The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-11-24 23:04:34

ภาษาไทย ประถม

ภาษาไทย ประถม

44

เคร่อื งหมาย วิธกี ารใช

แยกนั้นจะอยใู่ นบรรทดั เดยี วกนั หรอื ต่างบรรทัดกันก็
ได้ เชน่ ตัวอยา่ งคาํ ว่า ฎีกา ในกรณีคาํ อยู่ในบรรทดั เดยี ว
เชน่ คําว่า สปั ดาห์ อ่านวา่ สับ - ดา

9. ..... เสนไขปลาหรือ ใชแสดงชองวาง เพ่อื ใหเติมคําตอบ หรอื ใชละขอความท่ี
เสนปรุ ไมตองการเขยี น เชน ไอ า ! หรือละขอความท่ียกมา
เพียงบางสวน หรอื ใชแสดงสวนสมั ผสั ทไี่ มบงั คับของ
คําประพนั ธ

10. ๆ ไมยมก ใชเขียนเพื่อซาํ้ คาํ ซาํ้ วลี ซาํ้ ประโยคสนั้ ๆ เชน
ดาํ ๆ แดง ๆ วันหนึง่ ๆ ทลี ะนอย ๆ พอมาแลว ๆ

11. ฯลฯ ไปยาลใหญ ใชละขอความตอนปลายหรือตอนกลาง เชน สตั วพาหนะ ได
(เปยยาลใหญ แก ชาง มา ววั ควาย ฯลฯ

12. ฯ ไปยาลนอย ใชละบางสวนของคําทเี่ นนช่อื เฉพาะและรจู กั กันดแี ลว
(เปยยาลนอย) เชน อุดรฯ กรุงเทพฯ

13. ” บุพสัญญา ใชเขียนแทนคาํ ทต่ี รงกนั กับคําขางบน
เชน ซอ้ื มา 3 บาท

ขายไป 5”

14. ๏ ฟองมนั ใชเขยี นขนึ้ ตนบทยอยของคาํ รอยกรอง
ปจจบุ ันไมนยิ มใช

15. มหรรถสัญญา ขึ้นบรรทัดใหมใหตรงยอหนาแรก
หรอื ยอหนา

16. เวนวรรค ใชแยกคําหรอื ความที่ไมตอเนือ่ งกัน ซง่ึ แบงเปนเวนวรรคใหญ

จะใชกบั ขอความทเี่ ปนประโยคยาวหรือประโยคความซอน

และเวนวรรคนอยใชกับขอความที่ใชตัวเลขประกอบหนาหลัง

อกั ษรยอ หรือยศ ตําแหนง

กิจกรรม

45

จงใชเครอื่ งหมายวรรคตอน ตามความเหมาะสมกับขอความตอไปนี้
1. วนั น้ีลกู สาวสั่งซอื้ ขนมทองหยิบทองหยอดเมด็ ขนุนฝอยทอง ฯลฯ
2. นทิ านมีหลายชนดิ เชนนทิ านชาดกนทิ านปรมั ปรานิทานคติสอนใจ
3. คาํ ตอบขอน้ีถูกท้งั ก ข ค ง
4. เธอนัดใหฉนั ไปพบในเวลา 08.00 น.

2 . อกั ษรยอ

อักษรยอ หมายถึง พยัญชนะที่ใชแทนคําหรือขอความยาว ๆ เพ่ือประหยัดเวลา เนื้อท่ี

และสะดวกตอการเขยี น การพดู

ประโยชน ของการใชคํายอ จะทําใหส่ือสารไดสะดวก รวดเร็ว แตการใชจะตองเขา

ใจความหมายและคําอานของคํานั้น ๆ คํายอแตละคําจะตองมีการประกาศเปนทางการใหทราบทั่วกัน

เพอ่ื ความเขาใจทต่ี รงกนั ปจจบุ นั มีมากมายหลายคําดวยกัน

วิธกี ารอานคายอ จะอานคํายอหรอื คาํ เต็มก็ไดแลวแตโอกาส

ตวั อยาง

1. อักษรยอของเดือน

ม.ค. ยอมาจาก มกราคม อานวา มะ-กะ-รา-คม

ก.พ. ยอมาจาก กมุ ภาพนั ธ อานวา กมุ -พา-พัน

ม.ี ค. ยอมาจาก มีนาคม อานวา ม-ี นา-คม

2. อักษรยอจังหวัด

กบ. ยอมาจาก กระบี่

กทม. ยอมาจาก กรงุ เทพมหานคร

ลย. ยอมาจาก เลย

3. อกั ษรยอลาดับยศ

ทหารบก

พล.อ. ยอมาจาก พลเอก อานวา พน-เอก

พ.ต. ยอมาจาก พนั ตรี อานวา พนั -ตรี

ร.ท. ยอมาจาก รอยโท อานวา รอย-โท

ทหารอากาศ

พล.อ.อ. ยอมาจาก พลอากาศเอก อานวา พน-อา-กาด-เอก

น.ท. ยอมาจาก นาวาอากาศโท อานวา นา-วา-อา-กาด-โท

ร.ต. ยอมาจาก เรอื อากาศตรี อานวา เรอื -อา-กาด-ตรี

ทหารเรอื

พล.ร.อ.......ร.น. ยอมาจาก พลเรอื เอก....แหงราชนาวี

อานวา พน-เรือ-เอก-แหง-ราด-ชะ-นา-วี

น.ท....ร.น.ยอมาจาก นาวาโท....แหงราชนาวี อา่ นวา่ นา-วา-โท-แหง่ –ราด-ชะ-นา-วี

ร.ต.....ร.น.ยอมาจาก เรอื ตร.ี .....แหงราชนาวี อา่ นว่า เรือ-ตรี-แหง่ -ราด-ชะ-นา-วี

ตารวจ

พล.ต.อ ยอมาจาก พลตํารวจเอก อา่ นวา่ พน-ตาํ -หรวด-เอก

46

พ.ต.ท. ยอมาจาก พันตาํ รวจโท อา่ นว่า พัน-ตาํ -หรวด-โท

ร.ต.ต. ยอมาจาก รอยตํารวจตรี อา่ นว่า ร้อย-ตาํ -หรวด-ตรี

4. อกั ษรยอวฒุ ทิ างการศกึ ษา

กศ.ม. ยอมาจาก การศึกษามหาบัณฑิต

กศ.บ. ยอมาจาก การศึกษาบัณฑติ

ป.กศ. ยอมาจาก ประกาศนียบัตรวชิ าการศึกษา

อานวา ประ-กา-สะ-น-ี ยะ-บัด-วิ-ชา-กาน-สึก-สา

ป.วส. ยอมาจาก ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชัน้ สูง

ป.วช. ยอมาจาก ประกาศนยี บัตรวิชาชพี

5. อักษรยอมาตรา ชงั่ ตวง วัด

กก. ยอมาจาก กโิ ลกรมั (มาตราช่งั )

ก. ยอมาจาก กรมั

ล. ยอมาจาก ลิตร (มาตราตวง)

กม. ยอมาจาก กิโลเมตร

ม. ยอมาจาก เมตร (มาตราวดั )

ซม. ยอมาจาก เซนติเมตร

6 . อกั ษรยอบางคาทคี่ วรรู

ฯพณฯ ยอมาจาก พณหัวเจาทาน อานวา พะ-นะ-หวั -เจา-ทาน

โปรดเกลาฯ ยอมาจาก โปรดเกลาโปรดกระหมอม

ทลู เกลาฯ ยอมาจาก ทูลเกลาทูลกระหมอม

นอมเกลาฯ ยอมาจาก นอมเกลานอมกระหมอม

กจิ กรรม
ใหผูเรียนฝกเขียนอกั ษรยอประเภทตาง ๆ นอกเหนือจากตวั อยางทย่ี กมา
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เรื่องท่ี 4 หลกั การใชพจนานุกรม คาราชาศพั ทและคาสุภาพ

1. การใชพจนานุกรม
การใชภาษาไทยใหถูกตองท้ังการพูด การอานและการเขียน เป็นสิ่งท่ีคนไทยทุกคนควร

กระทํา เพราะภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติ แตบางคร้ังเราอาจสับสนในการใชภาษาไทยไม่ถูกตอง
เชน อาจจะเขียนหรืออานคําบางคําผิด เขาใจความหมายยาก สิ่งหนึ่งที่จะชวยใหเราใช้ภาษาไทย

47

ได้ถูกตองก็คือ พจนานุกรม พจนานุกรมเป็นหนังสือที่ใชคนควาความหมายของคําและการเขียนคําให

ถูกตอง ซ่ึงเรียงลําดับตัวอักษรและสระ ผูเรียนควรมีพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไวใชและควร

เปนฉบบั ลาสดุ

วธิ ใี ชพจนานุกรม การใชพจนานกุ รมมหี ลกั กวาง ๆ ดงั น้ี

1. การเรียงลาดบั คา

1.1 เรียงตามลําดับพยญั ชนะ ก ข ค ง.......ฮ

1.2 เรยี งลําดบั ตามรูปสระ เชน ะ ั า ิ ี ึ ุ ู เ แ โ ใ ไ

1.3 วรรณยกุ ต และ ็ (ไมไตคู กับ ไมทณั ฑฆาต) ไมไดจัดเปนลําดับ

พจนานุกรม

2. การพิจารณาอักขรวิธี ในพจนานุกรมจะบอกการพิจารณาอักขรวิธีโดยละเอียด เชน

กรณีท่ีตัวสะกดมีอักขระซ้ํากัน หรือตัวสะกดท่ีมีอักษรซอนกัน ตลอดจนบอกถึงหลักการประวิสรรชนีย

ฯลฯ

3. การบอกเสียงการอาน คําท่ีมีการสะกดตรง ๆ จะไมบอกเสียงอาน แตจะบอกเสียง

อานเฉพาะคําทอี่ าจมปี ญหาในการอาน

4. การบอกความหมาย ใหความหมายไวหลายนัย โดยจะใหความหมายที่สําคัญหรือเดน

ไวกอน

5. บอกประวตั ิของคาและชนิดของคา ในเรอ่ื งประวตั ิของคาํ จะบอกทีม่ าไวทายคาํ

โดยเขียนเปนอกั ษรยอไวในวงเล็บ เพือ่ รวู าคํานน้ั มาจากภาษาใด และเพ่ือใหรวู าคาํ นั้นเปนคาํ ชนดิ ใด

ในพจนานกุ รมจะมีตวั อักษรยอเล็กๆ หลังคํานน้ั เชน ก. = กริยา บ.= บุพบท เปนตน

เพอ่ื ใหผูเรียนไดรบั ประโยชนเตม็ ทจ่ี ากการใชพจนานกุ รม ผูเรยี นควรอานวธิ ใี ชพจนานุกรม

