทบาทหนา้ ท่ีของพยาบาลวิชาชีพ
ISBN: 978-616-11150-2-9
ที่ปรึกษา จันทร์ไทย ผ้อู �ำ นวยการกองการพยาบาล
ดร. กาญจนา
ผู้เรียบเรยี ง ลิขติ ลอื ชา กองการพยาบาล
นางนวลขนิษฐ์ อรรถชัยวัจน์ กองการพยาบาล
นางอัมราภสั ร์ สถิรอังกรู กองการพยาบาล
ดร. ธรี พร ไพศาลพาณิชยก์ ลุ กองการพยาบาล
ดร. อรณุ ี
บรรณาธิการ อรรถชัยวจั น ์ กองการพยาบาล
นางอมั ราภัสร ์ สถิรองั กรู กองการพยาบาล
ดร. ธรี พร ลขิ ิตลือชา กองการพยาบาล
นางนวลขนษิ ฐ์ ไพศาลพาณิชย์กลุ กองการพยาบาล
ดร. อรณุ ี
พสิ ูจน์อักษร กองการพยาบาล
รอ้ ยตำ�รวจเอกหญิงยรุ ีพรรณ วณชิ โยบล กองการพยาบาล
นางสาวหทัยรัตน์ บญุ แกว้
พมิ พ์ครั้งท่ี 1 จ�ำ นวน 2,500 เล่ม
พมิ พท์ ่ี บรษิ ทั ส�ำ นักพิมพ์สอ่ื ตะวนั จำ�กดั
โทร. 087-331-6459
ค�ำ นำ�
บทบาทหนา้ ท่ีของพยาบาลวชิ าชีพ เป็นเอกสารอธบิ ายลกั ษณะงานของพยาบาลวชิ าชีพ ทป่ี ฏิบัตงิ านใน
สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาล
สง่ เสรมิ สขุ ภาพต�ำ บล เพอ่ื ใหพ้ ยาบาลทปี่ ฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นหนว่ ยงานตา่ งๆ ไดท้ ราบขอบเขตหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ
ของตนเอง ท่ีจะต้องปฏิบัติขณะดำ�รงตำ�แหน่งนั้นๆ จะได้สอดคล้องกับการสร้างผลงานและความก้าวหน้าใน
สายงานวิชาชีพพยาบาล ซ่ึงปัจจุบันสายงานการพยาบาลถูกจัดไว้ในสายงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซ่ึงเป็นลักษณะงานวิชาการ หรือวิชาชีพที่มีความรู้ ความสามารถพิเศษเฉพาะด้านในการปฏิบัติพยาบาล
ในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพจึงต้องแสดงการปฏิบัติบทบาท ความสามารถ เพ่ือให้สอดคล้องกับลักษณะงานและ
ความก้าวหน้าในตำ�แหน่งงาน ผู้บริหารการพยาบาลต้องส่งเสริมให้พยาบาลได้ปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้
เฉพาะเชิงวิชาชีพ มาพัฒนาบริการพยาบาลอยู่ตลอดเวลา เป็นการส่งเสริมให้มีความก้าวหน้า และทันต่อ
การเปล่ยี นแปลงทางเทคโนโลยีการแพทย์และการสาธารณสขุ
กองการพยาบาล สำ�นักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ขอขอบคุณอาจารย์บัญชา อาภาศิลป์
ผเู้ ชย่ี วชาญจากส�ำ นกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น และคณะท�ำ งานทกุ ทา่ นทก่ี รณุ าสละเวลา มารว่ มคดิ
ร่วมพัฒนา และให้ข้อคิดเห็นต่างๆ อันเป็นประโยชน์ ทำ�ให้หนังสือนี้สำ�เร็จด้วยดี กองการพยาบาลหวังว่า
เอกสารบทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชพี นี้ จะชว่ ยใหผ้ บู้ รหิ ารการพยาบาล และผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทป่ี ฏบิ ตั ิ
งานในสำ�นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติงานการพยาบาลให้เหมาะสมยิ่งขึน้
กองการพยาบาล
กนั ยายน 2561
สารบญั
คำ�นำ� 3
บทที ่ 1 บทนำ� 7
ความสำ�คัญของการกำ�หนดบทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวชิ าชพี 8
วัตถุประสงค ์ 9
ขนั้ ตอนการพัฒนา “บทบาทหนา้ ทีข่ องพยาบาลวชิ าชพี ” 9
ข้อตกลงเบอ้ื งตน้ ในการกำ�หนดบทบาทหน้าที่ของพยาบาลวชิ าชพี 10
ประโยชนท์ ี่จะไดร้ บั จากการนำ�เอกสารบทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชีพไปใช ้ 11
บทที่ 2 แนวคิดการก�ำ หนดบทบาทหนา้ ท่ีของพยาบาลวชิ าชีพ 13
บทบาทหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบของพยาบาลวชิ าชีพ 14
มาตรฐานการก�ำ หนดต�ำ แหนง่ พยาบาลวชิ าชีพของสำ�นกั งาน ก.พ. 15
โครงสรา้ งหนว่ ยงานในราชการบริหารส่วนภูมภิ าค สังกัดส�ำ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 22
บทท ่ี 3 บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวชิ าชพี ตามโครงสร้างหนว่ ยงาน
ในราชการบรหิ ารสว่ นภูมิภาค 25
บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวชิ าชพี ทป่ี ฏบิ ตั งิ านในสำ�นักงานสาธารณสขุ จงั หวดั
และสำ�นกั งานสาธารณสุขอำ�เภอ 27
บทบาทหนา้ ทีข่ องพยาบาลวิชาชีพทีป่ ฏบิ ัตงิ านในกลุ่มภารกจิ ดา้ นการพยาบาล
ของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่วั ไป และกลมุ่ งานการพยาบาลของโรงพยาบาลชมุ ชน 37
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชพี ที่ปฏบิ ัติงานการพยาบาลในชุมชนของโรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชมุ ชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำ บล 52
สารบัญ
บทท ่ี 4 บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวชิ าชีพตามการปฏบิ ตั ิงาน 65
หัวหนา้ พยาบาล 66
ผชู้ ว่ ยหวั หน้าพยาบาล 69
หัวหนา้ กลุม่ งาน หวั หนา้ งาน 72
หวั หนา้ หอผปู้ ่วย 75
ผู้ปฏิบัติการพยาบาลข้นั สงู 78
พยาบาลผจู้ ัดการรายกรณี 81
บทท่ี 5 การนำ�บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวิชาชีพสู่การปฏิบตั ิ 83
ผู้บรหิ ารการพยาบาล 85
ผนู้ ิเทศทางการพยาบาล 86
ผ้ปู ฏบิ ตั กิ ารพยาบาล 87
สรุป 88
บรรณานุกรม 90
ภาคผนวก 91
ภาคผนวก ก. รายช่อื คณะกรรมการวิชาการของกองการพยาบาล
พจิ ารณาหนงั สอื บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวชิ าชีพ 93
ภาคผนวก ข. รายช่อื คณะท�ำ งานพฒั นาบทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวิชาชพี 95
ภาคผนวก ค. มาตรฐานการก�ำ หนดตำ�แหน่งพยาบาลวชิ าชพี ของส�ำ นักงาน ก.พ. 99
ภาคผนวก ง. บทบาทหน้าทข่ี องผู้ชว่ ยพยาบาล 115
บทที1่
บทนำ�
ความส�ำ คัญของการก�ำ หนดบทบาทหนา้ ทข่ี อง
พยาบาลวชิ าชพี
การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบเป็นส่ิงที่ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดงุ ครรภท์ กุ คนตอ้ งยดึ ถอื และปฏบิ ตั ิ โดยนอกจากตอ้ งปฏบิ ตั งิ านภายใตก้ ฎหมาย ขอ้ บงั คบั ของ
วชิ าชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภแ์ ลว้ ยงั ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานงานในบรบิ ททแ่ี ตกตา่ งกนั ไป
ตามบทบาทของพยาบาลแต่ละคนตามขอบเขตหน้าที่ของตำ�แหน่งในแต่ละหน่วยงาน ทั้งบทบาทท่ี
ได้รับมอบหมาย และบทบาทตามคุณสมบัติเฉพาะ ซ่ึงต้องสอดคล้องกับระดับตำ�แหน่งของพยาบาล
คนน้ัน ทั้งน้ีเพ่ือให้เกิดการบริหารทรัพยากรบุคคลท่ีเหมาะสม คุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด
ต่อองค์กร พยาบาล ผ้ปู ่วย และประชาชนผู้รับบริการ
กองการพยาบาล เปน็ หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบการก�ำ หนดมาตรฐาน พฒั นาระบบหรอื แนวทาง
การด�ำ เนนิ งานของพยาบาล ไดต้ ระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของการก�ำ หนดบทบาทหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ
ของบคุ ลากรทางการพยาบาล โดยก�ำ หนดบทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของเจา้ หนา้ ทท่ี างการพยาบาล
ขึ้นเป็นคร้ังแรก ในปี พ.ศ. 2519 เพ่ือให้ผู้บริหารการพยาบาลใช้เป็นแนวทางในการควบคุม กำ�กับ
การปฏิบัติงานของพยาบาลให้เป็นแนวทางเดียวกัน และได้มีการปรับปรุงเน้ือหาของบทบาทหน้าท่ี
ความรับผิดชอบดังกล่าวอีก 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2527 และ พ.ศ. 2530 ตามลำ�ดับ ต่อมาสำ�นักงาน
ก.พ. กำ�หนดให้ตำ�แหน่งพยาบาลวิชาชีพเป็นสายงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงมีลักษณะงาน
เปน็ วชิ าการ หรอื วชิ าชพี ทมี่ คี วามรู้ ความสามารถพเิ ศษเฉพาะทางในการปฏบิ ตั งิ าน ในปี พ.ศ. 2539
กองการพยาบาลจึงได้ดำ�เนินการปรับปรุงเน้ือหาบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ทาง
การพยาบาลอีกครั้ง ซ่ึงแบ่งเป็น 2 เรื่อง คือ บทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบของเจ้าหน้าท่ีทาง
การพยาบาล: ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในโรงพยาบาล และบทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของเจา้ หนา้ ที่
ทางก ารพยาบาล: ทีป่ ฏิบตั ิการพยาบาลในชมุ ชน
ในสถานการณ์ปัจจุบันถึงแม้ว่าต�ำ แหน่งพยาบาลวิชาชีพยังคงอยู่ในสายงานวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยเี ชน่ เดมิ แตม่ กี ารเปลยี่ นแปลงทสี่ �ำ คญั และเกยี่ วขอ้ งกบั บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลอยหู่ ลาย
ประการ ไดแ้ ก่ ส�ำ นกั งาน ก.พ. ปรบั ปรงุ มาตรฐานก�ำ หนดต�ำ แหนง่ พยาบาลวชิ าชพี ในปี พ.ศ. 2555
(สำ�นักงาน ก.พ., 2555) สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขปรับเปล่ียนโครงสร้างหน่วยงานการ
บรหิ ารราชการสว่ นภมู ภิ าคในปี พ.ศ. 2559 (ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ , 2559) นอกจาก
นยี้ งั มกี ารปรบั เปลยี่ นหลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขการก�ำ หนดต�ำ แหนง่ พยาบาลวชิ าชพี ใหม่ มาใชห้ ลกั เกณฑ์
และเง่ือนไขการกำ�หนดตำ�แหน่งพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ซ่ึงประกาศใช้ ในปี พ.ศ. 2558 (สำ�นักงาน ก.พ., 2558) ประกอบกับการบริการพยาบาลมีบริบท
ที่เปลี่ยนไปตามความต้องการของผู้รับบริการและของสถานบริการสุขภาพ ซึ่งมีความสำ�คัญจำ�เป็น
บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวชิ าชพี
8
ท่ีต้องมอบหมายให้พยาบาลปฏิบัติหนา้ ท่ีเพ่มิ เติม นอกเหนือจากการปฏบิ ัติในหนา้ ทต่ี ามโครงสรา้ ง
เชน่ บทบาทหนา้ ทข่ี องผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลขน้ั สงู พยาบาลผจู้ ดั การรายกรณี ทง้ั นบ้ี ทบาทหนา้ ทข่ี อง
พยาบาลดงั กลา่ วจงึ ตอ้ งมกี ารปรบั ใหช้ ดั เจน และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ททเ่ี ปลย่ี นแปลงไป จงึ ไดด้ �ำ เนนิ การ
พฒั นาบทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ เพอื่ ให้
ผบู้ รหิ ารและผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน และพฒั นาระบบบรหิ ารทรพั ยากร
บุคคลทางการพยาบาลอย่างมปี ระสทิ ธิภาพต่อไป
วตั ถุประสงค์
เพอื่ ให้
1. ผบู้ รหิ ารการพยาบาลของสถานบรกิ ารสขุ ภาพทกุ ระดบั ใชเ้ ปน็ แนวทางในการบรหิ ารจดั การ
บุคคลากรทางการพยาบาล รวมทั้งนิเทศ กำ�กับ ติดตาม การปฏิบัติงานของบุคลากรทางการ
พยาบาลใหต้ รงตามบทบาทหน้าท่ี
2. พยาบาลทปี่ ฏบิ ตั งิ านในสถานบรกิ ารสขุ ภาพทกุ ระดบั ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านตาม
บทบาทหน้าที่ตรงกบั ระดับตำ�แหน่ง และบทบาทหน้าที่ตามความรบั ผดิ ชอบของการปฏิบตั งิ าน
ขน้ั ตอนการพฒั นา “บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี ”
การพฒั นาเนอ้ื หาบทบาทหน้าทีข่ องพยาบาลวชิ าชีพ มขี น้ั ตอนการพฒั นาดังนี้
1. ศกึ ษาเอกสาร งานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วกบั มาตรฐานก�ำ หนดต�ำ แหนง่ สายงานพยาบาลวชิ าชพี หนา้ ที่
ความรบั ผิดชอบของพยาบาลวิชาชีพ
2. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำ�งานพัฒนาบทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชีพ ซ่ึงเป็น
ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ างการพยาบาล ผแู้ ทนพยาบาลแตล่ ะระดบั ต�ำ แหนง่ ในแตล่ ะกลมุ่ งานบรกิ ารพยาบาล
ตามโครงสร้าง และตามความรับผิดชอบของการปฏิบัติงาน ของสถานบริการสุขภาพทุกระดับ
โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิจากสำ�นักงาน ก.พ. เป็นวิทยากร ในการกำ�หนดคำ�อธิบายลักษณะงาน โดยมี
การประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ าร จ�ำ นวน 3 ครงั้
3. ประชมุ ระดมความคดิ เหน็ จากคณะท�ำ งานฯ ซงึ่ เปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ างการพยาบาล ผแู้ ทน
พยาบาลแตล่ ะระดบั ต�ำ แหนง่ ในแตล่ ะกลมุ่ งานบรกิ ารพยาบาลตามโครงสรา้ ง และตามความรบั ผดิ ชอบ
บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวิชาชพี
9
ของการปฏิบัติงานของสถานบริการสุขภาพทุกระดับ ร่วมในการให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่างๆ
รวมท้ังกำ�หนดบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบของบุคลากรทางการพยาบาล โดยมีการประชุมระดม
