42
กระแสไฟฟ้าจะส่งผ่านมิเตอร์ไฟฟ้ามายังแผงควบคุมไฟฟ้า ซ่ึงแผงควบคุมไฟฟ้า
ทาหน้าท่ีจ่ายกระแสไฟฟา้ ไปยงั อุปกรณ์เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า
แผงควบคุมไฟฟ้าประกอบด้วยอุปกรณ์ตัดตอนหลัก หรือเรียกว่า เบรกเกอร์ (Main
Circuit Breaker หรือ Cut–out) ซึ่งมี 1 ตัวต่อครัวเรือน และมีอุปกรณ์ตัดตอนย่อยหลายตัวได้
ข้ึนอยู่กับจานวนเครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีใช้ในครัวเรือน นอกจากนี้ยังมีจุดต่อสายดินท่ีจะต่อไปยังเต้ารับ
หรอื ปลก๊ั ตัวเมยี ทุกจุดในครวั เรอื น เพื่อตอ่ เข้าเคร่ืองใช้ไฟฟ้า
สาย N สาย L
สาย G
ภาพตวั อย่างแผงวงจรไฟฟ้าในครวั เรือน
43
ข้อควรรู้เกย่ี วกบั วงจรไฟฟ้า
1) การกดสวิตช์ เพ่ือเปิดไฟ คอื การทาใหว้ งจรปดิ มกี ระแสไฟฟ้าไหล
2) การกดสวติ ช์ เพอื่ ปิดไฟ คือ การทาให้วงจรเปดิ ไมม่ ีกระแสไฟฟา้ ไหล
3) ไฟตก คือ แรงดันไฟฟ้าตก อาจมีสาเหตุมาจากการท่ีโรงไฟฟ้าขัดข้อง หรือมีการใช้
ไฟฟา้ มากขน้ึ อยา่ งรวดเรว็
ภาพวงจรปดิ ภาพวงจรเปดิ
กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 2 วงจรไฟฟ้า
(ให้ผ้เู รยี นไปทากจิ กรรมเร่อื งที่ 2 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนร)ู้
44
เร่อื งท่ี 3 สายดินและหลกั ดนิ
1. สายดิน (Ground Wire)
สายดิน คือ สายไฟท่ีต่อเข้ากับเคร่ืองใช้ไฟฟ้า โดยการต่อลงดิน เพ่ือให้สายดิน
เป็นตัวนากระแสไฟฟ้าที่อาจเกิดการร่ัวไหล จากเคร่ืองใช้ไฟฟ้าลงสู่พื้นดิน เป็นการป้องกันไม่ให้
ได้รบั อันตรายจากกระแสไฟฟา้
ส่วนปลายของสายดินจะถูกฝังไว้ในดิน ด้วยการรวมสายดินจากทุกจุดภายในบ้าน
มาไว้ท่ีตู้ควบคุมไฟฟ้า และต่อสายอีกเส้นจากตู้ควบคุมไฟฟ้าลงสู่พ้ืนดิน ส่วนที่ถูกฝังไว้ในดิน
จะเป็นแท่งทองแดงเปลือย ไม่มีฉนวนหุ้ม ยาวประมาณ 6 ฟุต เรียกว่า “หลักดิน” เน่ืองจาก
ดินมคี วามชื้นอยูเ่ สมอ จงึ ทาใหเ้ กิดความต้านทานไฟฟ้าตา่ กระแสไฟฟา้ จึงไม่ไหลมาทาอันตราย
สายดินมีไว้เพ่ือป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟช็อตหรือไฟร่ัว เพราะหากเกิดไฟช็อต
หรือไฟร่ัวขณะที่ใช้งานอุปกรณ์ชิ้นนั้น กระแสไฟจะไหลเข้าสู่ส่วนที่เป็นโลหะ ซ่ึงถ้าสัมผัสโลหะ
ของอุปกรณ์น้ัน โดยที่ไม่มีการติดต้ังสายดินไว้ กระแสไฟฟ้าท้ังหมดก็จะไหลเข้าสู่ตัวผู้ใช้
เคร่ืองใช้ไฟฟ้า อาจทาให้ได้รับอันตรายและเสียชีวิตได้ แต่ถ้าท่ีบ้านมีการติดตั้งสายดินไว้
กระแสไฟฟา้ เหล่านัน้ ก็จะไหลผ่านเขา้ ไปทีส่ ายดนิ แทน อันตรายตา่ ง ๆ ที่เกิดจากไฟช็อตหรือไฟรั่ว
ก็จะไม่เกิดขึ้น ท่ีเป็นเช่นนี้เพราะว่า สายดินทาหน้าท่ีเหมือนท่อน้าล้นของอ่างล้างจานในครัว
เมอื่ เปิดน้าจนถึงทอ่ นา้ ลน้ แล้ว น้าก็จะไหลออกมาตามท่อนั้น น้าจึงไม่ลน้ อา่ ง
2. หลกั ดนิ (Ground Rod)
หลักดิน คือ อุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีนากระแสไฟฟ้าที่ร่ัวไหลจากเครื่องใช้ไฟฟ้าผ่าน
สายดินลงสพู่ นื้ ดิน โดยหลกั ดินจะมลี กั ษณะเป็นแทง่ ทรงกระบอก เส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตร
และยาวไม่น้อยกว่า 2.4 เมตร ทาจากวัสดุที่ทนการผุกร่อน เช่น แท่งทองแดงหรือแท่งแม่เหล็ก
หุ้มทองแดง เป็นต้น โดยหลกั ดินเปน็ องคป์ ระกอบท่สี าคญั ของระบบสายดิน ดงั น้ี
1) เปน็ อุปกรณป์ ลายทางทจ่ี ะทาหน้าที่สัมผัสกับพื้นดิน
2) เปน็ สว่ นที่จะทาให้สายดนิ หรอื อุปกรณ์ที่ต่อลงดินมีศักย์ไฟฟ้าเปน็ ศนู ย์เท่ากับดิน
3) เปน็ เสน้ ทางไหลของประจไุ ฟฟ้าหรอื กระแสไฟฟ้าท่จี ะไหลลงสู่พน้ื ดิน
4) เป็นตัวกาหนดคุณภาพ อายุความทนทาน และความปลอดภัยของระบบการต่อ
ลงดนิ ในระยะยาว
45
สายดนิ
หลกั ดนิ
ภาพสายดนิ และหลกั ดนิ
ภาพการต่อสายดนิ
สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่แนะนาให้ติดต้ังสายดิน เช่น เครื่องทาน้าอุ่นไฟฟ้า ตู้เย็น
เครอื่ งปรบั อากาศ เคร่อื งซักผา้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เปน็ ต้น
46
จากการศึกษาความรู้เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า สามารถนามาใช้ต่อระบบ
ไฟฟา้ ภายในบ้านได้ ดังตวั อยา่ งในภาพ
ภาพตัวอยา่ งการต่อระบบไฟฟ้าภายในบา้ น
กจิ กรรมท้ายเร่อื งที่ 3 สายดนิ และหลักดิน
(ใหผ้ เู้ รยี นไปทากิจกรรมเรื่องที่ 3 ที่สมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนร)ู้
47
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4
การใช้และการประหยดั พลงั งานไฟฟา้
สาระสาคัญ
ปัจจุบันมนุษย์พ่ึงพาสิ่งอานวยความสะดวกมากมาย โดยเฉพาะเคร่ืองใช้ไฟฟ้า จึงทาให้
พลังงานไฟฟ้าเป็นสิ่งจาเป็นในการดาเนินชีวิต ดังน้ันเพ่ือให้การใช้พลังงานไฟฟ้ามีความปลอดภัย
ผู้ใช้จึงต้องรู้จักเคร่ืองใช้ไฟฟ้า พร้อมท้ังเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม และเพื่อให้การใช้พลังงานไฟฟ้า
เกิดความคุ้มค่าและประหยัด ผู้ใช้ต้องรู้จักวิธีการประหยัดพลังงานไฟฟ้า รวมถึงรู้จักการคานวณ
ค่าไฟฟ้าทีใ่ ช้ในครัวเรือนอยา่ งถูกต้องเพื่อวางแผนการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ในครัวเรอื นไดอ้ ย่างคมุ้ ค่า
ตัวชว้ี ัด
1. อธบิ ายกลยุทธก์ ารประหยัดพลังงานไฟฟา้
2. จาแนกฉลากเบอร์ 5 ของแท้กับของลอกเลยี นแบบ
3. ปฏิบตั ิตนเป็นผู้ประหยัดพลังงานไฟฟ้าในครัวเรือน
4. เลอื กใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าได้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่กาหนดให้
5. อธิบายวิธีการดูแลรกั ษาเครื่องใช้ไฟฟา้ ในครัวเรือน
6. บอกองคป์ ระกอบของค่าไฟฟา้
7. คานวณค่าไฟฟ้าในครัวเรอื น
ขอบข่ายเน้อื หา
เรอ่ื งที่ 1 กลยทุ ธก์ ารประหยดั พลังงานไฟฟ้า 3 อ.
เรอื่ งท่ี 2 การเลอื กซ้อื เลือกใช้ และดูแลรักษาเครื่องไฟฟ้าในครวั เรือน
เรือ่ งท่ี 3 การคานวณค่าไฟฟา้ ในครัวเรือน
เวลาทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา 30 ช่วั โมง
ส่อื การเรยี นรู้
1. ชุดวิชาการใชพ้ ลังงานไฟฟ้าในชีวติ ประจาวนั 2 รหสั วิชา พว22002
2. สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบชดุ วชิ าการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าในชีวติ ประจาวัน 2
3. แผงสาธิตการตอ่ วงจรไฟฟ้า
48
เรอ่ื งท่ี 1 กลยุทธ์การประหยัดพลงั งานไฟฟ้า 3 อ.
พลังงานไฟฟ้าเป็นสิ่งที่มีความจาเป็นอย่างหน่ึงในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ และมี
ความต้องการท่ีเพ่ิมมากข้ึนอย่างต่อเนื่อง ในขณะท่ีเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า
มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง อาจส่งผลกระทบต่อการขาดแคลนพลังงานไฟฟ้าในอนาคต ดังน้ัน
ประชาชนควรตระหนักถึงการใชพ้ ลังงานไฟฟา้ อย่างประหยัดและรูค้ ณุ คา่
การประหยดั พลงั งาน คือ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และรู้คุณค่า การประหยัด
พลังงานนอกจากช่วยลดปริมาณการใช้พลังงาน ซึ่งเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายของครัวเรือนและ
ประเทศชาติแล้ว ยังช่วยลดปัญหาผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมได้ด้วย กลยุทธ์หน่ึงของประเทศไทย
ท่ีประสบความสาเร็จด้านการประหยัดการใช้ไฟฟ้าและพลังงานของชาติคือ กลยุทธ์ประหยัด
พลังงานไฟฟ้า 3 อ. ได้แก่ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า อาคารประหยัดไฟฟ้า และอุปนิสัยประหยัด
ไฟฟ้า
กลยุทธ์การประหยดั พลังงาน 3 อ.
1. กลยุทธ์ อ. 1 อุปกรณป์ ระหยดั ไฟฟ้า
กลยุทธ์ อ. 1 คือ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า เป็นการส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนเปล่ียนมาใช้
อุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีมีประสิทธิภาพสูง ประหยัดไฟ กฟผ. จึงได้ดาเนินโครงการ “ฉลากประหยัดไฟฟ้า
เบอร์ 5 หรือ ฉลากเบอร์ 5” ซึ่งเป็นการดาเนินงานด้านมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงาน โดยใช้
ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพไฟฟ้า ปัจจุบันอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีติดฉลากเบอร์ 5
มหี ลายชนิด เช่น ตเู้ ยน็ เครื่องปรับอากาศ พัดลมไฟฟา้ หมอ้ หงุ ข้าวไฟฟา้ และหลอด LED เป็นตน้
49
ภาพอปุ กรณ์ไฟฟ้าทตี่ ดิ ฉลากประสิทธภิ าพสงู
ภาพฉลากเบอร์ 5 ของแท้
50
ปัจจุบันฉลากเบอร์ 5 มีผู้ลอกเลียนแบบเป็นจานวนมาก โดยมีการติดฉลากเลียนแบบ
หรือติดเพียงครึ่งเดียว ซึ่งหาก กฟผ. ตรวจพบจะแจ้งดาเนินคดีตามกฎหมาย ท้ังนี้ กฟผ.
