ค่มู ือ
แนวทางการจดั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานออนไลน์
สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั จงั หวดั ระยอง
สำนกั งำน กศน.
สำนกั งำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
คำนำ
คมู่ อื แนวทางการจัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐานออนไลน์ จัดทาข้ึนเพือ่ ใช้เปน็ แนวทางในการจัด
การเรียนการสอนขนั้ พนื้ ฐาน ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
พุทธศักราช 2551 เน้ือหาในคู่มอื จะประกอบไปด้วย 3 ส่วนดังนี้
บทที่ 1 หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
บทท่ี 2 การจดั การเรยี นการสอนรูปแบบออนไลน์
บทที่ 3 รปู แบบการวดั และประเมินผลแบบออนไลน์
คณะผ้จู ดั ทาหวงั เปน็ อยา่ งยิง่ ว่า คมู่ ือแนวทางการจดั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานออนไลน์ของ
สานักงาน กศน. จังหวัดระยองเลม่ น้ี คงสามารถใช้เป็นแนวทางการจดั การศึกษาออนไลน์ให้กับ
ครู กศน. ทกุ ทา่ น หากผดิ พลาดประการใด คณะผูจ้ ดั ทาตอ้ งขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จดั ทา
มิถนุ ายน 2563
สำรบัญ หนา้
บทที่ 1 หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 1
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 1
1
1. หลักการ 2
2. จุดม่งุ หมาย 2
3. กลุ่มเป้าหมาย 4
4. โครงสร้างหลักสตู ร 4
วธิ กี ารจัดการเรียนร้แู ละการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 5
1. วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ 6
2. การจัดกระบวนการเรียนรู้ 11
การวัดผลประเมนิ ผลการเรยี น 12
เกณฑ์การจบหลักสตู ร
บทบาทของสถานศกึ ษาและผเู้ กยี่ วข้อง 17
17
บทที่ 2 การจัดการเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์ 17
ความรทู้ ั่วไปเก่ยี วกับ Google Classroom 18
18
1. เกี่ยวกบั Google Classroom 19
2. ประโยชน์ของการใช้งาน Google Classroom 22
3. ทาความเข้าใจเกีย่ วกับงาน Google Classroom 24
4. ความโดดเดน่ ของ Google Classroom 25
การสรา้ งชั้นเรยี น 31
การเปล่ยี นชอื่ ชัน้ เรยี น 33
การจดั การช้ันเรียน
การโพสตง์ าน
การโพสต์แบบทดสอบ
การโพสต์คาถาม
สำรบญั (ตอ่ ) หนา้
38
Google Hangout Meet 38
1. ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Google Meet 39
2. ขัน้ ตอนการใช้งาน 51
การสมัครเรียน(นักศึกษาใหม่)/ลงทะเบียน(นักศึกษาเก่า)แบบออนไลน์ 65
66
บทท่ี 3 รูปแบบการวัดและประเมนิ ผลแบบออนไลน์ 71
การสรา้ งเครื่องมือวัดผลประเมนิ ผล โดยใช้ Google Forms 82
ส่วนประกอบและเคร่ืองมือ Google Forms 85
การสรา้ งแบบทดสอบด้วย Google Forms 87
การสรา้ งแบบประเมนิ ความพึงพอใจ 91
93
1. การดูแบบประเมินในมุมมองแสดงผล 95
2. การจากดั จานวนการส่งแบบฟอร์ม 96
3. วิธกี ารสร้างสเปรตชตี ตอบกลับ 98
4. ดกู ารประมวลผลแบบตอบกลบั กรณปี ดิ แบบฟอร์มแล้ว 100
5. การนาคาตอบไปวิเคราะห์หาคา่ สถิติดว้ ยโปรแกรม Microsoft Excel
6. การนา URL ไปใช้งาน
7. กรณตี อ้ งการเพ่มิ เติมผตู้ อบแบบประเมิน
8. วธิ ลี บขอ้ มูลกรณขี ้อมูลเกินจานวนทีต่ ้องการ
บรรณานุกรม
คณะผจู้ ดั ทา
1
บทที่ 1
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
1. หลักการ
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนด
หลักการไว้ดงั นี้
1. เปน็ หลักสูตรท่ีมโี ครงสร้างยืดหยนุ่ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และการจดั การเรยี นรู้
โดยเน้นการบูรณาการเนอื้ หาใหส้ อดคล้องกบั วิถชี ีวิต ความแตกต่างระหว่างบุคคล ชมุ ชน และสังคม
2. ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารเทยี บโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
3. สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียน ไดพ้ ัฒนาและเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยตระหนกั ว่าผเู้ รียนมี
ความสาคัญ สามารถพฒั นาตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มศกั ยภาพ
4. ส่งเสรมิ ใหภ้ าคีเครือขา่ ยมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา
2. จุดม่งุ หมาย
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ม่งุ พัฒนา
ใหผ้ เู้ รยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มสี ติปัญญา มีคุณภาพชีวิตทด่ี ี มศี ักยภาพในการประกอบอาชีพและ
การเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนื่อง ซึง่ เป็นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ่ีตอ้ งการ จงึ กาหนดจดุ หมายดังตอ่ ไปน้ี
1. มีคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีดงี ามและสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสนั ติสุข
2. มคี วามรพู้ น้ื ฐานสาหรบั การดารงชีวิต และการเรยี นร้ตู ่อเนอื่ ง
3. มีความสามารถในการประกอบสมั มาอาชีพให้สอดคลอ้ งกบั ความสนใจ ความถนัดและ
ตามทนั ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คมและการเมือง
4. มีทกั ษะการดาเนินชวี ิตท่ดี ี และสามารถจดั การกบั ชีวิต ชมุ ชน สงั คมได้อย่างมีความสุข
ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
5. มคี วามเข้าใจประวัตศิ าสตรช์ าติไทย ภูมใิ จในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ
วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภมู ิปญั ญาไทย ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา
ยึดมน่ั ในวถิ ีชีวติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
6. มีจิตสานึกในการอนรุ กั ษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
7. เป็นบุคคลแหง่ การเรยี นรู้ มที ักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเขา้ ถงึ แหล่งเรียนรู้
และบรู ณาการความรู้มาใช้ในการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ
2
3. กล่มุ เป้าหมาย
ประชาชนท่ัวไปท่ีไม่อยใู่ นระบบโรงเรียน
4. โครงสรา้ งหลักสตู ร
เพอื่ ใหก้ ารจดั การศึกษาเปน็ ไปตามหลักการ จดุ มงุ่ หมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ ท่ีกาหนด
ไวใ้ ห้สถานศึกษาและภาคีเครอื ขา่ ยมีแนวปฏิบตั ิในการจัดทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา จงึ ได้กาหนด
โครงสร้างของหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้
4.1 ระดับการศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ
4.1.1 ระดบั ประถมศึกษา
4.1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
4.1.3 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
4.2 สาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 5 สาระ ดงั น้ี
1. สาระทกั ษะการเรียนรู้ เป็นสาระเกยี่ วกบั การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง การใช้แหล่ง
เรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวจิ ยั อย่างง่าย
2. สาระความรู้พน้ื ฐาน เปน็ สาระเกี่ยวกับภาษาและการสอ่ื สาร คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
3. สาระการประกอบอาชีพ เป็นสาระเก่ยี วกบั การมองเหน็ ช่องทางและการตัดสินใจ
ประกอบอาชีพ ทักษะในอาชีพ การจดั การอาชีพอย่างมีคุณธรรม และการพัฒนาอาชีพให้ม่ันคง
4. สาระทกั ษะการดาเนนิ ชวี ติ เป็นสาระเกีย่ วกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขภาพ
อนามยั และความปลอดภยั ในการดาเนนิ ชวี ติ ศลิ ปะและสุนทรียภาพ
5. สาระการพัฒนาสงั คม เป็นสาระเก่ียวกับภมู ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ท่ีพลเมือง และการพฒั นา
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
4.3 กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ เปน็ กิจกรรมทีจ่ ัดขนึ้ เพื่อให้
ผเู้ รียนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม
4.4 โครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
ประกอบด้วย
4.4.1 วิชาบงั คับ มสี าระการเรยี นรู้ 5 สาระ ทักษะการเรียนรู้ ความร้พู น้ื ฐาน
การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนนิ ชีวิต การพัฒนาสังคม
4.4.2 วชิ าเลือก เปน็ วชิ าท่สี ถานศึกษาพฒั นาขนึ้ เองโดยใหย้ ดึ หลกั การในการพัฒนา คือ
พฒั นาโปรแกรมการเรยี น เพื่อเป็นการกาหนดทิศทางและเปา้ หมายการเรยี นของผู้เรียน สถานศึกษา
3
จึงตอ้ งวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการความจาเปน็ และความสนใจของผู้เรยี น เพื่อออกแบบโปแกรมการเรียน
ภายในโปรแกรมการเรยี นจะประกอบไปด้วยรายวชิ าต่าง ๆ ทผ่ี เู้ รียนจะต้องเรียนรู้
ทงั้ น้ี วชิ าเลอื กในแตล่ ะระดับ สถานศึกษาตอ้ งจดั ใหผ้ ู้เรยี น เรยี นร้จู ากการทา
โครงงาน จานวนอยา่ งน้อย 3 หน่วยกิต
โครงสรา้ งหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา จานวนหน่วยกิต มธั ยมศึกษาตอนปลาย
วิชาบังคบั วชิ าเลอื ก มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ วิชาบงั คบั วชิ าเลือก
1.ทกั ษะการเรยี นรู้ วิชาบังคบั วิชาเลอื ก
2.ความรู้พ้ืนฐาน บังคับ 5
3. การประกอบอาชีพ 5 5 20
4. ทกั ษะการดาเนินชีวติ 12 16 8
5.การพฒั นาสังคม 8 8 5
5 5 6
รวม 6 6 44 32
กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 36 12 40 16
56 หนว่ ยกติ 76หนว่ ยกติ
48 หนว่ ยกติ 200 ชั่วโมง
200 ช่ัวโมง 200 ชั่วโมง
ทมี่ า : สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั , สานักงาน, (2552).
หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 .
เอกสารวิชาการหมายเลข 14/2552
4
โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
ประกอบด้วย
1. สาระการเรียนรู้ มี 5 สาระ คือ สาระทักษะการเรียนรู้ สาระความรู้พื้นฐาน สาระการ
ประกอบอาชพี สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ และสาระการพฒั นาสงั คม
2. ระดับการศึกษา มี 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
3. วิชาบังคับ ระดับประถมศึกษา ต้องเรียนวิชาบังคับ 36 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น ต้องเรียนวิชาบังคับ 40 หน่วยกิต และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ต้องเรียนวิชาบังคับ
44 หน่วยกิต
4. วชิ าเลือก ระดับประถมศึกษา ต้องเรียนวิชาเลือก 12 หน่วยกิต ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
ตอ้ งเรยี นวชิ าเลอื ก 16 หนว่ ยกิต และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ต้องเรยี นวิชาเลือก 32 หนว่ ยกติ
วธิ ีการจดั การเรียนรู้และการจัดกระบวนการเรยี นรู้
1.วธิ ีการจดั การเรียนรู้
การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐานมีวธิ ีการจัดการเรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย ไดแ้ ก่
1. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เป็นวิธกี ารจัดการเรียนร้ทู ่ีผู้เรียนกาหนดแผนการเรียนรู้ของตนเอง
ตามรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน โดยมีครูเป็นท่ีปรึกษาและให้คาแนะนาในการศึกษาหาความรู้ด้วย
ตนเองจากภมู ิปญั ญา ผ้รู ู้ และส่อื ต่าง ๆ
2. การเรียนรู้แบบพบกลุ่มเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดให้ผู้เรียนมาพบกันโดยมีครูเป็น
ผดู้ าเนนิ การให้เกิดกระบวนการกลมุ่ เพ่อื ใหม้ กี ารอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละหาขอ้ สรุปรว่ มกัน
3. การเรียนรู้แบบทางไกลเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้จากสื่อต่าง ๆ โดยที่ผู้เรียนและครูจะ
สอื่ สารกนั ทางส่อื อิเล็กทรอนิกส์เปน็ สว่ นใหญ่ หรือถ้ามคี วามจาเป็นอาจพบกันเป็นคร้ังคราว
4. การเรียนรู้แบบช้ันเรียนเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีสถานศึกษากาหนดรายวิชา เวลาเรียน
และสถานที่ ท่ีชัดเจน ซ่ึงวธิ กี ารจดั การเรียนรนู้ ี้เหมาะสาหรบั ผู้เรียนที่มเี วลามาเขา้ ชนั้ เรียน
5. การเรียนรู้ตามอัธยาศัยเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความ
ต้องการ และความสนใจ จากสื่อเอกสาร สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ หรือจากการฝึกปฏิบัติตามแหล่งเรียนรู้
ต่าง ๆ แล้วนาความรู้และประสบการณ์มาเทียบโอนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดั บ
การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
5
6. การเรียนรู้จากการทาโครงงานเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนกาหนดเร่ืองโดยสมัครใจ
ตามความสนใจ ความต้องการ หรือสภาพปัญหา ที่จะนาไปสู่การศึกษาค้นคว้า ทดลอง ลงมือปฏิบัติ
จริง และมกี ารสรุปผลการดาเนินงานตามโครงงาน โดยมีครูเป็นผูใ้ หค้ าปรึกษา แนะนา อานวยความ
สะดวกในการเรยี นรู้ และกระตนุ้ เสริมแรงใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
7. การเรียนรู้รูปแบบอื่น ๆ สถานศึกษาสามารถออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ
อื่น ๆ ได้ตามความต้องการของผ้เู รียน
วิธีการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษาและผู้เรียนร่วมกันกาหนดวิธีเรียน
โดยเลือกเรียนวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีก็ได้ขึ้นอยู่กับความยากง่ายของเน้ือหา และสอดคล้องกับ
วิถีชีวิต และการทางานของผู้เรียน โดยขณะเดียวกันสถานศึกษาสามารถจัดให้มีการสอนเสริม
ได้ทุกวิธีเรียน เพ่ือเตมิ เตม็ ความรู้ใหบ้ รรลมุ าตรฐานการเรยี นรู้
2. การจดั กระบวนการเรียนรู้
การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ ตามปรัชญาพ้ืนฐานการศึกษา
นอกโรงเรียน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกตใ์ ช้ความรู้ และสร้างองค์
ความรสู้ าหรบั ตนเอง ชมุ ชน และสงั คม ซ่งึ กาหนดรูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ ดังน้ี
1. กาหนดสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม ให้เช่ือมโยงกับ
ประสบการณ์และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร โดยผู้เรียนทาความเข้าใจกับ
สภาพปญั หาความตอ้ งการนนั้ ๆ แล้วกาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ และวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง
เพื่อนาไปสกู่ ารปฏบิ ัตติ ่อไป
2. แสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ท่ีเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม
โดยศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ รวบรวมข้อมูลของตนเอง ชุมชน สังคม และวิชาการ จากส่ือ และแหล่ง
เรียนรู้ที่หลากหลายมีการสะท้อนความคิด ระดมความคิดเห็น อภิปราย วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล
และสรุปเป็นความรู้
3. ปฏิบัติ โดยให้นาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่
เหมาะสมกับสงั คม และวฒั นธรรม
4. ประเมินผลการเรียนรู้ โดยให้มีการประเมิน ทบทวนแก้ไขข้อบกพร่อง และ
ตรวจสอบผลการเรยี นร้ใู ห้บรรลุตามเป้าหมายการเรยี นรูท้ วี่ างไว้
6
การวัดและประเมนิ ผลการเรียน
การวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา
ขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มีเปา้ หมายสาคัญเพ่ือนาผลการประเมินไปพัฒนาผเู้ รียนให้บรรลุ
มาตรฐานการเรยี นรูข้ องหลกั สตู ร โดยนาไปใช้เป็นขอ้ มลู ในการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ส่งเสริมการเรียนรู้
และพฒั นาการผเู้ รียน และนาไปปรบั ปรงุ แก้ไขการจัดกระบวนการเรยี นรูใ้ หม้ ีประสิทธิภาพยง่ิ ข้นึ
รวมท้งั นาไปใชใ้ นการพิจารณาตดั สนิ ความสาเรจ็ ทางการศึกษาของผเู้ รยี น
การวดั และประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา
ขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มี 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่
1. การวดั และประเมินผลการเรียน
1.1 การวัดและประเมินผลการเรยี นรายวิชา
1.2 การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
1.3 การประเมนิ คุณธรรม
2. การประเมนิ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น รายละเอยี ด ดังน้ี
1. การวดั และประเมินผลรายวชิ า
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
กาหนดสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 สาระการเรียนรู้ คือ ทักษะการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน
การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนินชีวิต และการพัฒนาสังคม โดยแต่ละสาระการเรียนรู้
ประกอบด้วยรายวิชาต่าง ๆ กาหนดให้มีการวัดและประเมินผลเป็นรายวิชาก่อนเรียนระหว่าง
ภาคเรียน และปลายภาคเรียน เพื่อทราบความก้าวหน้าท้ังด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และ
คณุ ธรรมจริยธรรม อันเป็นผลมาจากการจดั กิจกรรม การเรียนรู้ของสถานศึกษาในแตล่ ะรายวิชาด้วย
วธิ ีการทีห่ ลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมนิ จากแฟ้มสะสมงานประเมินการปฏิบัติ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ (Performance Evaluation) ประเมินการปฏิบัติจริง (Authentic