โดยละเอยี ดกอนจะใช

ประโยชนของพจนานุกรม

พจนานุกรมชวยใหอานและเขียนภาษาไทยไดอยางถูกตองและเขาใจภาษาไดอยางลึกซึ้ง

ทําใหเปนคนที่มีความสามารถในการใชภาษาไดอยางดีและมั่นใจเม่ือตองติดตอธุรกิจการงานหรือสื่อ

ความหมายกับบุคคลตาง ๆ

2. คาราชาศพั ทและคาสุภาพ

ชาติไทยมีลักษณะพิเศษในการใชภาษากับบุคคลชั้นตางๆ ภาษาที่ใชจะแสดงความสุภาพ

และคํานึงถึงความเหมาะสมเสมอ ภาษาท่ีถือวาสุภาพ ไดแก คําราชาศัพทและคําสุภาพ คําราชาศัพท

หมายถึงคาํ ทใี่ ชกบั พระมหากษัตริย พระบรมวงศานุวงศ ขาราชการและพระสงฆ สวนคําสุภาพ หมายถึง

คําทส่ี ุภาพชนทว่ั ไป นิยมใช ไมใชคาํ หยาบ ไมใชคําสบถสาบาน เชน โกหก ใช พูดเท็จ รู ใช ทราบ หัว

ใช ศีรษะ กนิ ใช รับประทาน โวย-คะ ครับ ฯลฯ

ตวั อยางคาราชาศัพท

1. คานามราชาศพั ท

คาราชาศพั ท คาแปล

พระราชบิดา พระชนกนาถ พอ

พระราชมารดา พระราชชนนี แม

สมเดจ็ พระเจาลูกยาเธอ พระราชโอรส ลกู ชาย

สมเด็จพระเจาลูกเธอ พระราชธดิ า ลกู สาว

พระตําหนัก ทีพ่ ัก

48

พระบรมฉายาลกั ษณ รูปภาพ

2. กรยิ าราชาศพั ท

2.1 กริยาไมตองมีคาํ “ทรง” นาํ

คาราชาศัพท คาแปล

ตรัส พดู

ประทับ อยู นง่ั

รับสัง่ ส่ัง

เสดจ็ ไป

2.2 คํากริยาที่เปนภาษาธรรมดา เมื่อตองการใหเปนราชาศัพท ตองเติม “ทรง”

ขางหนา เชน ฟง เปน ทรงฟง ทราบ เปน ทรงทราบ เปนตน

2.3 คํากริยาสําหรบั บคุ คลท่ัวไปใชกับพระเจาแผนดนิ

คาราชาศัพท คาแปล

ถวายพระพร ใหพร

ขอพระราชทาน ขอ

เฝาทลู ละอองธุลีพระบาท ไปหา หรอื เขาพบ

2.4 คํากรยิ าเกย่ี วกับพระสงฆ

คาราชาศพั ท คาแปล

อาราธนา เชิญ

นมัสการ ไหว

อาพาธ ปวย

ถวาย ให

ดังน้ันสรุปไดวา
1. การใชพจนานุกรมใหไดประโยชนอยางเต็มที่ ควรอานวธิ ใี ชพจนานุกรมโดยละเอียดกอนใช
2. การเรียนรูการใชอกั ษรยอเปนการประหยัดเวลาในการสื่อความหมาย ผูเรียนควรจะศึกษา

ไวเพอื่ ใชใหถูกตองทง้ั การอานและการเขยี น
3. การเรียนรูคําราชาศัพทเป็นประโยชนตอผูเรียนในการเลือกใชคําศัพทใหเหมาะสมกับ

โอกาสและบคุ คลระดบั ตาง ๆ

กิจกรรม

จงเตมิ คําหรือข้อความใหถ้ ูกต้อง
1. วิธีการใชพจนานกุ รม
1. _____________________________________________
2. _____________________________________________
3. _____________________________________________

49

4. _____________________________________________
5. _____________________________________________
2. เขียนคําราชาศพั ทมา 7 คาํ
________________________________________________
________________________________________________
________________________________________________
3. เขยี นคําสภุ าพมา 7 คํา
________________________________________________

เรือ่ งท่ี 5 สานวนภาษา

สานวนภาษา

สํานวนภาษา หมายถึง ถอยคําท่ีมีลักษณะพิเศษ ใชเพ่ือรวบรัดความท่ียาวๆ หรือเพ่ือ

เปรียบเทียบ เปรียบเปรย ประชดประชัน หรือเตือนสติ ทําใหมีความหมายลึกซ้ึงย่ิงกวาถอยคําธรรมดา

สํานวนภาษามีความหมายคลายกับโวหารซ่ึงรวมถึงอุปมาและอุปไมย บางคร้ังจะเรียกซอนกันวา

สํานวนโวหาร คนไทยใชสํานวนหรือสํานวนภาษามานานจนถึงปจจุบัน จึงมีสํานวนภาษารุนเกาและ

สํานวนท่ีเกิดข้ึนใหม สํานวนภาษาเปนวัฒนธรรมทางภาษาซ่ึงเปนมรดกตกทอดมาถึงปจจุบัน และ

สบื สานมาเปนสํานวนภาษารนุ ใหมอกี มากมาย

ภาษาไทยทเี่ ราใชพูดจาสอ่ื สารกันนั้น ยอมมีสองลักษณะ ลักษณะหนึ่งคือ เป็นถอยคํา ภาษาที่

พูดหรือเขยี นกันตรงไปตรงมาตามความหมาย เปนภาษาท่ีทุกคนฟงเขาใจกัน อีกลักษณะหนึ่งคือถอยคํา

ภาษาที่มีช้ันเชิงผูฟงหรือผูอานตองคิดจึงจะเขาใจ แตบางครั้งถาขาดประสบการณดานภาษาก็จะไม่

เขาใจ ภาษาท่ีมีชั้นเชิงใหอีกฝายหน่ึงตองคิดน่ีเอง คือสํานวนภาษา บางคนเรียกวา สําบัดสํานวน

สาํ นวนภาษามีสักษณะตาง ๆ ดังกลาวขางตนนนั้ เรียกแตกตางกนั ดงั น้ี

1. สานวน คือ สํานวนภาษาท่ีใชเพื่อเปนการรวบรัดตัดขอความท่ีตองพูดหรืออธิบายยาว ๆ

ใหสั้นลงใชเพียงสนั้ ๆ ใหกนิ ความหมายยาว ๆ ได เชน

ปลากระดไ่ี ดนา้ หมายถึง แสดงกิรยิ าทาทางดดี ดน้ิ ราเรงิ

ทเี่ ทาแมวดนิ้ ตาย ทีด่ นิ หรอื เน้อื ท่ีเพียงเลก็ นอย ไมพอจะทํา

ประโยชนอะไรได

เลือดเย็น ไมสะทกสะทาน เหยี้ ม

แพแตก พลัดพรากจากกนั อยางกระจัดกระจาย ไมอาจ

จะมารวมกนั ได

ไมมปี มกี ลอง ไมมปี มขี ลยุ ไมมเี คา้ มากอนเลยวาจะเป็นเชนน้ี จู ๆ ก็เป็น

ข้นึ มา หรอื ตดั สินใจทาํ ทันที

รักดีหามจ่ัว รักชัว่ หามเสา หมายถึง ใฝดจี ะมีสขุ ใฝชวั่ จะพบความลาํ บาก

สวยแตรปู จูบไมหอม มรี ปู รางหนาตางาม แตความประพฤติและ

กิริยามารยาทไมดี

อดเปรี้ยว ไวกนิ หวาน อดใจไวกอน เพราะหวงั ส่งิ ท่ีดี ส่งิ ที่ปรารถนาขางหนา

50

ฯลฯ

สํานวนตาง ๆ ยอมมีท่ีมาตาง ๆ กัน เชน จากการดูลักษณะนิสัยใจคอของคน จากเหตุการณ

แปลก ๆ จากความเปนไปในสังคม จากสิ่งแวดลอม นิทาน ประวัติศาสตร ตํานาน ฯลฯ สํานวนจึง

เกดิ ขน้ึ เสมอ เพราะคนชางคิดยอมจะนาํ เร่ืองน้ันเร่ืองน้ีมาผกู เป็นถอยคํา สํานวนสมัยใหมท่ีไดยินเสมอ ๆ

เชน

เขี้ยวลากดิน หมายถึง คนเจาเลห รมู าก ชํานาญ เช่ยี วชาญ

(ในเร่อื งไมด)ี ช้ันเชิงมาก

สมหลน หมายถึง ไดรบั โชคลาภโดยไมไดคดิ หรือคาดหวัง

ไวกอน

เดก็ เสน หมายถงึ มคี นใหญคนโต หรอื ผูมีอิทธพิ ลท่ีคอย

ชวยเหลือหนนุ หลังอยู

อม หมายถึง แอบเอาเสยี คนเดยี ว ยกั ยอกไว

ฯลฯ

2. คาพังเพย คือ สาํ นวนภาษาทใ่ี ชเปรยี บเทยี บหรือเปรยี บเปรย ประชดประชนั

มีความหมายเปนคติสอนใจ มีลักษณะคลายกับสุภาษิต อาจจะเปนคํากลาวติชมหรือแสดงความคิดเห็น

คําพงั เพยเป็นลกั ษณะหนึ่งของสํานวนภาษา เชน

กนิ บนเรอื น ขบ้ี นหลังคา หมายถึง เปรียบกบั คนอกตัญ ู หรอื เนรคุณ

ขายผาเอาหนารอด หมายถึง ยอมเสียสละแมสง่ิ จาํ เปนทตี่ นมอี ยู

เพอ่ื รกั ษาช่อื เสยี งของตนไว

คางคกขึ้นวอ แมงปอใสตุงติ้ง หมายถงึ คนทฐ่ี านะตาํ่ ตอยพอไดดบิ ไดดี

ก็มกั แสดงกริ ิยา อวดดี

ตาขาวสารกรอกหมอ หมายถึง คนเกียจครานหาเพยี งพอกินไปม้ือ

หนง่ึ ๆ ทาํ พอใหเสรจ็ ไปเพยี งครัง้ เดยี ว

นา้ ทวมปาก หมายถงึ พูดไมออก เพราะเกรงจะมภี ัย

แกตนและคนอน่ื

บอกหนงั สือสงั ฆราช หมายถงึ สอนสิง่ ทเ่ี ขารอู ยูแลว

ปล้าผลี กุ ปลกุ ผนี ง่ั หมายถึง พยายามทาํ ใหเปนเรอ่ื งเปนราวขึน้ มา

มง่ั มีในใจ แลนใบบนบก หมายถึง คดิ ฝนในเรอ่ื งทเ่ี ปนไปไมได

คิดสมบตั ิบาสรางวมิ านในอากาศ

ราไมดโี ทษปโทษกลอง หมายถงึ ทาํ ไมดี หรือทําผิดแลวไมรับผิด

กลับโทษผูอน่ื

หาเลอื ดกบั ปู หมายถึง เคยี่ วเข็ญหรอื บีบบังคับเอากับผูที่

ไมมีจะให

เอามือซกุ หีบ หมายถึง หาเรอ่ื งเดือดรอนหรือความลาํ บาก

51

ใสตวั โดยใชที่

3. สุภาษติ คือ สาํ นวนภาษาท่ีใชเปนเคร่ืองเตือนสติ คํากลาวสอนใจในสิ่งที่เปนความจริงแท

