The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สค32034 ประวัติศาสตร์ชาติไทย
ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-05-03 08:06:53

สค32034

สค32034 ประวัติศาสตร์ชาติไทย
ม.ปลาย

Keywords: มปลาย

91

ภาพ : พระยารกั ใหญ พระยารักนอ ย
ที่มา : https://farm2.staticflickr.com/1532/23947628289_dcac7513a1_o.jpg

สมัยรชั กาลที่ 3 ในรัชกาลน้มี ีการสรา งหลอพระประธานขนาดใหญ ตามวดั ทสี่ รางใหม
เชน “พระพุทธตรโี ลกเชษฐ” พระประธานพระอุโบสถวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และ
“พระพุทธเสฏฐมุนี” พระประธานในศาลาการเปรียญวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
“พระเสฏฐตมมุน”ี พระประธานพระอโุ บสถวัดราชนดั ดารามวรวหิ าร และ “พระพุทธมหาโลกา
ภนิ ันทปฏมิ า” พระประธานพระอุโบสถวัดเฉลมิ พระเกียรติวรวหิ าร นอกจากนีย้ งั ทรงสรางพระพุทธ
ไสยาสน ยาว 90 ศอก ท่วี ดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวิหาร และพระพุทธรูปยืนทรงเคร่ือง
กษัตรยิ าธิราชเจา 2 องค เพ่อื เปน ราชอนสุ รณแดพ ระอยั กา และพระราชบดิ าของพระองค ซึ่งเปน
พระหลอสมั ฤทธ์หิ มุ ทองคาํ ประดับดว ยอัญมณีมีคา ถวายพระนามวา “พระพุทธยอดฟา จุฬาโลก”
และ “พระพุทธเลิศหลานภาลัย” ประดิษฐานในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม การสราง
พระพทุ ธรปู ยืนทรงเคร่ืองปางหา มญาติขนาดใหญน ้ี นยิ มสรา งไวเปน จํานวนมาก ถอื เปนพระราชนิยม
ของพระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลาเจา อยหู วั

92

ภาพ : พระพทุ ธมหาโลกาภินนั ทปฏมิ า พระประธานพระอุโบสถวดั เฉลมิ พระเกียรตวิ รวหิ าร
ที่มา : http://mapio.net/pic/p-94874421/

ประติมากรรมระยะปรบั ตวั
สมัยรัชกาลท่ี 4 ถึงรัชกาลที่ 5 เปนยุคสมัยของการปรับตัว เปดประเทศ ยอมรับ
อิทธพิ ลตะวันตก ยอมรับความคิดใหมมาเปลยี่ นแปลงสงั คม ระเบยี บประเพณี เพอ่ื ประคองใหป ระเทศ
รอดพนจากภยั สงคราม หรือจากลทั ธิลาอาณานคิ มตะวนั ตก ซ่งึ หลายประเทศในซกี โลกเอเชยี ยคุ นนั้
ประสบอยู การสรางงานศลิ ปกรรมทกุ สาขา รวมทงั้ ประติมากรรมก็ถูกกระแสการเมอื งน้ดี ว ย
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยหู วั มพี ระราชดาํ รปิ น รูปเหมือนแบบตะวันตกข้ึน
เปนครง้ั แรกในประเทศไทย จงึ โปรดเกลาฯ ใหหลวงเทพรจนา (พลับ) ซึ่งตอมาเปนพระยาจินดารังสรรค
ปน ถวาย โดยปนจากพระองคจ ริง และเลียนแบบรปู ปน ของพระองค ท่ีฝร่ังปนจากรูปพระฉายท่ีสงมาถวาย
แตไ มเ หมือน เม่ือทอดพระเนตรเหน็ พระรูปท่หี ลวงเทพรจนาปนขนึ้ ใหมก ็ทรงโปรด ตอมานาํ พระรปู
องคนป้ี ระดิษฐานไว ณ พระท่ีนง่ั เวชยันตว ิเชียรปราสาทในพระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี ปจจุบันมี
การหลอ ไวหลายองค ประดิษฐานท่ีพระตําหนักเพชร วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ และหอพระจอม
วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร กรุงเทพฯ จากพระรูปองคนี้ นับเปนการเปล่ียนศักราช
ประตมิ ากรรมไทย ท่เี ดมิ ปน รปู ราชานสุ รณ โดยใชการสรางพระพทุ ธรูป หรือเทวรูปแทน มาสกู ารปน
รปู ราชานุสรณเหมอื นรปู คนจริงข้ึน และจากจดุ นเี้ องสงผลใหม กี ารปรับตัวทางประตมิ ากรรมระยะ
ปรับตัวไปสูประติมากรรมสมัยใหม การปนหลอพระพุทธรูปในยุคนี้ ไมใหญโตเทาสมัยรัชกาลที่ 3

93

มพี ทุ ธลกั ษณะทเ่ี ปน แบบฉบบั ของตนเอง มลี กั ษณะโดยสว นรวมใกลความเปนมนุษย มีการปนจีวร
เปนร้ิว บนพระเศียร ไมมีตอมพระเมาลี พระพุทธรูปที่สําคัญเหลานี้ คือ พระสัมพุทธพรรณี
พระนริ ันตราย และพระพทุ ธสิหังคปฏิมา พระประธาน ในพระอโุ บสถวดั ราชประดษิ ฐส ถติ มหาสมี าราม
ราชวรวหิ าร ในรชั สมยั นี้ มกี ารสรางพระพทุ ธรูปยืนปางหามญาติเชนกัน แตจีวรพระสมัยนี้เปนริ้ว
ใกลเคียงธรรมชาติมากขึ้น ประติมากรรมท่ีสําคัญอีกช้ินหน่ึง คือ “พระสยามเทวาธิราช”
เปน เทวรูปขนาดเล็กหลอดวยทองคําท้ังองคสูง 8 น้ิวฟุต ลักษณะงดงามมาก เปนฝพระหัตถของ
พระองคเ จาประดษิ ฐวรการ

ภาพ : พระสยามเทวาธริ าช

ทีม่ า : http://oknation.nationtv.tv/blog/home/blog_data/220/15220/images/2_Travel/001_Bangkok/2011/Mueseam/SakThong/038.JPG

สมยั รัชกาลที่ 5 ระยะตน รัชกาล อายุกรงุ รัตนโกสินทรจะครบ 100 ป พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลา เจา อยูหัว ทรงทํานบุ ํารงุ ศลิ ปะแบบดัง้ เดิมอยางมาก มกี ารปฏสิ งั ขรณวัดวาอาราม
ตา ง ๆ ปราสาทราชมณเฑยี ร โดยเฉพาะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เกิดงานประติมากรรมตกแตง
ท่ีสวยงาม ในศาสนสถานแหงน้ีมากที่สุด งานประติมากรรมสวนใหญเปนฝพระหัตถพระองคเจา
ประดิษฐวรการทั้งสิ้น เชน รูปสัตวหิมพานต 7 คู บนชานชาลาไพที รอบปราสาทพระเทพบิดร
รูปพระบรมราชานสุ าวรียป ระจํารัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เปนรูปบุษบกประดิษฐานพระราชลัญจกร
บนพานแวนฟา พรอมชางเผอื กและฉตั ร ตรงมุมดา นตะวันตกเฉียงเหนอื ของปราสาทพระเทพบิดร
ปน หลอพระบรมรูป 3 รชั กาล คือ รัชกาลท่ี 1 รชั กาลที่ 2 และรชั กาลที่ 3 รวมท้ังปน แกไขรัชกาลที่ 4
ท่ีพระยาจนิ ดารังสรรคป น ไว พระบรมรปู ท้งั 4 รัชกาล ปจ จุบันประดิษฐานอยใู นปราสาทพระเทพบดิ ร
เปนรูปเหมือนที่แปลกไปจากภาพเหมอื นโดยท่ัวไป เพราะเปนศิลปะระยะปรับตัว เปนการผสม
ระหวา งความตอ งการท่ีจะใหร ูปปน เหมอื นรัชกาลน้ัน ๆ กบั การสรางรปู ใหม ีความงามแบบพระหรอื

94

เทวรูป ที่ตองการความเกลี้ยงเกลากลมกลึงของรูปทรง เปนคุณคาความงาม รูปเหมือนจึงแสดง
ความเหมือนบคุ คลออกมา พรอมกบั ใหอารมณค วามรูสกึ แบบไทยดวย

ในสมัยรัชกาลท่ี 5 มีการสรางพระพุทธรูปข้ึนใหมเหมือนกัน ที่สําคัญ คือ พระพุทธ
นฤมลธรรโมภาส พระประธานวัดนิเวศธรรมประวัติ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ฝพ ระหตั ถพ ระองคเ จาประดษิ ฐวรการ นอกจากน้ี ยังมกี ารปน หลอพระพทุ ธรูปขนาดใหญ ซึ่งมีอยู
ครัง้ เดียวในรชั กาลน้ี สรางในระหวาง พ.ศ. 2442 - 2444 ในคราวน้ันโกลาหลมาก เนื่องจากไมมี
การปน พระขนาดใหญมานาน แตกส็ าํ เร็จลงดว ยดี พระพุทธรูปองคนี้ คือ พระพุทธชินราชจําลอง
ปนหลอขึ้น เพ่ือนํามาประดิษฐานเปนพระประธานวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร
ตองลงไปปนหลอที่พิษณุโลก ผูปน หลอจําลอง คอื หลวงประสทิ ธปิ ฏมิ า

ภาพ : พระพทุ ธนฤมลธรรโมภาส
ทม่ี า : http://kanchanapisek.or.th/kp6/pictures14/s14-113-1.jpg

ประตมิ ากรรมรว มสมัย
อยูในสมยั รชั กาลท่ี 6 จนถึงรัชกาลปจ จุบัน เปนศิลปะที่มีผลสบื เนอื่ งมาจากความเจรญิ
แบบตะวันตก ท่ีหลั่งไหลเขา มาในประเทศไทย ทาํ ใหเกดิ แนวความคิดใหมในการสรางสรรคศิลปะ
เพื่อสาธารณะประโยชน นอกเหนือจากการสรางเพื่อศาสนาอยางเดยี ว

95

ภาพ : “มนุษยก ับความปรารถนา” ประตมิ ากรรมรว มสมัยหรือสมัยใหม ปน ดว ยปูนปลาสเตอร
เข็มรัตน กองสุข เปนผูปน

ทีม่ า : http://kanchanapisek.or.th/kp6/pictures14/s14-113-2.jpg

สมัยรัชกาลที่ 6 ศิลปะตะวันตกเขามาสูชีวิตความเปนอยูของคนไทย และกําลังฝง
รากลึกลงไปในสังคม และวัฒนธรรมไทย การตกแตงวังเจานาย อาคารราชการ อาคารพาณิชย
สวนสาธารณะ และอาคารบานเรือนของคนสามัญ เร่ิมตกแตงงานจิตรกรรม และงานประติมากรรม
ภาพเหมอื นมากข้นึ งานประตมิ ากรรมไทยที่ทําขึ้นเพื่อศาสนา เชน การสรางศาสนสถาน ปนพระพุทธรูป
ท่เี คยกระทํากันมากถ็ ึงจดุ เส่ือมโทรมลง แมจะมีการทํากันอยกู เ็ ปน ระดับพืน้ บาน ท่พี ยายามลอกเลยี น
สิง่ ดงี ามในยุคเกา ๆ ท่ตี นนิยม ขาดอารมณความรสู ึกทางการสรางสรรค และไมม ีรูปลกั ษณะที่เปน
แบบแผนเฉพาะยคุ สมยั

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั ทรงหันมาสง เสริมศิลปะการชางสมัยใหม
โดยตั้งโรงเรยี นเพาะชา งขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. 2456 จัดสอน ศลิ ปะการชางทั้งแบบตะวันตก และแบบไทย
การสรางงานศิลปะระดับชาติ ไดจางฝร่ังมาออกแบบ ตกแตงพระบรมมหาราชวัง หรือพระท่ีนั่ง
ทรงเห็นความจําเปนท่ีตองใชชางทํารูปปนตาง ๆ เชน เหรียญตรา และอนุสาวรีย ซ่ึงชางไทย
ยังไมชํานาญงานภาพเหมือนขนาดใหญ จึงสั่งชางปนมาจากประเทศอิตาลี ผูไดรับเลือก คือ
ศาสตราจารย คอราโด เฟโรจี เขารับราชการเปนประติมากร กรมศิลปากร กระทรวงวัง เม่ือวันที่
14 มกราคม พ.ศ. 2466 ตอ มาโปรดเกลาฯ ใหศาสตราจารยคอราโด เฟโรจี เขาไปปนพระบรมรูปของ
พระองคโดยใกลช ิด เปน พระบรมรูปเทาพระองคจริง ปจจุบันประดิษฐานในปราสาทพระเทพบิดร

96

นบั เปน งานภาพเหมอื นท่สี ําคัญในรัชกาลน้ี ตอ มาศาสตราจารยคอราโด เฟโรจี ไดโ อนสญั ชาติ และ
เปลี่ยนชื่อเปนไทยวา ศิลป พีระศรี ทานผูนี้ ตอมามีความสําคญั ตอวงการศิลปกรรมไทยสมัยใหม
ทกุ สาขาอยางท่ีสดุ

รชั กาลที่ 7 - รัชกาลปจจุบัน ระยะแรกศาสตราจารยศลิ ป พีระศรี เปนชางปน ทส่ี าํ คญั
แตผ เู ดียวในยุคนน้ั ไดดาํ เนินการปนรปู อนสุ าวรียพ ระปฐมบรมราชานุสรณเปนภาพเหมือนขนาดใหญ
3 เทาคนจริงเปน คร้ังแรกในเมืองไทย สงไปหลอทองแดงท่ีประเทศอิตาลี เสร็จทันมาติดตั้งที่เชิง
สะพานพุทธยอดฟา เพื่อเปด สะพาน และฉลองกรุงครบ 150 ป เมือ่ พ.ศ. 2475

หลังจากการฉลองกรุงไมกี่วันก็เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองข้ึนในประเทศไทย
โดยคณะทหารและพลเรือน อํานาจการปกครองและการบริหารประเทศ จึงไมตกอยูกับ
พระมหากษัตริยอีกตอไป การสรางงานศิลปกรรม ซึ่งแตเดิมอยูในความดูแลของราชสํานัก ซึง่ มี
พระมหากษัตริยทรงสงเสริมก็ส้ินสุดลง วิถีการดําเนินชีวิต ความรูสึกนึกคิดของประชาชน
เปล่ียนแปลงไป คณะรัฐบาลมุงพัฒนาประเทศทางดานวัตถุมากกวาการพัฒนาดานจิตใจ
โดยเฉพาะทางศิลปะ การสรางงานศิลปกรรมยุคตอมา ลวนตองตอสูด้ินรนอยูในวงแคบ ๆ
แตก ระนั้นการตอ สูด ้นิ รน เพอ่ื ใหส งั คมเห็นคณุ คาในงานศิลปะ ยงั ดาํ เนนิ ตอไป โดยมศี าสตราจารย
ศลิ ป พรี ะศรี เปน ผูนาํ เพ่ือทําใหผูนําประเทศและคนท่ัวไปเห็นคุณคา ทานตองทํางานอยางหนัก
กลา วคอื นอกจากงานปน อนุสาวรยี ท ส่ี ําคญั แลว ทา นยงั ไดวางแนวทางการศึกษาศลิ ปะ โดยหาทาง
จัดต้ังโรงเรียนประณีตศิลปกรรมข้ึน เม่ือ พ.ศ. 2477 ซ่ึงตอมาขยายตัวข้ึนเปนมหาวิทยาลัย
ศิลปากรเม่ือ พ.ศ. 2486 จัดใหมีการเรียนการสอนทั้งดานจิตรกรรม และประติมากรรม
ซึง่ การศกึ ษาและการสรางงานประตมิ ากรรม ตอ มาเปลย่ี นไปตามการพัฒนาวฒั นธรรมของสงั คม ที่
ตองการพ่ึงพาพลังงานใหม ๆ ภายใตอิทธิพลทางวิทยาศาสตร เศรษฐกิจ การเมือง และอื่น ๆ
ซง่ึ เปน การกาวหนา แหง ยคุ โดยเฉพาะในรัชกาลปจ จบุ นั การส่อื สาร และการคมนาคมเปนไปอยาง
รวดเรว็ ท่ัวถงึ เกอื บทุกมมุ โลก มลี ัทธทิ างศิลปะเกิดข้ึนมากมาย ท้งั ในยุโรป และสหรฐั อเมริกา และ
ไดแ พรหลายเขามามีบทบาทในประเทศไทยดว ย ประตมิ ากรรมจงึ เขา สรู ปู แบบของศิลปะรวมสมัย
เปน การแสดงออกทางดานการสรางสรรคท ม่ี อี สิ ระ ทง้ั ความคดิ เน้ือหาสาระ และเทคนิคการสรา งงาน
สุดแตศ ิลปนจะใฝหา งานศลิ ปะที่แสดงออกมานนั้ จงึ เปนสญั ลกั ษณส ําคญั ทส่ี ะทอ นถึงเอกลกั ษณใ หม
ของวัฒนธรรมไทยอกี รูปแบบหนึ่ง

3. ดา นจติ รกรรม
งานจิตรกรรมในสมยั รัตนโกสินทรมที ้ังศิลปะไทยประเพณี ศิลปะไทยประยุกตและ
ศลิ ปะแบบตะวันตก

97

สมัยรัตนโกสินทรตอนตน สกุลชางสมัยนี้พัฒนามาจากสกุลชางธนบุรีและอยุธยา
ใชส หี นกั เปน พนื้ หลัง สว นใหญจะใชสีโทนเย็น นิยมการปดทองบนภาพมากข้ึน โดยเฉพาะสถานท่ี
และบคุ คลสาํ คัญ ตัวละครใชส ีแสดงฐานะทางสงั คม

ลักษณะจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ 1 มีแบบแผนการวางภาพที่นิยมกัน คือ
ลวดลายเพดาน นยิ มทําดว ยไมจ ําหลัก ลงรักปดทอง ประดับดวยกระจก เปนลายดาวจงกล หรือ
ลายดาวดอกใหญอยูตรงกลาง ฝาผนังดานหนาพระประธานนิยมเขียนภาพมารผจญ ดานหลัง
พระประธานเปนภาพไตรภูมิ ดานขางท้ัง 2 ดาน ตอนบนเปนภาพวิทยาธร เทพชุมนุม ตอนลาง
ระหวา งชอ งประตหู นา ตา ง เขียนภาพพทุ ธประวตั ิ หรือทศชาติชาดก บานประตหู นา ตางเขียนภาพ
ทวารบาล ผนังวงกบประตูหนาตา งเปนภาพทวารบาลหรือเช่ียวกลาง หรอื ลายดอกไมร ว ง บานประตู
หนา ตา งดา นในมกั เปน รูปดอกไมร ว ง ดอกไมประดษิ ฐห รือเครอ่ื งแขวน

ภาพ : จติ รกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลท่ี 1

สมยั รัชกาลท่ี 3 งานจติ รกรรมฝาผนังมีความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนอยางเห็นไดชัด
สอดคลอ งกบั ความเปลีย่ นแปลงในดา นสถาปตยกรรม คือ อิทธพิ ลจากศลิ ปะจนี ลกั ษณะการใชส มี ดื
เปนสีพ้ืนมีการใชคูสีระหวางสีเขียวกับสีแดงใหโดดเดนและเปนคูสีหลักกับการระบายพ้ืนดวย
สมี ดื เปน เอกลักษณ เชน จิตรกรรมเครอ่ื งมงคลอยา งจนี หรอื เคร่ืองตงั้ ในพระอุโบสถวัดราชโอรสาราม
ราชวรวิหาร วัดนาคปรกกับลักษณะงานที่ยังสืบทอดแบบประเพณี เชน วัดสุวรรณารามราช
วรวิหารชางเขียนจิตรกรรมฝาผนังตองเขียนภาพอิงความสมจริงตามไปดวย ไมวาจะเปนความ
หลากหลายของผูคน เชื้อชาติ และอาชีพที่เปนความเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นจริงในสังคมขณะนั้น
หรืออาคารบานเรือนทั้งแบบจีนและฝร่ังท่ีเริ่มมีการกําหนดแสงเงาและใชลักษณะการถายทอด
ทีแ่ สดงความสมจริงของสว นประกอบในฉาก เชน ตน ไม นํ้าทะเล ผสมลงไป