ความคดิ เหน็ จ�ำ นวน 3 ครัง้
4. วิเคราะห์ และประมวลแนวคิดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ และคำ�อธิบายลักษณะงาน
ของบุคลากรทางการพยาบาลเพ่อื ยกร่างเนื้อหาบทบาทหน้าทีข่ องพยาบาลวิชาชพี
5. ตรวจสอบความถกู ต้องของเนีอ้ หาเอกสารโดยผเู้ ชย่ี วชาญ
6. ปรับปรุงแก้ไขเปน็ เอกสารบทบาทหน้าท่ขี องพยาบาลวิชาชีพฉบบั สมบรู ณ์
ข้อตกลงเบือ้ งต้นในการกำ�หนดบทบาทหน้าที่ของ
พยาบาลวิชาชีพ
1. บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชีพน้ี กำ�หนดมาจากแนวคิดของสำ�นักงาน ก.พ. เรื่อง
มาตรฐานก�ำ หนดต�ำ แหนง่ พยาบาลวชิ าชพี และหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของพยาบาลวชิ าชพี ทส่ี อดคลอ้ ง
กบั โครงสรา้ งการบรหิ ารราชการสว่ นภมู ภิ าค สงั กดั ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ดงั นน้ั เอกสาร
เล่มนี้จึงเหมาะกับการนำ�ไปใช้ในสถานบริการสุขภาพทุกระดับในสังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข อย่างไรก็ตามสถานบริการสุขภาพอื่นที่ไม่ได้สังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สามารถนำ�ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะการบริการพยาบาลของหน่วยงานได้ นอกจากน้ี
ส�ำ นกั งาน ก.พ. ก�ำ หนดมาตรฐานก�ำ หนดต�ำ แหนง่ พยาบาลวชิ าชพี ตงั้ แตร่ ะดบั ปฏบิ ตั กิ าร จนถงึ ระดบั
ทรงคุณวุฒิ ในขณะทโ่ี ครงสรา้ งการบรหิ ารราชการสว่ นภมู ภิ าค สำ�นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
ก�ำ หนดต�ำ แหนง่ สงู สดุ คอื พยาบาลวชิ าชพี ระดบั เชยี่ วชาญ (พยาบาลระดบั ทรงคณุ วฒุ กิ �ำ หนดใหม้ ใี น
โครงสรา้ งการบรหิ ารราชการสว่ นกลาง) ดงั นน้ั ในเอกสารเลม่ นี้ ซง่ึ ก�ำ หนดบทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาล
วิชาชีพตามโครงสร้างการบริหารราชการส่วนภูมิภาค จึงกำ�หนดบทบาทหน้าที่ของพยาบาลระดับ
ปฏิบตั ิการถงึ ระดบั เชยี่ วชาญเท่านั้น
2. เนื้อหาบทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพตามการปฏิบัติงานของสถานบริการสุขภาพนั้น
มีเฉพาะบทบาทหน้าท่ที ่สี ำ�คัญได้แก่ หัวหน้าพยาบาล ผ้ชู ่วยหัวหน้าพยาบาล หัวหน้ากล่มุ หัวหน้า
งาน หัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ปฏิบัติการพยาบาลข้ันสูง พยาบาลผู้จัดการรายกรณี บทบาทหน้าที่นอก
เหนอื จากนี้ทางหน่วยงานสามารถกำ�หนดไดโ้ ดยยดึ หลกั การแนวคดิ ตามที่ก�ำ หนดในบทที่ 2
บทบาทหนา้ ทีข่ องพยาบาลวชิ าชพี
10
ประโยชน์ที่จะได้รบั จากการน�ำ เอกสารบทบาทหน้าท่ีของ
พยาบาลวชิ าชีพไปใช้
1. ผบู้ รหิ ารการพยาบาลแตล่ ะระดบั ของสถานบรกิ ารสขุ ภาพ สามารถบรหิ ารจดั การทรพั ยากร
บุคลากรทางการพยาบาลท่ีมีประสิทธิภาพ จัดระบบการนิเทศการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพได้
อยา่ งเหมาะสม
2. ผนู้ เิ ทศงานการพยาบาล ก�ำ กบั ตดิ ตาม และสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของพยาบาลวชิ าชพี
ในความรับผิดชอบได้อย่างเหมาะสมกับระดับตำ�แหน่งและความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานของ
พยาบาลวชิ าชีพ
3. พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ และให้การพยาบาลท่ีเหมาะสมกับระดับตำ�แหน่งและ
ความรับผดิ ชอบของการปฏิบตั งิ าน
4. ระบบบริหารทรัพยากรบุคลากรทางการพยาบาลมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนและ
ผู้รับบริการไดร้ ับบรกิ ารพยาบาลทม่ี คี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน
บทบาทหน้าทข่ี องพยาบาลวชิ าชีพ
11
บทที่ 2
แนวคดิ การก�ำ หนด
บทบาทหน้าท่ขี อง
พยาบาลวิชาชีพ
การกำ�หนดบทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวิชาชพี ใชแ้ นวคดิ หลักการท่ีเก่ยี วขอ้ ง ไดแ้ ก่
1. บทบาทหน้าที่ความรับผดิ ชอบของพยาบาลวิชาชพี
2. มาตรฐานก�ำ หนดตำ�แหนง่ พยาบาลวิชาชพี ของสำ�นกั งาน ก.พ.
3. โครงสร้างหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค สังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข
แนวคดิ หลกั การดงั กล่าวมีรายละเอยี ด ดังนี้
บทบาทหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของพยาบาลวิชาชีพ
พยาบาลวิชาชีพ หมายถึง ผู้สำ�เร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ ระดับปริญญาตรีหรือ
เทยี บเทา่ จากมหาวทิ ยาลยั หรอื วทิ ยาลยั พยาบาลทสี่ ภาการพยาบาลรบั รอง มใี บประกอบวชิ าชพี การ
พยาบาลชั้นหน่ึง หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ช้ันหน่ึง ที่ยังใช้ประโยชน์ได้ (ไม่ถูกพักใช้หรือ
เพกิ ถอนหรอื หมดอาย)ุ ปฏบิ ตั งิ านใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพอนามยั ทงั้ ในสว่ นราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรอื
ภาคเอกชน ในที่น้ีพยาบาลวิชาชีพเป็นข้าราชการที่ปฏิบัติงานสังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสขุ
บทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของพยาบาลวชิ าชพี หมายถงึ การปฏบิ ตั งิ านตามขอบเขตหนา้ ที่
และสอดคลอ้ งกบั บทบาทของพยาบาล ทง้ั นพ้ี ยาบาลมไิ ดม้ หี นา้ ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลโดยตรงแกผ่ ปู้ ว่ ย
อย่างเดียว พยาบาลยังต้องรับผิดชอบการดูแล บริการพยาบาลให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพที่สุด
จึงต้องมีหน้าท่ีความรับผิดชอบตามงานท่ีได้รับมอบหมาย อาจเป็นงานด้านการบริหารจัดการ หรือ
งานดา้ นคลนิ กิ บทบาทหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของพยาบาลวชิ าชพี ประกอบดว้ ย 2 ลกั ษณะ (กองการ
พยาบาล, 2539)
1. บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพตามโครงสร้างในหน่วยงานในราชการบริหาร
สว่ นภมู ภิ าค เปน็ บทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบทมี่ ขี อบเขตการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลโดยตรงกบั ผปู้ ว่ ย
ซ่ึงกำ�หนดตามระดับตำ�แหน่งของพยาบาลวิชาชีพ ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ (ปก.)
ระดบั ช�ำ นาญการ (ชก.) ระดบั ช�ำ นาญการพเิ ศษ (ชพ.) ระดบั เชยี่ วชาญ (ชช.) และระดบั ทรงคณุ วฒุ ิ
(ทว.) โดยในทน่ี เ้ี ปน็ พยาบาลวชิ าชพี ทป่ี ฏบิ ตั งิ านตามโครงสรา้ งหนว่ ยงานในราชการบรหิ ารสว่ นภมู ภิ าค
สังกัดสำ�นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
2. บทบาทหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของพยาบาลตามการปฏบิ ตั งิ านของสถานบรกิ ารสขุ ภาพ
เปน็ หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของพยาบาล ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหท้ �ำ หนา้ ทส่ี �ำ คญั ในหนว่ ยงานอกี หนา้ ทห่ี นง่ึ
เพอ่ื การบรรลเุ ปา้ หมาย และตอบสนองตอ่ นโยบายของหนว่ ยราชการ โดยเปน็ หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ
ดา้ นการบรหิ ารจดั การ หรอื ดา้ นคลนิ กิ ไดแ้ ก่ พยาบาลผจู้ ดั การรายกรณี ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลขน้ั สงู
บทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวชิ าชพี
14
หัวหนา้ หอผปู้ ่วย หัวหนา้ กลุ่มงาน หัวหน้างาน ผู้ช่วยหวั หน้าพยาบาล หัวหนา้ พยาบาล
ในการปฏบิ ตั งิ านนน้ั พยาบาลวชิ าชพี นอกจากจะตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ามขอบเขตการปฏบิ ตั กิ าร
พยาบาลตามโครงสรา้ งหนว่ ยงานในราชการบรหิ ารสว่ นภมู ภิ าคทต่ี น้ สงั กดั แลว้ ยงั ปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี าม
งานทีไ่ ด้รบั มอบหมายอกี ดว้ ย
มาตรฐานกำ�หนดตำ�แหน่งพยาบาลวิชาชพี ของ
ส�ำ นกั งาน ก.พ.
สำ�นักงาน ก.พ. เป็นองค์กรกลาง ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือน
ได้กำ�หนดให้พยาบาลวิชาชีพเป็นตำ�แหน่งประเภทวิชาการ สายงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยมีชื่อตำ�แหน่งในสายงานเป็นพยาบาลวิชาชีพ เร่ิมจากระดับปฏิบัติการ ระดับชำ�นาญการ
ระดับชำ�นาญการพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ จนถึงระดับทรงคุณวุฒิ ในแต่ละระดับได้กำ�หนดหน้าที่
ความรบั ผดิ ชอบหลกั ส�ำ หรบั ลกั ษณะงานทป่ี ฏบิ ตั ขิ องพยาบาลวชิ าชพี ในแตล่ ะระดบั นน้ั มลี กั ษณะงาน
ในดา้ นต่างๆ 4 ด้าน ดังน้ี (สำ�นักงาน ก.พ., 2555)
1. ดา้ นปฏบิ ัตกิ าร
2. ด้านการวางแผน
3. ดา้ นการประสานงาน
4. ดา้ นการบรกิ าร
ทั้งน้ีลักษณะงานในแต่ละด้านต่างๆ ของพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ ชำ�นาญการ
ช�ำ นาญการพิเศษ เช่ยี วชาญ และทรงคุณวฒุ ิ สรุปได้ดงั น้ี
บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชีพ
15
ตารางท่ี 2.1 หน้าท่ีความรับผิดชอบหลัก และลักษณะงานท่ีปฏิบัติในด้านต่างๆ ของ
พยาบาลวชิ าชพี ระดบั ต�ำ แหนง่ ปฏบิ ตั กิ าร ช�ำ นาญการ ช�ำ นาญการพเิ ศษ เชยี่ วชาญ และ
ทรงคุณวุฒิ
ระดับ หน้าท่ีความรบั ผิดชอบหลัก ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัตขิ องพยาบาลวชิ าชีพ
ตำ�แหน่ง ด้าน ด้าน ดา้ นการ ด้าน
ปฏิบัติการ การวางแผน ประสานงาน การบริการ
ปฏบิ ตั กิ าร ■■ ปฏบิ ตั งิ านในฐานะผู้ปฏิบัติ ■■ ปฏิบตั กิ าร ■■ วางแผน ■■ ประสาน ■■ สอน
งานระดบั ต้น ทตี่ ้องใช้ความรู้ พยาบาล การทํางาน การท�ำ งาน แนะน�ำ ให้ค�ำ
ความสามารถทางวิชาการ ขน้ั พ้นื ฐาน ที่รับผิดชอบ รว่ มกันท้งั ปรึกษาเบอ้ื ง
ในการทาํ งาน ตาม รว่ มดาํ เนนิ ภายในและ ตน้ แก่
■■ ปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวกบั มาตรฐาน การวางแผน ภายนอก ผใู้ ชบ้ ริการ
งานพยาบาลวิชาชีพ ภายใต้ วชิ าชีพ การทาํ งาน ทมี งานหรอื และครอบครวั
การกำ�กับ แนะนํา ตรวจสอบ ของหน่วยงาน หนว่ ยงาน ชุมชน
และปฏบิ ตั ิงานอน่ื ตามท่ไี ดร้ บั หรอื โครงการ
มอบหมาย
บทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวชิ าชพี
16
ระดับ หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบหลัก ลักษณะงานทปี่ ฏบิ ตั ขิ องพยาบาลวชิ าชีพ
ตำ�แหนง่ ดา้ น ดา้ น ดา้ นการ ดา้ น
ปฏบิ ัติการ การวางแผน ประสานงาน การบรกิ าร
ช�ำ นาญการ ■■ ปฏบิ ตั ิงานในฐานะ ■■ ปฏิบตั กิ าร ■■ วางแผน ■■ ประสาน ■■ ใหบ้ รกิ าร
หวั หนางาน ซง่ึ ตอ งกาํ กับ พยาบาลที่ หรอื รวม การท�ำ งาน วิชาการที่
แนะนาํ ตรวจสอบการปฏบิ ัติ ต้องตัดสินใจ ดําเนนิ การ รว่ มกันโดยให้ ซับซอ้ น สอน
งานของผรู วมปฏิบตั ิงาน หรือแก้ปญั หา วางแผน ความเหน็ และ นิเทศ
โดยใชความรูค วามสามารถ ทีย่ ากตาม การทาํ งาน ค�ำ แนะน�ำ ฝกึ อบรม
ประสบการณแ ละความ มาตรฐาน ตามแผนงาน เบอ้ื งตน้ แก่ ถ่ายทอด
ชาํ นาญสูงในงานพยาบาล วิชาชพี หรือโครงการ สมาชกิ ใน ความรู้ทาง
วิชาชพี ของหนว ยงาน ทมี งานหรอื การพยาบาล
■■ ปฏิบตั ิงานทตี่ อ งตัดสินใจ ระดับสํานกั หนว่ ยงานอ่ืน แก่ผูใ้ ต้บงั คับ
หรอื แกป ญ หาที่ยาก และ หรอื กอง และ บญั ชาและ
ปฏิบัติงานอนื่ ตามที่ไดร บั แกไ ขปญหา บคุ คล
มอบหมาย หรอื ปฏบิ ัตงิ าน ในการปฏิบตั ิ ภายนอก
ในฐานะผปู ฏิบัตงิ านทม่ี ี งาน
ประสบการณโดยใชค วามรู
ความสามารถ ประสบการณ
และความชาํ นาญสูงในงาน
พยาบาลวิชาชพี
บทบาทหน้าทข่ี องพยาบาลวชิ าชีพ
17
ระดบั หน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบหลัก ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัตขิ องพยาบาลวิชาชีพ
ต�ำ แหนง่ ด้าน ดา้ น ดา้ นการ ด้าน
ปฏบิ ัตกิ าร การวางแผน ประสานงาน การบรกิ าร
ช�ำ นาญการ ■■ ปฏบิ ัติงานในฐานะ ■■ ปฏบิ ัตกิ าร ■■ วางแผน ■■ ประสาน ■■ ให้ค�ำ
พเิ ศษ หวั หนางาน ซึ่งตองกํากับ พยาบาลขั้น หรอื รว ม การทำ�งาน ปรึกษา
สูงท่ยี งุ ยาก ดําเนินการ ร่วมกันโดย อ�ำ นวยการ
แนะนาํ ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิ ซบั ซอ น หรือ วางแผนงาน ชแี้ นะ จงู ใจ ถ่ายทอด
งานของผูร ว มปฏิบัตงิ าน ภาวะวกิ ฤต โครงการของ ทมี งานหรอื ความรู้ให้
โดยใชค วามรู ความสามารถ ตาม หนวยงาน หนว่ ยงานอ่นื ผ้ใู ต้บงั คบั