Assessment) ทดสอบย่อย (Quiz) ประเมินจากกิจกรรม โครงงานหรอื แบบฝึกหัด เป็นต้น โดยเลือก
ใหส้ อดคลอ้ ง และเหมาะสมกบั ธรรมชาติของรายวชิ าควบคไู่ ปกบั กิจกรรม การเรียนร้ขู องผูเ้ รยี น
การกาหนดคะแนนระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียนใหเ้ ป็นไปตามเกณฑท์ ี่
สานักงาน กศน. กาหนด โดยการวัดผลระหว่างภาคเรียนสถานศึกษาเป็นผูด้ าเนินการ สาหรบั
การวดั ผลปลายภาคเรยี น ให้เป็นไปตามทีส่ านกั งาน กศน. กาหนด
แผนภูมิกรอบการวดั ผลและประเมินผลรายวิชา 7
ก่อนเรียน ขอ้ มูลพ้นื ฐาน สอบซ่อม
ของผูเ้ รียน ไม่ผ่าน
การวดั และ ระหว่างภาคเรียน ผ่าน
ประเมนิ ผล สถานศึกษาประเมินดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย
บนั ทึกใน
รายวชิ า เอกสารการเรี ยน
ปลายภาคเรียน
เป็ นไปตามที่ สานกั งาน กศน. กาหนด
แนวทางการวดั และประเมินผลรายวชิ า สถานศึกษาควรดาเนินการประเมนิ ผล
รายวชิ าดังนี้
1.1 การวัดและประเมนิ ผลก่อนเรียน เป็นการตรวจสอบความรู้ ทกั ษะ
และความพร้อมต่าง ๆ ของผู้เรียน เพ่ือเป็นข้อมลู พื้นฐานในการจัดกระบวนการเรียนร้ใู ห้เหมาะสม
กับสภาพ ความพร้อมและความร้พู ้นื ฐานของผูเ้ รยี น
1.2 การวัดและประเมินผลระหว่างภาคเรียน (60%) ใหส้ ถานศึกษา
ดาเนินการประเมินผลระหว่างภาคเรียน เพ่อื ทราบความก้าวหนา้ ทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ
และพฤติกรรมการเรยี น การรว่ มกิจกรรมและผลงาน อนั เปน็ ผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
โดยจาแนกเปน็ 2 ส่วนดงั น้ี
1) กาหนดสดั ส่วนการวัดและประเมนิ ผลใน สาระความรู้พ้ืนฐาน
ระหวา่ งภาคเรยี นเป็นไปตามเกณฑ์ทส่ี านกั งาน กศน. กาหนด โดยการประเมนิ ระหวา่ งภาคเรียนใหม้ ี
การประเมินผลดว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลายเปน็ ระยะ ๆ อยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่ือทราบพัฒนาการของผู้เรยี น
ท้งั น้ีสถานศึกษาอาจกาหนดให้มีการทดสอบระหวา่ งภาคเรียนไดต้ ามความเหมาะสม และจดั ใหม้ ี
การประเมนิ ดว้ ยวธิ อี ื่น ๆ เช่น ทาแบบฝึกหดั และรายงาน การนาเสนอผลงาน การทาแฟม้ หรือ
โครงงาน ฯลฯ โดยสถานศึกษาควรกาหนดคะแนนระหว่างภาคเรียนวา่ จะประเมินจากกจิ กรรมอะไร
ในสัดสว่ นคะแนนเท่าไรตามความเหมาะสม ข้อมลู จากการประเมินกิจกรรมในแต่ละครัง้ ให้
สถานศกึ ษานาไปพฒั นาปรบั ปรงุ การเรียนรู้ของผู้เรียน
8
2) การกาหนดสัดส่วนการวัดและประเมินผลในอีก 4 สาระ
ได้แก่ สาระทักษะการเรียนรู้ สาระการประกอบอาชีพ สาระทักษะการดาเนินชีวิต และสาระการ
พัฒนาสังคม การวัดและประเมินผล อาจใช้วิธีการท่ีหลากหลายให้สอดคล้องกับสาระรายวิชา วิถี
ชีวิต และกระบวนการเรียนรู้ เช่น การประเมินความรู้ความเข้าใจ การประเมินทักษะการปฏิบัติ
ฯลฯ โดยสถานศกึ ษาควรกาหนดคะแนนระหว่างภาคเรียนวา่ จะประเมินจากกิจกรรมอะไรในสัดส่วน
คะแนนเท่าไรตามความเหมาะสมข้อมูลจากการประเมินกิจกรรมในแต่ละคร้ังให้สถานศึกษานาไป
พฒั นาปรบั ปรงุ การเรยี นรขู้ องผู้เรยี น
1.3 การวัดและประเมินผลปลายภาคเรียน (40%) มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ทราบผลการเรียนรู้โดยรวมของผู้เรียนที่ได้เรียนตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละรายวชิ า
โดยอาจใช้เครื่องมือที่หลากหลายตามลักษณะของรายวิชา เช่น แบบทดสอบปรนัย แบบทดสอบ
อตั นัย แบบประเมินการปฏิบตั ิ เป็นตน้
1.4 การตัดสินผลการเรยี นรายวิชา การตัดสินผลการเรียนรายวชิ า ใหน้ า
คะแนนระหว่างภาคเรยี นมารว่ มกับคะแนนปลายภาคเรียน และจะต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ
50 จึงจะถือว่าผ่านการเรียนในรายวิชานั้น แล้วนาคะแนนไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา
กาหนดเพื่อให้คา่ ระดับผลการเรยี น
การให้ค่าระดบั ผลการเรียนให้กาหนดเปน็ 8 ระดบั ดงั นี้
ได้คะแนนรอ้ ยละ 80 – 100 ใหร้ ะดับ 4 หมายถงึ ดเี ยยี่ ม
ได้คะแนนรอ้ ยละ 75 – 79 ให้ระดบั 3.5 หมายถึง ดมี าก
ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 – 74 ใหร้ ะดบั 3 หมายถงึ ดี
ไดค้ ะแนนร้อยละ 65 – 69 ให้ระดับ 2.5 หมายถึง ค่อนขา้ งดี
ได้คะแนนร้อยละ 60 – 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถงึ ปานกลาง
ได้คะแนนร้อยละ 55 – 59 ใหร้ ะดบั 1.5 หมายถึง พอใช้
ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 50 – 54 ใหร้ ะดับ 1 หมายถงึ ผ่านเกณฑข์ น้ั ต่าที่กาหนด
ได้คะแนนร้อยละ 0 – 49 ใหร้ ะดบั 0 หมายถึง ต่ากวา่ เกณฑ์ขน้ั ตา่ ที่กาหนด
กรณีผู้เรียนมีผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนด ให้ดาเนินการ
พัฒนาผู้เรียนในรายวิชาท่ีได้รับค่าระดับผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น
การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานการเรียนรู้
(Performance Evaluation) ประเมินการปฏิบัติจริง (Authentic Assessment) ทดสอบย่อย
(Quiz) ประเมินจากกิจกรรม โครงงาน หรือแบบฝึกหัด เป็นต้น โดยเลือกให้สอดคล้องและ
เหมาะสมกับธรรมชาติของรายวิชา ควบคู่ไปกับกิจกรรม การเรียนรู้ของผู้เรียน ถ้าผู้เรียนสามารถ
ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวังแลว้ ให้ระดับ ผลการเรียนใหม่ โดยให้ค่าระดบั ผลการ
เรียนไม่เกิน 1 สาหรับผู้เรียนท่ีปรับปรุงพัฒนาแล้วไม่ผ่านเกณฑ์ ข้ันต่าให้ลงทะเบียนซ้าในรายวิชา
9
เดิมหรือเปล่ยี นรายวิชา ท้ังน้ีใหเ้ ป็นไปตามโครงสรา้ งหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และดาเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนปิดการลงทะเบียนเรียนในภาคเรียน
ถดั ไป
1.5 การขอเลื่อนสอบ ในกรณีที่ผู้เรียนมีเหตุสุดวิสัย หรือมีเหตุจาเป็น
ฉกุ เฉิน ไม่สามารถเข้าสอบปลายภาคเรยี นตามวัน เวลา ตามที่สถานศึกษากาหนด ผู้เรียนสามารถ
ย่ืนคาร้องขอเลื่อนสอบต่อสถานศึกษา โดยช้ีแจงเหตุผลความจาเป็นพร้อมท้ังแสดงหลักฐาน ทั้งน้ี
การพจิ ารณาอนมุ ตั ใิ หเ้ ลื่อนสอบอยใู่ นดลุ พินิจของผู้บริหารสถานศกึ ษา
1.6 การสอบซ่อม ผู้ที่มีสิทธิ์เข้ารับการสอบซ่อม คือ ผู้เรียนที่เข้าสอบ
ปลายภาคเรียนแต่ผลการประเมนิ ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาในสาระความรู้พ้ืนฐาน โดยให้
ผู้เรียนเข้ารับ การสอบซ่อมตามวันเวลา สถานท่ีและวิธีที่สถานศึกษาหรือต้นสังกัดกาหนด
ส่วนสาระอื่น ๆ ให้อยใู่ นดุลพนิ จิ ของสถานศึกษา
วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้นให้สถานศึกษาใช้เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายในการวัด
และประเมนิ ผลรายวิชา ซ่ึงสถานศกึ ษาอาจเลอื กใชเ้ ครอื่ งมือและวิธีการต่าง ๆ ดังน้ี
1. การประเมินความรูค้ วามเข้าใจในเนือ้ หารายวิชา อาจดาเนินการโดยใช้
แบบทดสอบซ่ึงมีท้ังแบบปรนัย และแบบอัตนัย แบบทดสอบปรนัย ได้แก่ ข้อสอบแบบเลือกตอบ
แบบเติมคา แบบถูกผิด แบบจับคู่ ส่วนแบบทดสอบอัตนัยจะเป็นการทดสอบท่ีให้ผเู้ รียนเขียนตอบ
จากคาถามท่ีกาหนดให้ หรือเขียนแสดงความคิดเห็น แสดงการคิดวิเคราะห์จากคาถามใน
แบบทดสอบ
2. การประเมนิ ทักษะการส่ือสาร อาจดาเนนิ การในรูปแบบและวิธกี าร
ตา่ ง ๆ ได้แก่
2.1 การถามตอบระหวา่ งปฏิบัติกิจกรรม
2.2 การสนทนาพบปะพดู คยุ กบั ผูเ้ รียน
2.3 การสนทนาพบปะพดู คยุ กับผเู้ กี่ยวข้องกบั ผ้เู รียน
2.4 การสอบปากเปล่าเพ่ือประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจและ
ทัศนคติ