98

ภาพ : จิตรกรรมประดบั เพดานอทิ ธิพลศิลปะจีนวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร
ทีม่ า : https://www.chillpainai.com/scoop/620/

รัชกาลท่ี 4 เร่ิมมีอิทธิพลของตะวันตกเขามาผานผลงานจิตรกรรม คือ ภาพเขียน
เปน ภาพ 3 มิติ มีการใชสี แสง - เงา และแสดงทัศนียภาพในระยะใกล - ไกล จิตรกรคนสําคัญ คือ
ขรัวอินโขง ซ่ึงเปนผูวาดภาพปริศนาธรรมท่ีวัดบวรนิเวศราชวรวิหารและวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร
ตอ มาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการวาดภาพพระราชประวัติเขียนแบบจิตรกรรมประเพณีผสมกับทาง
ตะวันตกและภาพเหมือนบุคคลไวที่ผนังพระท่ีนั่งทรงผนวช อยูท่ีวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม
ราชวรวิหาร

รชั กาลที่ 5 โปรดเกลาฯ ใหจติ รกรชาวยโุ รปวาดพระบรมสาทิศลกั ษณพระมหากษัตริย
แหง ราชวงศจักรีทุกพระองค และพระบรมวงศานวุ งศท สี่ ําคญั ในรัชสมยั ของพระองค ประดิษฐานที่
พระทีน่ ่งั จกั รีมหาปราสาทและพระที่นงั่ ในพระราชวงั ตา ง ๆ ซง่ึ การวาดภาพเหมอื นและภาพทวิ ทศั น
เหลา น้ีไดรบั ความนิยมอยา งแพรหลาย ประกอบกับในรัชกาลตอมา คอื รัชกาลท่ี 6 มกี ารจัดตง้ั โรงเรียน
สอนศิลปะแบบใหม เชน โรงเรียนเพาะชาง โรงเรียนชางศิลป ทําใหมีจิตรกรชาวไทยท่ีมี
ความสามารถท้งั การวาดภาพจติ รกรรมแบบไทยและสากล

รัชกาลท่ี 6 ยังนิยมการถายภาพ ทําใหเกิดการบันทึกภาพบุคคลบานเมืองและ
เหตุการณดวยเทคโนโลยีแบบใหมเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็ว ดังปรากฏจากพระบรมฉายาลักษณ
พระฉายาลกั ษณแ ละภาพถา ยตา ง ๆ จาํ นวนมาก เปน หลกั ฐานประวตั ิศาสตรที่สําคัญ

99

รัชกาลท่ี 9 - รชั กาลปจจุบัน ในปจ จุบันภาพจิตรกรรมมิไดจํากัดจะมีอยูแคในเฉพาะ
วัดกับวังเหมือนในอดีตท่ีผานมา แตไดมีการนําไปประดับตกแตงอาคารสถานที่เพ่ือใชในการส่ือสาร
โฆษณาประชาสัมพันธอ ยางแพรหลายผานสอ่ื ตาง ๆ ภาพจิตรกรรมท่ีนําเสนอออกมา นอกจากจะ
เปนภาพเก่ียวกับศาสนาและเอกลักษณไทยแลว ยังเสนอภาพที่มีแนวคิดสะทอนสังคม หรือมี
เรอื่ งราวท่ีศิลปนมีความประทับใจ เชน ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม บุคคล สถานท่ี จินตนาการภาพ
นามธรรม (Abstract) ตลอดจนเทคนิคในการสรา งสรรคง านจติ รกรรมก็มีความหลากหลายกวา เดมิ
และนาํ เอาเทคโนโลยีสมยั ใหมมาใชในการนาํ เสนอผลงานดว ย

4. ดา นวรรณกรรม
วรรณกรรมสมยั รตั นโกสินทรน เี้ ปน การฟน ฟวู รรณคดีไทยและจารีตการเขยี นบนั ทกึ
แบบเกา คอื เปน งานกวีนิพนธแ บบรอยกรองทีม่ ีความสมบูรณ ตอมาเริม่ เขียนแบบรอยแกว เพ่อื ให
สอดคลองกบั การเปลยี่ นแปลงของบานเมืองและอทิ ธิพลจากภายนอก เปนผลใหเ กิดงานดานวรรณกรรม
รูปแบบใหมข้นึ เปนจํานวนมาก
ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (รัชกาลที่ 1) มีการฟนฟูบทประพันธชนิดรอยแกว
ซงึ่ เปน บทประพนั ธไทยแทและมักเขยี นเรื่องราวของประเทศใกลเคียงกับไทย พระราชนิพนธที่ทรง
ประพนั ธข น้ึ มจี ดุ มงุ หมายในการปลุกขวัญประชาชนมคี วามกลาหาญ เชน รามเกียรติ์ อณุ รทุ แมแต
เร่ือง สามกก ราชาธริ าช ของเจาพระยาพระคลงั (หน) ก็มจี ุดมุงหมายไปในทางเดยี วกัน
วรรณคดีที่มชี ื่อเสยี งในสมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก ไดแก
1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก ไดแก เพลงยาวรบพมาที่ทาดินแดง
บทละครเร่ืองอุณรุท บทละครเรื่องรามเกียรต์ิ กฎหมายตราสามดวง บทละครเร่ืองดาหลังและ
อเิ หนา
2. เจาพระยาพระคลงั (หน) ไดแก สามกก ราชาธิราช บทมโหรี เรื่องกากี ลิลิต-
ศรีวิชัยชาดก ลลิ ิตพยหุ ยาตราเพชรทอง รายยาวมหาเวสสนั ดรชาดกกัณฑก ุมารและกัณฑม ทั รี
3. พระยาธรรมปรีชา (แกว) ไดแ ก ไตรภมู ิโลกวนิ ิจฉยั พระไตรปฎก
4. พระเทพโมลี (กลิน่ ) ไดแ ก รา ยยาวมหาเวสสันดรกัณฑมหาพน นิราศตลาดเกรียบ
โคลงกระทเู บด็ เตล็ด
5. กรมพระราชวังหลัง ไดแ ก ไซฮ น่ั
สมัยรัชกาลท่ี 2 นับเปนยุควรรณกรรมท่ีรุงเรืองที่สุด ราชสํานักไดฟนฟูวรรณคดี
ท้ังเกาและใหมไวเ ปน มรดกสําคญั ทรงนิพนธบ ทละครไวหลายเร่อื ง แตท ่ีไดร บั การยกยองมากท่ีสุด
คือ บทละครเรอื่ งอิเหนา กวเี อกสมยั น้ี คือ สุนทรภู ซึง่ มผี ลงานหลายประเภทดวยกัน มที งั้ บทละคร
เสภา นิราศ บทเห และกลอน เชน เสภาเรอื่ งขุนชางขุนแผน นิราศภูเขาทอง กลอนสุภาษติ สอนหญิง ฯลฯ
นอกจากนี้ สุนทรภูยังไดนํากลอนเพลงยาวมาแตงนิยาย คือ พระอภัยมณี ซ่ึงเปนผลงานชิ้นเอก

100

นบั เปนเรอ่ื งแรกของวรรณคดีไทยท่ีเปนการผกู เรือ่ งเอง แทนที่จะแตงเปนสํานวนใหมจากตนเรื่อง
ทีเ่ ปนนิทาน นยิ ายหรือพงศาวดาร

สมยั รชั กาลท่ี 3 - รัชกาลท่ี 5 งานวรรณกรรมเร่ิมกระจายไปสูประชาชน วรรณกรรมสมัยน้ี
สอดคลอ งกบั นโยบายการพฒั นาบานเมอื งใหท นั สมัย จงึ เร่ิมมงี านประพันธดานรอยแกว อน่ึง ไดมี
การจัดตั้งหอสมุดแบบพระนคร “หอสมุดวชริ ญาณ” รวบรวมรักษาเอกสารสําคัญของชาติ ผลงาน
สําคญั มที ้ังของรัชกาลที่ 4 รัชกาลท่ี 5 สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ฯลฯ

คร้นั เมอ่ื ถงึ สมยั รัชกาลท่ี 6 นบั เปนยุคทองของงานวรรณกรรมแบบใหม เริ่มมีการ
เปล่ียนแปลงเปนแบบตะวันตกมากขึ้น จากการเขียนแนวรอยกรองมาเปนรอยแกว ซึ่งมีรูปแบบ
เนอื้ หา แนวคดิ มีการจดั วางมาตรฐานของผลงาน โดยจัดต้ังวรรณคดีสโมสร วรรณกรรมในยุคนี้
เปนวรรณกรรมแปลและแปลงเปนสวนใหญ จนสามารถกลาวไดวาวรรณคดีและวรรณกรรม
ปจจุบันเร่ิมตนจากสมัยน้ี และยังเปนยุคเร่ิมของแนวการเขียนนวนิยาย และเร่ืองส้ันอีกดวย
นอกจากน้ี ยังมีผลงานของพระเจาบรมวงศเธอกรมพระนราธิปประพันธพงศ นายชิต บุรทัต
พระราชวรวงศเธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ (น.ม.ส.) เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี เสถียรโกเศศ
และนาคะประทีป

สมยั รชั กาลท่ี 7 วรรณกรรมในยุคนี้จึงเรม่ิ เปนของคนไทยมากข้ึน วรรณกรรมแปล
และแปลงนอยลง หนุม สาวหันมาสนใจงานเขียนมากขึน้ กลา แสดงความคิดเห็นมากขึ้น งานเขียน
มีท้ังวรรณกรรมสรางสรรคและผลงานท่ัวไปเปนรอยแกว เน้ือหามีหลากหลาย ทั้งดานการเมือง
อุดมการณ บทวิเคราะหสถานการณ ตาํ ราวชิ าการ นิยายสะทอนการเปล่ยี นแปลงในสังคม เร่ืองแปล
นทิ านนานาชาติ วรรณกรรมสาํ หรับเดก็ ฯลฯ โดยเฉพาะสิบปแรกหลงั การเปลยี่ นแปลงการปกครอง
จะเนน ในเรื่องชาตินยิ ม วงการวรรณกรรมพยายามยกระดับคณุ ภาพงานเขียน

พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่ 9) ทรงพระราชนิพนธ
วรรณกรรม เรอ่ื ง “พระมหาชนก” ดวยความประณีต และทรงตงั้ พระทัยเผยแพรอยางกวางขวาง
ใหเปนเคร่ืองเตือนใจประชาชน เขาถึงจิตใจผูคนเพ่ือเปนเครื่องเตือนใจประชาชนผูมีจิตศรัทธา
ใหเกดิ ความคดิ ในทางสรางสรรคถึงความเพียร เพอื่ ทจี่ ะฝา ฟนทกุ อุปสรรคใหผา นพนและกอใหเกิด
สัมมาทัศนะในการดําเนินชีวิต ในทิศทางการพัฒนาประเทศในพระราชปรารภหรือคํานําของ
พระราชนิพนธ คอื ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอ มใหพมิ พในโอกาสเฉลิมฉลองกาญจนา
ภิเษกแหงรัชกาล ใหเ ปนเครือ่ งพิจารณาเพ่ือประโยชนใ นการดาํ เนินชวี ติ ของสาธุชนท้ังหลาย ดังนี้

101

1. ในยามวกิ ฤต ตอ งคดิ พ่ึงตนเอง เทวดาจะชวยผูทช่ี ว ยตัวเองเทา น้ัน
2. ความเพยี รอนั บรสิ ุทธ์ิ หมายถึง ตอ งพยายามอยางถึงที่สุด เพ่ือทีจ่ ะกาวผา นวกิ ฤต
สรา งเศรษฐกิจจรงิ ดวยงานหรือความเพียรอันบริสทุ ธ์ิ
3. สรางเศรษฐกิจดว ยการอนรุ กั ษแ ละเพ่ิมพูนทรัพยากร
4. โมหภมู ิและมหาวชิ ชาลยั หมายถงึ มนษุ ยจ ะสามารถปฏิรูปการเรียนรขู องมนษุ ย
ตอ งหลุดพนจากอวชิ ชา เพอ่ื กาวไปสกู ารพัฒนาอยางแทจ รงิ
5. ดา นดนตรแี ละนาฏศิลป
ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนยังคงรับแบบอยางจากสมัยอยุธยา โดยรัชกาลที่ 1
โปรดเกลาฯ ใหม กี ารฝกหัดโขนข้ึนทง้ั ในวังหลวงและวังหนา และใหประชุมครูละคร เพอื่ จดั ทาํ ตาํ รา
ทารําขึ้นใหมแทนตําราท่ีสูญหายไปเม่ือคร้ังเสยี กรุงศรีอยธุ ยา ตอมาในสมัยรัชกาลท่ี 2 งานฟนฟู
นาฏศิลปมีความรุงเรืองมาก พระองคโปรดเกลาฯ ใหปรบั ปรุงแกไขบทละครและวิธีรําใหมใหไพเราะ
และงดงาม นอกจากนี้ พระองคทรงมีพระปรชี าสามารถอยางยิง่ ในการดนตรี โดยเฉพาะซอสามสาย
ครน้ั ถึงสมัยรชั กาลที่ 3 โปรดเกลา ฯ ใหยกเลิกงานนาฏศลิ ปและดรุ ิยางคศลิ ปในพระบรมมหาราชวัง
เปน ผลใหศ ลิ ปน ตอ งยายไปสังกดั กบั ขนุ นางผูม ฐี านะทรี่ บั อปุ ถมั ภง านศลิ ปะแขนงดงั กลา ว
1) ดนตรไี ทย
การแสดงดนตรไี ทยในสมัยรตั นโกสินทร ถอื เปนยุคสมัยของการกอสรางบานเมือง
ใหม นั่ คงเปน ปกแผน อีกทั้งยังมกี ารสงเสริมและฟนฟูศิลปวัฒนธรรมของชาติในทุกแขนงใหเจริญ
รุงเรือง โดยเฉพาะดนตรีไทยในสมัยรัตนโกสินทรไดมีการเปล่ียนแปลงไปตามลําดับชวงเวลา
ในรัชกาลตาง ๆ ดังน้ี
สมัยรัชกาลท่ี 1 ดนตรีไทยในสมัยนี้ยังคงยึดถือรูปแบบและลักษณะมาจากสมัย
กรุงศรีอยธุ ยา แตไ ดม ีการเปลี่ยนแปลงเครอ่ื งดนตรีในวงปพาทยและวงมโหรี โดยมีการเพิ่มกลองทัด
อีก 1 ลูก เขา ไปในวงปพ าทย สวนวงมโหรีก็ไดเพิ่มระนาดเขา ไปอีก 1 ราง
สมัยรัชกาลท่ี 2 เปนยุคสมัยที่การดนตรีไทยมีความเจริญรุงเรืองอยางมาก
สืบเนื่องมาจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยทรงสนพระทัยในเร่ืองดนตรีไทย อีกทั้ง
พระองคยังทรงพระปรีชาสามารถเปนอยางย่ิงในดานดนตรีไทย นอกจากนี้ในสมัยรัชกาลที่ 2
วงปพาทยไดน ําไปใชบรรเลงประกอบการขับเสภาเปนคร้ังแรก รวมทั้งไดมีการนําเอา “เปงมาง”
เขามาไวในวงปพาทย เพอื่ ตปี ระกอบจงั หวะในการบรรเลงดนตรขี บั เสภาวงมโหรกี ไ็ ดเ พ่มิ “ฆอ งวง”
เขา เปนเครอ่ื งดนตรภี ายในวงอีกชนิดหนึ่งดว ย
สมัยรัชกาลที่ 3 วงปพาทยไดเปลี่ยนไปเปน “วงปพาทยเครื่องคู” เพราะมีผูคิด
ประดิษฐระนาดเพ่ิมเขามาในวงอีก 1 ราง ซึ่งมีขนาดใหญกวาระนาดแบบเดิมและตีดวยไมนวม

102

ใหเ สยี งทีต่ ่าํ กวานนั่ คือ “ระนาดทมุ ” นอกจากน้ยี งั สรา งฆองวงทมี่ ขี นาดเล็กและใหเสยี งสูงเรียกวา
“ฆอ งวงเล็ก” รวมทง้ั การนําเอาปน อกเขา มาผสมในวงปพาทยด ว ย

ดงั นั้น เครอื่ งดนตรีในวงปพ าทยเ คร่ืองหา ที่ประกอบไปดวย ปใ น ฆองวง ตะโพน กลองทัด
ระนาด และฉ่ิง จึงเปล่ียนไปเปนวงปพ าทยเครื่องคู ซ่ึงมีเคร่ืองดนตรีในวง ดังตอไปนี้ ระนาดเอก
ระนาดทมุ ฆองวงใหญ ฆอ งวงเล็ก ปใ น ปน อก ตะโพน กลองทัด ฉง่ิ ฉาบเล็ก ฉาบใหญ โหมง กลองสองหนา

สมยั รชั กาลท่ี 4 “วงปพ าทยเครอื่ งใหญ” ซงึ่ เปน แบบแผนของวงปพาทยท่ีใชมาจน
ปจจุบนั สืบเน่ืองจากรัชกาลที่ 4 ไดท รงสราง “ระนาดทุมเหลก็ ” และ “ระนาดเอกเหล็ก” เพิ่มเขา
ไปในวงปพาทยเครื่องคู จึงทําใหวงปพาทยเคร่ืองคูมีวิวัฒนาการไปเปนวงปพาทยเคร่ืองใหญ
ประกอบไปดว ย เคร่อื งดนตรชี นิดตา ง ๆ ดงั น้ี คอื ปใน ปนอก ระนาดเอก ระนาดทมุ ระนาดเอกเหล็ก
ระนาดทุมเหล็ก ฆองวงใหญ ฆองวงเลก็ ตะโพน กลองทัด ฉ่งิ ฉาบเล็ก ฉาบใหญ โหมง

สมยั รชั กาลที่ 5 สมเด็จพระเจา บรมวงศเ ธอเจาฟากรมพระยานรศิ รานวุ ัดตวิ งศ ทรงคดิ
ประดิษฐว งปพ าทยขนึ้ มาในอีกรปู แบบหนง่ึ เพอื่ ใชบ รรเลงประกอบการเลนละครเรียกวา “วงปพาทย
ดึกดาํ บรรพ” พระองคทรงนําเอาฆองชัย หรือ “ฆองหุย” จาํ นวน 7 ลูก เพิ่มเขามา นอกจากน้ี
พระองคยังทรงตดั เคร่ืองดนตรีทมี่ เี สียงแหลมเสียงสงู และเสยี งท่ดี งั มาก ๆ ออกไป สวนระนาดก็ใหตี
ดวยไมน วม ดังนั้นวงปพาทยดึกดําบรรพจึงมีเฉพาะเคร่ืองดนตรีที่บรรเลงแลวมีเสียงเบา ไพเราะ
นุมนวลแตกตางไปจากวงปพาทยอ่ืน ๆ โดยเคร่ืองดนตรีในวงปพาทยดึกดําบรรพ ประกอบดวย
ระนาดเอก ระนาดทุม ระนาดทมุ เหลก็ ฆอ งวงใหญ ซออู ขลุยอู ขลุย เพียงออ ฉง่ิ ฆองชัย หรือฆองหุย
ตะโพน กลองตะโพน

