The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-11-24 23:04:34

ภาษาไทย ประถม

ภาษาไทย ประถม

1

หนงั สอื เรียนสาระความรพู ืน้ ฐาน
รายวิชาภาษาไทย
พท11001
ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551

(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

สานักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ

2

หนงั สอื เรียนสาระความรู้พน้ื ฐาน
รายวิชาภาษาไทย พท11001
ระดบั ประถมศึกษา

ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560
ลขิ สิทธ์เิ ป็นของ สานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 1/2555

3

คานา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เม่ือวันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอก
โรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเป็นหลักสูตรที่พัฒนาข้ึน
ตามหลักปรัชญาและความเช่ือพ้ืนฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใหญ่
มีการเรยี นรู้และส่ังสมความรู้ และประสบการณอ์ ย่างต่อเนอื่ ง

ในปีงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดแผนยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน
นโยบายทางการศึกษาเพ่ือเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันให้ประชาชนได้มีอาชีพ
ทส่ี ามารถสร้างรายได้ท่มี ั่งค่งั และม่ันคง เปน็ บุคลากรทีม่ วี ินัย เปี่ยมไปด้วยคุณธรรมและจริยธรรม และมี
จิตสํานึกรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น สํานักงาน กศน. จึงได้พิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย
มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง และเนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ของหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ให้มีความสอดคล้องตอบสนองนโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงส่งผลให้ต้องปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเน้ือหาสาระ
เกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพร้อม เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มี
ความเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธก์ ัน แตย่ ังคงหลกั การและวธิ กี ารเดมิ ในการพัฒนาหนังสือท่ีให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า
ความรู้ด้วยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝึกหัด เพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจ มีการอภิปราย
แลกเปล่ียนเรยี นรู้กับกลมุ่ หรือศกึ ษาเพิ่มเตมิ จากภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ แหล่งการเรียนร้แู ละสือ่ อื่น

การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังนี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละ
สาขาวิชา และผู้เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลองค์ความรู้
จากสื่อต่าง ๆ มาเรียบเรียงเน้ือหาให้ครบถ้วนสอดคล้องกับมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ตัวชี้วัด
และกรอบเนอ้ื หาสาระของรายวิชา สํานักงาน กศน. ขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้
และหวังว่าหนังสือเรียนชุดน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน ครู ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องในทุกระดับ หากมี
ข้อเสนอแนะประการใด สาํ นกั งาน กศน. ขอนอ้ มรบั ดว้ ยความขอบคุณย่ิง

4

สารบัญ

หนา
คาํ นํา
คาํ แนะนาํ การใชหนังสอื เรียน
โครงสรางรายวิชา
คาํ แนะนาํ การใชแบบเรยี น
โครงสรางรายวชิ าภาษาไทย
บทท่ี 1 การฟงและการดู ............................................................................................................. 1

เรอ่ื งท่ี 1 หลักการ ความสําคญั จุดมงุ หมายของการฟงและการดู .......................................2
เรอ่ื งที่ 2 การฟงและการดูเพ่อื จับใจความสําคัญ.................................................................4
เรื่องที่ 3 การฟงและการดูเพ่อื สรปุ ความ ............................................................................5
เร่อื งที่ 4 มารยาทในการฟง และการดู................................................................................6
บทที่ 2 การพดู ...................................................................................................................... 7
เรื่องท่ี 1 การพดู ความสาํ คญั ของการพูด ...........................................................................8
เรอ่ื งที่ 2 การเตรียมการพดู และลกั ษณะการพดู ทด่ี ี ...........................................................8
เรื่องท่ี 3 การพดู ในโอกาสตาง ๆ.........................................................................................9
เรอ่ื งที่ 4 มารยาทในการพูด............................................................................................. 11
บทที่ 3 การอาน ....................................................................................................................12
เรื่องที่ 1 หลกั การความสาํ คญั และจุดมุงหมายของการอาน............................................. 13
เรอ่ื งที่ 2 การอานรอยแกว............................................................................................... 14
เรอ่ื งท่ี 3 การอานรอยกรอง ............................................................................................. 17
เรอ่ื งที่ 4 การเลือกอานหนังสือและประโยชนของการอาน............................................... 19
เร่อื งที่ 5 มารยาทในการอานและสรางนิสัยรกั การอาน.................................................... 20
บทท่ี 4 การเขียน ....................................................................................................................21
เรอ่ื งท่ี 1 หลักการเขียนและความสาํ คัญของการเขียน ..................................................... 22
เรอ่ื งที่ 2 การเขยี นภาษาไทย ........................................................................................... 23
เรือ่ งท่ี 3 การเขียนสะกดคําและประสมคํา....................................................................... 24
เรอ่ื งที่ 4 การเขียนสื่อสาร................................................................................................ 26
เรอ่ื งท่ี 5 การเขียนตามรูปแบบ........................................................................................ 29
เรอ่ื งที่ 6 การเขียนรายงานการคนควาและอางองิ ความรู ................................................. 32
เรอ่ื งท่ี 7 การเขียนกรอกรายการ ..................................................................................... 33
เรอ่ื งท่ี 8 มารยาทในการเขียนและนิสัยรกั การเขยี น......................................................... 34
บทที่ 5 หลกั การใชภาษา...........................................................................................................36
เร่อื งที่ 1 เสยี ง รูปอักษรไทย และไตรยางค...................................................................... 37
เรอ่ื งที่ 2 ความหมายและหนาทข่ี องคาํ กลมุ คาํ และประโยค........................................... 41
เร่อื งที่ 3 เครื่องหมายวรรคตอนและอักษรยอ.................................................................. 46
เรื่องท่ี 4 หลกั การใชพจนานุกรม คําราชาศัพทและคาํ สภุ าพ ........................................... 50
เรื่องที่ 5 สาํ นวนภาษา..................................................................................................... 53

5

เร่ืองท่ี 6 การใชทกั ษะทางภาษาเปนเครือ่ งมือการแสวงหาความรู ................................... 57

เรือ่ งที่ 7 ลักษณะของคําไทย คาํ ภาษาถิน่ และ

คาํ ภาษาตางประเทศในภาษาไทย ..................................................................... 58

บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม...............................................................................................62

เร่ืองที่ 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนของนิทาน

นิทานพ้นื บาน และวรรณกรรมทองถ่นิ .............................................................. 63

เรื่องท่ี 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดีท่ีนาศึกษา ............................................ 64

บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ช่องทางการประกอบอาชีพ.......................................................................67

เรอ่ื งที่ 1 คุณค่าของภาษาไทย. ........................................................................................ 68

เร่อื งท่ี 2 ภาษาไทยกับช่องทางการประกอบอาชีพ........................................................... 68

เรื่องท่ี 3 การเพ่ิมพนู ความรู้และประสบการณ์ทางดา้ นภาษาไทย

เพื่อการประกอบอาชีพ ..................................................................................... 71

เฉลยแบบฝกึ หดั ......................................................................................................................... 72

บรรณานกุ รม ......................................................................................................................... 81

คณะผูจดั ทํา ......................................................................................................................... 83

6

คาแนะนาในการใชหนังสอื เรียน

หนังสือแบบเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา เปนแบบเรียน
ทจี่ ดั ทาํ ข้ึน สําหรบั ผูเรยี นทเ่ี ปนนกั ศกึ ษานอกระบบ

ในการศกึ ษาหนงั สือเรยี นสาระความรูพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย ผูเรียนควรปฏิบตั ิ ดงั นี้
1. ศกึ ษาโครงสรางใหเขาใจหวั ขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูคาดหวงั และขอบขายเน้อื หา
2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด และ
ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจเน้ือหา
น้ันใหม ใหเขาใจกอนที่จะศึกษาเรอ่ื งตอไป
3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเร่ือง เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหา
ในเร่ืองน้ัน ๆ อีกคร้ัง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหาแตละเร่ือง ผูเรียนสามารถนําไป
ตรวจสอบกับครแู ละเพอ่ื น ๆ ทร่ี วมเรยี นในวิชาและระดับเดยี วกันได
4. แบบเรียนเลมน้ีมี 7 บท คือ

บทที่ 1 การฟังและการดู
บทท่ี 2 การพูด
บทที่ 3 การอาน
บทท่ี 4 การเขยี น
บทที่ 5 หลักการใชภาษา
บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม
บทที่ 7 ภาษาไทยกับช่องทางการประกอบอาชพี

7

โครงสรางรายวิชาภาษาไทย พท11001
ระดับประถมศกึ ษา

สาระคัญ
การฟงและการดู การพูด การอาน การเขียน หลักการใชภาษา วรรณคดี และวรรณกรรม

เปนพนื้ ฐานของทกั ษะที่ใชในชีวิตประจาํ วัน ซง่ึ ตองศกึ ษาอยางเขาใจจงึ นาํ ไปใชประโยชนไดดี
ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวงั ผูเรียนสามารถ

1. อธบิ ายรายละเอียดของการฟง และการดูได
2. อธบิ ายการพูดและการอานในสถานการณตาง ๆ ได
3. เขยี นไดถกู ตองตามหลกั ภาษา
4. ใชหลกั การใชภาษาไดถูกตอง
5. อธิบายความหมาย คุณคา และประโยชนของนิทาน นิทานพ้ืนบ้าน วรรณกรรมทองถ่ิน
และวรรณคดีบางเรื่องได
ขอบขายเนอื้ หา
บทท่ี 1 การฟงและการดู
บทที่ 2 การพูด
บทที่ 3 การอาน
บทท่ี 4 การเขียน
บทที่ 5 หลักการใชภาษา
บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม
บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ

1

บทท่ี 1
การฟังและการดู

สาระสาคัญ
การฟงและการดเู ปนทกั ษะสาํ คญั ทต่ี องใชในชวี ิตประจาํ วนั หากฟงและดูไดอยางเขาใจ

จะนาํ ไปใชประโยชนไดมาก
ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวัง ผูเรยี นสามารถ

1. อธิบายหลกั การ ความสําคัญ จดุ มุงหมายของการฟงและการดไู ด
2. อธบิ ายการจบั ใจความสาํ คญั จากการฟงและการดไู ด
3. อธิบายการฟงและการดเู พ่อื สรุปความได
4. บอกมารยาทในการฟงและการดูได
ขอบขายเน้อื หา
เรอื่ งท่ี 1 หลักการ ความสาํ คญั จุดมงุ หมายของการฟงและการดู
เรอ่ื งท่ี 2 การฟงและการดูเพ่อื จบั ใจความสําคญั
เรอื่ งที่ 3 การฟงและการดูเพื่อสรุปความ
เรอื่ งท่ี 4 มารยาทในการฟงและการดู

เร่ืองที่ 1 หลกั การ ความสาคัญ จุดมงุ หมายของการฟงและการดู

1. หลกั การฟงและการดู

2

การฟังและการดูเปน็ การเรียนรู้เรอื่ งราวตา่ ง ๆ จากแหลง่ เสยี งและภาพ ทง้ั จากแหลง่ จรงิ และผ่าน
ส่ือต่าง ๆ เช่น วทิ ยุ โทรทศั น์ ภาพยนตร์ คอมพิวเตอร์ หนังสอื เป็นต้น การฟังและการดูมีหลักการ ดงั น้ี

1. การฟงและการดูอยางตั้งใจ จะไดรบั เนอ้ื หาสาระถูกตองและครบถวน
2. มีจดุ มุงหมายในการฟงและการดเู พ่ือจะชวยใหการฟงและการดูมีประโยชนและมีคุณคา
3. จดบนั ทึกใจความสําคญั จะไดศึกษาทบทวนได
4. มีพ้ืนฐานในเร่ืองทฟี่ งและดมู ากอนจะไดชวยใหเขาใจเนื้อหาสาระไดเรว็ ขึ้น
2. ความสาคญั ของการฟงและการดู
1. เพ่มิ ความรูและประสบการณทจี่ ะนาํ ไปใชประโยชนได
2. เปนการส่ือสารระหวางกัน ใหเขาใจและปฏบิ ตั ิตามได
3. เปนการพัฒนาชวี ติ และความเปนอยู โดยนาํ ความรูดานวิทยาศาสตร สงั คมศาสตร และ
มนุษยศาสตร มาใชไดอยางเหมาะสม
3. จุดมุงหมายของการฟงและการดู
1. เพื่อรับความรแู้ ละความบนั เทิงจากการฟงั และการดู
2. เพื่อนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน อาจจะไปอธิบายหรือสอนตอ หรือจะนําไปประกอบ
เปนอาชีพได
3. เพ่อื ความเพลดิ เพลิน หรือเพื่อการผอนคลาย เชน การฟงเพลง การดรู ายการบันเทิง เปนตน
4. เพื่อใชเวลาวางใหเป็นประโยชน จดุ มุงหมายของแตละทานอาจจะเหมือนกันหรือไมเหมอื นกนั
ก็ไดและอาจจะมากกวา 1 จุดมงุ หมายก็ได