ประสบการณ และความ มาตรฐาน ระดับสาํ นัก ในระดับ บญั ชา
ชํานาญงานสงู มากในงาน วิชาชพี หรอื กอง สาํ นักหรือ ผใู้ ชบ้ ริการทง้ั
พยาบาลวชิ าชพี ■■ มอบหมาย กอง ชแ้ี จง ภายในและ
■■ ปฏิบัติงานที่ตองตดั สินใจ งาน แกไ ข ใหข้ ้อคิดเหน็ ภายนอก
หรอื แกปญ หาที่ยากมาก ปญ หาในการ ในท่ปี ระชุม หนว่ ยงาน
และปฏบิ ตั ิงานอนื่ ตามที่ไดร บั ปฏิบตั ิงาน ต่างๆ
มอบหมายหรอื ปฏิบตั งิ าน และติดตาม
ในฐานะผปู ฏบิ ตั ิงานทมี่ ี ประเมินผล
ประสบการณโ ดยใชค วามรู
ความสามารถ ประสบการณ
และความชาํ นาญในงานสูง
มากในงานพยาบาลวิชาชพี
บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวิชาชพี
18
ระดบั หนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบหลกั ลักษณะงานทีป่ ฏบิ ตั ิของพยาบาลวชิ าชพี
ตำ�แหนง่ ดา้ น ด้าน ด้านการ ด้าน
เชี่ยวชาญ ปฏบิ ตั ิการ การวางแผน ประสานงาน การบรกิ าร
■■ ปฏบิ ัตงิ านในฐานะผปู ฏิบัติ ■■ ปฏิบตั ิหนา ■■ วางแผน ■■ ประสาน ■■ เป็น
งานท่มี ีความเชยี่ วชาญในงาน ทใี่ นฐานะ หรือรวม การท�ำ งาน ที่ปรกึ ษาของ
โดยใชค วามรคู วามสามารถ ผเู ชยี่ วชาญ ดาํ เนินการ โครงการ ส่วนราชการ
ประสบการณและความ ดานการ วางแผน โดย ตา่ งๆกับ และให้
เชยี่ วชาญทางงานพยาบาล พยาบาล เช่ือมโยงหรอื บุคคล ค�ำ ปรึกษา
■■ ปฏบิ ตั งิ านทีต่ อ งตัดสินใจ พัฒนาและ บรู ณาการ หน่วยงาน แนะน�ำ แก่
หรอื แกปญ หาในทางวิชาการ ประยกุ ตใช แผนงาน หรือองค์กร ผู้บรหิ าร
ท่ยี ากและซับซอนมาก ความรู โครงการ อ่นื ๆ ท้ังภายในและ
มผี ลกระทบในวงกวา ง วธิ ีการ ในระดบั ภายนอก
และปฏบิ ัติงานอ่ืนตามท่ไี ดรบั เทคนคิ ตางๆ กลยุทธข อง
มอบหมาย หรอื ปฏิบตั ิงานใน สวนราชการ
ฐานะผปู ฏบิ ตั งิ านใหค าํ ปรกึ ษา ระดบั กรม
ของสวนราชการระดับ
กระทรวง กรม ซึ่งใชค วามรู
ความสามารถ ประสบการณ
และความเชีย่ วชาญในทาง
งานพยาบาลวชิ าชีพ
บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชีพ
19
ระดับ หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบหลกั ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิของพยาบาลวิชาชพี
ต�ำ แหน่ง ด้าน ดา้ น ดา้ นการ ด้าน
ปฏิบตั กิ าร การวางแผน ประสานงาน การบริการ
ทรงคุณวฒุ ิ ■■ ปฏิบตั งิ านในฐานะผูปฏบิ ัติ ■■ ศึกษา ■■ วางแผน ■■ ประสาน ■■ เป็นท่ี
งานทที่ รงคณุ วฒุ ิ หรอื ปฏบิ ัติ วเิ คราะห์ วจิ ัย หรือรวม การทำ�งาน ปรึกษาระดบั
งานในฐานะผูป ฏิบัติงานให้ เรอื่ งสุขภาพ ดําเนนิ การ ภายใน กระทรวงใน
คำ�ปรึกษาของสว่ นราชการ และระบบ วางแผน หรอื กระทรวง การปฏบิ ตั ิ
ระดบั กระทรวง ซ่งึ ต้อง บริการ ใหค้ �ำ ปรึกษา กรม หรอื งาน
ใชความรคู วามสามารถ พยาบาล แนะนำ�ในการ องค์กรอน่ื ทงั้ ■■ ก�ำ หนด
ประสบการณ และผลงาน คิดคน้ วางแผน โดย ในและต่าง ทิศทางการ
ด้านพยาบาลวชิ าชพี เปน็ ที่ นวตั กรรม เชอื่ มโยงหรือ ประเทศ พัฒนาบคุ คล
ประจกั ษใ์ นความสามารถ พัฒนา บูรณาการ และก�ำ หนด
เป็นท่ียอมรบั ในระดับชาติ ระบบบรกิ าร แผนงาน เป้าหมายและ
■■ ปฏิบัติงานทตี่ ้องตัดสนิ ใจ พยาบาล โครงการ ทศิ ทางการ
หรือแก้ปญั หาในทางวชิ าการ และกลไก ในระดับ พฒั นางาน
ทีย่ ากและซับซอ้ นมากเป็น การบริการ กลยุทธของ พยาบาล
พิเศษ และมผี ลกระทบในวง ทางพยาบาล สว นราชการ
กวา้ งระดับนโยบายกระทรวง ระดับ
สาธารณสขุ หรอื ระดับชาติ กระทรวง
และปฏบิ ตั งิ านอน่ื ตามท่ีได้
รับมอบหมาย
บทบาทหน้าทีข่ องพยาบาลวิชาชีพ
20
จากการทสี่ �ำ นกั งาน ก.พ. ก�ำ หนดมาตรฐานก�ำ หนดต�ำ แหนง่ พยาบาลวชิ าชพี ตงั้ แตร่ ะดบั ปฏบิ ตั ิ
การ ระดบั ช�ำ นาญการ ระดบั ช�ำ นาญการพเิ ศษ ระดบั เชย่ี วชาญ จนถงึ ระดบั ทรงคณุ วฒุ ิ โดยก�ำ หนด
ลกั ษณะงาน 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นปฏบิ ตั กิ าร ดา้ นการวางแผน ดา้ นการประสานงาน และดา้ นการบรกิ าร
อยา่ งไรกต็ ามพยาบาลมบี ทบาทหนา้ ทต่ี ามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายดา้ นการบรหิ ารจดั การ และดา้ นคลนิ กิ
ซงึ่ ไมร่ ะบใุ นลกั ษณะงานทงั้ 4 ดา้ นของส�ำ นกั งาน ก.พ. การเขยี นบทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี
นี้ คณะผู้เขียนจึงได้บูรณาการบทบาทด้านการบริหารจัดการกับด้านการวางแผน และบูรณาการ
บทบาทด้านคลินิกกับด้านการปฏิบัติการ ดังน้ันการกำ�หนดบทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชีพฉบับ
นี้ จงึ ไดก้ �ำ หนดตามระดบั ต�ำ แหนง่ ของพยาบาลวชิ าชพี และบทบาทหนา้ ทต่ี ามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ดงั
จะไดก้ ลา่ วต่อไปในบทท่ี 3
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวชิ าชีพ
21
โครงสร้างหนว่ ยงานในราชการบริหารสว่ นภมู ิภาค
สังกัดส�ำ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข
สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้ปรับปรุงและกำ�หนดโครงสร้างหน่วยงานในราชการ
บริหารส่วนภูมิภาค ขึ้นมาใหม่และประกาศใช้ในเดือนพฤศจิกายน 2559 เพ่ือให้สอดคล้องกับ
นโยบาย วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ ของกระทรวงสาธารณสขุ โดยก�ำ หนดใหม้ ตี �ำ แหนง่ พยาบาลวชิ าชพี ระดบั
ต่างๆปฏิบตั ิงานครอบคลุมหน่วยงานในราชการบริหารสว่ นภมู ภิ าค ดงั นี้
1. ส�ำ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ก�ำ หนดใหม้ พี ยาบาลวชิ าชพี ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ระดบั ช�ำ นาญการ
และระดับชำ�นาญการพเิ ศษ
2. โรงพยาบาลศนู ย์ โรงพยาบาลทว่ั ไป ก�ำ หนดใหม้ พี ยาบาลวชิ าชพี ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ระดบั
ช�ำ นาญการ ระดับชำ�นาญการพเิ ศษ และระดับเช่ยี วชาญ
3. โรงพยาบาลชมุ ชน ก�ำ หนดใหม้ พี ยาบาลวชิ าชพี ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ระดบั ช�ำ นาญการ และ
ระดบั ชำ�นาญการพเิ ศษ
4. ส�ำ นกั งานสาธารณสขุ อ�ำ เภอ ก�ำ หนดใหม้ พี ยาบาลวชิ าชพี ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ระดบั ช�ำ นาญ
การ และระดับชำ�นาญการพิเศษ
5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล กำ�หนดให้มีพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ ระดับ
ช�ำ นาญการ และระดับชำ�นาญการพเิ ศษ
ด้วยเหตุท่ีลักษณะงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานที่สำ�นักงานสาธารณสุขอำ�เภอมี
ลักษณะงานใกล้เคียงกับสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด และลักษณะงานของพยาบาลวิชาชีพที่
ปฏบิ ตั งิ านทโี่ รงพยาบาลชมุ ชนมลี กั ษณะงานใกลเ้ คยี งกบั โรงพยาบาลศนู ย์ โรงพยาบาลทว่ั ไป ดงั นนั้
เอกสารฉบบั นจี้ งึ ก�ำ หนดโครงสรา้ งของบทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี ตามขอบเขตการปฏบิ ตั กิ าร
พยาบาล เป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1) สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำ�นักงานสาธารณสุขอำ�เภอ
2) กลมุ่ ภารกิจดา้ นการพยาบาลของโรงพยาบาลศนู ย์ โรงพยาบาลทัว่ ไป และกลมุ่ งานการพยาบาล
ของโรงพยาบาลชุมชน 3) งานการพยาบาลในชุมชนของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ�บล
จากแนวคิด หลักการดังกล่าว จึงได้กำ�หนดกรอบโครงสร้างการกำ�หนดบทบาทหน้าท่ีของ
พยาบาลวิชาชีพ โดยแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบตามขอบเขต
การปฏบิ ตั งิ านในหนว่ ยงานในราชการบรหิ ารสว่ นภมู ภิ าค และ 2) บทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบตาม
การปฏบิ ตั งิ านของสถานบรกิ ารสขุ ภาพ โดยบทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบตามขอบเขตการปฏบิ ตั งิ าน
ในหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชีพระดับ
ตา่ งๆ ตงั้ แตพ่ ยาบาลวชิ าชพี ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ระดบั ช�ำ นาญการ ระดบั ช�ำ นาญการพเิ ศษ จนถงึ ระดบั
บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวชิ าชพี
22
เชยี่ วชาญ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านทส่ี �ำ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ส�ำ นกั งานสาธารณสขุ อ�ำ เภอ โรงพยาบาลศนู ย์
โรงพยาบาลทว่ั ไป โรงพยาบาลชมุ ชน และโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพต�ำ บล (รายละเอยี ดในบทท่ี 3)
สว่ นบทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบตามการปฏบิ ตั งิ านของสถานบรกิ ารสขุ ภาพ ประกอบดว้ ย บทบาท
หน้าท่ีของหัวหน้าพยาบาล ผู้ช่วยหัวหน้าพยาบาล หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้างาน หัวหน้าหอผู้ป่วย
ผู้ปฏิบัติการพยาบาลข้ันสูง พยาบาลผู้จัดการรายกรณี (รายละเอียดในบทที่ 4) ตามแผนภูมิกรอบ
โครงสรา้ งการก�ำ หนดบทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวิชาชีพในหนา้ ถดั ไป
บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชีพ
23
บทบาทหน้าที่ความรับผดิ ชอบของพยาบาลวิชาชพี
บทบาทหนา้ ท่ตี ามโครงสรา้ งหนว่ ยงานในราชการบรหิ ารสว่ นภมู ิภาค บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบตาม
การปฏิบัตงิ านของสถานบรกิ ารสขุ ภาพ
สำ�นกั งานสาธารณสขุ จังหวัด กลุ่มภารกิจดา้ นการพยาบาล งานการพยาบาลในชมุ ชนของ • หวั หนา้ พยาบาล
และส�ำ นกั งานสาธารณสขุ อำ�เภอ ของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาล • ผชู้ ว่ ยหัวหน้าพยาบาล
โรงพยาบาลท่ัวไป ทัว่ ไป โรงพยาบาลชุมชน และ • หัวหนา้ กลุ่มงานหรอื หัวหนา้ งาน
พยาบาลวชิ าชพี ระดับ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำ�บล • หัวหน้าหอผ้ปู ่วย
ปฏบิ ตั กิ าร – ช�ำ นาญการพิเศษ และกลมุ่ งานการพยาบาลของ • ผูป้ ฏิบตั กิ ารพยาบาลข้ันสูง
โรงพยาบาลชุมชน พยาบาลวชิ าชีพระดับ • พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
พยาบาลวิชาชีพระดบั ปฏบิ ตั ิการ – ช�ำ นาญการพเิ ศษ
ปฏิบัติการ – เชย่ี วชาญ
แผนภมู ทิ ี่ 2.1 กรอบโครงสร้างการก�ำ หนดบทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวิชาชีพ
บทที่ 3
บทบาทหน้าทข่ี อง
พยาบาลวชิ าชพี
ตามโครงสร้างหน่วยงาน
ในราชการบริหารส่วนภมู ิภาค
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพตามโครงสร้างหน่วยงานในราชการบริหารส่วน
ภมู ภิ าค แบ่งเป็น 3 สว่ น คือ
1. บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชีพท่ีปฏิบัติงานในสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด
และส�ำ นักงานสาธารณสขุ อำ�เภอ
2. บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาลของ
โรงพยาบาลศนู ย์ โรงพยาบาลท่ัวไป และกลุ่มงานการพยาบาลของโรงพยาบาลชุมชน
3. บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพท่ีปฏิบัติงานการพยาบาลในชุมชนของโรงพยาบาล
ศนู ย์ โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชมุ ชน และโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพต�ำ บล
บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชีพ
26
บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวิชาชพี ท่ปี ฏิบตั ิงานใน
ส�ำ นักงานสาธารณสุขจงั หวดั และสำ�นักงาน
สาธารณสุขอ�ำ เภอ
บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชพี ทป่ี ฏบิ ตั งิ านในส�ำ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั และส�ำ นกั งาน
สาธารณสุขอำ�เภอ กำ�หนดให้มี 3 ระดับคือ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำ�นาญการ และระดับชำ�นาญ
การพเิ ศษ มีรายละเอียด คือ
■■ประเภทวชิ าการ ระดับปฏบิ ัตกิ าร
■■ หนา้ ท่ีความรับผิดชอบโดยสรุป (Job Summary)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ให้บริการสุขภาพอนามัยแก่บุคคล ครอบครัว และ
ชมุ ชนโดยปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ทมี การพยาบาลและทมี สขุ ภาพทเ่ี กยี่ วขอ้ ง โดยใชค้ วามรู้ ความสามารถ
ทางศาสตร์และศิลปะการพยาบาลและหลักวทิ ยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการพยาบาลและแนวปฏบิ ัติ