ได้จดทะเบียนเครื่องหมายรับรองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า หากบุคคลใด
ลอกเลียนแบบถอื ว่า มีความผดิ สามารถสงั เกตลักษณะของฉลากเบอร์ 5 ของปลอมได้ ดงั ภาพ
ภาพฉลากเบอร์ 5 ของปลอม
2. กลยุทธ์ อ. 2 อาคารประหยดั ไฟฟ้า
กลยุทธ์ อ. 2 คือ อาคารประหยัดไฟฟ้า เป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ
ภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม เห็นความสาคัญและพร้อมใจกันใช้อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
ท่ีมีประสิทธิภาพสูง พร้อมกับการใช้มาตรการต่าง ๆ ที่เป็นการประหยัดไฟฟ้า ได้แก่ การบริหาร
การใช้ไฟฟ้า การปรับปรุงระบบป้องกันความร้อนเข้าสู่อาคาร การใช้ระบบปรับอากาศ
ประสิทธิภาพสูง การปรับปรุงระบบแสงสว่าง และการจัดการอบรมให้ความรู้ด้านการใช้พลังงาน
ท้งั นกี้ ารประหยัดพลงั งานไฟฟา้ ในอาคารสามารถดาเนินการได้ ดงั น้ี
1) ออกแบบวางตาแหน่งอาคาร ควรออกแบบให้ด้านยาวของอาคารหันหน้าเข้าหา
ทิศตะวันออกหรือทศิ ตะวนั ตก
2) ปลูกไม้ยืนต้นให้ร่มเงาแก่อาคาร พร้อมท้ิงชายคาหลังคาหรือจัดทาแผงบังแดด
ช่วยเสริมการบงั แดด
51
3) ออกแบบภูมิทัศน์รอบอาคารเพื่อลดความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร เช่น ปลูกหญ้า
รอบอาคาร ขุดสระนา้ ตดิ ตง้ั นา้ พุ ดักลมก่อนพดั เขา้ สู่อาคาร และปลกู ไมย้ ืนต้นใหร้ ่มเงา เป็นตน้
4) ใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนความร้อน สะท้อน หรือป้องกันความร้อนเป็นผนัง
หลังคา และฝ้าเพดานของอาคาร
5) ใช้วัสดุหรือนวัตกรรมที่ช่วยระบายความร้อน เช่น ลูกระบายอากาศอลูมิเนียม
ท่ที างานโดยไมต่ ้องอาศัยพลงั งานไฟฟา้
6) ใช้ระบบปรับอากาศ ชนิดประหยัดไฟ และแยกสวิตช์เปิด – ปิดเฉพาะเคร่ือง
เพื่อให้ควบคุมการเปิด – ปดิ ตามความตอ้ งการใชง้ านในแต่ละบรเิ วณ
7) ลดจานวนพัดลมดูดอากาศ เพื่อป้องกันการสูญเสียอากาศเย็นมิให้ออกไป
จากห้องปรับอากาศมากเกินไป
8) ใช้ประโยชน์จากแสงธรรมชาติในเวลากลางวันแทนแสงสว่างจากไฟฟ้า เช่น
ใชก้ ระเบอื้ งโปร่งแสง หน้าตา่ งกระจกใส เปน็ ต้น
9) ใช้หลอดไฟฟ้าแสงสว่างชนิดเกิดความร้อนน้อยที่ดวงโคม เช่น หลอดฟลูออเรส-
เซนต์ ลดความร้อนจากหลอดไฟฟา้ แสงสวา่ งโดยไม่จาเป็น
10) ใช้อุปกรณ์นวัตกรรม คือ บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ กับหลอดฟลูออเรสเซนต์
เพ่ือยืดอายุการใช้งานของหลอดไฟ และประหยัดค่าไฟฟ้า รวมท้ังใช้ครอบโลหะสะท้อนแสง
เพ่ือช่วยเพ่มิ ความสว่างแก่หลอดไฟ 2 – 3 เท่า โดยใชจ้ านวนหลอดไฟเท่าเดมิ
3. กลยุทธ์ อ. 3 อปุ นิสัยประหยัดไฟฟา้
กลยุทธ์ อ. 3 คือ อุปนิสัยประหยัดไฟฟ้า เป็นการปลูกจิตสานึกและอุปนิสัยให้คนไทย
โดยเฉพาะอย่างย่ิงเยาวชนไทย ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงมีแนวปฏิบัติหลักในการ
ประหยดั พลังงานไฟฟ้าในครัวเรือน ดงั นี้
1) ปดิ และถอดปล๊ักทกุ คร้ังหลังเสร็จส้นิ การใชง้ านเครอื่ งใช้ไฟฟา้
2) หม่นั ทาความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้าอยา่ งสมา่ เสมอ
3) เลือกขนาดของใชเ้ ครอื่ งใช้ไฟฟา้ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
ท้ังนี้เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดมีวิธีการใช้งานเพ่ือประหยัดพลังงานไฟฟ้าท่ีแตกต่างกัน
ดงั ภาพ
52
ภาพวิธีการประหยดั ไฟฟ้า
กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 1 เรื่องกลยทุ ธก์ ารประหยัดพลงั งานไฟฟ้า 3 อ.
(ใหผ้ ู้เรียนไปทากิจกรรมเรื่องท่ี 1 ที่สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนร)ู้
53
เร่ืองท่ี 2 การเลือกซือ้ เลือกใช้ และดแู ลรักษาเคร่ืองไฟฟ้าในครัวเรือน
โดยท่ัวไปเคร่ืองใช้ไฟฟ้าภายในครัวเรือน มักมีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงเกือบทุกชนิด
เพื่อเป็นการประหยัดและคมุ้ ค่า ผ้ใู ช้จงึ ควรมีความรูเ้ กย่ี วกับการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี ในท่ีน้ี
จะกล่าวถึงเคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ทั่วไปในครัวเรือน เช่น เคร่ืองทาน้าอุ่นไฟฟ้า กระติกน้าร้อนไฟฟ้า
พดั ลม โทรทศั น์ เตารีดไฟฟา้ ต้เู ยน็ เปน็ ต้น
1. เคร่อื งทานา้ อุ่นไฟฟ้า
เครื่องทาน้าอุ่นไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ท่ีทาให้น้าร้อนขึ้น โดยอาศัยการพาความร้อนจาก
ขดลวดความร้อนขณะที่กระแสน้าไหลผ่าน ส่วนประกอบหลักของเคร่ืองทาน้าอุ่นไฟฟ้า คือ
ขดลวดความร้อน หรือเรียกว่า ฮีตเตอร์ และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ หรือเรียกว่าเทอร์โมสตัท
ซึ่งสว่ นประกอบแต่ละสว่ นมหี น้าทแ่ี ตกต่างกัน ดังน้ี
1) ขดลวดความร้อน มีหนา้ ทใี่ หค้ วามร้อนกบั นา้
2) อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ มีหน้าที่ตัดกระแสไฟฟ้าเมื่ออุณหภูมิของน้าถึงระดับ
ทต่ี ง้ั ไว้
ฝาบน (ฝาครอบเครือ่ ง) ฮีตเตอร์ ฟวิ ส์
(ปอ้ งกนั ไฟฟา้ ลดั วงจร)
เทอรโ์ มสตัท
กระบอกทาความรอ้ น ESD
(อุปกรณป์ ้องกนั
จดุ ต่อสายไฟเขา้ เครอื่ ง
หลอดไฟ ไฟดดู )
แสดงสภาวะ ไทแอก
การทางาน เซนเซอร์
ชุดควบคุม (VR)
ปมุ่ เทส ESD ทางน้าเข้า
ทางน้าออก
ภาพสว่ นประกอบของเครื่องทานา้ อนุ่ ไฟฟ้า
54
การใชเ้ ครื่องทาน้าอนุ่ ไฟฟ้าอยา่ งถกู วธิ ีและประหยดั พลงั งาน
1) เลือกเครื่องทาน้าอุ่นไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการใช้งาน เคร่ืองทาน้าอุ่นที่ใช้
โดยทัว่ ไปควรมขี นาดไมเ่ กิน 4,500 วัตต์
2) ต้ังอุณหภมู นิ ้าใหอ้ ยูใ่ นช่วง 35 – 45 C
3) ใช้หวั ฝกั บัวชนดิ ประหยดั น้า จะประหยดั น้าไดถ้ งึ ร้อยละ 25 – 75
4) ใช้เคร่ืองทาน้าอุ่นไฟฟ้าที่มีถังน้าภายในตัวเครื่องและมีฉนวนหุ้ม เพราะ
สามารถลดการใช้พลังงานได้มากกว่าชนิดทไ่ี ม่มถี งั นา้ ภายในรอ้ ยละ 10 – 20
5) ปดิ วาล์วน้าทุกครั้งขณะฟอกสบหู่ รอื สระผม
6) ปิดวาลว์ น้าและสวติ ชท์ ันทีเมือ่ เลกิ ใช้งาน
การดูแลรักษาเครอื่ งทาน้าอนุ่ ไฟฟ้า
การดูแลรักษาเครื่องทาน้าอุ่นไฟฟ้าให้มีอายุการใช้งานนานข้ึน ลดการใช้พลังงาน
และปัองกันอบุ ัติเหตุ หรืออันตรายทอี่ าจจะเกิดข้ึน มีข้อควรปฏิบัตดิ ังน้ี
1) หม่ันตรวจสอบการทางานของเคร่ืองอย่างสม่าเสมอ ให้มีสภาพพร้อมใช้งาน
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ระบบความปลอดภยั ของเครือ่ ง
2) ตรวจดูระบบทอ่ น้าและรอยตอ่ ไม่ให้มกี ารรั่วซมึ
3) เม่อื พบความผดิ ปกติในการทางานของเคร่ือง ควรให้ชา่ งผชู้ านาญตรวจสอบ
4) ตอ้ งมกี ารต่อสายดิน
คา่ ไฟฟ้าของเครื่องทานา้ อ่นุ ไฟฟ้าขนาดตา่ ง ๆ เม่อื ใชง้ านเปน็ เวลา 1 ช่ัวโมง
ขนาดเคร่อื งทาน้าอุ่นไฟฟา้ ค่าไฟฟ้าต่อช่ัวโมงโดยประมาณ
ขนาดเลก็ (3,000 – นอ้ ยกว่า 5,000 วัตต์) 13.20 บาท
ขนาดกลาง (5,000 – น้อยกว่า 8,000 วตั ต์) 18.00 บาท
ขนาดใหญ่ (8,000 วัตต์ ขน้ึ ไป) 24.00 บาท
55
2. กระติกนา้ ร้อนไฟฟ้า
กระติกน้าร้อนไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ในการต้มน้าให้ร้อน ประกอบด้วยขดลวดความร้อน
อยดู่ ้านลา่ งของกระติก และอปุ กรณค์ วบคุมอุณหภูมิเปน็ อปุ กรณ์ควบคมุ การทางาน
เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดจะเกิดความร้อน และถ่ายเทไปยังน้าภายในกระติก
ทาให้น้ามีอุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงจุดเดือด จากนั้นอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะตัดกระแสไฟฟ้า
ในวงจรหลักออกไป แต่ยังคงมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อน และแสดงสถานะนี้
โดยหลอดไฟสัญญาณอุ่นจะสว่างขึ้น เม่ืออุณหภูมิของน้าร้อนภายในกระติกลดลงจนถึงจุด ๆ หนึ่ง
อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะทางานโดยปล่อยให้กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดความร้อนเต็มท่ีทาให้
น้าเดอื ดอีกครงั้
กระติกน้าร้อนไฟฟ้าโดยท่วั ไปทีม่ ีจาหนา่ ยในทอ้ งตลาดจะมีขนาดความจุตั้งแต่ 2 – 4
ลิตร และใช้กาลังไฟฟ้าระหว่าง 500 – 1,300 วตั ต์
ทก่ี ดนา้
ตัวหมนุ ลอ็ คทกี่ ดนา้
ปมุ่ ล็อค
ฝาปิดดา้ นใน
ตัวกระติกด้านในเคลอื บ
ด้วยสาร Poly-Flon
จุดบอกระดบั นา้ สงู สุด
ที่ดรู ะดบั นา้
ไฟแสดงการอนุ่
ไฟแสดงการตม้
ชอ่ งเสียบปลก๊ั แมเ่ หล็ก
ภาพตดั ขวางกระตกิ นา้ รอ้ นไฟฟ้า
การใชก้ ระติกน้าร้อนไฟฟ้าอย่างถูกวธิ ีและประหยดั พลงั งาน
1) เลือกซ้อื รุน่ ทมี่ ตี รามาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.)