แนนอนเปนสจั ธรรม มักกลาวใหทําความดหี ลีกหนีความชว่ั เชน

กลานกั มกั บ่ิน หมายถงึ กลาหรอื หาวหาญเกนิ ไปมักได้รบั อันตราย

เขาเถ่ือนอยาลืมพรา หมายถึง ใหมสี ติอยาประมาท เชนเดยี วกบั

เวลาจะเขาปาตองมมี ีดตดิ ตวั ไปดวย

เดินตามหลังผใู หญหมาไมกดั หมายถงึ ประพฤตติ ามผูใหญยอมปลอดภยั

ตัดหนามอยาไวหนอ หมายถึง ทาํ ลายสง่ิ ช่ัวรายตองทําลายใหถงึ ตนตอ

นา้ ข้ึนใหรบี ตกั หมายถึง มีโอกาสควรฉวยไว หรือรีบทาํ

บวั ไมชา้ นา้ ไมขนุ หมายถงึ รจู ักผอนปรนเขาหากัน มิใหกระทบ

กระเทอื นใจกนั รจู ักถนอมนา้ํ ใจกนั

มใิ หขุนเคืองกัน

ใฝรอนจะนอนเย็น หมายถึง ขยันขนั แข็งตง้ั ใจทํางานจะสบายเมือ่

ภายหลัง

ใฝเย็นจะด้นิ ตาย หมายถึง เกยี จครานจะลาํ บากยากจนภายหลงั

แพเปนพระ ชนะเปนมาร หมายถึง การรจู กั ยอมกันจะทําใหเรอื่ งสงบ

มุงแตจะเอาชนะจะมแี ตความ

เดือดรอน

รักยาวใหบ่ัน รักสน้ั ใหตอ หมายถงึ รักจะอยูดวยกันนานๆ ใหตดั

ความโกรธอาฆาตพยาบาทออกไป

ถาไมคิดจะรักกนั นานก็ใหโตเถยี ง

เรอ่ื งทโ่ี กรธกนั และทาํ ใหไมตรี ขาดสะบ้ัน

เอาพิมเสนไปแลกเกลอื หมายถงึ ลดตัวลงไปทะเลาะหรือมเี ร่อื งกบั

คนทตี่ า่ํ กวามแี ตจะเสีย

สาํ นวนภาษานี้เปนวัฒนธรรมอยางหนงึ่ ของคนไทย จึงมอี ยูทกุ ทองถิน่ เชน

ภาคเหนอื

ทามิชอบเขาลอบตนเอง หมายถึง กรรมทผี่ ูใดทาํ ไวยอมสงผลใหแกผูนั้น

คนรกั ใหญเทารอยตีนเสือ หมายถึง คนรักมนี อย คนชงั มมี าก

ขาวเหลอื เกลอื อมิ่ หมายถึง อยูดีกินดี

ภาคใต หมายถึง ปลาหมอตายเพราะปาก
ปากอฆ้ี าคอ หมายถึง อายุมากเสียเปลาไมไดมีลักษณะเปนผู้ใหญ
ใหญพราวเฒาลอกอ หมายถึง อยาขัดขวางผูทม่ี อี าํ นาจ หรือเหตกุ ารณท่ี
ชางแลนอยายุงหาง
กําลังรุนแรงอยาไปขัดขวาง
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ฯลฯ

52

ตีกลองแขงเสียงฟา ขมี่ าแขง หมายถึง แขงดหี รอื ผูมีอาํ นาจวาสนาไมมที างจะสไู ด

ตาแวน(ตะวนั )

นา้ ขนึ้ ปลาลอย น้าบกหอยไต หมายถึง ทีใครทมี นั

ตกหมแู ฮง (แรง) เปนแฮง หมายถึง คบคนดจี ะพาใหตนดีดวย

ตกหมกู าเปนกา หมายถงึ คบคนช่ัวจะพาใหตนชวั่ ตาม

ฯลฯ

การรูจักสํานวนไทย มีประโยชนในการนํามาใชในการพูดและการเขียน ทําใหไมตองพูดหรือ

อธิบายยาวๆ เชน ในสํานักแหงหนึ่ง จู ๆ ก็เกิดมีของหาย ทั้ง ๆ ที่ไดมีการรักษาปองกันอยางเขมงวด

กวดขัน ไมใหมีคนภายนอกเขามาได แตของก็ยังหายได เหตุการณ เชนนี้ก็ใชสํานวนภาษาส้ัน ๆ วา

“เกลือเปนหนอน” ไดซ่ึงหมายถึงคนในสํานักงานนั้นเองเปนไสศึกใหคนภายนอกเขามาขโมยของหรือ

เป็นขโมยเสียเอง

ถาจะเตือนสติคนที่กําลังหลงรักหญิงที่มีฐานะสูงกวาซึ่งไมมีทางจะสมหวังในความรัก ก็ใช

สาํ นวนภาษาเตือนวา “ใฝสงู เกินศกั ดิ์”

นอกจากจะใชสาํ นวนภาษาในการประหยดั คาํ พดู หรือคําอธิบายไดแลว ยังทําใหคําพูดหรือ

ขอเขียนนนั้ มีคณุ ภาพแสดงความเป็นผูรจู ักวฒั นธรรมของผูใชดวย

กจิ กรรม
จงตอบคาํ ถามตอไปนี้

1. ใหเขียนสํานวน 3 สํานวน
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________

2. ใหเขยี นคําพังเพย 3 คําพังเพย
____________________________________________________
____________________________________________________
____________________________________________________

53

3. ใหเขียนสภุ าษติ 3 สภุ าษติ
____________________________________________________
____________________________________________________

เรอ่ื งที่ 6 การใชทักษะทางภาษาเปนเครอ่ื งมือการแสวงหาความรู

การส่ือความหมายของมนุษยเปนสิ่งท่ีจําเป็นอยางย่ิง และการสื่อสารจะดีหรือไมดีข้ึนอยูกับ
ทักษะทางภาษาของแตละคน ซึ่งเกิดขึ้นไดจะตองมีการฝกเปนประจํา เชน ทักษะการฟง ทักษะการพูด
ทักษะการอาน ทักษะการเขียน และทักษะตาง ๆ เหลานี้ไดมีการซึมซับอยูในคนทุกคนอยูแลวเพียงแตวา
ผใู้ ดจะมโี อกาสไดใชไดฝกฝนบอย ๆ ก็จะเกดิ ทักษะทช่ี ํานาญขนึ้

ในการแลกเปล่ียนขอมูล ขาวสาร ความรู ความเขาใจของคนในอดีตจะเป็นการสื่อสาร
โดยตวั ตอตัวเพราะอดตี คนในสังคมมไี มมาก แตปจจุบนั คนในสังคมเร่ิมมากขึ้น กวางขึ้น การแลกเปล่ียน
ขาวสารขอมูลจึงจําเปนตองใชเครื่องมือสื่อสารไดรวดเร็วกวางไกลและท่ัวถึง ไดแก โทรศัพท โทรเลข
โทรทศั น วทิ ยุ โทรสาร คอมพิวเตอร ซง่ึ เครอื่ งมือแตละประเภทมีจุดเดนหรือขอจาํ กัดทแี่ ตกตางกนั ไป

การใชภาษาในชีวิตประจําวนั ไมวาจะเปนภาษาพูดหรอื ภาษาการเขียน จะตองใหเหมาะสมกับ
บคุ คลและสถานการณ เชน กิน เปนภาษาทใี่ ชกันในกลุมเพอ่ื นหรอื บคุ คลคุนเคย แตถาใชกับบุคคลที่เป็น
ผูใหญหรือคนทไ่ี มคุนเคย จะตองใชภาษาทสี่ ภุ าพวา ทาน หรอื รับประทาน

แม  คณุ แม  มารดา หมอ  คณุ หมอ  แพทย เปนตน
การใชภาษาไทยนอกจากจะตองมีความรู ความเขาใจของภาษาแลว สงิ่ สําคัญอยางยิ่งประการ
หนึ่ง คอื ความมคี ณุ ธรรมในการใชภาษา ไมวาจะเปนภาษาพดู หรอื ภาษาเขยี น
วธิ ีการใชภาษาไดเหมาะสม ดงี าม มดี ังน้ี
1. ใชภาษาตรงไปตรงมาตามขอเทจ็ จรงิ ท่ีเกดิ ขนึ้ ไมพูดโกหก หรอื หลอกลวง
ใหรายผูอ่นื
2. ใชภาษาไพเราะ ไมใชคําหยาบ
3. ใชภาษาใหเหมาะสมกบั กาลเทศะและระดบั ของบุคคลทส่ี อ่ื สารดวย
4. ใชภาษาเพอ่ื ใหเกิดความสามคั คี ความรกั ไมทาํ ใหเกดิ ความแตกแยก
5. ใชภาษาใหถกู ตองตามหลักการใชภาษา

กิจกรรม

จงตอบคําถามตอไปน้ี
วิธีการใชภาษาไดเหมาะสม มีอะไรบาง
1. ___________________________________________________
2. ___________________________________________________
3. ___________________________________________________

54

4. ___________________________________________________
5. ___________________________________________________

เร่ืองท่ี 7 ลกั ษณะของคาไทย คาภาษาถิ่น และคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

การนําคําภาษาถ่ินและภาษาตางประเทศมาใชในภาษาไทย จึงทําใหภาษาไทยมีคําที่ใช้
ส่ือความหมายหลากหลายและมีจํานวนมากข้ึน ซ่ึงไมวาจะเปนคําไทย คําภาษาถิ่น หรือคําภาษา
ตางประเทศตางก็มีลกั ษณะเฉพาะที่แตกตางกนั
1. ลักษณะของคาไทย มหี ลักการสังเกต ดงั น้ี

1.1 มีลักษณะเปนคาํ พยางคเดียวโดด ๆ มคี วามหมายชัดเจน เปนคําท่ีใชเรียกชื่อ คน สัตว
สิ่งของ เชน แขน ขา หวั พอ แม เดิน วิ่ง นอน ฯลฯ