สมยั รชั กาลท่ี 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั ทรงสนพระทัยดนตรไี ทย
เปน อยางย่งิ อกี ทัง้ ยังทรงทํานบุ าํ รุงและรักษาการดนตรีไทยอยา งมงุ ม่ันจรงิ จัง โดยพระองคทรงให
ตั้งกรมมหรสพข้ึนมา ประกอบไปดวยกรมบัญชาการ กรมโขนหลวง กรมพิณพาทยหลวง
กองเคร่อื งสายฝรั่งหลวงและกรมชางมหาดเลก็ เพ่ือสราง ซอ มแซม และรักษาสงิ่ ทเี่ ปน ศลิ ปะทงั้ หมด
นับวายุคสมัยนี้ดนตรีไทยมีความเจริญรุงเรืองเปนอยางมากและถือไดวาเปนยุคทองของดนตรีไทย
อกี ยคุ หนึง่ เชน กนั

สมัยรัชกาลท่ี 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงสนพระทัยดนตรีไทย
เปนอันมาก และพระองคทรงตัง้ วงเคร่ืองสายสวนพระองคท ่สี มบรู ณทสี่ ุดวงหนึ่งขึ้นมา โดยพระองค
ทรงสีซอดว ง สว นสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชนิ ี ทรงสซี ออู นอกจากนี้ยังมเี จานาย
อกี หลายพระองคท ี่เปน สมาชิกในวงเครือ่ งสายนด้ี วย

ตอ มาในป พ.ศ. 2475 ไดม กี ารเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
ไปเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ดนตรีไทยไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในคร้ังนี้
ดนตรีไทยคอย ๆ เส่ือมถอยลงเปนลําดับจนแทบสูญสิ้นไป แตภายหลังจากสงครามโลกครั้งท่ี 2

103

สิน้ สุดลง การฟนฟดู นตรีไทยจึงไดเร่มิ ตนข้นึ ใหมอ ีกคร้งั และมกี ารพฒั นาดนตรไี ทยใหเ จรญิ กา วหนา
อยา งตอ เนือ่ งมาจนถงึ ยคุ สมยั ปจ จุบนั

2) โขน
การแสดงโขน เปนการแสดงทา ราํ เตน มีดนตรีประกอบการแสดง มีบทพากยและ
เจรจาตัวละครประกอบดวยยักษ ลิง มนุษย เทวดา ผูแสดงสวมหัวโขนจะไมรอง และเจรจาเอง
แตปจ จบุ นั ผแู สดงเปน มนษุ ยเ ทวดาจะไมส วมหวั โขน การแตงกายแตง แบบยืนเครื่องเหมอื นละครใน
ตามลกั ษณะตัวละคร ไดแก ตวั พระ ตวั นาง ยกั ษ ลิง และตัวประกอบ ศีรษะโขน ไดแ ก ศรี ษะเทพเจา
ศรี ษะมนุษย ศรี ษะยกั ษ ศีรษะลิง และศรี ษะสัตวตา ง ๆ
โขนสมัยกรงุ รตั นโกสนิ ทร แบงไดเ ปน 3 ยคุ คอื ยุคที่ 1 เปนโขน ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ยุคที่ 2
เปนโขน ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจา อยูหวั ยคุ ที่ 3 เปนโขน ในสมัยเปลี่ยนแปลง
การปกครอง
โขนยคุ ท่ี 1
เม่อื พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงสรางกรุงรัตนโกสินทร
เปน ราชธานแี ละเสดจ็ ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบตั ิแลว ทรงฟน ฟูศิลปวัฒนธรรม สาํ หรบั ดา นการแสดง
โขนทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหเ จา นาย และขุนนางผใู หญ หดั โขนได โดยไมทรงหามปราม
เพราะฉะน้นั เจานายและขา ราชการช้ันผใู หญ จึงไดฝ ก หัดโขน เพื่อประดับเกียรติของตนการแสดง
โขนจงึ แพรห ลาย กวา งขวางขนึ้ นอกจากน้ี ยงั โปรดให นักปราชญร าชบณั ฑติ ชวยกันแตงบทละคร
เรือ่ งรามเกียรต์ิ สําหรับใชเปนบทแสดงโขนละคร โดยพระองคทรงตรวจตราแกไข ครั้นถึงสมัย
รัชกาลที่ 2 ก็ทรงพระราชนิพนธบทละครเรื่องรามเกียรติ์ขึ้นอีกสวนหน่ึง ซ่ึงมีเรื่องราวและ
คาํ กลอนกระชบั ขึ้นเหมาะในการใชบทสาํ หรับแสดงโขนละคร
โขนในยคุ ตนรัตนโกสินทรเจริญรุง เรอื ง เพราะเจา นายหลายองค และขนุ นางหลายทา น
ใหการสนับสนุน โดยใหมีการหัดโขนอยูในสํานักของตน เชน โขนของกรมพระพิทักษเทเวศร
(ตนสกุลกญุ ชร) โขนของ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร (พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาเจาอยูหวั ) โขนของ
เจาพระยาบดนิ ทรเดชา และโขนของเจา พระนคร (นอย) เปนตน เม่ือเกิดมีโขนข้ึนหลายโรง หลายคณะ
แตละโรง แตล ะคณะ กค็ งจะประกวดประชันกัน เปนเหตุใหศิลปะการแสดงโขนในสมัยน้ันเจริญ
แพรหลาย เปนท่ีนิยมของประชาชนทั่วไป โขนของเจานายและขุนนางดังกลาวน้ี เรียกวา
“โขนบรรดาศักด์ิ”
ปลายสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงดํารงพระราช
อสิ รยิ ยศเปนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกฎุ ราชกมุ าร ไดท รงเอาพระทยั ใส และทรงสนบั สนนุ
การแสดงโขน โดยโปรดใหฝ ก หัดพวกมหาดเล็กแสดงโขน เรียกวา “โขนสมัครเลน” ผูทฝ่ี กหัดโขน

104

คณะนี้ลวนเปน โอรสเจานาย และลูกขุนนางมหาดเล็กในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ทั้งส้ิน
ตา งเขา มาฝก หดั โขนดวยความสมัครใจ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงปรับปรุงบท
โขน และทรงควบคมุ ฝกซอมบางครั้งก็ทรงแสดงดวยพระองคเอง โขนสมัครเลน โรงน้ี มีช่อื เสยี งวา แสดง
ไดด แี ละเคยแสดงในงานสําคัญ ๆ สมยั ปลายรัชกาลที่ 5 หลายครั้ง

โขนยคุ ที่ 2
เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เสด็จข้ึนครองราชยสมบัติแลว
จงึ โปรดใหต้ังกรมมหรสพข้นึ และปรบั ปรงุ กรม กอง ตลอดจนการบริหารงานตาง ๆ เกี่ยวกับการ
มหรสพใหดีขึ้น ทรงทํานุบํารุงสงเสริม ศิลปะ และฐานะของศิลปนใหเจริญกาวหนาถึงขีดสุด
ทรงพระราชทานบรรดาศักดิ์แกศิลปนโขนผูมีฝมือ แมแตเจาหนาที่ผูรักษาเครื่องโขนก็โปรดใหมี
บรรดาศกั ดดิ์ ว ย นอกจากน้โี ปรดใหต้งั โรงเรียนฝก หดั ศลิ ปะการแสดงโขนละคร ดนตรปี พาทยขนึ้ ใน
กรมมหรสพเรยี กวา โรงเรียนพรานหลวง โขนยคุ ท่ี 2 ของกรงุ รตั นโกสินทร นับเปนยุคที่เจริญรุงเรือง
ถึงขีดสดุ ท้ังศลิ ปะและฐานะของศิลปน
โขนยุคท่ี 3
โขนยคุ ที่ 3 เปน ยุคเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าช มาสู
ระบอบประชาธิปไตย เริม่ ต้งั แตเ มอื่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เสด็จสวรรคต โขนก็
ตกตาํ่ ลงทันที รัชกาลท่ี 7 โปรดใหยบุ กรมมหรสพ เพราะทรงเหน็ วา เปนการสน้ิ เปลอื งพระราชทรัพย
จํานวนมาก มกี ารดลุ ยภาพขา ราชการออกจากราชการ รวมทั้งขาราชการกรมมหรสพดวย แตใน
เวลาตอ มา พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยหู วั ก็โปรดใหข า ราชการกรมมหรสพท่ีมคี วามสามารถ
รวมกันแลวต้ังเปนกอง เรียกวา กองมหรสพ สังกัดกระทรวงวัง มีการฝกหัดโขนข้ึนอีกครั้งหน่ึง
โขนหลวง กระทรวงวัง สามารถออกโรงแสดงตอนรับแขกเมอื งในงานสําคัญ ๆ หลายงาน
3) ละคร
ตง้ั แตก ารสถาปนากรุงรตั นโกสินทรเปนราชธานไี ทย เมื่อ พ.ศ. 2325 จนถึงปจ จบุ ัน
(พ.ศ. 2542) เปน เวลา 217 ป กวไี ทยไดสรางสรรควรรณคดีที่สมควรรักษาเปนมรดกไทยไวจํานวนมาก
ซึ่งเปนวรรณกรรมทงั้ ดานรอยแกว ไดแ ก สามกก โคลนติดลอ และ ดา นรอ ยกรอง ไดแก บทละคร
เร่ืองรามเกียรต์ิ พระราชนิพนธในรัชกาลท่ี 1 บทละครเร่ืองอิเหนา พระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2
บทเสภาเร่อื งขุนชา งขุนแผน ลลิ ติ ตะเลงพาย เปน ตน
4) รําและระบาํ
สมัยรตั นโกสนิ ทร ระบาํ และรํา มคี วามสาํ คญั ตอราชพิธตี าง ๆ ในรูปแบบของพิธีกรรม
โดยถือปฏบิ ัติเปน กฎมณเฑียรบาลมาจนถึงสมยั รตั นโกสินทรตอนตน (สมยั รชั กาลที่ 1 - รชั กาลท่ี 4)
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลก โปรดรวบรวมตําราฟอนรํา และ
เขยี นภาพทา รําแมบ ทบันทกึ ไวเปน หลกั ฐาน มีการพัฒนาโขนเปนรูปแบบละครใน มีการปรับปรุง

105

ระบาํ สบี่ ท ซ่งึ เปน ระบํามาตรฐานตั้งแตส ุโขทัย ในสมัยนไี้ ดเ กดิ นาฏศิลปข้ึนมาหลายชุด เชน ระบํา
เมขลา - รามสูร ในราชนพิ นธร ามเกียรติ์

รัชสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เปนยุคของนาฏศิลปไทย เนื่องจาก
พระมหากษัตริยทรงโปรดละครรํา ทารํางดงามตามประณีตแบบราชสํานัก มีการฝกหัดท้ังโขน
ละครใน ละครนอก โดยไดฝกผูหญิงใหแสดงละครนอกของหลวงและมีการปรับปรุงเครื่องแตงกาย
ยนื เคร่ืองแบบละครใน

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว โปรดใหยกเลิกละครหลวง ทําให
นาฏศิลปไทยเปนที่นิยมแพรหลายในหมูประชาชน และเกิดการแสดงของเอกชนขึ้นหลายคณะ
ศลิ ปนท่ีมคี วามสามารถไดสบื ทอดการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยท่ีเปนแบบแผนกนั ตอมา

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหมีละครรําผูหญิง
ในราชสํานักตามเดิมและในเอกชนมีการแสดงละครผูหญิงและผูชาย ในสมัยน้ีมีบรมครูทาง
นาฏศิลป ไดช าํ ระพธิ โี ขนละคร ทลู เกลา ถวายตราไวเ ปนฉบับหลวง และมกี ารดัดแปลงการราํ เบกิ โรง
ชดุ ประเรงิ มาเปน ราํ ดอกไมเ งินทอง

รชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว ในสมัยนี้มีท้ังการอนุรักษและ
พฒั นานาฏศลิ ปไทยเพื่อใหมคี วามทันสมยั เชน มีการพัฒนาละครในละครดึกดําบรรพ พัฒนาละครรํา
ที่มีอยูเดิมมาเปนละครพนั ทางและละครเสภา และไดกําหนดนาฏศิลปเปนท่ีบทระบําแทรกอยูใน
ละครเร่อื งตาง ๆ เชน ระบาํ เทวดา - นางฟา ในเรอื่ งกรุงพาณชมทวปี ระบาํ ตอนนางบุษบากับนาง
กํานันชมสารในเรือ่ งอเิ หนา ระบําไก เปนตน

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เปนศิลปะดานนาฎศิลป
เจริญรุงเรืองมาก พระองคโปรดใหต้ังกรมมหรสพข้ึน มีการทํานุบํารุงศิลปะทางโขน ละคร และ
ดนตรีปพาทย ทําใหศิลปะมีการฝกหัดอยางมีระเบียบแบบแผน และโปรดตั้งโรงเรียนฝกหัด
นาฏศิลปในกรมมหรสพ นอกจากนี้ ยังไดมกี ารปรับปรุงวธิ ีการแสดงโขนเปนละครดกึ ดาํ บรรพ เรอื่ ง
รามเกียรติ์ และไดเกิดโขนบรรดาศักดท์ิ ่ีมหาดเล็กแสดงคกู บั โขนเชลยศักดท์ิ ่เี อกชนแสดง

รัชสมัยสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว โปรดใหมีการจัดต้ังศิลปากรข้ึนแทนกรม
มหรสพท่ถี ูกยุบไป ทําใหศิลปะโขน ละคร ระบํา ราํ ฟอน ยังคงปรากฏอยู เพื่อเปนแนวทางในการ
อนุรักษและพฒั นาสบื ตอไป

รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดลพระอฐั มรามาธิบดินทร
หลวงวิจิตรวาทการ อธิบดีของกรมศิลปากร ไดกอต้ังโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตรขึ้นมา เพื่อ
ปอ งกันไมใหศิลปะทางดา นนาฏศิลปสญู หายไป ในสมัยน้ไี ดเกิดละครวิจิตร ซ่ึงเปนละครปลุกใจให
รักชาติ และเปนการสรางแรงจูงใจใหคนไทยหันมาสนใจนาฏศิลปไทย และไดมีการต้ังโรงเรียน
นาฏศิลปแทนโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร ซึ่งถูกทําลายตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อเปน

106

สถานศกึ ษานาฏศิลปและดรุ ยิ างคศลิ ปข องทางราชการ และเปน การทํานุบาํ รงุ เผยแพรน าฏศิลปไทย
ใหเ ปน ท่ียกยองนานาอารยประเทศ

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9)
นาฏศิลป ละคร ฟอน รํา ไดอยูในความรับผิดชอบของรัฐบาล ไดมีการสงเสริมใหผูเชี่ยวชาญ
นาฏศิลปไทยคิดประดิษฐทารํา ระบําชุดใหม ไดแก ระบําพมาไทยอธิษฐาน ปจจุบันไดมีการนํา
นาฏศิลปน านาชาตมิ าประยุกตใชในการประดษิ ฐทารํา รูปแบบของการแสดง มีการนําเทคนิคแสง
สี เสียง เขา มาเปน องคป ระกอบในการแสดงชดุ ตาง ๆ ปรบั ปรงุ ลลี าทารําใหเหมาะสมกับฉาก บนเวที
การแสดงมีการติดตั้งอุปกรณที่ทันสมัย ทั้งระบบมาน ฉาก แสง ควบคุมดวยระบบคอมพิวเตอร
มีระบบเสียงทส่ี มบูรณ มีเครื่องฉายภาพยนตรประกอบการแสดงและเผยแพรศิลปกรรมทุกสาขา
นาฏศิลป และสรางนักวิชาการและนักวิจัยในระบบสูง โดยมีการเปดสอนนาฏศิลปไทยในระดับ
ปริญญาเอกอีกหลายแหง

5) การแสดงพน้ื เมอื ง
การแสดงพนื้ เมอื งทเี่ กิดขนึ้ ในสมัยรตั นโกสินทร เปนศลิ ปะการรายรํา หรอื การละเลน
ทีเ่ ปนเอกลักษณของกลุม ชนตามวัฒนธรรมในแตล ะภมู ิภาค สามารถแบง ไดต ามภมู ภิ าคได ดังนี้
5.1 การแสดงพนื้ เมืองภาคเหนอื
การแสดงพื้นเมืองทางภาคเหนือ เปนศิลปะการรําและการละเลน นิยมเรียกกัน
ทว่ั ไปวา “ฟอ น” การฟอ นเปนวฒั นธรรมของชาวลานนา และกลุมชนเผาตาง ๆ เชน ชาวไต ชาวล้ือ
ชาวยอง ชาวเขิน เปนตน ลักษณะของการฟอ น มีลีลา ทา รําที่งดงามออนชอย มีการแตงกายตาม
วัฒนธรรมทองถนิ่ โอกาสท่แี สดงมกั เลน ในงานประเพณี ตอนรบั แขกบานแขกเมือง ไดแก ฟอนเลบ็
ฟอนเทียน ฟอนครวั ทาน ฟอ นสาวไหม และฟอนเจิง การฟอ นแบบพ้ืนบา นดัง้ เดิมในกลุมนี้ในเวลา
ตอมาเมื่อราชสํานักสยามเขาปกครองราชอาณาจักรลานนาไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 ชาวลานนา
จึงไดรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากราชสํานัก โดยเอาแบบแผนการรําของภาคกลางมาปรับปรุง
การฟอ นแบบดง้ั เดมิ ตง้ั แตลีลาการรํา กระบวนการจัดแถวรํา การเดินสลับแถวและการใชดนตรี
ประกอบการฟอ น

107

ภาพ : ฟอ นรํา ทางภาคเหนอื
ทมี่ า : https://fonnthai.files.wordpress.com/2014/03/2342013826dsc_1414.jpg

5.2 การแสดงพนื้ เมืองภาคกลาง
การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง เปนศิลปะการรายรําและการละเลนของชาวภาคกลาง
สว นใหญจ ะมีความเก่ยี วของและสอดคลอ งกับวิถีชีวิตทางดานเกษตรกรรม และยังสงผลตอความ
บันเทิง สนุกสนาน เปนการพักผอนหยอนใจจากการทํางาน หรือเมื่อเสร็จจากฤดูเก็บเกี่ยว เชน
การแสดงเพลงเก่ียวขาว เตน กําราํ เคยี ว รําโทน หรอื รําวง รําเถิดเทิง รํากลองยาว มีการแตงกาย
ตามวฒั นธรรมทองถ่ิน โดยใชเครื่องดนตรีพื้นบาน เชน กลองยาว กลองโทน ฉ่ิง ฉาบ กรับ และ
โหมง
ศิลปะการเลนกลองยาว เริ่มปรากฏในเมืองไทยอยา งมีแบบแผนในสมัยรัชกาลท่ี 4
ในการแสดงละคร เรอื่ งพระอภัยมณี โดยรว มแสดงผสมผสานกบั วัฒนธรรมหลวงเปน คร้ังแรก

ภาพ : ราํ กลองยาว ภาคกลาง
ทม่ี า : https://sites.google.com/site/sinlapakarnsadangnattasin/kar/phakh-klang

