The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by oamamjib, 2022-12-04 02:06:55

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ

Keywords: บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ

10. ควบคมุ และตรวจสอบ การด�ำ เนนิ งานในระบบการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอื้ ทง้ั ใน
ผปู้ ว่ ย บคุ ลากร และสง่ิ ของเครอ่ื งใชท้ างการแพทย์ ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานในทกุ หนว่ ยบรกิ ารพยาบาล

11. กำ�หนดระบบหรือแนวทางร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ เช่น การบริหารยา การบริหาร
ความเสย่ี ง เปน็ ต้น ในทกุ หน่วยบริการเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั

12. ก�ำ หนดทศิ ทางการตดิ ตามและด�ำ เนนิ การควบคมุ คณุ ภาพของพยาบาลในทกุ หนว่ ยงาน
โดยใช้มาตรฐานการพยาบาลและคู่มอื ในการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลตา่ งๆ

13. วเิ คราะหป์ ญั หา คาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณ์ ปญั หาและผลลพั ธบ์ รกิ าร การปฏบิ ตั ิ
การพยาบาลในทกุ หนว่ ยงาน ศกึ ษาและตดั สนิ ใจเลอื กใชท้ ฤษฎี ความรู้ ขอ้ มลู หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
นวัตกรรม งานวิจัย ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลที่ยากซับซ้อนมาก
และมีผลกระทบในวงกวา้ ง เพอ่ื วางแผนแกไ้ ขจัดการปอ้ งกนั

14. กำ�หนดทิศทางการติดตาม กำ�กับและตรวจสอบบันทึกทางการพยาบาลให้บันทึกได้
ครบถ้วนตามกระบวนการพยาบาลอย่างต่อเน่ืองถูกต้อง สามารถใช้สื่อสารแก่ทีมสุขภาพ และเป็น
หลักฐานทางกฎหมายได้

15. กำ�หนดทิศทางการศึกษาวิจัยทางการพยาบาล ให้สอดคล้องกับทิศทาง นโยบายของ
กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาล และหนว่ ยงาน

■■ ดา้ นการวางแผน
1. วางแผนหรือร่วมดำ�เนินการวางแผนพัฒนาคุณภาพของทุกหน่วยบริการพยาบาล

ในงานที่มีความยากและซับซ้อนมาก โดยต้องใช้ความรู้ประสบการณ์และความเช่ียวชาญ ในการ
วิเคราะห์ คาดการณ์สถานการณ์ แนวโน้มปัญหา และตัดสินใจกำ�หนดแนวทางแก้ปัญหา พัฒนา
เพือ่ ให้การด�ำ เนนิ งานบรรลเุ ป้าหมายหรือผลสมั ฤทธิท์ ก่ี �ำ หนด

2. จดั ท�ำ แผนยทุ ธศาสตร์ เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาล
และดา้ นบุคลากรทางการพยาบาล และการถา่ ยทอดยทุ ธศาสตร์ผ่านแผนปฏบิ ตั ิการ

3. วางแผนนิเทศบุคลากรพยาบาลทุกระดับครอบคลุมทุกหน่วยบริการพยาบาล โดยใช้
ความรู้ ประสบการณ์ และความเช่ียวชาญด้านการพยาบาลในการเชื่อมโยงมาตรฐานท่ีเกี่ยวข้อง
ในการนเิ ทศงาน เพือ่ พัฒนาการปฏบิ ัติ และระบบบรกิ ารพยาบาลในทกุ หนว่ ยงานใหม้ คี ณุ ภาพ

4. วางแผนตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การระบบวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เวชภณั ฑ์
ครุภณั ฑ์ และเคร่อื งมือพิเศษเพ่อื ใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมายและผลสมั ฤทธิ์ทกี่ ำ�หนด

5. วางแผนติดตามการดำ�เนินงาน ประเมินผลสัมฤทธ์ิของแผนงาน โครงการงานที่ได้รับ
มอบหมายในหอผปู้ ่วยหรือหน่วยงาน

บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวิชาชีพ

50

■■ ด้านการประสานงาน
1. ประสานการท�ำ งานโครงการตา่ งๆ กบั บคุ คล หนว่ ยงาน หรอื องคก์ รอน่ื ๆ โดยมบี ทบาท

ในการช้ีแนะจงู ใจ เพอ่ื ใหเ้ กิดความร่วมมอื และผลสัมฤทธ์ิตามทีก่ ำ�หนดไว้
2. ให้ข้อคิดเห็น คำ�แนะนำ� เป็นที่ปรึกษาในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาการพยาบาลผู้ป่วย

ทุกหน่วยบริการพยาบาลท่ีมีความยากและซับซ้อนมาก และมีผลกระทบในวงกว้าง โดยใช้ความรู้
ระดบั เชยี่ วชาญ

3. สนับสนุน ให้การช่วยเหลือ ติดต่อประสานงานการให้บริการพยาบาล ในหน่วยงาน
องค์กรท่ขี อความรว่ มมือ

4. ประสานความร่วมมือทุกระดับและทีมสหสาขาวิชาชีพ ในการพัฒนาคุณภาพ
การพยาบาลและคณุ ภาพบรกิ ารอ่นื ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

■■ ดา้ นการบรกิ าร
1. เป็นที่ปรึกษาของส่วนราชการในการถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคลากร ท้ังภายในและ

ภายนอกหน่วยงาน
2. ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�พร้อมท้ังให้ข้อมูลที่สำ�คัญแก่ผู้บริหารทั้งภายในและภายนอก

เพ่อื เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจ และสนบั สนุนภารกจิ ของหนว่ ยงาน
3. สนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ในองค์กร และวางระบบการจัดการความรู้ โดยวิเคราะห์

ขอ้ มูลเชิงประจักษ์วางแผนในการนำ�ผลงานวิจยั มาใช้ หรอื การทำ�วิจยั เพือ่ พัฒนาระบบงาน
4. เปน็ ทป่ี รกึ ษาสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ควบคมุ ก�ำ กบั ดแู ล ตดิ ตามประเมนิ ผลการด�ำ เนนิ งาน

วิชาการและวิจัยของงานการพยาบาล
5. รว่ มก�ำ หนดแนวทางการเรยี น การสอน การฝกึ ปฏบิ ตั ขิ องหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ

และหลกั สตู รการพยาบาลเฉพาะทาง
6. ส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยร่วมกันระหว่างสหสาขาวิชาชีพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ และ

จดั ใหม้ ีระบบบริการดแู ลตอ่ เน่อื ง
7. เป็นผู้นำ�ในการเรียนรู้เก่ียวกับผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คาดการณ์ความ

ตอ้ งการ และความคาดหวงั ศกึ ษาความพงึ พอใจอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ใหค้ �ำ ปรกึ ษา แนะน�ำ วนิ จิ ฉยั ชแี้ จง
และตอบปญั หาทีส่ �ำ คัญ เกยี่ วกบั การพยาบาลผปู้ ่วยหนกั ในระดับกรม กอง เขตบรกิ ารสุขภาพ

8. ออกแบบระบบการเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธผ์ ลงานบรกิ ารพยาบาลตอ่ ผบู้ รหิ าร หนว่ ย
งาน องคก์ รต่างๆ และสมาคมวิชาชีพ

9. เป็นผู้นำ�ในการสนบั สนนุ ชมุ ชนในดา้ นการดแู ลสขุ ภาพ

บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชีพ

51

บทบาทหน้าทข่ี องพยาบาลวิชาชีพท่ีปฏิบัติ
งานการพยาบาลในชมุ ชนของโรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และ
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพต�ำ บล

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพท่ีปฏิบัติงานการพยาบาลในชุมชนของโรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลกำ�หนดให้มี 4 ระดับ
คือ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำ�นาญการ ระดับชำ�นาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ มีรายละเอียด
คอื

■■ประเภทวชิ าการ ระดบั ปฏบิ ตั ิการ
■■ หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบโดยสรปุ (Job Summary)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ปฏิบัติการพยาบาลโดยตรงให้กับบุคคล ครอบครัว
และชุมชนรวมถึงการปฏิบัติงานร่วมกับทีมการพยาบาลและทีมสุขภาพที่เก่ียวข้อง โดยใช้ความรู้
ความสามารถทางศาสตรแ์ ละศลิ ปะการพยาบาล หลกั วทิ ยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการพยาบาลและ
แนวปฏิบัติที่กำ�หนด ครอบคลุม 4 มิติ คือ การรักษาพยาบาล ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ในประชาชนกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง การฟื้นฟูสภาพกลุ่มป่วยให้กลับสู่ภาวะปกติ และการส่งเสริม​
สขุ ภาพใหส้ ามารถดแู ลตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง โดยใชก้ ระบวนการพยาบาลในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล
และจัดการปัญหาด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มท่ีไม่ซับซ้อน
ตามแนวปฏิบัติที่หน่วยงานกำ�หนด ร่วมทีมการพยาบาลในการเสริมสร้างศักยภาพครอบครัวและ
ชุมชน เพ่ือให้สามารถปรับตัวและดูแลตนเองเกี่ยวกับกิจวัตรประจำ�วันได้ โดยปฎิบัติการพยาบาลท่ี
บ้าน ชุมชน และสถานบริการ แก้ไขปัญหางานในความรับผิดชอบได้เหมาะสม ภายใต้การกำ�กับ
แนะนำ� นเิ ทศ ตดิ ตามของพยาบาลผู้มปี ระสบการณห์ รอื หัวหน้างาน และปฏบิ ัติงานอ่นื ตามท่ไี ด้รบั
มอบหมาย ท้งั ในสถานบริการสขุ ภาพและชุมชนเพือ่ สุขภาพอนามัยท่ดี ขี องประชาชน

บทบาทหนา้ ทีข่ องพยาบาลวิชาชพี

52

■■หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ

■■ ด้านการปฏิบตั กิ าร
1. ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลขน้ั พนื้ ฐานตามมาตรฐาน จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี สทิ ธผิ ปู้ ว่ ย

และแนวทางทกี่ �ำ หนด เพื่อให้บุคคล ครอบครัว และชุมชนไดร้ ับการดแู ลทถ่ี กู ต้องและปลอดภัย
2. ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลโดยตรงแกบ่ คุ คล ครอบครวั และชมุ ชน โดยใชก้ ระบวนการพยาบาล

และการพยาบาลองค์รวม เพื่อวางแผนและให้การพยาบาลครอบคลุมทั้งร่างกายและจิตใจ ท้ังการ
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน การส่งเสริมและฟ้ืนฟูสุขภาพให้สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตง้ั แต่ การคดั กรอง การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ การวเิ คราะหป์ ญั หาและภาวะเสย่ี ง และใหก้ ารพยาบาล
พรอ้ มทง้ั ตดิ ตามประเมนิ ผลเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการพยาบาลตลอดเวลา

3. เฝ้าระวัง วิเคราะห์อาการเปลี่ยนแปลงของประชาชนกลุ่มป่วยและกลุ่มเส่ียง และ
ใหก้ ารดแู ลเบอื้ งตน้ พรอ้ มทง้ั ด�ำ เนนิ การปรกึ ษาพยาบาลผมู้ ปี ระสบการณ์ หวั หนา้ งานหรอื ทมี สขุ ภาพ
ทเ่ี กย่ี วข้อง เพ่อื ให้การส่งต่ออยา่ งเหมาะสมและการดูแลต่อเนอ่ื ง

4. จัดสิ่งแวดล้อมในครอบครัวให้เอื้อต่อการดูแลที่เหมาะสมและเอ้ือต่อการสร้างเสริม​
สุขภาพของกลุ่มเปา้ หมาย รวมถึงการปอ้ งกันการแพร่กระจายของเชือ้ โรค

5. ใหบ้ ริการพยาบาลผปู้ ่วยทบี่ า้ นและในชุมชน ตามแนวปฏิบตั ิทีห่ น่วยงานก�ำ หนด
6. จัดเตรียม ตรวจสอบ การบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเวชภัณฑ์ ให้พร้อมใช้
ตามมาตรฐานหรอื แนวทางท่กี �ำ หนด
7. จัดกจิ กรรมเพอ่ื การสร้างเสริมสขุ ภาพ ป้องกนั ฟื้นฟูสุขภาพ กลุ่มปว่ ย กล่มุ เสีย่ ง เพอื่
สุขภาพทด่ี ีในชมุ ชน
8. บนั ทกึ ขอ้ มลู ดา้ นการพยาบาล รวบรวม ศกึ ษา วเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื วางแผนการใหบ้ รกิ าร
พยาบาล ทสี่ อดคล้องกับปญั หาและความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายใหเ้ กดิ สุขภาวะท่ีดี
9. ตดิ ตาม ประเมินผลลัพธ์การดูแลผปู้ ่วยรายบุคคล และครอบครัว
■■ ดา้ นการวางแผน
1. วางแผนการพยาบาลเพอื่ ก�ำ หนดกจิ กรรมพยาบาล ตามสภาพปญั หาและความตอ้ งการ
ของบุคคลและครอบครวั ภายใตก้ ารดแู ลของพยาบาลพ่เี ล้ยี งหรอื หวั หนา้ ทีม
2. ร่วมวางแผนการดูแลสุขภาพประชาชนร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ และให้ข้อมูลภาวะ
สขุ ภาพของกลมุ่ เป้าหมาย
3. ร่วมวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการพยาบาลในชมุ ชนตามขอบเขต เป้าหมายและตวั ชี้วัด
4. ร่วมวางแผนและดำ�เนินการประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน โครงการงานที่ได้รับ
มอบหมายในหนว่ ยงาน

บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวิชาชพี

53

■■ ดา้ นการประสานงาน
1. ประสานใหข้ อ้ มลู และประชาสมั พนั ธเ์ กย่ี วกบั กจิ กรรมการบรกิ ารพยาบาลแกก่ ลมุ่ เปา้ หมาย

และผเู้ กี่ยวขอ้ ง
2. ประสานความร่วมมือกับทีมสุขภาพท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้การดูแลสุขภาพของประชาชน

และชมุ ชนในพื้นท่ที ีร่ บั ผดิ ชอบเปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพและผลลพั ธต์ ามท่ีก�ำ หนด
3. ประสานการใชแ้ หลง่ ประโยชน์ และการท�ำ งานรว่ มกนั ทงั้ ภายใน ภายนอกทมี งานหรอื

หนว่ ยงาน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ในการสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั ดแู ลรกั ษา และฟน้ื ฟสู ขุ ภาพของประชาชน
และชมุ ชนในพ้นื ที่ท่ีรบั ผดิ ชอบและการดำ�เนนิ งานบรรลุตามเปา้ หมายของหนว่ ยงาน

■■ ด้านการบริการ
1. สอนและให้คำ�แนะนำ�ด้านสุขภาพแก่ประชาชน ชุมชนท่ีรับผิดชอบเพื่อให้สามารถดูแล

ตนเองได้
2. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในทีมการพยาบาล
3. มีสว่ นร่วมในการจดั ทำ�ค่มู ือการสอน การให้ความรูแ้ ก่ผปู้ ว่ ยและครอบครัวในชมุ ชน
4. ให้ความร่วมมือหรือมีส่วนในการทำ�วิจัยทางการพยาบาล และนำ�ผลการวิจัยไปใช้ใน

การปรบั ปรงุ คุณภาพการพยาบาลในหน่วยงาน

บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวิชาชพี

54

■■ประเภทวชิ าการ ระดบั ชำ�นาญการ
■■ หน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบโดยสรุป (Job Summary)