2.5 การอา่ นบันทึกเหตุการณต์ ่าง ๆ ของผู้เรียน
2.6 การตรวจแบบฝกึ หัดและตรวจรายงาน
10
3. การประเมินทักษะการปฏิบัติ อาจดาเนนิ การในรูปแบบและวธิ ีการ
ตา่ ง ๆ ได้แก่
3.1 การสงั เกตพฤติกรรมผเู้ รียนตามรายการทผี่ เู้ รียนสามารถ
ปฏบิ ัติได้
3.2 การตรวจผลงานการปฏบิ ตั ิว่าถูกต้องสมบูรณ์ครบถว้ น
มีคณุ ภาพตามเกณฑ์ทีก่ าหนด
3.3 การให้ทาโครงงาน
3.4 การจดั ทาแฟม้ สะสมงาน
3.5 การประเมินจากการปฏิบัติจริงในงานอาชพี
3.6 การประเมินโดยการยอมรบั ความรู้ประสบการณ์
2. การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต
การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เป็นเง่ือนไขหนึ่งที่ผู้เรียนทุกคน
จะต้องได้รับการประเมินประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด โดยผู้เรียนจะต้องทากิจกรรม
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ไม่น้อยกว่า 200 ช่ัวโมง จึงจะไดร้ ับการพิจารณาอนมุ ัตใิ หจ้ บหลกั สูตรในแต่ละ
ระดับการศึกษา โดยให้ผลการประเมินเป็นผ่านและไม่ผ่าน (รายละเอียดให้ศึกษาในคู่มือการจัด
กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ )
3. การประเมินคุณธรรม
การประเมินคุณธรรม เป็นเงื่อนไขที่ผู้เรียนทุกคนจะต้องได้รับการประเมินตามเกณฑ์
ที่หลักสูตรกาหนด จึงจะได้รับการพิจารณาให้จบหลักสูตรในแต่ละระดับการศึกษา โดยสานักงาน
กศน. ได้กาหนดคุณธรรมเบอื้ งต้นไว้ สาหรับให้ผลการประเมินเป็น 4 ระดบั คือ ดีมาก ดี พอใช้
และปรับปรุง
การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ
1. หลกั การประเมนิ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ
หลักการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียน
ในภาคเรียนสุดท้ายของทุกระดับการศึกษา ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้ารับการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติในสาระ
การเรียนรู้ ตามที่สานักงาน กศน. กาหนด การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติไม่มี
ผลต่อการได้ หรือตกของผู้เรียน แต่มีวัตถุประสงค์เพ่ือนาข้อมูลท่ีได้จากการประเมินไปใช้ในการ
วางแผนปรับปรุง พัฒนาผู้เรียน และการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของสถานศึกษา รวมท้ัง
เป็นขอ้ มลู ในการสง่ เสริมสถานศึกษาในด้านวิชาการและด้านอนื่ ๆ ใหม้ คี ณุ ภาพใกล้เคียงกัน
11
สถานศึกษาต้องเตรียมผู้เรียนให้เข้ารับการประเมินด้วยความเข้าใจและตระหนักถึงความสาคัญของ
การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ เพ่ือให้ความร่วมมือในการประเมินเต็ม
ความสามารถ โดยปฏบิ ัติตามเกณฑ์และเงอ่ื นไขการประเมนิ อยา่ งเคร่งครัด
2. ประโยชนข์ องการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ
1) สามารถเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพระหวา่ งกลุ่มผ้เู รยี น ระดบั
สถานศกึ ษา จังหวดั และระดับภาค ตลอดจนการประเมินภายนอกไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล
2) สามารถใช้ผลการประเมินให้เป็นประโยชน์ทั้งในระดับผู้เรียน
ระดับกลุม่ ระดับสถานศกึ ษา ระดบั จังหวดั และระดับภาค
3) ส่งเสริมและกระตุ้นสถานศึกษาให้เกิดความสนใจอย่างจริงจังในการ
พฒั นาผลสมั ฤทธิท์ ่สี าคัญของหลกั สูตร
4) สร้างแรงจูงใจกระตุ้นและท้าทายให้ผู้เรียนทุกคนตั้งใจใฝ่สัมฤทธิ์
ทางการเรยี นและดา้ นอืน่ ๆ
5) เป็นข้อมูลสร้างความม่ันใจเก่ียวกับคุณภาพของผู้เรียน แก่ผู้เก่ียวข้อง
ทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
6) เป็นข้อมูลในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของ
สถานศกึ ษาให้มีประสิทธภิ าพมากย่ิงขึน้
เกณฑ์การจบหลักสูตร
ผ้เู รียนท้ังระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับมธั ยมศึกษา
ตอนปลาย มเี กณฑ์การจบหลกั สูตรในแต่ละระดับการศกึ ษา ดังน้ี
1. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินการเรียนรูร้ ายวิชาในแต่ละระดบั การศกึ ษา ตามโครงสรา้ ง
หลกั สตู ร คอื
1.1 ระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า 48 หนว่ ยกิต แบง่ เปน็ วชิ าบังคบั
36 หนว่ ยกิต และวิชาเลอื กไม่น้อยกว่า 12 หนว่ ยกติ
1.2 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ไม่นอ้ ยกวา่ 56 หนว่ ยกิต แบง่ เปน็ วชิ า
บังคับ 40 หนว่ ยกติ วชิ าเลอื กไมน่ ้อยกวา่ 16 หนว่ ยกิต
1.3 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไมน่ ้อยกว่า 76 หนว่ ยกิต แบง่ เปน็
วชิ าบงั คับ 44 หนว่ ยกติ วชิ าเลือกไม่น้อยกวา่ 32 หน่วยกติ
2. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ (กพช.) ไม่น้อยกว่า
200 ชวั่ โมง
3. ผ่านการประเมินคุณธรรม ในระดบั พอใช้ข้ึนไป
4. เขา้ รบั การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติ
12
บทบาทของสถานศกึ ษาและผเู้ กี่ยวข้อง
บทบาทของสถานศึกษา
1. สร้างความเข้าใจกับครแู ละผูเ้ กี่ยวข้อง ถึงความสาคัญของการประเมินคณุ ธรรม
ผู้เรยี น
2. สร้างความเข้าใจในความหมายของคณุ ธรรมแต่ละเรื่อง ข้อดขี องการปฏบิ ัติตาม
คณุ ธรรม ทาความเขา้ ใจในพฤตกิ รรมบง่ ชี้ ในแต่ละคุณธรรม พิจารณาตรวจสอบความเหมาะสม
ความเพียงพอของพฤติกรรมบง่ ช้ใี นคุณธรรมแต่ละเรอ่ื ง
3. ดาเนินการให้เกดิ การพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใหเ้ ต็มศักยภาพของผเู้ รียน
4. จดั กิจกรรมต่าง ๆ ทห่ี ลากหลายท้งั ภายในสถานศึกษาและชมุ ชนหรือสังคม
5. บรู ณาการการพัฒนาคุณธรรม ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้
6. กระต้นุ ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมหรือสรา้ งสรรคก์ จิ กรรมอยา่ งหลากหลาย
7. เช่ือมโยงกิจกรรมต่าง ๆ ขยายให้กว้างขวางสู่ชุมชนและสังคมโดยประสานความ
ร่วมมือกับชุมชนและสังคมในการทากิจกรรม คุณธรรม และให้ข้อมูลผู้ท่ีมีการปฏิบัติตามคุณธรรม
เปน็ แบบอย่างที่ดี รวมทั้งร่วมส่งเสริมให้มกี ารปฏบิ ตั ิอย่างยัง่ ยืน
8. จัดทาแนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรียนในสถานศึกษาและให้ผู้เก่ียวข้อง
ปฏิบตั ิเปน็ แนวเดยี วกนั
บทบาทของครู
1. สร้างความเข้าใจ ให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของคุณธรรม คุณธรรมเบื้องต้น
9 ประการและพฤติกรรมบ่งช้ที ผี่ เู้ รียนจะต้องปฏบิ ัติ
2. ชี้แจงวธิ ีการและเกณฑ์การประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ให้ผูเ้ รียนทราบ
3. แนะนาผู้เรียนในการรวบรวมเอกสารหลักฐาน ที่ผู้เรียนสามารถนามาเป็น
หลกั ฐานเพื่อประกอบการประเมิน
4. บันทึกผลการประเมิน รวบรวมร่องรอย หลักฐาน ท่ีสะทอ้ นการปฏิบัติคุณธรรม
แตล่ ะเร่ืองของผเู้ รียน
5. สรุปผลการประเมินคุณธรรมจริยธรรมทุกภาคเรียน และแจ้งผลการประเมินให้
ผเู้ รียนทราบเพื่อนาไปพัฒนาตนเอง
6. ครูและผู้เรียนร่วมวิเคราะห์ผลการประเมิน และกาหนดรูปแบบ/กิจกรรมในการ
พฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมโดยสอดแทรกในกระบวนการเรียนรู้
13
ภารกจิ ของสถานศึกษาในการวัดและประเมินผลการเรียน
สถานศึกษามีภารกจิ ในการวัดและประเมินผลการเรยี น ดงั นี้
1. การวัดและประเมินผลผู้เรยี น สถานศกึ ษาต้องดาเนินการวัดและประเมนิ ผล
ผเู้ รียน ดังนี้
1.1 การวดั และประเมินผลเป็นรายวิชา ประกอบด้วย
1) การวัดและประเมินผลก่อนเรียน
2) การวดั และประเมนิ ผลระหว่างภาคเรียน
3) การวัดและประเมินผลปลายภาคเรยี น
1.2 การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ (กพช.)