108

5.3 การแสดงพน้ื เมืองภาคอีสาน
การแสดงพ้ืนเมืองภาคอสี าน เปนศิลปะการราํ และการละเลน ของชาวพ้ืนบานภาคอสี าน
หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เพือ่ ตอบสนองผลทางจิตใจท่ีมีตอการนับถือลัทธิความเชื่อ
ตา ง ๆ และการนบั ถอื พุทธศาสนา ดังน้ัน การแสดงศิลปะในภูมิภาคนี้จึงเนนท่ีการระบํา รําฟอน
เพือ่ การบวงสรวงส่งิ ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ และการเฉลมิ ฉลองเทศกาลอันเกีย่ วขอ งกบั พุทธศาสนา ซึง่ แบบแผน
ด้ังเดิมของการรําฟอน ไดแก ฟอนผูไทย หรือรําซวยมือ เซ้ิงบ้ังไฟ เครื่องดนตรีที่ใชบรรเลง
ประกอบการรํา ไดแ ก แคน และกลองหาง เปนหลกั นอกจากนี้ยังมี พณิ กลองตมุ (ตะโพน) หมาก
กลงิ้ กลอม (โปงลาง) สงิ่ (ฉ่ิง) แสง (ฉาบ) หมากกั๊บแก็บ (กรับ) ฆองโหมงและพังฮาด (ฆองโบราณ
ไมมปี ุม) ผบู รรเลงดนตรเี ปนชาย
นอกจากน้ีศิลปะการแสดงที่จัดเปนการละเลนด้ังเดิมของชาวอีสานที่ไดรับความ
นิยมและเปนท่ีรูจักอยางแพรหลายในสมัยรัชกาลท่ี 5 คือ หมอลํา และหนังตะลุงอีสาน ซ่ึงใช
เครื่องดนตรีพน้ื บานประกอบ ไดแ ก ระนาดเอก ซออู แคน กลองทดั ตะโพน ฉงิ่ ฉาบ

ภาพ : การแสดงรําฟอ นทางภาคอสี าน หมอลํา
ทม่ี า : https://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9480000159535

5.4 การแสดงพนื้ เมืองภาคใต
การแสดงพ้ืนเมืองภาคใต มีความแตกตางไปจากภาคอ่ืน ๆ เนื่องจากสภาพ
ภูมศิ าสตร เศรษฐกิจและสงั คม กอใหเกิดการแสดงอารมณอยางเรียบงาย ประสมประสานไปกับ
ภาพสะทอนของการทาํ งานและการตอสูในชีวิต การละเลนจึงมีความเดนในดานการส่ือความคิด
การใชภ าษาทข่ี ับรอ งดว ยบทกลอน เนนท่ีลํานําและจังหวะ เคร่ืองดนตรีที่ใชประกอบการละเลน
ไมเนนเครอื่ งดดี สี เหมือนภาคอื่น ๆ ลีลาการรา ยราํ มีจังหวะฉบั ไว

109

การรําและการละเลน ของชาวพืน้ บานภาคใต เปน การผสมผสานระหวา งวัฒนธรรม
แบง ได 2 กลุม คือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ไดแก การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนาและ
วฒั นธรรมไทยมสุ ลมิ ไดแก รองเง็ง ซําแปง มะโยง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คลายลิเกภาคกลาง)
และสิละ มีเคร่ืองดนตรีประกอบที่สําคัญ เชน กลองโนรา กลองโพน กลองปด โทน ทับ กรับพวง
โหมง ปก าหลอ ปไหน รํามะนา ไวโอลิน อัคคอรเดยี น

6. ดา นประเพณี
ขนบธรรมเนยี มประเพณี เปนสิ่งแสดงใหเ หน็ วัฒนธรรมความเจริญรุงเรืองของชาติ
พระมหากษัตริยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน จึงทรงฟนฟูขนบธรรมเนียมประเพณีที่ถือปฏิบัติ
มาชา นานตง้ั แตส มยั อยุธยา อาจกลา วโดยสงั เขป ดงั นี้
1) ประเพณีเก่ยี วกับพระมหากษัตรยิ  มีพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก (พธิ ขี ึน้ ครองราชย
เปน พระมหากษตั รยิ ) พระราชพธิ โี สกันต (พิธโี กนจกุ ของพระราชวงศ) พระราชพิธีพระเมรุมาศ (พิธีเผาศพ)
พระราชพิธีฉัตรมงคล (พิธีฉลองพระเศวตฉัตรในวันคลายวันบรมราชาภิเษก) พระราชพิธีสมโภช
ชา งเผือก ฯลฯ
2) ประเพณีเกี่ยวกับบานเมือง มีพระราชพิธีถือน้ําพระพิพัฒนสัตยา พระราชพิธี
อาพาธพินาศ (พิธีปดเปา โรคภยั มิใหเ บียดเบยี น) พระราชพธิ พี ชื มงคล (พิธีปลูกพชื เอาฤกษช ัย) ฯลฯ
3) ประเพณีเก่ียวกับพระพุทธศาสนา พิธีวิสาขบูชา พิธีอาสาฬหบูชา พิธีมาฆบชู า
พิธีเขา พรรษา - ออกพรรษา พิธีบวชนาค เทศนม หาชาติ สวดภาณยกั ษ ฯลฯ
4) ประเพณพี ราหมณ พธิ ีโลชิงชา พธิ วี างศลิ าฤกษ พธิ โี กนจุก ฯลฯ
5) ประเพณีชาวบา น พธิ ใี นโอกาสสําคญั ๆ เชน แตงงาน ขึ้นบานใหม ทําขวัญนาค
เผาศพ พิธตี รุษสงกรานต พิธสี ารท การละเลน ตาง ๆ เชน การเลน เพลงสกั วา เพลงเรอื เพลงฉอย ลเิ ก
ลําตัด ฟอ นเลบ็ หนงั ตะลงุ หมอลํา
พระราชประเพณีสบิ สองเดือน
พระราชพธิ ีสบิ สองเดือนเปนพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั
พระราชนพิ นธเ มือ่ พ.ศ. 2431 ตีพิมพใ นนิตยสารวชริ ญาณรายสปั ดาห จากนน้ั นาํ มารวบรวมเปนเลม
พระราชนพิ นธเ ลม น้นี ับเปนวรรณคดชี ้ินเอกเลมหน่ึงของไทย
พระราชพธิ ีสบิ สองเดอื น เปน ความเรยี ง เนอื้ เรอื่ งกลา วถงึ พระราชพิธีตา ง ๆ ที่กระทํา
ในแตล ะเดือนตลอดทงั้ ป ทรงอธิบายตําราเดิมของพระราชพิธีการแกไขเปล่ียนแปลง หรอื เลิกพิธี
เพอื่ ใหผ ูอา นไดรบั ความรูค วามเขา ใจเกย่ี วกับพระราชพธิ ีตัง้ แตตนปจนถงึ ปลายป ยกเวน พธิ เี ดอื น 11
ทมี่ ไิ ดร วมไว เน่อื งจากติดพระราชธุระจนไมไ ดแตง ตอ จวบสิน้ รัชสมยั ทรงศกึ ษาคนควา ขอ มลู ทงั้ จาก
ตําราและจากคําบอกเลาของบุคคล เชน พระมหาราชครูพราหมณผูทําพิธี และจากการสังเกต
เหตุการณท ่ที รงคนุ เคย นบั ไดวาหนังสือเลมนี้มีคณุ คา ทางดานสังคมศาสตร ทรงใชภาษาท่ีเขา ใจงา ย

110

และเขียนอธบิ ายตามลําดบั จากงา ยไปสยู าก จากอดีตมาสูปจจุบันเหมาะสมกับการเปนคําอธิบาย
ใหเ กดิ ความรูความเขาใจ และมีผูน ิยมนาํ พระราชพธิ สี บิ สองเดือนมาวาดเปนรูปภาพลงบนฝาผนัง
ตามวัดตาง ๆ ในสมยั รัตนโกสินทร

พระราชพิธีสิบสองเดือน เปนหนังสือที่อานไดไมยาก มีรายละเอียดของพระราชพิธี
ในสวนตาง ๆ อยางครบถว น นอกจากทรงเลา ถึงพระราชพิธตี ามตํารับโบราณแลว ยังทรงมีพระราชวินิจฉัย
ในเรือ่ งตาง ๆ ไดอ ยา งแยบยล พระราชนพิ นธเ ลม นี้เปนแบบอยา งของการเขยี นความเรยี งและตาํ รา
อางอิงที่สําคัญเก่ียวกับพระราชพิธีของไทย เม่ือสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
ไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯใหจ ดั ตั้งวรรณคดีสโมสรข้นึ พระราชนิพนธ พระราชพิธีสิบสองเดือน
ก็ไดรับการยกยอ งวา เปน “ยอดของความเรียงอธบิ าย”

7. ดา นการแตงกายและอาหาร
การแตงกาย การใชผ าเปนเครอ่ื งแตง กายนัน้ เดมิ คร้ังกรุงศรอี ยุธยาคงมีอยูระยะหนึ่ง
ท่ีมีระเบียบเครงครัดวา คนชั้นไหนใชผา ชนดิ ใดไดบ า ง หรือชนิดไหนใชไมไ ด ตอมาระเบียบน้ลี ะเวน
ไปไมเครงครัด จึงปรากฏวา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลท่ี 1 โปรดใหออก
พระราชบัญญัติ วาดวยการแตง กายการใชผา บังคับและหา มไวใหม อีกครั้งหน่ึง
จะเหน็ ไดวา การใชผา เครอื่ งประดับ ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน เปนการใชตาม
ฐานะรวมถงึ บรรดาศักด์ิ ตาํ แหนงหนาที่การงาน และตามสกลุ ผาในสมัยน้คี งใชสืบตอ แบบเดียวกับ
ที่ใชในสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ สวนหน่ึงเปนผาทอในประเทศ อีกสวนหนึ่งเปนผาสั่งเขามาจาก
ตางประเทศ ผา ไทย ไดแ ก ผา ยก ผาไหม ผา สมปก ผายกทองระกําไหม สมัยรัชกาลที่ 2 มีผาลาย
ซ่งึ เจา นาย และคนสามญั นยิ มใชจะตางกันตรงที่ลวดลายวา เปนลายอยาง หรือผาลายนอกอยาง
(ผา ซงึ่ คนไทยเขียนลวดลายเปนแบบอยาง สงไปพิมพในตางประเทศ โดยเฉพาะอินเดีย) ถาเปน
ของเจานายชั้นสูง ผาลายจะเขียนลายดวยสีทอง เรียกวา ผาลายเขียนทอง ใชไดเฉพาะระดับ
พระเจา แผน ดินถึงพระองคเ จาเทา นนั้ ผา ชนิดนี้นิยมใชเ ชน เดยี วกับผายก ผาท่ีนา สนใจอีกอยา งหนง่ึ
ของพวกเจา นาย คือ ผาใยบัว ผา กรองทอง และผา โขมพสั ตร พวกชาวบานท่วั ไป มักจะใชผ า ตาบวั ปอก
ผาดอก สม ดอกเทยี น ผา เล็ดงา ผาตามะกล่ํา ผา ตาสมุก ผาไหมมหี ลายชนิด เชน ผาไหมตาตาราง
ผาไหมตะเภา การเพิม่ ความงามใหแ กเสื้อผา ที่ใช นอกจากปก ไหมเปน ลวดลายตา ง ๆ แลว ก็มีการปก
ดวยทองเทศ ปกดวยปกแมลงทับ ซึ่งใชปกท้ังบนผาทรงสะพัก ผาสมรด หรือผาคาดเอว และเชิง
สนับเพลาของเจานายผูชาย

111

การแตงกายไทยในสมัยรัตนโกสินทรน ้นั แบง ไดตามสมยั ในชว งรชั กาลตา ง ๆ ไดด งั ตอ ไปน้ี
รชั กาลที่ 1 - รชั กาลที่ 3
การแตงกายของผหู ญิง : ผูห ญงิ จะนุง ผา จีบ หมสไบเฉยี ง ตัดผมไวปกประบา กันไรผม

วงหนาโคง หากเปนชาวบา นอาจนงุ ผาถงุ หรือโจงกระเบน สวมเส้ือรัดรปู แขนกระบอก หม ตะเบงมาน
หรือผา แถบคาดรดั อก แลว หม สไบเฉียง

การแตง กายของผูช าย : ผชู ายจะนุงผา มวง โจงกระเบน สวมเส้ือนอกคอเปด ผา อก
กระดุม 5 เม็ด แขนยาวหากเปนชาวบานจะไมสวมเส้ือการแตงกายของชาววังและชาวบาน
จะไมแตกตางกันมากจะมีแตกตางกันก็ตรงสวนของเนื้อผาท่ีสวมใสซึ่งหากเปนชาววังแลวจะ
หมผาไหมอยางดี ทอเนื้อละเอียด เลนลวดลายสอดดิ้นเงิน - ด้ินทอง สวนชาวบานท่ัวไปจะนุงผา
พนื้ เมือง หรอื ผาลายเน้อื เรยี บ ๆ หากเปน ราษฎรทว่ั ไปทีม่ อี าชีพเกษตรกร ทาํ ไร ทาํ นาแลวจะนงุ ผา
ในลักษณะถกเขมร คือ จะนงุ เปนโจงกระเบนแตจะถกส้ันขนึ้ มาเหนือเขา เพ่อื ความสะดวก ไมส วมเสื้อ
หากอยบู านจะนุงลอยชาย หรือโสรง แลวมผี าคาดพงุ แตถาแตงกายไปงานเทศกาลตาง ๆ มักนุงโจงกระเบน
ดวยผาแพรสีตาง ๆ และหมผาคลองคอปลอยชายทั้งสองยาวไวดานหนาการตัดผมของสตรีสาว
จะตัดผมทรงดอกกระทุม ปลอยทายทอยยาวถึงบา หากเปนผูใหญแลวจะตัดผมปกแบบ
โกนทา ยทอยสัน้

ภาพ : การแตง กายสมัยรชั กาลท่ี 1 -รชั กาล 3

สมยั รชั กาลที่ 4
เน่ืองจากสมัยโบราณคนไทยไมนิยมสวมเสื้อแมแตเวลาเขาเฝา ในสมัยรัชกาลที่ 4
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูหัว จงึ ประกาศใหข าราชการสวมเส้อื เขา เฝา และทรงสนบั สนนุ
ใหมีการศกึ ษาภาษาองั กฤษ จึงทาํ ใหม ีการรบั วฒั นธรรมตะวันตกเขามา การแตงกายของสตรีจึงมี
การเปลี่ยนแปลงไป

112

การแตงกายของผหู ญิง : ผูหญิงจะนงุ ผา ลายโจงกระเบน หรอื นุงผาจีบ ใสเสื้อแขนยาว
ผา อก ปกคอตั้งเต้ีย ๆ (เสื้อกระบอก) แลวหมผาแพรสไบจีบเฉียงทับบนเส้ือ ตัดผมไวปกเชนเดิม
แตไมยาวประบา

การแตง กายของผูชาย : ผชู ายจะนงุ ผามว งแพรโจงกระเบน สวมเสอ้ื เปดอกคอเปด
หรอื เปน เสื้อกระบอกแขนยาว เรอื่ งของทรงผมผูชายยังไวทรงมหาดไทยอยู สวนรัชกาลท่ี 4 จะไมทรงไว
ทรงมหาดไทย

ภาพ : การแตง กายสมยั รชั กาลท่ี 4

สมัยรชั กาลที่ 5
ในสมัยรัชกาลท่ี 5 น้ี ถือเปนยุคแหงการเปลี่ยนแปลงการแตงกายของคนไทย
เนื่องจากรัชกาลที่ 5 ทรงเสด็จประพาสยุโรปและมีการนําแบบอยางการแตงกายของชาวยุโรป
กลับมาประยุกตใชในประเทศไทยอีก ทั้งในสมัยนี้ยังมีกําเนิดชุดช้ันในรุนแรกที่ดัดแปลงจาก
เส้ือพริ้นเซส ซึ่งตอมาไดพัฒนาใหเปนเสื้อชุดช้ันในที่เรียกวา เสื้อคอกระเชาท่ียังคงเปนที่รูจักกัน
ในปจจุบันนี้
การแตง กายของหญิง : ผูหญงิ จะนงุ ผาลายโจงกระเบน เส้อื กระบอก แขนยาว ผาอก
หมผาแพร จบี ตามขวางสไบเฉียงทับบนเสอ้ื อกี ชั้นหนงึ่ ถา อยูบา นจะหมแตส ไบ ไมสวมเสื้อ เม่ือมีงาน
พิธจี ะนุงหม ผาตาด เลกิ ไวผ มป และหันมาไวผ มยาวประบา
การแตงกายของชาย : ผชู ายจะนงุ ผามว งโจงกระเบน สวมเสอื้ ราชปะแตน สวมหมวก
หางนกยูง ถือไมเทาและไวผมรองทรง หากไปงานพิธีจะสวมถุงเทาและรองเทาดวยการสวมเสื้อ
แพรสจี ะสวมตามกระทรวงและหมวดตาง ๆ ดังนี้

113

1) ชน้ั เจา นาย สวมเสอ้ื สีไพล
2) ช้นั ขุนนางกระทรวงมหาดไทยสวมเสอ้ื แพรสีเขียวแก
3) ชั้นขุนนางกระทรวงกลาโหมสวมเสื้อแพรสีลกู หวา
4) ชั้นขนุ นางกรมทา (กระทรวงตางประเทศ) เสื้อแพรสีนาํ้ เงนิ (สกี รมทา )
5) ชั้นมหาดเล็กสวมเสอ้ื แพรสเี หล็ก
6) พลเรอื น สวมเสื้อปก เปน เสือ้ คอปด มีชายไมย าวมาก คาดเข็มขัดไวน อกเสือ้

ภาพ : การแตงกายสมัยรชั กาลท่ี 5 ตอนตน

ภาพ : การแตง กายสมยั รชั กาลท่ี 5 ตอนกลาง

114

ภาพ : การแตง กายสมยั รชั กาลท่ี 5 ตอนปลาย

สมัยรชั กาลที่ 6
การแตงกายของหญิง : ผูหญิงเร่ิมมีการนุงผาซ่ินตามพระราชนิยม สวมเส้ือแพร
โปรงบาง หรือผาพิมพดอกคอกวางขึ้น หรือแขนเสื้อสั้นประมาณตนแขน ไมมีการสะพายแพร
สว นทรงผมจะไวยาวเสมอตน คอ ตดั เปน ลอน หรอื เรียกวา ผมบอบมีการดัดผมดานหลังใหโคงเขา
หาตน คอเลก็ นอยนิยมคาดผมดวยผาหรือไขม ุก
การแตง กายของชาย : ผูช ายยงั คงนงุ ผามว งโจงกระเบน สวมเสอ้ื ราชปะแตน แตเรม่ิ มี
การนุง กางเกงแบบชาวตะวันตกในภายหลัง แตป ระชาชนธรรมดาจะนุงกางเกงผาแพรของจนี สวมเสอ้ื
คอกลมสีขาว (ผา บาง)

ภาพ : การแตงกายสมยั รชั กาลที่ 6

115

สมัยรชั กาลที่ 7
การแตงกายของหญิง : ผูหญิงเลิกนุงโจงกระเบน แตจะนุงเปนผาซิ่นแคเขา สวมเส้ือ
ทรงกระบอก ไมมีแขนไวผมสนั้ ดัดลอน ซึง่ จะดดั ลอนมากข้นึ
การแตง กายของชาย : ผูช ายจะนงุ กางเกงเปนสีตา ง ๆ แตขาราชการจะนุงผามวง
หรอื สีน้ําเงินสวมเส้ือราชปะแตน สวมถุงเทาและรองเทา แตในป พ.ศ. 2475 มีการเปลี่ยนแปลง
ระบอบการปกครองเปนระบอบประชาธปิ ไตย ทาํ ใหอ ารยธรรมตะวันตกมีอิทธพลตอ การแตงกายของ
คนไทยมากขนึ้ ผูช ายจึงจะมกี ารนงุ กางเกงขายาวแทนการนุงผามวง แตถึงอยางไรสามัญชนท่ัวไป
ยังคงแตง กายแบบเดมิ คอื ผชู ายสวมกางเกงแพรหรือกางเกงไทยสวมเส้ือธรรมดา ไมสวมรองเทา
สว นผหู ญิงสวมเส้อื คอกระเชาเกบ็ ชายไวใ นผา ซ่ินหรือโจงกระเบนเวลาออกนอกบานจึงแตงกายสุภาพ