3

กจิ กรรม

ให้ผเู้ รียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. ผูเรียนมหี ลักการฟงและการดอู ยางไร
1. ___________________________________________________________________
2. ___________________________________________________________________
3. __________________________________________________________________
4. __________________________________________________________________

2. ผูเรียนเห็นวาการฟงและการดมู คี วามสําคญั อยางไร
1. __________________________________________________________________
2. __________________________________________________________________
3. __________________________________________________________________
4. __________________________________________________________________

3. ผเู้ รียนมจี ดุ มงุ หมายของการฟงและการดลู ะครโทรทัศน์อยางไร
1. __________________________________________________________________
2. __________________________________________________________________
3. ___________________________________________________________________
4. ___________________________________________________________________

4. ผูเรยี นนําความรูเก่ยี วกับการฟงและการดทู ไ่ี ดศึกษาในเรื่องท่ี 1 ไปใชประโยชนไดอยางไรบาง
1. ___________________________________________________________________
2. ___________________________________________________________________
3. ___________________________________________________________________
4. ___________________________________________________________________
5. ___________________________________________________________________

4

เร่ืองที่ 2 การฟงและการดูเพ่ือจบั ใจความสาคัญ

ในเรื่องที่ 2 นี้มีเนอ้ื หาสาระเปน 2 สวนคือ
1. การฟงเพ่ือจับใจความสําคญั
2. การดเู พื่อจับใจความสําคัญ

ท้งั สองสวนมรี ายละเอยี ด ดงั นี้
1. การฟงเพอ่ื จับใจความสาคัญ
การฟงเพื่อจบั ใจความสําคัญไมใชเร่อื งยาก ถาผูฟงปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

1. ฟงอยางต้งั ใจ และมีสมาธิ
2. ฟงใหตลอดจบความ
3. ฟงอยางมีวิจารณญาณ โดยใชความรูประสบการณของตน มาพิจารณาไตรตรองประกอบ
เนอื้ หาสาระเพือ่ ความถูกตองหรือมปี ระโยชนอยางไรบาง
วธิ กี ารฟงเพ่อื จับใจความสาคญั
1. ต้ังใจฟังว่าเร่อื งอะไร ใครทํา ทาํ เมอ่ื ใด ทําทไี่ หน ทาํ อยางไร และเกิดผลอยางไร
2. ทําความเขาใจเนอื้ หาสาระ แยกแยะความจริง และขอคดิ เหน็ ในเรือ่ งนน้ั ๆ
3. ประเมินคาเรือ่ งที่ฟงวาเน้อื หาถกู ตอง เหมาะสม มากหรือนอยเพยี งใด เหมาะสมกับเพศ
และวัย และชวงเวลาของกลุมผูฟงหรอื ไม
4. จดบันทกึ ใจความสําคญั ของเรอ่ื งทฟี่ ง เมอื่ ทบทวนหรือเผยแพร่ใหผูอน่ื ตอไป
2. การดเู พ่อื จบั ใจความสาคัญ
หลักการดู
1. ดูอยางตง้ั ใจและมีสมาธิในการดู
2. มีจุดมุงหมายในการดจู ะทาํ ใหการดปู ระสบผลสาํ เร็จได
3. มีวจิ ารณญาณ ดแู ล้วคิดไตรตรองอยางมเี หตผุ ล
4. นําไปใชประโยชน คอื อาจจะมกี ารปรบั ใหเหมาะสมกบั เวลา และสถานการณ
วิธกี ารดูเพือ่ จับใจความสาคญั

ดรู ายการทวี ีโดยภาพรวมและรายละเอียด

5

กจิ กรรม

ใหผ้ ู้เรยี นตอบคาํ ถามตอ่ ไปนี้

1. การฟงเพอ่ื จบั ใจความสําคัญ มวี ิธกี ารอยา่ งไร
1. _______________________________________________________
2. _______________________________________________________
3. _______________________________________________________
4. _______________________________________________________

2. การดเู พื่อจบั ใจความสําคัญ มีวิธีการอยา่ งไร
1. _______________________________________________________
2. _______________________________________________________
3. _______________________________________________________
4. _______________________________________________________

3. ให้ผ้เู รยี นฝึกฟงั ข่าว หรือสารคดจี ากรายการวทิ ยแุ ละบนั ทกึ ใจความสาํ คญั ของเร่ืองท่ีฟงั น้ัน
4. ให้ผู้เรียนฝึกดูรายการข่าวประจําวันหรือข่าวในพระราชสํานัก จากสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ และ
บนั ทึกใจความสาํ คญั จากการดู

เรอื่ งท่ี 3 การฟงและการดเู พอื่ สรปุ ความ

การฟงและดู เพ่ือสรุปความเปนขน้ั ตอนสดุ ทายของกระบวนการฟงและการดู การสรปุ ความ
เนนการประมวลเนอ้ื หาสาระมาใชประโยชนในชวี ิตประจําวัน

วธิ กี ารสรปุ ความควรทาดังน้ี
การนําสรุปความไปใชประโยชน ซง่ึ มหี ลายวธิ ี เชน
1. ใชในการศึกษา
2. ใชในการเผยแพรโดยการอธบิ าย สอน เขยี นเปนเอกสาร และตาํ รา

ตวั อยา่ ง การสอ่ื สารท่เี ปน็ การสรุปความของการฟงและการดู เช่น
1) การโฆษณา การโฆษณาการใชภาษาใชเวลานอย คาํ พูดนอย จะเนนการพดู ท่ีสั้น ๆ

ใหไดใจความ ดังน้ันการฟงและการดูจะใชทักษะการสรุปความและเขาใจสารนน้ั
2) การฟงประกาศ จะสรุปความเนอ้ื หาสาระน้นั มาปฏบิ ัติโดยจะใชหลกั ประกาศเรื่อง

อะไร เก่ยี วของกบั เราอยางไร และนาํ ไปปฏบิ ตั ิอยางไร
3) สรุปการนําขอมลู มาใชประโยชน

6

กจิ กรรม
ให้ผูเ้ รียนดูข่าวสารคดี และโฆษณาต่าง ๆ จากรายการโทรทัศน์ ในรอบสปั ดาห์ แลว้ สรุปความแต่ละ
รายการทดี่ มู านาํ เสนอในกลุ่ม

เรื่องที่ 4 มารยาทในการฟงและการดู

การมมี ารยาทในการฟงและการดู ปฏบิ ตั ิ ดังนี้
1. การฟง

1. ตัง้ ใจฟง
2. ไมรบกวนสมาธิของผู้อืน่
3. ควรใหเกียรติวิทยากร ไมคยุ และไมถามทดสอบความรูผูพูด
4. ฟงใหจบ
2. การดู
1. ตงั้ ใจดู
2. ไมรบกวนสมาธิผูอน่ื
3. ไมควรฉกี หรอื ทาํ ลายภาพ เอกสารทดี่ ู
4. ดูแลวใหรกั ษาเหมอื นเปนสมบตั ิของตนเอง เชน นทิ รรศการ คอมพิวเตอรหรอื ภาพถาย เปนตน

กิจกรรม
ให้ผู้เรียนนําเสนอตัวอย่างลักษณะปฏิบัติตนเป็นผู้ฟัง ผู้ดูท่ีมีมารยาท และไม่มีมารยาท
มาอย่างละ 1 ตวั อยา่ ง

7

บทท่ี 2
การพดู

สาระสาคัญ
การพูดเปนการส่ือท่ีควบคูกับการฟง การเขาใจหลักการ การเตรียมการพูด การพูดในหลาย ๆ

โอกาส และมารยาทในการพูด จะทาํ ใหการพดู ประสบผลสําเรจ็
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ผูเรยี นสามารถ

1. อธบิ ายหลักการ ความสาํ คัญ และจดุ มงุ หมายของการพดู ได
2. อธบิ ายการเตรียมการพูด และลักษณะการพดู ได
3. อธิบายการพูดในโอกาสตาง ๆ ได
ขอบขายเน้อื หา
เรือ่ งท่ี 1 การพดู ความสําคญั ของการพดู
เรือ่ งท่ี 2 การเตรยี มการพดู และลกั ษณะการพดู ที่ดี
เรอ่ื งที่ 3 การพูดในโอกาสตาง ๆ
เร่ืองท่ี 4 มารยาทในการพดู

8

เรื่องท่ี 1 การพดู ความสาคัญของการพูด

1. หลกั การพูด
หลกั การพดู มี ดงั นี้
1. การพูดดวยภาษาและถอยคําทส่ี ุภาพ ใหเกยี รตผิ ูฟง
2. พดู ใหตรงประเดน็ และใชภาษาทง่ี ายตอการเขาใจ

2. ความสาคญั ของการพูด
1. ใชในการสอ่ื สารใหเขาใจตรงกัน
2. เพอ่ื ความรู ใหผูฟงมีความรูไดอยางหลากหลาย และไปใชประโยชนได
3. ไดรบั ความเพลิดเพลนิ และแลกเปล่ียนเนื้อหาสาระ
4. ใชประโยชนในชวี ิตไดอยางเหมาะสมกับสภาพของตน

3. จดุ มงุ หมายของการพดู
1. เพอื่ สื่อสารใหผูอืน่ เขาใจความตองการของผูพูด
2. เพอ่ื แสดงความรคู วามสามารถของตนเองใหผูอน่ื ไดรับทราบและนําไปใช

ประโยชนได
3. เพื่อแสดงความคดิ เหน็ ในเรอื่ งใดเรอื่ งหนงึ่ ของตนเองแกผูอ่ืน

กิจกรรม

ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มอภิปราย แสดงความคิดเห็นในประเด็นเก่ียวกับความสําคัญของการพูดใน

ชีวติ ประจาํ วัน หวั ข้อ “ พดู ช่วั ตวั ตาย ทาํ ลายมิตร”

เรอ่ื งที่ 2 การเตรียมการพดู และลกั ษณะการพูดท่ีดี

ผูเรียนจะไดศึกษารายละเอยี ดโดยแบงเปน 2 สวน คอื
1. การเตรียมการพดู
2. ลกั ษณะการพดู ทด่ี ี โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้
การเตรยี มการพดู
ผูพดู จะตองเตรยี มตวั ใหพรอม ดงั นี้
1. เตรียมสภาพรางกายใหพรอมที่จะพูด ซ่ึงผูพูดควรจะทราบกําหนดการลวงหนา และตอง
พรอมท่จี ะพูดในวนั นนั้
2. เตรียมเน้ือหาสาระที่จะพูดใหถูกตอง โดยเอาความรูประสบการณของตน หากไมเพียงพอ
ตองคนควาเพ่มิ เติม
3. เตรียมอุปกรณ เอกสารหรือส่ืออ่ืน ๆ ท่ีจะใชประกอบการพูดใหเสร็จทัน และอยูในสภาพ
พรอมท่ีจะใชงานได
4. เตรยี มการแตงกายใหสุภาพ และเหมาะสมกับผูฟง ทัง้ นี้เพ่ือเปนการใหเกยี รติผูฟง
ลกั ษณะการพดู ทดี่ ี

9

การพดู ทดี่ จี ะตองดีในดานตาง ๆ ดังน้ี
1. ดดี วยเนอื้ หาสาระถกู ตองเหมาะสมกบั ผูฟง
2. ดีดวยลีลาการพูด

2.1 นํา้ เสยี ง ไมดงั เกนิ ไปหรือเบาเกินไป การเนนเสียงหรือการใชเสยี งสงู ตาํ่ เปนตน
2.2 พูดถูกตองตามหลักการใชภาษา ใชคําควบกลํ้า อักษรควบ อักษรนํา คําสมาส สนธิ
เปนตน
2.3 การแบงวรรคตอน การใชอกั ษรยอหรือการใชคาํ ทเี่ นนใหถูกตอง
3. ดีดวยความพรอม ซง่ึ รายละเอยี ดไดกลาวมาแลวขางตน