แตมคี าํ ไทยหลายคําหลายพยางคซ่ึงคําเหลาน้ีมีสาเหตุมาจากการกร่อนเสียงของคําหน้าท่ี
นาํ กรอ่ นเปน็ เสียงสัน้ (คําหนา้ กร่อนเป็นเสยี งสน้ั ) กลายเปน็ คาํ ทีป่ ระวิสรรชนีย์ เชน

มะมวง มาจาก หมากมวง
มะนาว มาจาก หมากนาว
มะกรูด มาจาก หมากกรดู
ตะขบ มาจาก ตนขบ
ตะขาบ มาจาก ตวั ขาบ
- การแทรกเสียง หมายความวา เดิมเปนคําพยางคเดียว 2 คําวางเรียงกัน ตอมาแทรก
เสยี งระหวางคําเดิม 2 คาํ และเสียงทแี่ ทรกมักจะเปนเสยี งสระอะ เชน
ผักกะเฉด มาจาก ผักเฉด
ลกู กระดุม มาจาก ลูกดุม
ลูกกะทอน มาจาก ลูกทอน
- การเติมเสียงหนาพยางคหนา เพ่ือใหมีความหมายใกลเคียงคําเดิม และมีความหมาย
ชัดเจนขึ้น เชน่
กระโดด มาจาก โดด
ประทวง มาจาก ทวง
ประทับ มาจาก ทบั
กระทาํ มาจาก ทาํ
ประเด๋ียว มาจาก เดยี๋ ว
1.2 มตี ัวสะกดตรงตามมาตรา เชน จง (แมกง) ตกั (แมกก) กับ (แมกบ) เปนตน
1.3 ไมนิยมมคี าํ ควบกล้ํา เชน ทราบ ตราบ สรวง ประพฤติ เปนตน
1.4 ไมมตี วั การนั ต คาํ ทุกคําสามารถอานออกเสยี งไดหมด เชน แม นารกั ไกล
1.5 คําไทยคําเดียว อาจมีความหมายไดหลายอยาง เชน ขันตักน้ํา นกเขาขัน
หวั เราะขบขัน
1.6 มีรูปวรรณยุกตกํากับเสียง ท้ังที่ปรากฏรูปหรือไมปรากฏรูป เชน นอน
(เสียงสามญั ไมปรากฏรปู ) คา (เสียงตรี ปรากฏรปู ไมโท)

55

1.7 คาํ ทอ่ี อกเสียง ไอ จะใชไมมวน ซง่ึ มีอยู 0 คํา นอกน้นั ใชไมมลาย

ผูใหญหาผาใหม ใหสะใภใชคลองคอ

ใฝใจเอาใสหอ มหิ ลงใหลใครขอดู

จะใครลงเรือใบ ดนู าํ้ ใสและปลาปู

สง่ิ ใดอยูในตู มใิ ชอยูใตตง่ั เตยี ง

บาใบถอื ใยบัว หตู ามวั มาใกลเคียง

เลาทองอยาละเลย่ี ง ยสี่ บิ มวนจําจงดี

2. ลกั ษณะของคาภาษาถิ่น
ภาษาถ่ิน หมายถึง คําท่ีใชในทองถิ่นตางๆ ของประเทศไทยที่มีลักษณะแตกตางจาก

ภาษากลาง เชน ภาษาถ่ินใต ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถ่ินเหนือ ซ่ึงภาษาถ่ินเหลานี้เปนภาษาท่ีใชกันเฉพาะ
คนในถน่ิ น้นั
ตัวอยาง เปรียบเทยี บภาษากลาง และภาษาถ่ิน

ภาษากลาง ภาษาถนิ่ เหนือ ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถนิ่ ใต

พูด อู เวา แหลง
มะละกอ มะกวยเตด หมากหงุ ลอกอ
อรอย ลาํ แซบ หรอย
สับปะรด มะขะนัด หมากนดั ย่านดั
ผม/ฉัน ขาเจา เฮา ขอ่ ย ฉาน

3. ลักษณะของคาภาษาถิ่นตางประเทศทปี่ รากฏในภาษาไทย
คําภาษาตางประเทศท่ีใชอยูในภาษาไทยมีอยูมากมาย เชน ภาษาจีน ภาษาเขมร ภาษา

อังกฤษ แตท่ีใชกันอยูส่วนใหญ่มาจากภาษาจีน และภาษาอังกฤษ ซึ่งมีสาเหตุมาจากประเทศไทยมีการ
ติดตอและมีการเจริญสัมพันธไมตรีกับชาติน้ัน ๆ จึงยืมคํามาใช ซึ่งทําใหภาษาไทยมีคําใชในการติดตอ
สอ่ื สารมากขนึ้
ตัวอยาง

ภาษาจนี ภาษาอังกฤษ

ตงฉนิ แปะเจีย๊ ะ กวยจบ๊ั ชนิ แส กก อง้ั โล โฮมรมู ซอส โชว แชมป คลินกิ แท็กซี่ ปม แสตมป
เหลา ฮองเต ตง้ั ฉาย แซยดิ ซีอว้ิ เซยี น มอเตอรไซค์ ฟต อิเลก็ ทรอนิกส คอมพวิ เตอร คอรด
เตาฮวย เตาหู

56

กจิ กรรม
จงตอบคําถามตอไปนี้

1. ลักษณะของคาํ ไทยมีอะไรบ้าง
1. _________________________________________________
2. _________________________________________________
3. _________________________________________________

2. จงเขียนคําภาษาตา่ งประเทศท่นี ํามาใชใ้ นภาษาไทยมา 10 คาํ
____________________________________________________
____________________________________________________

57

บทที่ 6
วรรณคดีและวรรณกรรม

สาระสาคัญ
วรรณคดีและวรรณกรรม เปนสื่อทม่ี ีคุณคาควรไดอานและเขาใจ จะมีประโยชนตอตนเองและ

ผูอ่ืน โดยการอธิบายและเผยแพรนิทาน นิทานพ้ืนบาน วรรณกรรมทองถิ่น และวรรณคดีเร่ืองนั้น ๆ
ตอ ๆ กนั ไป
ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวงั ผเู รียนสามารถ

1. อธบิ ายความหมาย คณุ คาและประโยชนของนิทาน นทิ านพ้นื บาน และวรรณกรรมทองถิ่นได
2. อธิบายความหมายของวรรณคดี และขอคิดทไ่ี ดรับจากวรรณคดีทน่ี าศกึ ษาได
ขอบขายเน้ือหา
เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนของนิทาน นิทานพน้ื บาน และ
วรรณกรรมทองถนิ่
เร่อื งที่ 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดที นี่ าศึกษา

เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย คุณค่า และประโยชน์ของนทิ าน นิทานพ้นื บ้าน
และวรรณกรรมท้องถิน่

58

1. ความหมาย คุณคา และประโยชนของนิทาน
1.1 นิทาน หมายถึง เรือ่ งทเ่ี ลาสบื ทอดกันมา ไมมกี ารยนื ยันวาเป็นเรอ่ื งจริง เชน นทิ าน

เด็กเลย้ี งแกะหรอื เทวดากับคนตดั ไม เป็นนทิ านสวนใหญ จะแฝงดวยคตธิ รรม ซง่ึ เปนการสรปุ สาระให้
ผูฟงหรอื ผูอานปฏิบัติตาม

1.2 คณุ คา
1.2.1 ใชเปนขอคิดเตอื นใจ เชน ทําดไี ดดี ทําช่วั ไดชว่ั
1.2.2 เปนมรดกของบรรพบุรษุ ท่ีเปน็ เรื่องเลาใหฟงทั้งไดรับความรูและ

ความเพลิดเพลนิ
1.2.3 ไดรับประโยชนจากการเลาและการฟงนทิ านท้ังดานภาษาและคตธิ รรม

1.3 ประโยชนของนิทาน
1.3.1 ไดรบั ความรูเพมิ่ เติม
1.3.2 ไดรบั ความเพลิดเพลิน สนกุ สนาน
1.3.3 ไดขอคดิ เตอื นใจนาํ ไปใชประโยชน

2. ความหมาย คุณคา และประโยชนจากนทิ านพื้นบาน
2.1 นิทานพ้นื บาน หมายถงึ เร่ืองเลาทเ่ี ลาสบื ทอดกนั มา สวนใหญเนอ้ื หาจะเปนลักษณะ

เฉพาะถนิ่ โดยอางองิ จากสถานทหี่ รอื บคุ คลซง่ึ เป็นทรี่ ูจักรวมกันของคนในถ่นิ น้ัน ๆ เชน นทิ านพ้นื บาน
ภาคกลาง เรื่องลูกกตัญ ู นิทานพ้นื บานภาคใต เร่อื งพษิ งเู หลือม นิทานพ้ืนบานภาคเหนือ เรอ่ื งเชียงเหม้ียง
ตาํ พระยา และนิทานพ้ืนบานภาคอสี าน เรอื่ ง ผาแดงนางไอ่

2.2 คณุ คา
2.2.1 เปนเรอ่ื งเลาทเ่ี ลาสืบทอดกนั มา ซง่ึ แสดงใหเหน็ ถึงสง่ิ แวดลอม

ชวี ติ ความเปนอยูในสมยั กอน
2.2.2 ถอื เปนมรดกสาํ คญั ทบี่ รรพบุรุษมอบใหแกคน
2.2.3 ใหขอคิดเตือนใจทีจ่ ะนําไปใชประโยชนได

2.3 ประโยชน
2.3.1 ไดรบั ความรูและความเพลดิ เพลินจากการเลา การอาน และการฟง
2.3.2 ไดนําความรูไปใชประโยชน
2.3.3 ใชเผยแพรใหเยาวชนรนุ หลังไดรู ไดเขาใจนิทานพื้นบานของบรรพบรุ ษุ

3. ความหมาย ความสาคญั และประโยชนจากวรรณกรรมทองถนิ่
3.1 ความหมาย
วรรณกรรมทองถ่ิน เปนเร่ืองราวทมี่ ีมานานในทองถน่ิ และมีตัวละครเป็นผนู ําเสนอ

เน้อื หาสาระของเรอ่ื งราวน้ัน เชน เรือ่ งสาวเครอื ฟา หรือวังบัวบาน เป็นตน
3.2 คณุ คา
3.2.1 แสดงถึงชีวติ ความเปนอยู สังคม และวัฒนธรรมของทองถิ่นนน้ั
3.2.2 เปนเร่ืองทใ่ี หขอคิด ขอเตอื นใจ
3.2.3 เปนมรดกสําคญั ทม่ี ีคุณคา
3.3 ประโยชน

59

3.3.1 ไดความรู ความเพลิดเพลิน
3.3.2 นาํ ขอคดิ ขอเตอื นใจ และสรุปนาํ มาใชใหเปนประโยชนตอตนเอง
3.3.3 เปนความรูทเี่ ผยแพรได