2) ใส่น้าให้พอเหมาะกับความต้องการหรือไม่สูงกว่าระดับท่ีกาหนดไว้ เพราะ
จะทาให้กระติกเกดิ ความเสยี หาย
3) ระวังไม่ให้น้าแห้ง หรือปล่อยให้ระดับน้าต่ากว่าขีดที่กาหนด เพราะจะทาให้
เกิดไฟฟ้าลดั วงจรในกระตกิ น้าร้อน
56
4) ไม่ควรเสียบปลั๊กทิ้งไว้ตลอดเวลา ควรถอดปล๊ักเม่ือเลิกใช้น้าร้อนแล้ว เพ่ือลด
การสิ้นเปลืองพลังงาน แต่หากมีความจาเป็นต้องใช้น้าร้อนเป็นระยะ ๆ เช่น ในท่ีทางานบางแห่ง
ท่ีมีน้าร้อนไว้สาหรับเตรียมเคร่ืองดื่มต้อนรับแขก ก็ไม่ควรถอดปล๊ักออกบ่อย ๆ เพราะการดึงปลั๊ก
ในแต่ละครั้งจะทาให้อุณหภูมิของน้าค่อย ๆ ลดลง กระติกน้าร้อนไม่สามารถเก็บความร้อนได้นาน
เมือ่ จะใช้งานใหม่ก็ต้องเสียบปลกั๊ และเรม่ิ ต้มนา้ ใหม่ซงึ่ เป็นการสิน้ เปลอื งพลังงาน
5) ไม่นาส่ิงใด ๆ มาปิดช่องไอน้าออก
6) ตรวจสอบการทางานของอุปกรณค์ วบคุมอุณหภมู ใิ ห้อยูใ่ นสภาพใช้งานไดเ้ สมอ
7) ไม่ควรตง้ั ไว้ในหอ้ งทมี่ ีเคร่อื งปรบั อากาศ
การดแู ลรกั ษากระติกน้าร้อนไฟฟา้
การดูแลรักษากระติกน้าร้อนไฟฟ้าให้มีอายุการใช้งานนานขึ้น ลดการใช้พลังงานลง
และป้องกนั อุบัตเิ หตุ หรอื อนั ตรายทีอ่ าจจะเกดิ ข้ึน มีข้อควรปฏบิ ัติ ดงั นี้
1) หม่นั ตรวจสายไฟฟ้าและขว้ั ปล๊กั ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยเู่ สมอ
2) ควรใช้น้าสะอาดสาหรับต้ม เพื่อป้องกันการเกิดคราบสนิมและตะกรัน
ทผี่ วิ ด้านในกระตกิ นา้ ร้อนไฟฟ้า
3) หมั่นทาความสะอาดด้านในกระติกน้าร้อนไฟฟ้า ไม่ให้มีคราบตะกรัน เน่ืองจาก
ตะกรันจะเป็นตัวต้านทาน การถ่ายเทความร้อนจากขดลวดความร้อนไปสู่น้า ทาให้เวลา
ในการตม้ น้าเพิ่มขึ้น เปน็ การสญู เสยี พลงั งานโดยเปล่าประโยชน์
4) การทาความสะอาดสว่ นตา่ ง ๆ ของกระติกน้าร้อนไฟฟา้
(1) ตัวและฝากระติกน้าร้อนไฟฟ้า ใช้ผ้าชุบน้าบิดให้หมาดแล้วเช็ด
อยา่ งระมดั ระวงั
(2) ฝาปิดดา้ นใน ใช้น้าหรอื น้ายาล้างจานล้างใหส้ ะอาด
(3) ด้านในกระติกน้าร้อนไฟฟ้า ใช้ฟองน้าชุบน้าเช็ด และล้างให้สะอาด
ด้วยน้า โดยไม่ราดน้าลงบนส่วนอื่นของตัวกระติก นอกจากภายใน
กระติกน้าร้อนไฟฟ้าเท่านั้น อย่าใช้ของมีคมหรือฝอยขัดหม้อขูดหรือขัด
ตัวกระตกิ นา้ รอ้ นไฟฟ้าดา้ นใน เพราะจะทาให้สารเคลอื บหลุดออกได้
57
5) เม่ือไม่ต้องการใช้กระติกน้าร้อนไฟฟ้า ก่อนเก็บควรล้างด้านในกระติกน้าร้อน
ไฟฟา้ ใหส้ ะอาด และควา่ กระติกน้าร้อนไฟฟ้า เพ่ือให้น้าออกจากตัวกระติกน้าร้อนไฟฟ้า แล้วใช้ผ้า
เชด็ ดา้ นในใหแ้ หง้
ภาพกระตกิ นา้ รอ้ นไฟฟ้า
ค่าไฟฟ้าของกระตกิ นา้ ร้อนไฟฟ้าขนาดตา่ ง ๆ เมือ่ ใชง้ านเป็นเวลา 1 ชว่ั โมง
ขนาดของกระติกน้าร้อนไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าตอ่ โมงโดยประมาณ
2 ลิตร 2.40 บาท
2.5 ลติ ร 2.60 บาท
3.2 ลิตร 2.88 บาท
58
3. พดั ลม
พัดลม เป็นอุปกรณ์ท่ีช่วยในการหมุนเวียนอากาศ และระบายความร้อนภายในบ้าน
ซงึ่ ในปจั จบุ ันพดั ลมท่ีใชม้ ีหลากหลายลักษณะและประเภทขน้ึ อยกู่ บั การใช้งาน
สว่ นประกอบหลกั ของพัดลม ได้แก่ ใบพัด ตะแกรงหน้า ตะแกรงหลัง มอเตอร์ไฟฟ้า
สวิตชค์ วบคมุ การทางาน และกลไกควบคมุ การหมนุ และสา่ ย ดังภาพ
กลไกควบคมุ การหมุนและส่าย ใบพัด
มอเตอรไ์ ฟฟ้า
ตะแกรงหนา้
ตะแกรงหลัง ตัวยดึ ใบพัดกบั แกนมอเตอร์
เปดิ – ปดิ
และปรบั ความแรง
ของพัดลม
ภาพส่วนประกอบหลักของพัดลม
การใชพ้ ัดลมอยา่ งถกู วิธแี ละประหยดั พลังงาน
1) เลือกใช้ความแรงของลมให้เหมาะกับความต้องการ ความแรงของลมย่ิงมาก
ยิ่งใชไ้ ฟฟา้ มาก
2) ปิดพัดลมทันทเี มือ่ ไมใ่ ชง้ าน
3) ในกรณีที่พัดลมมีระบบรีโมทคอนโทรล ไม่ควรเสียบปลั๊กท้ิงไว้ เพราะจะมี
ไฟฟา้ เลีย้ งอปุ กรณต์ ลอดเวลา
4) ควรวางพดั ลมในทท่ี มี่ ีอากาศถ่ายเทสะดวก เพราะพัดลมใช้หลกั การดูดอากาศจาก
บรเิ วณด้านหลังของตัวใบพัด แล้วปล่อยออกสู่ด้านหน้า ถ้าอากาศบริเวณรอบพัดลมมีการถ่ายเทดี
ไม่ร้อนหรืออับชื้น ก็จะได้รับลมเย็นรู้สึกสบาย และยังทาให้มอเตอร์สามารถระบายความร้อนได้ดี
เปน็ การยืดอายุการใช้งานอกี ด้วย
59
การดแู ลรักษาพัดลม
การดแู ลรกั ษาพัดลมอยา่ งสม่าเสมอ จะชว่ ยให้พัดลมทางานไดเ้ ต็มประสิทธิภาพ และ
ยงั ช่วยยืดอายุการทางาน มขี อ้ ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี
1) ทาความสะอาดเป็นประจา โดยเฉพาะ ใบพัด ตะแกรงครอบใบพัด และช่องลม
ตรงฝาครอบมอเตอร์ ไม่ใหม้ ีฝนุ่ ละอองและคราบน้ามนั
2) ดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมอ ไม่ให้แตกหัก ชารุด หรือโค้งงอผิดส่วน จะทาให้
ลมที่ออกมามคี วามแรงของลมลดลง
4. โทรทัศน์
โทรทัศน์ เป็นอุปกรณ์ที่แปลงสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นภาพด้วยวงจร
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ทมี่ คี วามซับซอ้ น สว่ นประกอบของโทรทัศนท์ ี่เหน็ ไดช้ ดั เจนมีดังนี้
1) ส่วนประกอบภายนอก คือ ตัวโครงที่ห่อหุ้มอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จอภาพ
ปุ่มหรือสวติ ชต์ ่าง ๆ และชอ่ งตอ่ สายอากาศ เป็นต้น
2) ส่วนประกอบภายใน คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวรับ – เปล่ียนสัญญาณ
เป็นภาพและเสยี งทม่ี าในรูปของคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ ส่วนประกอบของจอภาพและระบบเสียงรวมทั้ง
ลาโพง เป็นต้น
ภาพการสง่ สญั ญาณโทรทศั น์มายังเคร่ืองรับโทรทศั น์
ปริมาณพลังงานท่ีโทรทัศน์ใช้ขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีและขนาดของจอภาพ โดยขนาด
จอภาพของโทรทัศน์ ระบุด้วยความยาวเส้นทแยงมุมของจอภาพ โทรทัศน์แต่ละขนาดและแต่ละ
ประเภทจะมีการใชไ้ ฟฟา้ แตกต่างกัน ย่งิ ขนาดจอภาพใหญก่ จ็ ะใช้กาลังไฟฟา้ มาก
60
วัดตามเสน้ ทแยงมมุ ชนขอบดา
หนว่ ยเปน็ น้วิ
ภาพการวัดเส้นทแยงมุมของโทรทัศน์
การเลือกใช้โทรทัศน์อยา่ งถูกวิธแี ละประหยัดพลังงาน
1) ควรเลือกใชโ้ ทรทัศน์ตามความตอ้ งการใช้งาน โดยพิจารณาจากขนาดและการใช้
กาลงั ไฟฟา้ สาหรบั เทคโนโลยเี ดยี วกนั โทรทศั น์ยงิ่ มขี นาดใหญ่ ย่ิงใชไ้ ฟฟา้ มากขน้ึ
2) ไม่เสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะจะทาให้มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงระบบภายใน
อยู่ตลอดเวลา ทาให้ส้ินเปลืองไฟฟา้ และอาจก่อให้เกิดอันตรายในขณะเกดิ ฟา้ ผา่ ได้
3) ควรชมโทรทศั นด์ ว้ ยกัน เพอ่ื เปน็ การประหยัดค่าไฟ
4) ไม่เปิดโทรทัศน์ทิ้งไว้
5) ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไป และไม่ควรเปลี่ยนช่องบ่อย เพราะจะ
ทาใหห้ ลอดภาพมอี ายุการใชง้ านลดลง และส้ินเปลืองไฟฟ้าโดยไม่จาเป็น
การดแู ลรกั ษาโทรทัศน์
การดูแลรักษาและใช้โทรทัศน์ให้ถูกวิธี นอกจากจะช่วยให้โทรทัศน์เกิดความคงทน
ภาพท่ีไดค้ มชดั และมอี ายกุ ารใช้งานยาวนานขนึ้ ควรมขี อ้ ปฏิบตั ิ ดงั นี้
1) ควรวางโทรทัศน์ไว้ในจุดที่มีการถ่ายเทอากาศได้ดี เพื่อให้เคร่ืองสามารถระบาย
ความร้อนไดส้ ะดวก
2) หม่ันทาความสะอาดจอภาพเป็นประจา เพื่อลดปริมาณฝุ่นละออง โดยใช้ผ้านุ่ม
เช็ดตัวเครื่องโทรทัศน์ ส่วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่างอ่อน หรือน้ายาล้างจานผสมกับน้าเช็ด
เบา ๆ จากนั้นเช็ดด้วยผ้าน่มุ ให้แหง้ และท่สี าคัญตอ้ งถอดปล๊กั กอ่ นทาความสะอาดทกุ คร้ัง
61
ค่าไฟฟ้าของโทรทัศน์ชนิดและขนาดต่าง ๆ เมอื่ ใช้งานเป็นเวลา 1 ช่วั โมง
ชนิดและขนาดของจอโทรทศั น์ คา่ ไฟฟ้าต่อช่ัวโมงโดยประมาณ
จอแบน 20 น้ิว 0.28 บาท
จอแบน 25 นว้ิ 0.67 บาท
จอ LCD 26 นวิ้ 0.35 บาท
จอ LCD 46 น้วิ 0.76 บาท
จอ LED 26 นิ้ว 0.20 บาท
จอ LED 46 นิ้ว 0.40 บาท
5. เตารดี ไฟฟ้า
เตารีดไฟฟ้า เป็นเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีมีใช้กันแทบทุกครัวเรือน หากเปรียบเทียบกับ
เคร่ืองใช้ไฟฟ้าชนิดอ่ืน เตารีดจัดเป็นเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีใช้กาลังไฟฟ้าสูง การเลือกซื้อและใช้งาน
อย่างถูกวิธีจะสามารถลดการใช้ไฟฟ้าลงได้ เตารีดไฟฟ้าสามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ เตารีด
แบบธรรมดา แบบไอนา้ และแบบกดทับ
เตารีดไฟฟา้ แตล่ ะประเภทมสี ่วนประกอบสาคัญ 3 สว่ น คือ
1) ไส้เตารีด ทามาจากโลหะผสมระหว่างนิกเกิลและโครเมียม ทาหน้าท่ีให้กาเนิด
ความร้อนเม่ือได้รับกระแสไฟฟ้า โดยความร้อนจะมากหรือน้อยขึ้นกับส่วนผสมของโลหะและ
ความยาวขดลวด
2) อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ ทาหน้าท่ีปรับความร้อนของไส้เตารีดให้เท่ากับระดับ
ท่ีไดต้ ัง้ ไว้
3) แผน่ โลหะด้านล่างของเตารดี ทาหน้าที่เป็นตัวกดทับเวลารดี และกระจายความร้อน
62
แบบธรรมดา แบบไอน้า แบบกดทับ
ภาพเตารีดไฟฟา้ แตล่ ะชนิด
เตารดี ไฟฟา้ ที่มชี นิดและขนาดตา่ งกนั มอี ัตราการใช้กาลังไฟฟ้าไมเ่ ท่ากนั ดงั น้ี
ชนดิ ของ ขนาด ลักษณะ กาลังไฟฟ้า
เตารดี ไฟฟา้ แรงกดทบั (วัตต์)
ตัวเตามอี ุปกรณ์ 3 ชิน้ คือ 750 – 1,000
ธรรมดา 1 – 2 กโิ ลกรัม แผ่นโลหะ ด้ามจับ 1,100 – 1,750
และปุ่มควบคมุ ความรอ้ น 900 – 1,200
ไอน้า 1 – 2 กิโลกรัม มีชอ่ งไอนา้ ทางดา้ นล่างเตารดี และ
วาลว์ ควบคุมการเปิดนา้ ไหลออก
กดทับ 40 – 50 มีแผน่ ความร้อนทม่ี ขี นาดใหญ่กวา่
กิโลกรมั เตารีดแบบธรรมดาและแบบไอน้า
มคี นั โยกสาหรับกดทับ
การใชเ้ ตารีดไฟฟ้าอย่างถูกวิธแี ละประหยัดพลงั งาน
ในการใช้เตารีดไฟฟ้าอย่างประหยัดพลังงาน ไม่ควรลดปริมาณความร้อน