กิจกรรม
ให้ผู้เรียนยกตัวอย่าง ผู้ท่ีพูดดีทั้งจากที่พบเห็นในกลุ่ม ชุมชน และจากรายการวิทยุ โทรทัศน์
พร้อมให้ความเห็นประกอบว่าดีในลกั ษณะใด

เรอ่ื งท่ี 3 การพดู ในโอกาสตาง ๆ

การพูดในโอกาสตาง ๆ ในระดบั ประถมศึกษา จะเปนการศกึ ษาการพดู ในโอกาสตาง ๆ ดังน้ี
1. การพดู อวยพร
2. การพูดขอบคุณ
3. การพูดแสดงความดีใจ และเสียใจ
4. การพดู ตอนรับ
5. การพดู รายงาน

1. การพูดอวยพร
การพดู อวยพรเปนการพดู แสดงความในใจ ทีจ่ ะใหพรผูฟง ในโอกาสท่ีเป็นมงคล เชน

อวยพรวันเกดิ อวยพรปใหม หรอื อวยพรใหกับคูสมรส เปนตน
การพดู อวยพร มวี ิธกี ารดังนี้
1. ใชคาํ พูดงาย ๆ สนั้ ไดใจความ และนา้ํ เสยี งสภุ าพนุมนวล
2. ใชคาํ และขอความทมี่ ีความหมายทดี่ ี และเหมาะสมกบั โอกาสและผูฟง
3. อางส่ิงศักดิ์สิทธิ์อวยพรใหผูฟงในโอกาสนนั้ ๆ
4. พูดใหผูฟงประทบั ใจ

2. การพดู ขอบคุณ
การพดู ขอบคณุ เปนการพูดที่จะตอบแทนผูทที่ ําประโยชนให เปนการแสดง

ความกตญั ู
การพูดขอบคณุ มวี ธิ กี าร ดังนี้
1. บอกสาเหตุทตี่ องขอบคุณผูนนั้ ทานไดชวยเหลอื หรอื ทาํ ประโยชนอะไรใหกับผูพูด
2. พดู ดวยนํ้าเสียงทส่ี ภุ าพนมุ นวล นาฟงและนาประทบั ใจ

10

3. หากเปนผูแทนของกลุมคน ผูพูดตองเริ่มตนดวย “ในนามของกลุม ผม/ดิฉัน ขอบคุณ
ที่ “...................” โดยตองบอกวาขอบคณุ ใคร และขอบคุณเรือ่ งอะไร

4. การพูดขอบคณุ ควรลงทายดวย หากมโี อกาสตอบแทนผูทข่ี อบคณุ บางในโอกาสหนา
3. การพดู แสดงความดใี จ และเสยี ใจ

การพดู แสดงความดใี จและเสียใจ เปนการพูดเพ่ือแสดงออกทางอารมณแสดงความรูสึกตอ
ผูใดผูหนง่ึ ในเร่ืองตาง ๆ

การพูดแสดงความดีใจและเสยี ใจ มีดงั น้ี
1. พดู ดวยการแสดงออกอยางจรงิ ใจ หามแกลงทาํ โดยเดด็ ขาด
2. แสดงออกทางสีหนา แววตา และน้ําเสียง ใหสอดคลองกับการพูดแสดงความดีใจ
หรอื การพดู แสดงความเสียใจ
3. หากเปนการพูดแสดงความดีใจ จะตอดวยการอวยพรใหดียิ่งข้ึน หากเปนการพูดแสดง
ความเสียใจ จะตองปลอบใจและทําใหลมื เหตุการณน้นั โดยเรว็
4. การพูดตอนรบั
การพูดตอนรับเปนการพูดยินดีตอสมาชิกใหม หรือยินดีตอนรับผูมาเยี่ยมเยือน ใหผูฟง
สบายใจและรสู ึกอบอนุ ทไ่ี ดมาสถานทีน่ ้ี
การพดู ตอนรับ มวี ิธกี ารดังน้ี
1. การพูดในนามของ กลุ่ม หน่วยงาน องค์กรใด จะตองกลาวข้ึนตนดวยวา “ในนามของ
.............ขอตอนรับ...........”
2. การพดู ดวยคาํ ทสี่ ภุ าพนมุ นวลและนาประทบั ใจ
3. อาจมีการแนะนําบุคคล สถานที่ ใหผูมาไดทราบหรอื รจู ัก
4. อาจพูดลงทายดวย ยินดีตอนรบั ในโอกาสหนาอีก

5. การพูดรายงาน
การพูดรายงาน เปนการนําเสนอเรื่องราว ขอมูล สถานการณ หรือความกาวหนา ในการ

ทํางาน ความกาวหนาของการศึกษาคนควา
การพดู รายงาน มวี ิธีการดงั นี้
1. เน้ือหาสาระทจ่ี ะพูดตองถูกตอง เชอ่ื ถอื ได และอางองิ ได
2. การนําเสนอเนื้อหาสาระตองเหมาะสมกับผูฟงและสถานการณทพี่ ูด
3. ใชภาษาเปนทางการ เพราะเปนงานวชิ าการ
4. อุปกรณ เครอื่ งมือ หรอื เอกสารประกอบตองเตรยี มใหพรอม
5. ควรเปดโอกาสใหผูฟงไดซักถามขอสงสัย หรอื ใหอธิบายเพม่ิ เตมิ เพื่อความเขาใจ

11

กิจกรรม
ฝกึ ปฎิบัติการรา่ งคํากลา่ วที่จะใชพ้ ูดในงานตา่ ง ๆ ดังนี้

1. การพูดอวยพร ______________________________________
2. การพดู ขอบคุณ______________________________________
3. การพูดต้อนรับ ______________________________________

เร่ืองท่ี 4 มารยาทในการพูด

มารยาทในการพดู มีลกั ษณะ ดังน้ี
1. ใชคาํ พูดทส่ี ภุ าพ และเหมาะสม กับเวลา สถานที่ และโอกาส
2. หากจะพูดคดั คานตองคดั คานดวยเหตุผล หามใชคําพูดดวยอารมณโมโหหรือโกรธ
3. ไมพูดใหผูอนื่ เดือดรอน และทาํ ลายผูอนื่
4. การพดู ชมผูอนื่ จะตองมีบางเพอ่ื เปนการใหกําลังใจ

กิจกรรม
ให้ผู้เรียนนําเสนอตัวอย่างผู้ที่ไม่มีมารยาทในการพูดพร้อมอธิบายลักษณะที่แสดงถึงการไม่มี
มารยาทและข้อเสนอแนวทางแกไ้ ข

12

บทที่ 3
การอาน

สาระสาคญั
การอานนั้นเปนการเปดประตูไปสูโลกกวาง การอานรอยแกวและรอยกรองได ตลอดจนการ

เลือกหนังสืออานไดเหมาะสมจะทําใหการอานมีประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน
ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง ผูเรยี นสามารถ

1. อธบิ ายหลักการ ความสาํ คัญ และจดุ มงุ หมายของการอานได
2. อานรอยแกวไดถกู ตองชัดเจน รวมทั้งเกบ็ ใจความเมอ่ื อานในใจได
3. อานบทรอยกรองทใี่ ชถอยคํางาย ๆ ได
4. เลอื กหนังสืออานและบอกประโยชนของการอานได
5. บอกมารยาทในการอานและสรางนิสยั รักการอานได
ขอบขายเนอื้ หา
เร่ืองที่ 1 หลักการ ความสําคญั และจุดมุงหมายของการอาน
เรือ่ งท่ี 2 การอานรอยแกว
เรื่องที่ 3 การอานรอยกรอง
เรอ่ื งที่ 4 การเลือกอานหนงั สือและประโยชนของการอาน
เรอ่ื งท่ี 5 มารยาทในการอานและสรางนิสยั รกั การอาน

13

เรื่องท่ี 1 หลกั การ ความสาคญั และจุดมงุ หมายของการอาน

1. หลักการอาน
1. ควรมีจุดมุงหมายในการอานทุกครั้ง เพื่อเปนการประเมินหลังการอานจบแลววา ไดบรรลุถึง

จดุ มงุ หมายหรือไม
2. เลือกอานหนังสือตามความสนใจของตน จะไดความรูและประสบการณตรงกับความตองการ

และกระตอ้ื รอื รนท่จี ะอาน
3. อานถูกตองตามอักขรวิธี ออกเสียง ร และ ล ชัดเจน รวมท้ัง การเวนวรรคที่ถูกตอง

ซง่ึ การอานประเภทน้ีจะเปนการอานออกเสียง
2. ความสาคัญของการอาน

1. การอานเปนการรับสารโดยเนนเนื้อหาสาระที่หลากหลาย ผูอานเลือกท่ีจะอานไดตามความ
ตองการ

2. การอานไดความรู ทกั ษะและประสบการณทน่ี ําไปใชประโยชนได
3. การอานเปนการพัฒนาความคดิ ของผูอาน
4. การอานเปนการใชเวลาใหเกดิ ประโยชนไดทั้งความรูและความเพลิดเพลิน
3. จดุ มงุ หมายของการอาน
1. เพือ่ ใหเกิดความรู ตามทผี่ ูอานตองการเลอื ก เพราะสามารถอานได
2. เพื่อใหเพลิดเพลิน โดยเฉพาะการอานประเภท จรรโลงใจ เชน นทิ าน นิยาย นวนิยาย เปนตน
3. เพือ่ นาํ ความรูไปประยุกตใช โดยศึกษาจากเนื้อหาสาระ หรือตัวอยางของผูท่ีประสบความสําเร็จ
และนําไปปฏิบตั ิ
4. เพอ่ื ใหเปนบุคคลทนั สมยั ทนั เหตุการณ มคี วามรูรอบดาน ซง่ึ จะไดจากการอาน

กจิ กรรม

ตอบคาํ ถามตอไปนี้
1. ในการอานมหี ลกั การอยางไรบาง
1. ________________________________________________________________
2. ________________________________________________________________
3. ________________________________________________________________
2. การอานมีความสําคญั อยางไร
1. ________________________________________________________________
2. ________________________________________________________________
3. ________________________________________________________________
3. ผูเรยี นมจี ุดมุงหมายในการอานอยางไรบาง
1. ________________________________________________________________
2. ________________________________________________________________
3. ________________________________________________________________

14

เร่ืองท่ี 2 การอานรอยแกว

1. ความหมายของรอยแกว
รอยแกว หมายถงึ ขอความทเ่ี ขียนขึ้นโดยไมไดคํานงึ การสัมผสั ตวั อยางเชน การเขยี นตาํ ราเรยี น

การเขยี นขาว การเขียนประกาศ และการเขียนขอความทั่ว ๆ ไป
2. การอานรอยแกว

2.1 การอานออกเสยี ง มีหลักการอานดังน้ี
- อานออกเสียงใหถูกตองตามอกั ขรวธิ ี
- อานอยางมจี ังหวะ แบงวรรคตอนถกู ตอง
- อานอยางเขาใจเนื้อเรื่อง นํา้ เสียงจะไดเหมาะสม เชน อานเร่ืองเก่ยี วกบั ความสขุ

เสยี งจะตองสดชน่ื ร่ืนเริง หากเปนเรื่องเศรา น้าํ เสยี งจะตองเศราตามไปดวย เปนตน
- อานเสียงดงั ฟงชัด

2.2 การอาน ขอความ บทความ และเรือ่ งส้ัน
ขอความ บทความและเร่อื งส้นั เปนการอานรอยแกว สวนใหญเปนการอานในใจ ซง่ึ ผูอาน

จะตองจับใจความสําคญั ใหได วาเรอื่ งทอ่ี านคอื อะไร กลาวถึงใคร ทไ่ี หน และเม่อื ไร เป็นตน
2.3 การอานจบั ใจความสําคัญ
การอานจับใจความสําคัญ ผูอานเม่ืออานจบแลว จะตองจับใจความสําคัญได เชน เรื่องอะไร

เกดิ กบั ใคร เมอ่ื ใด และมผี ลอยางไร
ตวั อยางการอานจบั ใจความสาคญั เรอื่ ง นาํ รอง