เรอื่ งที่ 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดีทน่ี าศึกษา

1. ความหมายของวรรณคดี
วรรณคดี หมายถึง เร่ืองแตงที่ไดรับยกยองวาแตงดี เป็นตัวอยางดานภาษา แสดงใหเห็น

ถึงวัฒนธรรมความเปนอยูในยุคนั้น ๆ แตงโดยกวีที่มีชื่อเสียง เชน วรรณคดีเรื่อง ขุนชางขุนแผน
พระอภัยมณี และสังขทอง เปนตน

วรรณคดีที่แตงดีมลี ักษณะดังนี้
1. เน้อื เรื่องสนกุ สนาน ใหขอคดิ ขอเตอื นใจ ทไี่ มลาสมัย
2. ใชภาษาไดเพราะ และมีความหมายดี นาํ ไปเปนตัวอยางของการแตงคาํ ประพันธได
3. ใชฉากและตัวละครบรรยายลักษณะนสิ ัย และใหขอคดิ ทผี่ ูอานตีความ โดยฉากหรือ
สถานท่ีเหมาะสมกับเรือ่ ง
4. ไดรับการยกยอง และนาํ ไปเปนเร่ืองใหศกึ ษาของนกั เขยี นและนักคดิ ได
2. วรรณคดีทนี่ าศกึ ษา
สําหรับระดับประถมศึกษาน้ีมีวรรณคดีท่ีแนะนําใหศึกษา 3 เร่ือง คือ สังขทองซ่ึงเปน
กลอนบทละคร พระอภัยมณีเปนกลอนนิทาน และขุนชางขุนแผนเปนกลอนเสภา โดยขอใหนักศึกษา
คนควาวรรณคดี 3 เร่ืองและสรุปเปนสาระสําคัญ ในหัวขอตอไปน้ี (อาจใหผูเรียนนําหัวขอเหลาน้ีแยก
เขยี นภายนอกโดยไมตองเขยี นลงในหนังสือน้ีได

1. สังขทอง
1.1 ผูแตง ______________________________________________
1.2 เนื้อเรือ่ งโดยสรปุ ยอ
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
1.3 ขอคิดและความประทบั ใจทไ่ี ดรบั จากเรือ่ งนี้
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________

60

2. พระอภัยมณี
2.1 ผแู ตง ______________________________________________
2.2 เน้อื เรือ่ งโดยสรุปยอ ____________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
2.3 ขอคิดและความประทบั ใจทไ่ี ดรบั จากเรือ่ งนี้
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________

3. ขุนชางขนุ แผน
3.1 ผูแตง ______________________________________________
3.2 เนื้อเร่อื งโดยสรปุ ยอ
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
3.3 ขอคิดและความประทับใจทไี่ ดรบั จากเรื่องน้ี
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________

(สถานที่คนควาคือ กศน.ตาํ บล หองสมดุ ประชาชน ศูนยการเรียนชมุ ชนและแหลงเรียนรอู นื่ ๆ
สําหรบั ขอคดิ และความประทับใจผูเรยี นแตละคนอาจเขยี นแตกตางกัน ซง่ึ ควรไดอานและพิจารณาขอคิด
เหลาน้นั วาถูกตองเหมาะสมกบั เนือ้ หาของแตละเรอื่ งเหลาน้ีหรือไม

61

บทท่ี 7
ภาษาไทยกับช่องทางการประกอบอาชีพ

สาระสาคัญ
ภาษาไทยเป็นภาษาประจาํ ชาติ เป็นภาษาท่ีใชใ้ นการส่ือสารในชีวติ ประจําวนั อกี ทัง้ ยังเป็น

ชอ่ งทางท่ีสามารถนาํ ความร้ภู าษาไทยไปใชใ้ นการประกอบอาชีพตา่ ง ๆ โดยใชศ้ ลิ ปทางภาษาเป็นสื่อนาํ
ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั

เมื่อศึกษาจบบทท่ี 7 แล้วคาดหวงั วา่ ผเู้ รียนจะสามารถ
1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถวเิ คราะหศ์ ักยภาพตนเอง ถงึ ความถนดั ในการใชภ้ าษาไทย
ด้านต่าง ๆ ได้
2. เหน็ ช่องทางในการนําความรู้ภาษาไทยไปใช้ในการประกอบอาชีพ
3. เห็นคณุ ค่าของการใช้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพ
ขอบข่ายเน้ือหา
เรอ่ื งท่ี 1 คุณค่าของภาษาไทย
เรอ่ื งท่ี 2 ภาษาไทยกับช่องทางการประกอบอาชีพ
เรอื่ งท่ี 3 การเพ่ิมพนู ความรแู้ ละประสบการณ์ทางด้านภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ

เร่ืองที่ 1 คณุ ค่าของภาษาไทย

ภาษาไทย นอกจากจะเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจําวันของชาวไทยแล้ว
ภาษาไทยยังบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย มาต้ังแต่โบราณกาลเป็นภาษาท่ีประดิษฐ์คิดค้นขึ้น

62

โดยพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย ไม่ได้ลอกเลียนแบบมาจากภาษาอ่ืน หรือชาติอื่น ประเทศไทยมีภาษาไทยเป็น
ภาษาประจาํ ชาติ ซ่ึงถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีศิลปะ วัฒนธรรมทางภาษา กล่าวคือ เป็นภาษาที่ไพเราะ
สภุ าพ อ่อนหวาน แสดงถึงความนอบน้อม มีสมั มาคารวะ นอกจากนี้ยงั สามารถนํามาเรียบเรียง แต่งเป็น
คําประพันธ์ประเภทร้อยแก้ว ร้อยกรอง นิยาย นิทาน วรรณคดี และบทเพลงต่างๆ ได้อย่างไพเราะ
ทําใหเ้ พลดิ เพลิน ผอ่ นคลายความตงึ เครียดใหก้ ับสมอง แมช้ าวต่างชาติก็ยังชื่นชอบ ในศิลปะวัฒนธรรม
ไทยของเรา

ดังน้ัน พวกเราชาวไทย จึงควรเห็นคุณค่า เห็นความสําคัญและร่วมกันอนุรักษ์
ภาษาไทยไว้ให้ชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ และสืบทอดกันต่อ ๆ ไป เพื่อให้ภาษาไทยของเราอยู่คู่กับ
ประเทศไทยและคนไทยตลอดไป
ความสาคญั ของภาษาไทย

ภาษาไทยมคี วามสําคัญและก่อให้เกิดประโยชนห์ ลายประการ เช่น
1. เปน็ พน้ื ฐานในการศกึ ษาเรียนรู้และแสวงหาความรู้ บรรพบรุ ษุ ได้สร้างสรรค์ สะสม
อนุรกั ษแ์ ละถ่ายทอดเปน็ วฒั นธรรมจนเป็นมรดกของชาติ โดยใช้ภาษาไทยเป็นส่ือ ทําให้คนรุ่นหลังได้ใช้
ภาษาไทยเป็นเคร่อื งมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ เลือกรับสิ่งที่เป็นประโยชน์มาใช้ในการพัฒนา
ตนเอง พัฒนาสติปัญญา กระบวนการคือ การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การแสดงความคิดเห็น ทําให้
เกิดความร้แู ละประสบการณท์ ่งี อกงาม
2. เป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน เช่น ศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ระดับอุดมศึกษา เปน็ ตน้ ลว้ นต้องใช้ภาษาไทยเป็นพนื้ ฐานในการศึกษาต่อ
3. เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชีพ การบันทึกเร่ืองราวต่าง ๆ
การจดบนั ทึก การอา่ น การฟังการดู ทําให้เกิดประสบการณ์เห็นช่องทางการประกอบอาชพี

เร่ืองที่ 2 ภาษาไทยกับชอ่ งทางการประกอบอาชีพ

การศึกษาและเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย นับเป็นพื้นฐานสําคัญในการประกอบอาชีพ
หากมีการฝึกฝนเพ่ิมพูนทักษะด้านต่าง ๆ เช่น การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ก็จะสามารถใช้
ประโยชนจ์ ากภาษาไทยไปประกอบอาชพี ได้

ในการประกอบอาชีพต่างๆ น้ัน ลว้ นตอ้ งใช้ภาษาไทยเปน็ พ้ืนฐาน การไดฟ้ ัง ได้อา่ น
ได้เขียนจดบันทึก ตัวอย่างเรอ่ื งราวต่างๆ จะทําให้ได้รับความรู้และข้อมูลเก่ียวกับอาชีพต่าง ๆ ทาํ ให้
มองเห็นช่องทางการประกอบอาชีพ ชว่ ยใหต้ ัดสนิ ใจประกอบอาชพี ได้อย่างม่ันใจ นอกจากน้ยี ังเป็นข้อมลู
ท่จี ะชว่ ยสง่ เสรมิ ให้บุคคลผทู้ ่ีมีอาชพี อย่แู ล้ว ได้พัฒนาอาชีพของตนให้เจรญิ กา้ วหน้าอีกดว้ ย

นอกจากน้ียงั สามารถใชก้ ารฟัง การดู และการอ่านเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้ผูเ้ รยี นมี
ข้อมูล ข้อเทจ็ จริง หลักฐาน เหตผุ ล ตวั อยา่ งแนวคดิ เพื่อนําไปใช้ในการวิเคราะห์ วิจารณ์ และตดั สินใจ
แก้ปัญหาตา่ งๆ รวมท้ังตัดสนิ ใจในการประกอบอาชีพได้เปน็ อยา่ งดี
ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ

วิชาชีพทใ่ี ชภ้ าษาไทย เป็นทักษะพนื้ ฐานในการประกอบอาชีพ ไดแ้ ก่ อาชีพนักพูด
นักเขียนท่ีต้องใช้ทกั ษะการพูด และการเขียนเป็นพ้ืนฐาน เชน่