ภาพ : การแตงกายสมัยรชั กาลท่ี 7

สมัยรชั กาลที่ 8
โดยสรปุ แลวในสมัยน้จี ะมกี ารแตงกายท่เี ปนสากลมากยง่ิ ขึน้ อีกทงั้ ยงั เปนยุครฐั นยิ ม
ซึ่งจอมพล ป. พิบลู สงคราม ไดก ําหนดเครอ่ื งแตง กายออกเปน 3 ประเภท
1) ใชใ นทชี่ มุ ชน
2) ใชท าํ งาน
3) ใชตามโอกาส
ผูหญิงจะสวมเสื้อแบบไหนก็ได แตตองคลุมไหลมีการนุงผาถุง แตตอมาจะเร่ิมนุง
กระโปรง หรือผาถงุ สาํ เรจ็ สวมรองเทา สวมหมวกและเลิกกินหมาก สวนผูชายจะสวมเส้ือมีแขน คอปด
หรอื จะเปด กไ็ ด

116

ภาพ : การแตง กายสมัยรชั กาลที่ 8

สมยั รชั กาลที่ 9 รชั กาลที่ 10 จนถงึ ปจ จุบัน
ผาไทยแมจะเสื่อมความนิยมไปบางในบางเวลา แตก็ยังเปนท่ีนิยมอยูในปจจุบัน
กลาวไดว า ดว ยพระมหากรุณาธิคณุ ของสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ (ในรัชกาลที่ 9)
ที่ทรงสนพระราชหฤทัยสนับสนุนการทอผาพ้ืนเมือง โดยเฉพาะการทอผามัดหมี่ของภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ใหแพรหลาย เปนท่ีรูจกั อยางมาก ทงั้ ในประเทศ และตางประเทศ เปนผลให
เกิดการตื่นตัวท่ีจะอนุรักษ และพัฒนาการทอผาพ้ืนเมืองในภูมิภาคอ่ืน ๆ ของไทยเราให
เจริญกา วหนายง่ิ ขึ้น เปน ทน่ี ยิ มของคนไทย ซื้อหานาํ มาใชโ ดยทัว่ ไปอีกดวยสมเด็จพระนางเจา สิรกิ ติ ิ์
พระบรมราชินนี าถ (ในรชั กาลที่ 9) ทรงสนพระราชหฤทยั สนบั สนุนการทอผาพื้นเมือง โดยเฉพาะ
ผามัดหมขี่ องภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใหเ ปน ทีร่ จู กั กันอยา งแพรห ลาย
ขอความแตโ บราณที่วา “ผูหญิงทอผา” น้ันเหมาะอยางย่ิงสําหรับคนไทย เพราะ
แสดงถึงวัฒนธรรมอันสูงสง ท่ีไทยเรามีบรรพบุรษุ ซง่ึ ปราดเปรื่อง คดิ ประดิษฐกรรมวธิ ีการทอผา ทงั้
ผาฝาย และผาไหมไดอยางดีเลิศ และคิดวิธีไดหลากหลาย ไมวาจะทอผาพื้น หรือทอใหเกิด
ลวดลายตาง ๆ ดวยวธิ ีที่เรียกวา ยก จก ขิด มัดหม่ี และลวง เปนตน และวัฒนธรรมนี้ ไดรับการ
สืบทอดตอมา นานนับรอ ยพนั ปจนเปน เอกลกั ษณท ีโ่ ดดเดน
ชุดไทยแบบด้ังเดิมนั้นแทบจะสูญหายไป ชุดไทยพระราชนิยมเกิดจากพระราช
เสาวนียข องสมเด็จพระนางเจาสริ ิกิตติ์พระบรมราชินีนาถ (ในรัชกาลที่ 9) เพอ่ื หาแบบชดุ ไทยทร่ี วม
สมัยเพ่ือทรงในระหวางเสด็จประพาสยุโรป โดยศึกษาคนควาจากภาพถายเกาและออกแบบ
ปรับปรุงใหเขา กับสมัยนยิ มมีทงั้ สิน้ 8 แบบ ดงั นี้

117

1) ไทยเรือนตน ใชแ ตง ในงานท่ีไมเปนพิธี และตองการความสบาย เชน ไปเท่ียว
2) ไทยจิตรลดา เปน ชดุ ไทยพธิ ีกลางวนั ใชรบั ประมขุ ตา งประเทศเปนทางการหรืองาน
สวนสนาม
3) ไทยอมรนิ ทร สําหรบั งานเลี้ยงรับรองตอนหวั คาํ่ อนุโลมไมคาดเขม็ ขดั ได
4) ไทยบรมพมิ าน ชดุ ไทยพธิ ตี อนคํา่ คาดเขม็ ขดั
5) ไทยจักรี คือ ชดุ ไทยสไบ
6) ไทยดุสิต สําหรับงานพิธตี อนคํา่ จดั ใหสะดวกสาํ หรับสวมสายสะพาย
7) ไทยจักรพรรดิ เปน แบบไทยแท
8) ไทยศิวาลยั เหมาะสําหรับเม่ืออากาศเยน็

ภาพ : การแตงกายสมัยรชั กาลที่ 9 - รัชกาลที่ 10

อาหารในสมัยรตั นโกสนิ ทร
อาหารไทยมีจุดกาํ เนิดพรอมกับการต้ังชนชาติไทย และมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง
สมยั รัตนโกสนิ ทรมีการจาํ แนกความเปนมาของอาหารไทยเปน 2 ยุค คือ ยุคสมัยรัชกาลท่ี 1 จนถึง
รชั กาลท่ี 3 และยุคสมัยรชั กาลที่ 4 จนถงึ ปจ จุบนั
สมยั รัตนโกสนิ ทร ยุคท่ี 1 (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2394)
อาหารไทยในยุคตนรัตนโกสินทร มีลักษณะเดียวกับยุคสมัยธนบุรี คือ นอกจาก
มอี าหารคาว และอาหารหวานแลว ยังมอี าหารวา ง เปน อาหารทีเ่ กิดขึน้ จากอิทธิพลทางวัฒนธรรม
อาหารของประเทศจีน ตอมามีการปรับเปลี่ยนดัดแปลงจนกลายเปนอาหารไทย นอกจากน้ี

118

จดหมายความทรงจําของกรมหลวงรินทรเทวี ไดกลาวถึงเคร่ืองตั้งสํารับคาวหวานของพระสงฆ
ในงานสมโภชพระพุทธมณีรตั นมหาปฏิมากร (พระแกวมรกต) แสดงใหเห็นวารายการอาหารในยุคนี้
นอกจากจะมีอาหารไทย เชน ผัก นํ้าพริก ปลาแหง และหนอไมผัด แลวยังมีอาหารท่ีปรุงดวย
เครื่องเทศแบบอสิ ลาม มีอาหารจนี ซงึ่ ใชเน้อื หมใู นการประกอบอาหาร สาํ หรบั อาหารประเภทผดั ผกั
ท่ีใชไฟแรงทุกชนิด คนไทยรับวัฒนธรรมการปรุงอาหารมาจากชาวจีน ที่อพยพเขามาอาศัยหรือ
เดนิ ทางมาคาขายในประเทศไทย ในสมยั ตน รตั นโกสนิ ทร โดยคนไทยสามารถหาซ้ือกระทะเหล็กได
จากคนจีนที่นําสินคา มาขายในประเทศไทยทางเรอื (สําเภาจีน) นอกจากนี้ การเผยแพรวัฒนธรรม
การรับประทานอาหารจากชาวตะวันตกทเี่ ขามาเผยแพรศาสนา กท็ าํ ใหค นไทยเริม่ รับประทานอาหาร
ตะวันตก เชน ขนมปง ไข เน้ือ เนย และนม เปน ตน

บทพระราชนิพนธ “กาพยเหเรือชมเคร่ืองคาวหวาน” ของพระบาทสมเด็จ
พระพทุ ธเลิศหลานภาลัย ไดทรงกลาวถึงอาหารคาวและอาหารหวานหลายชนิด ซ่ึงสะทอนภาพ
ของอาหารไทยในราชสํานกั ไดอ ยางชัดเจนท่ีสุด และสามารถแสดงใหเห็นถึงลักษณะของอาหารไทย
ในราชสาํ นกั ท่ีมีการปรุงกลิน่ และรสอยา งประณตี โดยใหความสําคญั กับรสชาตอิ าหารมากเปนพิเศษ
และถือวาเปนยุคสมยั ทมี่ ศี ลิ ปะการประกอบอาหารท่ีคอ นขางโดดเดนที่สุด ทั้งในดา นรูป รส กล่ิน สี
และการตกแตง ใหเกิดความสวยงาม รวมทงั้ มีการพัฒนาอาหารนานาชาติ ใหเ ปน อาหารไทยตวั อยา ง
อาหารคาว เชน แกงชนดิ ตาง ๆ เครือ่ งจมิ้ และยาํ ทกุ ประเภท ตัวอยา งอาหารวางคาว เชน หมแู นม
ลาเตียง หรุม รังนก และอาหารวางหวาน เชน ขนมดอกลําเจียก และขนมผิง รวมทั้งขนมที่
รบั ประทานกับน้ําหวานและกะทิเจืออยูด ว ย เชน ซาหริ่ม และบวั ลอย เปนตน

ภาพ : อาหารคาว

นอกจากน้ี วรรณคดไี ทย เรอ่ื งขุนชา งขุนแผน จัดวาเปนวรรณคดีที่สะทอนวิถีชีวิต
ของคน รวมท้ังสะทอนถึงวัฒนธรรมการรับประทานอาหารชาวบาน ที่พบวามีความนิยม
รับประทานขนมจีนน้ํายา และมีการรับประทานขาวเปนอาหารหลักรวมกับกับขาวประเภทตาง ๆ
ไดแก แกง ตม ยํา และคว่ั โดยอาหารมคี วามหลากหลายมากขึ้นทัง้ อาหารคาว และอาหารหวาน

119

สมยั รัตนโกสนิ ทร ยคุ ที่ 2 (พ.ศ. 2394 - ปจ จุบนั )
ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศไทยมีการพัฒนาดานความเจริญกาวหนาทาง
เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีเปนอยางมาก และมีการต้ังโรงพิมพข้ึนเปนแหงแรกในประเทศไทย
ดังนัน้ ตํารบั อาหารการกินของไทยจึงเริ่มมีการบนั ทกึ มากข้ึน ซ่ึงขอ มูลเหลานไ้ี ดบอกเรือ่ งราว และ
ลกั ษณะของอาหารไทยทม่ี คี วามหลากหลายในชวงเวลาตาง ๆ ทั้งทเี่ ปนวิธีการปรุงของราชสํานัก
และวธิ ีการปรงุ แบบชาวบา นทสี่ บื ทอดมาจนถงึ ปจ จบุ นั นอกจากน้สี มัยรัชกาลที่ 4 มกี ารตงั้ โรงสขี า วขนึ้
ทาํ ใหเมลด็ ขาวมสี ีขาว สวย และแตกหกั นอ ยลง คนไทยจงึ คอย ๆ เลิกตําขาวกินเอง และหนั มาซอ้ื ขา ว
จากโรงสีแทน ตอมามีการเลี้ยงสัตวขายเปนอาชีพ มีโรงฆาสัตว ทําใหการซ้ือหาเนื้อสัตวมาปรุง
อาหารไดรบั ความนยิ มมากขึ้น สงผลใหเนื้อสัตวใหญเขามามีบทบาทในสํารับอาหารไทย ในเวลา
ตอมา การใชเคร่ืองเทศหลายชนิด เพ่ือดับกล่ินคาวของเนื้อสัตวท่ีนํามาปรุงอาหารก็เกิดข้ึนในชวงน้ี
แมคนไทยจะใชเ ครอื่ งเทศบางอยาง เชน ขิง และกระชาย เพื่อดับกล่ินคาวปลามานานแลวก็ตาม
แตเมื่อมีการนําเน้ือสัตวประเภทวัว และควายมาปรุงอาหาร คนไทยจึงไดคิดและดัดแปลงการใช
เครอื่ งเทศหลายชนดิ กบั เนอื้ สตั วเ หลาน้นั และสรางสูตรอาหารใหม ๆ ข้นึ มากมาย

กจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 2 มรดกไทยสมยั รตั นโกสินทร
(ใหผ ูเรยี นไปทาํ กิจกรรมทา ยเรือ่ งที่ 2 ท่สี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)

เรือ่ งท่ี 3 มรดกไทยทม่ี ผี ลตอ การพฒั นาชาตไิ ทย
คุณคา ของภูมิปญ ญาไทย ไดแก ประโยชน และความสําคัญของภมู ิปญ ญาท่บี รรพบรุ ษุ ไทย

ไดสรางสรรค และสืบทอดมาอยางตอเนื่อง จากอดีตสูปจจุบัน ทําใหคนในชาติเกิดความรัก และ
ความภาคภูมิใจ ท่ีจะรวมแรงรวมใจสืบสานตอไปในอนาคต เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ
สถาปต ยกรรม ประเพณไี ทย การมนี ํ้าใจ ศกั ยภาพในการประสานผลประโยชน เปนตน ภูมิปญ ญาไทย
จงึ มีคณุ คา และความสําคญั ดงั นี้

1. สรา งความภาคภูมิใจ และศักดิ์ศรี เกยี รตภิ มู แิ กค นไทย
คนไทยในอดีตทีม่ ีความสามารถ ปรากฏในบนั ทกึ ประวตั ศิ าสตร เปน ทยี่ อมรบั ของ

นานาอารยประเทศ เชน
มรดกทางภาษาและวรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเปนของตนเองตั้งแตสมัยกรุง

สุโขทยั และมวี ิวัฒนาการมาจนถึงปจจุบนั วรรณกรรมไทย ถือวาเปนวรรณกรรมท่ีมีความไพเราะ
ไดอ รรถรสครบทุกดาน วรรณกรรมหลายเรอ่ื งไดร บั การแปลเปนภาษาตา งประเทศหลายภาษา

120

ดานอาหาร อาหารไทยเปนอาหารท่ีปรงุ งาย อาหารสวนใหญเปนพืชสมุนไพร
ทห่ี าไดงายในทองถ่ิน ราคาถูก มีคุณคาทางโภชนาการสูง และยังปองกันโรคไดหลายโรค เพราะ
สว นประกอบสว นใหญเปนพืชสมุนไพร เชน ตะไคร ขิง ขา กระชาย ใบมะกรดู ใบโหระพา ใบกะเพรา
เปนตน

2. สามารถปรับประยกุ ตห ลกั ธรรมคาํ สอนทางศาสนา ใชก ับวถิ ีชวี ิตไดอยา งเหมาะสม
คนไทยสวนใหญน ับถือศาสนาพทุ ธ โดยนาํ หลักธรรมคําสอนของศาสนา มาปรับ

ใชในวิถชี วี ิตไดอ ยางเหมาะสม ทาํ ใหค นไทยเปนผอู อนนอมถอ มตน เอือ้ เฟอ เผื่อแผ ประนีประนอม
รกั สงบ ใจเยน็ มีความอดทน ใหอภัยแกผูสํานึกผิด ดํารงวิถีชีวิตอยางเรียบงาย ปกติสุข ทําใหคน
ในชมุ ชนพึ่งพากันได ทั้งหมดนี้สบื เนื่องมาจากหลักธรรมคาํ สอนของพระพทุ ธศาสนา เปน การนาํ เอา
หลกั ของพระพุทธศาสนามาประยุกตใชกับชีวิตประจําวัน และดําเนินกุศโลบายดานตางประเทศ
จนทําใหช าวพุทธท่ัวโลกยกยองใหประเทศไทยเปนผนู าํ ทางพทุ ธศาสนา

3. สรางความสมดุลระหวางคนในสังคม และธรรมชาติไดอยางย่ังยืน
มรดกไทยมคี วามเดน ชดั ในเรอ่ื งของการยอมรบั นับถอื และใหความสาํ คญั แกค นสังคม

และธรรมชาติอยางยิ่ง มีสิ่งท่ีแสดงใหเห็นไดอยางชัดเจนมากมาย เชน ตลอดทั้งปมีประเพณีไทย
12 เดือน ลวนเคารพคณุ คาของธรรมชาติ ไดแก ประเพณีสงกรานต ประเพณลี อยกระทง เปน ตน

วิถีชีวิตความเปนอยูของคนไทยลวนมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับธรรมชาติ
ส่ิงแวดลอ ม ซง่ึ จะสะทอ นภาพชวี ติ แบบไทย ทั้งในดา นความเปน อยู ทศั นคติ คา นิยม และความเชื่อ
เชน “บาน” หรอื “เรอื น” การสรางบา นในอดตี มีการกอสรางทอี่ ยูอาศยั โดยคาํ นงึ ถงึ สภาพอากาศ
สภาพภูมิประเทศ และความเหมาะสมของทาํ เลท่ีต้ัง ถึงแมวาปจ จบุ นั การดําเนินชีวิตและรปู ลกั ษณ
ของบานจะแปรเปลี่ยนไป ชีวติ ในบานของคนไทยยังไมเ ปล่ยี นแปลงไปมากนกั ซึง่ คา นิยมบางประการ
ยงั คงดําเนินการสืบทอดจากคนรนุ หนง่ึ สคู นอีกรุน หน่ึงอยา งตอเนื่อง

ดังจะเหน็ ไดว า ลักษณะของบานเรือนชี้ใหเ หน็ ถงึ ภมู ปิ ญ ญาของคนโบราณ ทง้ั ชาง
ปลกู บานและชางออกแบบ ท่ีปลกู บา นเพ่ือประโยชนและความตองการใชส อย ทั้งนี้ คนไทยสวนใหญ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแก ทาํ สวน ทาํ นา ทําไร ทาํ ประมง แมนํ้าลําคลองจึงเปรียบเสมือน
เสน โลหิตหลอเล้ียงชีวิต เปนทั้งแหลงอาหาร แหลง พักผอน และเปนเสนทางคมนาคมต้ังแตอ ดีต
จนถึงปจจุบัน ซ่ีงจะสรุปไดวาวิถีชีวิตของคนไทยมีความสมดุลกันท้ังอาชีพ ที่อยูอาศัย และ
ธรรมชาตไิ ดอยางลงตัว

กิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 3 มรดกไทยท่ีมผี ลตอการพฒั นาชาตไิ ทย
(ใหผ เู รยี นไปทาํ กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 3 ท่สี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)

121

เรอ่ื งท่ี 4 การอนุรกั ษมรดกไทย
ประเทศไทย เปนประเทศที่มีเอกลักษณอันโดดเดนทางดานมรดกทางวัฒนธรรม

ทบ่ี รรพบุรษุ ไดส รา งสรรคเ อาไวมากมาย ไมวาจะเปนโบราณวตั ถุ ศิลปวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม
ศลิ ปหัตถกรรม นาฏศลิ ป ดนตรี ตลอดจนการดําเนินชวี ิต และประเพณีตาง ๆ ที่สืบทอดตอ ๆ กันมา
ยาวนาน จนกลายเปน มรดกไทยอนั ทรงคณุ คา และเปน จุดเดน ของประเทศไทย แตในปจจุบันมรดกไทย
ไดรบั ผลกระทบจากความเปล่ยี นแปลงของสังคมทง้ั ภายในประเทศ และจากตางประเทศ อีกทั้งมี
การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สงผลมรดกไทยอันทรงคุณคาของไทยบางสวนตองเส่ือมสญู ไป
อยา งนาเสียดาย