นายจิตรพงษ กวางสุขสถิต ประธานเจาหนาท่ีปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นตนและ
กาซธรรมชาติ บริษัท ปตท. เปดเผยวา ปตท. ไดรวมกับบริษัท เกษมศักด์ิ เทรดดิ้ง ผูประกอบการผลิต
เหล็กเพื่อทดลองใชกาซธรรมชาติในรูปของกาซธรรมชาติอัดหรือซีเอ็นจี ภายในโรงงาน ซึ่งเนนกลุม
โรงงานอุตสาหกรรมทไี่ มมแี นวทอสงกาซฯ ผานโดยจะทําใหภาคเอกชนลดตนทุนการผลิตจากเดิมท่ีตอง
ใชนาํ้ มนั เตาหรือดเี ซลที่มีราคาสงู

(หนงั สอื พิมพเดลินวิ ส ฉบบั วนั ที่ 11 กุมภาพนั ธ

ใจความสาคัญ
ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมเปดเผยวา ปตท. ไดรวมกับบริษัทเกษมศักดิ์

เทรดดง้ิ ทดลองใชกาซธรรมชาติในรปู ของกาซเพ่อื ลดตนทนุ การผลติ
2.4 การอานเพอื่ แสดงความคิดเหน็ และสรุปความ
การอานเพ่ือแสดงความคิดเห็นของผูอานตอบทความ ขาว หรือเรื่องที่อาน การแสดงความ

คดิ เหน็ สวนมากจะแสดงตอเนื้อหาสาระวานาจะจริง หรอื ไมนาเปนไปได หรือไมนาจะเกดิ ได เปนตน
สวนการอานเพ่อื สรปุ ความเปนการอานแลวนําใจความสําคัญมาสรุปความเป็นสํานวนของตนเอง

จะเปนการสรุปดวยวาจาหรอื เขียนก็ได
ตวั อยางการอานเพื่อแสดงความคิดเหน็ และสรุปความ เรอ่ื ง ภัยแลง...ยดื เวลาชาํ ระหนี้

15

นายอนันต ภูสิทธิกุล เลขาธิการสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เปดเผยวา
ในทุกปพ้ืนที่เกษตรกรรมในประเทศไทยจะประสบกับสถานการณภัยแลงในชวงฤดูหนาวคือต้ังแต่
เดือนตุลาคม - กุมภาพันธ และตอเน่ืองมาจนถึงฤดูรอน คือระหวางเดือนกุมภาพันธ - พฤษภาคม
โดยเฉพาะอยางย่ิงเดือนมีนาคม - เมษายน ท่ีท่ัวทุกภาคของประเทศไทยตองประสบปญหาภัยแลง
และในบางทีอาจเกิดภาวะฝนทิ้งชวงในชวงกลางของฤดูฝนคือ ตั้งแตปลายเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม
โดยจะเปนเวลาประมาณ 1 - 2 สปั ดาห หรืออาจถึง 1 เดือน

“สถานการณภัยแลงปนี้ ส.ป.ก. เตรียมพรอมแกไขปญหาในเบื้องตนไว คาดวานอกจากพืชไรและ
ขาวนาปท่ีอาจจะประสบปญหาขาดแคลนน้ําหรือฝนท้ิงชวงแลว พืชชนิดอ่ืนคิดวาไมนาจะมีปญหา
แตอยางใด สําหรับการดูแลทรัพยากรในชวงแลงอาจจะประสบปญหาบางในบางพ้ืนท่ี อยางไรก็ตาม
ส.ป.ก. ไดเตรียมการสนับสนุนแหลงทุนเพื่อการปรับโครงสรางการผลิตใหม และเหนือส่ิงอื่นใด ส.ป.ก.
เชื่อม่ันวา องคความรูที่เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินไดพัฒนามาอยางตอเนื่องจะสามารถชวยใหพวกเขา
รบั มือและผานวิกฤติไปไดดวยในท่สี ุด” นายอนนั ต กลาว

(หนังสือพมิ พ์เดลินวิ ส ฉบับวันท่ี 11 กุมภาพันธ์ 2552)

ความคดิ เห็นและสรปุ ความ
นับไดวาเป็นการเสนอวิธีการแกไขและชวยเหลือเกษตรกรไดเปนการยืดเวลาชําระหน้ีโดยปรับโครง

สรางของการผลติ ใหม เนอ่ื งจากฝนแลงผลผลิตอาจจะไมมีผล
การอานจบั ใจความน้ี ครสู ามารถปรับเปลี่ยนโดยนําเหตุการณปจจบุ นั หรือท่ีเก่ียวของท้ังชุมชนมา

อานแทนได

กิจกรรม

ตอบคาํ ถามตอไปนี้
1. ผูเรยี นมหี ลกั การอานออกเสียงอยางไร

1. _________________________________________________________
2. _________________________________________________________
3. _________________________________________________________
4. _________________________________________________________

2. ใหผูเรยี นทกุ คนอานในใจเรอ่ื งตอ่ ไปนี้ แลวจบั ใจความสําคัญและเขียนสรปุ ความ
ผนู ายุวเกษตรกรไทยเตรียมไปญ่ีปนุ

การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการฯ โดยมีตัวแทนของ 5 หนวยงาน คือ กรมสงเสริมการ
เกษตร สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมสงเสริมสหกรณ กรมปศุสัตว และสํานักงาน

16

การปฏิรูปท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรมไดมีมติวาจะใหยุวเกษตรกรเขารับการฝกงานตามโครงการฯ
ณ ประเทศญีป่ ุนในปนี้ จาํ นวน 21 คน

ยวุ เกษตรกรทผ่ี านการคัดเลอื กจะตองเขารบั การอบรมพ้ืนฐานการเกษตรและภาษาญ่ีปุนโดยกรม
สงเสริมการเกษตร ในระหวางวันท่ี 16 กุมภาพันธ ถึง 31 มีนาคม 2552 ณ ศูนยสงเสริมเยาวชน
เกษตร จ. กาญจนบุรี และกําหนดเดนิ ทางไปฝกงาน ณ ประเทศญปี่ ุนในวนั ท่ี 6 เมษายน 2552

(หนังสอื พมิ พเดลินิวส ฉบับวันที่ 11 กมุ ภาพนั ธ

ใจความสาคัญและสรปุ ความได ดังนี้
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________

เรือ่ งท่ี 3 การอานรอยกรอง

1. ความหมายของรอยกรอง

รอยกรอง หมายถงึ คาํ ประพันธแตงขนึ้ โดยมกี ารสัมผัสใหคลองจองกนั

2. การอานรอยกรอง

2.1 การอานคําคลองจอง บทกลอมเด็ก และเพลงพ้ืนบาน ให้อานเปนจังหวะหรือให้คลองจอง

มีการเอื้อนคาํ เปนตน

ตวั อยางคาคลองจอง

ขงิ กร็ าขาก็แรง, คนรักเทาผนื หนังคนชงั เทาผนื เสอื่ , โยกเยกเอยน้าํ ทวมเมฆ เปนตน

ตวั อยางบทกลอมเดก็

โอละเหเอย แมจะเหใหนอนวัน

ตนื่ ข้ึนมาจะอาบนํา้ ทําขวัญ นอนวนั เถิดแมคณุ

พอเนอื้ เย็นเอย แมมิใหเจาไปเลนทที่ าน้ํา

จระเขจะมา มันจะคาบเจาเขาถํา้

เจาทองคําพอคุณ

ตัวอยางเพลงพ้ืนบาน
เพลงเกย่ี วขาว

17

ควาเถิดหนาแมควา รีบตะบึงถึงคนั นา จะไดพูดจากันเอย

เกี่ยวเถิดหนาแมเกีย่ ว อยามัวแลเหลียว เคียวจะบาดมือเอย

2.2 การอานกลอนสภุ าพ

จงั หวะในการอานคําในกลอนสุภาพแบงคาํ ตามแผนผงั ดงั น้ี

000/00/000/ 000/00/000/

000/00/000/ 000/00/000/

ภายใน 1 วรรคมี 8 คาํ จะอาน3/2/3 หากมี 9 คาํ จะอาน 3/3/3

กลอนสภุ าพ บทหนึ่งจะมี 2 บาท

บาทท่ี 1 เรยี กวา บาทเอก มี 2 วรรค คือ สดับ, รับ

บาทที่ 2 เรียกวา บาทโท มี 2 วรรค คือ รอง และ สง ดังนี้

๑ บท สดบั รบั
๐๐๐/๐๐/๐๐๐ ๐๐๐/๐๐/๐๐๐
บาทเอก
บาทโท รอง สง่
๐๐๐/๐๐/๐๐๐ ๐๐๐/๐๐/๐๐๐

ตัวอยางกลอนสุภาพ มคี นรกั รสถอยอรอยจติ
ถึงบางพดู พดู ดีเปนศรศี กั ด์ิ จะถูกผดิ ในมนุษยเพราะพดู จา

แมนพูดชว่ั ตวั ตายทําลายมิตร (สนุ ทรภู

กิจกรรม

จงตอบคําถามต่อไปนี้
1. ความหมายของรอ้ ยกรองคอื

2. การอ่านกลอนสภุ าพมีดังน้ี

3. ผูเรยี นจะเลอื กหนงั สอื อานไดอยางไร

18

1. ___________________________________________________
2. ___________________________________________________
3. ___________________________________________________
4. ประโยชนของการอานมีดังนี้
1. ___________________________________________________
2. ___________________________________________________
3.____________________________________________________

เรอ่ื งที่ 4 การเลือกอา่ นหนงั สือและประโยชน์ของการอา่ น

1. การเลอื กอ่านหนังสือ
1. อ่านหนงั สือตามความสนใจ หรือความต้องการซึง่ สามารถหาอา่ นได้ทีห่ ้องสมุดประชาชนหรือ

ศนู ยก์ ารเรยี นรชู้ มุ ชน หรือท่ีอื่น ๆ
2. การเลือกอ่านหนังสือก่อนอ่ืนจะตอ้ งดทู สี่ ารบัญ เพอ่ื ดูเนื้อหาวา่ ตรงกบั ความสนใจ และ

ต้องการอ่านหรือไม่
3. อ่านเพ่ือหาสาระไตร่ตรองกาํ หนดความต้องการ ให้อ่านรายช่ือหนงั สือในหน้าบรรณานุกรม

เพราะจะมรี ายชื่อหนงั สือท่ีประกอบการเขียน ซ่ึงจะมเี นื้อหาสาระใกลเ้ คียงกบั ส่งิ ทต่ี ้องการ
4. พจิ ารณาจากผ้เู ขียน วุฒกิ ารศึกษา หรือประสบการณ์ทาํ ใหเ้ ชอื่ มัน่ ได้ว่าเปน็ หนงั สือท่ีมีคุณภาพ
5. ดูจากชื่อหนังสือท่ีจะอ่าน นอกจากพจิ ารณาเน้ือหาสาระแล้ว จะต้องดูคุณภาพการพิมพ์

ตัวหนังสือ ภาพประกอบ และราคาว่าเหมาะสมหรือไม่
2. ประโยชนข์ องการอ่าน

ประโยชนท์ ี่ได้
1. ไดร้ บั ความรู้ ความคดิ และประสบการณ์ท่จี ะนําไปใช้ประโยชนไ์ ด้
2. ได้รบั ความเพลิดเพลนิ ผ่อนคลาย
3. ใช้เวลาว่างให้มปี ระโยชน์

กจิ กรรม
จงตอบคาถามต่อไปน้ี
1. ผูเ้ รียนจะเลอื กหนังสืออ่านไดอ้ ย่างไร

1. .......................................................................................................................... ......................
2. ................................................................................................................................................
3. .......................................................................................................................... ......................

19

2. ประโยชน์ของการอา่ น มดี ังนี้
1. .......................................................................................................................... ......................
2. ................................................................................................................................................
3. .......................................................................................................................... ......................