ปฏบิ ตั งิ านในฐานะหวั หนา้ งาน หวั หนา้ ทมี ซง่ึ ตอ้ งก�ำ กบั แนะน�ำ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของ
ผรู้ ว่ มปฏบิ ตั งิ าน โดยใชค้ วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความช�ำ นาญสงู ทางศาสตร์ ศลิ ปะ
การพยาบาล และหลกั วทิ ยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการพยาบาลและแนวปฏิบตั ทิ กี่ �ำ หนดครอบคลุม
4 มิติ คือ การรักษาพยาบาล ป้องกันภาวะแทรกซ้อน การฟื้นฟูสภาพและการส่งเสริมสุขภาพ
รวมทง้ั บรู ณาการความรศู้ าสตรส์ าขาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เชน่ สาธารณสขุ ศาสตร์ พฤตกิ รรมและสงั คมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ฯลฯ มาประยุกต์ใช้ร่วมกับ กระบวนการพยาบาล ในการปฏิบัติการ
พยาบาล วางแผนการดแู ลและจดั การปญั หาดา้ นสขุ ภาพในกลมุ่ เสย่ี งและกลมุ่ ปว่ ยเปน็ รายบคุ คลหรอื
รายกลุ่ม สามารถประเมินและวินิจฉัย คาดการณ์ อาการแสดงท่ีบ่งช้ีภาวะฉุกเฉิน ความเส่ียงทาง
คลินกิ และสงั คม ตดั สนิ ใจ ดำ�เนนิ การแก้ปญั หาความเจบ็ ป่วยและปญั หาอนื่ ๆ ทยี่ าก ซงึ่ มผี ลกระทบ
ตอ่ สขุ ภาพ และกลมุ่ ทต่ี อ้ งการการดแู ลเปน็ พเิ ศษตามระยะการด�ำ เนนิ ของโรค เชน่ ผปู้ ว่ ยใชเ้ ครอ่ื งหายใจ
ที่บ้าน ผู้ป่วยระยะสุดท้าย คนพิการ เด็กท่ีมีพัฒนาการผิดปกติ เพื่อให้ผลลัพธ์การดูแลเป็นไปตาม
เป้าหมาย รวมถงึ สอน นิเทศ ตดิ ตาม สร้างเสรมิ พลังอ�ำ นาจ (empowerment) การปฏบิ ัติงานของ
ทีมการพยาบาลชุมชน ประสานความร่วมมือ สนับสนุนความรู้ด้านสุขภาพ และแลกเปลี่ยนความรู้
ด้านสุขภาพแก่ทีมสหสาขาวิชาชีพและแก่ภาคีเครือข่ายที่เก่ียวข้อง และปฏิบัติงานอื่นตามท่ีได้รับ
มอบหมาย ท้งั ในสถานบริการสุขภาพและชุมชนเพอ่ื สุขภาพอนามัยทีด่ ขี องประชาชน

■■หนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบ

■■ ดา้ นการปฏิบตั กิ าร
1. ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทต่ี อ้ งตดั สนิ ใจหรอื แกป้ ญั หาทย่ี ากตามมาตรฐาน แนวทางทก่ี �ำ หนด

ภายใต้จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในชุมชนทุก
กลุ่มวัย รวมถึงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยและครอบครัว รวมท้ังกลุ่ม
ผทู้ ม่ี ปี ญั หาสขุ ภาพกายและจติ ภาวะเจบ็ ปว่ ยเรอ้ื รงั ผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย และคนพกิ าร จดั การความเสย่ี ง
ตอ่ ภาวะแทรกซอ้ น และจดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ตอ่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพการฟนื้ ฟสู ภาพ และการรกั ษา
พยาบาลแกป่ ระชาชน เพอื่ ให้ไดร้ บั การดแู ลท่ปี ลอดภัย

2. คัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพของชุมชน และวิเคราะห์ วินิจฉัย ปัญหาความต้องการ
ในกลมุ่ เสย่ี ง และกลมุ่ ปว่ ย เพอ่ื วางแผนการดแู ลและตดั สนิ ใจใหก้ ารพยาบาลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม
ทนั สถานการณ์และทนั เวลา

บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชีพ

55

3. เฝ้าระวัง ติดตาม ปฏิบัติการดูแล ช่วยเหลือเบื้องต้นท้ังในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน
ประสานการสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยอยา่ งเหมาะสม รวบรวมขอ้ มลู ปญั หาและวางแผนการใหบ้ รกิ ารพยาบาลเชงิ รกุ

4. ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้านและในชุมชน ในฐานะหัวหน้าทีม โดยใช้กระบวนการ
พยาบาล ในการประเมนิ วนิ จิ ฉยั และคาดการณภ์ าวะเสย่ี งทางคลนิ กิ และสงั คม ใหก้ ารพยาบาลและ
ตัดสินใจแก้ปัญหาที่ยากได้อย่างเหมาะสม ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ เพ่ือตอบสนองปัญหาสุขภาพ
ของบุคคล ครอบครัวและชุมชน

5. การออกแบบกจิ กรรมเพอื่ สนบั สนนุ การดแู ลตนเอง ชว่ ยเหลอื ทางการพยาบาลกลมุ่ เสย่ี ง
และกลมุ่ ป่วยในชมุ ชน ใหก้ ารปอ้ งกนั โรคและชะลอการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนท่ีปอ้ งกันได้

6. จดั การสง่ิ แวดลอ้ มในครอบครวั และชมุ ชนทป่ี ลอดภยั เออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ การสรา้ งเสรมิ
การดูแลตนเองแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสนับสนุน ส่งเสริมการจัดการ
สงิ่ แวดล้อมให้เหมาะสม

7. บันทึกข้อมูลด้านการพยาบาล ภาวะสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยใน
ความรับผิดชอบ พร้อมทั้งตรวจสอบคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล ให้ครอบคลุมครบถ้วน
ถูกตอ้ ง และเป็นปัจจุบัน ตามมาตรฐานการบนั ทกึ ทางการพยาบาล

8. ตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารแกป้ ญั หาและปรบั ปรงุ พฒั นา
ระบบบริการพยาบาลแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชนอย่างต่อเนื่อง กำ�หนดแนวทางหรือ
มาตรฐานการบริหารจดั การวัสดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมอื เวชภณั ฑ์ ให้พร้อมใช้

9. ร่วมกำ�หนดแนวทางการป้องกันและควบคุมการติดเช้ือในชุมชน โดยติดตามเฝ้าระวัง
ความเสย่ี งตอ่ การตดิ เชอื้ และแพรก่ ระจายเชอ้ื ในผปู้ ว่ ย รวมทง้ั ก�ำ กบั ควบคมุ สงิ่ แวดลอ้ มและอปุ กรณ์
เคร่อื งมือ เคร่ืองใช้ใหป้ ราศจากการแพร่กระจายเชอ้ื

10. ร่วมกำ�หนดแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน ท้ังในประชาชน
กลมุ่ ปกตแิ ละกล่มุ ปว่ ย โดยสรา้ งการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน

11. ตดิ ตามและด�ำ เนนิ การควบคมุ คณุ ภาพการพยาบาล โดยใชม้ าตรฐานการพยาบาลและ
ค่มู อื ในการปฏิบัติการพยาบาลตา่ งๆ

12. กำ�หนดฐานข้อมูลทางการพยาบาลในระดับหน่วยงานที่รับผิดชอบ และการนำ�ข้อมูล
ไปใชเ้ พื่อให้เกดิ ประโยชนใ์ นการพฒั นาคณุ ภาพบรกิ ารพยาบาล

■■ ดา้ นการวางแผน
1. วางแผนการดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยที่มีปัญหาสุขภาพท่ีซับซ้อน ในชุมชนท่ีรับผิดชอบ

รว่ มกบั ทีมสหสาขาวชิ าชพี
2. รว่ มวางแผนบรหิ ารอตั ราก�ำ ลงั และพฒั นาบคุ ลากรพยาบาล และทมี การพยาบาลในชมุ ชน

ได้แก่ อสม. ผู้ดูแล (caregiver) ผู้นำ�ชุมชน และจิตอาสาหรือทีมสุขภาพ เช่น อสม. ในหน่วยงาน
ท่รี บั ผดิ ชอบ ให้เหมาะสมกับบริบทและภาระงานทีเ่ ก่ยี วข้อง

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชพี

56

3. รว่ มวางแผนการนเิ ทศและพฒั นางานการพยาบาลชมุ ชนในระดบั หนว่ ยงานและในชมุ ชน
กบั ทมี สหสาขาวชิ าชพี ทีมการพยาบาลชมุ ชน และภาคีเครือข่ายในชมุ ชน

4. วางแผนและบรหิ ารจดั การพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลทบี่ า้ นและในชมุ ชนตามขอบเขต
เป้าหมายและตวั ชว้ี ดั ทก่ี ำ�หนด ให้กลมุ่ เป้าหมายไดร้ บั บรกิ ารที่มคี ณุ ภาพและปลอดภัย

5. ร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง กำ�หนดแผนและทบทวน ปรับแผนการใช้วัสดุ อุปกรณ์
เครื่องมือ เคร่ืองใชแ้ ละเวชภณั ฑ์

■■ ดา้ นการประสานงาน
1. ประสานให้ข้อมูล ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นในการจัดรูปแบบ การจัดกิจกรรมและ

จัดบริการพยาบาลแก่กลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้อง เพ่ือให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามท่ี
ก�ำ หนดไว้

2. ประสาน ทีมการพยาบาลชุมชน ทีมสหวิชาชีพและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือร่วมกัน
แก้ปัญหาท่ียากและตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ให้ได้รับการช่วยเหลือ ท่ีรวดเร็ว
ทนั เวลา มีคณุ ภาพและปลอดภัย

3. ประสานความร่วมมือกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ในการปฏิบัติตามแนวทางการส่งต่อและ
ให้การดแู ลตอ่ เนอื่ ง ตามปญั หาและความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย

4. ประสานงานในการหาแหล่งประโยชน์ท่ีจะช่วยจัดการกับปัญหาต่างๆ ที่ยากให้กับ
กล่มุ เปา้ หมายและครอบครัว

5. ประสานความร่วมมือ ในการพัฒนาคุณภาพบรกิ ารพยาบาลภายในหนว่ ยงาน
■■ ดา้ นการบริการ

1. สอน ให้คำ�ปรึกษา เพิ่มพูนความรู้ นิเทศ ฝึกอบรม ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยี
ทางการพยาบาลแกผ่ ใู้ ต้บังคับบัญชาหรือผูท้ ี่มปี ระสบการณ์นอ้ ยกว่า

2. จัดทำ�ข้อมูล เอกสาร คู่มือ ส่ือเอกสารเผยแพร่ พัฒนาเคร่ืองมืออุปกรณ์ วิธีการ หรือ
ประยุกตเ์ ทคโนโลยีเข้ามา ใชใ้ นการปฏิบัติงาน

3. รว่ มจดั ท�ำ ค่มู อื หรอื แนวทางการปฏิบตั ิงานของการพยาบาลชมุ ชนในหนว่ ยงาน
4. เขา้ ร่วมโครงการงานวจิ ยั หรอื โครงการพฒั นาตา่ งๆ ของหนว่ ยงาน
5. จัดทำ�คู่มือหรือแนวทางการดูแลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้สามารถดูแลตนเอง
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
6. ให้บริการขอ้ มูลข่าวสารทางวชิ าการและจัดเกบ็ ข้อมลู เก่ียวกบั การพยาบาลในชุมชน

บทบาทหน้าทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี

57

■■ประเภทวิชาการ ระดบั ช�ำ นาญการพิเศษ
■■ หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบโดยสรุป (Job Summary)

ปฏบิ ตั งิ านในฐานะหวั หนา้ งาน หวั หนา้ ทมี ซงึ่ ตอ้ งก�ำ กบั แนะน�ำ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของ
ผรู้ ว่ มปฏบิ ตั งิ านโดยใชค้ วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความช�ำ นาญงานสงู มากทางศาสตร์
ศลิ ปะการพยาบาลชมุ ชน การพยาบาลครอบครวั และหลกั วทิ ยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการพยาบาล
และแนวปฏิบัติท่ีกำ�หนดครอบคลุม 4 มิติ คือ การรักษาพยาบาล ป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่าง
การรักษา การฟื้นฟูสภาพและการส่งเสริมสุขภาพ ท่ีต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยากมาก รวมท้ัง
บูรณาการความรู้ศาสตร์สาขาท่ีเก่ียวข้อง เช่น สาธารณสุขศาสตร์ พฤติกรรมและสังคมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ฯลฯ มาประยุกต์ใช้ร่วมกับกระบวนการพยาบาล ในการปฏิบัติการ
พยาบาล วางแผนการดูแลให้มีความต่อเนื่องท้ังระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงการบริหารจัดการ
ใหเ้ กดิ การดแู ลทมี่ คี ณุ ภาพ และแกไ้ ขปญั หาอนื่ ๆทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพในกลมุ่ ปว่ ยทซี่ บั ซอ้ น เชน่
ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ควบคุมอาการไม่ได้ ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ฯลฯ ท้ังรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
สามารถคาดการณ์ ความเส่ียง ปัญหา ที่อาจเกิดขึ้นต่อผู้ป่วยแต่ละราย ในเชิงคลินิกและเชิงสังคม
โดยใชก้ ระบวนการบรหิ ารจดั การบริการพยาบาล และบรหิ ารคณุ ภาพการพยาบาลในชมุ ชน รวมถึง
เป็นผู้จัดการในการดูแลสุขภาพและความเจ็บป่วยที่ยุ่งยากซับซ้อนแก่ประชาชนกลุ่มป่วย กลุ่มที่
ต้องการการดูแลเป็นพิเศษจากบริการเฉพาะทุกระยะของการเจ็บป่วย เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ ทั้งด้าน
การพยาบาลและด้านสุขภาพใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย รวมถงึ พฒั นาและปรบั ปรงุ บรกิ ารการพยาบาล
ชมุ ชนโดยสรา้ ง พฒั นาโปรแกรม แนวทางการดแู ล แนวปฏบิ ตั กิ ารดแู ล โดยใชห้ ลกั ฐานทางวชิ าการ
การวิจัย หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมถึงให้คำ�ปรึกษา ถ่ายทอดความรู้ให้กับทีมการพยาบาล และ
ประสานความรว่ มมอื แลกเปลยี่ นความรู้ ตลอดจนสนบั สนนุ ความรดู้ า้ นสขุ ภาพกบั ทมี สหสาขาวชิ าชพี
และภาคเี ครอื ขา่ ยในชมุ ชนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รวมทง้ั ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย เพอื่ สขุ ภาพอนามยั
ทดี่ ีของประชาชน ทงั้ ในสถานบรกิ ารสุขภาพและชุมชน

■■ ด้านการปฏบิ ัติการ
1. บรหิ ารจดั การใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลชมุ ชนตามมาตรฐานหรอื แนวทางทก่ี �ำ หนด

ภายใต้จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ แก่ประชาชนทุกกลุ่มวัยโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วย
ซ่ึงมีปัญหาสุขภาพยุ่งยากซับซ้อน ตลอดจนติดตามประเมินผลลัพธ์ การปฏิบัติการพยาบาล เพื่อ
น�ำ ไปสกู่ ารแกป้ ญั หาและพฒั นาระบบการบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน เชน่ ผปู้ ว่ ยเดก็ ทมี่ ภี าวะเปราะบาง
ผสู้ ูงอายุท่ีถูกทอดทง้ิ ผปู้ ่วยทีต่ อ้ งใชเ้ ครื่องมอื หรืออุปกรณ์พเิ ศษท่บี ้าน

2. ประเมิน วินิจฉัย ปัญหาภาวะเสี่ยง คาดการณ์และวางแผนการพยาบาลเพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการดูแลสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย ทั้งกลุ่มเส่ียงกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพกาย
และจิต ภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยระยะสุดท้าย คนพิการและผู้ด้อยโอกาสท่ีมีปัญหาสุขภาพซับซ้อน

บทบาทหน้าทข่ี องพยาบาลวิชาชีพ

58

ทตี่ อ้ งได้รบั การดูแลเปน็ พเิ ศษ ในชมุ ชนทร่ี ับผดิ ชอบ
3. จัดการดูแลสุขภาพ และความเจ็บป่วยแก่ผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการเฉพาะกลุ่มเฉพาะโรคที่