ดงั นน้ั ประชาชนทกุ คนจึงควรรวมกนั อนุรกั ษมรดกไทย ตลอดจนใหขอมูล ความรู
คําแนะนาํ แกค นรนุ หลังในการสงเสริมใหรูคณุ คา ของมรดกทีไ่ ดรบั การสืบทอดตอไปอยางไมสิ้นสุด
ซึ่งนอกจากความภาคภูมิใจในมรดกไทยแลว ยังมคี ุณคาท่ีเปนประโยชนตอการพัฒนาการศึกษา
ทางดานประวตั ิศาสตร ศลิ ปะศาสตร สุนทรียศาสตร ชาติพันธุวิทยา และมานุษยวิทยา อีกท้ังยัง
สงเสริมการพฒั นาเศรษฐกจิ ของชุมชน และประเทศผา นทางการทองเทย่ี ว ของชาตติ ลอดมา

ความหมาย
การอนรุ ักษมรดกไทย คือ การท่ีคนรุนหลังตระหนัก และเห็นถึงความสําคัญของ

สง่ิ ทีบ่ รรพบุรษุ ไดส รา งขึ้น โดยการอนุรักษนน้ั จะทาํ ในเชงิ ปฏบิ ตั ิ คอื การดแู ลรกั ษาและการสบื สาน
วฒั นธรรมนน้ั ๆ ไมใ หหายไป ซึ่งการอนุรักษเปนเหมือนเครื่องชวยยึดเหนี่ยวจิตใจ ทําใหเกิดการ
หวงแหนในมรดกของตน กอใหเกิดเปนความรักและความผูกพัน อีกทั้งยังสงเสริมใหเกิดความ
สามัคคีอีกดว ย

โดยสรุปการอนุรกั ษม รดกเปน สงิ่ สําคญั ที่คนรุนหลัง ควรใสใจหรอื ตระหนักถงึ ใหม าก
เพราะมรดกจะส่ือถึงความเปนเอกลักษณข องชนชาติน้นั ๆ และยงั กอใหเ กดิ ความผูกพันหรือความรัก
ในชาตขิ องตน สง ผลไปถึงการสรางจิตสาํ นกึ ทีด่ ใี นการรักชาติ ซึง่ เปนสงิ่ สาํ คญั ในการคงอยขู องชาตนิ ้นั ๆ
สามารถทาํ ได คอื การสะสมและการสบื ทอดมรดกทางวัฒนธรรมใหคงอยูตอ ไป

ความสาํ คญั ของการอนรุ ักษม รดกไทย

มรดกไทย คือ มรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงออกถึงสัญลักษณของความเปนชาติ
ซ่ึงไดแก โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม ศิลปหัตถกรรม นาฏศิลปและดนตรี
ตลอดจนถึงการดาํ เนินชีวติ และคุณคาประเพณตี าง ๆ อันเปนผลผลิตรว มกันของผคู นในผนื แผนดนิ
ในชว งระยะเวลาที่ผา นมา

122

ประเทศไทยเปนประเทศทีม่ ีศลิ ปวัฒนธรรมทเ่ี ปนเอกลักษณอ ันโดดเดนมาเปน เวลา
ชา นาน ศิลปวัฒนธรรมไทยนับวาเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง ทจี่ ะหลอหลอมชาวไทยในภูมิภาคตาง ๆ
ใหเ กิดความสมานฉันทเปน อนั หน่ึงอันเดียว แตเน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมท่ีเปนไปอยาง
รวดเร็ว มีผลทําใหมรดกทางวัฒนธรรมในแขนงตาง ๆ นับต้ังแตโบราณวัตถุ โบราณสถาน
วรรณกรรม ศลิ ปกรรม นาฏศลิ ป ดนตรี ตลอดจนวิธกี ารดาํ เนินชวี ติ คานิยมและระบบประเพณตี า ง ๆ
ในทองถ่ินไดรับผลกระทบและถูกละเลยทอดท้ิง ประชาชนชาวไทยตองตระหนักและนึกถึง
ความจําเปน และความสําคญั ในการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมของชาติ เพ่ือใหทกุ คนเกิดแนวคิดที่จะ
ทาํ นุบํารุงรักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศลิ ปวัฒนธรรมแขนงตาง ๆ ใหมีการสืบทอดตอ ไป

กิจกรรมทายเร่อื งที่ 4 การอนุรกั ษมรดกไทย
(ใหผ ูเรียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 4 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

เรื่องท่ี 5 การมีสวนรว มในการอนรุ กั ษมรดกไทย
การมสี วนรวมในการอนรุ กั ษมรดกไทย ไดแ ก
1. คน ควา วิจัย ศึกษา และเกบ็ รวบรวมขอมลู
2. การอนรุ ักษโดยการปลกู จติ สํานกึ และสรา งจติ สาํ นึกทต่ี องรว มกนั อนรุ ักษ
3. การฟน ฟูโดยเลือกสรรมรดกทางวฒั นธรรมทกี่ าํ ลงั สูญหาย หรือที่สญู หายไปแลว

มาทําใหมคี ุณคา และมีความสาํ คญั ตอ การดําเนินชวี ิต
4. การพฒั นาโดยรเิ ริม่ สรางสรรค และปรบั ปรุงมรดกทางวฒั นธรรมในยุคสมัย ใหเ กดิ

ประโยชนใ นชวี ิตประจําวัน
5. การถา ยทอดโดยนาํ มรดกทางวัฒนธรรมมาเลือกสรร กลัน่ กรอง ดวยเหตแุ ละผล

อยางรอบคอบ และรอบดา น แลวไปถายทอดใหคนในสงั คมรับรู
6. การสงเสริมกิจกรรมโดยการสงเสรมิ สนับสนนุ ใหเกดิ เครือขายการสืบสานมรดก

ทางวฒั นธรรม
7. การเผยแพรแ ละแลกเปลย่ี นโดยการสงเสริม สนับสนุน ใหเกิดการเผยแพรและ

แลกเปลย่ี นมรดกทางวฒั นธรรม อยางกวางขวางดว ยสอ่ื และวธิ กี ารตาง ๆ

กิจกรรมทายเรือ่ งที่ 5 การมสี ว นรวมในการอนรุ กั ษม รดกไทย
(ใหผ เู รียนไปทาํ กจิ กรรมทา ยเรอื่ งที่ 5 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

123

หนว ยการเรยี นรูท ี่ 5
การเปล่ยี นแปลงของชาตไิ ทยสมัยรตั นโกสนิ ทร

สาระสาํ คญั
การเปล่ียนแปลงของชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร ไดกลาวถึง เหตุการณสําคัญทาง

ประวตั ศิ าสตรท ม่ี ีผลตอการพฒั นาชาตไิ ทย ในเร่ืองการสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสนิ ทร สนธสิ ญั ญา
เบาวร ิง การปฏิรปู การปกครองในสมยั รชั กาลที่ 5 การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และ
สมัยจอมพล ป. พิบลู สงคราม มกี ารเปลีย่ นแปลงรูปแบบการปฏบิ ัติทางวฒั นธรรม แสดงใหเห็นถึง
ความเปนชาตทิ ี่มีอารยธรรม

ตวั ชวี้ ัด

1. วเิ คราะหเ หตุการณส าํ คญั ทางประวตั ิศาสตรท ่ีมีผลตอการพฒั นาชาติไทย
2. อภิปรายและนําเสนอเหตกุ ารณสําคญั ทางประวัติศาสตรท่มี ผี ลตอการพฒั นาชาตไิ ทย

ขอบขา ยเน้ือหา
1. เหตุการณส ําคัญทางประวัตศิ าสตรทมี่ ผี ลตอ การพัฒนาชาติไทย

1.1 การสถาปนาอาณาจกั รรัตนโกสินทร
1.2 สนธสิ ัญญาเบาวร ิง

1.3 การปฏริ ูปการปกครองในสมัยรชั กาลท่ี 5
1.4 การเปลย่ี นแปลงการปกครอง 2475

1.5 ความเปนชาติไทยสมยั จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม
2. ตัวอยางการวเิ คราะหและอภปิ รายเหตกุ ารณส ําคญั ทางประวัติศาสตรท่ีมีผลตอ

การพัฒนาชาตไิ ทย

ส่อื การเรียนรู
1. ชดุ วิชาประวัติศาสตรช าติไทย รหสั รายวิชา สค32034
2. สมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา

เวลาทใ่ี ชใ นการศึกษา 18 ช่วั โมง

124

เรอื่ งท่ี 1 เหตกุ ารณส าํ คญั ทางประวตั ิศาสตรที่มีผลตอ การพฒั นาชาติไทย

ปจจัยท่ีมีผลตอการสถาปนาอาณาจักรไทยนับต้ังแตสมัยสุโขทัย จนถึงสมัย
รัตนโกสินทรปจจุบัน เปนอาณาจักรตอเนื่องกัน นับเวลามานานกวา 700 ป มีปจจัยท่ีสงผลตอ
การสถาปนาอาณาจกั รไทย ไดแก ปจ จัยดานภมู ิศาสตร และปจจัยดานการเมือง

1.1 การสถาปนาอาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร (พ.ศ. 2325 - ปจ จบุ ัน)
อาณาจักรรตั นโกสนิ ทร เปน ราชธานีเริ่มตง้ั แตการยายเมอื งหลวงเดิมจากกรงุ ธนบุรี

มายงั กรุงเทพมหานคร ซงึ่ ตัง้ อยบู นฝง ตะวนั ออกของแมน ํ้าเจาพระยา ปจ จัยที่มผี ลตอการสถาปนา
อาณาจักรรตั นโกสนิ ทร ดังน้ี

ดานภมู ิศาสตร เปนพื้นท่รี าบลุมกวางใหญเหมาะแกการเพาะปลกู และใกลปากอาวไทย
เหมาะสมแกการตดิ ตอ คา ขายกับชาวตา งประเทศ

ดา นการเมอื ง ในชวงปลายสมยั ธนบรุ ีเกดิ กบฏพระยาสรรค ทําใหบานเมืองไมสงบ
เรียบรอยสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
ทรงดาํ รงตาํ แหนงในขณะน้นั ) ไดท ําการปราบกบฏพระยาสรรคไ ดส าํ เร็จ จึงไดส ถาปนาราชวงศจ กั รี
และทรงยายเมืองหลวงจากกรุงธนบุรีมายงั กรงุ เทพมหานคร โดยลอกแบบสิ่งกอสรางบางประการ
เลียนแบบในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา เพ่ือสรา งความรูส กึ ใหประชาชนเขาใจวา กรงุ เทพมหานครเปน ราช
ธานีทีส่ ืบทอดตอเนื่องมาจากสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา

1.2 สนธสิ ัญญาเบาวร งิ
หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษ และประเทศสยาม (อังกฤษ :

Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom
of Siam)” หรอื บนปกสมุดไทย ใชช่อื วา หนงั สือสญั ญาเซอร จอหน เบาวร งิ หรอื ท่ีมักเรยี กกนั ทั่วไปวา
สนธิสัญญาเบาวริง (อังกฤษ : Bowring Treaty) เปนสนธิสัญญาท่ีราชอาณาจักรสยามทํากับ
สหราชอาณาจักร ลงนามเม่ือวันท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2398 โดยเซอร จอหน เบาวริง ราชทูต
ท่ีไดรับการแตงตั้งจากสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย ถือพระราชสาสนสมเด็จพระนางเจา
วิกตอเรียเขามาถวายพระเจาแผนดินไทยและใชเวลาประมาณ 1 สัปดาหเจรจากับ “ผสู ําเร็จ
ราชการฝา ยสยาม” 5 พระองค ดงั นี้

สมเดจ็ เจา พระยาบรมมหาประยรู วงศ (สมเดจ็ เจา พระยาองคใ หญ) ผสู ําเร็จราชการ
ทัว่ พระราชอาณาจักร ประธานผูแ ทนรัฐบาล

พระเจา นองยาเธอ กรมหลวงวงศาธริ าชสนิท
สมเด็จเจา พระยาบรมมหาพไิ ชยญาติ (สมเด็จเจาพระยาองคน อย) ผูสําเร็จราชการ
พระนคร

125

เจาพระยาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) รักษาในตําแหนงสมหุ พระกลาโหม บังคับ
บัญชาหัวเมอื งชายทะเลปากใตฝ ายตะวันตก

เจาพระยารววิ งศ พระคลัง และสําเร็จราชการกรมทา บังคับบัญชาหัวเมืองฝา ย
ตะวนั ออก

สาระสําคญั ของสนธสิ ัญญาเบาวริง มีดงั น้ี
1) คนท่ีอยใู นการบังคับอังกฤษ จะอยูภายใตอํานาจการควบคุมของกงสุลอังกฤษ
นับเปนคร้ังแรกทสี่ ยามมอบสนธิสภาพนอกอาณาเขตแกป ระชากรตางประเทศ
2) คนท่ีอยูในการบังคับอังกฤษ ไดรับสิทธิในการคาขายอยางเสรีในเมืองทา
ทกุ แหง ของสยาม และสามารถพํานกั อาศยั อยูในกรุงเทพมหานครเปนการถาวรได ภายในอาณาเขต
ส่ีไมล (สองรอ ยเสน)
3) คนที่อยูในการบังคับอังกฤษ สามารถซื้อ หรือเชาอสังหาริมทรัพยในบริเวณ
ดังกลาวได
4) คนทอ่ี ยใู นการบงั คบั อังกฤษ ไดร ับอนญุ าตใหเดินทางไดอยางเสรีในสยาม โดยมี
หนงั สือทีไ่ ดรบั การรับรองจากกงสุล
5) ยกเลิกคาธรรมเนียมปากเรือ และกําหนดอัตราภาษีขาเขา และขาออกอยาง
ชัดเจน

5.1) อัตราภาษขี าเขา ของสนิ คาทุกชนดิ กาํ หนดไวท ร่ี อยละ 3 ยกเวนฝน ทไ่ี มต อ ง
เสียภาษี แตตองขายใหกับเจาภาษี สวนเงินทองและขาวของเคร่ืองใชของพอคาไมตองเสียภาษี
เชนกนั

5.2) สินคาสง ออกใหมกี ารเก็บภาษชี ้ันเดียว โดยเลือกวา จะเก็บภาษีช้ันใน (จังกอบ
ภาษีปา ภาษปี ากเรอื ) หรอื ภาษสี ง ออก

6) พอคาอังกฤษ ไดรับอนุญาตใหซื้อขายโดยตรง ไดกับเอกชนสยามโดยไมมีผูใด
ผหู นงึ่ ขัดขวาง

7) รฐั บาลสยาม สงวนสทิ ธิ์ในการหา มสงออกขาว เกลือ และปลา เม่ือสินคาดังกลาวจะ
ขาดแคลนภายในประเทศ

126

ผลที่ไดรับจากการทําสนธสิ ัญญาเบาวร งิ
1) อังกฤษประสบความสาํ เร็จอยางมาก โดยการทรี่ ัฐบาลสยามยอมใหอังกฤษเขา
มาต้ังกงสุล มีอํานาจพิจารณาคดีที่คนอังกฤษมีคดีความกัน และรวมพิจารณาคดีที่คนไทยกับ
องั กฤษมีคดีความกนั
2) ขาว เกลือ และปลาไมเปนสนิ คา ตองหา มอีกตอไป
3) มีการรบั เอาวทิ ยาการตะวนั ตกสมยั ใหมเขา สูประเทศ ซึ่งทําใหชาวตางประเทศ
ใหก ารยอมรับสยามมากข้ึน
4) การแลกผกู ขาดการคาของรัฐบาลทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงดานเศรษฐกิจที่สําคัญ
อยา งหนึ่ง คอื ราษฎรสามารถซ้ือขายสินคา ไดโ ดยอิสระ รฐั บาลไมเ ขามาเกี่ยวขอ งกบั การขายสินคา
มคี า เชน ไมฝาง ไมก ฤษณา หรอื งาชา ง เพราะรฐั บาลจะขาดทุน
5) ขาว ไดกลายมาเปนสินคาสงออกที่สําคัญที่สุดของไทย สงผลใหการทํานา
แพรห ลายกวาแตกอน และทําใหราษฎรมีเงินตราหมุนเวียนอยูในมือ พรอมทั้งชาวนามีโอกาสไถ
ลกู เมยี ท่ีขายใหแกผ อู ่นื และยงั ทําใหเ งินตราตา งประเทศเขาสรู าชสาํ นกั เปน จํานวนมาก
6) ฝรง่ั ท่เี ขา มาจางลกู จา งคนไทยใหค า จา งเปนรายเดอื น และโบนสั คดิ เปนมลู คา สงู
กวา ขาราชการไทยเสียมาก สงผลใหรฐั บาลไดเ พ่ิมเงนิ เบย้ี หวัด และคาแรงแกขา ราชการและคนงาน
มากข้ึน
7) พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงใหสรางถนน ไดแก ถนนหัวลําโพง
ถนนเจริญกรงุ และถนนสีลม แตล ะเสนกวา ง 5 ศอก
8) ในสมัยปลายรัชกาลที่ 4 ฝร่ังตางก็เขามาตั้งโรงงานในสยามเปนจํานวนมาก
ตง้ั แตโ รงสขี า ว โรงงานน้ําตาลทราย อูตอ เรอื โรงเลือ่ ยไม เปนตน
9) การใหสิทธิเสรีภาพในการถือครองท่ีดินแกราษฎรไทย และชาวตางประเทศ
ซึง่ รัฐบาลแบง ทดี่ ินออกเปน สามเขต คือ ในพระนคร และหางกําแพงพระนครออกไปสองรอยเสน
ทกุ ทิศ ยอมใหเชาแตไมยอมใหซ้ือ ถาจะซื้อตองเชาครบ 10 ปกอน หรือจะตองไดรับอนุญาตจาก
เสนาบดีเขตท่ีลวงออกไป เจาของที่และบานมีสิทธิใหเชา หรือขายกรรมสิทธ์ิได โดยไมมีขอแม
แตล วงจากเขตน้ไี ปอีก หามมิใหฝร่ังเชาหรือซ้ือโดยเด็ดขาด เมื่อราษฎรไดรับสิทธิในการถือครอง
กรรมสิทธ์ิทด่ี นิ ราษฎรกม็ ที างทํามาหากินเพ่ิมข้ึนอีกทางหนึ่ง คือ การจํานองที่ดินเพ่ือกูเงิน หรือ
ขายฝาก ขายขาดทด่ี นิ ของตนได
1.3 การปฏิรปู การปกครองในสมยั รชั กาลท่ี 5
ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 4) เปนลัทธิการลา
อาณานิคมของชาวตะวันตก จึงไดทรงดําเนินนโยบายทางการทูต เพ่ือมิใหประเทศมหาอํานาจ
ใชเ ปนขออางในการยึดครองประเทศไทย ครั้นตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา

127

เจา อยูหวั (พ.ศ. 2411 - 2453) เปน สมยั ทีม่ กี ารปฏริ ปู บานเมอื งในดา นตาง ๆ ทาํ ใหป ระเทศไทยเปน
ประเทศทันสมัย ท่ีสามารถรอดพนจากลัทธิการลาอาณานิคมมาได เปนประเทศเดียวในภูมิภาค
เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต และยงั สง ผลใหเ กิดความเจริญแกป ระเทศชาตใิ นปจจบุ ัน

สาเหตขุ องการปฏิรูปบา นเมือง
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เปนชวงเวลาที่ชาติตะวันตก