ท่ีใช้ในการรีดลง แต่ควรใช้เตารีดไฟฟ้ารีดผ้าอย่างรวดเร็วที่ระดับความร้อนที่เหมาะสมกับ
ความหนาและชนิดของผ้า รวมท้งั ควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้
1) เกบ็ ผ้าท่ีรอรดี ให้เรียบรอ้ ย และใหผ้ า้ ยับน้อยทสี่ ดุ
2) แยกประเภทผ้าหนาและผา้ บาง เพ่อื ความสะดวกในการรีด
63
3) รวบรวมผ้าท่ีจะรีดแต่ละครั้งให้มากพอ การรีดผ้าครั้งละชุดทาให้ส้ินเปลือง
ไฟฟา้ มาก
4) ไม่ควรพรมน้ามากจนเกนิ ไป เพราะจะทาให้สญู เสียความร้อนจากการรีดมาก
5) เร่มิ รีดจากผ้าบาง ๆ หรือต้องการความร้อนน้อยก่อน จากนั้นจึงรีดผ้าท่ีต้องการ
ความรอ้ นสงู และควรเหลอื ผ้าทตี่ ้องการความรอ้ นนอ้ ยส่วนหนึง่ ไวร้ ีดในตอนท้าย
6) ถอดปลั๊กกอ่ นเสรจ็ สิ้นการรีด 3 – 4 นาที
การดูแลรกั ษาเตารีดไฟฟ้า
การดูแลรกั ษาเตารดี ไฟฟ้าอยา่ งสม่าเสมอจะช่วยให้เตารดี ทางานได้เตม็ ประสิทธภิ าพ
และช่วยยืดอายกุ ารทางาน มขี อ้ ควรปฏบิ ัตดิ ังนี้
1) หากพบคราบสกปรกบนหน้าสัมผัสเตารีด ให้ใช้ฟองน้าชุบน้ายาทาความสะอาด
โดยเฉพาะของเตารีดไฟฟ้าหรือน้ายาล้างจานเช็ดออก เพราะคราบสกปรกจะเป็นตัวต้านทาน
ความร้อน ทาให้สิน้ เปลอื งไฟฟา้ มากขนึ้ ในการเพม่ิ ความร้อน
2) สาหรับเตารีดไฟฟ้าไอน้า น้าท่ีใช้ควรเป็นน้ากล่ันเพ่ือป้องกันการเกิดตะกรัน
ซง่ึ ตะกรนั จะเป็นสาเหตขุ องการเกิดความตา้ นทานความร้อน
3) ควรตรวจหรือเปล่ียนสายไฟซึ่งอาจชารุดหรือเส่ือมสภาพ เมื่อใช้เตารีดไฟฟ้า
มาเป็นระยะเวลานาน
ค่าไฟฟ้าของเตารีดไฟฟา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ เมอื่ ใชง้ านเป็นเวลา 1 ช่ัวโมง
ชนดิ ของเตารดี ไฟฟา้ ค่าไฟฟ้าตอ่ ชวั่ โมงโดยประมาณ
เตารีดไฟฟ้าธรรมดา 4.00 บาท
เตารดี ไฟฟ้าไอนา้ ขนาดเล็ก 5.32 บาท
เตารดี ไฟฟา้ ไอนา้ ขนาดใหญ่ 7.20 บาท
64
6. ตู้เย็น
ตู้เย็น เป็นอุปกรณ์ทาความเย็นเพื่อถนอมอาหารโดยการลดอุณหภูมิ ที่ใช้พลังงาน
ตลอด 24 ชว่ั โมง ดงั นน้ั การเลอื กและใชต้ เู้ ย็นอย่างเหมาะสมจะชว่ ยประหยดั พลงั งานไดม้ าก
ภาพต้เู ย็น
อุปกรณห์ ลัก ที่ทาใหภ้ ายในตเู้ ยน็ เกดิ ความเย็น ประกอบดว้ ย
1) คอมเพรสเซอร์ ทาหน้าท่ีในการอัดและดูดสารทาความเย็นให้หมุนเวียน
ในระบบของตเู้ ย็น
2) แผงทาความเย็น มีหน้าทีก่ ระจายความเย็นภายในต้เู ย็น
3) แผงระบายความร้อน เป็นส่วนที่ใช้ระบายความร้อนของสารทาความเย็น
ตดิ ตง้ั อยดู่ ้านหลงั ของตเู้ ยน็
4) ตัวตเู้ ยน็ ทาจากโลหะ และอัดฉีดโฟมอยรู่ ะหว่างกลาง เพื่อทาหน้าทีเ่ ป็นฉนวน
กนั ความรอ้ นจากภายนอก โดยปกติเราระบุขนาดของตูเ้ ยน็ เป็นคิว หรือลกู บาศก์ฟตุ
5) อุปกรณ์อื่น เช่น อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ สวิตช์โอเวอร์โหลด พัดลมกระจาย
ความเย็น เป็นตน้
65
การใชต้ ู้เย็นอย่างถกู วธิ ีและประหยดั พลงั งาน
1) ไม่ควรเปิด – ปิดตู้เย็นบ่อยครั้ง และไม่ควรเปิดตู้เย็นทิ้งไว้ เนื่องจากความร้อน
ภายนอกจะไหลเข้าตู้เย็น ทาให้คอมเพรสเซอร์ต้องทางานหนักมากขึ้น เพ่ือรักษาอุณหภูมิ
ภายในต้เู ยน็ ให้คงเดิมตามทตี่ งั้ ไว้
2) ไม่ควรติดตั้งตู้เย็นใกล้กับแหล่งกาเนิดความร้อน หรือรับแสงอาทิตย์โดยตรง
เน่ืองจากปริมาณความร้อนจะถูกถ่ายเทเข้าไปในตู้เย็นมากขึ้น เป็นการเพ่ิมภาระให้กับระบบ
ทาความเยน็
3) ไม่เก็บอาหารในตู้เย็นมากเกินไป เพราะจะทาให้อุณหภูมิในตู้เย็นไม่สม่าเสมอ
ควรใหม้ ีช่องวา่ ง เพ่อื ใหอ้ ากาศภายในไหลเวยี นได้สม่าเสมอ
4) ไม่ควรนาอาหารร้อนแช่ในตู้เย็น เพราะจะทาให้อาหารที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน
เส่ือมคุณภาพหรอื เสยี คอมเพรสเซอรม์ อี ายกุ ารใชง้ านสน้ั ลง และสญู เสียพลังงานไฟฟา้ มากขึน้
5) ไม่ควรเสียบปลั๊กใหม่ทันที เพราะจะส่งผลให้มอเตอร์ของคอมเพรสเซอร์
ทางานหนัก และเกิดการชารดุ หรอื อายุการใชง้ านสั้นลง
การดูแลรักษาตู้เย็น
การดูแลรักษาตู้เย็นอย่างสม่าเสมอ จะช่วยให้ตู้เย็นทางานได้เต็มประสิทธิภาพ และ
ช่วยยดื อายุการทางาน มีขอ้ ควรปฏิบัตดิ งั น้ี
1) สาหรับตู้เย็นที่มีแผงระบายความร้อน ควรหมั่นทาความสะอาดแผงระบาย
ความร้อนต้เู ยน็ อยา่ งสม่าเสมอ ไมใ่ ห้มีฝุ่นละออง
2) ตรวจสอบขอบยางประตูไม่ให้ชารุดหรือเสื่อมสภาพ เพราะความร้อนจะไหลเข้า
ต้เู ย็น ทาใหม้ อเตอรต์ อ้ งทางานหนกั และเปลืองไฟฟา้ มาก
3) อุปกรณ์ระบายความร้อน จะติดต้ังอยู่ด้านหลังตู้เย็น เพื่อให้สามารถระบาย
ความร้อนได้ดี ควรวางตู้เย็นให้มีระยะห่างจากผนังอย่างน้อย 15 ซม. ด้านบนอย่างน้อย 30 ซม.
ดา้ นข้างอยา่ งนอ้ ย 2 – 10 ซม.
66
คา่ ไฟฟ้าของตเู้ ย็นขนาดตา่ ง ๆ เมือ่ ใชง้ านเป็นเวลา 1 ชั่วโมง
ขนาดของตู้เย็น ค่าไฟฟ้าตอ่ ช่วั โมงโดยประมาณ
4 คิว 0.21 บาท
6 คิว 0.27 บาท
12 คิว 0.72 บาท
กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 การเลือกซือ้ เลือกใช้ และดูแลรกั ษาเครือ่ งไฟฟ้าในครัวเรือน
(ใหผ้ เู้ รยี นไปทากิจกรรมเรือ่ งที่ 2 ท่ีสมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นร)ู้
67
เรือ่ งท่ี 3 การคานวณค่าไฟฟ้าในครวั เรือน
ค่าไฟฟา้ ทีช่ าระในปจั จบุ ัน ไม่เหมอื นกับคา่ สนิ คา้ ท่ัวไป เช่น ซื้อน้าบรรจุขวด ราคาขวดละ
5 บาท จานวน 2 ขวด แม่ค้าคิดราคา 10 บาท แต่ถ้าซ้ือ 12 ขวด แทนที่จะคิดที่ราคา 60 บาท
อาจจะลดให้เหลือ 55 บาท นั่นหมายความว่า ย่ิงซ้ือจานวนมาก ราคามีแนวโน้มจะถูกลง
แต่ ค่าไฟฟ้าจะกลับกัน กล่าวคือ ราคาไฟฟ้าถ้ายิ่งใช้มาก ค่าไฟฟ้าจะยิ่งสูงข้ึน เราเรียกอัตรา
ชนิดนี้ว่า “อัตราก้าวหน้า” สาเหตุท่ีใช้อัตราก้าวหน้าน้ี เนื่องจากเชื้อเพลิงที่ใช้ผลิตไฟฟ้ามีจากัด
และ ต้องนาเข้าจากต่างประเทศ ส่งผลกระทบต่อประเทศชาติ จึงต้องการให้ประชาชนใช้
ไฟฟ้าเท่าท่ีจาเป็นและใช้อย่างประหยัด จึงต้ังราคาค่าไฟฟ้าให้เป็นอัตราก้าวหน้า หากดูค่าไฟฟ้า
ท่ีจ่าย กันอยู่ในปัจจุบัน จะพบว่ามีองค์ประกอบ 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ ค่าไฟฟ้าฐาน ค่าไฟฟ้าผัน
แปร (Ft) และภาษมี ูลค่าเพิม่
ใบแจง้ ค่าไฟฟา้ ของการไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค ใบแจ้งคา่ ไฟฟา้ ของการไฟฟา้ นครหลวง
68
ตอนท่ี 1 องคป์ ระกอบของค่าไฟ
1. คา่ ไฟฟ้าฐาน
คา่ ไฟฟ้าฐาน ซงึ่ การไฟฟา้ นครหลวงใช้คาวา่ คา่ พลังงานไฟฟ้า เป็นค่าไฟฟ้าท่ีสะท้อน
ต้นทุนในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระบบสายส่ง ระบบจาหน่าย และค่าการผลิตพลังงานไฟฟ้า
ภายใต้สมมติฐานความต้องการไฟฟ้า ค่าเชื้อเพลิง ค่าซ้ือไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐ
ณ วันที่กาหนดโครงสร้างค่าไฟฟ้า โดยคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จะพิจารณา
ปรับค่าไฟฟ้าฐานคราวละ 3 – 5 ปี ดังน้ันในระหว่างช่วงเวลาดังกล่าว ค่าใช้จ่ายท่ีอยู่เหนือ
การควบคุม คือ ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) ท่ีมีผลต่อต้นทุนการผลิตไฟฟ้า ซึ่งอาจมีการเปล่ียนแปลง
ท้ังเพ่ิมขึ้นหรือลดลง คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จึงใช้กลไกตามสูตรอัตโนมัติ
มาปรบั ค่าไฟฟา้ ผันแปร (Ft)
2. ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft)
ค่าไฟฟ้าผันแปร หรือท่ีนิยมเรียกกันว่าค่าเอฟที (Ft) หมายถึง ค่าไฟฟ้าท่ีสะท้อน
การเปล่ียนแปลงของค่าใช้จ่ายที่อยู่นอกเหนือการควบคุม ได้แก่ ค่าเช้ือเพลิง ค่าซื้อไฟฟ้า และ
ค่าใช้จา่ ยตามนโยบายของรัฐท่ีเปลี่ยนไปจากค่าไฟฟ้าฐาน โดยคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน
(กกพ.) จะพิจารณาปรับค่าไฟฟา้ ทุก ๆ 4 เดอื น
3. ภาษีมลู คา่ เพมิ่
ตามหลักการภาษีแลว้ ผู้ใช้สินค้าหรือผู้ขอรับบริการ จะเป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพ่ิม
ซึ่งค่าไฟฟ้าก็เช่นเดียวกัน ผู้ใช้ไฟฟ้าจะเป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพ่ิม โดยคิดจากค่าไฟฟ้าฐาน
รวมกบั ค่าไฟฟ้าผนั แปร (Ft) ในอตั ราภาษีมูลคา่ เพ่ิมรอ้ ยละ 7
ตอนท่ี 2 อตั ราค่าไฟฟา้
อตั ราค่าไฟฟา้ แบ่งออกเปน็ 8 ประเภท ไดแ้ ก่
ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย เป็นการใช้ไฟฟ้าภายในบ้านเรือนท่ีอยู่อาศัย รวมท้ังวัด
สานักสงฆ์ และสถานประกอบศาสนกิจของทกุ ศาสนา
ประเภทท่ี 2 กิจการขนาดเล็ก เป็นการใช้ไฟฟ้าเพ่ือประกอบธุรกิจ ธุรกิจรวมกับ
บ้านอยู่อาศัย อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอ่ืนใดของรัฐ องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ สถานทูต สถานที่ทาการของหน่วยงานราชการต่างประเทศ และสถานที่
ทาการขององคก์ ารระหวา่ งประเทศ หรอื อ่นื ๆ
69
ประเภทท่ี 3 กิจการขนาดกลาง เป็นการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม
หน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ
สถานทูต สถานที่ทาการของหน่วยงานราชการต่างประเทศ และสถานท่ีทาการขององค์การ
ระหว่างประเทศ
ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ เป็นการใช้ไฟฟ้าเพ่ือประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม
หน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ
สถานทูต สถานท่ีทาการของหน่วยงานราชการต่างประเทศ และสถานที่ทาการขององค์การ
ระหว่างประเทศ หรืออื่น ๆ
ประเภทท่ี 5 กิจการเฉพาะอย่าง เป็นการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบกิจการโรงแรม และ
กิจการใหเ้ ช่าพกั อาศัย ตลอดจนบริเวณที่เกีย่ วข้อง