1. ผูป้ ระกาศ
2. พิธีกร

63

3. นักจัดรายการวิทยุ
4. นักเขียนโฆษณาประชาสมั พนั ธ์
5. นักข่าว
6. นักเขยี นประกาศโฆษณาขา่ วท้องถิน่
7. นกั เขียนบทความ
ทงั้ นี้ ในการตดั สินใจเลือกอาชพี ตา่ งๆ ข้ึนอยกู่ บั ความถนัด ความสามารถและ
ประสบการณ์ทีแ่ ต่ละคนได้สงั่ สมมา รวมทัง้ ต้องมีการฝกึ ฝนเรยี นรูเ้ พมิ่ เตมิ ดว้ ย
การเตรียมตวั เข้าสู่อาชีพพธิ ีกร
อาชีพพิธีกร เป็นอาชีพที่ต้องใช้ทักษะการพูดมากท่ีสุด รองลงมาเป็นการใช้ทักษะ
การฟัง การดู การอ่าน ที่จะช่วยสะสมองค์ความรู้ไว้ในตน พร้อมที่จะดึงออกมาใช้ได้ตลอดเวลา
สิ่งสําคัญในการเป็นพิธีกร คือ การพูด จึงต้องเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ เช่น ศึกษาเรื่องลักษณะการพูดท่ีดี
หนา้ ทขี่ องพธิ ีกร คุณสมบัตขิ องผู้ที่เป็นพธิ กี ร ขนั้ ตอนการพูดของพธิ ีกร เปน็ ต้น
ลักษณะการพูดท่ีดี
1. เนอ้ื หาทพี่ ดู ดี ตรงตามจดุ ประสงค์เปน็ ไปตามข้ันตอนของงานพธิ ีนั้น ๆ
2. มีวิธีการพูดที่ดี นํ้าเสียงนุ่มนวล ชัดถ้อย ชัดคํา ใช้คําพูดถูกต้องเหมาะสม พูดสั้น ๆ กระชับ
ไดใ้ จความและประทับใจ เชน่ การพูดแสดงความเสียใจกรณีเสยี ชีวติ เจ็บป่วย หรือประสบเคราะห์กรรม
ควรมวี ธิ ีการพดู ดงั น้ี
- พดู ใหร้ ู้สกึ วา่ เหตกุ ารณ์ทีเ่ กิดขน้ึ เปน็ เร่ืองปกติ
- แสดงความรู้สกึ หว่ งใย รว่ มทกุ ข์รว่ มสขุ
- พดู ด้วยนํ้าเสยี งแสดงความเศร้าสลดใจ
- พดู ด้วยวาจาสภุ าพ
- ใหก้ ําลงั ใจและยินดจี ะชว่ ยเหลือ
3. มบี คุ ลกิ ภาพที่ดี ผู้พูดมีการแสดงออกทางกาย ทางสีหน้า ทางจิตใจท่ีเหมาะสมกับลักษณะ
งานนน้ั ๆ ซึ่งมลี กั ษณะแตกต่างกนั เช่น งานศพ งานมงคลสมรส งานอุปสมบท เปน็ ตน้

หนา้ ทีข่ องพิธีกร
พิธีกร คือ ผูด้ าํ เนินการในพิธี ผ้ดู าํ เนินรายการ ผูท้ ําหน้าท่ีดําเนนิ รายการของงานที่จัดขนึ้ อย่างมี

พธิ ีการ
หนา้ ท่ีของพิธีกร จะเปน็ ผทู้ ําหนา้ ทบ่ี อกกล่าวใหผ้ ูร้ ว่ มพธิ ีการต่างๆได้ทราบถึงข้นั ตอนพธิ ีการ

ว่ามอี ะไรบา้ ง ใครจะเป็นผู้พดู พูดตอนไหน ใครจะทําอะไร พิธกี รจะเป็นผแู้ จ้งให้ทราบ นอกจากน้ี
พิธีกรจะทําหน้าที่ประสานงานกับทุกฝ่ายให้รับทราบตรงกัน

พธิ กี ร จงึ เปน็ ผมู้ คี วามสาํ คัญย่ิงตอ่ งานพธิ ีนน้ั ๆ ถา้ พธิ กี รทําหนา้ ท่ไี ดด้ ี งานพธิ ีนั้นก็จะดําเนนิ ไป
ด้วยความราบร่นื เรยี บร้อย แต่ถ้าพิธีกรทําหนา้ ทบี่ กพร่องก็จะทาํ ใหง้ านพิธีนนั้ ไม่ราบรนื่ เกดิ ความ
เสียหายได้
คุณสมบัติของพธิ กี ร

1. เปน็ ผู้ทมี่ บี ุคลกิ ดี รปู ร่างดี สงา่ มใี บหนา้ ยิ้มแย้มแจม่ ใส รู้จักแตง่ กายให้สภุ าพเรียบร้อย
เหมาะกบั กาลเทศะ

2. มีนา้ํ เสียงนุ่มนวล น่าฟัง มีลีลาจงั หวะการพูดพอเหมาะ ชวนฟัง มชี วี ิตชวี า
3. พดู ออกเสียงถูกตอ้ งตามอักขรวิธี ชัดเจน ออกเสยี งคําควบกลํ้าได้ถกู ต้อง

64

4. ใชภ้ าษาดี เลือกสรรถอ้ ยคํานาํ มาพดู ให้ผู้ฟงั เขา้ ใจง่าย สอื่ ความหมายได้ดี สั้นและกระชับ
มีศลิ ปะในการใชภ้ าษา

5. มมี ารยาทในการพูดให้เกียรติผฟู้ งั ควบคุมอารมณ์ได้ดี
6. มมี นษุ ยสมั พันธท์ ่ีดี มีวธิ ีสร้างบรรยากาศด้วยสหี น้าทา่ ทาง ลีลาและนํา้ เสียง ฯลฯ
7. เปน็ ผู้ใฝ่ใจศึกษารูปแบบวิธกี ารใหม่ ๆ มาใช้ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ ยอมรับฟังความคดิ เห็น
ของบุคคลอนื่ และพยายามพัฒนาปรบั ปรงุ ตนเองอยเู่ สมอ
8. มีความรู้ในรายละเอียด ข้ันตอน วิธีการของกิจกรรมที่จะทําหน้าท่ีพิธีกรเป็นอย่างดี ด้วย
การศึกษา ประสานงาน ซักซ้อมสอบถามจากทกุ ฝ่ายให้ชัดเจนและแม่นยาํ
9. เปน็ คนมปี ฏภิ าณไหวพริบดี มีความสามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ได้อย่างฉบั ไว
ขนั้ ตอนการพดู ของพิธกี ร
1. กล่าวทักทายกับผู้ฟงั
2. แจ้งวตั ถุประสงคห์ รือกล่าวถึงโอกาสของการจดั งาน
3. แจง้ ถงึ กิจกรรมหรือการแสดงท่ีจะจัดข้นึ วา่ มีอะไร มีข้ันตอนอยา่ งไร
4. กล่าวเชิญประธานเปิดงาน เชิญผู้กล่าวรายงาน (ถ้ามี) และกล่าวขอบคุณเม่ือประธาน
กล่าวจบ
5. แจ้งรายการทจี่ ะดําเนินการในลาํ ดบั ตอ่ ไป ถา้ มีการอภปิ รายกเ็ ชญิ คณะผู้อภปิ ราย
เพื่อดําเนินการอภิปราย ถา้ หากงานนั้นมีการแสดงก็แจง้ รายการแสดง ดงั นี้

5.1 บอกชื่อรายการ บอกท่ีมา หรือประวัตเิ พื่อเกร่นิ ใหผ้ ู้ฟงั เขา้ ใจเปน็ พื้นฐาน
5.2 ประกาศรายนามผูแ้ สดง ผู้ฝกึ ซ้อม ผ้คู วบคุม
5.3 เชิญชมการแสดง
5.4 มอบของขวัญของท่รี ะลึกหลงั จบการแสดง
6. พดู เชื่อมรายการ หากมีการแสดงหลายชุดก็จะตอ้ งมีการพูดเชื่อมรายการ
7. เมื่อทุกรายการจบสิ้นลง พิธีกรจะกล่าวขอบคุณแขกผู้มีเกียรติ ผู้ฟังและผู้ชม ผู้ที่ให้การ
ชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ งาน หากมพี ิธปี ิด พิธกี รก็จะต้องดาํ เนนิ การจนพิธีปดิ เสร็จเรยี บร้อย

เร่อื งที่ 3 การเพมิ่ พนู ความรแู้ ละประสบการณ์ทางดา้ นภาษาไทยเพอื่ การประกอบอาชีพ

ผู้เรียนทม่ี องเห็นช่องทางการประกอบอาชีพแล้ว และในการตัดสินใจเลอื กอาชพี จําเป็นต้องศึกษา
เรียนรู้เพิม่ เติม เพื่อเพิ่มพูนความรแู้ ละประสบการณ์ นําไปประกอบอาชีพได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

การศึกษาเรียนรเู้ พม่ิ เตมิ อาจทําได้หลายวธิ ี
1. ศึกษาต่อในระดับท่ีสงู ข้ึน
2. ศกึ ษาต่อ เรียนรเู้ พ่มิ โดยเลือกเรยี นในรายวิชาเลือกตา่ งๆ ทสี่ ํานักงาน กศน. จัดทําไว้ให้
ตามความต้องการ
3. ฝกึ ฝนตนเองให้มีทักษะ มีประสบการณเ์ พ่ิมมากข้นึ เชน่ อาชีพพธิ ีกร ควรฝกึ ทักษะด้าน

3.1 การมบี คุ ลกิ ภาพท่ดี ี
3.2 การพูดในท่ีชุมชน
3.3 มารยาทในการพดู

65

กิจกรรม
ใหผ้ ้เู รยี นตอบคาถามต่อไปนี้

1. บอกคุณคา่ ของภาษาไทย
1)....................................................................
2)....................................................................
3)....................................................................
4)....................................................................
5)....................................................................