บา้ นและในชมุ ชน ทต่ี อ้ งการการดแู ลเปน็ พเิ ศษ เพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพดแู ลตอ่ เนอื่ ง ปอ้ งกนั ความเสย่ี ง
และภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น ฟ้ืนฟูสภาพร่างกาย จิตสังคม จิตวิญญาณ ทั้งในภาวะปกติและ
ภาวะฉกุ เฉินอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

4. ก�ำ หนดแนวทางการปอ้ งกนั และควบคมุ การแพรก่ ระจายเชอื้ ในชมุ ชน โดยนเิ ทศ ตดิ ตาม
ให้ค�ำ ปรกึ ษาแก่บุคลากรทางการพยาบาลและทมี สุขภาพท่เี กีย่ วข้อง

5. กำ�หนดแนวทางพัฒนาคุณภาพการพยาบาลผู้ป่วยท่ีบ้านและในชุมชน ปฏิบัติการ
พยาบาลและช่วยเหลือดูแลเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มท่ีต้องดูแลเป็นพิเศษ ท่ีต้องใช้เทคโนโลยีการบำ�บัด
ทางการพยาบาลท่ีเป็นอันตรายต่อชีวิต และแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม โดยการมีส่วนร่วมของทีม
สหสาขาวชิ าชพี และภาคีเครอื ข่ายทเ่ี กีย่ วข้อง

6. บริหารจัดการให้เกิดรูปแบบการบริการพยาบาลเช่ือมโยงเครือข่ายบริการพยาบาลทุก
ระดับทง้ั ปฐมภูมิ ทตุ ิยภมู ิ และตติยภูมิ

7. จดั การสงิ่ แวดลอ้ ม ทง้ั ในสงั คม และชมุ ชนใหเ้ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ การสรา้ งเสรมิ การดแู ล
ตนเองแกก่ ลุ่มท่ตี อ้ งการการดูแลเปน็ พิเศษ โดยบรหิ ารการมีสว่ นรว่ มของภาคีเครือข่าย

8. บนั ทกึ ขอ้ มลู การประเมนิ คาดการณ์ ปญั หาและความตอ้ งการวนิ จิ ฉยั ก�ำ หนดเปา้ หมาย
วางแผนและประเมินผลการพยาบาลผู้ป่วยในระยะยาว ผู้ป่วยที่มีความยุ่งยากซับซ้อน สอดคล้องต่อ
การเปลย่ี นแปลงภาวะสขุ ภาพ และเชอ่ื มโยงสกู่ ารดแู ลตอ่ เนอื่ งพรอ้ มทงั้ ตรวจสอบแกไ้ ข ใหค้ �ำ แนะน�ำ
การบนั ทกึ ทางการพยาบาลแกท่ มี สขุ ภาพ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ดา้ นการพยาบาล ทบทวนการบนั ทกึ ขอ้ มลู
ทางการพยาบาล

9. ประเมนิ ผลระบบการดแู ลกลมุ่ เปา้ หมายและน�ำ มาพฒั นาสมรรถนะของทมี การพยาบาล
ในชมุ ชนให้สามารถดแู ลกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

10. ศีกษา วิจัย พัฒนา ระบบหรือรูปแบบบริการพยาบาลในชุมชน ในผู้ป่วยท่ีมีปัญหา
สุขภาพยุง่ ยากซบั ซอ้ น

■■ ดา้ นการวางแผน
1. วางแผนการดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยที่มีปัญหาสุขภาพที่ซับซ้อนร่วมกับทีมสหสาขา

วชิ าชพี ในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของประชาชน
2. วางแผนบรหิ ารอตั ราก�ำ ลงั และพฒั นาบคุ ลากรทางการพยาบาลและทมี สขุ ภาพใหเ้ หมาะ

สมกบั บรบิ ทและภาระงาน
3. วางแผนพัฒนาคุณภาพการพยาบาลในชุมชนที่มีปัญหายากมากแก่บุคลากรพยาบาล

และบุคลากรสาธารณสขุ อนื่ ๆ ทง้ั ในและนอกหน่วยงาน
4. วางแผนนิเทศและพัฒนางานการพยาบาลชุมชนแก่บุคลากรพยาบาลและบุคลากร

สาธารณสุขอน่ื ๆ ทง้ั ในและนอกหน่วยงาน

บทบาทหน้าทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี

59

5. วางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรในการดูแลผู้ป่วย ต้ังแต่ การบำ�รุงรักษา จัดหา
อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เครือ่ งใชแ้ ละเวชภณั ฑ์ทจี่ ำ�เปน็ ต้องใช้ในชมุ ชนหรือทบี่ า้ น

■■ ด้านการประสานงาน
1. ประสานใหข้ อ้ มลู และขอ้ เสนอแนะกบั สมาชกิ ในทมี งาน โดยมบี ทบาทในการชแี้ นะ เปน็

ทปี่ รกึ ษา จงู ใจ ทมี งานหรอื ภาคีเครอื ขา่ ย
2. ประสานทมี สหสาขาวชิ าชพี คณะกรรมการ หรอื คณะท�ำ งานภาคเี ครอื ขา่ ยตา่ งๆ ในฐานะ

ผจู้ ัดการพยาบาลในชมุ ชน
3. ประสานสมั พนั ธ์ ความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ขา่ ยสขุ ภาพในระดบั อ�ำ เภอ จดั ระบบการสง่ ตอ่

และการดแู ลตอ่ เนอื่ ง เชอื่ มโยงขอ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพระหวา่ งบคุ ลากร สหสาขาวชิ าชพี และภาคเี ครอื ขา่ ย
ท่เี ก่ียวขอ้ งทกุ ภาคสว่ น

4. ประสานแหลง่ ประโยชนใ์ หก้ บั ภาคเี ครอื ขา่ ยทกุ ภาคสว่ นในระดบั อ�ำ เภอเพอื่ แกป้ ญั หาที่
ยากมาก

■■ ด้านการบรกิ าร
1. เปน็ ทป่ี รกึ ษา อ�ำ นวยการ ถา่ ยทอดความรใู้ หก้ บั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา ผใู้ ชบ้ รกิ ารทงั้ ภายใน

และภายนอกหน่วยงาน
2. จดั การความรู้ (knowledge management) ดา้ นการพยาบาลชมุ ชนในระดบั หนว่ ยงาน

ชุมชน หรือ ภาคเี ครอื ข่ายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
3. เปน็ ทปี่ รกึ ษาและแนะน�ำ ในการแกป้ ญั หา และพฒั นางานดา้ นการพยาบาลในชมุ ชนทม่ี ี

ความยุ่งยากซับซ้อน รวมท้ังแสดงบทบาทของพ่ีเล้ียง และผู้ประสานแก่บุคลากรสาธารณสุข
หน่วยงาน และเครือข่ายภาคประชาชน

4. กำ�หนดแนวทางวิธกี ารเผยแพร่ และประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีระดับสากล
5. จัดทำ�ฐานข้อมลู ระบบสารสนเทศเกยี่ วกับงานทร่ี บั ผดิ ชอบ
6. ให้ความรู้และเป็นวิทยากรด้านการพยาบาลชุมชน ในการฝึกอบรมแก่บุคลากร หรือ
หน่วยงานอ่นื ท่ีเกยี่ วขอ้ ง

บทบาทหน้าทีข่ องพยาบาลวชิ าชีพ

60

■■ประเภทวิชาการ ระดับเชีย่ วชาญ
■■ หน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบโดยสรปุ (Job Summary)

ปฏบิ ตั งิ านในฐานะผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการพยาบาลในชมุ ชน หวั หนา้ กลมุ่ งานการพยาบาลชมุ ชน
โดยใชค้ วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ความเชยี่ วชาญในศาสตร์ ศลิ ปะการพยาบาลชมุ ชน และ
วชิ าการดา้ นการพยาบาลในการดแู ลผูป้ ่วยตอ่ เนอื่ งทบี่ ้านแบบองคร์ วม ผสมผสานครอบคลมุ 4 มติ ิ
คือ การรักษาพยาบาล ป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษา การฟ้ืนฟูสภาพและการส่งเสริม​
สุขภาพ ท้ังในผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน รวมทั้งปฏิบัติงาน บริหารจัดการระบบการดูแลสุขภาพ
ในชุมชน นิเทศ กำ�กับแนะนำ� ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วมงานทุกระดับที่ต้องตัดสินใจ
หรือแก้ปัญหาทางวิชาการท่ียากและซับซ้อนมาก และมีผลกระทบในวงกว้าง สามารถประเมินและ
คาดการณ์การเปลี่ยนแปลงอาการ อาการแสดงความเส่ียงที่อาจเกิดข้ึน เชื่อมโยงผลกระทบของ
พยาธิสภาพ และพฤติกรรมที่ซับซ้อนของผู้ป่วย ครอบครัว ผู้ดูแล ชุมชน สื่อสาร ประสานงาน
ทีมสหสาขาวิชาชีพ รวมท้ังภาคีเครือข่าย ภาคประชาชน ภาครัฐ ภาคเอกชน และวิเคราะห์ข้อมูล
สถานการณ์ ศกึ ษาวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาและออกแบบระบบบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน ประสานแหลง่ ประโยชน์
แหลง่ ทรพั ยากรในชมุ ชนในการชว่ ยเหลอื ดแู ลสขุ ภาพประชาชน บรหิ ารจดั การคณุ ภาพการพยาบาล
ในชมุ ชน ในฐานะผเู้ ชย่ี วชาญตอ้ งใหค้ �ำ ปรกึ ษาแกส่ ว่ นราชการระดบั กระทรวง กรม เครอื ขา่ ยบรกิ าร
สุขภาพ ระดับเขต จังหวัด โรงพยาบาล รวมถึงการจัดทำ�หลักสูตรการเรียนการสอน ฝึกอบรม
ดา้ นการพยาบาลชุมชน และอบรมภาคเี ครอื ขา่ ยภาคประชาชน และนเิ ทศ เผยแพรถ่ ่ายทอดความรู้
เป็นท่ีปรึกษา ให้ข้อมูล รวมท้ังให้บริการเกื้อกูลสังคม กับหน่วยงานอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้​
การด�ำ เนนิ งานประสบผลส�ำ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพ ระบบบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน
เพ่ือสุขภาพอนามัยท่ีดีของประชาชนทั้งในสถานบริการและในชุมชน รวมท้ังปฏิบัติงานอื่นตามท่ี
ไดร้ บั มอบหมาย

■■หนา้ ท่คี วามรับผิดชอบ

■■ ด้านการปฏบิ ตั กิ าร
1. ประเมนิ วนิ จิ ฉยั ชมุ ชน เพอ่ื คน้ หาปญั หาภาวะเสย่ี ง คาดการณแ์ ละวางแผนการพยาบาล

เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการดแู ลสขุ ภาพของประชาชนทกุ กลมุ่ วยั ทงั้ กลมุ่ เสยี่ ง กลมุ่ ทมี่ ปี ญั หาสขุ ภาพ
กายและจิต ภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยระยะสุดท้าย คนพิการและผู้ด้อยโอกาสที่มีปัญหาสุขภาพ
ท่ียุ่งยากและซับซ้อนมาก มีผลกระทบในวงกว้าง ซึ่งต้องใช้ความเช่ียวชาญสูง เพื่อให้ประชาชน
มีสขุ ภาพและคุณภาพชีวติ ท่ีดี เช่อื มโยงระบบ รับ-ส่งตอ่ ผู้ปว่ ย

บทบาทหน้าทีข่ องพยาบาลวิชาชพี

61

2. ปฏิบัติการพยาบาลชุมชนในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลชุมชน พัฒนาและ
ประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิชาการ เทคโนโลยีสารสนเทศ เคร่ืองมือในการประเมินวินิจฉัยชุมชน เพื่อ
การตัดสินใจหรือแก้ปัญหาผู้ป่วยที่ยุ่งยากซับซ้อนมาก คาดการณ์ความเส่ียง ทั้งในภาวะปกติและ
ภาวะวิกฤตฉกุ เฉนิ ในชมุ ชน

3. บรหิ ารจดั การระบบบรกิ ารพยาบาล ควบคมุ ก�ำ กบั ตรวจสอบ นเิ ทศ ประเมนิ ผลและ
วิเคราะห์สถานการณ์สภาวะสุขภาพ รวมท้ังแก้ปัญหาเชิงระบบวิชาชีพพยาบาล เพ่ือคิดค้นรูปแบบ
นวตั กรรมการบรกิ ารพยาบาลทบี่ า้ น และชมุ ชน รวมทง้ั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพปอ้ งกนั โรคและฟน้ื ฟสู ภาพ
ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ และคณุ ภาพตามมาตรฐานแกป่ ระชาชนกลมุ่ เสย่ี ง กลมุ่ ปว่ ย ทกุ กลมุ่ วยั ทส่ี อดคลอ้ ง
กบั ภาวะสุขภาพ

4. ประเมิน และวิเคราะห์สถานการณ์สภาวะสุขภาพ แก้ปัญหาเชิงระบบวิชาชีพพยาบาล
และคดิ คน้ การใหบ้ รกิ ารพยาบาลทบี่ า้ น และสง่ เสรมิ การปอ้ งกนั โรคและฟน้ื ฟสู ขุ ภาพแบบผสมผสาน
เบด็ เสรจ็ เปน็ องคร์ วมและตอ่ เนอื่ ง ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพไดค้ ณุ ภาพตามมาตรฐานแกป่ ระชาชนทเ่ี จบ็ ปว่ ย
ทุกกลมุ่ วัยท่ีสอดคล้องกบั ภาวะสุขภาพ

5. จัดระบบบริการพยาบาลผู้จัดการสุขภาพรายโรคในชุมชน การพยาบาลคลินิกพิเศษ
กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เพื่อการบริการพยาบาลท่ีบ้านมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ผู้ป่วยได้เข้าถึงระบบ
บรกิ ารสขุ ภาพอยา่ งเสมอภาค เทา่ เทยี มและทนั เวลา ปลอดภยั จากภาวะคกุ คาม ไดร้ บั การดแู ลทถี่ กู
ตอ้ งเหมาะสมและปลอดภยั

6. ออกแบบและพัฒนาระบบบริการพยาบาลการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง จากสถานบริการ
ทุกระดับแบบไร้รอยต่อ โดยการบูรณาการแนวคิดทฤษฎีทางการพยาบาล ภูมิปัญญาท้องถิ่น
แหล่งประโยชน์ในชุมชน รวมท้ังการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัย การบริหารจัดการบริการ
พยาบาล

7. วเิ คราะหป์ ญั หาสถานการณส์ ขุ ภาพในชมุ ชน ออกแบบระบบการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและ
สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม งานวจิ ยั เพื่อขบั เคลือ่ นนโยบายสาธารณะดา้ นสขุ ภาพ

8. ใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ (evidence base) จดั บรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน โดยการส�ำ รวจ
ก�ำ หนดฐานขอ้ มลู ภาวะสขุ ภาพ วเิ คราะหแ์ ละคนื ขอ้ มลู สขุ ภาพสชู่ มุ ชน เพอื่ การพฒั นาระบบการสรา้ ง
ส่ิงแวดล้อมทั้งทางกายภาพและสังคมต่อการสร้างเสริมสุขภาพ ทำ�ให้เกิดนโยบายสาธารณะและ
ความรว่ มมือ ของภาคีเครอื ข่าย

9. สังเคราะห์และพัฒนาระบบการบันทึกการพยาบาลให้มีคุณภาพ สอดคล้องกับสภาพ
ปญั หา มาตรฐานการพยาบาลและระบบการพยาบาล อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

10. ออกแบบระบบการประเมนิ ผลการดแู ลสขุ ภาพกลมุ่ เปา้ หมาย รวมทงั้ รปู แบบการพฒั นา
สมรรถนะของทีมพยาบาลในชุมชน ให้มีประสิทธิภาพเพ่ือตอบสนองความต้องการ ความคาดหวัง
ของประชาชนและภาคีเครือข่าย

11. ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์หรือกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล
ส�ำ หรบั ดแู ลกล่มุ เป้าหมายในชมุ ชนท่ีมีประสทิ ธภิ าพ

บทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวชิ าชพี

62

12. นิเทศ กำ�กับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบระบบบริการพยาบาลในชุมชนให้เป็นไปตาม
มาตรฐาน และกำ�หนดรูปแบบการบริการพยาบาลในชุมชนเชิงรุกหรือการบริการสุขภาพอ่ืนๆ
ครอบคลุมการดำ�เนินงานการส่งเสริม​สุขภาพ ป้องกันโรค ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพประชาชน
เพือ่ ให้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองได้

13. กำ�หนดทิศทางการศึกษาวิจัยการพยาบาลในชุมชนให้สอดคล้องกับนโยบายของ
กระทรวงสาธารณสุข

■■ ดา้ นการวางแผน
1. วางแผนหรอื รว่ มด�ำ เนนิ การวางระบบการจดั บรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน โดยเชอื่ มโยงหรอื

บรู ณาการแผนงาน โครงการ ในระดับกลยุทธจ์ ังหวดั และส่วนราชการระดับกรม
2. วางแผนพัฒนาคุณภาพระบบการจัดบริการพยาบาลชุมชน ท้ังในสถานบริการและใน

ชมุ ชน ท้ังเชงิ รกุ และเชิงรับ ทเ่ี ออื้ ตอ่ การดูแลสขุ ภาพ โดยใชข้ ้อมูลเชิงประจักษ์หรอื จากงานวจิ ัย
3. วางแผนร่วมกับสหสาขาวิชาชีพในฐานะผู้เชี่ยวชาญในการกำ�หนดแนวทางและวิธีการ

ดูแล ผปู้ ่วย ครอบครัว และชุมชน เชอื่ มโยงและตอ่ เน่อื งจากโรงพยาบาลทุกระดบั ส่ชู มุ ชน
4. จัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ด้านการพยาบาลและด้านบุคลากร

ทางการพยาบาล และการถ่ายทอดยทุ ธศาสตรผ์ ่านแผนปฏบิ ตั ิการ
5. วางแผนนิเทศบุคลากรพยาบาลและทีมสุขภาพครอบคลุมในพื้นที่รับผิดชอบ โดยใช้

ความรู้ ประสบการณ์ และความเชยี่ วชาญดา้ นการพยาบาลในชมุ ชน เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารพยาบาลมคี ณุ ภาพ
6. วางแผนการติดตาม ประเมินผล และทบทวนผลการด�ำ เนินงานขององค์กร

■■ ด้านการประสานงาน
1. ประสานการท�ำ งานโครงการตา่ งๆ กบั บคุ คล หนว่ ยงานหรอื องคก์ รอน่ื ๆ นอกหนว่ ยงาน

โดยมบี ทบาทในการชแ้ี นะ จงู ใจ โนม้ นา้ วใหข้ อ้ คดิ เหน็ แกท่ มี งาน คณะกรรมการตา่ งๆ หรอื หนว่ ยงาน
อ่นื ในระดบั ตำ�บล อำ�เภอ และจงั หวดั

2. ประสานความร่วมมือ ให้ข้อคิดเห็นและคำ�แนะนำ�แก่หน่วยงานระดับอำ�เภอ จังหวัด
เขต หรอื กรมต่างๆ ในทป่ี ระชุมคณะกรรมการ หรือคณะทำ�งานตา่ งๆ

3. ประสานการวางระบบการส่งตอ่ และการดแู ลต่อเนื่อง
4. ประสานแหลง่ ประโยชนก์ บั ภาคเี ครอื ขา่ ยในระดบั จงั หวดั เขต ทง้ั ในและนอกหนว่ ยงาน
■■ ด้านการบรกิ าร
1. เป็นที่ปรึกษาของส่วนราชการในการถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคลากร ทั้งภายในและ
ภายนอกหนว่ ยงาน
2. ใหค้ �ำ ปรกึ ษาแนะน�ำ พรอ้ มทง้ั ใหข้ อ้ มลู ทสี่ �ำ คญั แนะน�ำ แกผ่ บู้ รหิ ารทงั้ ภายในและภายนอก
หน่วยงาน

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวชิ าชีพ

63

3. ใหค้ �ำ ปรกึ ษา แนะน�ำ ชแี้ จง และตอบปญั หาทส่ี �ำ คญั หรอื อ�ำ นวยการถา่ ยทอดฝกึ อบรม
หรือถ่ายทอดความรู้แกห่ น่วยราชการ เอกชนหรอื ประชาชนท่วั ไป

4. เผยแพร่ แนวทางและรูปแบบท่ีได้จากการออกแบบ จากการพัฒนาคุณภาพบริการ
พยาบาล

5. พฒั นาระบบจัดท�ำ ฐานข้อมูล คลังความรรู้ ะบบสารสนเทศที่เกีย่ วกบั งานที่รับผดิ ชอบ
6. เผยแพร่ แนวคดิ ระบบการใหค้ �ำ ปรกึ ษาดา้ นสขุ ภาพกบั ผปู้ ว่ ยและครอบครวั ทไ่ี ดก้ �ำ หนด
หรอื พัฒนา และผลกั ดนั ให้เปน็ นโยบายสกู่ ารปฏิบัติในวงกว้าง
7. สนับสนุนด้านวิชาการ แสดงบทบาทพี่เล้ียง (coach) และผู้ประสานงาน (facilitator)
แกบ่ คุ ลากรทางการพยาบาล ผรู้ ว่ มงานของหนว่ ยงานและเครอื ขา่ ยบรกิ ารสขุ ภาพ สถาบนั การศกึ ษา
ตา่ งๆ
8. ให้คำ�ปรึกษา แนะนำ�ด้านการนิเทศ ประเมินผล วัด วิเคราะห์ พัฒนาระบบงาน​
การพยาบาลในชมุ ชนและการพยาบาลทบี่ า้ น การพยาบาลเฉพาะทาง แกบ่ คุ ลากรทางการพยาบาล
และบคุ ลากรสาธารณสุข​อืน่ ๆ ทัง้ ในและนอกหน่วยงาน
9. ให้คำ�ปรึกษาจัดทำ�หลักสูตร โปรแกรมการเรียนการสอนด้านการพยาบาลชุมชน
การจดั การความรู้ การศกึ ษาดงู าน การฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน ส�ำ หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ อน่ื ๆ รวมทงั้ ภาคี
เครอื ขา่ ยภาคประชาชนในการดแู ลสุขภาพของบคุ คล ครอบครวั
10. เป็นผู้น�ำ ในการสนบั สนุนชุมชนในด้านการดูแลสุขภาพ

บทบาทหนา้ ทีข่ องพยาบาลวิชาชพี

64

บทที่ 4

บทบาทหน้าทข่ี อง
พยาบาลวิชาชพี
ตามการปฏิบัตงิ าน

บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชพี ตามการปฏบิ ตั งิ าน เปน็ บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี
ที่ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายให้ทำ�ตามตำ�แหน่งบริหารภายในหน่วยงานหรือองค์กร เพ่ือให้​
การบริหารงานทั่วไป การบริหารการพยาบาล รวมท้ังการบริหารจัดการการปฏิบัติการพยาบาล
ตอบสนองผู้ใช้บริการ เป็นไปตามเป้าหมายและนโยบายของโรงพยาบาล รวมทั้งเอ้ือให้บุคลากร
ทางการพยาบาลทุกระดับสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยแบ่งบทบาทหน้าท่ีของ
พยาบาลวชิ าชพี ตามการปฏบิ ตั งิ านออกเปน็ หวั หนา้ พยาบาล ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ พยาบาล หวั หนา้ กลมุ่ งาน
หวั หนา้ งาน หัวหนา้ หอผู้ป่วย ผู้ปฏิบตั ิการพยาบาลขัน้ สูง พยาบาลผ้จู ดั การรายกรณี มรี ายละเอียด
ดังต่อไปน้ี

หวั หน้าพยาบาล

■■ หนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบหลัก

ปฎบิ ตั งิ านในฐานะผบู้ รหิ ารสงู สดุ ทางการพยาบาล เปน็ ผนู้ �ำ องคก์ รพยาบาล มสี ายบงั คบั บญั ชา
ข้ึนตรงต่อผู้อำ�นวยการโรงพยาบาล มีความรับผิดชอบในการบริหารการพยาบาลทั้งบริหารจัดการ
บรกิ าร และวชิ าการทางการพยาบาล เปน็ ผกู้ �ำ หนดนโยบาย ทศิ ทาง เปา้ หมาย และแนวทางการจดั
ระบบบรกิ ารพยาบาลของโรงพยาบาล ทต่ี อบสนองตอ่ ปญั หาและความตอ้ งการของผปู้ ว่ ย ผใู้ ชบ้ รกิ าร
และนโยบายของโรงพยาบาล บรหิ ารระบบบรกิ ารพยาบาลและอ�ำ นวยการใหร้ ะบบบรกิ ารพยาบาลมี
คุณภาพ บริหารจัดการการเข้าถึงทาง​การพยาบาลและทรัพยากรต่างๆ เพ่ือการปฏิบัติงานที่มี
ประสทิ ธภิ าพ ควบคมุ ก�ำ กบั คณุ ภาพการพยาบาล รวมทง้ั วางแผน ตดิ ตามและสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การ
พัฒนาคุณภาพการพยาบาล และศักยภาพบุคคลากรทาง​การพยาบาลอย่างต่อเนื่อง รวมท้ังร่วม
วางแผนและจดั ระบบการเรียนการสอนนักศกึ ษาพยาบาลและนกั ศกึ ษาทีมสุขภาพ

■■ลักษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ

■■ ด้านการปฏิบัติการ
1. กำ�หนดทิศทางการจัดระบบบริการพยาบาล ได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและ

ยทุ ธศาสตร์การบรกิ ารพยาบาล รวมทง้ั แนวทางการพัฒนาบริการพยาบาล
2. กำ�หนดมาตรฐานการบริการพยาบาลในภาพรวมสอดคล้องกับมาตรฐานกลาง

มาตรฐานวิชาชีพ รวมท้งั กลวธิ ีการน�ำ มาตรฐานสกู่ ารปฏิบัติจริง

บทบาทหน้าท่ขี องพยาบาลวิชาชพี

66

3. ศกึ ษาปรมิ าณความตอ้ งการก�ำ ลงั คนทางการพยาบาล และจดั สรรบคุ ลากรใหเ้ หมาะสม
และตรงกบั คณุ สมบตั ิ เพ่อื การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทีม่ ีประสทิ ธิภาพ

4. ก�ำ หนดแนวทางและหลกั เกณฑใ์ นการสรรหา คดั เลอื กบคุ ลากรทางการพยาบาล รวมถงึ
การขึ้นต�ำ แหนง่ ทส่ี ูงข้นึ และการเล่ือนตำ�แหนง่

5. ก�ำ หนดขอบเขตหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของบคุ ลากรทกุ ระดบั ใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ ง
กบั บทบาทหนา้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบของแต่ละระดบั

6. ควบคมุ ตดิ ตาม และก�ำ กบั ระบบบรกิ ารพยาบาลทกุ หนว่ ยงานใหด้ �ำ เนนิ งานตามทศิ ทาง
เปา้ หมายและแนวทางทก่ี �ำ หนด

7. ตดิ ตามประเมนิ ผลการจดั บรกิ ารพยาบาล พรอ้ มทงั้ สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื และเปน็ ทป่ี รกึ ษา
เพอ่ื ใหเ้ กิดคุณภาพบริการพยาบาล

8. จัดหา ควบคุมพัสดุ ครุภัณฑ์ เครื่องมือทางการแพทย์และการพยาบาลให้เพียงพอกับ
การใชง้ านอยา่ งท่วั ถึง

9. ดำ�เนินการเก่ียวกับการบริหารบุคคล สวัสดิการ รวมทั้งพิจารณาเสนอขอบำ�เหน็จ
ความดีความชอบ และการพจิ ารณาโทษทางวินยั เสนอตอ่ ผู้บงั คับบญั ชาตามลำ�ดบั

10. บรหิ ารจดั การสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ใหบ้ คุ ลากรปฏบิ ตั งิ านอยา่ งปลอดภยั และมปี ระสทิ ธภิ าพ
11. ดำ�เนินการและส่งเสริมให้มีการจัดทำ�วิจัยทางการพยาบาลทั้งในด้านการบริหาร
การบรกิ าร การนเิ ทศ ตลอดจนส่งเสริมสนบั สนนุ ให้มกี ารน�ำ ผลการวิจยั มาใช้ในการพฒั นางาน
12. เผยแพร่และประชาสมั พนั ธผ์ ลงานบริการพยาบาลอยา่ งต่อเนือ่ ง
■■ ด้านการวางแผน
1. วางแผนการดำ�เนินนโยบายกำ�หนดยุทธศาสตร์ด้านการพยาบาล โดยบูรณาการกับ
ยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล
2. วางแผนการดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลท้ังแผนระยะยาว ระยะส้ัน โดย
บูรณาการแผนงานโครงการเขา้ กบั ยทุ ธศาสตร์ของโรงพยาบาลและยทุ ธศาสตร์บรกิ ารพยาบาล
3. วางแผนอตั ราก�ำ ลงั ทางการพยาบาลใหเ้ พยี งพอและสอดคลอ้ งกบั การจดั บรกิ ารพยาบาล
ท้ังในปัจจุบันและอนาคต และวางแผนการพัฒนาบุคลากรโดยบูรณาการให้สอดรับกับแผนพัฒนา
ระบบบริการสขุ ภาพระดบั กระทรวงสาธารณสขุ
4. วางแผนดา้ นโครงสรา้ งการจัดบริการพยาบาลเพอื่ ให้เหมาะสมตอ่ การเปลีย่ นแปลง
5. วางแผนรว่ มกบั สถาบนั การศกึ ษา ในการจดั การเรยี นการสอนภาคปฏบิ ตั ขิ องนกั ศกึ ษา

บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวชิ าชีพ

67

■■ ดา้ นการประสานงาน
1. ประสานงานกบั ทุกหนว่ ยงานและ หรอื ส่วนราชการต่างๆเพอ่ื ให้เกิดความร่วมมือ โดย

แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และขอ้ มลู ตา่ งๆดา้ นวชิ าการ ดา้ นบรหิ ารจดั การและดา้ นบรกิ ารพยาบาลเพอ่ื
ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพในการรกั ษาพยาบาล

2. เปน็ ผปู้ ระสานการดำ�เนนิ งานบริการพยาบาลทกุ รูปแบบ ท้งั ในเขตรบั ผิดชอบและนอก
เขตรบั ผิดชอบรวมทง้ั เครอื ขา่ ยบริการพยาบาลทเี่ ก่ียวขอ้ ง

3. ให้ข้อคิดเห็นและเป็นที่ปรึกษาหรือให้คำ�แนะนำ�แก่หน่วยงานหรือสำ�นักงานต่างๆ 
ท่เี กีย่ วข้อง เพ่อื ใหเ้ กิดความร่วมมอื และบรรลเุ ป้าหมายร่วมกนั

■■ ดา้ นการบริการ
1. เป็นท่ีปรึกษา ทางการพยาบาล ให้คำ�แนะนำ� วินิจฉัยและแก้ปัญหาท่ีสำ�คัญทาง​

การพยาบาลให้เปน็ ไปตามนโยบายและแผนงานทีก่ �ำ หนดไว้ และเสนอแนะขอ้ ควรปรบั ปรุงแนวทาง
การแกป้ ญั หาตา่ งๆ เก่ียวกบั การพยาบาล

2. ให้คำ�ปรึกษา แนะนำ�และให้ข้อมูลแก่ผู้บริหารทั้งภายในและภายนอก เพื่อเป็นข้อมูล
ประกอบการตัดสินใจด�ำ เนินงานให้ส�ำ เรจ็ ตามภารกิจ

3. ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�และถ่ายทอดองค์ความรู้ทางการพยาบาลและการพัฒนาคุณภาพ
การพยาบาลแกบ่ คุ ลากร เพือ่ ให้บุคลากรมีความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถด�ำ เนินได้ตามเปา้ หมาย