เรื่องที่ 5 มารยาทในการอานและสรางนสิ ัยรักการอาน

1. มารยาทในการอาน
1. ไมอานเสียงดงั รบกวนผูอื่น
2. อานเสรจ็ แลวควรเก็บหนงั สือไวทเ่ี ดิม
3. ไมควรอานเรือ่ งสวนตัวของผูอืน่
4. ไมขดี เขียนทําลายหนงั สอื ทเ่ี ปนสมบัติของสวนรวม
5. ไมชะโงกหนาไปอานในขณะทผี่ ูอ่ืนกาํ ลังอาน

2. การสรางนสิ ยั รกั การอาน
1. อานหนงั สือที่ตนเองชอบ
2. อานอยางมสี มาธิ และจบั ใจความได
3. อานหนังสอื ทุกคร้ังที่วาง
4. ควรมหี นงั สอื ตดิ ตวั เสมอเพ่ืออานไดทุกครั้งทต่ี องการ
5. ควรอานและจดบนั ทึกขอความ คติทตี่ นเองชอบ

กิจกรรม
จงตอบคาถามตอไปนี้
1. ผูเรียนจะมีมารยาทในการอานอะไรบาง ทนี่ อกเหนือจากการศกึ ษาขางตน

1. _______________________________________________________
2. _______________________________________________________
3. _______________________________________________________

20

บทท่ี 4
การเขยี น

สาระสาคญั
การเขยี นเปนทกั ษะสาํ คญั ทฝ่ี กฝนได การเขยี นอกั ษรไทยและการเขยี นสะกดคาํ ไดถูกตอง

จะนําไปสูการเขียนอ่ืน ๆ ไดเปนอยางดี
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ผูเรยี นสามารถ

1. อธิบายหลักการและความสาํ คญั ของการเขียนได
2. อธบิ ายการเขียนอกั ษรไทย สะกดคํา เขยี นสื่อสารและเขยี นตามรปู แบบตาง ๆ ได
3. อธบิ ายการเขยี นรายงานการคนควาและอางอิงความรู กรอกรายการได
4. บอกมารยาทในการเขยี นและนิสัยรักการอาน
ขอบขายเน้ือหา
เรอ่ื งที่ 1 หลกั การเขยี นและความสําคัญของการเขียน
เร่ืองท่ี 2 การเขยี นภาษาไทย
เรอื่ งที่ 3 การเขยี นสะกดคําและประสมคํา
เรอ่ื งที่ 4 การเขียนสอื่ สาร
เรือ่ งท่ี 5 การเขียนตามรปู แบบ
เร่ืองที่ 6 การเขียนรายงานการคนควาและอางอิงความรู
เร่อื งท่ี 7 การเขียนกรอกรายการ
เร่อื งท่ี 8 มารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขียน

21

เรื่องที่ 1 หลักการเขียนและความสาคัญของการเขยี น

1. หลักการเขยี น
1. ขอความทเี่ ขียนเรยี บรอยและสะอาด
2. มีความรู ความเขาใจในเรื่องทเ่ี ขียน
3. เขยี นถกู ตองตามหลกั ภาษา และสะกดถูกตอง
4. มจี ดุ มุงหมายในการเขยี น
5. เขยี นดวยความรูและความสามารถทถ่ี ายทอดความรู ความรูสกึ

ตามความตองการของตนได
2. ความสาคัญของการเขียน

1. เปนการสื่อสารทจี่ ะแจงใหผูอื่น ไดทาํ งานหรือปฏบิ ัติตาม
2. เปนการเผยแพรความรู วทิ ยาการใหผูอน่ื ไดทราบและนาํ ไปใชประโยชน
3. เปนการบันทึกสาระสําคญั เพอื่ เปนหลกั ฐานและนาํ ไปใชประโยชน
4. เปนการเขียนทส่ี ามารถนาํ ไปประกอบอาชีพได เชน การเขียนขาว และการเขยี น
นวนิยาย หรือการเขยี นบทละคร เปนตน

กจิ กรรม
จงตอบคําถามตอไปนี้

1. ผูเรียนมหี ลักการเขยี นอยา่ งไรบ้าง
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________

2. การเขยี นนําไปใชประโยชนไดอยางไรบาง
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________

เรอ่ื งที่ 2 การเขยี นภาษาไทย

1. พยญั ชนะ
ภาษาไทยมีพยญั ชนะ 44 ตวั คอื
กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรลวศ

ษสหฬอฮ
2. สระ

22

สระมี 21 รปู ดงั น้ี
ะ เรยี กวา วสิ รรชนยี
ั เรยี กวา ไมหนั อากาศ
็ เรยี กวา ไมไตคู
า เรยี กวา ลากขาง
ิ เรยี กวา พนิ ทุอิ
ุ เรยี กวา ตนี เหยยี ด
ู เรียกวา ตนี คู

เรียกวา ฝนทอง
ํ เรียกวา นิคหิต, นฤคหติ
“ เรยี กวา ฟนหนู
เ เรยี กวา ไมหนา
ใ เรยี กวา ไมมวน
ไ เรยี กวา ไมมลาย
โ เรียกวา ไมโอ
อ เรยี กวา ตัวออ
ย เรยี กวา ตัวยอ
ว เรยี กวา ตวั วอ
ฤ เรียกวา ตวั รึ
ฤา เรียกวา ตวั รือ
ฦ เรียกวา ตวั ลึ
ฦา เรียกวา ตวั ลอื

3. วรรณยุกต มี 4 รปู
1 เรียกวา ไมเอก
เรียกวา ไมโท
เรียกวา ไมต้ รี
เรียกวา ไมจัตวา

4. เลขไทย
เปนตัวอักษรทใี่ ชแทนการนับ คือ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙

23

กิจกรรม
จงตอบคาถามตอไปนี้

บอกชอ่ื สระดงั นี้
1. ะ เรยี กวา __________________________________________________
2. ุ เรยี กวา __________________________________________________
3. ู เรียกวา __________________________________________________
4. เ เรยี กวา __________________________________________________
5. ไ เรียกวา __________________________________________________
6. โ เรียกวา __________________________________________________
7. ย เรียกวา __________________________________________________
8. ว เรยี กวา __________________________________________________
9. ฤ เรียกวา __________________________________________________
10. ฦา เรียกวา __________________________________________________

เร่ืองท่ี 3 การเขยี นสะกดและประสมคา

1. การเขียนสะกดคา
การสะกดคาํ หมายถงึ การออกเสียงจําแนกคาํ เพ่ือใหทราบสวนประกอบของคาํ
1.1 คาทม่ี ีตัวสะกด เปนคําที่ประสมดวยพยญั ชนะ สระ และพยญั ชนะทายคํา แบงเปน

8 มาตรา
1.1.1 มาตราแมกง คอื พยางคท่ีมีตวั ง สะกด เชน จาง บาง
1.1.2 มาตราแมกม คือ พยางคท่ีมตี วั ม สะกด เชน ถม ดม
1.1.3 มาตราแมเกย คือ พยางคที่มตี วั ย สะกด เชน เลย ตาย
1.1.4 มาตราแมเกอว คือ พยางคที่มีตวั ว สะกด เชน สาว เลว แจว
1.1.5 มาตราแมกน คือ พยางคท่ีมีตวั น สะกด เชน กนิ นอน หรือทตี่ วั อ่นื ท่ี

ทาํ หนาที่และออกเสยี งเหมอื น น สะกด คือ ญ ณ ร ล ฬ เชน จรญู คูณ ขจร มลู และทมิฬ
1.1.6 มาตราแมกก คือ พยางคที่มีตวั ก สะกด เชน มาก จาก หรอื

ตวั อื่นทท่ี าํ หน้าทแ่ี ละออกเสียงเหมือนมี ก สะกดคือ ข ค ฆ เชน สขุ พรรค และเมฆ
1.1.7 มาตราแมกด คอื พยางคที่มตี วั ด สะกด เชน กด มด หรอื ตวั อื่นท่ีทํา

หนาทแี่ ละออกเสียงเหมอื นมีตวั ด สะกด เชน จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ และ ส เชน ดจุ ราช
กาซ กฎ นาฏศิลป รัฐ ครฑุ วฒุ ิ มารตุ รถ บาท พุทธ เพศ เศษ และรส

1.1.8 มาตราแมก่ บ คือ พยางค์ทม่ี ีตวั บ สะกด เช่น พบ ลบ หรือ ตัวอื่นท่ที ําหนา้ ท่ี
และออกเสยี งเหมือนมตี วั บ สะกด เชน่ ป พ ภ เช่น ทวีป ภาพยนตร์ โลภมาก ธปู เทียน นิพพาน

1.2 คาทไ่ี มมีตัวสะกด เปนคําท่ีประสมดวยพยญั ชนะตน สระ หรือคําทม่ี ีตวั สะกดในแม ก
กา เชน จะ นา ไป เปนตน
2. การประสมคา เปนการสรางคาํ โดยใชพยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต

24

คา พยัชนะ สระ ตัวสะกด วรรณยกุ ต
-
บาน บ า น -
ราน ร า น
งาม ง า ม
ลน้ิ ล ิ น

การอานออกเสยี งสะกด เชน บอ – อา – นอ – บาน
บาน อานวา งอ – อา – มอ – งาม
งาม อานวา รอ – อา – นอ – ราน – โท – ราน
ราน อานวา ลอ – อิ – น – โท – ล้นิ
ลิ้น อานวา

กิจกรรม
จงตอบคาถามตอไปน้ี

1. ให้ยกตัวอย่างคําที่สะกด ดวยแมกง แมกน แมกม แมกบ และ แมเกย
อยางละ 3 คํา
แมกง
__________________________________________________________________
แมกน
__________________________________________________________________
แมกม
__________________________________________________________________
แมกบ
__________________________________________________________________
แมเกย
__________________________________________________________________

2. ให้ยกตวั อย่างประสมคาํ ทมี่ พี ยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ตมา 5 ตวั
1._________________________________________________________________
2._________________________________________________________________
3._________________________________________________________________
4._________________________________________________________________

25

5._________________________________________________________________

เรอ่ื งท่ี 4 การเขยี นส่ือสาร

การเขยี นสอ่ื สาร หมายถึง การเขยี นทผ่ี ูอื่นอานแลว้ ไดความตามจดุ มุงหมายของผเู้ ขียน
ในระดับประถมศกึ ษานี้ ของผูเรยี น กศน.ควรจะเขียนสิ่งตาง ๆ เหลานี้ได
1. การเขียนประวตั ิตนเอง

การเขียนประวัติตนเองเปนการเขียนขอความเพ่ือแสดงตนใหผูอื่นรูจักรายละเอียด
เกย่ี วกับเจาของประวตั ิ หัวขอหลกั ๆ ควรมีดังนี้

ประวตั ติ นเอง

ช่อื ....................................................นามสกลุ ............................................................................................
เกดิ วันที่............เดือน ................................... พ.ศ. ................... อายุ .......................................................
สถานภาพสมรส................................................................................................. ........................................
อาชีพ................................................................................................................. ........................................
ท่อี ยู ...............................
...................................................................................................................................................................
สถานท่ที าํ งาน
............................................................................................................................. .....................................
ประวัตกิ ารศกึ ษา
............................................................................................................................. .....................................
ประสบการณในการทาํ งาน
..................................................................................................................................................... .............
..................................................................................................... .............................................................
ความรคู วามสามารถพเิ ศษ
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. การเขียนบนั ทกึ ประจาวนั

การเขียนบันทึกประจําวัน เปนการเขียนเก่ียวกับสิ่งที่ทํา ที่พบ หรือที่เกี่ยวของกับผูอ่ืนใน
วนั น้ัน ๆ หลักการเขียนบนั ทกึ ประจาํ วนั ไดแก

1. บนั ทึกเปนประจําทกุ วัน
2. บนั ทึกตามความเปนจริง

26

3. เลอื กบันทกึ เฉพาะเรอ่ื งสําคัญ หรือทตี่ องการจดจํา
4. ใชภาษา ถอยคาํ งาย ๆ อยางไมเปนทางการ และขอความกระชับ
5. อาจแทรกความรูสึก และความคิดเหน็ ของผูบันทกึ

ตัวอยางการเขยี นบนั ทกึ ประจาวนั
วนั ที่ 10 กุมภาพันธ

วันนี้ตื่นนอนตอนเชา ตองรีบไปทํางาน ที่ทํางานมีการประชุมเก่ียวกับแผนการทํางานในเดือน
มีนาคม ตัง้ แต เวลา 10.00 - 12.00 น. ตอนบายทํางานท่ียังไมเสร็จใหเสร็จ กลับบานและถึงบาน เวลา
18.30 น. รถติดมากถงึ ชากวาทกุ วัน เหน่อื ยกับการเดินทางมาก