มีการลา อาณานิคม สงผลใหประเทศเพื่อนบานของไทยหลายแหง ตกอยูภายใตอิทธิพลของชาติ
ตะวันตก เชน พมาอยูภายใตการปกครองของอังกฤษ เวียดนามตกเปนเมืองข้ึนของฝรั่งเศส
นอกจากน้ี ประเทศองั กฤษและประเทศฝรงั่ เศส มีความพยายามขยายอํานาจเขามาในดินแดนของ
ประเทศไทย และบริเวณโดยรอบดินแดนของประเทศไทย ทําใหพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจา อยหู วั ซ่ึงทรงติดตามเรื่องราวการขยายอํานาจของประเทศชาติชาวตะวันตก และความเจริญ
ของประเทศชาตขิ องชาวตะวนั ตก จึงตองการปฏริ ปู บานเมืองใหท นั สมัยแบบเดียวกับประเทศชาติ
ชาวตะวันตก เพื่อไมใ หใชเปนขออา งวาประเทศไทยเปนบานเมืองปาเถื่อน ดอยความเจริญ แลวถือ
โอกาสเขา มายดึ ครอง ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงดําเนินการปฏิรูป
บา นเมือง โดยมแี นวความคิดในการปฏิรปู การปกครอง 3 ประการ คือ

1) การรวมอํานาจเขา สูส วนกลางมากขึ้นเปน การใชอ าํ นาจของรฐั บาลกลางในการยืนยัน
อาณาเขตของประเทศไทย เพอ่ื ปองกนั ประเทศชาตติ ะวนั ตกอา งเอาดินแดนไปยึดครอง

2) การศาลและกฎหมายทีม่ มี าตรฐานเปนสากลมากขน้ึ
3) การพัฒนาประเทศ ทรงริเร่ิมนําสิ่งใหม ๆ เขามา เชน การไปรษณีย การรถไฟ
การโทรเลข ฯลฯ

การปฏริ ปู การปกครอง
การปกครองกอนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว การบริหาร

บานเมืองน้ันอยูภายใตอาํ นาจบรรดาขุนนางผูใหญและเจานายที่มีทั้งกําลังทหาร อาวุธและ
ไพรส ว นพระองค อีกท้ังยังมบี ทบาทในการควบคุมผลประโยชนทางดา นการคา ขาย เชน การเกบ็ ภาษี
และการควบคุมไพร เปน ตน สง ผลใหพ ระราชอํานาจของพระมหากษัตริยเกดิ ความไมม ั่นคง

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงทรงจัดระเบียบการปกครองเสียใหม
และเปนรากฐานการปกครองมาจนถึงปจจบุ ัน โดยจาํ แนกออกเปน 3 สวนทส่ี ําคญั ดังนี้

1. การปกครองสว นกลาง
การปรับปรุงการบริหารราชการในสวนกลางของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา

เจาอยูห วั ทรงยกเลกิ ตาํ แหนงอัครเสนาบดี 2 ตําแหนง คือ สมุหกลาโหม และสมุหนายก รวมทั้ง
จตสุ ดมภ โดยแบง การบรหิ ารราชการออกเปน กระทรวงตามแบบอารยประเทศ มีการจดั สรรอาํ นาจ

128

หนาที่ ความรับผิดชอบเปนสัดสวน เพ่ือใหมีประสิทธิภาพ และใหมีเสนาบดีเปนผูวาการแตละ

กระทรวง กระทรวงที่ตง้ั ขนึ้ ทง้ั หมด เม่อื พ.ศ. 2435 มี 12 กระทรวง มีหนา ท่คี วามรบั ผิดชอบ ดังนี้

(1) กระทรวงมหาดไทย รบั ผิดชอบหัวเมอื งฝายเหนือและเมอื งลาวประเทศราช

(2) กระทรวงกลาโหม รับผิดชอบหวั เมอื งฝา ยใต หัวเมืองฝา ยตะวนั ออก ตะวนั ตก

และเมอื งมลายปู ระเทศราช

(3) กระทรวงตา งประเทศ รบั ผดิ ชอบเกย่ี วกับการตา งประเทศ

(4) กระทรวงวงั รบั ผิดชอบเกี่ยวกับกิจการในพระราชวงั

(5) กระทรวงเมือง รบั ผิดชอบเกยี่ วกบั การตํารวจ บญั ชคี น และราชทัณฑ

หรอื กระทรวงนครบาล

(6) กระทรวงเกษตราธกิ าร รับผดิ ชอบเกี่ยวกับการเพาะปลูก เหมืองแร ปา ไม

(7) กระทรวงคลงั รบั ผดิ ชอบเกีย่ วกบั ภาษอี ากรและเงนิ รายรับ งบประมาณ

แผนดนิ

(8) กระทรวงยตุ ิธรรม รับผิดชอบเกย่ี วกับการชาํ ระคดแี ละการศาล

(9) กระทรวงยทุ ธนาธกิ าร รบั ผดิ ชอบเกี่ยวกบั การทหาร

(10) กระทรวงธรรมการ รบั ผดิ ชอบเกี่ยวกับการศกึ ษา การสาธารณสุขและพระสงฆ

(11) กระทรวงโยธาธิการ รบั ผดิ ชอบเกยี่ วกับการกอ สราง ถนน คลอง การชา ง

ไปรษณยี โ ทรเลข และรถไฟ

(12) กระทรวงมุรธาธิการ รบั ผดิ ชอบเกี่ยวกับการรกั ษาตราแผนดิน และงานระเบียบ

สารบรรณ

ภายหลงั ไดย บุ กระทรวงยทุ ธนาธิการไปรวมกับกระทรวงกลาโหม และยุบกระทรวง

มุรธาธกิ ารไปรวมกบั กระทรวงวงั คงเหลอื เพียง 10 กระทรวง เสนาบดที ุกกระทรวงมฐี านะเทาเทียมกนั

และประชุมรวมกันเปนเสนาบดีสภา ทําหนาท่ีปรึกษาและชวยบริหารราชการแผนดินตามที่

พระมหากษัตรยิ ทรงมอบหมาย เพราะอํานาจสูงสุดเด็ดขาดเปนของพระมหากษัตริยตามระบอบ

สมบูรณาญาสิทธิราชยและทรงแตงตั้ง “สภาที่ปรึกษาราชการแผนดิน” ซ่ึงตอมาไดเปลี่ยนเปน

“รัฐมนตรีสภา” ประกอบดว ย เสนาบดี หรือผแู ทน กับผทู ีโ่ ปรดเกลาฯ แตงตั้ง รวมกันไมนอยกวา

12 คน มจี ุดประสงคเพื่อใหเปนท่ีปรึกษาและคอยทัดทานอํานาจพระมหากษัตริย แตการปฏิบัติ

หนาท่ขี องสภาดังกลาว ไมไดบรรลุจุดประสงคท่ีทรงหวังไว เพราะสมาชิกสวนใหญไมกลาโตแยง

พระราชดําริ คณะท่ปี รกึ ษาสว นใหญม กั พอใจทีจ่ ะปฏบิ ัติตามมากกวา ที่จะแสดงความคิดเห็น

129

นอกจากนีพ้ ระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูห ัว ยังทรงแตง ต้งั “สภาทป่ี รกึ ษา
ในพระองค” ซ่งึ ตอ มาไดเ ปลยี่ นเปน “องคมนตรสี ภา” ขน้ึ อกี มจี ดุ ประสงคเพ่ือสงเสริม สนับสนุน
การดําเนินพระราชกรณียกิจตาง ๆ ที่ทรงมอบหมายใหสําเร็จลุลวงเกิดประโยชนตอราษฎรและ
ประเทศชาติ ประกอบดวยสมาชิกเม่ือแรกตั้ง 49 คน มีท้ังสามัญชน ต้ังแตช้ันหลวงถึงเจาพระยา
และพระราชวงศ องคมนตรสี ภานี้อยูในฐานะรองจากรฐั มนตรีสภา เพราะขอ ความที่ปรึกษา และ
ตกลงกันในองคมนตรีสภาแลวจะตองนําเขาที่ประชุมรัฐมนตรีสภากอนแลวจึงจะเสนอเสนาบดี
กระทรวงตา ง ๆ

2. การปกครองสว นภมู ิภาค
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดําริใหยกเลิกการ

ปกครองหวั เมอื ง และใหเปล่ียนแปลงเปนการปกครองสวนภูมิภาคที่มีความสัมพันธกับสว นกลาง
โดยโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบัญญตั ลิ กั ษณะปกครองทองที่ ร.ศ. 116 ขึ้น เพื่อจัดการปกครอง
เปน มณฑล เมอื ง อําเภอ ตําบล และหมูบาน ดังน้ี

1) มณฑลเทศาภิบาล ประกอบดวยเมืองตั้งแต 2 เมืองข้ึนไปมีสมุหเทศาภิบาล
ที่พระมหากษตั ริยท รงแตง ต้งั ไปปกครองดูแลตางพระเนตร พระกรรณ

2) เมอื ง ประกอบดวยอาํ เภอหลายอาํ เภอ มีผูวาราชการเมืองเปนผูรับผิดชอบ
ขึน้ ตรงตอ ขาหลวงเทศาภบิ าล

3) อาํ เภอ ประกอบดว ยทอ งทีห่ ลาย ๆ ตําบล มีนายอาํ เภอเปนผรู ับผดิ ชอบ
4) ตําบล ประกอบดวยทอ งท่ี 10 - 20 หมูบา น มกี าํ นนั ซ่งึ เลอื กตั้งมาจากผูใ หญบ าน
เปน ผรู บั ผดิ ชอบ
5) หมูบาน ประกอบดวยบานเรือนประมาณ 10 บานขึ้นไป มีราษฎรอาศัย
ประมาณ 100 คน เปนหนวยปกครองที่เล็กที่สุด มีผูใหญบานเปนผูรับผดิ ชอบตอมาใน
สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยูหัว ไดยกเลิกมณฑลเทศาภิบาล และเปล่ียน เมือง เปน
จังหวัด
3. การปกครองสวนทองถนิ่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงจัดใหมีการบริหารราชการ
สวนทองถิ่นในรูปสุขาภิบาล ซึ่งมีหนาที่คลายเทศบาลในปจจุบัน เปนครั้งแรกเม่ือ พ.ศ. 2440 โดย
โปรดเกลาฯ ใหตราพระราชกําหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 (พ.ศ. 2440) ขึ้นบังคับใชใน
กรุงเทพฯ ตอมาใน ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ไดขยายไปที่ทาฉลอม ปรากฏวาดําเนินการไดผลดี
เปนอยางมาก ตอมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดโปรดเกลาฯ ใหตรา
พระราชบัญญตั ิจดั การสุขาภิบาล ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451) ขน้ึ โดยแบงสุขาภิบาลออกเปน 2 ประเภท คือ

130

สุขาภิบาลเมอื ง และสขุ าภิบาลตําบล ทอ งถิ่นใดเหมาะสมทีจ่ ะจดั ตั้งเปน สุขาภิบาลประเภทใด ก็ให
ประกาศตงั้ สุขาภิบาลในทอ งถิ่นนัน้

1.4 การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พทุ ธศกั ราช 2475
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงดําเนิน

พระบรมราโชบาย ดังน้ี
1) ปลดปลอ ยไพรใ หเ ปนอสิ ระและทรงประกาศเลกิ ทาสใหเปน ไทยแกตนเอง
2) ผลจากปฏิรูปการศึกษาตามแบบตะวันตก เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับการศึกษา

ถงึ ขัน้ อานออกเขียนไดและคิดเลขเปนไมวาจะเปนเจา นาย บตุ รหลานขนุ นาง หรือราษฎรสามญั ชน
ท่พี นจากความเปนไพรหรือทาส ถาบุคคลใดมีสติปญญาเฉลียวฉลาดกจ็ ะมโี อกาสเดินทางไปศึกษา
ตอยงั ประเทศตะวนั ตก

3) ผลการปฏิรูปการศึกษา ทําใหคนไทยบางกลุมท่ีไดรับการศึกษาตามแบบชาติ
ตะวนั ตกเริ่มมกี ระแสความคิดเก่ียวกับการเมืองสมยั ใหม ท่ียดึ ถือรัฐธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสุดใน
การปกครองประเทศ และมีความปรารถนาที่จะเห็นการเปล่ียนแปลงการปกครองเกิดข้ึนใน
ประเทศไทย

เม่อื พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ
พ.ศ. 2453 กลุมปญญาชนตางก็มุงหวังวา พระองคจะทรงเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศ
ไปสูระบอบประชาธิปไตย ทั้งน้ีเพราะพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงศึกษาอยูใน
ประเทศอังกฤษ ซึ่งมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและคงไดทรงเตรียมพระองคดังท่ี
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหวั มีพระราชดํารัสไว แตปรากฏวายังไมมีพระราชดําริใน
เรอื่ งรฐั สภาและรฐั ธรรมนญู แตอ ยา งใด ในเวลาเดยี วกนั ประเทศจีนมีการปฏิวัติลมลางราชวงศแมนจู
เปล่ยี นการปกครองประเทศเปน ระบอบประชาธปิ ไตยแบบสาธารณรฐั เปน ผลสาํ เรจ็ ทาํ ใหความคิด
อยากจะไดป ระชาธิปไตยมมี ากขึน้ ประกอบกบั ความไมพอใจในพระราชจริยาวตั รบางประการของ
พระมหากษตั รยิ พระองคใ หม จงึ ทําใหเ กดิ ปฏกิ ิรยิ าทจี่ ะลมลางระบอบการปกครอง

ดังน้ัน เหตุการณสําคัญท่ีเกิดข้ึนในตนรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา
เจาอยูหัว ก็คือ พวกนายทหารบกทหารเรือและพลเรือน รวมประมาณ 100 คน เรียกตัวเองวา
คณะ ร.ศ. 130 ไดวางแผนการปฏิวัตกิ ารปกครองหวังใหพ ระมหากษตั ริยพ ระราชทานรัฐธรรมนูญ
ใหแกปวงชนชาวไทย

131

สาเหตุทีน่ าํ ไปสกู ารเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรโดยการนําของพันเอกพระยา
พหลพลพยุหเสนา ไดเ ขา ยึดอาํ นาจการปกครอง มีสาเหตุทีส่ าํ คญั ดังนี้

1) ความเส่อื มของระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย
2) การไดรับการศึกษาตามแนวความคดิ ตะวนั ตกของบรรดาชนช้นั นาํ ในสังคมไทย

3) ความเคลื่อนไหวของบรรดาส่อื มวลชน
4) ความขัดแยงทางความคดิ เกย่ี วกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

5) ปญ หาสภาวะการคลงั ของประเทศ และของโลก
คณะราษฎรกบั การเปลยี่ นแปลงการเมืองการปกครอง

ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยหู ัว ราชอาณาจกั รสยามไดป กครอง

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ชาติไดประสบกับปญหาซึ่งเกิดจากรัฐบาลตองรับมือกับปญหา
เศรษฐกิจท่ีรายแรงและภัยคุกคามจากตางประเทศ (โดยเฉพาะประเทศอังกฤษและประเทศ
ฝรัง่ เศส)

คณะราษฎรภายใตการนําของพันเอกพหลพลพยุหเสนา เปนหัวหนาคณะราษฎร

ประกอบดวย กลุมบุคคลผูตองการใหมีการเปล่ียนแปลงการปกครอง และมีสมาชิกท่ีมีความคิด

แบบเดยี วกนั รวมท้งั สิน้ 7 คน ไดแ ก

1) หลวงสริ ิราชไมตรี (จรญู สิงหเสนี) ผูชวยราชการสถานทตู สยามในประเทศ

ฝร่งั เศส

2) รอ ยโทประยูร ภมรมนตรี นกั เรียนวชิ ารัฐศาสตร ประเทศฝรง่ั เศส

3) รอ ยโทแปลก ขตี ตะสงั คะ นักเรยี นวชิ าทหารปน ใหญ

ประเทศฝรงั่ เศส

4) รอยตรีทัศนัย มติ รภักดี นกั เรยี นวชิ าทหารมา ประเทศฝร่งั เศส

5) นายปรดี ี พนมยงค นักเรยี นวิชากฎหมาย ประเทศฝร่ังเศส

6) นายแนบ พหลโยธนิ นกั เรียนวชิ ากฎหมาย ประเทศองั กฤษ

7) นายตัว้ ลพานุกรม นกั เรียนวิชาวิทยาศาสตร ประเทศ

สวติ เซอรแ ลนด

และไดทําการประชุมครัง้ แรกท่บี านพักเลขที่ 9 ถนนซอเมอราร ในกรุงปารสี ประเทศ

ฝร่ังเศส เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2469 ซ่ึงติดตอกันนานถึง 4 คืน 5 วัน โดยมีรอยโท แปลก
ทีส่ มาชิกคณะราษฎรคนอนื่ ๆ เรียกวา “กัปตัน” เปนประธานในการประชุม ที่ประชุมมีมติตกลง
ที่จะทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนการปกครอง

132

ในระบอบประชาธปิ ไตยท่มี กี ษัตรยิ อยูใ ตกฎหมาย โดยตกลงที่ใชวิธีการ “ยึดอํานาจโดยฉับพลัน”
รวมท้ังพยายามหลกี เลีย่ งการนองเลือด เหมือนกับท่ีเคยเกิดข้ึนแลวในการปฏิวัติประเทศฝรั่งเศส
และการปฏิวัติในประเทศรัสเซีย ท้ังนี้เพ่ือเปนการปองกันการถือโอกาสเขามาแทรกแซงจาก
มหาอํานาจทมี่ ีอาณานิคมอยูลอมรอบประเทศสยามในสมัยนั้น คือ ประเทศอังกฤษและประเทศ
ฝรัง่ เศส

ในการประชุมครั้งน้ัน กลุมผูกอการไดต้ังปณิธาน 6 ประการในการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง ซึ่งตอ มาหลังจากปฏวิ ัติยึดอาํ นาจไดแ ลว ก็ไดน าํ ประกาศเปาหมาย 6 ประการน้ีไวใน
ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 และตอมาไดเ รยี กวา “หลกั 6 ประการของคณะราษฎร” คอื

1) จะตองรักษาความเปนเอกราชท้ังหลาย เชน เอกราชในบานเมือง ในทางศาล
ในทางเศรษฐกิจของประเทศไวใ หมนั่ คง

2) จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ใหก ารประทษุ รา ยตอกันลดนอยลงใหม าก
3) จะตองบํารงุ ความสมบรู ณข องราษฎรในทางเศรษฐกจิ ไทย รัฐบาลใหมจะพยายาม
หางานใหร าษฎรทําโดยเต็มความสามารถ จะรางโครงการเศรษฐกิจแหงชาติ ไมปลอยใหราษฎร
อดอยาก
4) จะตองใหราษฎรไดมสี ิทธิเสมอภาคกัน ไมใชใ หพ วกเจามีสทิ ธยิ ่งิ กวาราษฎรเชน ที่
เปนอยู
5) จะตองใหราษฎรไดมีเสรีภาพ มีความเปนอิสระ เม่ือเสรีภาพน้ีไมขัดตอหลัก
4 ประการ ดงั กลา วแลวขางตน
6) จะตองใหมีการศึกษาอยางเต็มที่แกราษฎร และท่ีประชุมไดลงมติใหปรีดี
พนมยงค เปน หวั หนา จนกวา จะหาผูท ีเ่ หมาะสมกวา ได

หลงั จากการประชุมคร้ังนั้น คณะผูกอการไดกลับมาประเทศสยาม ไดพยายามหา
สมาชิกเพื่อเขารวมกอการปฏิวัติ โดยไดติดตอประชาชนทุกอาชีพ ท้ังพอคา ขาราชการพลเรือน
และทหาร ไดส มาชิกทงั้ สน้ิ 115 คน แบง เปนสายตา ง ๆ คือ

1) สายพลเรือน นาํ โดย หลวงประดษิ ฐม นธู รรม (ปรดี ี พนมยงค)
2) สายทหารเรือ นาํ โดย นาวาตรีหลวงสนิ ธุสงครามชยั (สนิ ธุ กมลนาวิน)
3) สายทหารบกชัน้ ยศนอ ย นําโดย พันตรีหลวงพิบูลสงคราม (แปลก พบิ ลู สงคราม)
4) สายนายทหาร ช้ันยศสูง นําโดย พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา
(พจน พหลโยธิน)