4. ร่วมกิจกรรมเย่ียมตรวจโรงพยาบาล (hospital round) กับผู้บริหารระดับสูง และ
คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล

5. ส่งเสริมการจัดหน่วยบริการสาธารณสุขเคล่ือนที่ตามแผนของโรงพยาบาล และร่วมใน
การจดั หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุขเคลอ่ื นทต่ี ามแผนงานจงั หวดั และจดั หน่วยบรกิ ารเฉพาะกจิ อน่ื ๆ

บทบาทหนา้ ทีข่ องพยาบาลวิชาชีพ

68

ผ้ชู ่วยหวั หนา้ พยาบาล

■■ หน้าท่คี วามรับผิดชอบหลกั

ปฏบิ ตั งิ านในฐานะผบู้ รหิ ารทางการพยาบาลทไี่ ดร้ บั มอบหมายอ�ำ นาจหนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบ
จากหัวหน้าพยาบาลตามประสบการณ์และความเช่ียวชาญในด้านการพยาบาล ติดตาม ควบคุม
ก�ำ กบั ใหค้ �ำ ปรกึ ษาและตดั สนิ ใจแกไ้ ขปญั หาในการปฏบิ ตั งิ านของหวั หนา้ กลมุ่ งาน หวั หนา้ หอผปู้ ว่ ย
และบุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับที่อยู่ในความรับผิดชอบ เพ่ือให้การบริการพยาบาลท่ีเกิดขึ้น
บรรลเุ ปา้ หมายตามนโยบายขององคก์ ร รวมทงั้ จดั การเรยี นการสอนนกั ศกึ ษาพยาบาลและนกั ศกึ ษา
ในทีมสุขภาพ พร้อมกับสรุปและรายงานผลโดยตรงแก่หัวหน้าพยาบาล

■■ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ

■■ ด้านการปฏบิ ตั ิการ
1. ปฏิบัติงานในฐานะผู้บริหารท่ีได้รับมอบอำ�นาจหน้าที่โดยตรงจากหัวหน้าพยาบาล

ในการกำ�หนดทิศทางการบริการพยาบาล ได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายการบริการพยาบาล
รวมท้ังแนวทางการพัฒนาบริการพยาบาลในหน่วยงานท่ีรับผิดชอบให้สอดคล้องกับขององค์กร
พยาบาล

2. กำ�หนดมาตรฐานการบริการพยาบาลในหน่วยงานท่ีรับผิดชอบสอดคล้องกับภาพรวม
มาตรฐานกลาง มาตรฐานวชิ าชพี รวมท้ังกลวธิ ีการนำ�มาตรฐานไปใช้

3. ส�ำ รวจ วเิ คราะหห์ าปรมิ าณความตอ้ งการก�ำ ลงั คนทางการพยาบาล และจดั สรรบคุ ลากร
ในหนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบใหเ้ หมาะสมและตรงกับคุณสมบัติ เพื่อการปฏิบัตงิ านทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ

4. ก�ำ หนดขอบเขตหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของบคุ ลากรทกุ ระดบั ใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ ง
กับบทบาทหนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบของแต่ละระดับในหน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบ

5. ควบคมุ ตดิ ตาม และก�ำ กบั ระบบบรกิ ารพยาบาลในหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบใหด้ �ำ เนนิ งาน
ตามทศิ ทาง เปา้ หมายและแนวทางทกี่ ำ�หนด

6. ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั บรกิ ารพยาบาล พรอ้ มทง้ั สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื และเปน็ ทป่ี รกึ ษา
เพ่ือใหเ้ กดิ คณุ ภาพบรกิ ารพยาบาลทีด่ ี

7. จัดหา ควบคุมพัสดุ ครุภัณฑ์ เครื่องมือทางการแพทย์และการพยาบาลให้เพียงพอกับ
การใชง้ านอยา่ งท่วั ถงึ

บทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวิชาชพี

69

8. ด�ำ เนนิ การเกย่ี วกบั การบรหิ ารบคุ คล สวสั ดกิ าร รวมทงั้ พจิ ารณาเสนอขอบ�ำ เหนจ็ ความ
ดคี วามชอบ และการพจิ ารณาโทษทางวนิ ยั ในหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเสนอตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาตามล�ำ ดบั

9. บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอ้ือให้บุคลากรในหน่วยงานที่รับผิดชอบ ปฏิบัติงานอย่าง
ปลอดภัยและมีประสทิ ธภิ าพ

10. ดำ�เนินการและส่งเสริมให้มีการจัดทำ�วิจัยทางการพยาบาลท้ังในด้านการบริหาร
การบรกิ าร การนิเทศ ตลอดจนส่งเสริมสนับสนนุ ใหม้ ีการนำ�ผลการวิจยั มาใชใ้ นการพฒั นางาน

11. รวบรวมและวเิ คราะหผ์ ลการจดั บรกิ ารพยาบาลในหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเสนอโดยตรง
แกห่ ัวหนา้ พยาบาล

■■ ด้านการวางแผน
1. วางแผนปฏิบัติการดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลในหน่วยงานที่รับผิดชอบ

โดยบูรณาการแผนงานโครงการเขา้ กับแผนยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ รพยาบาล
2. วางแผนอตั ราก�ำ ลงั ทางการพยาบาลใหเ้ พยี งพอและสอดคลอ้ งกบั การจดั บรกิ ารพยาบาล

และวางแผนการพฒั นาบุคลากรโดยบรู ณาการใหส้ อดรับกบั เปา้ หมายขององค์กรพยาบาล
3. วางแผนการนเิ ทศงานการพยาบาลทกุ ระดบั ในหน่วยงานที่รับผดิ ชอบ
4. วางแผนรว่ มกบั สถาบนั การศกึ ษา ในการจดั การเรยี นการสอนภาคปฏบิ ตั ขิ องนกั ศกึ ษา

กรณมี าฝึกภาคปฏบิ ัติในหน่วยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ
■■ ดา้ นการประสานงาน
1. ประสานงานภายในหน่วยงานที่รับผิดชอบและ หรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิด

ประสทิ ธภิ าพการรกั ษาพยาบาล
2. ให้ข้อคิดเห็นและเป็นท่ีปรึกษา หรือให้คำ�แนะนำ�แก่หน่วยงานหรือสำ�นักงานต่างๆ ท่ี

เกยี่ วขอ้ ง เพื่อใหเ้ กิดความรว่ มมือและบรรลเุ ป้าหมายรว่ มกนั
■■ ด้านการบรกิ าร
1. เป็นที่ปรึกษาทางการพยาบาล ให้คำ�แนะนำ� วินิจฉัยและแก้ปัญหาท่ีสำ�คัญทางการ

พยาบาลใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายและแผนงานทกี่ �ำ หนดไว้ และเสนอแนะขอ้ ควรปรบั ปรงุ แนวทางการ
แกป้ ญั หาต่างๆเก่ียวกับการพยาบาล

2. ให้คำ�ปรึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้ทางการพยาบาลและการพัฒนาคุณภาพการ
พยาบาลแกบ่ คุ ลากรในหนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถด�ำ เนนิ
ได้ตามเป้าหมาย

3. นเิ ทศ ตดิ ตาม ชว่ ยเหลอื และประเมนิ ผลการพยาบาลในหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเพอื่ ให้
บรกิ ารตามมาตรฐานทีก่ ำ�หนดและมีคุณภาพ

บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวิชาชพี

70

4. ร่วมในการเย่ียมตรวจงานทางการพยาบาลกับหัวหน้าพยาบาล (grand round) กรณี
เยี่ยมตรวจในหนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ

5. ร่วมกิจกรรมเย่ียมตรวจโรงพยาบาล (hospital round) กับผู้บริหารระดับสูง และ
คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล กรณีมาเยีย่ มตรวจหนว่ ยงานในความรับผดิ ชอบ

6. ส่งเสริมให้หน่วยงานที่รับผิดชอบร่วมดำ�เนินการจัดหน่วยบริการสาธารณสุขเคล่ือนที่
ตามแผนของโรงพยาบาลและร่วมในการจัดหน่วยบริการสาธารณสุขเคล่ือนท่ีตามแผนงานจังหวัด
และจดั หน่วยบริการเฉพาะกิจอ่ืนๆ

บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชีพ

71

หวั หนา้ กลุ่มงาน หัวหนา้ งาน

■■ หนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบหลกั

ปฏิบัติงานในฐานะผู้บริหารทางการพยาบาลระดับกลางที่ได้รับมอบหมายอำ�นาจหน้าที่
ความรับผิดชอบจากหัวหน้าพยาบาล ตามความชำ�นาญในสาขาการพยาบาลเฉพาะทาง เช่น
ศัลยกรรม อายุรกรรม เป็นต้น โดยการติดตาม ควบคุมกำ�กับ มาตรฐานการปฏิบัติงาน บริหาร
อตั ราก�ำ ลงั สง่ิ แวดลอ้ ม เครอื่ งมอื วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ นเิ ทศ ควบคมุ ก�ำ กบั แนะน�ำ ใหค้ �ำ ปรกึ ษาและ
ตัดสินใจแก้ไขปัญหาระบบบริการพยาบาลและการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยและบุคลากร
ทางการพยาบาลทกุ ระดบั ทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบ เพอ่ื ใหก้ ารบรกิ ารพยาบาลทเ่ี กดิ ขน้ึ บรรลเุ ปา้ หมาย
ตามนโยบายขององค์กร รวมท้ังจัดการเรียนการสอนนักศึกษาพยาบาลและนักศึกษาในทีมสุขภาพ
พรอ้ มกับสรปุ และรายงานผลโดยตรงแก่หัวหน้าพยาบาล

■■ลกั ษณะงานทปี่ ฏิบตั ิ

■■ ด้านการปฏบิ ัตกิ าร
1. กำ�หนดทิศทางการบริการพยาบาล ได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายการบริการ

พยาบาล รวมทั้งแนวทางการพัฒนาบริการพยาบาลในสาขาการพยาบาลท่ีรับผิดชอบให้สอดคล้อง
กับจดุ มุ่งหมายขององค์กรพยาบาล

2. กำ�หนดมาตรฐานการบริการพยาบาลในสาขาที่รับผิดชอบสอดคล้องกับภาพรวม
มาตรฐานกลาง มาตรฐานวชิ าชีพ รวมท้ังกำ�หนดกลวิธีการน�ำ มาตรฐานไปใช้

3. ส�ำ รวจ วเิ คราะหห์ าปรมิ าณความตอ้ งการก�ำ ลงั คนทางการพยาบาล และจดั สรรบคุ ลากร
ในหน่วยงานทรี่ บั ผิดชอบใหเ้ หมาะสมและตรงกบั คณุ สมบตั ิ เพือ่ การปฏบิ ัตงิ านท่ีมีประสิทธภิ าพ

4. ก�ำ หนดขอบเขตหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ ของบคุ ลากรทกุ ระดบั ใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ ง
กับบทบาทหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบของแตล่ ะระดบั ในหน่วยงานท่รี ับผิดชอบ

5. ควบคมุ ตดิ ตาม และก�ำ กบั ระบบบรกิ ารพยาบาลในหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ ใหด้ �ำ เนนิ งาน
ตามทศิ ทาง เป้าหมายและแนวทางทก่ี �ำ หนด

6. ตดิ ตามประเมนิ ผลการจดั บรกิ ารพยาบาล พรอ้ มทง้ั สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื และเปน็ ทป่ี รกึ ษา
เพอ่ื ให้เกิดคุณภาพบริการพยาบาล

7. จัดหา ควบคุมพัสดุ ครุภัณฑ์ เคร่ืองมือทางการแพทย์และการพยาบาลให้เพียงพอกับ
การใชง้ านอยา่ งทว่ั ถงึ

บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชีพ

72

8. ดำ�เนินการเกี่ยวกับการบริหารบุคคล สวัสดิการ รวมท้ังพิจารณาเสนอขอบำ�เหน็จ
ความดีความชอบ และการพิจารณาโทษทางวินัยในหน่วยงานท่ีรับผิดชอบเสนอต่อผู้บังคับบัญชา
ตามลำ�ดับ

9. บริหารจัดการส่ิงแวดล้อมท่ีเอื้อให้บุคลากรในหน่วยงานที่รับผิดชอบ ปฏิบัติงานอย่าง
ปลอดภยั และมปี ระสทิ ธภิ าพ

10. ดำ�เนินการและส่งเสริมให้มีการจัดทำ�วิจัยทางการพยาบาลท้ังในด้านการบริหาร
การบริการ การนิเทศ ตลอดจนส่งเสริมสนบั สนนุ ใหม้ กี ารนำ�ผลการวจิ ัยมาใช้ในการพฒั นางาน

11. รวบรวมและวเิ คราะหผ์ ลการจดั บรกิ ารพยาบาลในหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเสนอโดยตรง
แก่หวั หนา้ พยาบาล

■■ ดา้ นการวางแผน
1 วางแผนปฏิบัติการดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลในหน่วยงานที่รับผิดชอบ

โดยบรู ณาการแผนงานโครงการเข้ากับแผนยทุ ธศาสตร์ขององค์กรพยาบาล
2 วางแผนอตั ราก�ำ ลงั ทางการพยาบาลใหเ้ พยี งพอและสอดคลอ้ งกบั การจดั บรกิ ารพยาบาล

และวางแผนการพัฒนาบุคลากร โดยบูรณาการให้สอดรบั กบั เป้าหมายขององคก์ รพยาบาล
3 วางแผนการนเิ ทศงานการพยาบาลทุกระดบั ในหน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ
4 วางแผนรว่ มกบั สถาบันการศึกษา ในการจัดการเรยี นการสอนภาคปฏิบัตขิ องนักศกึ ษา

กรณีมาฝกึ ภาคปฏิบัติในหน่วยงานท่รี บั ผิดชอบ
■■ ด้านการประสานงาน
1 ประสานงานภายในหน่วยงานท่ีรับผิดชอบและ หรือหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพื่อให้เกิด

ประสิทธิภาพการรกั ษาพยาบาล
2 ให้ข้อคิดเห็นและเป็นที่ปรึกษาหรือให้คำ�แนะนำ�แก่หน่วยงานหรือสำ�นักงานต่างๆ ท่ี

เกย่ี วขอ้ ง เพ่ือให้เกิดความร่วมมือและบรรลเุ ป้าหมายร่วมกนั
■■ ด้านการบรกิ าร
1. เปน็ ทป่ี รกึ ษาทางการพยาบาล ใหค้ �ำ แนะน�ำ วนิ จิ ฉยั และแกป้ ญั หาทส่ี �ำ คญั ทางก​ ารพยาบาล

ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายและแผนงานทกี่ �ำ หนดไว้ และเสนอแนะขอ้ ควรปรบั ปรงุ แนวทางการแกป้ ญั หา
ต่างๆ เกี่ยวกบั การพยาบาล

2. ให้คำ�ปรึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้ทางการพยาบาล และการพัฒนาคุณภาพแก่
บคุ ลากรการพยาบาลในหนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถด�ำ เนนิ
ได้ตามเป้าหมาย

3. นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ และประเมินผลการพยาบาลในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อ
ให้บริการเปน็ ไปตามมาตรฐานท่ีกำ�หนดและมีคณุ ภาพ

บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวิชาชีพ

73

4. รว่ มในการเยย่ี มตรวจงานทางการพยาบาล (grand round) กบั หวั หนา้ พยาบาล กรณี
เยีย่ มตรวจในหนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบ

5. ร่วมกิจกรรมเยี่ยมตรวจโรงพยาบาล (hospital round) กับผู้บริหารระดับสูง และ
คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล กรณีมาเยี่ยมตรวจหนว่ ยงานในความรบั ผิดชอบ

6. ส่งเสริมให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบร่วมดำ�เนินการจัดหน่วยบริการสาธารณสุขเคล่ือนท่ี
ตามแผนของโรงพยาบาลและร่วมในการจัดหน่วยบริการสาธารณสุขเคลื่อนที่ตามแผนงานจังหวัด
และจัดหนว่ ยบริการเฉพาะกิจอ่นื ๆ

บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวิชาชพี

74

หวั หนา้ หอผู้ปว่ ย

■■ หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบหลกั

ปฏบิ ตั งิ านในฐานะผบู้ รหิ ารทางการพยาบาลระดบั กลาง มคี วามรบั ผดิ ชอบบรหิ ารการพยาบาล
ในระดับหน่วยงาน หอผู้ป่วยเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ของกลุ่มการพยาบาลและ
โรงพยาบาล และบงั คบั บญั ชา ตรวจสอบ ควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ทท่ี กุ ระดบั ใหป้ ฏบิ ตั งิ าน
ตามบทบาทหนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบตามต�ำ แหนง่ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ พรอ้ มทง้ั
เป็นผู้เช่ือมโยงนโยบายจากองค์กรพยาบาลสู่การปฏิบัติในระดับหน่วยงานหรือหอผู้ป่วย จัดระบบ
บรกิ ารพยาบาลและระบบพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลในหนว่ ยงานใหม้ มี าตรฐาน เกดิ การใหบ้ รกิ าร
พยาบาลทม่ี คี ณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รวมทงั้ เปน็ ผนู้ �ำ ในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล ใหค้ �ำ ปรกึ ษา แนะน�ำ
และวินิจฉัยส่ังการในกรณีผู้ปฏิบัติไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ รวมท้ังวิเคราะห์ความต้องการพัฒนา
ความรแู้ กบ่ คุ ลากร และก�ำ หนดแนวทางการพฒั นาและฟนื้ ฟคู วามรบู้ คุ ลากรทางการพยาบาลทกุ ระดบั

■■ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ

■■ ดา้ นการปฏบิ ตั ิการพยาบาล
1. เปน็ ผนู้ �ำ ในการก�ำ หนด พนั ธกจิ เปา้ หมายการบรกิ ารพยาบาล รวมทง้ั แนวทางการพฒั นา

บรกิ ารพยาบาลให้มคี ณุ ภาพในหนว่ ยงานสอดคล้องกับองค์กรพยาบาล
2. กำ�หนดมาตรฐานการบริการพยาบาลหรือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลท่ีตอบสนองต่อ

เปา้ หมายการจดั บรกิ ารพยาบาลและความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ รกิ ารใหส้ อดคลอ้ งกบั ภาพรวม มาตรฐาน
กลาง มาตรฐานวชิ าชพี

3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบใหก้ ารพยาบาลผปู้ ว่ ย
หรือผ้ใู ชบ้ รกิ ารโดยใช้มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาล แนวทางปฏิบัติการพยาบาลทีก่ ำ�หนด

4. บริหารจัดการกำ�ลังคนทางการพยาบาลภายใต้มาตรฐานภาระงานตามขอบเขต
อตั ราก�ำ ลงั ทม่ี ี และจดั สรรบคุ ลากรในหนว่ ยงานใหเ้ หมาะสมและตรงกบั คณุ สมบตั ิ เพอ่ื การปฏบิ ตั งิ าน
ท่ีมีประสทิ ธิภาพ

5. วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการพฒั นาความรบู้ คุ ลากร และก�ำ หนดแนวทางการพฒั นาและฟน้ื ฟู
ความรู้บุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับ รวมทั้งปฐมนิเทศเจ้าหน้าท่ีที่เข้าปฏิบัติงานใหม่ทุกระดับ
ในหนว่ ยงาน

บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวิชาชีพ

75

6. จดั ระเบยี บการลาปว่ ย ลากจิ ลาพกั ผอ่ น ใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ระเบยี บการลา
ขององค์กร เพือ่ ใหเ้ กดิ ความคล่องตัวในการจดั อัตรากำ�ลงั ในหนว่ ยงาน

7. นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของบคุ ลากรทุกระดบั ในหน่วยงาน
8. ควบคมุ ก�ำ กบั ดแู ล จดั หาเสอ้ื ผา้ วสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื ทางการแพทยแ์ ละ
การพยาบาลใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะงานและเพยี งพอกบั การใชง้ านอยา่ งทวั่ ถงึ โดยมหี ลกั เกณฑ์ ดงั น้ี

■■ มีปริมาณเพยี งพอและอยูใ่ นสภาพพร้อมใชง้ านได้ทนั ที
■■ มีระบบการเก็บรกั ษา การทำ�บญั ชสี �ำ รวจและควบคมุ การใชจ้ ่ายอยา่ งประหยัด
■■ เม่ือมีการชำ�รุด เสียหายของเคร่ืองมือเครื่องใช้ จัดให้มีการซ่อมแซมแก้ไขให้พร้อม
ใช้งานหรือจ�ำ หน่ายเมอื่ ไม่สามารถนำ�มาใชไ้ ดแ้ ละท�ำ การเบิกทดแทน
9. ด�ำ เนนิ การเกยี่ วกบั การบรหิ ารบคุ คล สวสั ดกิ าร รวมทง้ั พจิ ารณาเสนอขอบ�ำ เหนจ็ ความดี
ความชอบ และการพจิ ารณาโทษทางวินยั ในหน่วยงานทีร่ บั ผดิ ชอบเสนอต่อผ้บู งั คับบญั ชาตามล�ำ ดบั
10. บรหิ ารจดั การสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ ออื้ ใหบ้ คุ ลากรในหนว่ ยงาน ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งปลอดภยั และ
มีประสทิ ธภิ าพ
11. ติดตามประเมนิ และปรบั ปรุงคุณภาพการพยาบาลในหนว่ ยงานอย่างต่อเนื่อง
■■ ทบทวนผลการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรในหนว่ ยงานอยา่ งสมา่ํ เสมอ และความจ�ำ เปน็
ทจ่ี ะต้องปรบั ปรงุ การดูแลผปู้ ว่ ยใหด้ ขี ้นึ อย่างต่อเน่ือง
■■ เฝ้าระวังและทบทวนข้อมูลร่วมกับผู้ปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลที่ช้ีวัดถึงคุณภาพการบริการ
ในหน่วยงาน เพอ่ื หาแนวทางพัฒนากระบวนการใหบ้ รกิ ารพยาบาล
■■ สมุ่ ทบทวนหรอื วเิ คราะหค์ ณุ ภาพการพยาบาลจากเวชระเบยี น หรอื เอกสารทเ่ี กยี่ วกบั
การให้บริการ
■■ ตรวจสอบการรกั ษาและการพยาบาลทผ่ี ปู้ ว่ ยพงึ ไดร้ บั พรอ้ มทงั้ วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ
ผลความถูกต้องเหมาะสมการดำ�เนินตามแผนการรักษาและแผนการพยาบาล และสิทธิท่ีพึงมีพึงได้
รวมทงั้ ความปลอดภยั และการชว่ ยเหลือตามควรแกผ่ ปู้ ่วยท่ีมปี ญั หา
12. ดำ�เนินการและส่งเสริมให้มีการจัดทำ�วิจัยทางการพยาบาล ทั้งในด้านการบริหาร
การบริการ การนิเทศในหน่วยงาน ตลอดจนส่งเสริมสนับสนุนให้มีการนำ�ผลการวิจัยมาใช้ในการ
พัฒนางาน
■■ ด้านการวางแผน
1. วางแผนปฏบิ ตั กิ ารด�ำ เนนิ การพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลในหนว่ ยงาน โดยบรู ณาการ
แผนงาน โครงการให้สอดรับกับเป้าหมายขององคก์ รพยาบาล
2. วางแผนจัดสรรอัตรากำ�ลังทางการพยาบาลให้เพียงพอและสอดคล้องกับการจัดบริการ
พยาบาลและวางแผนการพัฒนาบุคลากร โดยบูรณาการใหส้ อดรบั กบั เป้าหมายขององคก์ รพยาบาล
3. วางแผนการนิเทศการปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐานหรือแนวปฏิบัติการพยาบาล
ทกี่ �ำ หนด

บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวิชาชพี

76

4. วางแผนสนับสนุนสถาบันการศึกษา ในการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติของ
นกั ศกึ ษา กรณีมาฝึกภาคปฏบิ ัติในหน่วยงาน

■■ ด้านการประสานงาน
1. ประสานงานหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื แกป้ ญั หาและใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั ในการจดั บรกิ าร

พยาบาลท่ีมคี ณุ ภาพ
2. ประสานงานกับอาจารย์ประจำ�หอผู้ป่วย ในการจัดการฝึกภาคปฏิบัติให้สอดคล้องกับ

ทฤษฎี
3. ประสานการดแู ลรกั ษากบั ทมี สหสาขาเพ่ือใหเ้ กดิ ความต่อเนือ่ งของการดูแลผูป้ ว่ ย

■■ ดา้ นการบรกิ าร
1. จดั ระบบบรกิ ารพยาบาลในหนว่ ยงาน ใหม้ คี วามคลอ่ งตวั ตอ่ การใหบ้ รกิ ารพยาบาลทมี่ ี

คณุ ภาพ
■■ มอบหมายงานแก่บุคลากร ทีมให้การพยาบาลในหน่วยงานให้เหมาะสมกับความ

ต้องการการพยาบาลของผปู้ ่วย ตามความสามารถและอตั ราก�ำ ลังท่มี ใี หเ้ กดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ
■■ ติดตามและดำ�เนินการให้มีการใช้กระบวนการพยาบาลในการให้บริการพยาบาล

พร้อมกบั ส่งเสริมใหผ้ ู้ปว่ ยและญาตมิ สี ว่ นรว่ มในการวางแผน ประเมินผลและทบทวนแผนการรกั ษา
■■ ประสานแผนการดูแลผูป้ ว่ ยแก่ทมี สหสาขาวิชาชีพ

2. ให้คำ�ปรึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้ทางการพยาบาลและการพัฒนาคุณภาพการ
พยาบาลแกบ่ คุ ลากรใ​นหนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถด�ำ เนนิ
ไดต้ ามเป้าหมาย

3. นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ และประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลในหน่วยงานเพื่อให้
บรกิ ารพยาบาลไดต้ ามมาตรฐานทีก่ �ำ หนดและมคี ณุ ภาพ

4. จัดท�ำ ค่มู ือ แนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลส�ำ หรับเจ้าหนา้ ท่ีในหนว่ ยงาน

บทบาทหนา้ ที่ของพยาบาลวชิ าชีพ

77

ผปู้ ฏิบตั ิการพยาบาลข้นั สูง

■■ หนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบหลัก

ปฏิบัติงานในฐานะผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลหรือผู้ที่มีประสบการณ์ที่เช่ียวชาญข้ันสูง โดย
ประยุกต์หลักการและแนวคิดใหม่ วิธีการท่ียุ่งยากซับซ้อนให้บริการพยาบาลโดยตรงแก่ผู้ใช้บริการ
กลุ่มเป้าหมายเฉพาะโรค ท้ังในโรงพยาบาลและในชุมชน ท่ีมีปัญหาซับซ้อน ซึ่งต้องอาศัยความ
ชำ�นาญและทักษะการพยาบาลที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะทางในสาขาต่างๆ และเป็นผู้ดำ�เนินการจัด
ระบบการดูแลผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มโรคท่ีมีความซับซ้อน โดยบูรณาการหลักฐานเชิงประจักษ์ การวิจัย
ทางการพยาบาล ความรู้ทฤษฎีการพยาบาล และทฤษฎีอื่นๆ รวมถึงพัฒนางานวิชาการสาขาท่ี
เชี่ยวชาญและนวัตกรรมในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะโรคอย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นผลลัพธ์ท้ังระยะสั้น และ
ระยะยาว นอกจากนี้ยังต้องติดตามสถานการณ์ทางการพยาบาลในสาขาท่ีเชี่ยวชาญเพ่ือใช้ประกอบ
ในการวางแผนงาน ตดิ ตาม ควบคมุ ก�ำ กบั ประเมนิ ผลการใหบ้ รกิ ารพยาบาลในสาขานนั้ ๆ และเปน็
ทป่ี รกึ ษา แนะน�ำ ก�ำ กบั ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของผรู้ ว่ มงานในทมี กลมุ่ เฉพาะโรค ในการพฒั นา
ความรู้ และทักษะเชิงวิชาชีพ ตลอดจนติดตามประเมินคุณภาพ และจัดการผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย
และเปน็ ผนู้ �ำ ในการท�ำ วจิ ยั บรหิ ารจดั การทางการพยาบาลรวมทงั้ การควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐาน
ในสาขาทีเ่ ช่ียวชาญ

■■ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติ

■■ ด้านการปฏบิ ตั กิ าร
1. บูรณาการความรู้ขั้นสูง ทฤษฎีทางการพยาบาลและทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง ผลงานวิจัย

ความรู้เร่ืองโรคที่มีความยุ่งยากซับซ้อน หรือที่เป็นปัญหาตลอดจนถึงหลักฐานเชิงประจักษ์ ในการ
ดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยกลมุ่ โรคเฉพาะแตล่ ะสาขา เพอ่ื ใหก้ ารพยาบาลทเ่ี หมาะสมกบั ผปู้ ว่ ยและครอบครวั ได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ครอบคลุมปัญหาและความต้องการท้งั ดา้ นร่างกายและจติ ใจ

2. จดั การกบั การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ของผปู้ ว่ ยและสถานการณไ์ มค่ าดคดิ วา่ จะเกดิ ขน้ึ
หรอื ภาวะวิกฤต

3. ก�ำ หนดมาตรฐานบรกิ ารหรอื แนวทางปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลสาขาทรี่ บั ผดิ ชอบ และเกณฑ์
การจ�ำ แนกผู้ป่วยรวมท้ังการน�ำ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ

บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวิชาชีพ

78

4. ศกึ ษา วเิ คราะหส์ ถานการณท์ างการพยาบาลในสาขาทเ่ี ชย่ี วชาญ เพอ่ื ใชป้ ระกอบในการ
วางแผนงาน ตดิ ตาม ควบคมุ ก�ำ กบั ประเมนิ ผลการใหบ้ รกิ ารพยาบาลเปน็ ไปตามผลลพั ธท์ ต่ี อ้ งการ

5. ดำ�เนินการวิจัย พัฒนากระบวนการบริการพยาบาลใหม่ๆ ในสาขาท่ีเชี่ยวชาญเพื่อ
ให้บริการพยาบาลท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ

6. วางระบบการพฒั นาศกั ยภาพในการดแู ลตนเองของกลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะโรค ครอบคลมุ
องคร์ วม โดยใชค้ วามรู้ ทฤษฏแี ละหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษเ์ ปน็ หลกั ในการพฒั นาความสามารถของกลมุ่
เปา้ หมายและครอบครัว รวมทัง้ ใหค้ �ำ ปรึกษาแก่กลุ่มเป้าหมายท่มี ปี ญั หาสขุ ภาพ

7. ก�ำ หนดฐานขอ้ มลู และจดั ระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกบั การพยาบาลผ้ปู ่วยสาขาตา่ งๆ
เฉพาะกลุม่ โรค

8. กำ�หนดแนวทางการควบคุมคุณภาพบริการพยาบาลในสาขาท่ีเชี่ยวชาญ พร้อมทั้ง
ติดตามก�ำ กบั ประเมินผลและปรับปรุงการพัฒนาคณุ ภาพอยา่ งต่อเนือ่ ง

9. นิเทศ ติดตามกำ�กับการปฏิบัติการพยาบาลของทีมบุคลากรพยาบาลที่ดูแลให้ปฏิบัติ
การพยาบาลได้ตามมาตรฐานวชิ าชพี

■■ ด้านการวางแผน
1. วางแผนงาน โครงการการบรกิ ารพยาบาลขน้ั สงู ใหส้ อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ วสิ ยั ทศั น์

และพันธกจิ ของกลุ่มภารกิจดา้ นการพยาบาล
2. วางแผนจัดระบบและติดตามกำ�กับการดูแลผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มโรคที่มีปัญหาซับซ้อน