1.3 การประเมนิ คุณธรรมเบื้องต้น
1.4 การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติ
2. การจัดทาระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิในการวัดและประเมนิ ผลการเรียน
สถานศึกษาต้องจัดทาระเบียบการวัดและประเมินผลการเรยี นของสถานศึกษาสาหรับ
ให้ผู้เกี่ยวข้องรับรู้และถือปฏิบัติเป็นแนวเดียวกัน เพ่ือให้การประเมินผลการเรียนของสถานศึกษามี
ความถกู ต้อง ยตุ ิธรรม และมผี ลการดาเนนิ งานทนี่ า่ เช่ือถอื เป็นที่ยอมรับของสงั คม
3. การรายงานการประเมินผลการเรยี น
สถานศึกษาจะต้องจัดทารายงานการประเมินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
รายกลมุ่ เพ่อื ให้ผู้เรียนทราบความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ของตนเอง ครใู ช้เป็นข้อมลู ในการบรหิ ารจัด
การศึกษาของสถานศึกษา ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตามจุดหมายของ
หลกั สตู ร
4. การจัดสอบซ่อม
สถานศึกษาต้องจัดให้มีการพัฒนาผู้เรียนท่ีไม่ผ่านการประเมินรายวิชา โดยวิธีการท่ี
เหมาะสม เช่น การสอนเสริม มอบหมายให้ทารายงานเพิ่มเติม การเข้าร่วมกิจกรรม หรืออื่น ๆ
แล้วจดั ใหผ้ เู้ รียนเขา้ รบั การสอบซอ่ มตามที่สถานศกึ ษากาหนด
5. การเทียบโอนผลการเรยี น
สถานศึกษาจะตอ้ งจัดทาระเบียบหรือแนวปฏิบัติในการเทียบโอนผลการเรยี น ใหเ้ ป็น
ส่วนหน่ึงของผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ตามท่สี านักงาน กศน. กาหนด
6. การอนมุ ตั ิการจบหลกั สตู ร
สถานศึกษาตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 และอนุมัติการจบหลกั สูตร
14
7. การจัดทาเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา
สถานศึกษาจะต้องจัดทาเอกสารแสดงข้อมูลและสถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียน
เพ่ือใช้สาหรับตรวจสอบ ส่ือสาร ส่งต่อ และรับรองผลการเรียนของผู้เรียน หลักฐานการศึกษา
ทส่ี ถานศึกษาจะตอ้ งจัดทา แบ่งเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ
1. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาควบคมุ และบงั คับแบบ ประกอบดว้ ย
1) ระเบยี นแสดงผลการเรียน (กศน.1)
2) ประกาศนียบตั ร (กศน.2)
3) แบบรายงานผสู้ าเร็จการศึกษา (กศน.3)
4) แบบบนั ทึกผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน (กศน.4)
2. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษาดาเนินการเอง เช่น แบบอนุมัตผิ ล
การจบหลักสตู ร แบบรายงานแสดงผลการเรยี นเฉลย่ี GPA ของนักศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอน
ปลายและอื่น ๆ
8. การกากับ ติดตาม และประเมินผลการเรียน
สถานศึกษาจะต้องมีการวางแผน กากับ ติดตามและตรวจสอบการดาเนินการ
ประเมินผลการเรียน เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถปรับปรุงแก้ไข
ข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึนได้ทันเหตุการณ์ โดยให้มีผู้รับผิดชอบดาเนินการกากับ ติดตามในเร่ืองต่าง ๆ
เชน่
1. มีการประเมินผลการเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั ในแตล่ ะรายวิชา
2. มกี ารประเมินผลการเรยี นรู้ และบันทึกผลหลังการเรยี นท่ีจบเนื้อหาในแต่ละเร่ือง
ทุกคร้ัง แล้วนาผลการประเมินมาปรบั ปรงุ พัฒนาผู้เรียนใหเ้ ปน็ ปัจจุบัน
3. มกี ารตรวจผลงานผูเ้ รยี นพร้อมใหข้ อ้ เสนอแนะ เพอื่ การปรับปรุงผลงานผูเ้ รียน
บทบาทหน้าท่ีของผูเ้ ก่ียวขอ้ งในการวัดและประเมินผลการเรยี น
การวัดและประเมินผลการเรียนของผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องเปิดโอกาสให้บุคคลท่ี
เก่ียวข้องในการจัดการศึกษา ทั้งผู้เรียน ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกับผู้สอนและบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ
ของสถานศึกษา เพื่อให้การดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาเป็นไปตาม
ระเบียบหรือแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา จึงควรกาหนดภารกิจการวัดและ
ประเมนิ ผลการเรียนใหบ้ คุ ลากรฝ่ายตา่ ง ๆ ของสถานศึกษารับผดิ ชอบ
15
ผ้ปู ฏิบัติ บทบาทหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องกับการวัดและประเมินผล
1. คณะกรรมการสถานศึกษา 1.1 ใหค้ วามเหน็ ชอบระเบยี บการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
ของสถานศึกษา
1.2 ใหค้ วามเหน็ ชอบพฤติกรรมบ่งช้ีการประเมินคุณธรรม
เบอ้ื งตน้ ท่ีสถานศึกษากาหนดข้ึนเพื่อพฒั นาผู้เรยี น
1.3 ใหค้ วามคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกย่ี วกับการวดั และประเมนิ
ผลการเรียน
2. คณะกรรมการบริหาร 2.1 กาหนดแนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลรายวชิ า
หลักสูตรและวิชาการของ 2.2 กาหนดพฤติกรรมบ่งชแ้ี ละแนวปฏบิ ตั ิการประเมนิ คุณธรรม
สถานศกึ ษา เบื้องตน้
3. คณะกรรมการการวดั และ 3.1 จัดทาเครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลก่อนเรียน ประเมนิ ผลระหว่าง
ประเมินผลของสถานศึกษา เรียนและประเมนิ ผลหลงั เรียน
3.2 ตรวจสอบผลการประเมินและจัดทารายงานการประเมินผล
4. ครูผสู้ อน การเรยี นรู้รายวชิ า
3.3 ประเมินผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ
3.4 สรปุ ผลการประเมินคุณธรรม
3.5 รว่ มกบั ผูส้ อนและผเู้ ก่ียวขอ้ งจดั ทาเคร่ืองมือการประเมินผล
ก่อนเรียนและระหวา่ งภาคเรียน
3.6 สนับสนุนส่งเสริมการดาเนนิ งานการวัดและประเมนิ ผลให้
เปน็ ไปตามแนวทางท่สี ถานศึกษากาหนด
4.1 วางแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
4.2 ดาเนนิ การวดั และประเมินผลการเรียน และตัดสนิ ผลการ
เรียนรายวชิ า
4.3 เป็นท่ปี รึกษา ดแู ล ควบคมุ และประเมนิ การดาเนินการ
โครงการ/กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิตของผูเ้ รียน
4.4 ดาเนนิ การประเมินคณุ ธรรมเบ้ืองตน้ ของผูเ้ รียนร่วมกับ