ท่ีกำ�หนด ครอบคลุม 4 มิติ คือ การรักษาพยาบาล ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในประชาชน
กลมุ่ ปกตแิ ละกลมุ่ เสยี่ ง การฟน้ื ฟสู ภาพผปู้ ว่ ยใหก้ ลบั สภู่ าวะปกติ และการสง่ เสรมิ ส ขุ ภาพใหส้ ามารถ
ดแู ลตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง รว่ มวางแผนและด�ำ เนนิ การพฒั นาระบบงาน ประสานงาน บรกิ ารขอ้ มลู
วิชาการ ภายใต้การกำ�กับ แนะนำ� ตรวจสอบของพยาบาลผู้มีประสบการณ์มากกว่า หัวหน้างาน
หัวหนา้ กลมุ่ งาน และปฏบิ ตั ิงานอื่นตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย เพ่ือสุขภาพอนามัยทีด่ ีของประชาชน
■■หนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบ
■■ ดา้ นการปฏบิ ัตกิ าร
1. ปฏิบัติการพยาบาลขั้นพ้ืนฐานโดยใช้ความรู้ และทักษะขั้นพื้นฐานในการให้บริการ
สุขภาพอนามัยแก่บุคคล ครอบครัวและชุมชนที่อยู่ในภาวะปกติ เส่ียง และป่วยที่มีปัญหาสุขภาพ
ต้องการการดูแลไม่ซับซ้อนตามมาตรฐาน จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ สิทธิผู้ป่วย และแนวทาง
ท่ีกำ�หนด เพอ่ื ให้ผู้ป่วย ครอบครวั และชุมชนได้รับการดูแลที่ถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภยั
บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวิชาชีพ
27
2. ดำ�เนินการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ การระบาดของโรคและมลพิษส่ิงแวดล้อมข้ันพ้ืนฐาน
แกป่ ระชาชนในชุมชน
3. รว่ มสำ�รวจชุมชน พร้อมทงั้ วนิ จิ ฉยั วางแผนแกป้ ญั หาภาวะสขุ ภาพเบ้ืองต้นแก่ชมุ ชน
4. ร่วมประเมินผล วิเคราะห์ปัญหา และความต้องการการดูแลของผู้ป่วย ครอบครัวและ
ชมุ ชนท่มี ีปญั หาสขุ ภาพพรอ้ มท้ังวางแผนแก้ไข
5. ร่วมกำ�หนดแนวปฏิบัติทางการพยาบาลและแนวทางการส่งต่อเพ่ือให้เกิดการดูแลท่ีมี
คณุ ภาพอย่างต่อเน่อื ง
6. ตดิ ตามขอ้ มลู การดแู ลสขุ ภาพของประชาชนในพนื้ ท่ี พรอ้ มทง้ั วเิ คราะหแ์ ละสง่ กลบั ขอ้ มลู
ให้กบั พยาบาลในชมุ ชนและทีมสุขภาพทเี่ กยี่ วข้อง
7. มีส่วนร่วมในการรณรงคใ์ ห้ความรดู้ า้ นสขุ ภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ท่ีรบั ผดิ ชอบ
8. ด�ำ เนนิ การตดิ ตามคณุ ภาพการพยาบาลในชมุ ชน ตามมาตรฐานหรอื แนวทางทก่ี �ำ หนด
พร้อมท้ังวิเคราะห์ข้อมูลและนำ�ข้อมูลที่ได้เสนอผู้บังคับบัญชา เพ่ือใช้วางแผนการพัฒนาคุณภาพ
บริการพยาบาล
9. มีส่วนร่วมในโครงการต่างๆที่เก่ียวข้องกับสุขภาพอนามัยและส่ิงแวดล้อมในชุมชนที่
รบั ผดิ ชอบ
10. ปฏิบตั ิการโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการสรา้ งเสริมสุขภาพ
11. มีส่วนร่วมในการดำ�เนินการวิจัยที่ทำ�ให้เกิดการพัฒนาระบบ หรือรูปแบบการบริการ
พยาบาลในชมุ ชน
■■ ดา้ นการวางแผน
1. ร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ตามเป้าหมาย และตัวชี้วัดคุณภาพของ
หน่วยงานตามขอบเขตงานท่รี ับมอบหมาย
2. รว่ มวางแผนและด�ำ เนนิ การบรหิ ารจดั การ วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เวชภณั ฑ์ ตามมาตรฐาน
หรอื แนวทางที่ก�ำ หนดในขอบเขตงานท่ีรบั มอบหมาย
3. ร่วมวางแผนและดำ�เนินการประเมินผลสัมฤทธ์ิของแผนงาน โครงการงานท่ีได้รับ
มอบหมายในหนว่ ยงาน
■■ ด้านการประสานงาน
1. ประสานความรว่ มมอื กบั ทมี สขุ ภาพทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพอื่ ใหก้ ารดแู ลสขุ ภาพของประชาชนและ
ชุมชนในพ้ืนทท่ี ร่ี บั ผิดชอบเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและผลลัพธต์ ามที่กำ�หนด
2. ประสานการใชแ้ หลง่ ประโยชน์ และการท�ำ งานรว่ มกนั ทง้ั ภายใน ภายนอกทมี งานหรอื
หนว่ ยงาน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ในการสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั ดแู ลรกั ษา และฟน้ื ฟสู ขุ ภาพของประชาชน
และชมุ ชนในพน้ื ท่ที ีร่ บั ผดิ ชอบ และด�ำ เนนิ งานตามเป้าหมายของหนว่ ยงาน
บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชพี
28
3. ชี้แจง ให้รายละเอียดข้อมูล ข้อเท็จจริง เพ่ือสร้างความเข้าใจ ความร่วมมือของชุมชน
หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง และเครอื ขา่ ยในการด�ำ เนนิ การดแู ลสขุ ภาพและสงิ่ แวลลอ้ มของบคุ คลและชมุ ชน
การด�ำ เนนิ งานตามท่รี ับมอบหมาย
■■ ดา้ นการบริการ
1. สอน สาธิต และให้คำ�แนะนำ�ด้านสุขภาพแก่ประชาชน ผู้ใช้บริการ ชุมชน เครือข่าย
ทเ่ี ก่ียวข้องกับการสง่ เสรมิ ป้องกัน ดแู ลรกั ษา ฟืน้ ฟสู ภาพ เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้
2. รว่ มแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณใ์ นทีมการพยาบาล
3. มสี ว่ นรว่ มในการจดั ท�ำ คมู่ อื การสอน การใหค้ วามรแู้ กผ่ ปู้ ว่ ยและครอบครวั ในหนว่ ยงาน
4. ให้ความร่วมมือหรือมีส่วนในการทำ�วิจัยทางการพยาบาล และนำ�ผลการวิจัยไปใช้
ปรบั ปรงุ คุณภาพการพยาบาลในหนว่ ยงาน
บทบาทหน้าทข่ี องพยาบาลวิชาชีพ
29
■■ประเภทวิชาการ ระดับชำ�นาญการ
■■ หน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบโดยสรปุ (Job Summary)
ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้างาน หัวหน้าทีม วางแผนการควบคุม กำ�กับ ดูแล ติดตามการ
ตรวจสอบการปฏิบัติของผู้ร่วมทีมโดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำ�นาญสูง
ทางศาสตร์ ศิลปะการพยาบาล และหลักวิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการพยาบาลและแนวปฏิบัติ
ที่กำ�หนดครอบคลุม 4 มิติ คือ การรักษาพยาบาล ป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษา
การฟื้นฟูสภาพและการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งบูรณาการความรู้ศาสตร์สาขาท่ีเกี่ยวข้อง เช่น
สาธารณสุขศาสตร์ พฤติกรรมและสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ฯลฯ มาประยุกต์ใช้
วางแผนการดูแลให้มีความต่อเน่ือง รวมถึงการบริหารจัดการให้เกิดการดูแลสุขภาพประชาชนและ
สง่ิ แวดลอ้ มใหม้ คี ณุ ภาพ และแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพอนามยั ทยี่ ากหรอื ซบั ซอ้ น ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ
ของประชาชน ครอบครัว และชุมชนเพื่อให้ปลอดภัยจากภาวะคุกคาม ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง
เหมาะสมและปลอดภัย รวมท้ังปฏิบัติการท่ีต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาท่ียากเพ่ือให้เกิดผลลัพธ์
ทางการพยาบาลท่ีมีประสิทธิภาพ และพัฒนาและปรับปรุงบริการการพยาบาล ประสานงานกับ
ภาคเี ครอื ขา่ ย และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งในการพฒั นาระบบงานและคณุ ภาพการดแู ลสขุ ภาพประชาชน
พร้อมท้ังส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งขององค์กรพยาบาลและภาคีเครือข่าย สอน แนะนำ� ช้ีแนะ
กับบุคลากรทางการพยาบาล ร่วมกระบวนการศึกษา วิจัย พัฒนาระบบสุขภาพเพื่อแก้ไขปัญหา
ในพ้ืนท่ี
■■หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ
■■ ด้านการปฏบิ ตั กิ าร
1. ปฏิบัติการพยาบาลท่ีต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาท่ียากตามมาตรฐาน จริยธรรม
จรรยาบรรณวชิ าชพี สทิ ธผิ ปู้ ว่ ย และแนวทางทก่ี �ำ หนด เพอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ย ครอบครวั และชมุ ชนไดร้ บั การ
ดแู ลที่ถกู ตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั
2. คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพชุมชนท่ีซับซ้อน การวิเคราะห์ปัญหาและภาวะเส่ียง
ให้การวินิจฉัยทางการพยาบาล จำ�แนกความรุนแรงของปัญหาท่ีซับซ้อน พร้อมทั้งกำ�กับ แนะนำ�
ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วมงานและทีมสุขภาพ เพ่ีือปรับปรุงงานการพยาบาลที่ให้กับผู้ป่วย
ครอบครวั และชุมชน ตลอดเวลา
3. เฝ้าระวังและวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ โรคติดต่อและภัยภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อม
ในชมุ ชน พร้อมท้ังวางแผนป้องกนั โดยรว่ มมอื กับทมี สุขภาพและแหล่งประโยชน์ในชุมชน
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ
30
4. ใหก้ ารพยาบาลในระดบั บคุ คล ครอบครวั และชมุ ชนโดยเนน้ การมสี ว่ นรว่ มและเสรมิ สรา้ ง
ศักยภาพในการดูแลตนเองให้ครอบคลุมท้ัง 4 มิติ ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล
การฟื้นฟูสภาพความเจ็บป่วยและความพิการ และการป้องกันโรค โดยใช้แนวคิดทฤษฎีทาง
การพยาบาลบนพ้นื ฐานของหลักฐานเชงิ ประจักษ์
5. ประเมินผลการพยาบาลในชุมชน และวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาสุขภาพของชุมชน เพ่ือ
น�ำ ขอ้ มูลมาก�ำ หนดแนวทางการดูแลทีเ่ หมาะสมกบั ชมุ ชน
6. เปน็ ผนู้ �ำ ในการประชมุ ทมี การพยาบาลหรอื ทมี สขุ ภาพ เพอ่ื ประเมนิ ผลส�ำ เรจ็ ของการดแู ล
และสง่ ตอ่ น�ำ ไปส่กู ารปรบั ปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการดแู ลผปู้ ่วย
7. ก�ำ หนดแนวทางการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื ในชมุ ชน โดยตดิ ตามเฝา้ ระวงั ความเสย่ี ง
ตอ่ การตดิ เชอื้ และแพรก่ ระจายเชอื้ ในผปู้ ว่ ย รวมทงั้ ก�ำ กบั ควบคมุ สงิ่ แวดลอ้ มและอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื
เครอ่ื งใชใ้ หป้ ราศจากการแพร่กระจายเชือ้
8. ก�ำ หนดแนวทางการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ และปอ้ งกนั โรคในชมุ ชน ในประชาชนกลมุ่ ปกติ
และกลุ่มปว่ ย โดยสรา้ งการมีสว่ นร่วมของชมุ ชน
9. กำ�หนดการรณรงค์ให้ความรู้สุขภาพแก่ประชาชนในพื้นท่ีรับผิดชอบ ที่เหมาะสมกับ
บรบิ ทของชมุ ชน
10. กำ�หนดแนวทางการควบคุมคุณภาพการพยาบาล โดยใช้มาตรฐานการพยาบาลและ
ค่มู อื ในการปฏิบตั กิ ารพยาบาลตา่ งๆ
11. กำ�หนดฐานข้อมูลทางการพยาบาลในระดับหน่วยงานที่รับผิดชอบ และการนำ�ข้อมูล
ไปใช้เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล
12. ศกึ ษา วจิ ยั พฒั นางานบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชนทซี่ บั ซอ้ น โดยมกี ารใชข้ อ้ มลู จากการ
ศึกษาค้นคว้าและหลักฐานเชิงประจักษ์ ภายใต้การบริหารจัดการทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประยุกต์ให้
สอดคล้องกับสภาพการปฏิบตั ิงาน
■■ ด้านการวางแผน
1. วางแผนบรหิ ารจดั การและพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลของหนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ โดยใช้
ความรปู้ ระสบการณแ์ ละความช�ำ นาญสงู เพอื่ ใหก้ ารด�ำ เนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมาย ผลสมั ฤทธทิ์ กี่ �ำ หนด
2. วางแผนบรหิ ารอตั ราก�ำ ลงั พฒั นาบคุ ลากรพยาบาลในหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ ใหเ้ หมาะสม
กบั บรบิ ทและภาระงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
3. ร่วมวางแผนนิเทศแก่บุคลากรพยาบาลและสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานท่ี
รบั ผดิ ชอบ โดยใชค้ วามรู้ ประสบการณ์ และความช�ำ นาญสงู ในการเชอื่ มโยง มาตรฐานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ในการนเิ ทศงาน เพอ่ื พัฒนาการปฏิบัตใิ นชมุ ชนและเครอื ข่ายให้มคี ุณภาพ
4. ร่วมวางแผนและควบคุม กำ�กับให้มีการใช้งบประมาณและทรัพยากรอื่นๆ อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพในภาพรวมของจงั หวดั
บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวิชาชีพ
31
5. ร่วมวางแผนและดำ�เนินการประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน โครงการงานท่ีได้รับ
มอบหมายในจงั หวดั
■■ ดา้ นการประสานงาน
1. ประสานความร่วมมือของบุคลากรในหน่วยงาน ทีมสหสาขาวิชาชีพและหน่วยงานที่
เกย่ี วขอ้ ง ในการดแู ลผปู้ ว่ ย ครอบครวั และชมุ ชนทม่ี ปี ญั หาซบั ซอ้ นในการเขา้ ถงึ บรกิ าร เพอ่ื สง่ เสรมิ
คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ีของประชาชน
2. ประสานให้ข้อมูลข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นในการจัดรูปแบบ การจัดกิจกรรมและ