3. การเขียนเลาเรอื่ งเก่ียวกบั ขาวหรอื เหตุการณ
การเขียนเลาเร่อื ง เปนการเขยี นจากประสบการณตรงใหผูอืน่ เขาใจ โดยมีหลกั การเขยี น ดงั นี้
1. เขียนตามความจริง
2. ใชภาษาทจ่ี ะใหผูอน่ื เขาใจและละเอียดพอท่ีจะอานเขาใจ
3. เขียนใหถูกตองตามหลักภาษาไทย
4. อาจจะมเี นื้อหาสาระ แสดงความคดิ เหน็ หรือขอเสนอแนะอ่นื ๆ ได

ตัวอยางการเขียนเลาเร่ือง
เหตกุ ารณทปี่ ระทบั ใจ

เม่ือหยุดงานไดไปเที่ยวทะเลที่จังหวัดระยอง เรียกวา บานเพ ขณะท่ีนั่งเลนริมชายหาด มีเด็กถูก
มอเตอร์ไซต์ชนจึงเดินไปดูเด็กไดรับบาดเจ็บเล็กนอย คงจะชนไมแรง รถมอเตอรไซค์ขับเลยไปแลว
ไมยอมหยุดดูเลย คงคิดวาไมเปนอะไรมาก เราจึงพาเด็กไปส่งที่สถานีอนามัยที่อยูใกลๆ เจาหนาที่ไดทํา
ความสะอาดบาดแผลและใสยาให เราไดพาเด็กไปสงที่บาน และเราก็กลับมานั่งชมทะเลท่ีบ้านเพตอ
จนถึงบาย 4 โมงเย็น จงึ กลับบาน

วันนี้ไดทาํ ความดี เปนเหตกุ ารณทปี่ ระทับใจทไี่ ดชวยเหลือเพื่อนมนุษย

กจิ กรรม

จงตอบคาถามตอไปน้ี
1. ผูเ้ รียนคิดวาในการเขียนประวัตติ นเอง ขอความใดสาํ คัญทส่ี ุด
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________
2. ใหผเู้ รียนเขียนบันทกึ ประจาํ วัน
____________________________________________________
____________________________________________________

27

____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________

3. ใหผู้เรียนเขียนเลาเร่ืองหรอื เหตุการณท่ีประทบั ใจ
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________

เรอ่ื งท่ี 5 การเขยี นตามรปู แบบ

การเขียนตามรูปแบบ เปนการเขยี นตามแบบที่กาํ หนด เชน การเขียนเรียงความ
1. การเขียนเรยี งความ

การเขยี นเรียงความ เปนการแสดงออกทางความคดิ และประสบการณของผูเขยี นเพ่ือให
ผู้อืน่ ทราบ ซง่ึ มรี ปู แบบในการเขียน

1. ชื่อเรอ่ื งจะบอกเคาโครงเร่อื งได เชน โรงเรียนของฉนั ชุมชนทฉ่ี นั อยู เปนตน
2. การเขยี นเรยี งความจะมอี งคป์ ระกอบอยู่ 3 สวน คือ

1. คาํ นํา เปนการเริ่มตนของเรียงความทเี่ ป็นสวนดงึ ดูดใจ ใหสนใจอานท้ังเรอ่ื ง
2. เนือ้ เรื่อง เปนเนือ้ หาสาระของเรยี งความทงั้ เรื่อง จะตองคิดโครงเรอ่ื งกอนจึงจะ
เขียนและเขียนรายละเอยี ดตอไป
3. บทสรปุ เปนการสรปุ แกนของเรอื่ ง ไมควรจะยาวมาก
2. การยอความ
การยอความเปนการสรุปใจความสาํ คัญจากเร่ืองทอ่ี านดวยภาษาหรอื สํานวนของตนเอง
หลักการยอความ
1. ยอความตามรูปแบบของการยอความ
2. อานเรอื่ งที่จะยอจนเขาใจ
3. พิจารณาใจความสาํ คญั และนํามาเขยี นเปนภาษาหรือสาํ นวนของตนเอง
4. รปู แบบของการยอความ จะมีคํานํา เพ่ือเขยี นทีม่ าเบื้องตนของยอความนัน้ เชน
ยอความเรื่อง................................................ของ (ผูแตง)...............................................................
จากหนังสอื .............................................................ความวา......................................................................
ยอขาวเรอ่ื ง………….......................................เขยี นโดย................................................................................
จากหนังสอื ........................................ ความวา.............................................................................
ยอหนาตอมาจะเปนใจความสาํ คัญจากการอาน.........................................................................................

28

ตวั อยางยอความ
เมอื งโอ่งแนะระวงั ไฟปา

นายสุเมธ ชัยเลิศวณิชกุล ผูวาราชการจังหวัดราชบุรี กลาวถึงการรณรงคประชาสัมพันธ
ปองกันไฟปาวา เนื่องจากในขณะน้ีเขาสูชวงท่ีมีอากาศแหงแลงและมีลมแรง อีกทั้งเปนระยะเวลาที่
เกษตรกรเก็บเก่ียวพืชผลทางการเกษตรแลว และมักจะเผาซากพืช ตอซัง ขาวฟ่าง อันเป็นเหตุใหเกิด
ไฟไหมลกุ ลามเขาไปยงั พืน้ ท่ีปาไม จนกลายเปนไฟปา สรางความเสียหายแกพันธุไมและสัตวปา รวมท้ัง
ทําใหสภาวะโลกร้อนรุนแรงย่ิงข้ึน ดังนั้นจังหวัดราชบุรี จึงขอความรวมมือจากประชาชนในจังหวัด
อยาเผาวสั ดสุ ่ิงของใด ๆ อันเปนสาเหตุใหเกิดไฟปาได และหากพบเห็นไฟปา กรุณาแจงใหศูนยปฏิบัติการ
ควบคุมไฟปาภาคกลางทราบดวย

(หนังสือพิมพเดลินิวส ฉบับวนั ท่ี 11 กมุ ภาพันธ์ 2552)
ยอขาวเร่ือง เมืองโองแนะระวังไฟปาจากหนังสือพิมพเดลินิวส ฉบับวันท่ี 11 กุมภาพันธ
หนา 15 ความวา
นายสุเมธ ชัยเลิศวณิชกุล ผูวาราชการจังหวัดราชบุรี จัดใหมีการรณรงคประชาสัมพันธ
ใหประชาชนระวังไฟปาเผาซากพืช ตอซัง ฟางขาว จนเกิดเหตุเปนไฟปาสรางความเสียหายแกพันธุไม
สัตวปา และทาํ ใหภาวะโลกรอน หากพบเหน็ ไฟปาแจงศูนยปฏบิ ัติการควบคุมไฟปาภาคกลางทราบ
3. การเขียนจดหมาย

จดหมายที่ผูเรยี นควรศึกษาในระดบั ประถมศกึ ษา คือ การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ
หลกั การเขียนจดหมาย

1. เขยี นใหสะอาดเรียบรอย
2. อานและเขาใจความประสงคชัดเจน
3. ใชภาษาสุภาพและถูกตองตามหลกั ภาษา
4. ถูกตองตามรปู แบบการเขยี นจดหมาย

รปู แบบการเขยี นจดหมายกจิ ธุระ
สถานท่ี...................................................
วนั ..........เดอื น.....................ป

เรื่อง ........................................................................
เรียน .......................................................................

(ขอ้ ความ)
......................................................................................... ...........................................................................
............................................................................................................................. .......................................
.............................................................................................................................................. ......................

คําลงทาย ..............................................
ชือ่ ผูเขียนจดหมาย .......................

ตวั อยางการเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ

กลมุ พัฒนาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ต.บางใหญ อ. บางใหญ จ.นนทบรุ ี 11140
12 กุมภาพนั ธ

29

เร่ือง ขอยืมอุปกรณกีฬา
เรยี น ผูอํานวยการ กศน. อาํ เภอบางใหญ

ดวยกลมุ พฒั นาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จะใหมีการแขงขันกีฬาภายใน ในวนั ที่ 20 กุมภาพันธ
เวลา 8.00 – 17.00 น.

จึงใครขอยมื อุปกรณกฬี า เพ่ือใชประกอบการแขงขนั จํานวน 5 รายการ ดงั นี้
1. ลูกฟุตบอล 3 ลูก
2. ลกู บาสเก็ตบอล 2 ลกู
3. ไมแบดมินตนั 3 คู
4. เซปกตะกรอ 8 ลกู
5. นกหวดี 5 ตวั
โดยจะคืนอปุ กรณดังกลาว ภายในวนั ท่ี 21 กุมภาพันธ
จึงเรยี นมาเพ่อื โปรดทราบและพจิ ารณา

ขอแสดงความนบั ถือ

(นายเดชา ไทยจงเจรญิ )
ประธานกลุมพัฒนาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กจิ กรรม
1. ทานคิดวาในการเขยี นประวัตติ นเอง ขอความใดสําคัญทสี่ ดุ เพราะเหตุใด
2. เขียนเรยี งความเรอื่ งครอบครวั ของฉนั
3. ยอขาวจากหนงั สือพิมพ 1 เรอ่ื ง โดยแนบตนฉบบั ขาวดวย
4. เขียนจดหมายกิจธุระ 1 ฉบับ

___________________________________________________________
___________________________________________________________
___________________________________________________________
___________________________________________________________
___________________________________________________________

เรอื่ งที่ 6 การเขียนรายงานการคนควาและอางอิงความรู

1. การเขยี นรายงานการคนควา
การเขยี นรายงานเปนการเขียนผลการศึกษาจากการคนควา เพื่อนําเสนอผูบังคบั บัญชา

หรือผูสอน
หลักการเขียนรายงาน
1. ขอมลู ทเ่ี ขียนตองเปนความจรงิ
2. ขอมูลใดที่นํามาจากผูรอู นื่ ตองเขยี นเปนเชิงอรรถและบรรณานกุ รม
3. เขียนเปนทางการ ใชภาษาถกู ตอง และชดั เจน

30

สวนประกอบของรายงาน
1. ปกหนา ประกอบดวยชอ่ื เร่ือง ชอ่ื ผูเขยี น และนําเสนอผูใด
2. คาํ นํา เปนความเรียงมี 3 สวน คือ ความเปนมาและวัตถปุ ระสงค สาระของรายงาน
ประโยชนทไี่ ดรับและขอบคณุ ผูมสี วนชวยเหลอื
3. สารบัญ
4. เนอ้ื หาสาระ
5. บรรณานุกรม
2 . การเขียนอางอิงความรู

การเขยี นอางองิ ความรู หมายถึง การเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรม
1. เชงิ อรรถ

เชงิ อรรถเปนชอื่ ผูเขยี น ปที ่ีพิมพและเลขหนาหนังสือท่ีนําไปใชประกอบการเขียน เชน
อุทัย ศิริศักดิ์ (2550, หนา 16) การเขียน อางอิงแบบนี้จะไมไดเขียนชื่อหนังสือ ชื่อหนังสือจะเขียน
ในหนาบรรณานุกรม

2. บรรณานุกรม
บรรณานุกรม ประกอบดวยรายชื่อหนงั สือทใ่ี ชประกอบการเขยี น โดยจะตองเขยี น

เรียงตามตัวอกั ษรชือ่ ผูแตง โดยเขยี นชื่อผูแตง ช่ือหนังสือ ชอ่ื สถานทพ่ี มิ พ ชอื่ โรงพมิ พและปทพี่ มิ พ เชน
กนกอร ทองคาํ . การใชภาษาไทย, กรงุ เทพฯ : ไทยววิ ัฒน
ศิรอิ ร ทองอําไพ. หลักการใชภาษา, นนทบรุ ี :ไทยเจรญิ , 2550

31

กจิ กรรม

จงตอบคาํ ถามตอไปนี้
1. สวนประกอบของรายงาน มดี งั น้ี
____________________________________________________________________
____________________________________________________________________
____________________________________________________________________
____________________________________________________________________
2. ขอความในเชิงอรรถ บอกอะไรบาง
____________________________________________________________________
____________________________________________________________________
____________________________________________________________________
____________________________________________________________________
3. บรรณานุกรม บอกใหเรารอู ะไรบาง
____________________________________________________________________
____________________________________________________________________
____________________________________________________________________
____________________________________________________________________