รวมถึงต้องมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง
3. วางแผนบริหารจัดการวัสดุ ครภุ ณั ฑ์ และเวชภณั ฑใ์ นหน่วยงาน

■■ ดา้ นการประสานงาน
1. ประสานความร่วมมือกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการจัดระบบดูแลผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย

สาขาต่างๆ ในโรงพยาบาลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหน่วยงานและนโยบายของกลุ่มภารกิจ
ดา้ นการพยาบาล

2. ประสานงานกับทีมสุขภาพในการติดตาม และประเมนิ ระบบการดแู ลผู้ปว่ ยสาขาตา่ งๆ 
อยา่ งตอ่ เน่ือง

บทบาทหน้าท่ขี องพยาบาลวชิ าชีพ

79

■■ ด้านการบรกิ าร
1. เสริมสร้างพลังอำ�นาจ (empowering) ให้กับผู้ป่วยในการดูแลและปฏิบัติตัวท่ีถูกต้อง

กับโรค
2. เป็นพ่ีเล้ียง (mentor) ผู้ฝึกสอน (coach) ให้กับบุคลากรทางการพยาบาลและทีม

สหสาขาวิชาชพี ในการดูแลผูป้ ่วยสาขาต่างๆ ได้ตามมาตรฐาน
3. สอนและเปน็ พี่เล้ยี งใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาทกุ ระดบั
4. ใหค้ �ำ ปรกึ ษา แนะน�ำ ความรเู้ รอื่ งการดแู ลผปู้ ว่ ยสาขาตา่ งๆ แกบ่ คุ ลากรทางการพยาบาล

และทีมสหสาขาวชิ าชพี
5. พัฒนาผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ (best practice) และนวัตกรรม (innovation) ใน

งานท่ีปฏิบัติ

บทบาทหน้าท่ขี องพยาบาลวิชาชพี

80

พยาบาลผ้จู ัดการรายกรณี

■■ หน้าท่ีความรับผดิ ชอบหลกั

ปฏบิ ตั งิ านในฐานะผชู้ �ำ นาญงานพยาบาลเฉพาะกลมุ่ ผปู้ ว่ ยหรอื เฉพาะโรค ใชศ้ าสตรแ์ ละศลิ ปะ
การพยาบาล หลกั วทิ ยาศาสตร์ ความรคู้ วามเขา้ ใจ พยาธสิ รรี วทิ ยา ประสบการณแ์ ละความช�ำ นาญ
งานขนั้ สงู มาก ในการดแู ลเฉพาะกลมุ่ ผปู้ ว่ ยหรอื เฉพาะโรค (care management) ทม่ี ปี ญั หายงุ่ ยาก
ซับซ้อน และทำ�หน้าที่เสมือนผู้จัดการดูแลสุขภาพผู้ป่วยอย่างต่อเน่ืองทั้งในโรงพยาบาลและชุมชน
ภายใตม้ าตรฐานวชิ าชพี และใชค้ วามรคู้ วามสามารถในการวเิ คราะหส์ ถานการณป์ ญั หา และอบุ ตั กิ ารณ์
จากการศึกษาวิจัย และข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ มาใช้บริหารจัดการการปฏิบัติการพยาบาลและ
บรหิ ารคณุ ภาพการพยาบาล ทมี่ ผี ลกระทบในขอบเขตความรบั ผดิ ชอบ ประสานงาน ควบคมุ ก�ำ กบั
แนะน�ำ ผูป้ ฏบิ ัติ ผู้ร่วมทมี เพอื่ ให้เกดิ การบริการพยาบาลทม่ี ีคุณภาพ

■■ลักษณะงานทีป่ ฏบิ ัติ

■■ ด้านการปฏบิ ัติการ
1. บูรณาการความรู้ความชำ�นาญทางคลินิก ผลงานวิจัย ความรู้เร่ืองโรคและหลักฐาน

เชงิ ประจกั ษ์ ในการดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยกลมุ่ โรค เพอื่ ใหก้ ารพยาบาลทเี่ หมาะสมกบั ผปู้ ว่ ยและครอบครวั
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ครอบคลมุ ปญั หาและความต้องการท้ังด้านรา่ งกายและจติ ใจ

2. กำ�หนดระบบและแนวทางปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยหรือ
เฉพาะโรคตงั้ แตโ่ รงพยาบาลจนถงึ ชมุ ชน

3. ศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์ทางการพยาบาลเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยหรือเฉพาะโรคเพื่อใช้
ประกอบในการวางแผนงาน ติดตาม ควบคุมกำ�กับ ประเมินผลการให้บริการพยาบาลเป็นไปตาม
ผลลัพธท์ ี่ตอ้ งการ

4. วางระบบการพัฒนาความสามารถของกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว โดยใช้ความรู้
ทฤษฏีและหลักฐานเชงิ ประจักษ์ รวมท้ังให้คำ�ปรึกษาแก่กลุ่มเปา้ หมายทีม่ ปี ญั หาสขุ ภาพ

5. กำ�หนดฐานข้อมูลและจัดระบบข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับการพยาบาลผู้ป่วยเฉพาะ
กลุ่มโรค

6. นิเทศ ติดตาม กำ�กับการปฏิบัติการพยาบาลของทีมบุคลากรพยาบาลท่ีดูแลให้ปฏิบัติ
การพยาบาลไดต้ ามมาตรฐานวิชาชพี

บทบาทหน้าทีข่ องพยาบาลวิชาชพี

81

■■ ด้านการวางแผน
1. วางแผนงาน โครงการการพัฒนาบริการพยาบาลในกลุ่มผู้ป่วยเฉพาะ และกลุ่มผู้ป่วย

ทมี่ ีปญั หาซบั ซอ้ นใหม้ ีการดูแลต่อเน่ืองจากโรงพยาบาลถงึ ชุมชน
2. วางแผน จัดระบบ และติดตามกำ�กับการดูแลการให้พยาบาลในกลุ่มผู้ป่วยเฉพาะ

กล่มุ โรคทีม่ ีปญั หาซบั ซอ้ น
3. วางแผนจดั บคุ ลากรใหพ้ รอ้ มในการดแู ลตอ่ เนอ่ื ง และบรหิ ารจดั การวสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ และ

เวชภณั ฑใ์ นหนว่ ยงาน
■■ ด้านการประสานงาน
1. ประสานงานและความร่วมมือกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการจัดระบบดูแลผู้ป่วยเฉพาะ

และผปู้ ว่ ยทม่ี ีปัญหาซับซ้อนเพือ่ ให้เกิดการดแู ลตอ่ เนือ่ ง
2. ประสานงานกับทีมสุขภาพในการติดตามและประเมินผลระบบการดูแลผู้ป่วยอย่าง

ตอ่ เนือ่ ง
3. ประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรเครือข่ายในชุมชน เพ่ือสนับสนุนและส่งเสริม

ให้การดูแลในชุมชน
■■ ดา้ นการบรกิ าร
1. เสริมสร้างพลังอำ�นาจ (empowering) ให้กับผู้ป่วยในการดูแลและปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง

กบั โรค
2. เป็นพ่ีเลี้ยง (mentor) ผู้ฝึกสอน (coach) ให้กับบุคลากรทางการพยาบาลและทีม

สหสาขาวิชาชีพในการดแู ลผปู้ ว่ ยสาขาตา่ งๆ ได้ตามมาตรฐาน
3. สอนและเปน็ พ่ีเลี้ยงใหแ้ กน่ กั ศึกษาทกุ ระดับ
4. ใหค้ �ำ ปรกึ ษา แนะน�ำ ความรเู้ รอื่ งการดแู ลผปู้ ว่ ยสาขาตา่ งๆ แกบ่ คุ ลากรทางการพยาบาล

และทีมสหสาขาวิชาชีพ
5. พัฒนาผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ (best practice) และนวัตกรรม (innovation) ใน

งานทปี่ ฏบิ ัติ

บทบาทหนา้ ท่ีของพยาบาลวชิ าชีพ

82

บทที่ 5

การนำ�บทบาทหนา้ ที่ของ
พยาบาลวิชาชพี สู่การปฏบิ ัติ

บทบาทหน้าท่ีเป็นภาระทีต่ ้องรับผดิ ชอบตามสถานภาพของแตล่ ะบคุ คล บุคคลทีม่ ีสถานภาพ
หรือตำ�แหน่งใดย่อมต้องรับผิดชอบตามสถานภาพหรือตำ�แหน่งของตนให้เป็นไปตามที่องค์กรหรือ
สงั คมคาดหวงั ไมว่ า่ ต�ำ แหนง่ จะไดม้ าโดยการกระท�ำ หรอื โดยการแตง่ ตงั้ เอกสารวชิ าการนไี้ ดก้ �ำ หนด
บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชพี โดยอาศยั หลกั เกณฑ์ 2 ประเภทใหญ่ คอื 1) บทบาทหนา้ ทขี่ อง
พยาบาลวชิ าชพี ตามโครงสรา้ งหนว่ ยงานในราชการบรหิ ารสว่ นภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ส�ำ นกั งานสาธารณสขุ
จังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำ�บล ซง่ึ จ�ำ แนกเปน็ 5 ระดับ ตามระดบั ต�ำ แหน่งของพยาบาลวิชาชีพ คอื ระดบั ปฏิบัตกิ าร ระดับ
ช�ำ นาญการ ระดบั ช�ำ นาญการพเิ ศษ และระดบั เชยี่ วชาญ และ 2) บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี
ตามการปฏิบัติงานเป็นหน้าท่ีตามงานที่ได้รับมอบหมาย ได้แก่ บทบาทหน้าท่ีของหัวหน้าพยาบาล
ผู้ช่วยหัวหน้าพยาบาล หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้างาน หัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ปฏิบัติการพยาบาลข้ันสูง
พยาบาลผจู้ ัดการรายกรณี

ทงั้ นี้ กองการพยาบาลมงุ่ หวงั วา่ เอกสารบทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี นจ้ี ะสามารถน�ำ ไป
ใช้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริหารทางการพยาบาลและผู้ปฏิบัติการพยาบาลได้ จึงขอสรุปการนำ�บทบาท
หนา้ ทีข่ องพยาบาลวชิ าชีพไปใช้ในทางปฏบิ ัติ ดงั น้ี

บทบาทหนา้ ท่ีของพยาบาลวชิ าชีพ

84

ผู้บริหารการพยาบาล

ผู้บริหารทางการพยาบาลทุกระดับควรศึกษาและทำ�ความเข้าใจเอกสารนี้ เพื่อนำ�ไปประยุกต์
ใช้ในการจัดการองคก์ รพยาบาล ดังน้ี

1. ผู้บริหารทางการพยาบาล ในระดับหัวหน้าพยาบาลควรกำ�หนดบทบาทหน้าท่ีของ
พยาบาลวชิ าชพี ในแตล่ ะระดบั เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรโดยใชเ้ นอ้ื หาสาระจากเอกสารน้ี และประกาศเปน็
นโยบายโดยสอ่ื สารใหบ้ คุ ลากรพยาบาลทกุ ระดบั รบั ทราบโดยทว่ั กนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ การน�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ
เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั ทงั้ องค์กรพยาบาล

2. ผู้บริหารทางการพยาบาลทุกระดับสามารถใช้เป็นคำ�บรรยายลักษณะงาน (job
description) ในการมอบหมายงานใหส้ อดคล้องกับลกั ษณะงานและระดับตำ�แหนง่

3. ผู้บริหารทางการพยาบาลทุกระดับสามารถใช้เป็นแนวทางในการนิเทศ ติดตามกำ�กับ
ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรพยาบาล ใหเ้ ปน็ ไปตามลกั ษณะงานของแต่ละต�ำ แหน่ง

4. ผบู้ รหิ ารการพยาบาลในฐานะคณะกรรมการบรหิ ารของโรงพยาบาล หรอื คณะกรรมการ
บรหิ ารขององคก์ รพยาบาล สามารถใชเ้ ปน็ แนวทางในการสรรหา คดั เลอื ก และก�ำ หนดเสน้ ทางความ
ก้าวหน้าในวิชาชีพ (career path) เพ่ือให้บุคลากรพยาบาลใช้เป็นบันไดความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
(career ladder) ตัวอย่างเช่น หากพยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการจะก้าวขึ้นสู่ตำ�แหน่งพยาบาลวิชาชีพ
ช�ำ นาญการพิเศษจะต้องทราบบทบาทหน้าทแ่ี ละปฏิบัติงานในต�ำ แหน่งทส่ี งู ข้นึ

5. ผู้บริหารทางการพยาบาลทุกระดับสามารถใช้เป็นกรอบในการประเมินผลการปฏิบัติ
งานของบคุ ลากรพยาบาล เพอื่ ใหพ้ ยาบาลวชิ าชพี ไดแ้ สดงบทบาทหนา้ ทต่ี ามขอบเขตงานทรี่ บั ผดิ ชอบ
ตรงตามลกั ษณะงานของแตล่ ะต�ำ แหนง่ โดยสอดรบั กบั ระบบบรหิ ารผลการปฏบิ ตั งิ าน (performance
management) ขององค์กร เพ่ือการบริหารผลการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
เปน็ ไปตามเปา้ ประสงคข์ ององคก์ รพยาบาลและสถานบริการสาธารณสขุ

6. ผบู้ รหิ ารทางการพยาบาลทกุ ระดบั สามารถใชเ้ ปน็ แนวทางในการพฒั นาบคุ ลากรพยาบาล
ให้มีสมรรถนะตามที่องค์กรต้องการ โดยเฉพาะสมรรถนะตามหน้าที่ (functional competency)
ซ่งึ เนื้อหาสาระสว่ นใหญ่เปน็ ไปตามค�ำ บรรยายลกั ษณะงาน

บทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวชิ าชีพ

85

ผ้นู เิ ทศทางการพยาบาล

การนเิ ทศทางการพยาบาล เปน็ กลไกส�ำ คญั ในการสนบั สนนุ การปฏบิ ตั เิ ชงิ วชิ าชพี ผนู้ เิ ทศทาง​
การพยาบาลสามารถใช้เอกสารนี้เป็นแนวทางในการนิเทศทางการพยาบาล โดยใช้การนิเทศแบบ
มีส่วนร่วม เพื่อให้ผู้รับการนิเทศสามารถแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ทำ�งาน ท้ังด้าน
การบรหิ ารจดั การ และการปฏิบตั ิทางคลนิ กิ ดังน้ี

1. ผู้นิเทศทางการพยาบาลในระดับห้วหน้ากลุ่มงานและหัวหน้างาน ใช้เป็นแนวทาง
ในการติดตามกำ�กับการทำ�งานของผู้รับการนิเทศ ด้านการบริหารจัดการต่างๆ อาทิ การจัดเวร
ควรจัดให้แต่ละเวรมีบุคลากรทุกระดับหรือระดับเดียวกันแต่มีประสบการณ์การทำ�งานที่แตกต่าง
ผสมผสานกนั โดยการนเิ ทศใหพ้ จิ ารณาถงึ ความเหมาะสมในการแลกเวรระหวา่ งพยาบาลจบใหมก่ บั
พยาบาลอาวโุ ส

2. ผู้นิเทศทางการพยาบาลทุกระดับใช้เป็นแนวทางในการติดตาม กำ�กับการทำ�งานของ
ผู้รับการนิเทศด้านการปฏิบัติทางคลินิก โดยเน้นที่การกระทำ�บทบาทหน้าท่ีให้ตรงลักษณะงานและ
ตามระดบั ต�ำ แหนง่ หรอื ปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ตม็ ขดี ความสามารถในระดบั ต�ำ แหนง่ นน้ั ๆ เพอ่ื เปน็ การเตรยี ม
การรองรับต�ำ แหน่งทีส่ งู ข้ึน

บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชีพ

86

ผปู้ ฏิบัตกิ ารพยาบาล

พยาบาลวชิ าชพี ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลควรศกึ ษาและท�ำ ความเขา้ ใจเอกสารน้ี เพอ่ื เปน็ แนวทาง
ในการปฏบิ ตั งิ าน โดยพจิ ารณาจากขอบเขตหนา้ ทขี่ องงานทป่ี ฏบิ ตั แิ ละองคก์ รหรอื สถานทต่ี นเองสงั กดั
ดงั น้ี