จัดบริการพยาบาลแก่กลุ่มเป้าหมายและผู้เก่ียวข้อง เพ่ือให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามท่ี
ก�ำ หนดไว้
3. ประสานการทำ�งาน โดยให้ความคิดเห็น คำ�แนะนำ� กับผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่
รับผิดชอบในจังหวัด ทีมสุขภาพ และหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง ในการดูแลบุคคล ครอบครัว ชุมชน
และสิง่ แวดล้อม
4. ประสานทีมการพยาบาลชุมชน ทีมสหสาขาวิชาชีพและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพ่ือ
ร่วมกันแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ให้ได้รับการช่วยเหลือ ท่ีรวดเร็ว
ทนั เวลา มคี ุณภาพและปลอดภยั
5. ประสานความร่วมมือกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ในการปฏิบัติตามแนวทางการส่งต่อและ
ให้การดแู ลต่อเนอ่ื ง ตามปญั หาและความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย
6. ประสานงานหาแหลง่ ประโยชนท์ จ่ี ะชว่ ยจดั การกบั ปญั หาตา่ งๆ ใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมายและ
ครอบครัว
7. ประสานความร่วมมือ ในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลภายในหน่วยงานด้าน
บรกิ าร
■■ ด้านการบริการ
1. จัดทำ�คู่มือหรือแนวทางการดูแลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย เพ่ือให้สามารถดูแลตนเอง
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และแนวทางการปฏิบตั ิงานการพยาบาลในพื้นท่ที รี่ ับผดิ ชอบ
2. สอน สาธิต ให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ชุมชน และถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีทาง
การพยาบาลแกผ่ ู้ใต้บังคบั บัญชาหรือผ้ทู ม่ี ปี ระสบการณ์น้อยกวา่
3. นเิ ทศ ติดตาม ก�ำ กบั ดูแล ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านการพยาบาลในพืน้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ
4. เขา้ ร่วมโครงการ งานวิจยั และโครงการพัฒนาต่างๆของหนว่ ยงาน
5. ใหบ้ ริการขอ้ มลู ข่าวสารทางวชิ าการและจดั เก็บข้อมูล เกีย่ วกบั การพยาบาลในชมุ ชน
บทบาทหน้าทข่ี องพยาบาลวิชาชพี
32
■■ประเภทวชิ าการ ระดบั ช�ำ นาญการพเิ ศษ
■■ หนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบโดยสรปุ (Job Summary)
ปฏิบัติการพยาบาลในฐานะหัวหน้างาน หัวหน้ากลุ่มงาน วางแผนการควบคุม กำ�กับ ดูแล
ติดตาม และตรวจสอบการปฏิบัติของผู้ร่วมทีม โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และ
ความชำ�นาญงานสูงมาก ทางศาสตร์ ศิลปะการพยาบาล และหลักวิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐาน
การพยาบาลและแนวปฏบิ ตั ทิ ก่ี �ำ หนดครอบคลมุ 4 มติ ิ คอื การรกั ษาพยาบาล ปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ น
ระหว่างการรักษา การฟื้นฟูสภาพและการส่งเสริมสุขภาพ รวมท้ังบูรณาการความรู้ศาสตร์สาขา
ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น สาธารณสุขศาสตร์ พฤติกรรมและสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ฯลฯ
มาประยุกต์ใช้ วางแผนการดูแลให้มีความต่อเน่ือง รวมถึงการบริหารจัดการให้เกิดการดูแลสุขภาพ
ประชาชนและสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพ และแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยท่ียุ่งยากซับซ้อน หรือภาวะ
วกิ ฤตทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพในกลมุ่ ผปู้ ว่ ย เพื่อใหผ้ ปู้ ่วยปลอดภัยจากภาวะคกุ คาม ไดร้ ับการดูแล
ทถ่ี กู ตอ้ งเหมาะสม ปลอดภยั สามารถคาดการณค์ วามเสย่ี งปญั หาสาธารณสขุ ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ กบั ชมุ ชน
และบริหารงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของจังหวัดให้เกิดผลลัพธ์สูงสุด รวมทั้งตัดสินใจหรือ
แกป้ ญั หาทย่ี ากมาก เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ างก ารพยาบาลทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทงั้ พฒั นาและปรบั ปรงุ
บรกิ ารการพยาบาล พฒั นาโปรแกรมหรอื แนวปฏบิ ตั กิ ารดแู ล โดยใชห้ ลกั ฐานทางวชิ าการ การวจิ ยั
หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ประสานงานกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการพฒั นาระบบงาน
และคุณภาพการดูแลสุขภาพประชาชน พร้อมท้ังส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งขององค์กรพยาบาล
และภาคเี ครอื ขา่ ย สอน แนะน�ำ ชแี้ นะกบั บคุ ลากรทางการพยาบาลทงั้ จงั หวดั เปน็ ผนู้ �ำ กระบวนการ
ศึกษา วิจัย พัฒนาระบบสุขภาพเพือ่ แก้ไขปญั หาในพน้ื ท่ี
■■หนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบ
■■ ดา้ นการปฏิบตั กิ าร
1. ปฏิบัติการพยาบาลท่ีต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาท่ียุ่งยากซับซ้อนตามมาตรฐานวิชาชีพ
หลักจริยธรรม จรรยาบรรณ สิทธิผู้ป่วย และแนวทางท่ีกำ�หนดเพื่อให้ผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน
ไดร้ บั การดแู ลทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม และใชค้ วามช�ำ นาญงานขนั้ สงู มากดา้ นบรกิ ารพยาบาลในการดแู ล
สุขภาพประชาชนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยมีความยุ่งยากซับซ้อน ยากต่อการตัดสินใจ
เพอื่ ใหไ้ ด้รับการดแู ลตอ่ เน่อื งทเ่ี หมาะสม ปลอดภยั
2. คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพ โดยการออกแบบการเก็บข้อมูลภาวะสุขภาพชุมชน
โดยองิ กบั นโยบายและสภาพปญั หาของพน้ื ท่ี พรอ้ มกบั วเิ คราะหข์ อ้ มลู สขุ ภาพในชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
เพอ่ื เพิม่ ประสิทธิภาพในการดแู ลผูป้ ว่ ย ครอบครัว และชุมชน
บทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวชิ าชพี
33
3. เป็นผู้นำ�ในการกำ�หนดนโยบายและยุทธศาสตร์บริการพยาบาลในจังหวัดให้สอดรับ
นโยบายของจังหวัดและกระทรวงสาธารณสุข พร้อมท้ังนำ�สู่การปฏิบัติ ติดตาม และกำ�กับ เพื่อให้
เกิดผลลพั ธ์ตามเป้าประสงค์
4. คาดการณ์ปัญหาสุขภาพชุมชนในระดับอำ�เภอ ตามข้อมูลสถานการณ์สุขภาพและสิ่ง
แวดล้อมทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป วางแผนปอ้ งกนั โดยรว่ มมอื กับทมี สุขภาพและแหล่งประโยชนใ์ นชมุ ชน
5. วางแผนให้การพยาบาลในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน โดยเน้นการมีส่วนร่วม
และเสริมสร้างศักยภาพในการดูแลตนเองให้ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ
การรกั ษาพยาบาล การฟน้ื ฟสู ภาพความเจบ็ ปว่ ยและความพกิ าร และการปอ้ งกนั โรค โดยใชแ้ นวคดิ
ทฤษฎีทางการพยาบาลบนพ้ืนฐานของหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
6. กำ�หนดกลวิธีหรือแนวทางการดำ�เนินงานให้การพยาบาล เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มท่ีมี
ความเสยี่ งสงู หรอื ภาวะปญั หาสขุ ภาพอนามยั ทยี่ งุ่ ยากซบั ซอ้ น หรอื ภาวะวกิ ฤต ใหไ้ ดร้ บั การดแู ลอยา่ ง
เหมาะสม ปลอดภยั และตอ่ เนือ่ ง
7. กำ�หนดแนวทางการรณรงค์ท้ังด้านสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคอย่างต่อเน่ือง
โดยอาศยั ขอ้ มลู ทางระบาดวทิ ยา และความรว่ มมอื ระหวา่ งทมี สขุ ภาพ หนว่ ยงานและองคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
เพือ่ ให้เกดิ ผลลัพธท์ ี่ดีต่อสขุ ภาพและคุณภาพชวี ติ ทีด่ ีต่อประชาชน
8. จัดการกับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชนและสถานการณ์
ส่ิงแวดล้อมท่ีไม่คาดคิดว่าจะเกิดข้ึน หรือภาวะวิกฤตของผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้ง
คาดการณ์ วางแผนปอ้ งกัน แก้ไข ได้อยา่ งถกู ต้องทันต่อเหตุการณ์
9. จดั ระบบการตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั ผปู้ ว่ ย ครอบครวั ชมุ ชนและหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื ให้
คำ�แนะน�ำ ตอบข้อสงสยั และเปน็ ส่อื กลางในการติดต่อทีมสุขภาพที่เก่ยี วข้อง
10. พัฒนาระบบการป้องกันและควบคุมการติดเช้ือในชุมชน การแพร่กระจายและการ
ระบาดของเช้ือโรค โดยนิเทศ ติดตาม และให้คำ�ปรึกษา แก่ทีมสุขภาพ หน่วยงานและองค์กรที่
เกยี่ วขอ้ ง
11. ติดตามและดำ�เนินการควบคุมคุณภาพของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในชุมชน โดยใช้
มาตรฐานการพยาบาลและคู่มอื ในการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลต่างๆ
12. ก�ำ หนดฐานขอ้ มลู ทางการพยาบาลทกุ ระดบั ทง้ั จงั หวดั และการน�ำ ขอ้ มลู ไปใชเ้ พอ่ื ใหเ้ กดิ
ประโยชนใ์ นการพัฒนาคุณภาพบรกิ ารพยาบาล
13. ศกึ ษา วจิ ยั พฒั นาระบบหรอื รปู แบบบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชนทม่ี คี วามยงุ่ ยากซบั ซอ้ น
โดยมกี ารใชข้ อ้ มลู จากการศกึ ษาคน้ ควา้ และหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ภายใตก้ ารบรหิ ารจดั การทรพั ยากร
อย่างค้มุ ค่า ประยกุ ตใ์ หส้ อดคล้องกบั สภาพการปฏบิ ัติงาน
บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวิชาชพี
34
■■ ดา้ นการวางแผน
1. วางแผนบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการพยาบาลของหน่วยงานที่รับผิดชอบใน
จงั หวดั โดยใชค้ วามรปู้ ระสบการณแ์ ละความช�ำ นาญสงู มาก ในการวเิ คราะห์ คาดการณส์ ถานการณ์
แนวโนม้ ปญั หาและตดั สนิ ใจ ก�ำ หนดแนวทางแกป้ ญั หา พฒั นา เพอ่ื ใหก้ ารด�ำ เนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมาย
และผลสัมฤทธ์ทิ ก่ี ำ�หนด
2. วางแผนบริหารอัตรากำ�ลังและพัฒนาบุคลากรพยาบาลในหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
ในจังหวดั ใหเ้ หมาะสมกับบริบทและภาระงานทีเ่ กี่ยวข้อง
3. วางแผนนเิ ทศแกบ่ คุ ลากรพยาบาลและบคุ ลากรสาธารณสขุ อนื่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในจงั หวดั โดย
ใชค้ วามรู้ ประสบการณแ์ ละความช�ำ นาญสงู มากในการเชอื่ มโยงมาตรฐานทเี่ กย่ี วขอ้ งในการนเิ ทศงาน
เพ่ือพฒั นาการปฏิบตั ใิ นชุมชนและเครอื ขา่ ยให้มคี ุณภาพ
4. วางแผนและควบคมุ ก�ำ กบั ใหม้ กี ารใชง้ บประมาณและทรพั ยากรอน่ื ๆ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ในภาพรวมของจงั หวัด
5. วางแผนและดำ�เนินการประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงานหรือโครงการงานที่ได้รับมอบ
หมายในจงั หวดั
■■ ดา้ นการประสานงาน
1. ประสานงานความร่วมมือของบุคลากรในหน่วยงาน ทีมสหสาขาวิชาชีพและหน่วยงาน
ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในการดแู ลผปู้ ว่ ย ครอบครวั และชมุ ชนทมี่ ปี ญั หายงุ่ ยากซบั ซอ้ นในการเขา้ ถงึ บรกิ าร เพอื่
สง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ ทีด่ ีของประชาชน
2. ประสานการทำ�งาน โดยให้ความคิดเห็น คำ�แนะนำ� กับผู้ปฏิบัติในหน่วยงานที่รับผิด
ชอบในจังหวัด ทีมสุขภาพ และหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้อง ในการดูแลบุคคล ครอบครัว ชุมชน และ
สงิ่ แวดลอ้ ม
3. ประสานความร่วมมอื ในการพัฒนาคณุ ภาพบรกิ ารพยาบาลในระดับจงั หวัด
4. ประสานแหล่งประโยชนท์ กุ ภาคสว่ นในระดับอำ�เภอ
■■ ด้านการบริการ
1. พฒั นานโยบาย ยทุ ธศาสตร์ คมู่ อื หรอื วธิ ปี ฏบิ ตั งิ าน และเผยแพร่ เพอ่ื การเรยี นรู้ เปน็
แหล่งประโยชน์แก่ผู้ร่วมงาน สมาชิกในทีม ผู้ใช้บริการประชาชน ชุมชน และเครือข่ายบริการที่
เกีย่ วขอ้ ง ท้ังภายในและนอกหนว่ ยงาน
2. สอน สาธิต ให้คำ�แนะนำ�และให้คำ�ปรึกษาด้านสุขภาพแก่ผู้ใช้บริการท้ังระดับบุคคล
ครอบครัว ชุมชน และเครือข่ายบรกิ ารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ในปัญหาสุขภาพท่ียุ่งยากซบั ซอ้ น
3. จัดกจิ กรรมวิชาการ แลกเปล่ียนเรยี นร้โู ครงการวจิ ยั ของหนว่ ยงานและนอกหนว่ ยงาน
4. ให้คำ�แนะนำ� หรือคำ�ปรึกษาทางการพยาบาลท่ียุ่งยากซับซ้อนแก่ทีมสุขภาพหรือ
หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในประเดน็ ทต่ี อ้ งใชป้ ระสบการณ์ ความช�ำ นาญงานสงู มากในดา้ นการพยาบาล
บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชีพ
35
และเป็นผู้นำ�การฝึกอบรมเพื่อเพ่ิมพูนทักษะการพยาบาลที่ยุ่งยากซับซ้อนแก่พยาบาลวิชาชีพท้ังใน
หนว่ ยงานและนอกหนว่ ยงาน
5. ดำ�เนินการแลกเปล่ียน ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ด้านการพยาบาลและศาสตร์
สาขาอนื่ ท่เี กี่ยวข้องท้ังหน่วยราชการ เอกชน และประชาชนทัว่ ไป
บทบาทหน้าทีข่ องพยาบาลวชิ าชีพ
36
บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชีพทีป่ ฏบิ ัตงิ านใน
กลุ่มภารกจิ ดา้ นการพยาบาลของโรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทว่ั ไป และกลมุ่ งานการพยาบาลของ
โรงพยาบาลชุมชน
บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี ทป่ี ฏบิ ตั งิ านในกลมุ่ ภารกจิ ดา้ นการพยาบาลของโรงพยาบาล
ศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไป และกลุ่มงานการพยาบาลของโรงพยาบาลชุมชนกำ�หนดให้มี 4 ระดับ คือ
ระดบั ปฏิบัติการ ระดบั ช�ำ นาญการ ระดับช�ำ นาญการพิเศษ และระดับเช่ียวชาญ มีรายละเอยี ด คือ
■■ประเภทวชิ าการ ระดับปฏบิ ตั ิการ
■■ หน้าท่คี วามรับผดิ ชอบโดยสรปุ (Job Summary)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ปฏิบัติการพยาบาลโดยตรงกับผู้ป่วยและครอบครัว
รวมถงึ การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ทมี การพยาบาลและทมี สขุ ภาพทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยใชค้ วามรู้ ความสามารถ
ทางศาสตร์และศิลปะการพยาบาล หลักวิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการพยาบาลและแนวปฏิบัติท่ี
ก�ำ หนด ครอบคลมุ 4 มติ ิ คอื การรกั ษาพยาบาล ปอ้ งกนั การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นในผปู้ ว่ ย การฟน้ื ฟู
สภาพผู้ป่วยให้กลับสู่ภาวะปกติ และการส่งเสริมสุขภาพให้สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
โดยใช้ร่วมกับกระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาล ร่วมวางแผนและดำ�เนินการพัฒนา
ระบบงาน ประสานงาน บริการข้อมูลวิชาการ ภายใต้การกำ�กับ แนะนำ� ตรวจสอบ ของพยาบาล
ผู้มีประสบการณ์มากกว่า พยาบาลพี่เลี้ยง หัวหน้างาน หัวหน้าหอผู้ป่วย และปฏิบัติงานอื่นตามท่ี
ได้รบั มอบหมาย เพื่อสขุ ภาพอนามัยท่ีดีของประชาชน
บทบาทหน้าท่ขี องพยาบาลวิชาชีพ
37
■■หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ
■■ ด้านการปฏบิ ัตกิ าร
1. ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลขน้ั พน้ื ฐานตามมาตรฐาน จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี สทิ ธผิ ปู้ ว่ ย
และแนวทางท่ีกำ�หนด เพอื่ ใหผ้ ้ปู ว่ ยไดร้ ับการดแู ลทีถ่ กู ต้องและปลอดภยั
2. ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลโดยตรงแกผ่ ปู้ ว่ ยและครอบครวั โดยใชก้ ระบวนการพยาบาลและการ
พยาบาลองค์รวม เพื่อวางแผนและให้การพยาบาลครอบคลุมทั้งร่างกายและจิตใจ ท้ังการป้องกัน
การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ น การสง่ เสรมิ และฟน้ื ฟสู ขุ ภาพใหส้ ามารถกลบั มาดแู ลตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
โดยเร่ิมตั้งแต่ การคัดกรอง การประเมินภาวะสุขภาพ การวิเคราะห์ปัญหาและภาวะเส่ียง และ
ใหก้ ารพยาบาลพรอ้ มทงั้ ตดิ ตามประเมนิ ผลเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลทใี่ หก้ บั ผปู้ ว่ ยตลอดเวลา
3. เฝ้าระวัง วิเคราะห์อาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย และให้การดูแลเบ้ืองต้นพร้อมทั้ง
ดำ�เนินการปรกึ ษาพยาบาลวิชาชพี ในระดบั สงู พยาบาลท่มี ปี ระสบการณ์ หรือทมี สขุ ภาพทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
เพอื่ ใหก้ ารช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงทกี อ่ นที่จะเข้าส่ภู าวะวกิ ฤตหรอื มปี ัญหาซับซอ้ นตามมา
4. ควบคุมดูแลส่ิงแวดล้อมให้เอ้ือต่อการดูแลผู้ป่วยอย่างเหมาะสม การป้องกันการแพร่
กระจายของเชอ้ื โรคเปน็ แหลง่ ฝึกปฏบิ ัติของนักศึกษา รวมถงึ ทีมสขุ ภาพทุกระดับ
5. เตรยี มและตรวจสอบอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชท้ จ่ี �ำ เปน็ ใหพ้ รอ้ มใชต้ ลอดเวลา ในการ
รักษาพยาบาล
6. ปฏิบัติตามแผนจำ�หน่าย เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยกลับไปใช้ชีวิตปกติกับครอบครัวได้เร็วที่สุด
หรือปฏิบตั ิตามกิจกรรมทหี่ ัวหนา้ ทีมมอบหมาย
7. ร่วมประชุมในทีมการพยาบาลหรือทีมสุขภาพ เพ่ือประเมินผลสำ�เร็จของการดูแลและ
การวางแผนจำ�หน่าย นำ�ไปสกู่ ารปรบั ปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการดูแลผู้ปว่ ย
8. มีส่วนร่วมในการควบคุมคุณภาพของพยาบาลในหน่วยงานที่ปฏิบัติ โดยใช้มาตรฐาน
การพยาบาลและคู่มอื ในการปฏบิ ัติการพยาบาลต่างๆ
9. สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติ ในการดูแลผู้ป่วยและการบำ�บัดอาการภายใต้
การแนะนำ� ของพยาบาลหัวหน้าทีม หัวหนา้ หอผู้ป่วย
10. การบนั ทกึ ขอ้ มลู ปญั หาและความตอ้ งการของผปู้ ว่ ยตง้ั แตแ่ รกรบั จนจ�ำ หนา่ ย ครอบคลมุ
องค์รวม และผลการปฏิบัติตามแผนการรักษา แผนการพยาบาล การตอบสนองปัญหาของผู้ป่วย
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง พรอ้ มทง้ั วเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอื่ การพฒั นาการดแู ลผปู้ ว่ ย ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั สขุ สบาย
และมปี ระสทิ ธิภาพ
บทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวชิ าชีพ
38
■■ ดา้ นการวางแผน
1. ร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ตามเป้าหมาย และตัวชี้วัดคุณภาพของ
หนว่ ยงาน ตามขอบเขตงานทร่ี บั มอบหมาย
2. ร่วมวางแผนและดำ�เนินการบริหารจัดการ วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือเวชภัณฑ์ ตาม
มาตรฐานและแนวทางทีก่ �ำ หนดตามขอบเขตงานที่รบั มอบหมาย
3. ร่วมวางแผนและดำ�เนินการประเมินผลสัมฤทธ์ิของแผนงาน โครงการ งานท่ีได้รับ
มอบหมายในหน่วยงาน
■■ ด้านการประสานงาน
1. ประสานความร่วมมือกับทีมสุขภาพที่เก่ียวข้อง เพื่อให้กระบวนการดูแลผู้ป่วยเป็นไป
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและได้ผลลพั ธ์ตามทีก่ ำ�หนด
2. ประสานการใช้แหล่งประโยชน์ และการทำ�งานร่วมกันท้ังภายใน นอกทีมงานหรือ
หน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษาพยาบาลและการดำ�เนินงานตามเป้าหมายของ
หนว่ ยงาน
3. ชแ้ี จง ใหร้ ายละเอยี ดขอ้ มลู ขอ้ เทจ็ จรงิ เพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจ รว่ มมอื ในการด�ำ เนนิ การ
รักษาพยาบาล หรือการดำ�เนนิ งานตามทร่ี บั มอบหมาย
■■ ดา้ นการบรกิ าร
1. สอน สาธิต และให้คำ�แนะนำ�ด้านสุขภาพแก่ประชาชน ผู้ใช้บริการ ชุมชน เครือข่าย
บริการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ดูแลรักษา และฟ้ืนฟูสภาพ เพื่อให้ประชาชน
สามารถดูแลตนเองได้
2. รว่ มแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณใ์ นทีมการพยาบาล
3. มสี ่วนรว่ มในการจดั ทำ�คูม่ อื การสอน การให้ความรู้แก่ผู้ปว่ ยและครอบครัว
4. ใหค้ วามรว่ มมอื หรอื มสี ว่ นในการท�ำ วจิ ยั ทางการพยาบาลและน�ำ ผลการวจิ ยั ไปใชใ้ นการ
ปรับปรุงคณุ ภาพการพยาบาลในหน่วยงาน
บทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวิชาชีพ
39
■■ประเภทวิชาการ ระดับช�ำ นาญการ
■■ หน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบโดยสรุป (Job Summary)
ปฏิบัติการพยาบาลในฐานะหัวหน้างานหรือผู้มีประสบการณ์ทางการพยาบาล ซึ่งต้องกำ�กับ
แนะนำ� ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วมงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และ
ความชำ�นาญสูงทางการพยาบาลโดยใช้ศาสตร์ ศิลปะการพยาบาล และหลักวิทยาศาสตร์
ตามมาตรฐานการพยาบาลและแนวปฏิบัติที่กำ�หนด ครอบคลุม 4 มิติ คือ การรักษาพยาบาล
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษา การฟื้นฟูสภาพและการส่งเสริมสุขภาพ โดยประยุกต์ใช้
ร่วมกับกระบวนการพยาบาล ในการปฏิบัติการพยาบาล วางแผนการดูแลและจัดการปัญหาด้าน
สขุ ภาพในกลมุ่ เสยี่ งและกลมุ่ ปว่ ยเปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลมุ่ สามารถประเมนิ และวนิ จิ ฉยั คาดการณ์
อาการแสดงท่ีบ่งชี้ภาวะฉุกเฉินและความเสี่ยงทางคลินิกและสังคม ตัดสินใจ ดำ�เนินการ แก้ปัญหา
ความเจบ็ ปว่ ยและชว่ ยแกป้ ญั หาอน่ื ๆ ทย่ี าก รว่ มวางแผนและด�ำ เนนิ การพฒั นาระบบงาน ประสานงาน
บริการข้อมูลวิชาการ และสอน ให้คำ�แนะนำ� ช่วยเหลือ สร้างเสริมพลังอำ�นาจ (Empowerment)
ตดิ ตามนเิ ทศการปฏบิ ตั งิ านของผปู้ ฏบิ ตั ิ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของผปู้ ว่ ย ครอบครวั ประสานความรว่ มมอื
กบั ทมี สหสาขาวชิ าชพี และปฏบิ ตั งิ านอนื่ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย เพอ่ื สขุ ภาพอนามยั ทด่ี ขี องประชาชน
■■หนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบ
■■ ดา้ นการปฏิบัตกิ าร
1. ปฏิบัติการพยาบาลที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยาก ตามมาตรฐาน จริยธรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพ สิทธิผู้ป่วย และแนวทางที่กำ�หนด เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลท่ีถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภยั
2. ปฏิบัติการพยาบาลโดยตรงแก่ผู้ป่วยและครอบครัว โดยใช้กระบวนการพยาบาลและ
การพยาบาลองคร์ วม เพอ่ื วางแผนและใหก้ ารพยาบาลครอบคลมุ ทงั้ รา่ งกายและจติ ใจ ทง้ั การปอ้ งกนั
การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ น การสง่ เสรมิ และฟนื้ ฟสู ขุ ภาพ ใหส้ ามารถกลบั มาดแู ลตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
ตง้ั แต่ การคดั กรอง การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพทซ่ี บั ซอ้ น การวเิ คราะหป์ ญั หาและภาวะเสย่ี ง ใหก้ ารวนิ จิ ฉยั
ทางการพยาบาล จ�ำ แนกความรนุ แรงของปญั หาทซ่ี บั ซอ้ น วางแผนการพยาบาล และใหก้ ารพยาบาล
ทใ่ี ชป้ ระสบการณ์ และความช�ำ นาญสงู พรอ้ มทง้ั ก�ำ กบั แนะน�ำ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของผรู้ ว่ มงาน
และติดตามประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการพยาบาลทใ่ี หก้ ับผูป้ ว่ ยตลอดเวลา
3. เฝา้ ระวงั วเิ คราะหอ์ าการเปลย่ี นแปลงและอาการผดิ ปกตขิ องผปู้ ว่ ยทวั่ ไปและภาวะวกิ ฤต
และเมอ่ื มภี าวะฉกุ เฉนิ ใหก้ ารชว่ ยชวี ติ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ เวชภณั ฑท์ จี่ ะชว่ ยชวี ติ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
ฉับไว กรณีสถานการณ์ฉุกเฉินหลายอย่างเกิดขึ้นพร้อมกัน สามารถทราบความต้องการ รวมถึง
บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวิชาชพี
40
การจดั เตรียมเคร่อื งมอื และใชแ้ หลง่ ประโยชนท์ ่มี อี ยูท่ งั้ หมดไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
4. จัดระบบการนำ�แผนการรักษา การพยาบาลไปปฏิบัติ และสามารถประเมินส่ิงท่ี
ควรละเว้นหรอื เพิ่มเตมิ จากแผนการรักษาของแพทย์ โดยยดึ หลักสวัสดภิ าพของผปู้ ว่ ย
5. เป็นผู้นำ�ในการประชุมทีมการพยาบาลหรือทีมสุขภาพ เพื่อประเมินผลสำ�เร็จของ
การดแู ลและการวางแผนจำ�หน่าย น�ำ ไปส่กู ารปรบั ปรงุ และพัฒนาคุณภาพการดูแลผ้ปู ว่ ย
6. จดั ระบบการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอื้ ในหอผปู้ ว่ ย โดยตดิ ตามเฝา้ ระวงั ความเสยี่ ง
ตอ่ การตดิ เชอ้ื และแพรก่ ระจายเชอ้ื ในผปู้ ว่ ย รวมทงั้ ก�ำ กบั ควบคมุ สงิ่ แวดลอ้ มและอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื
เครือ่ งใชใ้ หป้ ราศจากการแพรก่ ระจายเช้ือ
7. จัดระบบการให้ยาผู้ป่วยต้ังแต่ การตรวจสอบคำ�ส่ังการรักษา การตรวจสอบยา
การวางแผนให้ยาและติดตามเฝ้าระวังผล อาการเปลี่ยนแปลงท่ีสำ�คัญ (critical point) ของยา
แต่ละชนิด รวมท้ังตัดสินใจประสานความร่วมมือกับทีมสหสาขาเมื่อมีอาการผิดปกติจากการใช้ยา