ผ้เู กีย่ วขอ้ ง
16
ผู้ปฏิบัติ บทบาทหน้าท่ีทเ่ี กยี่ วข้องกบั การวัดและประเมินผล
5 เจา้ หน้าทท่ี ะเบยี น 5.1 รวบรวม ตรวจสอบบนั ทกึ และประมวลผลขอ้ มลู การ
ประเมินผลการเรียนของผู้เรยี นแต่ละบคุ คล
6. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา 5.2 จดั ทารายงานการประเมินผลการเรียนเสนอผ้บู รหิ าร
สถานศึกษา เพ่ือขออนุมัตแิ ละแจง้ ผ้เู กี่ยวข้องทราบ
5.3 ตรวจสอบและสรปุ ข้อมูลผลการเรียนของผเู้ รียน เมื่อย้าย
สถานศึกษาหรอื จบหลักสูตร และเสนอใหผ้ ้บู ริหารสถานศึกษา
ลงนามรบั รองหรืออนุมตั ิการจบหลกั สตู ร
5.4 จัดทาเอกสารหลักฐานการศกึ ษาตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง
6.1 กากับ ดแู ล นเิ ทศ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานการวดั และ
ประเมินผลการเรยี นของสถานศึกษา
6.2 อนุมัติโครงการ/กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ และผลการผา่ น
กิจกรรม
6.3 อนมุ ัติผลการเรียนรายวิชา
6.4 อนุมัติผลการประเมนิ คุณธรรมเบ้อื งตน้
6.5 อนุมตั ิการจบหลักสูตร
17
บทท่ี 2
การจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบออนไลน์
ความรทู้ ัว่ ไปเกี่ยวกบั Google Classroom
1. เกีย่ วกบั Google Classroom
Google Classroom เปิดให้บริการสาหรับทุกคนที่ใช้ Google Apps for Education
ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น Google G Suite for Education ซึ่งเป็นชุดเครื่องมือเพ่ิมประสิทธิภาพการ
ทางานทใ่ี ห้บริการฟรี ประกอบดว้ ย Gmail, เอกสารและไดรฟ์
ได้รับการออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้สอนสามารถสร้างและเก็บงานได้โดยไม่ต้องสิ้นเปลือง
กระดาษ ประหยัดเวลา เช่น สามารถทาสาเนาของ Google เอกสารสาหรับผู้เรียนแต่ละคนได้
โดยอัตโนมัติ ซึ่งระบบจะสร้างโฟลเดอร์ของไดรฟ์สาหรับแต่ละงานและผู้เรียนแต่ละคนเพ่ือช่วยจัด
ระเบียบให้ทุกคนผู้เรียน สามารถติดตามว่ามีงานใดครบกาหนดส่งบ้างในหน้างาน และเริ่มทางานได้
ด้วยการคลิกเพียงคร้ังเดียว ผู้สอนสามารถดูได้อย่างรวดเร็วว่าผู้เรียนคนใดทางานเสร็จหรือไม่เสร็จ
บ้าง ตลอดจนสามารถ แสดงความคิดเหน็ และใหค้ ะแนนโดยตรงได้แบบเรียลไทม์ใน Classroom
2. ประโยชน์ของการใช้งาน Google Classroom
1. ตั้งค่าได้ง่ายดาย ผู้สอนสามารถเพิ่มผู้เรียนได้โดยตรง หรือแชร์รหัสเพ่ือให้ผู้เรียนเข้า
ชนั้ เรยี นได้ การตั้งคา่ ใช้เวลาเพียงนิดเดยี ว
2. ประหยัดเวลา กระบวนการของงานเรียบง่าย ไม่ส้ินเปลืองกระดาษ ทาให้ผู้สอนสร้าง
ตรวจ และใหค้ ะแนนงานได้อย่างรวดเร็วในท่เี ดียวกนั
3. ช่วยจัดระเบียบ ผู้เรียนสามารถดูงานทั้งหมดของตนเองได้ในหน้างาน และเนื้อหาสาหรับ
ชั้นเรยี นทั้งหมดจะถกู จดั เกบ็ ในโฟลเดอรภ์ ายใน Google drive โดยอัตโนมตั ิ
4. สื่อสารกันได้ดียิ่งขึ้น Google Classroom ทาให้ผู้สอนสามารถส่งประกาศและเริ่มการ
พดู คยุ ใน ชั้นเรียนได้ทันที ผเู้ รียนสามารถแชรแ์ หล่งขอ้ มูลกันหรอื ตอบคาถามในสตรมี ได้
5. ประหยัดและปลอดภัย เช่นเดียวกับบริการอื่น ๆ ของ Google Apps for Education
คือ Google Classroom จะไม่แสดงโฆษณา ไม่ใช้เนื้อหาหรือข้อมูลของผู้เรียนในการโฆษณา และ
ให้บริการฟรสี าหรับ โรงเรยี น หรือสถานศึกษา
18
3. ทาความเข้าใจเก่ยี วกับงาน Google Classroom
Classroom ผสานรวม Google เอกสาร, drive และ Gmail ไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผู้สอน
สามารถ สร้างและรวบรวมงานโดยไม่ต้องส้ินเปลืองกระดาษ ภายใน Classroom ผู้สอนสามารถ
สร้างงาน ใช้งานนั้นใน ชั้นเรียนต่าง ๆ และเลือกว่าจะให้ผู้เรียนทางานอย่างไร (เช่น ผู้เรียนแต่ละคน
จะได้รับสาเนาของตนเอง หรือผู้เรียนทุกคนจะทางานในสาเนาเดียวกัน) ผู้สอนสามารถติดตามว่า
ผ้เู รียนคนใดทางานเสร็จแล้วบ้าง และใครยังทางานไม่เสร็จ ตลอดจนแสดงความคิดเห็นกับผู้เรียนแต่
ละคนได้ตวั อยา่ งการรบั สง่ งานระหว่างผูส้ อนกบั ผ้เู รียน
4. ความโดดเด่นของ Google Classroom
1. ผูส้ อนเลอื กตวั เลอื กเพื่อสร้างสาเนาของ Google เอกสารสาหรับผู้เรยี นแตล่ ะคน และ
ส่งงาน ให้กับชั้นเรยี น
2. หลังจากส่งงานแล้ว ผู้เรยี นจะไม่มสี ทิ ธิแ์ ก้ไขเอกสาร แต่ยังคงดเู อกสารได้
3. ผูส้ อนแกไ้ ขเอกสารเพ่ือให้คะแนนงาน แลว้ จึงส่งงานคนื ใหผ้ ู้เรียน จากนั้นผู้เรยี นจะมีสิทธิ์
ในการแก้ไขงานอีกครงั้
ทัง้ ผู้สอนและผูเ้ รยี นสามารถดูรายการงานของชั้นเรียนที่กาลงั ทาอย่แู ละทาเสรจ็ แลว้
โดยผสู้ อน สามารถดคู ะแนนทั้งหมดของงาน ส่วนผู้เรียนสามารถดูคะแนนของตนเองสาหรับงานทท่ี า
เสร็จแลว้
19
การสร้างชน้ั เรยี น
สาหรับการใชง้ าน Google Classroom ในบทบาทของผสู้ อนน้ันสามารถ
1. สร้างชนั้ เรยี นออนไลนส์ าหรับรายวชิ าน้นั ๆ ได้
2. เพ่ิมรายชื่อผเู้ รียนจากบัญชีของ Google เข้ามาอยู่ในช้ันเรียน
3. สามารถกาหนดรหสั ผ่านใหผ้ ู้เรยี นนาไปใชเ้ พื่อเข้าชนั้ เรียนเองได้
4. สามารถตั้งโจทย์ มอบหมายการบา้ นใหผ้ เู้ รียนทาโดยสามารถแนบไฟล์และกาหนดวันสง่
5. ผเู้ รียนเข้ามาทาการบ้านใน Google Docs และส่งเข้า Google Drive ของครู โดยจดั เกบ็
ไฟล์งานอยา่ งเป็นระบบ ภายใต้ Folder “Classroom”
6. สามารถเข้ามาดูจานวนผเู้ รยี นทส่ี ่งการบา้ นภายในกาหนดและยังไม่ไดส้ ่งได้
7. ตรวจการบ้านของผูเ้ รยี นแต่ละคน พรอ้ มท้งั ให้คะแนนและคาแนะนา
8. สามารถคดั ลอกคะแนนจากชั้นเรยี นไปใชง้ านได้อย่างสะดวก
9. สามารถเชิญผสู้ อนทา่ นอ่ืนเข้ารว่ มในชน้ั เรยี นเพ่ือรว่ มจัดการเรียนการสอน
10. ปรับแตง่ รูปแบบของช้ันเรียนตามธีม หรือ จากภาพส่วนตวั ได้
11. สามารถใชง้ านบนโทรศัพทม์ ือถอื ทั้งระบบปฏิบัติการ Android และ IOS
สาหรับ Google Classroom ครูไมจ่ าเปน็ ต้องรูว้ ธิ ีการเขยี นโคด้ หรือสรา้ งเว็บไซต์ และไมต่ อ้ ง
สับสนกับข้ันตอนมากมายท่ีต้องใชใ้ นการสร้างชนั้ เรียน สาหรับ Google Classroom เป็นเรอ่ื งง่าย