ประเภทท่ี 6 องค์กรท่ีไม่แสวงหากาไร เป็นการใช้ไฟฟ้าขององค์กรที่ไม่ใช่ส่วนราชการ
แตม่ วี ัตถปุ ระสงค์ในการให้บรกิ ารโดย ไมค่ ิดค่าตอบแทน
ประเภทท่ี 7 สูบน้าเพื่อการเกษตร เป็นการใช้ไฟฟ้ากับเคร่ืองสูบน้าเพื่อการเกษตรของ
หน่วยราชการ สหกรณ์เพ่ือการเกษตร กลุ่มเกษตรกรที่จดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกรที่หน่วยราชการรับรอง
ประเภทที่ 8 ไฟฟ้าชั่วคราว เป็นการใช้ไฟฟ้าเพ่ืองานก่อสร้าง งานที่จัดขึ้นเป็นพิเศษ
ชว่ั คราว สถานทีท่ ่ไี ม่มีทะเบยี นบา้ นของสานกั งานทะเบียนส่วนทอ้ งถ่ิน และการใช้ไฟฟ้าที่ยังปฏิบัติ
ไมถ่ ูกตอ้ งตามระเบยี บของการไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าค
ซ่ึงสามารถดูข้อมูลได้ที่ การไฟฟ้านครหลวง (www.mea.or.th) และการไฟฟ้า
ส่วนภูมิภาค (www.pea.co.th) โดยอัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย (อัตราปกติ)
แสดงดงั นี้
การใชพ้ ลังงานไฟฟ้า ค่าพลงั งานไฟฟ้า คา่ บริการ
(บาท/หนว่ ย) (บาท/เดือน)
1. ใช้พลงั งานไฟฟ้าไมเ่ กิน 150 หน่วยตอ่ เดอื น
15 หนว่ ยแรก (หนว่ ยที่ 0 – 15) 2.3488 8.19
10 หน่วยตอ่ ไป (หนว่ ยท่ี 16 – 25) 2.9882
10 หนว่ ยต่อไป (หน่วยท่ี 26 – 35) 3.2405
70 3.6237 38.22
3.7171
65 หน่วยตอ่ ไป (หน่วยท่ี 36 – 100) 4.2218
50 หนว่ ยตอ่ ไป (หนว่ ยท่ี 101 – 150) 4.4217
250 หนว่ ยตอ่ ไป (หนว่ ยที่ 151 – 400)
เกิน 400 หนว่ ยขน้ึ ไป (หน่วยที่ 401 เป็นตน้ ไป) 3.2484
2. ใช้พลงั งานไฟฟา้ เกนิ 150 หน่วยตอ่ เดอื น 4.2218
150 หนว่ ยแรก (หน่วยท่ี 0 – 150) 4.4217
250 หนว่ ยต่อไป (หน่วยท่ี 151 – 400)
เกนิ 400 หนว่ ยขน้ึ ไป (หน่วยท่ี 401 เปน็ ต้นไป)
ตอนที่ 3 การคานวณการใชไ้ ฟฟ้า
ค่าพลงั งานไฟฟา้ คดิ จากปริมาณพลังงานไฟฟ้าท้ังหมดท่ีใช้ในแต่ละเดือน ซึ่งได้จากการใช้
เคร่ืองใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิด โดยใช้เครื่องวัดท่ีเรียกว่า “มาตรกิโลวัตต์ – ช่ัวโมง” หรือ “มาตร
กาลงั ไฟฟา้ ” หรือ “มิเตอร์ไฟฟ้า”
การวัดพลังงานไฟฟ้าท่ีใช้ในบ้านนิยมใช้หน่วยใหญ่กว่าจูล โดยใช้เป็น กิโลวัตต์ – ชั่วโมง
หรอื เรียกว่า หนว่ ย (Unit : ยนู ติ )
พลังงานไฟฟ้า 1 กิโลวัตต์ – ชั่วโมง หมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไป 1,000 วัตต์ในเวลา
1 ชว่ั โมง หรือ พลังงานไฟฟา้ (หนว่ ย) = กาลังไฟฟา้ (กิโลวัตต์) x เวลา (ชัว่ โมง)
เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดจะใช้พลังงานไฟฟ้าต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาดของ
เครื่องใช้ไฟฟ้า ตามตัวเลขท่ีกากับบนเคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่ระบุทั้งความต่างศักย์ (V) และกาลังไฟฟ้า
(W) รวมไปถงึ ความถี่ (Hz) ของไฟฟา้ ท่ใี ชก้ บั เครอื่ งใช้ไฟฟา้ นั้น
กาลังไฟฟ้า หมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่นาไปใช้งานในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็น จูลต่อวินาที
หรือ วัตต์ (W) สามารถคานวณหากาลังไฟฟ้าได้จากความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้
ไปในเวลา 1 วินาที ดงั นี้ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ (จูล)
กาลังไฟฟา้ (วัตต)์ = เวลาทใี่ ช้ (วนิ าที)
หรือ พลงั งานไฟฟา้ ที่ใช้ (จลู ) = กาลังไฟฟา้ (วตั ต์) x เวลาท่ีใช้ (วินาที)
71
ตัวอย่างการคานวณคา่ พลงั งานไฟฟ้า
ตัวอย่างที่ 1 เปิดเครื่องปรับอากาศท่ีใช้กาลังไฟฟ้า 2,000 วัตต์ เป็นเวลา 2 ชั่วโมง จะใช้พลังงาน
ไฟฟ้าไปกี่หน่วย และจะเสียเงินเท่าไร ถ้าพลังงานไฟฟ้าหน่วยละ 2.50 บาท (1,000 วัตต์ เท่ากับ
1 กโิ ลวัตต์)
วิธีทา พลังงานไฟฟ้า (หน่วย) = กาลงั ไฟฟ้า (กิโลวตั ต)์ x เวลา (ช่วั โมง)
กาลงั ไฟฟา้
= 2,000 วตั ต์
เวลาทีใ่ ช้
= 2,000 = 2 กโิ ลวัตต์
1,000
= 2 ชั่วโมง
แทนคา่ พลงั งานไฟฟ้า = 2 x 2 = 4 หนว่ ย
ดงั น้ันจะเสียเงนิ ค่าพลังงานไฟฟา้ = 4 x 2.50 = 10 บาท
ตอบ ใชพ้ ลังงานไฟฟ้าไป 4 หน่วย และเสียเงินค่าพลังงานไฟฟ้า 10 บาท
ตัวอยา่ งท่ี 2 ถ้าใช้พลังงานไฟฟ้า 100 หน่วย จะต้องจา่ ยเงินเท่าไร เมื่อกาหนดค่าพลังงานไฟฟา้
ตามปริมาณพลงั งานไฟฟ้าทใ่ี ชใ้ นอัตรากา้ วหน้าดังตาราง
หนว่ ยไฟฟา้ ค่าพลงั งานไฟฟ้า (บาท/หน่วย)
15 หน่วยแรก (หน่วยท่ี 0 – 15) 1.8632
10 หนว่ ยตอ่ ไป (หน่วยท่ี 16 – 25) 2.5026
10 หน่วยต่อไป (หนว่ ยท่ี 26 – 35) 2.7549
65 หน่วยตอ่ ไป (หนว่ ยท่ี 36 – 100) 3.1381
50 หน่วยต่อไป (หน่วยท่ี 101 – 150) 3.2315
250 หน่วยตอ่ ไป (หนว่ ยที่ 151 – 400) 3.7362
เกิน 400 หนว่ ยขึ้นไป (หน่วยที่ 401 เปน็ ตน้ ไป) 3.9361
72
วิธที า
1. คานวณค่าไฟฟ้าหนว่ ยที่ 0 – 15 รวมจานวน 15 หน่วย ราคาหนว่ ยละ 1.8632 บาท
ดงั นน้ั หนว่ ยท่ี 0 – 15 คดิ เปน็ เงนิ 15 x 1.8632 = 27.948 บาท
2. คานวณคา่ ไฟฟ้าหน่วยที่ 16 – 25 รวมจานวน 10 หนว่ ย ราคาหนว่ ยละ 2.5026 บาท
ดังนัน้ หน่วยท่ี 16 – 25 คิดเปน็ เงนิ 10 x 2.5026 = 25.026 บาท
3. คานวณคา่ ไฟฟ้าหน่วยท่ี 26 – 35 รวมจานวน 10 หน่วย ราคาหน่วยละ 2.7549 บาท
ดังน้ัน หนว่ ยที่ 26 – 35 คิดเป็นเงิน 10 x 2.7549 = 27.549 บาท
4. คานวณคา่ ไฟฟ้าหน่วยท่ี 36 – 100 รวมจานวน 65 หน่วย ราคาหน่วยละ 3.1381 บาท
ดงั นั้น หนว่ ยท่ี 36 – 100 คดิ เป็นเงนิ 65 x 3.1381 = 203.9765 บาท
ดังน้ันรวมคา่ พลังงานไฟฟา้ ทตี่ ้องจา่ ยทง้ั หมดเปน็ เงนิ
= 27.948 + 25.026 + 27.549 + 203.9765 บาท
= 284.4995 บาท
ตอบ ตอ้ งจ่ายเงิน 284.4995 บาท
ตัวอย่างที่ 3 ถ้าใช้พลังงานไฟฟ้า 100 หน่วย บิลค่าไฟฟ้าท่ีแจ้งมาจะคิดเป็นเงินเท่าไหร่ โดยมี
ค่าบริการรายเดือน เท่ากับ 38.22 บาท ค่า Ft เท่ากับ 0.70 บาทต่อหน่วย และค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม
รอ้ ยละ 7
วิธที า คา่ ไฟฟา้ ทงั้ หมดประกอบดว้ ย 4 ส่วน คอื คา่ พลงั งานไฟฟ้า + คา่ Ft + คา่ บริการรายเดอื น
+ ค่าภาษีมลู ค่าเพม่ิ
1. ค่าพลงั งานไฟฟ้า จากตวั อย่างท่ี 2 ใชไ้ ฟฟ้า 100 หน่วย = 284.4995 บาท
2. ค่า Ft = (100 x 70) = 70 บาท
3. คา่ บริการรายเดอื น 100 = 38.22 บาท
4. คา่ ภาษี = [(284.4995 + 70 + 38.22) x 7]
100 = 27.49 บาท
ดังนัน้ รวมค่าไฟฟา้ ที่ปรากฏในบลิ ไฟฟ้าทงั้ หมด = 420.21 บาท
= 284.4995 + 70 + 38.22 + 27.49
ตอบ คา่ ไฟทแ่ี จ้งในบลิ เป็นเงิน 420.21 บาท
73
สรปุ ขั้นตอนการคดิ ค่าไฟฟ้า
1. คานวณหาพลงั งานไฟฟ้าที่ใชท้ ง้ั หมด (หนว่ ย)
พลงั งานไฟฟ้า (หนว่ ย) = กาลังไฟฟ้า (กโิ ลวตั ต)์ x เวลา (ชว่ั โมง)
2. คานวณคา่ พลงั งานไฟฟ้าใช้ท้งั หมด (บาท)
ค่าพลงั งานไฟฟา้ (บาท) = พลังงานไฟฟ้า (หน่วย) x อัตราค่าไฟฟา้ ต่อหนว่ ย (บาท)
3. คานวณคา่ Ft (บาท)
ค่า Ft (บาท) = พลังงานไฟฟา้ (หน่วย) x คา่ Ft ต่อหนว่ ย (บาท)
4. คา่ บริการรายเดอื น ตามท่ีการไฟฟ้ากาหนด
5. คานวณค่าภาษีมลู ค่าเพ่ิม คานวณจากร้อยละ 7 ของค่าใช้จา่ ยรวม 3 ค่า คอื
ค่าพลังงานไฟฟ้า คา่ Ft และค่าบรกิ ารรายเดือน
ค่าภาษมี ลู ค่าเพิม่ = [(ค่าพลังงานไฟฟา้ + คา่ Ft + ค่าบรกิ ารรายเดอื น) x 7]
100
6. รวมค่าไฟฟา้ ทต่ี ้องจ่ายท้ังหมด เท่ากบั ผลรวมของค่าพลังงานไฟฟา้ คา่ Ft ค่าบรกิ ารราย
เดือน และคา่ ภาษีมลู ค่าเพิ่ม
ค่าไฟฟ้าท่ีต้องจ่ายทั้งหมด = ค่าพลังงานไฟฟ้า + ค่า Ft + ค่าบริการรายเดือน +
ค่าภาษีมลู คา่ เพ่มิ
กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 3 การคานวณคา่ ไฟฟา้ ในครวั เรอื น
(ใหผ้ ู้เรียนไปทากจิ กรรมเร่อื งท่ี 3 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนร)ู้
74
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
1. ค. การเคล่ือนท่ขี องอิเล็กตรอน
2. ค. กา๊ ซธรรมชาติ
3. ง. อินโดนเี ซยี
4. ข. จ่ายไฟฟา้ ใหก้ บั ประชาชน
5. ก. ซือ้ ไฟฟ้าจากต่างประเทศให้มาก ๆ
6. ข. เปน็ แหลง่ พลงั งานสะอาด
7. ก. ต้นทนุ คา่ ไฟฟา้ ตอ่ หนว่ ยสงู
8. ก. ใชเ้ งนิ ลงทุนในการกอ่ สรา้ งสูง
9. ง. ไม่ถงึ 10 ปี
10. ค. เชยี งใหม่
11. ง. ตดิ ตงั้ เครอื่ งกาจดั ซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์
12. ง. พกั น้าไว้ที่บ่อพกั ที่ 1 แลว้ ปลอ่ ยไปสูบ่ ่อพักที่ 2 เพอื่ ปรบั อณุ หภูมกิ ่อนปล่อยส่สู าธารณะ
13. ค. นาเช้ือเพลงิ ฟอสซิลไปเผาเพอื่ ตม้ น้า แล้วนาไอน้าท่ไี ดไ้ ปป่นั กังหันเพอื่ ผลิตกระแสไฟฟา้
14. ข. โรงไฟฟ้าพลงั งานนิวเคลียร์
15. ข. ถา่ นหนิ
16. ข. วงจรขนาน
17. ง. การทาใหว้ งจรปดิ มีกระแสไฟฟ้าไหล
18. ค. ยอมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านได้ตลอด โดยไม่เกนิ กระแสไฟฟ้าทฟ่ี วิ สก์ าหนด
19. ง. เป็นอุปกรณต์ ัดต่อวงจรอัตโนมัติ เม่ือมกี ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านเกินค่าทก่ี าหนด
20. ง. เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ทเี่ หลอื ทุกชนดิ ทางานได้ ยกเวน้ เคร่อื งซกั ผา้
21. ค. ปอ้ งกนั อันตรายท่ีเกดิ จากไฟชอ็ ตหรือรวั่ ขณะใช้เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้
22. ข. โทรศัพทม์ ือถือ
23. ค. อาหารประหยัดไฟฟ้า
24. ง. ต้องมลี ายน้าสญั ลกั ษณข์ องการไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย
25. ข. 35 – 45 องศา
26. ง. เปิดประตูหอ้ งนอนขณะเปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศ
27. ค. ทีวจี อแบน 20 นวิ้
28. ง. รวบรวมผ้าทจ่ี ะรีด แลว้ รีดภายในครั้งเดียว
29. ก. เปดิ – ปิด ตเู้ ยน็ บ่อย ๆ
30. ง. คา่ พลังงานไฟฟ้า ค่าบริการรายเดอื น ค่าไฟฟ้าผนั แปร ภาษมี ลู คา่ เพิ่ม
75
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
1. ง. การทาใหว้ งจรปิด มีกระแสไฟฟา้ ไหล
2. ก. ตน้ ทุนค่าไฟฟา้ ต่อหนว่ ยสูง
3. ข. วงจรขนาน
4. ง. ติดตง้ั เครอ่ื งกาจัดซัลเฟอร์ไดออกไซด์
5. ค. ปอ้ งกันอันตรายที่เกดิ จากไฟชอ็ ตหรือรัว่ ขณะใชเ้ ครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า
6. ค. การเคลื่อนทีข่ องอิเลก็ ตรอน
7. ค. ทีวจี อแบน 20 นวิ้
8. ง. ค่าพลงั งานไฟฟา้ คา่ บริการรายเดอื น คา่ ไฟฟ้าผนั แปร ภาษมี ลู ค่าเพิม่
9. ง. อนิ โดนีเซยี
10. ง. ตอ้ งมีลายนา้ สัญลักษณ์ของการไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
11. ค. ก๊าซธรรมชาติ
12. ง. รวบรวมผ้าที่จะรดี แลว้ รดี ภายในครัง้ เดียว
13. ง. เปน็ อปุ กรณ์ตดั ต่อวงจรอตั โนมัติ เมอ่ื มีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นเกนิ ค่าทก่ี าหนด
14. ข. เปน็ แหล่งพลงั งานสะอาด
15. ก. เปิด – ปดิ ตู้เยน็ บอ่ ย ๆ
16. ก. ซอ้ื ไฟฟา้ จากต่างประเทศใหม้ าก ๆ
17. ข. 35 – 45 องศา
18. ง. ไม่ถึง 10 ปี
19. ข. จ่ายไฟฟ้าใหก้ บั ประชาชน
20. ค. นาเชอ้ื เพลงิ ฟอสซลิ ไปเผาเพ่ือตม้ นา้ แลว้ นาไอนา้ ที่ได้ไปป่ันกังหนั เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า
21. ง. เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ที่เหลอื ทุกชนดิ ทางานได้ ยกเวน้ เครอ่ื งซกั ผ้า
22. ง. พกั น้าไว้ท่ีบ่อพักที่ 1 แลว้ ปลอ่ ยไปสูบ่ ่อพักท่ี 2 เพ่ือปรบั อณุ หภูมกิ ่อนปล่อยสสู่ าธารณะ
23. ง. เปิดประตูห้องนอนขณะเปดิ เครอ่ื งปรับอากาศ
24. ก. ใช้เงนิ ลงทุนในการกอ่ สร้างสงู
25. ข. ถา่ นหิน
26. ข. โรงไฟฟา้ พลงั งานนิวเคลียร์
27. ค. อาหารประหยัดไฟฟา้
28. ข. โทรศัพทม์ อื ถือ
29. ค. เชยี งใหม่
30. ค. ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ตลอด โดยไมเ่ กินกระแสไฟฟ้าที่ฟิวส์กาหนด
76
เฉลย/แนวตอบ กิจกรรมทา้ ยเร่ือง
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1
พลงั งานไฟฟา้
กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 1 การกาเนิดของไฟฟา้
กิจกรรมท่ี 1.1 เขียนบอกการกาเนิดพลงั งานไฟฟา้ พรอ้ มยกตวั อยา่ ง อยา่ งน้อย 3 วธิ ี
การกาเนิดไฟฟ้าทส่ี าคัญมี 5 วิธี ไดแ้ ก่
1. ไฟฟ้าที่เกดิ จากการเสยี ดสีของวตั ถุ เช่น ถูแท่งยางกับผ้าขนสัตว์
2. ไฟฟา้ ท่เี กิดจากการทาปฏกิ ริ ิยาทางเคมี เชน่ แบตเตอรี่ และถา่ นอลั คาไลน์
(ถ่านไฟฉาย)
3. ไฟฟ้าที่เกดิ จากความรอ้ น
4. ไฟฟ้าทเี่ กิดจากพลงั งานแสงอาทติ ย์ เชน่ เซลลแ์ สงอาทติ ย์
5. ไฟฟา้ ทเ่ี กิดจากพลังงานแมเ่ หล็กไฟฟา้ ไฟฟ้า เชน่ เครอ่ื งป่ันไฟ
กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 2 สถานการณ์พลังงานไฟฟา้ ของประเทศไทย และประเทศในอาเซียน
กิจกรรมที่ 2.1 จงเลอื กชนิดและปรมิ าณเช้ือเพลิงท่ีใช้ในการผลติ ไฟฟา้ ของประเทศไทย
ในปี พ.ศ. 2558 ใส่ลงในตารางใหถ้ กู ต้อง
ชนิดของเชือ้ เพลงิ :
นา้ มนั ดเี ซล พลังงานหมนุ เวียน ซอื้ ไฟฟ้าจากประเทศมาเลเซีย
ก๊าซธรรมชาติ น้ามนั เตา ถา่ นหนิ นาเข้าและถา่ นหนิ ในประเทศ (ลกิ ไนต)์
ปริมาณเชือ้ เพลงิ ท่ใี ช้ในการผลติ ไฟฟ้า : 11.02 18.96 69.19
0.07 0.13 0.62
อันดบั ท่ี ชนิดของเชื้อเพลิง ปริมาณเชอื้ เพลิงท่ใี ชใ้ นการผลิตไฟฟา้
(ร้อยละ)
1 ก๊าซธรรมชาติ 69.19
2 ถ่านหินนาเข้าและถ่านหินในประเทศ (ลิกไนต์) 18.96
3 พลงั งานหมุนเวยี น 11.02
4 น้ามันเตา 0.62
5 น้ามนั ดีเซล 0.13
6 นาไฟฟา้ จากประเทศมาเลเซยี 0.07
77
กิจกรรมที่ 2.2 ดูวีดิทัศน์ เรื่อง “ทาไมค่าไฟฟ้าแพง” และ เรื่อง “ไฟฟ้าซ้ือหรือสร้าง” แล้ว
ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
1) ประเทศไทยมีความตอ้ งการไฟฟา้ เพ่ิมมากขน้ึ เนื่องจากสาเหตใุ ด
การใชไ้ ฟฟา้ ดา้ นตา่ งๆ สาเหตุที่ทาให้ความตอ้ งการใช้พลงั งานไฟฟ้าสูงขน้ึ
ครวั เรอื น 1. ส่ิงอานวยความสะดวก เช่น เคร่ืองใช้ไฟฟา้
อุตสาหกรรม 2. จานวนประชากรเพม่ิ มากขน้ึ
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
คมนาคมขนส่ง รถไฟฟ้า
2) อะไรคือความเสี่ยงท่ีอาจเป็นสาเหตุให้ประเทศไทยมีไฟฟ้าใช้ไม่เพียงพอในอนาคต ให้บอกมา
อยา่ งน้อย 3 สาเหตุ
1. ความต้องการใชไ้ ฟฟ้ามากกว่ากาลังการผลติ
2. พ่ึงพาเช้ือเพลิงอย่างใดอย่างหนึ่งมากเกินไป เช่น ใช้ก๊าซธรรมชาติมากเกินไป
หากมีการปิดซอ่ มท่อกา๊ ซ ตา่ งประเทศไม่ขายก๊าซธรรมชาติให้ จะทาให้ผลติ ไฟฟา้ ไม่เพยี งพอ
3. พ่ึงพาต่างประเทศมากเกินไป เช่น ซ้ือไฟฟ้า ซ้ือเชื้อเพลิง หากเกิดปัญหาระหว่าง
ประเทศ หรอื มีภาวะสงคราม กจ็ ะทาให้ตา่ งประเทศไม่ขายเชอ้ื เพลิงและไฟฟ้าให้กบั ประเทศไทย
3) บอกแนวทางพร้อมทั้งเหตผุ ล ในการจัดหาพลงั งานไฟฟา้ ของประเทศไทยให้มีใชอ้ ย่างเพียงพอ
ในอนาคต ให้บอกมาอยา่ งนอ้ ย 2 ข้อ
ที่ แนวทาง เหตุผล
1 ซ้ือไฟฟ้าจากต่างประเทศ ขอ้ ดี คือ ไม่ตอ้ งสร้างโรงไฟฟา้ เอง
ข้อเสีย คือ เงินไหลออกนอกประเทศ มีความเส่ียงสูง หาก
ต่างประเทศไม่ขายไฟฟา้ ให้ เกดิ ความไมม่ ่ันคงทางไฟฟา้
2 สรา้ งโรงไฟฟา้ เอง ข้อดี คือ เงินไม่ไหลออกนอกประเทศ มีความมั่นคงทางไฟฟ้า
ในระยะยาว สรา้ งงานสร้างรายได้ใหก้ ับประชาชน สง่ เสริม ให้
เกดิ การขขายตัวของเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรมได้
ข้อเสีย คือ ต้องใช้เงินลงทุนสูงและต้องมีระยะเวลาในการ
ก่อสรา้ ง
3 ประหยัดไฟฟา้ ข้อดี คือ ประหยัดค่าใช้จ่าย ทั้งภาครัฐ และครัวเรือน แต่หาก
มีความต้องการไฟฟ้าสูงเกินกาลังการผลิตมาก ๆ การประหยัด
ไฟฟ้าจะไมส่ ามารถทดแทนความต้องการไฟฟา้ ไดอ้ ย่างเพยี งพอ
78
กิจกรรมที่ 2.3 บอกส่ิงที่ต้องคานึงถึงในการเลือกใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า เพ่ือให้มีไฟฟ้าใช้
อยา่ งเพียงพอในอนาคต ให้บอกมาอยา่ งน้อย 3 ข้อ
1. ปริมาณเชื้อเพลิงสารองเพียงพอและแนน่ อนเพอ่ื ความม่นั คงในการจดั หา
2. การกระจายชนิดของเชื้อเพลิงให้หลากหลาย เช่น การใช้ถ่านหิน หรือพลังงาน
ทางเลือก และกระจายแหล่งท่ีมาของเชื้อเพลิงให้มากข้ึน เช่น จากประเทศมาเลเซีย ประเทศ
เมียนมารแ์ ละประเทศลาว เปน็ ตน้
3. เชอ้ื เพลงิ ทมี่ ีราคาเหมาะสมและมีเสถยี รภาพ
4. เชื้อเพลิงท่ีเม่ือนามาผลิตไฟฟ้าแล้ว สามารถควบคุมมลพิษให้อยู่ในระดับมาตรฐาน
คุณภาพท่สี ะอาดและยอมรับได้
5. การใช้ทรพั ยากรพลงั งานภายในประเทศที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สงู สดุ
กิจกรรมท่ี 2.4 จากภาพสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของประเทศในอาเซียน
ให้เปรียบเทียบข้อมูลเช้ือเพลิงท่ีใช้ในการผลิตไฟฟ้าของแต่ละประเทศ เรียงจากปริมาณมาก
ไปหานอ้ ยมา 3 อนั ดบั ลงในตารางทกี่ าหนดให้ แลว้ เขียนสรุปผลการเปรียบเทียบ
ทีม่ า: The World Bank-World Development Indicators
ภาพสดั สว่ นการใชเ้ ชอ้ื เพลิงในการผลิตไฟฟ้าของประเทศในอาเซยี น ปี พ.ศ. 2557
79
ตารางเปรยี บเทียบเปรียบเทียบการใช้เชื้อเพลงิ ในการผลิตไฟฟ้าของประเทศในอาเซยี น
ประเทศ ชนิดและรอ้ ยละของปรมิ าณเชอื้ เพลงิ ทใ่ี ช้ในการผลติ ไฟฟ้า
มากอันดับ 1 มากอนั ดับ 2 มากอันดับ 3
ไทย ก๊าซธรรมชาติ (70.4) ถา่ นหนิ (21.4) พลงั น้า (3.2)
เมียนมาร์ พลังนา้ (71.2) กา๊ ซธรรมชาติ (22.3) ถ่านหนิ (6.3)
กมั พูชา น้ามนั (48.4) พลังน้า (34.4) ความร้อนใตพ้ ภิ พ (13.1)
เวียดนาม พลงั น้า (38.5) กา๊ ซธรรมชาติ (35.4) ถา่ นหิน (20.9)
ลาว พลงั นา้ (90.7) ถ่านหนิ (6.2) นา้ มัน (3.1)
มาเลเซยี กา๊ ซธรรมชาติ (43.2) ถ่านหิน (39.2) นา้ มัน (9.0)
อนิ โดนีเซยี ถา่ นหิน (49.2) นา้ มนั (22.5) ก๊าซธรรมชาติ (19.8)
ฟลิ ิปปนิ ส์ ถา่ นหนิ (48.3) กา๊ ซธรรมชาติ (28.9) พลังนา้ (13.8)
บรไู นดารสุ ซาลาม ก๊าซธรรมชาติ (99.1) นา้ มัน (0.9) -
สิงคโปร์ ก๊าซธรรมชาติ (75.4) น้ามนั (22.1) อน่ื ๆ (2.5)
สรปุ ผลการเปรียบเทียบ
ประเทศในอาเซียนใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าท่ีแตกต่างกัน เนื่องจากแต่ละประเทศ
มที รพั ยากรท่แี ตกตา่ งกนั โดยเช้ือเพลงิ ทใี่ ช้ในการผลิตไฟฟา้ มากทส่ี ุดของแต่ละประเทศ มดี ังน้ี
ไทย : ก๊าซธรรมชาติ รอ้ ยละ 70.4
เมียนมาร์ : พลังน้า ร้อยละ 71.2
กมั พชู า : นา้ มัน รอ้ ยละ48.4
เวยี ดนาม : พลังน้า ร้อยละ 38.5
ลาว : พลงั นา้ ร้อยละ 90.7
มาเลเซยี : ก๊าซธรรมชาติ ร้อยละ 43.2
อนิ โดนเี ซีย : ถา่ นหิน ร้อยละ 49.2
ฟิลปิ ปนิ ส์ : ถ่านหนิ รอ้ ยละ 48.3
บรูไนดารุสซาลาม : กา๊ ซธรรมชาติ รอ้ ยละ 99.1 และ
สิงคโปร์ : กา๊ ซธรรมชาติ ร้อยละ 75.4
80
กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 3 หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งดา้ นพลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย
กิจกรรมที่ 3.1 เลือกตวั ย่อของชอ่ื หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้องดา้ นพลังงานไฟฟา้ ในประเทศไทยที่กาหนด
ใส่ลงในชอ่ งว่างของตารางด้านซา้ ย ใหต้ รงตามบทบาท/หน้าที่ และสถานการณ์ทีก่ าหนด
1. สานกั งานคณะกรรมการกากบั กจิ การพลังงาน (กกพ.)
2. การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย (กฟผ.)
3. การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าค (กฟภ.)
4. การไฟฟา้ นครหลวง (กฟน.)
หนว่ ยงาน บทบาท/หน้าท่ีและสถานการณ์
กฟผ.
กฟภ. 1. มหี นา้ ทใี่ นการจดั หาพลงั งานไฟฟ้า
กฟน. 2. มบี ้านอยูใ่ นจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา แล้วเกดิ ไฟฟ้าดบั ต้องตดิ ตอ่ กับหนว่ ยงานใด
3. มีบ้านอยู่ในจังหวัดนนทบุรี หากไม่ได้จ่ายค่าไฟฟ้าแล้วถูกตัดไฟฟ้า ต้องติดต่อกับ
กฟผ.
กฟน. หนว่ ยงานใด
กฟผ. 4. หากทา่ นพบปัญหาเกดิ ขึ้นกับเสาสง่ ไฟฟา้ แรงสูง ท่านควรแจง้ ต่อหน่วยงานใด
กกพ.
กฟภ. 5. ทา่ นสร้างบา้ นใหมใ่ นจงั หวัดสมุทรปราการ ต้องไปขอใช้ไฟฟ้ากับหน่วยงานใด
กกพ. 6. หากเกิดไฟฟา้ ดับหลายๆ จงั หวัดพรอ้ มกนั จะต้องตดิ ต่อกบั หนว่ ยงานใด
กฟภ.
7. มหี น้าท่ีควบคมุ ราคาค่าไฟฟ้า
8. ท่านมบี า้ นอยู่ในจังหวัดสตูล หากมีปัญหาเก่ียวกับไฟฟ้าในบ้าน ต้องขอข้อมูลและ
คาแนะนาจากหน่วยงานใด
9. หนว่ ยงานทก่ี ากบั ดูแลการประกอบกิจการพลงั งาน
10. ท่านอาศัยอยู่ในจังหวัดขอนแก่น เกิดหม้อแปลงไฟฟ้าระเบิด ควรแจ้งเหตุต่อ
หนว่ ยงานใด
81
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2
ไฟฟา้ มาจากไหน
กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 1 เชอ้ื เพลิงและพลงั งานที่ใช้ในการผลติ ไฟฟา้
กิจกรรมท่ี 1.1 ดวู ดี ิทศั น์ เรอ่ื ง ผลิตไฟฟ้าอย่างไรดี
1) บอกเช้อื เพลิงที่ใช้ในการผลติ ไฟฟา้ ว่ามอี ะไรบา้ ง
เช้อื เพลงิ และพลังงานที่สามารถใช้ในการผลิตไฟฟ้า เช่น ถ่านหิน น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ ลม
นา้ แสงอาทิตย์ ชีวมวล ความรอ้ นใตพ้ ภิ พ พลงั งานนวิ เคลียร์ เป็นตน้
2) เปรียบเทียบข้อดีและข้อจากัดของเช้ือเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าแต่ละชนิด ลงในตาราง
ทก่ี าหนดให้
แหล่ง ข้อดี ขอ้ จากัด
พลังงาน
ถา่ นหิน 1. มีต้นทุนในการผลติ ไฟฟา้ ตา่ 1. ปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก
2. มีปริมาณเชื้อเพลิงสารองมาก 2. ใช้เช้ือเพลิงในปริมาณมาก
3. สามารถผลติ ไฟฟ้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง 3. ประชาชนไม่เช่ือม่นั เร่ืองมลภาวะทางอากาศ
4. ขนสง่ งา่ ย จัดเก็บง่าย
น้ามัน 1. ขนส่งงา่ ย 1.ต้องนาเขา้ จากต่างประเทศ
2. หาซอื้ ไดง้ ่าย 2.ราคาไมค่ งท่ขี ึ้นกบั ราคาน้ามนั ของตลาดโลก
3. มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าการผลิต 3.ปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก
ดว้ ยถา่ นหนิ 4.ไฟฟา้ ท่ีผลิตได้มีต้นทนุ ตอ่ หน่วยสงู
4. สามารถเดินเคร่ืองได้อย่างรวดเร็วเหมาะ 5.ปรมิ าณเชอื้ เพลิงเหลอื นอ้ ย
สาหรับผลิตไฟฟ้าในกรณีฉุกเฉินหรือช่วง
ความตอ้ งการไฟฟ้าสูงได้
82
แหล่ง ข้อดี ข้อจากัด
พลงั งาน
กา๊ ซ 1. มีการเผาไหม้สมบูรณ์จึงส่งผลกระทบต่อ 1. ปริมาณสารองของก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย
ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมนอ้ ยกว่าเช้ือเพลิงฟอสซิลประเภท เหลือนอ้ ยบางส่วนต้องนาเขา้ จากต่างประเทศ
อ่นื ๆ 2. ราคากา๊ ซธรรมชาติไมค่ งท่ผี กู ติดกับราคา
2. มีประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าสูงทสามารถ น้ามัน
ผลติ ไฟฟา้ ไดต้ ลอด 24 ชั่วโมง 3. ปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก
3. มีต้นทุนในการผลติ ไฟฟา้ ตา่
พลังงานลม 1. เป็นแหล่งพลังงานท่ีได้จากธรรมชาติ ไม่มี 1.มีความไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาวะอากาศ
คา่ เช้ือเพลิง บางฤดูอาจไม่มีลมต้องใช้แบตเตอร่ีราคาแพง
2. เปน็ แหล่งพลงั งานสะอาด เป็นแหลง่ เกบ็ พลงั งาน
3. สามารถใช้ระบบไฮบริดเพื่อให้เกิดประโยชน์ 2. สามารถใช้ได้ในบางพ้ืนที่เท่านั้น พ้ืนที่
สูงสุด คือ กลางคืนใช้พลังงานลม กลางวัน ท่ีเหมาะสมควรเป็นพื้นที่ท่ีมีกระแสลมพัด
ใชพ้ ลงั งานแสงอาทิตย์ สมา่ เสมอ
3. มเี สียงดงั และมีผลกระทบต่อทัศนียภาพ
4. ทาให้เกิดการรบกวนในการส่งสัญญาณ
โทรทัศน์ และไมโครเวฟ
5. ต้นทุนค่าไฟฟ้าต่อหน่วยสูง
พลังงานน้า 1. ไม่ต้องเสยี ค่าใชจ้ า่ ยในการซ้ือเชือ้ เพลิง 1. การเดินเคร่ืองผลิตไฟฟ้าขึ้นกับปริมาณน้า
2. ไม่ก่อให้เกิดก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ จาก ในชว่ งทสี่ ามารถปลอ่ ยนา้ ออกจากเขอ่ื นได้
การผลิตไฟฟ้า 2. การก่อสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ในประเทศไทย
3. โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้าขนาดใหญ่มี มีข้อจากัดเนื่องจากอ่างเก็บน้าของเข่ือน
ขีดความสามารถสูงในการรักษาความมั่นคง ขนาดใหญ่จะทาให้เกิดน้าท่วมเป็นบริเวณ
ให้แก่ระบบไฟฟ้าสาหรับรองรับช่วงเวลา กว้างส่งผลกระทบต่อบ้านเรอื นประชาชน
ทีม่ คี วามต้องการใชก้ ระแสไฟฟ้าสูงสดุ
4. ตน้ ทนุ คา่ ไฟฟา้ ต่อหน่วยตา่
พลงั งาน 1. เป็นแหล่งพลังงานธรรมชาติขนาดใหญ่ท่ีสุด 1. ต้นทุนค่าไฟฟ้าตอ่ หนว่ ยสูง
แสงอาทิตย์ และสามารถใชเ้ ป็นพลงั งานไดไ้ มม่ วี นั หมด 2. แบตเตอร่ีซ่ึงเปน็ ตวั กักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์
2. ไมม่ คี า่ ใช้จา่ ยในเรือ่ งเชอ้ื เพลิง ไว้ใชใ้ นเวลากลางคืนมอี ายกุ ารใชง้ านตา่
83
แหลง่ ขอ้ ดี ขอ้ จากดั
พลงั งาน
3. สามารถนาไปใช้ในแหล่งท่ียังไม่มีไฟฟ้าใช้ 3. มีความไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาวะอากาศ
และอยู่ห่างไกลจากระบบสายส่งและสาย โดย พ้ืนที่ ที่เ หมา ะสม ต้อ งเป็ นพื้น ท่ีที่ มี
จาหน่ายไฟฟ้า ความเข้มรงั สีดวงอาทติ ย์คงท่แี ละสมา่ เสมอ
4. เป็นพลังงานสะอาดไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ
จากกระบวนการผลติ ไฟฟ้า
พลังงาน 1. ใช้ประโ ยชน์จากเศษวัสดุเหลือใช้ทาง 1. ชีวมวลเป็นวัสดุท่ีเหลือจากการแปรรูป
ชวี มวล
การเกษตร ทางการเกษตรมีปรมิ าณสารองท่ไี มแ่ นน่ อน
2. เพมิ่ รายได้ให้เกษตรกร 2. การบรหิ ารจัดการเชื้อเพลงิ และจัดเก็บ
3. ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่องวัสดุเหลือทิ้ง ทาได้ยาก
ทางการเกษตร 3. ราคาชีวมวลมีแนวโน้มสูงขึ้นเนื่องจากมี
ความต้องการใช้เพิ่มข้ึนเรอ่ื ย ๆ
4. ชีว ม ว ล ที่ มีศั ก ย ภ า พ เห ลื อ อยู่ มั กจ ะ อ ยู่
กระจัดกระจาย มีความชื้นสูง จึงทาให้
ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าสูงข้ึน เช่น ใบอ้อยและ
ยอดออ้ ย ทะลายปาล์ม เปน็ ตน้
พลงั งาน 1. เป็นแหล่งพลังงานที่ได้จากธรรมชาติ ไม่มี ใช้ได้เฉพาะในพ้ืนที่ที่มีแหล่งความร้อน
ความร้อน ค่าเช้ือเพลิง ใตพ้ ภิ พอย่เู ทา่ นน้ั
ใต้พิภพ 2.เป็นแหลง่ พลังงานสะอาด
พลังงาน 1. เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่โดยมีต้นทุน 1. ใชเ้ งนิ ลงทุนในการกอ่ สรา้ งสงู
นิวเคลียร์ การผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยต่าแข่งขันได้กับ 2. จาเป็นต้องเตรียมโครงสร้างพื้นฐานและ
โรงไฟฟ้าชนิดอ่ืนได้
พัฒนาบุคลากรเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไป
2. เป็นโรงไฟฟ้าท่ีสะอาดไมก่ อ่ ใหเ้ กิดมลพิษ และ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
กา๊ ซเรือนกระจก 3. ต้องการเตรียมการจัดการกากกัมมันตรังสี
และมาตรการควบคุมความปลอดภัยเพ่ือ
3. ช่วยเสริมสร้างความม่ันคงให้ระบบ ป้องกนั อบุ ตั ิเหตุ
ผลิตไฟฟ้า เน่ืองจากใช้เช้ือเพลิงน้อย เมื่อ 4. ยังไม่เป็นที่ยอมรับของประชาชน ประชาชน
เทยี บกบั โรงไฟฟ้าความรอ้ นประเภทอนื่ มขี ้อกงั วลใจในเรื่องความปลอดภัย
4. มีแหล่งเชื้อเพลิงมากมาย เช่น แคนาดา
แหลง่ 84 ข้อจากดั
พลงั งาน
ขอ้ ดี
และออสเตรเลีย และราคาไม่ผันแปรมาก
เมื่อเทยี บกับเช้ือเพลิงฟอสซิล
กจิ กรรมท่ี 1.2 ให้ใส่เครื่องหมายถูก (√) หนา้ ข้อที่ถูก และทาเครื่องหมายกากบาท (X) หน้าข้อท่ผี ดิ
____√___ 1. พลงั งานทดแทน คือ พลังงานทนี่ ามาใช้แทนเชอื้ เพลิงฟอสซิล
____√___ 2. การนาพลังงานทดแทนมาใช้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปัญหาการขาดแคลนเชื้อเพลิง
ฟอสซิลและลดสภาวะโลกรอ้ น
____√___ 3. พลังงานทดแทนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง
และพลังงานทดแทนประเภทหมนุ เวยี น
____X___ 4. พลงั งานนวิ เคลียร์ เป็นพลงั งานทดแทนประเภทหมนุ เวยี น
____X___ 5. ประเทศไทยไม่มีการใชป้ ระโยชน์จากพลังงานความร้อนใตพ้ ิภพ
____√___ 6. เชื้อเพลิงฟอสซิลเกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ใต้พิภพเป็นเวลานาน
หลายร้อยลา้ นปี
____√___ 7. กระบวนการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน คือ เผาถ่านหินเพ่ือให้เกิดความร้อน แล้วนา
ความร้อนไปต้มน้าให้เกิดเป็นไอน้า และนาไอน้าไปหมุนกังหันไอน้าท่ีต่อกับ
เครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ จงึ เกิดเปน็ พลังงานไฟฟ้าออกมา
____X___ 8. พลงั งานลม และพลงั งานแสงอาทิตย์ สามารถผลิตไฟฟ้าไดต้ ลอด 24 ชว่ั โมง
____√___ 9. แหล่งถ่านหินของประเทศไทยท่ีใช้ผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
คือ ถ่านหนิ ลกิ ไนต์