ชว่ ยเหลือบรรเทาอาการข้างเคียงจากยา
8. รว่ มด�ำ เนนิ การระบบบรหิ ารความเสย่ี งในหนว่ ยงาน ปฏบิ ตั ติ ามแนวปฏบิ ตั กิ ารบรหิ าร
ความเส่ยี งในหนว่ ยงาน ภายใตค้ ำ�แนะนำ� นเิ ทศ ควบคมุ กำ�กับของหัวหน้าหอผ้ปู ว่ ย
9. วางแผนจำ�หน่าย (discharge planning) ผู้ป่วยที่มีปัญหาซับซ้อน เพื่อผู้ป่วยได้รับ
การดูแลและฟ้ืนฟูสภาพอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมมือกับครอบครัวของผู้ป่วย บุคลากรทีมสุขภาพและ
พยาบาลชุมชนเพ่ือใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดแกผ่ ปู้ ว่ ยและครอบครวั
10. ติดตามและดำ�เนินการควบคุมคุณภาพของพยาบาลในหน่วยงานท่ีปฏิบัติ โดยใช้
มาตรฐานการพยาบาลและคมู่ อื ในการปฏิบตั ิการพยาบาลตา่ งๆ
11. สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติ ในการดูแลผู้ป่วยและการบำ�บัดอาการภายใต้
การแนะนำ� ปรกึ ษาของพยาบาลหัวหน้าทีม หัวหนา้ หอผู้ปว่ ย
12. บันทึกทางการพยาบาลตรงตามปัญหาความต้องการ การประเมินแรกรับ ประวัติ
การเจบ็ ปว่ ย พฤติกรรมสขุ ภาพ การประเมินซ้ําต่อเนอื่ ง สาเหตปุ จั จยั เกย่ี วกบั ความเจ็บปว่ ย ผลการ
ปฏบิ ตั ติ ามแผนการรกั ษา แผนการพยาบาลและการตอบสนองของผปู้ ว่ ยแตล่ ะชว่ งเวลา ดา้ นรา่ งกาย
จิตใจอารมณ์ สังคม อย่างต่อเน่ืองถูกต้อง พร้อมท้ังวิเคราะห์ข้อมูลและนำ�ข้อมูลที่ได้มาวางแผน
เพ่อื การพฒั นาการดแู ลผูป้ ว่ ย ให้เกิดความปลอดภยั สุขสบายและมปี ระสิทธภิ าพ
■■ ดา้ นการวางแผน
1. วางแผน รว่ มวางแผนแกไ้ ขปญั หาการปฏบิ ตั งิ าน แผนบรหิ ารจดั การและพฒั นาคณุ ภาพ
ของงาน ที่มีความยาก โดยต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และความชำ�นาญสูง ในการ
วิเคราะห์ ตัดสินใจกำ�หนดแนวทางแก้ปัญหา พัฒนา เพื่อให้การดำ�เนินงานบรรลุเป้าหมาย
ผลสมั ฤทธ์ทิ ่กี �ำ หนด
2. ร่วมวางแผนบริหารอัตรากำ�ลัง พัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน และแผนการศึกษา
ฝึกอบรมในคลินิกแก่นักศึกษาพยาบาล และผู้อบรมหลักสูตรเฉพาะสาขาต่างๆ ตามภารกิจของ
บทบาทหนา้ ทีข่ องพยาบาลวิชาชีพ
41
หนว่ ยงาน หอผู้ป่วย
3. รว่ มวางแผนนเิ ทศแกบ่ คุ ลากรพยาบาลและบคุ ลากรสาธารณสขุ อน่ื ทเี่ กยี่ วขอ้ งทง้ั ในและ
นอกหนว่ ยงาน โดยตอ้ งใชค้ วามรแู้ ละประสบการณแ์ ละความช�ำ นาญสงู ในการเชอื่ มโยงมาตรฐานที่
เกี่ยวข้องในการนิเทศงาน เพ่ือพัฒนาการปฏิบัติ และระบบบริการพยาบาลในหน่วยงาน หอผู้ป่วย
และเครือขา่ ยให้มคี ณุ ภาพ
4. ร่วมกับหัวหน้าหอผู้ป่วย หัวหน้าหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในการวางแผนบริหารจัดการ
ระบบวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือเวชภัณฑ์ ครุภัณฑ์ และเคร่ืองมือพิเศษเพ่ือการบำ�บัดรักษาผู้ป่วยท่ี
เจบ็ ปว่ ยซบั ซอ้ น ตามขอบเขตงานทรี่ บั มอบหมาย เพอื่ ใหร้ ะบบเครอื่ งมอื มคี ณุ ภาพ เพยี งพอ พรอ้ มใช้
และคมุ้ คา่ คุ้มทุน
5. วางแผนร่วมกับหัวหน้าหอผู้ป่วยในการดำ�เนินการประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน
โครงการงานทไี่ ด้รับมอบหมายในหอผูป้ ่วย หนว่ ยงาน
6. สอน แนะนำ� พยาบาลผู้ปฏิบัติ ในการวิเคราะห์ปัญหาการปฏิบัติงาน และวางแผน
แก้ปัญหา แผนงาน โครงการเพอื่ พฒั นาระบบปฏบิ ัติงานในหอผูป้ ่วย หนว่ ยงาน
■■ ด้านการประสานงาน
1. ประสานการทำ�งาน ช้ีแจง ให้รายละเอียดข้อมูล แนวทางปฏิบัติ ข้อเท็จจริงท่ีมี
รายละเอียดยาก เพ่ือความเข้าใจ สร้างความร่วมมือกับผู้ปฏิบัติ ในหน่วยงาน หน่วยงานอื่น และ
ทีมสหสาขาวิชาชีพทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
2. ประสานการทำ�งาน โดยให้ความคิดเห็น คำ�แนะนำ� กับผู้ปฏิบัติในหน่วยงานและ
ทีมสหสาขาวิชาชีพที่เก่ียวข้อง ในการดูแลผู้ป่วยที่มีความยุ่งยาก มีความหลากหลายของบุคคลและ
ทมี งานผเู้ กีย่ วข้อง
3. ประสานความรว่ มมอื ในการพฒั นาคุณภาพบริการพยาบาลภายในหอผู้ปว่ ย
■■ ดา้ นการบรกิ าร
1. ร่วมจัดทำ�และให้คำ�แนะนำ�ปรึกษาเพื่อการจัดทำ�ส่ือให้ความรู้ คู่มือ วิธีปฏิบัติงาน
มาตรฐานการพยาบาล ตำ�รา เอกสารวิชาการด้านการพยาบาลผู้ป่วย และเผยแพร่ เพ่ือการเรียนรู้
เป็นแหล่งประโยชน์แกผ่ ้รู ว่ มงาน สมาชิกในทมี
2. สอน สาธิต ให้คำ�แนะนำ�ด้านสุขภาพแก่ผู้ใช้บริการท้ังระดับบุคคลและครอบครัว
ในปญั หาด้านสุขภาพที่ยงุ่ ยาก
3. ร่วมดำ�เนินการกิจกรรมวิชาการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ และโครงการวิจัยของหน่วยงาน
ตามขอบเขตงานทรี่ บั มอบหมาย และร่วมจดั ท�ำ ค่มู อื แนวทางการปฏิบตั ิงานท่ีส�ำ คญั ของหอผูป้ ว่ ย
4. รว่ มด�ำ เนนิ การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการสารสนเทศ ออกแบบระบบและด�ำ เนนิ การจดั เกบ็
ข้อมูลท่ีสำ�คัญด้านการพยาบาล เพื่อสร้างและให้บริการสารสนเทศด้านการรักษาพยาบาลท่ีเป็น
ประโยชนต์ อ่ ประชาชน บคุ คล หนว่ ยงาน ระบบบรกิ ารทเี่ กยี่ วขอ้ ง และประกอบการก�ำ หนดนโยบาย
บทบาทหนา้ ท่ีของพยาบาลวชิ าชพี
42
ของผู้บรหิ าร
5. สอน ให้คำ�แนะนำ� คำ�ปรึกษาแก่พยาบาลผู้ปฏิบัติท่ีมีประสบการณ์น้อยกว่า หรือ
ผู้ฝึกอบรม ศกึ ษาดูงาน
6. สอน แนะนำ�พยาบาลผู้ปฏิบัติในการวิเคราะห์ปัญหาการปฏิบัติงาน และวางแผน
แก้ปัญหา แผนงาน โครงการเพ่อื พฒั นาระบบปฏิบตั ิงานในหอผ้ปู ว่ ย หน่วยงาน
บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวิชาชีพ
43
■■ประเภทวชิ าการ ระดบั ชำ�นาญการพิเศษ
■■ หน้าท่ีความรับผิดชอบโดยสรุป (Job Summary)
ปฏิบัติงานในฐานะพยาบาลวิชาชีพหัวหน้าหอผู้ป่วย หัวหน้างาน หัวหน้ากลุ่มงาน โดยใช้
ความรู้ ความสามารถ ประสบการณแ์ ละความช�ำ นาญงานสงู มากทางศาสตร์ ศลิ ปะการพยาบาล และ
หลักวิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการพยาบาลและแนวปฏิบัติที่กำ�หนดครอบคลุม 4 มิติ คือ
การรกั ษาพยาบาล ปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ นระหวา่ งการรกั ษา การฟนื้ ฟสู ภาพและการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
รวมทง้ั บรู ณาการความรศู้ าสตรส์ าขาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เชน่ สาธารณสขุ ศาสตร์ พฤตกิ รรมและสงั คมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ฯลฯ มาประยุกต์ใช้ร่วมกับ กระบวนการพยาบาล ในการปฏิบัติการ
พยาบาล วางแผนการดูแลให้มีความต่อเน่ือง รวมถึงการบริหารจัดการให้เกิดการดูแลท่ีมีคุณภาพ
และแก้ไขปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน หรือภาวะวิกฤตที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในกลุ่มป่วยเพื่อให้ผู้ป่วย
ปลอดภัยจากภาวะคุกคาม ได้รับการดูแลท่ีถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย สามารถคาดการณ์
ความเสี่ยง และปัญหาที่อาจเกิดข้ึนต่อผู้ป่วยแต่ละราย ในเชิงคลินิกและเชิงสังคม รวมท้ังต้องกำ�กับ
แนะนำ� ตรวจสอบการปฎิบัติงานของผู้ร่วมทีม ท่ีต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยากมาก โดยใช้
กระบวนการบริหารจัดการเพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ และบริหารคุณภาพการพยาบาล
เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ท้ังด้านการพยาบาลและด้านสุขภาพให้เป็นไปตามเป้าหมาย รวมถึง พัฒนาและ
ปรับปรุงบริการการพยาบาล พัฒนาโปรแกรม แนวทางการดูแล แนวปฏิบัติการดูแล โดยใช้
หลักฐานทางวิชาการ การวิจัย หลักฐานเชิงประจักษ์ ให้คำ�ปรึกษา ถ่ายทอดความรู้ให้กับทีม
การพยาบาล รวมถงึ ประสานความรว่ มมอื แลกเปลย่ี นความรู้ ตลอดจนสนบั สนนุ ความรดู้ า้ นสขุ ภาพ
กับทีมสหสาขาวิชาชีพ และภาคีเครือข่ายในชุมชนที่เก่ียวข้อง รวมทั้งปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ
มอบหมาย เพ่ือสุขภาพอนามัยที่ดขี องประชาชน
■■หนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบ
■■ ดา้ นการปฏบิ ตั กิ าร
1. ปฏิบัติการพยาบาลท่ีต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาท่ียุ่งยากซับซ้อนตามมาตรฐานวิชาชีพ
หลกั จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ สทิ ธผิ ปู้ ว่ ย ทตี่ อ้ งใชอ้ งคค์ วามรวู้ ชิ าการเฉพาะทาง นวตั กรรม งานวจิ ยั
ขอ้ มลู หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษท์ เ่ี กยี่ วขอ้ ง และใชค้ วามช�ำ นาญงานขนั้ สงู ดา้ นบรกิ ารพยาบาลในการดแู ล
ผู้ป่วยทั่วไปและระยะวิกฤตที่มีภาวะเจ็บป่วยซับซ้อน รุนแรง มีความเส่ียงสูง มีความยุ่งยากซับซ้อน
และยากตอ่ การตดั สินใจ เพอ่ื ให้ได้รับการดูแลที่เหมาะสม ปลอดภยั
2. ปฏิบัติการพยาบาลโดยตรงแก่ผู้ป่วยและครอบครัว โดยใช้กระบวนการพยาบาลและ
การพยาบาลองคร์ วม เพอ่ื วางแผนและใหก้ ารพยาบาลครอบคลมุ ทง้ั รา่ งกายและจติ ใจ ทงั้ การปอ้ งกนั
บทบาทหนา้ ท่ีของพยาบาลวิชาชีพ
44
การเกิดภาวะแทรกซ้อน การส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพให้สามารถกลับมาดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ต้ังแต่ การคัดกรอง การประเมินภาวะสุขภาพที่ยุ่งยากซับซ้อน การวิเคราะห์ปัญหาและภาวะเส่ียง
ใหก้ ารวนิ จิ ฉยั ทางการพยาบาล จ�ำ แนกความรนุ แรงของปญั หาทย่ี งุ่ ยากซบั ซอ้ น วางแผนการพยาบาล
และใหก้ ารพยาบาลทใ่ี ชป้ ระสบการณแ์ ละความช�ำ นาญงานสงู มากพรอ้ มทง้ั ก�ำ กบั แนะน�ำ ตรวจสอบ
การปฏิบัติงานของผู้ร่วมงาน และติดตามประเมินผลเพ่ือพัฒนาคุณภาพการพยาบาลท่ีให้กับผู้ป่วย
ตลอดเวลา
3. คาดการณ์ ประเมินความเสี่ยง วิเคราะห์อาการเปลี่ยนแปลงและอาการผิดปกติของ
ผู้ป่วยท่ัวไปและวิกฤต วางแผนช่วยเหลือเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการดูแล พร้อมทั้งติดตาม กำ�กับ
ใหป้ ฏบิ ัตกิ ารดแู ลเป็นไปตามเปา้ หมาย
4. กระตุ้นและส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีในความรับผิดชอบวางแผนการจำ�หน่ายผู้ป่วย
(Discharge planning) เฉพาะกลุ่มท่ีมีปัญหายุ่งยากซับซ้อนในสาขาที่รับผิดชอบรวมทั้งปฏิบัติตาม
แผนท่ีวางไว้ ติดตาม ควบคุมกำ�กับให้มีการดำ�เนินการตามแผนการจำ�หน่ายผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วย
ไดร้ บั การดแู ลและฟน้ื ฟสู ภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยรว่ มมอื กบั ครอบครวั ของผปู้ ว่ ย บคุ ลากรในทมี สขุ ภาพ
ที่เก่ียวข้อง พยาบาลชุมชน และแหล่งประโยชน์ในชุมชน เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วยและ
ครอบครัว
5. ตรวจสอบ วิเคราะห์ ผลการวางแผนจำ�หน่ายผู้ป่วย หรือกระบวนการพยาบาลต่างๆ
ท่ีจัดบริการแก่ผู้ป่วยทั้งหมดทุกหน่วยงานในสาขาท่ีรับผิดชอบ เพ่ือสรุปเป็นภาพรวมของสาขาและ
แปลผลให้กับผู้บริหารทางการพยาบาลในระดับสูงเพื่อทราบสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงและ
ปรบั เปลย่ี นกลยทุ ธการดำ�เนนิ งาน
6. จัดการกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของผู้ป่วยและสถานการณ์ท่ีไม่คาดคิดว่าจะ
เกดิ ขน้ึ หรอื ภาวะวกิ ฤตของผปู้ ว่ ยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ พรอ้ มทง้ั คาดการณ์ วางแผนปอ้ งกนั แกไ้ ข
ได้อย่างถูกต้องและทนั เหตกุ ารณ์
7. จัดระบบการติดต่อส่ือสารกับผู้ป่วย ครอบครัวหรือผู้ดูแลท่ีบ้าน เพ่ือให้คำ�แนะนำ�ตอบ
ขอ้ สงสยั และเป็นส่อื กลางในการติดตอ่ กับแพทย์หรือทีมสขุ ภาพท่ีเกีย่ วขอ้ ง
8. ศกึ ษา วจิ ยั พฒั นาระบบหรอื รปู แบบบรกิ ารพยาบาลเฉพาะทางทมี่ คี วามยงุ่ ยากซบั ซอ้ น
โดยมีการค้นคว้าอ้างอิง หรือใช้ข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าและหลักฐานเชิงประจักษ์ ภายใต้
การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ เพอ่ื ก�ำ หนดแนวทางพฒั นามาตรฐานการพยาบาล ประยกุ ต์
ให้สอดคล้องกับสภาพการปฏิบตั ิงาน
9. เป็นผู้นำ�ในการประชุมทีมการพยาบาลหรือทีมสุขภาพ เพื่อประเมินผลสำ�เร็จของการ
ดแู ลผปู้ ว่ ยทม่ี ปี ญั หายงุ่ ยากซบั ซอ้ น หรอื ภาวะวกิ ฤต วเิ คราะหป์ ญั หาและแนวทางการด�ำ เนนิ งานเพอ่ื
น�ำ ไปสกู่ ารปรบั ปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการดูแลผู้ปว่ ย