เรอื่ งที่ 7 การเขยี นกรอกรายการ

การกรอกรายการเปนการกรอกแบบฟอรมของหนวยราชการ หรอื หนวยงานตาง ๆ ทใ่ี หกรอก
เพ่ือแสดงขอมูลทหี่ นวยงานนน้ั ๆ ตองการทราบ เชน การกรอกใบสมัครเรยี น การกรอกแบบฟอรม
การตดิ ตง้ั โทรศพั ท หรือการกรอกแบบฟอรมการขอใชไฟฟา เปนตน
หลกั การกรอกแบบรายการ

1. อานขอความในแบบรายการน้นั ๆ ใหเขาใจกอนจะเขยี นขอความ
2. เขียนใหถูกตองและสะอาด
3. กรอกขอความตามความจรงิ
4. ใชถอยคาํ ส้นั ๆ และกะทัดรัด
5. ปฏบิ ตั ิตามขอบงั คับ หรอื คําแนะนําของแบบรายการนั้น ๆ

แบบรายการท่ีจะใชในชวี ติ ประจาวัน
1. แบบฟอร์มธนาณตั ิ
2. แบบฟอร์มสงพัสดุทางไปรษณยี
3. แบบฟอรม์ สมคั รตาง ๆ
4. แบบฟอร์มคํารอง

32

5. แบบฟอรม์ สัญญา
6. แบบฟอรม์ ฝากเงนิ แบบฟอร์มถอนเงิน ของสถาบนั การเงิน

กิจกรรม
ใหผูเรยี นเลอื กกรอกแบบรายการ ขางลางนี้ 2 ชนิด โดยใชแบบฟอรมจริงจากหนวยงานนน้ั ๆ
และจดั เกบ็ ไว้ในสมุดแบบฝกึ หดั หรอื แฟ้มข้อมูลวชิ าภาษาไทย
1. แบบฟอร์มธนาณัติ
2. ใบสงพัสดุทางไปรษณยี
3. ใบสมัครตาง ๆ
4. ใบคาํ รอง
5. หนงั สอื สญั ญา
6. ใบฝากเงิน ถอนเงนิ ของสถาบนั การเงนิ

เร่อื งท่ี 8 มารยาทในการเขยี นและนิสยั รกั การเขยี น

1. มารยาทในการเขยี น
1. เขยี นถกู ตองและชัดเจนใหผูอน่ื อานได
2. เขียนเชิงสรางสรรค ไมเขียนเพอื่ ทาํ ลายหรือทาํ ใหเกดิ ความเสียหายแกผอู ืน่
3. เขยี นในสถานทคี่ วรเขยี น ไม่เขียนในที่ไมสมควร เชน สถานท่ีสาธารณะ
4. เขยี นทกุ อยางดวยขอมูลท่ีเปนความจรงิ
5. ไมขีดหรอื เขียนขอความในหนงั สอื เอกสารและอื่น ๆ ทเ่ี ปนของประชาชนโดยรวม

เชน หนงั สอื ในศนู ยการเรยี น หรอื หองสมุด
2. นิสัยรกั การเขยี น

1. เร่ิมตนดวยการเขียนส่ิงท่ีงาย และไมใชเวลามาก
2. เขียนตอเนื่องจากการเขยี นครัง้ แรก เชน การเขยี นบันทึกประจาํ วัน
3. เร่มิ เขยี นดวยขอความท่ีงายและส้นั และกําหนดเวลากับตนเอง ใหพยายามเขียน
ทุกวนั ตามระยะเวลาทพี่ อใจ จะทําใหเขียนไดโดยไมเบื่อหนาย

กจิ กรรม

จงตอบคาํ ถามตอไปนี้
1. มารยาทในการเขียนของผูเรยี น มอี ะไรบาง
1. __________________________________________________
2. __________________________________________________
3. __________________________________________________
4. __________________________________________________
5. __________________________________________________
2. ผูเรยี นจะปฏิบัตติ นอยางไร จงึ จะถือว่าเปนการสรางนิสยั รกั การเขยี น
1. __________________________________________________

33

2. __________________________________________________
3. __________________________________________________

34

บทท่ี 5
หลักการใชภาษา

สาระสาคัญ
หลกั การใชภาษาเปนการนําความรูทางภาษามาใชจริงตามลกั ษณะกฎเกณฑของภาษาไทย

ซง่ึ ประกอบดวยอกั ษรไทย พยางค คาํ ในมาตราตวั สะกด ชนดิ ของคาํ ประโยค และอืน่ ๆ
ผลการเรยี นรูที่คาดหวัง ผูเรียนสามารถ

1. อธิบาย เสยี ง รปู อักษรไทย พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต และไตรยางคได
2. อธิบายการใชคํา ชนิดของคํา หนาที่ของคํา ประโยค เคร่ืองหมายวรรคตอนและการใช
พจนานกุ รมได
3. อธบิ ายสํานวน คําพงั เพย สภุ าษิต คาํ ราชาศัพท และคาํ สุภาพได
4. อธิบายการใชภาษาอยางเหมาะสมตามกาลเทศะ บุคคล และสถานการณ์
ขอบขายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 เสยี ง รปู อกั ษรไทยและไตรยางค
เรอ่ื งท่ี 2 ความหมายและหนาที่ของคํา กลุมคําและประโยค
เร่อื งที่ 3 เครอื่ งหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ
เรือ่ งที่ 4 หลกั การใชพจานุกรม คาํ ราชาศัพทและคาํ สภุ าพ
เรอื่ งที่ 5 สํานวนภาษา
เรือ่ งที่ 6 การใชทกั ษะทางภาษาเปนเครือ่ งมือในการแสวงหาความรู
เร่อื งท่ี 7 ลกั ษณะของคาํ ไทย คําภาษาถนิ่ และคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย

35

เร่อื งท่ี 1 เสยี ง รูปอักษรไทย และไตรยางค

ผูเรียนไดศกึ ษารปู อักษร คอื พยญั ชนะ 44 ตวั สระ 21 รูป วรรณยุกต รปู และเลขไทย
๐ – ๙ แลวในเรือ่ งท่ี 2 การเขยี นอักษรไทย ซง่ึ อยูในบทที่ 4 การเขยี น

ในเรอ่ื งนี้ผูเรียนจะไดศกึ ษาเสยี งของภาษาไทย คอื เสียงพยัญชนะ เสยี งสระ
และเสยี งวรรณยุกตตามรายละเอยี ด ดังน้ี

1. เสียงพยัญชนะ เสียงพยัญชนะมี 21 เสียง

รปู พยัญชนะ เสยี งพยญั ชนะ

ก ก - กอ

ขฃคฅ ฆ ค - คอ

ง ง - งอ

จ จ - จอ

ช ฌ ฉ ช - ชอ

ซสศษ ซ - ซอ

ด ฎ ด - ดอ

ต ฏ ต - ตอ

ทธฑฒถฐ ท - ทอ

น ณ น - นอ

บ บ -บอ

ฟ ฟ - ฟอ

พ ภ ผ พ - พอ

ฟ ฝ ฟ - ฟอ

ม ม – มอ

รปู พยัญชนะ เสียงพยญั ชนะ

36

ย ย - ยอ
ร ร - รอ
ล ล - ลอ
ว ว - วอ
ฮ ห ฮ - ฮอ
อ อ – ออ

พยัญชนะต้นของคําบางคาํ มกี ารนําพยญั ชนะมารวมกนั แลวออกเสียงพรอมกนั
เรียกวา “เสียงควบกลํา้ ” มีทใี่ ชกันพอยกเปนตวั อยางได ดังน้ี

1. กว เชน แกวง / ไกว
2. กร เชน กรอบ / กรงุ
3. กล เชน กลอง / กลับ
4. คว เชน ควาย / ควา
5. คร เชน ใคร ครวญ
6. คล เชน คลอย / เคลม้ิ
7. พร เชน พระ / โพรง
8. พล เชน พลอย / เพลง
9. ปร เชน ปราบ / โปรด
10. ปล เชน ปลุก / ปลอบ
11. ตร เชน ตรวจ / ตรอก
12. ทร เชน จนั ทรา / ทรานซสิ เตอร
13. ฟร เชน เฟรน / ฟรี
14. ฟล เชน ฟลกุ / แฟลต
15. บล เชน บล็อก / เบลอ
16. ดร เชน ดราฟท
2. เสยี งสระมี 24 เสียง โดยแบงเปนเสยี งสน้ั และเสียงยาว

สระเสียงส้ัน สระเสียงยาว
อะ อา
อิ อี

37

อึ ออื
อุ อู
เอะ เอ
แอะ แอ
โอะ โอ
เอาะ ออ
เออะ เออ
เอียะ เอยี
เออื ะ เอือ
อัวะ อวั

3. เสยี งวรรณยกุ ต มี 5 เสยี ง คือ
เสียงสามญั เชน กา
เสียงเอก เชน ก่า
เสียงโท เชน กา
เสยี งตรี เชน กา
เสียงจัตวา เชน กา
คําไทยทกุ คํามีเสียงวรรณยกุ ต แตอาจไมมีรูปวรรณยกุ ต เช่น ขอ หนู หู ตงั

4. ไตรยาค์ คือ อักษร 3 หมู ซง่ึ แบงตามเสยี ง ดงั น้ี
1. อกั ษรสงู มี 11 ตวั คอื ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
2. อักษรกลางมี 9 ตวั คือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
3. อกั ษรตํา่ มี 24 ตวั คอื ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ
นพฟภมยรลวฬฮ

ตวั อยางการผนั วรรณยกุ ต

อกั ษร 3 หมู เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสยี งจัตวา

38

อกั ษรกลาง กา กา กา กา กา

- กะ กะ กะ -

อักษรสงู - ขา ขา - ขา

- ขะ ขะ - -

อกั ษรตา่ํ คา - คา คา -

- - คะ คะ -

กจิ กรรม

จงเตมิ คาํ และข้อความให้ถูกต้อง

1. เสยี งพยัญชนะมี__________________เสียง

2. เสยี งสระมี______________________เสียง

3. เสียงวรรณยุกตม_ี ________________เสียง

4. นา มเี สียงวรรณยุกต

หมา มเี สยี งวรรณยกุ ต

กนิ มเี สียงวรรณยกุ ต __

สิน มีเสียงวรรณยกุ ต

พลอย มีเสยี งวรรณยกุ ต

5. ไตรยางค์ คอื ______________________________________________

เรื่องที่ 2 ความหมายและหนาทขี่ องคา กลุมคา และประโยค

คา หมายถึง เสียงที่เปลงออกมาแลวมีความหมาย จะมีก่ีพยางคก็ได เช่น ไก่ ขนม นาฬิกา
เปน็ ต้น

พยางค์ หมายถึง เสียงทเี่ ปลงออกมาครั้งหนง่ึ จะมีความหมายหรือไมมีก็ได เสียงท่ีเปลงออกมา
1 ครง้ั ก็นับวา 1 พยางค เชน นาฬกิ า มี 3 พยางค แตมี 1 คาํ แมนาํ้ มี 2 พยางค แตมี 1 คาํ
มคี วามหมายวา ลํานา้ํ ใหญ ซง่ึ เปนทีร่ วมของลาํ ธารทงั้ ปวง

ชนิดของคา คําท่ีใชในภาษาไทยมี 7 ชนิด คือ คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ
คาํ บพุ บท คําสนั ธาน และคําอทุ าน ซง่ึ คาํ แตละชนดิ มีหนาทแ่ี ตกตางกนั ดงั น้ี

1. คานาม คอื คําทใ่ี ชเรยี กช่ือคน สตั ว สง่ิ ของ สถานท่แี ละคําทบ่ี อก กริ ิยาอาการหรือลักษณะ
ตางๆ ทําหน้าท่ีเปน็ ประธานหรอื กรรมของประโยค
ตวั อยาง

39

คําทใี่ ชเรียกช่ือ เรียกชือ่ สัตว = แมว ชาง หมู
ท่ัวไป เรยี กชื่อส่ิงของ = ดนิ สอ พดั ลม โตะ