ในการสร้างชัน้ เรียนเพียงแค่คลกิ ที่ปุ่มและการเพ่ิมขอ้ ความบางส่วนเท่านัน้
ขน้ั ตอนการสรา้ งชัน้ เรยี น
1. เข้าส่รู ะบบของ Google Classroom ท่ี http://classroom.google.com/
20
2. คลกิ เครื่องหมาย + ทบ่ี รเิ วณดา้ นมุมบนขวา
3. เลอื ก “สร้างชั้นเรยี น”
4. กรอก ข้อมลู ในการสรา้ งช้ันเรียน หมายเลข 1 : กรอกชื่อชนั้ เรียน
หมายเลข 2 : กรอกรายละเอียดสั้น ๆ เช่น ชื่อกลุ่ม หมายเลข 3 : กรอกชื่อวิชา หรอื ชือ่ เร่อื ง
5. เมอ่ื ทาการกรอกข้อมูลเสรจ็ ให้ทาการคลกิ ที่ “สร้าง”
21
หน้าจอการทางานของ Google
หมายเลข 1 : เมนูการใชง้ านของผู้สอนและผ้เู รียน
(กรณมี ุมมองของผูเ้ รียนจะมองไมเ่ ห็นแท็บ คะแนน)
หมายเลข 2 : ระดบั ชัน้
หมายเลข 3 : ชือ่ ห้องเรียน
หมายเลข 4 : รหัสของชน้ั เรียน
หมายเลข 5 : การจัดการลักษณะหน้าตา หรือหัวของชน้ั เรียน
หมายเลข 6 : การแจ้งเตือนงานใกลห้ มดเวลาส่ง
22
การเปลี่ยนชือ่ ช้นั เรยี น
จากหน้าแรกในเวบ็ เบราว์เซอร์ สามารถเปลี่ยนชื่อชั้นเรยี นท่ดี า้ นบนของการ์ดช้นั เรยี นได้ ดังน้ี
1. ในการด์ ชนั้ เรยี น ให้คลกิ
2. เลือก “แก้ไข”
3. กรอกช่อื ใหม่
4. คลกิ “บันทกึ ”
23
การคดั ลอกชัน้ เรยี น
1. ในการ์ดช้นั เรียน ให้คลิก
2. เลือก “คัดลอก”
3. จะไดช้ ัน้ เรียนใหม่เพ่ิม
24
4. แก้ไขช่ือชน้ั เรยี นที่คดั ลอกมาใหเ้ ปน็ ชน้ั เรยี นใหม่ ตามขัน้ ตอนการเปลี่ยนชื่อชนั้ เรยี น
หมายเหตุ : การคัดลอกชัน้ เรยี น คัดลอกไดเ้ ฉพาะเนอื้ หา กิจกรรมของช้ันเรียน ไมส่ ามารถคัดลอก
ผูเ้ รยี นได้ ครจู ึงต้องเชญิ ผู้เรียนเข้าช้ันเรยี นใหม่ทุกครัง้ ท่มี กี ารคัดลอกช้ันเรยี น
การจัดการช้ันเรียน
1. ลงช่ือเข้าใช้ Classroom ท่ี classroom.google.com
2. ในการด์ ช้ันเรียนให้คลกิ
3. เลอื ก “เก็บ”
25
4. คลิก “เก็บ” เพื่อยนื ยนั
การโพสต์งาน
ผู้สอนสามารถโพสตง์ านในแท็บ “งานของชัน้ เรียน” แนบเอกสารประกอบ มอบหมายงาน
ใหก้ บั ผูเ้ รียนผ่านช้นั เรยี น ตลอดจนให้คะแนนและสง่ คืนให้กับผเู้ รียน หลงั จากท่ีผู้สอนสร้างงานแล้ว
ผู้เรยี นทกุ คนในชัน้ เรยี นจะได้รับการแจ้งเตือนทางอเี มล (ถ้าผเู้ รยี นไมไ่ ด้ปดิ การแจง้ เตอื นไว้) และจะ
เหน็ งานในงานของ ชั้นเรยี น งานทโี่ พสต์ขนึ้ ทีน่ ผ่ี ้สู อนต้องเป็นผ้ตู รวจใหค้ ะแนน
ข้นั ตอนการโพสตง์ าน
1. ลงชือ่ เขา้ ใช้ Classroom ที่ classroom.google.com
2. เลือกชั้นเรยี น
3. เลือกแทบ็ “งานของชั้นเรียน”
26
4. คลิก “+ สร้าง”
5. คลกิ “งาน”
27
6. ปอ้ นช่อื ของงาน ในการเร่ิมตน้ ใหเ้ พมิ่ ช่ือสน้ั ๆ พร้อมกับคาอธบิ ายที่จะระบหุ รือไม่ก็ได้
7. ป้อนคาอธบิ ายของงานหรือคาแนะนาเพมิ่ เติมหากจาเป็น
8. คลกิ เพิม่ วนั ท่ีเพื่อกาหนดวันส่งงานจากปฏิทนิ หากไม่กาหนด งานจะครบกาหนดส่ง ในวนั
ถดั ไป เวลา 23.59 น. (ไม่บังคบั )
9. ในการแนบไฟล์ รายการของ Google ไดรฟ์ วดิ ีโอ YouTube หรอื ลงิ ก์ ให้คลิกไอคอน ที่
ต้องการ ค้นหาและเลอื กรายการทเี่ ก่ียวข้อง และคลิก “เพ่ิม”
28
10. ถา้ ผู้สอนแนบรายการของไดรฟ์ สามารถเลอื กได้วา่ จะใหผ้ ู้เรยี นทางานกบั รายการดงั กลา่ ว
อย่างไร คลกิ ผเู้ รยี นสามารถดูไฟลท์ ่ีอยถู่ ดั จากรายการท่ีแนบไวเ้ พื่อตั้งค่าตัวเลือกท่ีเหมาะสม ดงั นี้
10.1 เลือก “นักเรียนสามารถดไู ฟล์” ถา้ ผ้สู อนต้องการใหผ้ ู้เรยี นทง้ั หมดสามารถอ่านไฟล์
เดียวกัน แตไ่ ม่สามารถแก้ไขได้
10.2 เลอื ก “นักเรยี นสามารถแก้ไขไฟล์” ถา้ ผู้สอนตอ้ งการให้ผเู้ รยี นทัง้ หมดแก้ไขในไฟล์
เดยี วกนั
10.3 เลอื ก “ทาสาเนาให้นักเรยี นแต่ละคน” ถ้าผู้สอนต้องการให้ผูเ้ รียนแต่ละคนมสี าเนา
ของไฟล์ทีส่ ามารถแก้ไขได้ตามทตี่ ้องการ
29
11. กาหนดคะแนนเต็มให้งานแต่ละชิน้
12 กาหนดวนั ครบกาหนดวันสง่ งาน
13. กาหนดหวั ขอ้ แก่งานท่ตี อ้ งการโพสต์
14. ในการมอบหมายงานให้กับชั้นเรียนอ่นื ดว้ ย ใหค้ ลิกชอื่ ชั้นเรียน และเลือกชั้นเรยี นอื่น
ทาอยา่ งใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
30
14.1 ในกรณีถา้ ผสู้ อนต้องการโพสตง์ านทนั ที ให้คลกิ “มอบหมาย”
14.2 ในกรณีต้องการกาหนดเวลาในการโพสต์งาน ใหค้ ลิก “กาหนดเวลา”
14.3 ในกรณตี ้องการบันทึกงานเพอื่ โพสตใ์ นวนั อื่น ให้คลิก “บนั ทึกฉบบั ร่าง”
ข้อควรทราบ
ในระหว่างท่สี ร้างงาน ผสู้ อนสามารถเลอื กทจ่ี ะบันทึกข้อความรา่ งเพ่ือมอบหมายในภายหลงั
Classroom จะบันทึกข้อความร่างของผู้สอนสอนโดยอตั โนมัติ เมื่อผ้สู อนหยุดพิมพ์เปน็ เวลา
2-3 วินาที หรือผู้สอนสามารถบันทึกข้อความรา่ งได้ดว้ ยตนเอง (ดูทีส่ ร้างฉบบั รา่ ง)
31
การโพสตง์ านแบบทดสอบ
งานแบบทดสอบ คือ แบบทดสอบทสี่ ร้างขน้ึ จาก Google Forms นัน่ เอง อาจเปน็
แบบทดสอบ ทผี่ สู้ อนสร้างไว้กอ่ นหนา้ หรอื สามารถสร้างจากหนา้ โพสต์แบบทดสอบกไ็ ด้ มวี ธิ ีการ
โพสต์ ดังนี้
ขนั้ ตอนการโพสต์งานแบบทดสอบ
1. ลงชอื่ เขา้ ใช้ Classroom ที่ classroom.google.com
2. เลอื กชนั้ เรียน
3. เลอื กแทบ็ “งานของชน้ั เรยี น”
4. คลกิ “+ สร้าง”
5. คลกิ “งานแบบทดสอบ”
6. พมิ พช์ ือ่ เรอ่ื งท่ีจะโพสต์
7. พิมพ์คาอธิบายเพ่ิมเติม (พิมพห์ รอื ไม่พิมพ์กไ็ ด)้
8. พมิ พ์ค่าคะแนนเต็ม
9. ต้งั คา่ กาหนดวันสง่ วนั สดุ ทา้ ย
10. เลือกหัวขอ้ ท่ตี ้องการให้โพสตป์ รากฏ (เทมเพลต)
11. ในกรณสี รา้ งแบบทดสอบหน้าโพสต์งานแบบทดสอบ ระบบจะแนบไฟล์แบบทดสอบเปลา่
12. เลือกแบบทดสอบในกรณีทีส่ ร้างแบบทดสอบไว้แล้ว
13. มอบหมาย กาหนดเวลา หรอื บนั ทึกฉบับรา่ งในการโพสต์
32
หมายเหตุ คะแนนของแบบทดสอบทโี่ พสต์งานแบบทดสอบจะไม่ถูกนาเข้าอัตโนมตั ิ ผ้สู อนต้องกรอก
ใหค้ ะแนนผู้เรียนเอง
33
การโพสตค์ าถาม
การโพสตค์ าถามสาหรับงานของชน้ั เรียนจะโพสต์ได้ทงั้ แบบใหน้ กั ศึกษาพมิ พ์คาตอบและ
เลอื กคาตอบ เป็นการสรา้ คาถามคลา้ ยกบั Google Forms แตจ่ ะโพสต์ไดท้ ลี ะ 1 คาถามเท่านั้น และ