10. พัฒนาระบบการป้องกันและควบคุมการติดเช้ือในหอผู้ป่วย การแพร่กระจายเช้ือ
โดยเฉพาะเช้ือด้ือยา โดยนิเทศติดตามให้คำ�ปรึกษาแก่บุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับ ในการ
ดำ�เนินการตามระบบรวมทั้งจัดระบบความพร้อมใช้ของ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
บทบาทหนา้ ทีข่ องพยาบาลวิชาชพี
45
ในการดูแลผ้ปู ว่ ยกลมุ่ เส่ยี ง
11. วิเคราะห์ปัญหาการให้ยาในหน่วยงานและวางแผนจัดระบบแนวปฏิบัติการให้ยา
ปอ้ งกนั และเฝา้ ระวงั เตรยี มพรอ้ มและประสานทมี เพอ่ื ชว่ ยเหลอื แกไ้ ขภาวะวกิ ฤตฉกุ เฉนิ จากการใหย้ า
ครอบคลุมกลุ่มยาสำ�คัญที่ใช้ในหน่วยงาน ทั้งยาที่มีความเส่ียงสูง (high alert drug) ยาที่เส่ียง
เกิดอันตรายจากการแพ้ยา (adverse drug reaction) ยากลุ่มเสี่ยงเกิดปฏิกิริยาไม่เข้ากันของยา
(drug interaction) ที่ยาเส่ียงเกิดความผิดพลาดจากการระบุชนิดหรือจำ�นวนผิดพลาด (look alike
sound alike) ยาราคาแพงหรือยาที่ควบคุมการใช้พิเศษและติดตามผลการดำ�เนินการตามระบบ
แนวปฏิบัติ การบรหิ ารยาในหนว่ ยงาน เพ่ือหาแนวทางพฒั นาระบบอยา่ งต่อเน่ือง
12. จดั ระบบบรหิ ารความเสย่ี งในหนว่ ยงาน และตดิ ตามก�ำ กบั การปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการ
บริหารความเสยี่ งในหนว่ ยงาน ภายใต้คำ�แนะนำ� นิเทศ ควบคุมกำ�กบั ของหัวหนา้ หอผปู้ ว่ ย
13. ติดตามและดำ�เนินการควบคุมคุณภาพของพยาบาลในหน่วยงานที่ปฏิบัติ โดยใช้
มาตรฐานการพยาบาลและคูม่ อื ในการปฏบิ ตั ิการพยาบาลต่างๆ
14. สรา้ งแนวทางการมสี ว่ นรว่ มของผปู้ ว่ ยและญาติ ในการดแู ลผปู้ ว่ ยและการบ�ำ บดั อาการ
ร่วมกับทีมสหสาขาวชิ าชพี
15. วเิ คราะหป์ ญั หา คาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณ์ ปญั หาและผลลพั ธบ์ รกิ าร การปฏบิ ตั ิ
การพยาบาลในหน่วยงาน ศึกษาและตัดสินใจเลือกใช้ทฤษฎี ความรู้ ข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์
นวตั กรรม งานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทย่ี งุ่ ยากซบั ซอ้ นในหนว่ ย
งาน และวางแผนแก้ไข จัดการปอ้ งกนั
16. ติดตาม กำ�กับ และตรวจสอบบันทึกทางการพยาบาลให้บันทึกได้ครบถ้วนตาม
กระบวนการพยาบาล อย่างต่อเนื่องถูกต้องสามารถใช้สื่อสารแก่ทีมสุขภาพ และเป็นหลักฐานทาง
กฎหมายได้ พร้อมทั้งวิเคราะห์ และนำ�ข้อมูลท่ีได้มาวางแผนเพื่อการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยให้เกิด
ความปลอดภัย สุขสบาย และมีประสิทธภิ าพ
■■ ด้านการวางแผน
1. วางแผนบรหิ ารจดั การและพฒั นาคณุ ภาพของหนว่ ยงาน รว่ มวางแผนระดบั สาขา องคก์ ร
พยาบาล ในงานที่มีความยุ่งยาก โดยต้องใช้ความรู้ประสบการณ์และความชำ�นาญสูงมาก ในการ
วิเคราะห์ คาดการณ์สถานการณ์ แนวโน้มปัญหาและตัดสินใจ กำ�หนดแนวทางแก้ปัญหา พัฒนา
เพือ่ ให้การดำ�เนนิ งานบรรลุเปา้ หมาย ผลสัมฤทธทิ์ ี่กำ�หนด
2. วางแผนบรหิ ารอตั ราก�ำ ลงั พฒั นาบคุ ลากรในหนว่ ยงาน และ แผนการศกึ ษา ฝกึ อบรม
ในคลินิกแก่นักศึกษาพยาบาล และผู้อบรมหลักสูตรเฉพาะสาขาต่างๆตามภารกิจของหน่วยงาน
หอผูป้ ว่ ย
3. วางแผนนเิ ทศแกบ่ คุ ลากรพยาบาลและบคุ ลากรสาธารณสขุ อน่ื ทเ่ี กยี่ วขอ้ งทง้ั ในและนอก
หนว่ ยงาน โดยตอ้ งใชค้ วามรู้ ประสบการณ์ และความช�ำ นาญสงู ในการเชอ่ื มโยงมาตรฐานทเี่ กยี่ วขอ้ ง
ในการนเิ ทศงาน เพอ่ื พฒั นาการปฏบิ ตั ิ และพฒั นาระบบบรกิ ารพยาบาลในหนว่ ยงาน หอผปู้ ว่ ยและ
บทบาทหน้าท่ขี องพยาบาลวิชาชพี
46
เครือข่ายให้มคี ุณภาพ
4. วางแผนบริหารจัดการระบบวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเวชภัณฑ์ ครุภัณฑ์ และเคร่ืองมือ
พิเศษเพ่ือการบำ�บัดรักษาผู้ป่วยท่ีเจ็บป่วยซับซ้อน ตามขอบเขตงานท่ีรับมอบหมาย เพ่ือให้ระบบ
เครื่องมอื มคี ุณภาพ เพยี งพอ พรอ้ มใช้ คมุ้ ทนุ
5. วางแผนและด�ำ เนนิ การประเมนิ ผลสมั ฤทธข์ิ องแผนงาน โครงการงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
ในหอผูป้ ่วย หน่วยงาน
■■ ดา้ นการประสานงาน
1. ประสานงานและความรว่ มมอื ของบคุ ลากรในหนว่ ยงาน ทมี สหสาขาวชิ าชพี และหนว่ ยงาน
ท่ีเก่ียวข้อง ในการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหายุ่งยากซับซ้อน มีบุคคล หน่วยงานผู้เก่ียวข้องหลากหลาย
ยุ่งยากซบั ซอ้ นในการประสานงานและความร่วมมือ
2. ประสานการทำ�งาน โดยให้ความคิดเห็น คำ�แนะนำ� กับผู้ปฏิบัติในหน่วยงาน
หน่วยงานอื่นและทีมสหสาขาวิชาชีพท่ีเกี่ยวข้อง ในการดูแลผู้ป่วยที่มีความยุ่งยากซับซ้อน มี
ความหลากหลายของบุคคล หนว่ ยงาน ทมี งาน และผเู้ กีย่ วขอ้ ง
3. ประสานความร่วมมือ ในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลภายในหอผู้ป่วยและ
หน่วยงาน
■■ ด้านการบริการ
1. จัดทำ� ปรับปรุง พัฒนา สื่อให้ความรู้ คู่มือ วิธีปฏิบัติงาน มาตรฐานการพยาบาล
เฉพาะโรค ตำ�รา เอกสารวิชาการด้านการพยาบาลผู้ป่วยหนักและเผยแพร่ เพ่ือการเรียนรู้ เป็น
แหลง่ ประโยชนแ์ กผ่ รู้ ว่ มงาน สมาชกิ ในทมี ผใู้ ชบ้ รกิ าร ประชาชน ชมุ ชน เครอื ขา่ ยบรกิ ารทเี่ กยี่ วขอ้ ง
ท้ังภายใน นอกหน่วยงาน
2. สอน สาธติ ใหค้ �ำ แนะน�ำ ดา้ นสขุ ภาพแกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ าร ทงั้ ระดบั บคุ คล ครอบครวั ประชาชน
ชมุ ชน เครือขา่ ยบริการท่เี ก่ียวข้อง ในปญั หาดา้ นสุขภาพทย่ี ุ่งยากซบั ซอ้ น
3. จดั กิจกรรมวชิ าการ แลกเปล่ียนเรยี นรใู้ นโครงการวิจัยของหนว่ ยงาน นอกหน่วยงาน
4. ให้คำ�แนะนำ� หรือคำ�ปรึกษาทางการพยาบาลผู้ป่วยที่ยุ่งยากซับซ้อนแก่บุคคลากรหรือ
หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องในประเดน็ ทต่ี อ้ งใชป้ ระสบการณ์ ความช�ำ นาญงานสงู มากในดา้ นการพยาบาล
และเป็นผู้นำ�การฝึกอบรมเพื่อเพ่ิมพูนทักษะการพยาบาลผู้ป่วยที่ยุ่งยากซับซ้อนแก่พยาบาลวิชาชีพ
ทัง้ ในหน่วยงานและนอกหน่วยงาน
5. การแลกเปล่ียน ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ด้านการพยาบาลและศาสตร์สาขาอื่น
ทเี่ กี่ยวขอ้ ง หน่วยราชการ เอกชนหรอื ประชาชนทัว่ ไป
บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชพี
47
■■ประเภทวิชาการ ระดบั เชี่ยวชาญ
■■ หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบโดยสรปุ (Job Summary)
ปฏิบัติงานในฐานะพยาบาลวิชาชีพหัวหน้ากลุ่มงาน หรือผู้ปฏิบัติท่ีมีความเช่ียวชาญในงาน
โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญทางศาสตร์ ศิลปะการพยาบาล และ
หลักวิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการพยาบาลและแนวปฏิบัติท่ีกำ�หนดครอบคลุม 4 มิติ คือ
การรกั ษาพยาบาล ปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ นระหวา่ งการรกั ษา การฟนื้ ฟสู ภาพและการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
รวมทง้ั บรู ณาการความรศู้ าสตรส์ าขาทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ สาธารณสขุ ศาสตร์ พฤตกิ รรมและสงั คมศาสตร์
เศรษฐศาสตรส์ าธารณสขุ ฯลฯ มาประยกุ ตใ์ ชร้ ว่ มกบั กระบวนการพยาบาล ในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล
และวางแผนการดูแลให้มีความต่อเนื่องรวมถึงการบริหารจัดการให้เกิดการดูแลท่ีมีคุณภาพ
แก้ไขปัญหายากและซับซ้อนมาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพในวงกว้าง เพ่ือให้ผู้ใช้บริการปลอดภัย
ได้รับการดูแลท่ีถูกต้องเหมาะสม สามารถคาดการณ์สถานการณ์ปัญหาและความเส่ียงด้านสุขภาพ
พร้อมทั้งเชื่อมโยงผลกระทบทางพยาธิสภาพและพฤติกรรมของผู้ใช้บริการในเชิงคลินิกและเชิงสังคม
มาเปน็ ขอ้ มลู ในการก�ำ หนดทศิ ทาง แนวทาง ระบบในการใหบ้ รกิ ารพยาบาลแกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารในหนว่ ยงาน
หรือองค์กร และบริหารทรัพยากรให้เกิดประโยชน์และความคุมค่าในการดำ�เนินงาน รวมท้ังต้อง
กำ�กับ ตรวจสอบ แนะนำ�และต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการท่ียากและซับซ้อนมากแก่
ผปู้ ฎบิ ตั งิ าน โดยใชก้ ระบวนการบรหิ ารจดั การเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และบรหิ ารคณุ ภาพ
การพยาบาล เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ ท้ังด้านการพยาบาลและด้านสุขภาพให้เป็นไปตามเป้าหมาย
รวมถึงพัฒนาและปรับปรุงบริการการพยาบาล โปรแกรม แนวทางการดูแล แนวปฏิบัติการดูแล
โดยใช้หลักฐานทางวิชาการ การวิจัย หลักฐานเชิงประจักษ์ ให้คำ�ปรึกษา ถ่ายทอดความรู้และ
เสรมิ สรา้ งสมรรถนะใหก้ บั ทมี การพยาบาล รวมถงึ ประสานความรว่ มมอื แลกเปลยี่ นความรู้ ตลอดจน
สนับสนุนความรู้ด้านสุขภาพกับทีมสหสาขาวิชาชีพ และภาคีเครือข่ายในชุมชนท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้ง
ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย เพื่อสุขภาพอนามยั ที่ดีของประชาชน
บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวชิ าชพี
48
■■หนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบ
■■ ด้านการปฏิบตั ิการ
1. ปฏิบัติการพยาบาลที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการท่ียากและซับซ้อนมาก
ตามมาตรฐานวชิ าชพี หลกั จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ สทิ ธผิ ปู้ ว่ ย ทต่ี อ้ งใชอ้ งคค์ วามรวู้ ชิ าการเฉพาะทาง
นวัตกรรม งานวิจัย ข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง และใช้ความเช่ียวชาญในด้านบริการ
พยาบาลในการบริหารจัดการดูแลผู้ป่วยทั่วไปและระยะวิกฤตที่มีภาวะเจ็บป่วยซับซ้อน รุนแรง และ
มีความเสี่ยงสูง มีความยุ่งยากซับซ้อนมากยากต่อการตัดสินใจ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่เหมาะสม
ปลอดภัย
2. กำ�กับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบให้มีการปฏิบัติการพยาบาลโดยตรงแก่ผู้ป่วยและ
ครอบครัว โดยใช้กระบวนการพยาบาลและการพยาบาลองค์รวม ครอบคลุมทั้งร่างกายและจิตใจ
รวมถงึ การปอ้ งกนั การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ น การสง่ เสรมิ และฟน้ื ฟสู ขุ ภาพใหส้ ามารถกลบั มาดแู ลตนเอง
ได้อย่างถูกต้อง ต้ังแต่ การคัดกรอง การประเมินภาวะสุขภาพที่ยุ่งยากซับซ้อน การวิเคราะห์ปัญหา
และภาวะเสยี่ ง ใหก้ ารวนิ จิ ฉยั ทางการพยาบาล จ�ำ แนกความรนุ แรงของปญั หาทย่ี งุ่ ยากซบั ซอ้ น และ
วางแผนการพยาบาล
3. คาดการณ์สถานการณ์ปัญหาและความเส่ียงด้านสุขภาพพร้อมทั้งเชื่อมโยงผลกระทบ
ทางพยาธิสภาพและพฤติกรรมของผู้ใช้บริการในเชิงคลินิกและเชิงสังคมมาเป็นข้อมูลในการกำ�หนด
ทศิ ทาง แนวทาง ระบบในการใหบ้ ริการพยาบาลแก่ผใู้ ชบ้ รกิ ารในหน่วยงานหรือองคก์ ร
4. นิเทศ ติดตามช่วยเหลือเก่ียวกับการให้บริการพยาบาลในหน่วยงานบริการพยาบาล
ครอบคลุมทุกสาขา
5. จัดการกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อระบบบริการ
พยาบาลและผู้ใช้บริการ และสถานการณ์ท่ีไม่คาดคิดว่าจะเกิดข้ึนได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมท้ัง
คาดการณ์ วางแผนปอ้ งกัน แกไ้ ขได้อย่างถกู ตอ้ งและทนั เหตกุ ารณ์
7. เปน็ ผนู้ �ำ ในการก�ำ หนดมาตรฐานและแนวทางการบรกิ ารพยาบาลในแตล่ ะหนว่ ยบรกิ าร
และด�ำ เนนิ การเองในกรณที ต่ี อ้ งอาศยั ความเชยี่ วชาญในงานการพยาบาล พรอ้ มทงั้ สามารถคาดการณ์
แนวโนม้ ของการบริการพยาบาลในอนาคต
8. ก�ำ หนดทศิ ทางของการศกึ ษา วจิ ยั พฒั นาระบบหรอื รปู แบบบรกิ ารพยาบาลเฉพาะทาง
และมีการค้นคว้าอ้างอิง หรือใช้ข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าและหลักฐานเชิงประจักษ์ ภายใต้
การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ เพอ่ื ก�ำ หนดแนวทางพฒั นามาตรฐานการพยาบาล ประยกุ ต์
ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพการปฏบิ ตั ิงาน
9. ติดตามและกำ�กับการประเมินผลสำ�เร็จของการดูแลผู้ป่วยครอบคลุมหน่วยงานบริการ
พยาบาลทุกสาขา รวมทั้งเป็นผู้นำ�ในการวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการดำ�เนินงานเพ่ือนำ�ไปสู่
การปรบั ปรงุ และพฒั นาการคุณภาพการดแู ลผู้ป่วย
บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวิชาชีพ
49