____X___ 10. การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ มีการเผาไหม้เช้ือเพลิงทาให้เกิด
กา๊ ซเรอื นกระจก
85
กิจกรรมที่ 1.3 วิเคราะห์ประเภทของเช้ือเพลิงท่ีควรนามาใช้ในการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
เพื่อให้มีไฟฟ้าใช้อย่างเพียงพอในอนาคต โดยเรียงตามความเหมาะสม 3 อันดับ ลงในตาราง
ท่กี าหนดให้
ในการตอบควรคานึงสิ่งต่อไปนี้
1. ปรมิ าณเช้ือเพลงิ สารองเพยี งพอและแน่นอนเพ่อื ความมนั่ คงในการจัดหา
2. การกระจายชนดิ ของเช้อื เพลิงให้หลากหลาย เช่น การใช้ถ่านหิน หรือพลังงาน
ทางเลือก และกระจายแหล่งที่มาของเช้ือเพลิงให้มากขึ้น เช่น จากประเทศมาเลเซีย ประเทศ
เมียนมาร์และประเทศลาว เป็นต้น
3. เช้ือเพลงิ ท่ีมรี าคาเหมาะสมและมเี สถียรภาพ
4. เชื้อเพลิงที่เมื่อนามาผลิตไฟฟ้าแล้ว สามารถควบคุมมลพิษให้อยู่ในระดับ
มาตรฐานคณุ ภาพที่สะอาดและยอมรับได้
5. การใชท้ รัพยากรพลงั งานภายในประเทศทม่ี อี ยูอ่ ย่างจากัดให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด
กิจกรรมที่ 1.4 ยกตัวอย่างพลังงานทดแทนท่ีมีอยู่ในชุมชนของตนเอง 1 ชนิด พร้อมท้ังอธิบาย
กระบวนการผลิต
ตัวอย่างชุมชนคลองน้าไหล
จากการสารวจพบว่าตาบลคลองน้าไหล ดาเนินกิจกรรมจนเกิดกลุ่มพลังงาน
ชุมชนเม่ือปี พ.ศ. 2554 จานวน 6 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. กลุ่มเตาเผาถ่าน 200 ลิตร บ้านบึงหล่ม
2. กลุ่มเตาเศรษฐกิจบ้านบึงหล่ม ซ่ึงต่อมาได้ขยายงาน ต่อยอดงาน ปรับโครงสร้างใหม่เปลี่ยนช่ือ
กลุ่มพลังงานทดแทนบ้านบึงหล่ม 3. กลุ่มเตาซุปเปอร์อ้ังโล่บ้านคลองด้วน 4. กลุ่มเตาย่างไร้ควัน
บ้านมะปรางทอง 5. กล่มุ บอ่ หมักก๊าซชวี ภาพจากมลู สัตว์ 6. กลมุ่ เตาแก๊สชีวมวลใชแ้ กลบบา้ นคลองพลู
ปี พ.ศ. 2555 ต.คลองน้าไหลเป็นแม่ข่ายตาบลน่าอยู่ได้สารวจข้อมูลพบทุนและ
ศักยภาพจึงได้พัฒนาวทิ ยากร แหล่งเรียนรู้เป็นสถานท่ีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านพลังงาน มีชุมชนจาก
การนาของพลังงานจังหวัดหลายจังหวัดเข้ามาศึกษาเรียนรู้ ภายใต้หลักคิดว่าจะไปดูงานไกล ๆ
ทาไม ของจงั หวัดกาแพงเพชรก็จดั การพลังงานได้ประสบผลสาเร็จ
86
กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 2 โรงไฟฟา้ กบั การจดั การด้านสิง่ แวดล้อม
กจิ กรรมท่ี 2.1 นาตัวอกั ษรท่ีอยู่หน้าคาตอบด้านขวามอื เกี่ยวกบั ผลกระทบและการจดั การด้าน
ส่ิงแวดลอ้ มของโรงไฟฟ้า เตมิ ลงในช่องว่างดา้ นซ้ายมือให้ถูกตอ้ ง
ก 1. ฝ่นุ ละอองจากการเผาไหม้ของเช้ือเพลิง ก. ผลกระทบสง่ิ แวดล้อมด้านอากาศ
ค 2. น้ามีอณุ หภูมิสงู กว่า 30 องศาเซลเซยี ส ข. ผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มด้านเสียง
ข 3. เสยี งจากการเครอ่ื งผลิตไฟฟา้ ค. ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ มดา้ นน้า
ง 4. ตดิ ต้ังเคร่ืองดักจบั ฝ่นุ ง. การจัดการสงิ่ แวดลอ้ มดา้ นอากาศ
ค 5. มีสารเคมีปนเปือ้ นลงสู่แม่น้า จ. การจดั การส่ิงแวดล้อมดา้ นเสียง
ฉ 6. ตรวจสอบคุณภาพน้า ฉ. การจดั การส่งิ แวดลอ้ มด้านนา้
ฉ 7. ปรับอุณหภมู ินา้ ใหใ้ กล้เคยี งกบั ธรรมชาติ
ข 8. การทางานของกังหนั ลม
จ 9. ปลกู ต้นไม้เปน็ แนวกัน
ง 10.ติดต้งั เครอื่ งกาจดั กา๊ ซซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์
87
กิจกรรมท่ี 2.2 บอกแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพอากาศในพนื้ ทชี่ มุ ชนรอบโรงไฟฟ้า
สังเกตค่าคุณภาพอากาศจากเร่ืองตรวจวัดที่ติดต้ังอยู่ในชุมชนรอบโรงไฟฟ้าว่าคุณภาพ
อากาศอยู่ในเกณฑ์ม าต รฐานตามประ ก าศก ระ ทรวงอุตสาหก รรม แ ละ ประ ก าศ
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
กจิ กรรมท่ี 2.3 แสดงความคดิ เหน็ โดยทาเครอ่ื งหมายถูก (√) ลงในชอ่ งเหน็ ดว้ ย หรือ ไม่เหน็ ดว้ ย
ข้อ ความคดิ เหน็ ตอ่ โรงไฟฟา้ เห็น ไม่เห็น
ดว้ ย ด้วย
1 ไฟฟ้ามคี วามจาเปน็ ตอ่ การพฒั นาชมุ ชน √
2 ประเทศไทยมโี อกาสท่ีจะเกดิ วิกฤตพลงั งานในอนาคต √
3 ตอ้ งการให้มกี ารสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ในชุมชนของท่าน √
4 การสรา้ งโรงไฟฟ้ามกี ารจัดการดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ อย่างดี √
5 โรงไฟฟ้าเทคโนโลยีถา่ นหินสะอาดสามารถลดมลภาวะได้ √
6 พลังงานหมุนเวียน (ลม แสงอาทิตย์ น้า ชีวมวล) ไม่สามารถนามาใช้ √
เปน็ เชื้อเพลงิ หลกั ในการผลิตไฟฟา้ แทนก๊าซธรรมชาติได้
7 พลังงานนิวเคลียร์สามารถนามาใช้เป็นเช้ือเพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้า √
แทนกา๊ ซธรรมชาติได้
8 การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ทาให้ราคา √
ค่าไฟฟ้าแพง
9 โรงไฟฟ้าถ่านหนิ มคี วามจาเป็นตอ่ ประเทศไทย √
10 ควรมีโรงไฟฟา้ หลายๆ ประเภท เพื่อให้มีไฟฟ้าเพียงพอต่อความต้องการ √
ใช้ไฟฟา้
รวม 10 คะแนน
ข้อ 1 – 10 ตอบเหน็ ดว้ ย ข้อละ 1 คะแนน
ขอ้ 1 – 10 ตอบไมเ่ หน็ ด้วย ข้อละ 0 คะแนน
หากได้คะแนนมากกว่า 8 คะแนน หมายถงึ มีทศั นคตทิ ีด่ ีต่อโรงไฟฟ้า
88
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
วงจรไฟฟ้าและอปุ กรณ์ไฟฟา้
กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 1 อุปกรณ์ไฟฟ้า
กจิ กรรมท่ี 1.1 บอกช่อื และหนา้ ทีข่ องอุปกรณไ์ ฟฟ้า
อุปกรณ์ไฟฟา้ ชอ่ื อปุ กรณ์ไฟฟ้า หนา้ ท่ี
สายไฟ สง่ พลงั งานไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปอีกทีห่ น่งึ
ฟวิ ส์ ป้องกันกระแสไฟฟา้ ไหลเกิน จนเกิด
อนั ตรายต่อเครอ่ื งใช้ไฟฟา้
อุปกรณ์ตดั ตอน ตดั วงจรอตั โนมตั เิ มือ่ กระแสไฟฟา้ เกิน
หรอื เบรกเกอร์ คา่ ท่กี าหนด
สวิตซ์ เปดิ หรือปดิ วงจรไฟฟ้า
เครอื่ งตดั ไฟร่วั ตัดวงจรไฟฟ้าเมอ่ื เกิดไฟฟา้ ร่ัว
เต้ารับ หรือ เปน็ อปุ กรณ์เชอื่ มต่อวงจรไฟฟา้ ใน
ปล๊กั ตัวเมยี ครวั เรอื น
เต้าเสียบ หรือ เป็นอปุ กรณท์ ีต่ ดิ กบั ปลายสายไฟของ
ปล๊กั ตัวผู้ เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ เพ่อื ต่อกระแสไฟฟ้า
เขา้ เครื่องใช้ไฟฟา้
89
กจิ กรรมท่ี 1.2 เลอื กอปุ กรณ์ไฟฟ้าที่กาหนดให้ เตมิ ลงในช่องวา่ งให้ตรงกบั ลักษณะการใชง้ าน
สายไฟ ฟวิ ส์ เบรกเกอร์ สวติ ช์
สะพานไฟ เครอ่ื งตัดไฟฟ้ารวั่ เตา้ รบั เตา้ เสยี บ
1) เมื่อผใู้ ช้เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ถูกไฟฟ้าช็อต เกดิ ไฟกระชาก จะทาให้ เครื่องตดั ไฟรั่ว ตดั ไฟ
2) เมือ่ กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ เกินขนาด จะส่งผลให้ ฟิวส์ ขาด
3) สวติ ช์ ใช้สาหรบั ควบคุมการ เปิด – ปิด หลอดไฟ
4) ก่อนดาเนินการซ่อมระบบไฟฟ้า เพ่ือความปลอดภัย จะต้องทาการตัดไฟฟ้าทั้งหมด
ภายในบา้ น โดยสับคันโยก สะพานไฟ ลง
5) ตอ้ งนา เตา้ เสียบ ของเครื่องใช้ไฟฟ้า เสียบกับ เต้ารับ ให้แนน่ เม่อื ตอ้ งการใชเ้ ครอ่ื งใช้ไฟฟ้า
6) เมื่อมีการใช้เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ หลายชนิดพร้อมๆ กนั ทาให้กระแสไฟฟ้าไหลในวงจรเกินกาหนด
จะทาให้ เบรกเกอร์ ตัดไฟฟ้าโดยอตั โนมตั ิ
90
กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 2 วงจรไฟฟ้า
กิจกรรมที่ 2.1 เลือกแบบการต่อวงจรไฟฟา้ ทีก่ าหนดให้ ใส่ลงในชอ่ งว่างดา้ นซ้ายมอื ใหต้ รงกบั ภาพ
การต่อวงจรไฟฟา้
ก. การตอ่ วงจรไฟฟา้ แบบอนุกรม
ข. การต่อวงจรไฟฟา้ แบบขนาน
ค. การต่อวงจรไฟฟา้ แบบผสม
____ข_.____ ข้อ 1
____ข_.____ ขอ้ 2
____ค_.____ ขอ้ 3
____ก_.____ ข้อ 4
91
กจิ กรรมที่ 2.2 ทาการทดลองการตอ่ วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม โดยใชแ้ ผงสาธติ การตอ่ วงจรไฟฟ้า
ปฏิบตั ิตามขนั้ ตอนทีก่ าหนดให้ แลว้ เขยี นผลการทดลอง พร้อมท้ังสรุปผลการทดลอง
ภาพแผงสาธติ การตอ่ วงจรไฟฟา้ (วงจรอนุกรม)
ข้ันตอนท่ี 1 ประกอบวงจรอนุกรมตามภาพแผงสาธิตการต่อวงจรไฟฟ้า (วงจรอนุกรม)
โดยใส่หลอด LED ลงในฐานเสียบหลอด LED จานวน 3 หลอด จากน้ันเปิดเบรกเกอร์ และเปิดไฟ
โดยหลอด LED โดยทกุ หลอดต้องตดิ
หมายเหตุ : หากใส่หลอด LED แล้วไฟไมต่ ิด ใหส้ ลบั ข้วั หลอด LED
ขนั้ ตอนที่ 2 ทาการถอดหลอด LED ออก 1 หลอด สงั เกตการเปลี่ยนแปลงและบันทกึ ผล
ขน้ั ตอนที่ 3 ปดิ เบรกเกอร์ และสรุปผลการทดลอง
ผลการทดลอง
เมือ่ ทาการถอดหลอด LED ออก 1 หลอด พบว่าหลอด LED ทีเ่ หลือจะดับ
สรุปผลการทดลอง
การต่อวงจรแบบอนุกรม คือ การต่อวงจรด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าต้ังแต่ 2 ตัวขึ้นไปเรียงต่อกัน
โดยกระแสไฟฟ้าจะไหลจากแหล่งจ่ายผ่านไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าตัวท่ี 1 ผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าตัวที่ 2
และผ่านตัวต่อ ๆ ไป จนกลับมาครบวงจรที่แหล่งจ่ายไฟ เม่ืออุปกรณ์ตัวใดตัวหนึ่งขาดหรือหลุด
จากวงจร จึงเปรียบเสมือนว่าวงจรขาด กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ครบวงจร ทาให้อุปกรณ์
ท่ีเหลือในวงจรไม่สามารถทางานได้เช่นกัน จากการทดลองเม่ือทาการถอดหลอด LED ออก
1 หลอด จงึ เปน็ เหตุใหห้ ลอด LED ทเ่ี หลอื ดบั