1. ผู้ปฏิบัติการพยาบาลใช้เป็นแนวทางในการประเมินตนเอง โดยใช้เป็นกรอบในการ
ทบทวนการปฏบิ ตั งิ านและบทบาทหนา้ ทข่ี องตนเอง โดยเปรยี บเทยี บกบั บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาล
วิชาชีพในเอกสารน้ี ซ่ึงการประเมินตนเองนี้จะทำ�ให้ทราบถึงประสิทธิภาพการทำ�งานและคุณภาพ
งานของพยาบาลวิชาชีพในระดบั ปัจเจกบุคคล

2. ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาล ใชเ้ ปน็ แนวทางในการท�ำ งานใหเ้ ปน็ ไปตามบทบาททต่ี นเองด�ำ รงอยู่
โดยผสมผสานบทบาทหนา้ ทที่ งั้ 2 ประเภทเขา้ ดว้ ยกนั อนั ไดแ้ ก่ บทบาทหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของ
พยาบาลวชิ าชพี ตามขอบเขตการปฏบิ ตั งิ านในหนว่ ยงานฯ และบทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชพี ตาม
บทบาทหนา้ ทตี่ ามงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ทงั้ น้ี ในการน�ำ บทบาทของพยาบาลวชิ าชพี ไปใช้ ในระดบั
ปัจเจกบุคคลจำ�เป็นต้องวิเคราะห์สถานภาพของตนเอง ทั้งด้านขอบเขตการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
ซ่ึงจำ�แนกตามระดับตำ�แหน่ง และการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ตามงานท่ีได้รับมอบหมาย
ตวั อยา่ ง เชน่ พยาบาลวชิ าชพี ระดบั ช�ำ นาญการคนหนง่ึ อาจตอ้ งท�ำ หนา้ ทเี่ ปน็ ทงั้ หวั หนา้ หอผปู้ ว่ ยและ
เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลขน้ั สงู พยาบาลวชิ าชพี ผนู้ จ้ี �ำ เปน็ ตอ้ งเขา้ ใจบทบาทของพยาบาลวชิ าชพี ระดบั
ช�ำ นาญการซง่ึ เปน็ บทบาทตามระดบั ต�ำ แหนง่ ในขณะเดยี วกนั จะตอ้ งเรยี นรบู้ ทบาทของหวั หนา้ หอผปู้ ว่ ย
ซง่ึ เปน็ บทบาทของการปฏบิ ตั งิ านตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย และบทบาทของผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลขนั้ สงู
ซงึ่ เป็นบทบาทการปฏิบตั ิงานตามความเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น เพอื่ การปฏิบัตกิ ารพยาบาลตอบสนอง
ต่อปญั หาของผปู้ ่วย ผใู้ ช้บริการและสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ปัญหาดา้ นสุขภาพในพืน้ ท่ี

อยา่ งไรกต็ าม บคุ ลากรพยาบาลจ�ำ เปน็ ตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ามบทบาททค่ี าดหวงั (expected
role) ซง่ึ เปน็ บทบาทอนั พงึ กระท�ำ เนอ่ื งจากองคก์ รหรอื สงั คมมงุ่ หวงั ใหผ้ ดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ นน้ั ๆ ประพฤติ
ปฏบิ ตั ิ แมว้ า่ บทบาทดงั กลา่ วจะมไิ ดก้ �ำ หนดไวเ้ ปน็ กฎหมายกต็ าม เอกสารบทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาล
วิชาชีพ จึงเปน็ เสมอื นคัมภีรใ์ หบ้ คุ ลากรผู้ปฏบิ ตั ิการพยาบาลในหน้าท่ีตา่ งๆ อาทิ พยาบาลผูจ้ ดั การ
รายกรณี ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลขนั้ สงู ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในโรงพยาบาลและในชมุ ชนใชเ้ ปน็ แนวทาง
ในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามบทบาทท่ีคาดหวังซึ่งตรงกับขอบเขตของงานในแต่ละระดับตำ�แหน่ง
และสอดคล้องกบั โครงสรา้ งการทำ�งานของแตล่ ะองคก์ รหรือสถานบริการสาธารณสุข

3. ผู้ปฏิบัติการพยาบาลใช้ผลการประเมินตนเองตามเอกสารน้ี ในการพัฒนาสมรรถนะ
ตนเองให้สอดคล้องกับสมรรถนะตามลักษณะงาน และสมรรถนะตามระดับตำ�แหน่ง ซึ่งการพัฒนา
สมรรถนะดงั กลา่ วเปน็ การเตรียมความพรอ้ มกา้ วส่รู ะดบั ตำ�แหนง่ ทีส่ ูงข้นึ ตามบันไดวิชาชีพ

บทบาทหนา้ ท่ีของพยาบาลวิชาชีพ

87

สรุป

พยาบาลวิชาชีพทั้งผู้บริหารการพยาบาล และผู้ปฎิบัติการพยาบาล เป็นผู้ท่ีมีบทบาทสำ�คัญ
ในการให้บริการสาธารณสุข เป็นกำ�ลังคนหลักในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพให้บรรลุเป้าหมาย​
ตามนโยบายดา้ นสขุ ภาพของประเทศ เพราะพยาบาลวชิ าชพี มหี นา้ ทใี่ หก้ ารบรกิ ารพยาบาลแกผ่ ปู้ ว่ ย
ผู้รับบริการ โดยการแก้ปัญหาสุขภาพข้ันพื้นฐานและ หรือปัญหาการพยาบาลท่ีซับซ้อน รวมถึง
ให้ความรู้แก่ผู้ใช้บริการ ผู้ป่วยและญาติ นอกจากนี้ ยังต้องให้ความรู้แก่บุคลากรทางการพยาบาล
รวมถงึ นเิ ทศ ตดิ ตาม ก�ำ กบั การปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรทางการพยาบาลทอ่ี ยภู่ ายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบ
การปฏิบัติหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพในปัจจุบันเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตการปฏิบัติงาน
ในหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ซึ่งกำ�หนดตามระดับตำ�แหน่ง ของพยาบาลวิชาชีพ
และปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งเป็นบทบาทอันพึงกระทำ�
เนอ่ื งจากองคก์ รหรอื สงั คมมงุ่ หวงั ใหผ้ ดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ นนั้ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ แมว้ า่ บทบาทดงั กลา่ วจะมไิ ด้
กำ�หนดไว้เป็นกฎหมายก็ตาม

เอกสารบทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชีพนี้ จึงเป็นเสมือนคัมภีร์ให้บุคลากรผู้ปฏิบัติการ
พยาบาลในหน้าที่ต่างๆ อาทิ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี ผู้ปฏิบัติการพยาบาลข้ันสูง ผู้ปฏิบัติการ
พยาบาลในโรงพยาบาลและในชมุ ชน หวั หนา้ หอผปู้ ว่ ย หวั หนา้ กลมุ่ งาน หวั หนา้ งาน ผชู้ ว่ ยหวั หนา้
พยาบาล รวมทงั้ หวั หนา้ พยาบาล ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ปน็ ไปตามบทบาททคี่ าดหวงั
ซง่ึ ตรงกับขอบเขตของงานในแตล่ ะระดบั ตำ�แหนง่ และสอดคลอ้ งกบั โครงสรา้ งการทำ�งานขององคก์ ร
หรือสถานบรกิ ารสาธารณสุข

ท้ังนี้พยาบาลวิชาชีพไม่ว่าจะอยู่ในระดับตำ�แหน่งหรือปฏิบัติงานในสายงานประเภทใดจะ
ต้องพัฒนาตนเองอยู่เสมอเพ่ือให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถท้ังด้านการบริหารการพยาบาล
วชิ าการพยาบาล และการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล รวมถงึ พยาบาลวชิ าชพี จะตอ้ งด�ำ รงตนเปน็ ผมู้ คี ณุ ธรรม
จรยิ ธรรม ประพฤตติ นปฏบิ ตั ติ นดว้ ยจติ สาธารณะ จงึ จะไดช้ อ่ื วา่ เปน็ ผทู้ ม่ี บี ทบาทหนา้ ทเ่ี หมาะสมกบั
ตำ�แหนง่ “พยาบาลวชิ าชีพ”

บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวิชาชพี

88



บรรณานกุ รม

กระทรวงสาธารณสุข สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2559). โครงสร้างหน่วยงานใน
ราชการบริหารส่วนภูมิภาค สังกัดส�ำ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. [เว็บบล็อก].
สืบค้นจาก https: www.bmnhos.com images article pdf structure%20moph%20
W_2532_2559.pdf

กระทรวงสาธารณสุข สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2558). หลักเกณฑ์และเง่ือนไขการ
กำ�หนดตำ�แหน่งพยาบาลวิชาชีพใหม่ มาใช้หลักเกณฑ์และเง่ือนไขการกำ�หนด
ตำ�แหน่งพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. [เว็บบล็อก].
สืบค้นจาก https: www.bmnhos.com images article pdf structure%20moph%20
W_2532_2559.pdf

กระทรวงสาธารณสขุ . ค�ำ อธบิ ายเพมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั พยาบาลวชิ าชพี ทม่ี สี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ ตอบแทน
ดว้ ยเหตลุ กั ษณะงานพเิ ศษดา้ นการพยาบาล. [เวบ็ บลอ็ ก]. สบื คน้ จาก http: neo.moph.
go.th pay nurse.php.

กองการพยาบาล ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ . (2539). บทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของ
เจ้าหน้าที่ทางการพยาบาล: ที่ปฏิบัติการพยาบาลในโรงพยาบาล. กรุงเทพมหานคร:
โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์

กองการพยาบาล สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2539). บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
ของเจ้าหน้าท่ีทางการพยาบาล: ท่ีปฏิบัติการพยาบาลในชุมชน. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.

สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2555). มาตรฐานกำ�หนดตำ�แหน่ง. [เว็บบล็อก].
สืบค้นจาก https: www.ocsc.go.th sites default files attachment job_specification ​
3-6-008-1.pdf

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวชิ าชพี

90

ภาคผนวก



ภาคผนวก ก.

รายช่ือคณะกรรมการวิชาการของ
กองการพยาบาล พิจารณาหนงั สือ
บทบาทหนา้ ทขี่ องพยาบาลวชิ าชีพ

รายนามคณะกรรมการวิชาการของกองการพยาบาล
พจิ ารณาเนอื้ หาหนงั สอื บทบาทหน้าท่ขี องพยาบาลวชิ าชีพ

1. นางสาวชตุ ิกาญจน ์ หฤทัย
2. นางศริ มิ า ลลี ะวงศ์
3. นางสาวสมจติ ต ์ วงศ์สวุ รรณสิริ

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวชิ าชพี

94

ภาคผนวก ข.

รายชอ่ื คณะท�ำ งานพัฒนา
บทบาทหนา้ ท่ีของพยาบาลวชิ าชีพ

รายชอื่ คณะทำ�งานพัฒนาบทบาทหน้าท่ีของพยาบาลวชิ าชพี

1. ดร. ธีรพร สถติ อังกรู ผู้อ�ำ นวยการกองการพยาบาล
2. นางนวลขนษิ ฐ์ ลิขติ ลือชา กองการพยาบาล
3. นางอัมราภสั ร ์ อรรถชัยวจั น์ กองการพยาบาล
4. นางอรณุ ี ไพศาลพาณชิ ย์กุล กองการพยาบาล
5. นางทิพย์สุดา ลาภภกั ดี กองการพยาบาล
6. นางละมลู บรุ ณศิริ โรงพยาบาลหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา
7. นางสาวศนิชา เศรษฐ์ชัยยันต์ โรงพยาบาลล�ำ ปาง จังหวัดลำ�ปาง
8. นางสชุ าดา เสตพันธ์ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์

จังหวดั อุบลราชธานี
9. นางสาวเอื้อมพร กาญจนรงั สชิ ัย โรงพยาบาลมหาราชนครราชสมี า

จงั หวดั นครรราชสมี า
10. นางสาวสมจติ ร กาหาวงศ ์ โรงพยาบาลมุกดาหาร จังหวดั มุกดาหาร
11. นางสาวจารุพักตร ์ กัญจนติ านนท ์ โรงพยาบาลกระบี่ จังหวดั กระบ ่ี
12. นางสาวสุวด ี ชูสุวรรณ โรงพยาบาลตรัง จงั หวดั ตรงั
13. นางจงกลณ ี จันทศริ ิ โรงพยาบาลขอนแก่น
14. นางรุ่งอรุณ เกศวหงส์ โรงพยาบาลสมิตเิ วช สุขุมวิท กรุงเทพมหานคร
15. นางกรรณิกา อำ�พนธ์ โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบรุ ี
16. น.ส.อารยี ์ วงษป์ ระเสรฐิ โรงพยาบาลทุ่งสง จังหวัดสุราษฎ์ธานี
17. นางวริ าภรณ ์ วราอัศวปต ิ โรงพยาบาลสกลนคร จังหวดั สกลนคร
18. นางสาวศิรลิ ักษณ์ อปุ วาณิช โรงพยาบาลสโุ ขทยั จังหวัดสุโขทัย
19. นางวชริ า ลมิ้ เจริญชยั โรงพยาบาลบา้ นบึง จงั หวดั ชลบุรี
20. นางสาวสุดาวดี แก้วพบิ ูลย ์ โรงพยาบาลนาหม่อม จังหวดั สงขลา
21. นางมธรุ ส จันทร์แสงศรี โรงพยาบาลดา่ นช้าง จังหวัดสพุ รรณบุรี
22. นายสมชาย ชื่นสุขอุรา โรงพยาบาลนครพงิ ค์ จังหวัดเชยี งใหม ่
23. นางเพญ็ พศิ นุกลู สวสั ดิ์ โรงพยาบาลบุรรี ัมย์ จังหวดั บุรีรมั ย์
24. นางกัลยา เพยี รแกว้ โรงพยาบาลพทุ ธโสธร จังหวัดฉะเชงิ เทรา
25. นางสาวจิราพร อภิวงศโ์ สภณ โรงพยาบาลพทุ ธโสธร จังหวัดฉะเชิงเทรา

(ศนู ยส์ ุขภาพชุมชนวัดโสธรวราราม)
26. นางจันทร์เพญ็ นาคแกว้ โรงพยาบาลสงขลา จงั หวัดสงขลา
27. นางประภาพรรณ สมพีรว์ งศ ์ โรงพยาบาลพระปกเกลา้ จงั หวดั จันทบุรี

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชพี

96

28. นางถมยา วงคบ์ ุญย่ิง โรงพยาบาลแพร่ จังหวดั แพร ่
29. นางสาวสุภาวดี อศิ รกลุ โรงพยาบาลพบพระ จังหวัดตาก
30. นางองั ศมุ าลนิ มงั่ ค่งั โรงพยาบาลปากพลี จังหวัดนครนายก
31. นายครรชติ หนากลาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำ บลหนองหว้า
32. นางโสพิศ
33. นางองั คนี จงั หวดั นครราชสีมา
34. นางมลิจนั ทร ์ ปจุ ้อย โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำ�บลบ้านถ่นิ
35. นางสทุ ศั นา
36. นางแคทลียา จงั หวดั แพร่
จ.ผลติ ส�ำ นักงานสาธารณสุขจงั หวดั เชยี งราย
เกยี รตสิ งั วร โรงพยาบาลเสนา จงั หวัดอยธุ ยา
ลิขติ กลุ ธนพร โรงพยาบาลชลบรุ ี จงั หวัดชลบรุ ี
แก้วเสถียร โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร

จงั หวดั ปราจนี บุรี

บทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี

97



ภาคผนวก ค.

มาตรฐานการก�ำ หนดตำ�แหน่ง
พยาบาลวชิ าชีพของส�ำ นกั งาน ก.พ.


Click to View FlipBook Version