ผู้โพสต์หรอื ครผู ูส้ อนจะตอ้ งเป็นผูต้ รวจใหค้ ะแนน วิธโี พสตท์ าได้ ดงั นี้
1. ลงชื่อเขา้ ใช้ Classroom ที่ classroom.google.com
2. เลอื กชั้นเรียน
3. เลือกแท็บ “งานของชน้ั เรียน”
4. คลิก “+ สรา้ ง”
5. เลือก “คาถาม”
34
6. พมิ พค์ าถามในช่อง “คาถาม”
7. พิมพค์ าอธิบายเพ่ิมเติม (พมิ พห์ รอื ไม่พิมพ์กไ็ ด้)
8. กรอกคะแนนเต็ม ชอ่ ง “คะแนน”
9. กาหนดวันเวลาสง่ ชอ่ ง “ครบกาหนด”
10. เลอื กหวั ข้อทต่ี ้องการให้คาถามปรากฏ ชอ่ ง “หัวขอ้ ”
11. เลอื กชนิดของคาตอบ (คาตอบส้นั ๆ และ ปรนัย)
12. กาหนดใหน้ กั เรียนสามารถตอบกลบั ระหวา่ งกนั ได้
13. กาหนดให้นกั เรียนสามารถแก้ไขคาตอบได้
14. เลือกข้อมลู จากแหลง่ อ่นื
15. คลกิ “ถาม” “กาหนดเวลา” หรอื “บันทึกฉบบั ร่าง”
35
การโพสตเ์ น้ือหาเป็นการนาเนื้อหาท่จี ะใหผ้ ูเ้ รียนศกึ ษาเพิม่ เตมิ หรอื แม้กระทัง่ แบบทดสอบ
ท่สี รา้ งจาก Google Form ไว้แล้วมาวางใหน้ กั ศกึ ษาได้ทาแบบทดสอบซง่ึ ไมจ่ าเปน็ ต้องนาไปวางใน
“งาน” หรอื “งานแบบทดสอบ” เพราะไม่ต้องตรวจใหค้ ะแนนแบบทดสอบ เนื่องจากแบบทดสอบ
ถกู ตรวจ ให้คะแนน ดว้ ยระบบของแบบทดสอบเองอยแู่ ลว้
1. ลงชื่อเข้าใช้ Classroom ท่ี classroom.google.com
2. เลือกชนั้ เรียน
3. เลือกแทบ็ “งานของชนั้ เรยี น”
4. คลิก “+ สรา้ ง”
5. เลือก “เนือ้ หา”
6. พิมพช์ อื่ ของเน้ือหาในชอ่ ง “ชือ่ ”
7. พิมพ์คาอธิบายเพม่ิ เติม (พมิ พ์หรือไมพ่ ิมพ์ก็ได)้
8. เลือกหวั ขอ้ ช่อง “หัวข้อ”
9. เลือกแหล่งข้อมลู
10. คลิก “โพสต์” “กาหนดเวลา” หรือ “บนั ทกึ ฉบบั ร่าง”
36
แทบ็ คะแนน
เมื่อผู้สอนตรวจให้คะแนนเรียบรอ้ ยแลว้ คะแนนจะถูกนาเข้าในแท็บ “คะแนน”
โดยแยกตาม กิจกรรม แบบทดสอบ หรอื ใบงาน ในแต่ละช้ิน
37
ผ้สู อนสามารถกลบั ไปดงู าน แกไ้ ขคะแนน ทีผ่ ูเ้ รยี นส่งผา่ นแท็บคะแนนไดด้ ว้ ยการคลกิ ท่สี ัญลกั ษณ์
คลิก “ดกู ารส่ง”
ผสู้ อนแกไ้ ขคะแนน หรือ เพ่มิ ความคดิ เหน็ ก่อนโพสต์สง่ คนื ผู้เรยี น
38
Google Hangout Meet
Google Hangouts Meet คือ แอปพลเิ คช่นั สาหรับการประชมุ ทางวิดีโอที่ใชง้ ่ายไมม่ ีสะดุด
จาก Google ชว่ ยใหก้ ารทางานรว่ มกันและพฒั นาความสัมพนั ธก์ ับทีมได้จากทุกทบ่ี นโลก
คุณสมบัติท่สี าคญั
• การประชมุ ทางวิดโี อความละเอียดสูง รองรบั ผเู้ ข้ารว่ มไดส้ ูงสดุ 100 คน
• เขา้ ถงึ ได้ง่าย เพยี งแค่แชรล์ ิงกใ์ หท้ ุกคนเขา้ ร่วมได้ด้วยคลิกเดียว
• รองรับการใช้งานท่หี ลากหลายบน Desktop, IOS และ Android
• สามารถแชร์หน้าจอ รูปภาพ ไฟล์ และขอ้ ความได้
หมายเหตุ
ด้วยสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทาง Google ได้เป็นคุณสมบัติพิเศษให้แก่
สถาบันการศึกษา โดยการประชุมทางวิดีโอสามารถรองรับผู้เข้าร่วมได้สูงสุด 250 คน และสามารถ
บันทึกวิดีโอการสอน/การประชุมได้ ถงึ วนั ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
1. ขน้ั ตอนการติดตั้งโปรแกรม Google Meet
1.1 สาหรับผู้ใช้งานผ่าน Desktop สามารถใช้งานผ่านเว็บเบราว์เซอร์ Google
Chrome โดยไม่ต้องตดิ ตงั้ โปรแกรมเพม่ิ เติม
39
1.2 สาหรบั Mobile สามารถดาวน์โหลดและติดต้งั โปรแกรมจาก Apple store
หรอื Google play store
2. ขั้นตอนการใชง้ าน
2.1 เข้าใชง้ านท่ีเวบ็ https://meet.google.com/ คลิก “ลงชือ่ เข้าใช้”
40
2.2 โดยใส่ รหัสผู้ใช้ (Username) และรหสั ผา่ น (Password)
2.3 เมอ่ื เข้าสรู่ ะบบเรียบร้อยแลว้ จะแสดงหน้าตา่ งหลักของ Google Meet
41
2.4 เรม่ิ การประชุมหรือการเรียนการสอน โดยคลกิ ที่ปุ่ม “เข้าร่วมหรือเร่มิ การ
ประชุม” ระบบจะให้กาหนดรหสั หรือช่อื เล่นของการประชุม เสรจ็ แลว้ คลกิ ปมุ่ “ต่อไป”
ตง้ั ช่ือการประชุม
ใช้ภาษาอังกฤษเท่านัน้
42
2.5 เมอื่ คลิกเขา้ มาจะแสดงหนา้ จอ เพื่อเข้าร่วมการประชมุ หรือการเรียนการสอน
เมื่อพร้อมแลว้ ใหค้ ลิกท่ี “เข้าร่วมเลย”
2.6 ระบบจะแสดงหน้าต่างข้อมูลรายละเอียดของการเข้ารว่ มการประชุม/การเรียน
การสอน หากต้องการเชิญผู้เข้าร่วมประชุม คลิกท่ีปุ่ม “คัดลอกข้อมูลการเข้าร่วม” แล้วส่งลิงก์ให้ผู้ท่ี
ต้องการข้ารว่ มประชุม หรอื กดปุ่ม “เพ่ิมบุคคล” ใส่ชื่ออีเมล “@dei.ac.th” แล้วกดส่งคาเชิญ ระบบ
จะสง่ อเี มลไปยงั ผทู้ ต่ี อ้ งการเข้าร่วมประชมุ /เข้าชั้นเรียน
หลงั จากทีก่ ดเข้ารว่ มการประชมุ จะแสดงหน้าตา่ งให้เชญิ บุคคลอ่นื เขา้ รว่ ม
เชิญผู้เขา้ ร่วมโดยอีเมล
43
โดยการคลกิ ไปที่เพ่ิมบุคคล แลว้ ใสอ่ ีเมลของผู้ท่เี ราต้องการให้เขา้ รว่ ม แล้วคลิกท่ี “เชญิ ”
เชิญผูเ้ ขา้ รว่ มโดยลงิ ค์
หากตอ้ งการให้หน้าจอเห็นภาพทกุ คนท่เี ขา้ รวมการประชมุ จะต้องทาการโหลด Meet grid View
ที่ google App
44
แล้วพิมพ์ Meet grid View ในชอ่ งค้นหารา้ น
ภาพตวั อย่างของการใช้ Meet grid View เสริม
2.7 หากต้องการนาเสนองานในท่ีประชุม ให้คลิกที่ “นาเสนอทันที” โดย หน้าต่าง เป็นการ
นาเสนอเฉพาะโปรแกรม เพียงโปรแกรมใดโปรแกรมหนงึ่ หน้าจอของคุณทั้งหน้าจอ เป็นการนาเสนอ
ท้งั หน้าจอ หากมกี ารนาเสนอมากกว่า 1 โปรแกรม
45
2.7.1 นาเสนอหน้าจอท้ังหมด เป็นการแสดงหน้าจอทั้งหมดบนเครื่อง
ผู้เขา้ ร่วมการประชมุ จะเหน็ ความเคลือ่ นไหวบนหน้าจอของ ผู้ท่กี ดนาเสนอหนา้ จอ
คลิก 1 คร้ัง
2.7.2 นาเสนอหน้าต่าง เป็นการแสดงหน้าจอเฉพาะหน้าที่อยากให้
ผูเ้ ข้ารว่ มประชุมเหน็ เท่านน้ั ผ้เู ขา้ รว่ มการประชุมจะเห็นเฉพาะหนา้ ท่ีผู้นาเสนอเลือกใว้
46
คลิกเลือกหน้าตา่ งท่ตี ้องการนาเสนอแลว้
กดท่ี “แชร์” ผู้เข้าร่วมประชุมกจ็ ะเห็น
เฉพาะหนา้ ตา่ งทีเ่ ลือกเท่าน้นั
หากต้องการหยดุ นาเสนอ ให้คลิกท่ี “คณุ กาลังนาเสนอ ”จากน้นั คลกิ ท่หี ยดุ นาเสนอ
2.2.8 ถา้ ต้องการบันทึกการประชมุ /การสอน ใหค้ ลกิ ที่ 3 จุด ท่ีมุมลา่ งขวามือ แลว้
เลอื ก “บนั ทึกการประชมุ ” โดยไฟล์การบันทึกและบนั ทกึ ไว้ใน Google Drive > My Drive > Meet
Recordings
สญั ลกั ษณ์การบนั ทึก
การประชุม