2. ใหผ้ เู้ รียนดูและฟัง การพดู ของพธิ กี รในรายการตา่ งๆ จากโทรทศั น์ วิทยุ รวมท้ังจากงานพิธี
จริง เพอ่ื สังเกตขั้นตอน วธิ กี ารและเทคนิคต่าง ๆ ของพธิ กี รเพือ่ เป็นตวั อยา่ ง และให้พิจารณาเลอื กใชส้ ่งิ
ดๆี มาเป็นแบบอย่าง สว่ นทม่ี องเห็นวา่ บกพรอ่ ง กน็ ํามาเป็นข้อควรระวัง โดยบนั ทกึ ข้อดีและข้อควร
ปรับปรงุ จากการดูและฟงั ในรายการต่าง ๆ

3. ให้ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมตุ ใิ ห้ตัวเองเป็นพิธกี รในงานใดงานหนงึ่ แลว้ ให้เพ่ือนชว่ ยวิจารณ์
จากน้ันครปู ระจํากลุ่มช่วยสรปุ และให้คาํ แนะนํา กจ็ ะทาํ ให้ผู้เรียนได้พฒั นาปรบั ปรุงตนเอง และ
พฒั นาการพูดในฐานะพธิ กี รได้อย่างดี

เฉลยแบบฝกหดั

ในการเฉลยแบบฝกหดั ผูสอนสามารถพิจารณาปรบั เปลย่ี นไดตามความเหมาะสม
บทที่ 1 การฟงและการดู

เรอื่ งที่ 1 1. หลกั การฟงและดู
1. ฟงและดูอยางตั้งใจ
2. มจี ุดมงุ หมาย
3. จดบันทึกใจความสาํ คญั
4. ศกึ ษาความรู กอนทจี่ ะฟงและดู

2. ความสาคญั ของการฟงและดู
1. เปนการส่ือสารระหวางกัน
2. เพิ่มความรูและประสบการณ
3. เปนการเผยแพรความรู
4. เปนการพัฒนาชวี ติ และความเปนอยู

3. มจี ดุ มงุ หมายของการฟงและดู
1. เพ่อื ความรู
2. เพ่ือรเู ทาทันเหตกุ ารณ
3. เพอื่ ความเพลดิ เพลิน

66

เรื่องท่ี 2 4. เพือ่ ใชเวลาวางใหเกดิ ประโยชน
1. วิธกี ารฟงเพอื่ จบั ใจความสาคญั

1. ฟงอยางตงั้ ใจและมสี มาธิ
2. ฟงใหตลอดเรื่อง
3. ฟงอยางมีวจิ ารณญาณ

เรื่องท่ี 3 2. วิธีการดูแลวจับใจความสาคัญ
เรอื่ งที่ 4 1. ฟงแลวรรู ายละเอียด
2. เขาใจเนื้อหาสาระ
บทที่ 2 การพูด 3. ประเมินคาเรื่องทฟ่ี ง
เร่อื งที่ 1 4. จดบนั ทกึ ใจความสําคญั

1. วิธีการของการสรุปความ
1. นําใจความสําคญั มาเขียนสรปุ ดวยสาํ นวนตนเอง
2. การใชประโยชนจากสรปุ ความ โดยนาํ มาศกึ ษาหรือเผยแพร

2. การนาวธิ กี ารสรปุ ความไปใชประโยชน
1. สรุปการฟง และดูประจาํ วนั
2. เผยแพรความรเู รือ่ งจากการฟงและดู

1. มารยาทในการฟง
1. ต้งั ใจฟงผูอื่น
2. ไมรบกวนสมาธิผูอ่นื
3. ใหเกียรตวิ ทิ ยากร
4. ฟงใหจบ

2. มารยาทในการดู
1. ตง้ั ใจดู
2. ไมรบกวนสมาธิผูอนื่
3. ไมฉกี ทําลายเอกสารทด่ี ู
4. ดูแลวใหรักษาเหมอื นสมบัติของตน

1. การนาหลักการและความสาคัญของการพูดไปใช ดังนี้
1. มีความรูเรอื่ งทพี่ ูด
2. พดู ดวยคําสุภาพ
3. ส่อื สารกับผูอน่ื เขาใจ
4. ใชแสดงความคิดเหน็

2. จุดมงุ หมายของการพูด
1. เพือ่ สอื่ สารกบั ผูอ่นื
2. เพอ่ื แสดงความรู ความสามารถของตนเอง
3. เพอ่ื แสดงความเห็น

67

เรอ่ื งที่ 2 1. การเตรยี มตวั การพูด
เรื่องที่ 3 1. การแตงกาย
2. เนอ้ื หาสาระทพี่ ดู
เร่อื งท่ี 4 3. เอกสาร อปุ กรณประกอบการพดู
4. เตรยี มพรอมทง้ั รางกายและจติ ใจ
บทที่ 3 การอาน
เรือ่ งท่ี 1 1. วิธีการพดู ในสถานการณตาง ๆ
1 การพูดอวยพร ใหมีความสุข ความเจรญิ โดยอางสง่ิ ศกั ด์สิ ทิ ธิ์
ใหผฟู งประทบั ใจ
2 การพูดขอบคณุ พูดดวยภาษาสภุ าพ บอกเหตุท่ีตอง
ขอบคุณ และหากมีโอกาสจะตอบแทนบางโอกาสหนา
3 การพูดตอนรับ พดู ดวยคําสุภาพ นมุ นวล ประทบั ใจ
พดู แนะนาํ บคุ คล หรือสถานท่ี

2. การนาความรูดานการพูดไปใช
1. อวยพรวันเกิด
2. อวยพรวนั ข้ึนปใหม
3. กลาวตอนรบั ผูมาเยย่ี มเยอื น
4. กลาวขอบคุณทใี่ หการตอนรบั อยางดี

1. มารยาทในการพดู
1. ใชคาํ พูดสุภาพ
2. ไมพูด วารายผูอืน่
3. พดู คดั คานดวยเหตุผล

2. มารยาทดใี นการพูด จะมปี ระโยชน
1. เปนท่รี ักของผูอน่ื
2. ผูอ่นื ยินดีพดู ดวย
3. ไดรบั ความไววางใจจากผูอน่ื

1. หลกั การอาน
1. มีจดุ มุงหมายในการอาน
2. เลอื กหนังสอื อานตามความสนใจ
3. อานถกู ตองตามอกั ขรวธิ ี

2. ความสาคญั ของการอาน
1. รบั สารเปนความรูหลากหลาย
2. ไดความรู ทักษะและประสบการณ
3. พัฒนาความคิดผูอาน

3. จดุ มงุ หมายในการอาน
1. ใหมคี วามรู
2. ใหเพลดิ เพลนิ
3. นาํ ความรูไปประยกุ ตใช
4. เปนผูทนั สมยั ทนั เหตกุ ารณ

68

เร่ืองที่ 2 1. อานออกเสียงไดโดย
1. ออกเสียงถกู ตอง
2. อานอยางมจี งั หวะ
3. อานอยางเขาใจเนื้อเร่ือง
4. อานเสียงดงั ฟงชดั

2. ใจความสาคญั และสรปุ ความ เรอื่ งผูนาํ ยวุ เกษตรกรไทย
“เตรียมไปญ่ีปุน”

กรมสงเสริมการเกษตร สาํ นักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมสงเสริมสหกรณ
กรมปศุสัตว และสํานักงานปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตร คัดเลือกยุวเกษตรกรเขารับการฝกงานตาม
โครงการ จํานวน 21 คน เขารับการฝกงานที่ญ่ีปุนโดยเดินทาง 6 เมษายน 2552 โดยจะตองอบรมดาน
พนื้ ฐานการเกษตรและภาษาญ่ีปุนกอน ระหวางวนั ที่ 16 กมุ ภาพันธ – 31 มีนาคม 2552

เรอื่ งที่ 3 1. รอยกรองคอื คําประพนั ธทแ่ี ตง โดยมกี ารสัมผสั ใหคลองจองกนั
2. การอานกลอนสุภาพ ใหแบงคําแยกเปน 3/2/3 หรือบางบท
อาจเปน 3/3/3 ก็ได

เรอื่ งท่ี 4 1. เลอื กหนังสืออานไดโดย
1. อานหนังสือตามความสนใจ พิจารณาจากชอ่ื ผูเขียนหรอื สารบญั
2. พิจารณาเนื้อหาสาระทเี่ ก่ยี วกบั ผูเขียน
3. พจิ ารณาหนังสอื ประกอบการเรียน บรรณานุกรม

2. ประโยชนของการอาน
1. ไดรับความรู ความคดิ
2. ไดรับความเพลิดเพลิน
3. ใชเวลาวางใหเปนประโยชน

เรอ่ื งที่ 5 1. มารยาทในการอานทนี่ อกเหนือจากการศึกษา
1. ไมอานหนงั สอื ขณะฟงผูอนื่ พูด
2. ไมอานหนังสอื ของผูอืน่ ทไี่ มไดรบั อนุญาตกอน ฯลฯ

2. การมนี สิ ยั รกั การอานทนี่ อกเหนือจากการศกึ ษา
1. พยายามอานทุกอยางทพี่ บเห็นแมจะเป็นขอความส้นั ๆ

บทท่ี 4 การเขียน หลักการเขียน ประโยชนของการเขียน
เรือ่ งที่ 1 1. เขยี นดวยความเรยี บรอย และถกู ตองตามหลกั ภาษา
2. มีจดุ มุงหมายในการเขยี น
เรอ่ื งท่ี 2 บอกชื่อสระตอไปนี้
1. ะ เรยี กวา วสิ รรชนีย
2. ุ เรียกวา ตนี เหยียด
3. ู เรียกวา ตนี คู
4. เ เรียกวา ไมหนา
5. ไ เรียกวา ไมมลาย
6. โ เรียกวา ไมโอ

69

7. ย เรยี กวา ตวั ยอ
8. ว เรยี กวา ตวั วอ
9. ฤ เรยี กวา ตัวรึ
10. ฦา เรยี กวา ตวั ลอื
เร่ืองท่ี 3 1. คาสะกดดวย

- แมกง เชน งง สรง คง ฯลฯ
- แมกน เชน กล คน บน ฯลฯ
- แมกม เชน กลม คม ดม ฯลฯ
- แมกบ เชน กบ ครบ หลับ ฯลฯ
- แมเกย เชน เลย เฉย ตาย ฯลฯ
2. ประสมคาทมี่ พี ยัญชนะ สระ และวรรณยุกต
1. สิ้น
2. ดาย
3. ที่
4. เตา
5. ตาย
เรอ่ื งท่ี 4 ชอื่ นามสกุล เจาของประวตั ิ
เรื่องท่ี 5 1. สวนประกอบของรายงาน
1. ปกหนา
2. คํานาํ
3. สารบัญ
4. เนื้อหาสาระ
5. บรรณานุกรม
2. เชิงอรรถ จะมชี ่ือผูเขียน ปที่พมิ พ และเลขที่หนาหนังสือท่ี
นํามาใชประกอบการเขียน
3. บรรณานุกรม ประกอบดวย รายช่อื ผูเขียนเรียงตามตัวอักษร
ชือ่ หนังสอื ชื่อสถานที่พิมพ ชือ่ โรงพมิ พ และ ปที่พมิ พ
เรื่องที่ 6 1. มารยาทในการเขียน
1. เขียนถูกตอง ชดั เจน
2. เขียนเชงิ สรางสรรค
3. เขียนในส่ิงทค่ี วรเขียน ไมเขยี นในสิง่ ทไี่ มควรเขยี น
4. เขียนทุกอยางทเี่ ปนความจรงิ
5. ไมเขียนขอความในหนงั สอื ทเ่ี ปนสวนรวม
2. นิสัยรกั การเขยี น
1. เร่ิมตนเขยี นจากงายไปยาก
2. เขยี นทกุ ๆ วนั
3. พยายามเขยี นดวยใจรัก
บทท่ี 5 หลักการใชภาษา
เร่ืองที่ 1 1. เสยี งพยัญชนะ มี 21 เสยี ง

70

เร่ืองท่ี 2 2. เสยี งสระมี 24 เสียง
3. เสยี งวรรณยกุ ต มี 5 เสยี ง
4. นา มเี สยี งวรรณยกุ ตสามัญ

หมา มีเสยี งวรรณยุกตจตั วา
กนิ มเี สยี งวรรณยกุ ตสามญั
สนิ มีเสยี งวรรณยุกตจตั วา
พลอย มเี สียงวรรณยกุ ตสามัญ
5. ไตรยางค์ คือ อกั ษร 3 หมู ไดแก อักษรสงู กลาง และตาํ่
1. สรางกลมุ คา
1. เดิน เดินไปโรงเรียน
2. ชน ชนกนั อยางแรง
3. แดง แดงมาก
4. น้าํ นาํ้ สกปรก

เรื่องท่ี 3 2. สรางประโยค
เร่ืองท่ี 4 1. บุญศรเี ดินไปโรงเรียน (บอกเลา)
2. รถโรงเรียนชนกนั อยางแรง (บอกเลา)
3. เสอ้ื ตวั นี้แดงมากไปหรือ (คาํ ถาม)
4. อยาดม่ื น้ําสกปรก (คาํ สงั่ )

ใชเครอ่ื งหมายวรรคตอนท่ีเหมาะสม
1. วันน้ีลกู สาวสงั่ ซอ้ื ขนมทองหยบิ ทองหยอด เมด็ ขนุน

ฝอยทอง ฯลฯ
2. นทิ านมหี ลายชนดิ เชน นิทานชาดก นทิ านปรัมปรา

นิทานคตสิ อนใจ
3. คําตอบขอนี้ถูกท้ัง ก. ข. ค. ง.
4. เธอนัดใหฉนั ไปพบในเวลา 08.00 น.