คําทใ่ี ชเรยี กชอื่ เรียกชอ่ื สถานที่ = โรงเรียน กรงุ เทพมหานคร
เฉพาะบุคคล เรียกช่อื คน = สมศกั ด์ิ พรทพิ ย
หรอื สถานที่
บอกหมวดหมู = ฝงู กรม กอง โขลง
คาํ ทใ่ี ชแสดง
การรวมกันเปน บอกอาการหรือบอก = จะมคี ําวา “การ” และ “ความ”
หมวดหมู
คุณลักษณะที่ไมมีตัวตน นาํ หนาคาํ กริยา เชน ความสุข
คําทใี่ ชบอกอาการ
หรือคุณลักษณะท่ี
ไมมตี ัวตน

คําทีบ่ อก นามที่ใชตามนามอืน่ ๆ = นาฬิกา 1 เรอื น

ลักษณะ2. คาสรรพนาม คือเคพําอ่ื ทบใี่ อชกแลทักนษคณํานะาขมอหงรือขอความวทัว่ีกล3าตววัมาบแาลนวใ3นหกลรณงั ีท่ีไมตองการกลาว
คาํ น้นั ซาํ้ อีก ทําหนาทเ่ี ชนเดยี วกับคาํ นาม

ตัวอยาง

สรรพนามแทน ขา ขาพเจา กระผม ผม เรา อาตมา ฉนั (แทนผูพดู )

ผูพดู /ผูฟงและ เธอ ทาน มึง เอ็ง พระคณุ เจา (แทนผูกําลังพูดดวยหรือผูฟง)

ผูทกี่ ลาวถงึ เขา พวกเขา พวกมนั (แทนผูทถ่ี ูกกลาวถงึ )

สรรพนามทกี่ ําหนด น่ี โนน โนน
ใหรคู วามใกลไกล

สรรพนามคําถาม ใคร อะไร ทไ่ี หน อนั ไหน

3. คากริยา คือ คําท่ีแสดงการกระทําอยางใดอยางหน่ึงของคํานาม คําสรรพนาม หรือแสดง

การกระทาํ ของประธานในประโยค ใชวางตอจากคาํ ทเี่ ปนประธานของประโยค

ตัวอยางคํากริยา ไดแก วง่ิ ยนื เดนิ น่ัง นอน พดู ไป กิน เลน ฯลฯ

คาํ กริยาที่ตองมกี รรม นักเรียน ซอ้ื หนังสือ
มารับขางทายจงึ จะ นายแดง กนิ ขาว

40

ไดความสมบรู ณ นกรอง
เธอรองไห
คํากรยิ าไมตองมี
กรรมมารับขางทาย

คาํ กริยาท่ีตองอาศยั ฉัน เปน แมบาน
สวนเติมเต็มหรอื เธอ อยู ภเู กต็
ต้องมีกรรมมารบั

4. คาวิเศษณ คือ คําที่ใชประกอบคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา เพื่อบอกลักษณะหรือ

รายละเอยี ดของคํานั้น ๆ คําวิเศษณสวนมากจะวางอยูหลังคําทตี่ องการบอกลกั ษณะหรอื รายละเอยี ด

คําวเิ ศษณ ไดแก สงู ตาํ่ ดาํ ขาว แก รอน เยน็ เลก็ ใหญ ฯลฯ

ตัวอยาง

เขาใสเสอ้ื สีแดง

จ๋มิ เรียนหนงั สือเกง

คนตวั สงู ว่งิ เร็ว

5. คาบพุ บท คอื คาํ ทแ่ี สดงความสัมพันธระหวางประโยคหรอื คาํ หนา กับประโยคหรอื

คําหลัง

ตัวอยาง

บอกสถานท่ี ใน นอก บน ใต ลาง ไกล ใกล

นกเกาะอยูบนตนไม

บอกความ แหง ของ

เปนเจาของ การรถไฟแหงประเทศไทย

แสดงความเปน

ผูรับหรอื แสดง กับ แก แด ตอ โดย เพอ่ื ดวย

ส่ิงทที่ ํากรยิ า

6. คาสนั ธาน คือ คาํ ทใ่ี ชเชอ่ื มขอความหรอื ประโยคใหเปนเร่ืองเดียวกัน

ตวั อยาง

แต กวา...ก็ ถึง...ก็

กวาถว่ั จะสกุ งาก็ไหม

พ่ีไปโรงเรียนแตนองอยูบาน

41

เชอ่ื มความขัดแยงกนั กับ พอ...ก็ คร้นั ...ก็
พอกบั แมไปเท่ียว
เชื่อมความที่ พอฝนหายตกฟาก็สวาง
คลอยตามกนั

เชือ่ มความทเี่ ปน เนื่องจาก จึง ฉะนน้ั เพราะ
เหตุเปนผลกัน เนอ่ื งจากฉนั ตน่ื สายจงึ ไปทาํ งานไมทนั
สาเหตุของวัยรุนตดิ ยาเสพตดิ เพราะครอบครัวแตกราว

7. คาอทุ าน คือ คําทเ่ี ปลงออกมา แสดงถงึ อารมณหรือความรูสึกของผู้พูด มักอยูหนาประโยค
และใชเครื่องหมายอศั เจรยี )กํากับหลงั คําอทุ าน
ตวั อยาง คําอุทาน ไดแก โธ อยุ ! เอา! อา!

กลมุ คาวลี คอื คําท่ีเรียงกันตั้งแต คําขึ้นไป สื่อความได แตยังไมสมบูรณ ไมเปนประโยค
กลุมคาํ สามารถทาํ หนาที่เปนประธาน กริยา หรอื กรรมของประโยคได

ประโยค คือ ถอยคําที่เรียบเรียงขึ้นไดใจความสมบูรณ ให้รู้ว่า ใคร ทําอะไร อย่างไร
ในประโยคอยางนอยตองประกอบดวยประธานและกรยิ า
โครงสรางของประโยค

ประโยคจะสมบรู ณได จะตองประกอบดวย 2 สวน คอื สวนทเ่ี ปนภาคประธาน และสวนทเี่ ปน
ภาคแสดง

สวนทเ่ี ปนภาคประธาน แบงออกเปน ประธาน และสวนขยาย
สวนทเี่ ปนการแสดง แบงออกเปน กริยา สวนขยาย กรรม สวนขยาย

ตัวอยาง ภาคประธาน ภาคแสดง
ประโยค
ประธาน สวนขยาย กริยา สวนขยาย กรรม สวนขยาย

42

เดก็ เดนิ เดก็ - เดิน - - -

พอกินขาว พอ - กนิ - ขาว -

พ่ีคนโตกนิ ขนม พี่ คนโต กนิ - ขนม -

แมของฉนั วิ่ง แม ของฉัน วงิ่ ทุกเชา - -

ทุกเชา

สุนขั ตวั ใหญ สุนัข ตวั ใหญ ไล กัด สุนขั ตัวเลก็

ไลกัดสุนัขตวั เลก็

นักเรยี นหญงิ นกั เรียน หญงิ เลน - ดนตรี ไทย

เลนดนตรีไทย

การใชประโยคในการส่อื สาร
ประโยคท่ีใชในการสื่อสารระหวางผูส่ือสาร (ผูพูด) กับผูรับสาร (ผูฟง, ผู้อ่านและผู้ดู) เพื่อใหมี

ความเขาใจตรงกนั น้ันจาํ เปนตองเลือกใชประโยคใหเหมาะสมกับการสอ่ื สาร ซง่ึ จาํ แนกไดดังน้ี
1. ประโยคบอกเลา เปนประโยคที่บอกเรื่องราวตางๆใหผูอื่นทราบวา ใคร ทําอะไร ท่ีไหน

เมอ่ื ใด ทําอยางไร เชน คณุ พอชอบเลนฟุตบอล
2. ประโยคปฏเิ สธ เปนประโยคทม่ี ีใจความไมตอบรับ มกั มคี ําวา ไม ไมใช ไมได มิได เชน ฉันไม

ชอบเดินกลางแดด
3. ประโยคคาถาม เปนประโยคที่มีใจความเปนคําถามซึ่งตองการคําตอบ มักจะมีคําวา ใคร

อะไร เมื่อไร เหตุใด เทาไร วางอยูตนประโยคหรือทายประโยค เชน ใครขโมยปากกาไป ปลาชอนตัวนี้มี
น้ําหนักเทาไร

4. ประโยคแสดงความตองการ เปนประโยคที่มีใจความท่ีแสดงความอยากได อยากมี หรือ
อยากเปน มกั จะมีคําวา อยาก ตองการ ปรารถนา เชน นักเรียนไมอยากไปโรงเรียน หมอตองการรักษา
คนไขใหหายเรว็ ๆ

5. ประโยคขอรอง เปนประโยคทมี่ ีใจความ ชกั ชวน ขอรอง มกั จะมคี าํ วา โปรด วาน กรุณา ชวย
เชน โปรดใหความชวยเหลอื อีกครัง้ ชวยยกกลองนี้ไปดวย

6. ประโยคคาส่ัง เปนประโยคที่มีใจความที่บอกใหทําสิ่งใดส่ิงหน่ึง หรือหามทํา ไมใหทํา เชน
นายสมศักดิ์ตองไปจังหวดั ระยอง บคุ คลภายนอกหามเขา เด็กทุกคนอยาเลนเสียงดงั

กิจกรรม
จงสร้างกล่มุ คําและประโยคทก่ี าํ หนดให้ตอไปนี้

1. สรางกลมุ คาํ หรอื วลีโดยใชคําทกี่ าํ หนดให
1. เดิน __________________________________________________
2. ชน __________________________________________________
3. แดง __________________________________________________
4. นํา้ __________________________________________________

43

2. สรางประโยคโดยใชกลุมคําจากขอ 1 มาจํานวน 4 ประโยค พรอมกับระบุดวยวาเปนประโยค
ประเภทใด

1. ______________________________________________________
2. ______________________________________________________
3. ______________________________________________________
4. ______________________________________________________

เรื่องที่ 3 เคร่อื งหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ

1. เครื่องหมายวรรคตอน
การใชเคร่อื งหมายในภาษาไทย นอกจากจะเขาใจในเรอ่ื งการเวนวรรคตอนแลว

ยงั มีเครือ่ งหมายอนื่ ๆ อกี มาก ทัง้ ที่ใชและไมคอยไดใช ไดแก

เครือ่ งหมาย วธิ ีการใช

1. , จลุ ภาค ใชคั่นระหวางคํา หรอื คนั่ กลุมคาํ หรอื ค่นั ชื่อเฉพาะ เชน ด,ี เลว

2. . มหัพภาค ใชเขียนจบขอความประโยค และเขียนหลงั ตวั อักษรยอ
หรอื ตัวเลขหรือกาํ กบั อกั ษรขอยอย เชน มี.ค. , ด.ช. , 1. นาม,
ก.คน ข. สตั ว 10.50 บาท, 08.20 น.

3. ? ปรัศนี ใชกับขอความทเ่ี ปนคาํ ถาม เชน ปลาตวั นี้ราคาเทาไร?

4. ! อศั เจรีย ใชกับคําอทุ าน หรอื ขอความทแี่ สดงอารมณตางๆ เชน อุย
ตายตาย! พุทธโธเอย! อนจิ จา!

5. ( ) นขลิขิต ใชค่ันขอความอธิบายหรือขยายความขางหนาใหแจมแจง
เชน นกมหี ูหนูมีปก (คางคาว) ธ.ค.(ธันวาคม)

6. ___ สญั ประกาศ ใชขดี ใตขอความสําคัญ หรือขอความทใี่ หผอู านสังเกต
เปนพเิ ศษ เชน งานเร่ิมเวลา 10.00 น.

7. “ ” อญั ประกาศ ใชสาํ หรบั เขยี นครอ่ มคาํ หรือข้อความ เพอ่ื แสดงวา่ ข้อความน้ัน
เป็นคําพดู หรือเพอ่ื เน้นความน้ันให้เด่นชดั ขน้ึ เชน่ “พดู ไป
สองไพเบ้ีย นงิ่ เสียตําลงึ ทอง”

8. – ยัติภังค ใชเ้ ขียนระหว่างคําท่ี เขียนแยกพยางค์กนั เพื่อให้รู้พยางค์
หนา้ กบั พยางค์หลังน้ันติดกนั หรือเป็นคําเดียวกัน คาํ ที่เขียน


Click to View FlipBook Version