อักษรยอ
พ.ศ. ร.ร. น.ส.
1. วิธีการใชพจนานุกรม
1. เรียงลาํ ดับคํา
2. พจิ ารณาอกั ขรวิธี
3. การบอกเสียงอาน
4. การบอกความหมาย
5. การบอกประวัติของคําและชนิดของคํา
2. คาราชาศัพท คา
พระราชบิดา ตรัส พระราชทาน พระบรมฉายาลักษณ ประทับ
เสดจ็ รบั สัง่
3. คาสภุ าพ 7 คา

71

สนุ ัข รับประทาน ทราบ มูลดิน ไมตพี รกิ ครบั ศีรษะ
เร่อื งที่ 5 1. สานวน

ในนา้ํ มปี ลา ในนามขี าว
คนรกั เทาผนื หนัง คนชังเทาผืนเส่ือ
ฝนทัง่ ใหเปนเข็ม
ฯลฯ
2. คาพงั เพย
รกั วัวใหผกู รกั ลกู ใหตี
สอนหนงั สือสังฆราช
ชางตายท้งั ตัว เอาใบบัวปด
ฯลฯ
3. สภุ าษิต
รักยาวใหบั่น รักสน้ั ใหตอ
น้ํารอนปลาเปน น้าํ เยน็ ปลาตาย
เหน็ ชางข้ี อยาขตี้ ามชาง
ฯลฯ
เรื่องที่ 6 วิธีใชภาษาไดอยางเหมาะสม
1. ใชภาษาตรงไปตรงมา ไมโกหกหลอกลวง ใหรายผูอืน่
2. ไมใชคาํ หยาบ
3. ใชภาษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะและระดับของบคุ คล
4. ใชภาษาใหเกดิ ความรกั สามคั คี
5. ใชภาษาใหถูกตองตามหลกั ภาษา
เรอื่ งที่ 7 1. ลักษณะคาไทย
1. เปนคําเดียวโดดๆ มคี วามหมายชดั เจน
2. ตวั สะกดตรงตามมาตรา
3. ไมมตี ัวการันต

ฯลฯ
2. คาภาษาตางประเทศ 10 คา

แปะเจี๊ยะ กวยจั๊บ ซินแส อั้งโล โฮเต็ล ปม แชมป แท็กซ่ี
แสตมป ฟต
บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม
เรือ่ งท่ี 1 1. คณุ คา
1. คุณคาของนิทาน ไดแก ใชเปนขอคติเตอื นใจ เปนมรดกของ

บรรพบุรษุ และไดประโยชนจากการเลาและฟง
2. คณุ คาของนทิ านพ้นื บาน ไดแก เปนเร่อื งเลาที่แสดงใหเห็นถงึ ชวี ติ

ความเปนอยขู องคนพ้ืนบานทเ่ี ปนอยูกนั มาแตด่ ้งั เดมิ และไดขอคิด
ขอเตือนใจ รวมทง้ั ความภูมใิ จของคนรนุ หลังตอมา
3. คุณคาของวรรณกรรมทองถ่ิน ไดแก การแสดงถงึ วิถชี ีวิต

72

ความเปนอยขู องทองถิ่น ใหขอคิด ขอเตอื นใจ เปนมรดก
ทค่ี วรรกั ษาไว

2. นาไปใชประโยชนไดโดย
1. อานเพ่ิมความรู ความเพลดิ เพลิน
2. ใชเวลาวางใหเปนประโยชน
3. นําขอดีเปนตัวอยางไปใช

บทท่ี 7ภาษาไทยกบั ช่องทางการประกอบอาชพี
เรื่องที่ 1 คุณคา่ ของภาษาไทย
1. ใช้สอ่ื สารในชวี ิตประจําวัน
2. บง่ บอกถงึ เอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย
3. เป็นวัฒนธรรมทางภาษา
4. เป็นภาษาทส่ี ามารถแสดงถงึ ความนอบน้อม สภุ าพ อ่อนหวาน
5. สามารถเรียบเรยี งแต่งเป็นคําประพนั ธ์

73

บรรณานกุ รม

การศึกษานอกโรงเรียน, กรม. ชุดวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภา,
2546.

เรืองอไุ ร อินทรประเสรฐิ . ภาษาไทย 1. กรงุ เทพฯ : ศูนยสงเสริมวชิ าการ, 2546.
อัครา บุญทพิ ย และบปุ ผา บุญทิพย ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ : ประสานมติ ร, 2546.

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551

74

รายชื่อผูเขารวมประชุมปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาหนงั สือเรียนวชิ าภาษาไทย

ระหวางวันที่ 10 – 13 กุมภาพันธ ณ บานทะเลสคี รีมรสี อรท
จงั หวดั สมุทรสงคราม

1. นางสาวพมิ พใจ สิทธสิ ุรศกั ดิ์ ขาราชการบํานาญ
2. นางพมิ พาพร อนิ ทจกั ร สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
3. นางกานดา ธิวงศ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
4. นายเรงิ กองแกว สาํ นักงาน กศน. จงั หวดั นนทบุรี

รายชือ่ ผูเขารวมประชุมบรรณาธกิ ารหนงั สือเรียนวิชาภาษาไทย

ครงั้ ที่ 1 ระหวางวนั ท่ี 7 – 10 กันยายน 2552 ณ โรงแรมอูทองอินน
จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

1. นางสาวพิมพใจ สทิ ธสิ รุ ศักดิ์ ขาราชการบํานาญ

2. นายเริง กองแกว สาํ นกั งาน กศน. จังหวดั นนทบรุ ี

3. นางนพรัตน เวโรจนเสรวี งศ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน

ครง้ั ท่ี 2 ระหวางวันท่ี 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอูทองอนิ น
จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

1. นางสาวพมิ พใจ สทิ ธิสรุ ศกั ดิ์ ขาราชการบาํ นาญ

2. นายเริง กองแกว สํานกั งาน กศน. จงั หวดั นนทบุรี

3. นางนพรตั น เวโรจนเสรีวงศ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

75

คณะผจู้ ดั ทา

ทปี่ รกึ ษา บญุ เรือง เลขาธิการ กศน.
1. นายประเสรฐิ อม่ิ สวุ รรณ์ รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชัยยศ จาํ ปี รองเลขาธกิ าร กศน.
3. นายวชั รินทร์ แก้วไทรฮะ ทีป่ รกึ ษาด้านการพัฒนาหลักสูตร กศน.
4. ดร.ทองอยู่ งามเขตต์ ผอู้ ํานวยการกลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางศุทธินี
กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
คณะทางาน ม่ันมะโน กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นายสุรพงษ์ ศรรี ตั นศิลป์ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นายศภุ โชค ปทั มานนท์ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร กลุ ประดิษฐ์ กล่มุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศริญญา เหลอื งจิตวัฒนา
5. นางสาวเพชรนิ ทร์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
ผพู้ มิ พต์ น้ ฉบบั กลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นางปยิ วดี คะเนสม กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น

2. นางสาวเพชรนิ ทร์ เหลืองจิตวฒั นา กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

3. นางสาวกรวรรณ กวีวงษ์พพิ ัฒน์

4. นางสาวชาลนี ี ธรรมธษิ า

5. นางสาวอลิศรา บ้านชี

ผ้อู อกแบบปก

นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป์

รายช่ือผูเขารวมประชุมปฏิบตั กิ ารปรับปรงุ เอกสารประกอบการใชห้ ลกั สูตรและ
สื่อประกอบการเรยี นหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551 ระหวา่ งวนั ที่ 4 – 10 พฤศจกิ ายน 2554
ณ โรงแรมมิรามา่ กรงุ เทพมหานคร

76

สาระความรูพ้ ้นื ฐาน (รายวิชาภาษาไทย)

ผู้พฒั นาและปรบั ปรงุ

1. นางอัชราภรณ์ โคว้ คชาภรณ์ หนว่ ยศึกษานิเทศก์

2. นางเกล็ดแก้ว เจรญิ ศักดิ์ หนว่ ยศึกษานิเทศก์

3. นางนพรัตน์ เวโรจนเสรีวงศ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน

4. นางสาวสมถวลิ ศรีจนั ทรวโิ รจน์ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

5. นางสาววนั วิสาข์ ทองเปรม กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

คณะผปู้ รับปรงุ ข้อมลู เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ปี พ.ศ. 2560

ที่ปรกึ ษา จําจด เลขาธิการ กศน.
หอมดี ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร
1. นายสรุ พงษ์ ปฏิบตั หิ นา้ ที่รองเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสรฐิ สขุ สุเดช ผ้อู ํานวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั
3. นางตรนี ุช

ผ้ปู รับปรงุ ข้อมลู

1. นางสาวทิพวรรณ วงคเ์ รือน 77
2. นางสาวชมพูนท สงั ข์พิชัย
กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลุม่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

คณะทางาน

1. นายสรุ พงษ์ มนั่ มะโน กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป์ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กล่มุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กล่มุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
4. นางเยาวรัตน์ ป่นิ มณวี งศ์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลุม่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสว่าง

6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ์ รือน

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน์

8. นางสาวชมพูนท สงั ขพ์ ิชยั


Click to View FlipBook Version