133

โดยท่ีประชุมคณะราษฎรตกลงกันวา ในเรอื่ งของการปฏิวตั ิ ความม่ันคง และความ
ปลอดภัยของบรรดาสมาชิก และของประเทศ เปนหนาที่ของฝายทหาร และในสวนของการ
รางคาํ ประกาศ ตลอดจนการรางกฎหมาย และการวางเคา โครงตาง ๆ ของประเทศ เปน หนา ทีข่ อง
ฝา ยพลเรือน

ในวันที่ 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2475 คณะผกู อ การสามารถยึดอาํ นาจและจับกุมบุคคล
สาํ คัญฝายรัฐบาลไวไดโดยเรียบรอย และไดรว มกันจัดตั้งคณะราษฎรขนึ้ มาเพื่อทาํ หนา ที่รบั ผิดชอบ
รวมทั้งออกประกาศแถลงการณของคณะราษฎร เพื่อช้ีแจงที่ตองเขายึดอํานาจการปกครอง
ใหป ระชาชนเขาใจ นอกจากนค้ี ณะราษฎรไดแ ตงต้ังผูรกั ษาการพระนครฝา ยทหารข้ึน 3 นาย ไดแก
พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา พันเอกพระยาทรงสุรเดช พันเอกพระยาฤทธิ์อัคเนย โดยใหทํา
หนาที่เปนผูบริหารราชการแผนดิน ขณะที่ยังไมมีรัฐธรรมนูญเปนหลักในการบริหารประเทศ
หลังจากนั้น คณะราษฎรไดมหี นงั สือกราบบังคมทลู อัญเชญิ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
เสด็จกลบั คืนสพู ระนคร ซ่งึ ขณะนั้นพระองคท รงประทบั อยูท ่วี งั ไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ
เพื่อดํารงฐานะเปนพระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรตอไป ภายหลังจากท่ี
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาอยูเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 7 เสด็จพระราชดําเนินจากพระราชวังไกลกังวล
กลับคืนสูพระนครแลว คณะราษฎรไดนําพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยาม
ชวั่ คราว ซึง่ นายปรีดี พนมยงค และคณะราษฎรบางคนไดร างเตรยี มไวขึ้นทลู เกลา ฯ ถวายเพ่ือทรง
พระปรมาภิไธยมี 2 ฉบับ คอื พระราชบญั ญตั ิธรรมนญู การปกครองแผน ดนิ สยามชั่วคราว พ.ศ. 2475
และรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2475

1) พระราชบญั ญตั ิธรรมนญู การปกครองแผนดินสยามช่วั คราว พ.ศ. 2475

พระองคไดพระราชทานกลับคนื มาเมอ่ื วันท่ี 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และไดมี
พธิ เี ปด สภาผูแทนราษฎรครง้ั แรกในประเทศไทย เม่ือวันท่ี 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งรัฐธรรมนูญนี้
มชี ่อื เรยี กวา “พระราชบญั ญัติธรรมนญู การปกครองแผน ดนิ สยามช่วั คราว” รัฐธรรมนูญช่ัวคราวน้ี
กําหนดวา อาํ นาจสูงสดุ ในแผน ดิน ประกอบดว ย อํานาจนติ บิ ญั ญตั ิ อํานาจบรหิ าร และอาํ นาจตลุ าการ
ซง่ึ แตเดิมเปนของพระมหากษัตริย จึงไดเปลี่ยนเปนของปวงชนชาวไทยตามหลักการของระบอบ
ประชาธิปไตยเกี่ยวกับการไดมาของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ไดกําหนดแบงระยะเวลาออกเปน
3 สมยั คือ

(1) สมัยที่ 1 นับแตวันใชรัฐธรรมนูญน้ีเปนตนไป จนกวาจะถึงเวลาที่สมาชิก
ในสมัยท่ี 2 จะเขา รับตาํ แหนง ใหค ณะราษฎรซึ่งมีผูรักษาพระนครฝายทหารเปนผูใชอํานาจแทน
และจัดต้งั ผแู ทนราษฎรชั่วคราวข้ึนเปนจํานวน 70 นาย เปน สมาชิกในสภา

134

(2) สมัยที่ 2 ภายในเวลา 6 เดือน หรอื จนกวาจะจดั ประเทศเปนปกติเรียบรอย
สมาชิกในสภาจะตอ งมบี ุคคล 2 ประเภท ทํากจิ กรรมรว มกนั คอื ประเภททหี่ น่งึ ไดแ ก ผูแทนราษฎร
ซ่ึงราษฎรไดเลือกขึ้นมาจังหวัดละ 1 นาย ตอราษฎรจํานวน 100,000 คน ประเภทที่สอง ผูเปน
สมาชิกอยใู นสมยั ทีห่ น่งึ มจี ํานวนเทากับสมาชิกประเภททห่ี น่งึ ถาจํานวนเกินใหเลือกกันเองวาผูใด
จะยังเปนสมาชกิ ตอไป ถา จํานวนขาดใหผูท่มี ตี ัวอยูเลอื กบุคคลใด ๆ เขา แทนจนครบ

(3) สมัยท่ี 3 เมอื่ จํานวนราษฎรท่ัวราชอาณาจกั รไดสอบไลว ิชาประถมศึกษาไดเ ปน
จํานวนกวา ครึ่ง และอยางชาตองไมเ กนิ 10 ป นับตงั้ แตวนั ใชรฐั ธรรมนูญ สมาชกิ ในสภาผแู ทนราษฎร
จะเปน ผทู ี่ราษฎรไดเ ลอื กตั้งขึ้นเองทงั้ สิน้ สวนสมาชกิ ประเภททส่ี องเปน อันสนิ้ สุดลง ผูแทนราษฎร
ช่ัวคราว จํานวน 70 นาย ซึ่งผูรักษาการพระนครฝายทหารจะเปนผูจัดตั้งขึ้นในระยะแรกนั้น
ประกอบดวย สมาชิกคณะราษฎร ขาราชการชั้นผูใหญ ผูประกอบอาชีพสาขาตาง ๆ ซงึ่ มีความ
ปรารถนาจะชว ยบา นเมือง และกลมุ กบฏ ร.ศ. 130 บางคนซ่งึ สมาชกิ ทั้ง 70 คน ภายหลังจากการ
ไดร บั การแตง ตงั้ แลว 6 เดือน ก็จะมีฐานะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรประเภทท่ี 2 ตามท่ีระบุไว
ในรฐั ธรรมนูญฉบบั ช่ัวคราว ทางดา นอาํ นาจบรหิ ารนัน้ ในรฐั ธรรมนญู ไดบ ัญญตั ไิ วซ ง่ึ ตาํ แหนง บรหิ าร
ที่สาํ คญั เอาไว คอื

ประธานคณะกรรมการราษฎร (เทียบเทานายกรัฐมนตรี) ซึ่งจะตองเปน
บุคคลที่สามารถประสานความเขา ใจระหวา งคณะราษฎรกบั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยูหัว
เปน อยางดี และเพื่อความราบรื่นในการบริหารประเทศตอ ไป คณะราษฎรจึงตกลงเหน็ ชอบท่ีจะให
พระยามโนปกรณนิติธาดา (กอน หุตะสิงห) เปนประธานคณะกรรมการราษฎร คณะกรรมการ
ราษฎร (คณะรัฐมนตรี) ในรัฐบาลของพระยามโนปกรณนิติธาดา ซึ่งเปนคณะรัฐมนตรีชุดแรก
ทต่ี ้งั ข้ึนตามพระราชบัญญตั ิธรรมนูญการปกครองสยามชว่ั คราว พ.ศ. 2475 มีจํานวนท้ังสิน้ 15 นาย
เปนผบู ริหารราชการแผน ดนิ

2) รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475

ภายหลังท่ีพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดทรงลงพระปรมาภิไธย
ในรัฐธรรมนญู ปกครองแผนดินสยามชวั่ คราวแลว สภาผแู ทนราษฎรไดแ ตง ตง้ั อนกุ รรมการขนึ้ คณะหนง่ึ
เพ่ือรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเพื่อใชเปนหลักในการปกครองประเทศสืบไป ในท่ีสุดสภา
ผแู ทนราษฎรไดพจิ ารณาแกไ ขรางรฐั ธรรมนญู ครง้ั สดุ ทา ยในวนั ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 และ
สภาผูแทนราษฎรไดลงมติรับรองใหใชเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 โดยพระบาทสมเด็จ
พระปกเกลาเจาอยหู วั ไดทรงลงพระปรมาภิไธยในรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรสยาม

135

การประกาศใชรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รสยามคณะราษฎรภายใตการนํา
ของพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ไดทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการปกครองท่ีมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใต
รัฐธรรมนูญ โดยมิตองสูญเสียเลือดเนื้อแตประการใดนั้น เปนเพราะพระมหากรุณาธิคุณของ
พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยหู วั ทีพ่ ระองคทรงยอมรบั การเปลย่ี นแปลงดังกลาว โดยมิไดทรง
ตอตาน และคิดตอบโตคณะราษฎรดวยการใชกําลังทหารที่มีอยูแตประการใด และทรง
พระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทยตามที่คณะราษฎรไดเตรียมรางเอาไว เพื่อนําขึ้น
ทลู เกลาฯ ถวายใหทรงลงพระปรมาภิไธย นอกจากนี้พระองคก็ทรงมีพระราชประสงคมาแตเดิม
แลววา จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแกประชาชนอยู
แลว จึงเปน การสอดคลองกับแผนการของคณะราษฎร ประกอบกับพระองคทรงเห็นแกความสงบ
เรยี บรอยของบา นเมืองและความสขุ ของประชาชนเปนสําคญั ยิ่งกวาการดาํ รงไวซึ่งพระราชอํานาจ
ของพระองค

รัฐธรรมนูญท่ีคณะราษฎรไดนําข้ึนทูลเกลาฯ ถวาย เพ่ือทรงลงพระปรมาภิไธย
ในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 หลังจากน้ันไดทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง
พระยามโนปกรณนิตธิ าดา เปน นายกรัฐมนตรี และตอมาทางราชการไดกําหนดใหถือเอาวันที่ 10
ธนั วาคม ของทกุ ป เปน “วนั รัฐธรรมนูญ”

รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 มสี าระสาํ คญั พอสรปุ ได
ดงั น้ี

1) อํานาจนิติบัญญัติ กําหนดใหมีสภาผูแทนราษฎร ประกอบดวย สมาชิก
ซง่ึ ราษฎรเปนผเู ลอื กตัง้ แตมบี ทเฉพาะกาลกําหนดไววา ถา ราษฎรผมู ีสิทธิออกเสียงเลือกต้งั สมาชกิ
ผูแทนราษฎรตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญน้ี ยังมีการศึกษาไมจบช้ันประถมศึกษามากกวา
ครึ่งหนึ่งของจาํ นวนท้ังหมด และอยางชาตองไมเกิน 10 ป นับแตวันใชพระราชบัญญัติธรรมนูญ
การปกครองแผน ดนิ สยามชัว่ คราว พ.ศ. 2475

สภาผแู ทนราษฎร ประกอบดว ย สมาชิก 2 ประเภท มจี ํานวนเทา กนั คือ สมาชกิ
ประเภทท่ี 1 ไดแ ก ผทู ี่ราษฎรเลอื กตัง้ ข้นึ มาตามกฎหมายวาดว ยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
สวนสมาชกิ ประเภทท่ี 2 ไดแ ก ผูทีพ่ ระมหากษตั ริยท รงแตงตงั้ ขึน้ ตามกฎหมายวาดวยการเลือกต้ัง
สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ในระหวางที่ใชบ ทบญั ญตั เิ ฉพาะกาลในรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม

2) อํานาจบริหาร พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งคณะรัฐมนตรีข้ึนคณะหนึ่ง
ประกอบดวย นายกรฐั มนตรี 1 นาย และรัฐมนตรีอีกอยางนอย 14 นาย อยางมาก 24 นาย และ
ในการแตง ตง้ั นายกรัฐมนตรี ประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูล งนามรับสนองพระบรมราชโองการ

136

กลาวโดยสรุปในภาพรวมของรัฐธรรมนูญท้ัง 2 ฉบับ ไดกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงโครงสรางทาง
การเมืองการปกครองและสังคมไทย ดังนี้

2.1) อํานาจการปกครองของแผนดินซ่ึงแตเดิมเคยเปนของพระมหากษัตริย
ใหตกเปนของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญตั แิ หง รัฐธรรมนญู พระมหากษัตริยทรงดํารงฐานะเปน
ประมุขของประเทศภายใตรฐั ธรรมนูญ พระองคจ ะทรงใชอ ํานาจอธิปไตยทัง้ 3 ทาง คือ อํานาจนิติบญั ญตั ิ
ผานทางสภาผูแทนราษฎร อํานาจบรหิ ารผา นทางคณะรฐั มนตรี อํานาจตุลาการผา นทางผพู พิ ากษา

2.2) ประชาชนจะไดรับสิทธิในทางการเมือง โดยการเลือกสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรเขาไปทําหนาที่ควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล ออกกฎหมายและเปนปากเสียงแทน
ราษฎร

2.3) ประชาชนมสี ทิ ธเิ สรภี าพในทางการเมืองมากขึ้น สามารถแสดงความ
คดิ เหน็ วพิ ากษวจิ ารณในเร่อื งตา ง ๆ ได ภายใตบ ทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย และคนทกุ คนมีความเสมอภาค
ภายใตกฎหมายฉบับเดยี วกัน

2.4) ในระยะแรกของการใชรัฐธรรมนญู อาํ นาจบริหารประเทศจะตองตก
อยภู ายใตการชี้นําของคณะราษฎร ซึง่ ถอื วา เปน ตัวแทนของราษฎรท้ังมวลในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
จนกวา สถานการณจ ะเขา สูความสงบเรียบรอ ย ประชาชนจึงจะมสี ทิ ธิในอํานาจอธิปไตยอยา งเต็มท่ี

ผลกระทบทเี่ กิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
1) ผลกระทบทางดานการเมอื ง

การเปลี่ยนแปลงสงผลกระทบตอสถานภาพของสถาบันพระมหากษัตริย
เปนอยางมาก เพราะเปนการส้ินสุดพระราชอํานาจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ถึงแมวา
พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว จะทรงยอมรับการเปล่ียนแปลง และทรงยินยอม
พระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทยแลวก็ตาม แตพระองคก็ทรงเปนหวงวาประชาชน
จะมไิ ดร บั อาํ นาจการปกครองท่ีพระองคท รงพระราชทานให โดยผานทางคณะราษฎรอยางแทจริง
พระองคจ งึ ทรงใชความพยายามที่จะขอใหคณะราษฎรไดด าํ เนินการปกครองประเทศดว ยหลักการ
แหงประชาธิปไตยอยางแทจริง แตพระองคก็มิไดรับการสนองตอบจากรัฐบาลของคณะราษฎร
แตประการใด จนกระทั่งภายหลงั พระองคจึงทรงประกาศสละราชสมบัติใน พ.ศ. 2477

นอกจากน้ี การเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ยังกอ ใหเ กิดความขดั แยง
ทางการเมอื งระหวา งกลุม ผลประโยชนต า ง ๆ ท่ีมสี วนรวมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ยงั ไมได
ดาํ เนินการใหเ ปนไปตามคําแถลงที่ใหไ วก บั ประชาชน

จากการท่ีคณะราษฎรไดมอบหมายใหนายปรีดี พนมยงค รางเคาโครงการ
เศรษฐกิจแหงชาติ เพื่อดําเนินการปรับปรุงเศรษฐกิจของประเทศ ปรากฏวาหลายฝายมองวา
เคา โครงการเศรษฐกิจมีลักษณะโนมเอียงไปในทางหลักเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต ความขัดแยง

137

จึงเกิดขึ้นในหมูผูท่ีเกี่ยวของ ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครองสิ้นสุดลงแลวไมนาน
พระยามโนปกรณน ิติธาดา นายกรัฐมนตรี เหน็ วาการบริหารประเทศทา มกลางความขดั แยงในเรื่อง
เคาโครงเศรษฐกจิ ไมส ามารถจะดาํ เนินตอ ไปได จงึ ประกาศปด สภาและงดใชร ฐั ธรรมนูญบางมาตรา
อันสงผลใหพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา นํากําลังทหารยึดอํานาจรัฐบาลพระยามโนปกรณ
นิติธาดา ในวันท่ี 20 มถิ ุนายน พ.ศ. 2476 และหลังจากนั้น พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา
ไดเ ขา ดาํ รงตาํ แหนงนายกรฐั มนตรีบริหารราชการแผน ดินสืบไป

เมื่อรฐั บาลของ พนั เอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เขาบรหิ ารประเทศไดไมนาน
ก็มีบุคคลคณะหน่ึงซึ่งเรียกตนเองวา คณะกูบานกูเมือง นําโดยพลเอกพระองคเจาบวรเดช
ไดกอการรฐั ประหารยึดอาํ นาจรฐั บาลในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 โดยอา งวารัฐบาลไดทําการหมิ่น
ประมาทองคพระประมุขของชาติ และรับนายปรีดี พนมยงค ซ่ึงเปนผูรางเคาโครงเศรษฐกิจ
อันออ้ื ฉาวเขา รว มในคณะรฐั บาล พรอ มกับเรียกรองใหร ฐั บาล ดาํ เนนิ การปกครองประเทศในระบอบ
รฐั ธรรมนูญทเ่ี ปน ประชาธิปไตยอยางแทจ ริง แตในทส่ี ุดรฐั บาลกส็ ามารถปราบรัฐประหารของคณะ
กบู านกเู มอื งไดส ําเรจ็

ปญ หาการเมืองดงั กลา ว ไดก ลายเปน เงื่อนไขที่ทาํ ใหสถาบันทางการเมืองในยุคหลัง ๆ
ไมค อ ยประสบความสําเร็จเทา ท่คี วร เพราะการพัฒนาการทางการเมอื งมิไดเ ปนไปตามครรลองของ
ระบอบประชาธปิ ไตย และเปนการสรา งธรรมเนยี มการปกครองท่ไี มถ ูกตองใหกับนักการเมืองและ
นกั การทหารในยุคหลงั ตอ ๆ มา ซงึ่ ทําใหระบอบประชาธปิ ไตยตองประสบกับความลมเหลว

2) ผลกระทบทางดา นเศรษฐกจิ
การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 นับไดวา เปนการเปล่ยี นแปลงทางการเมอื ง

ท่ีสาํ คัญของไทย จากการท่คี ณะราษฎรไดม อบหมายใหนายปรดี ี พนมยงค เปน คนรางเคา โครงการ
เศรษฐกิจเพื่อนําเสนอแตไมไดรับการยอมรับจากคณะราษฎรสวนใหญ ดังนั้น ระบบเศรษฐกิจ
จงึ ยังคงเปนแบบทุนนยิ มเชนเดิม และเนน ท่กี ารเกษตรกรรมมากกวาอุตสาหกรรม นอกจากนี้กลุม
ผลประโยชนท ่ีครอบครองที่ดินและทุนอันเปนปจจัยการผลิตท่ีสําคัญ ก็รวมตัวกันตอตานกระแส
ความคดิ ท่ีจะเปลย่ี นแปลงกรรมสิทธท์ิ ี่ดินและเงนิ ทนุ จากของบุคคลเปนระบบสหกรณ

การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ยังสงผลทาํ ใหช นชัน้ เจา นายและขนุ นาง
ในระบบเกาถูกลิดรอนผลประโยชนทางเศรษฐกิจ เชน พระมหากษัตริยจะไดรับเงินจาก
งบประมาณเพียงปละ 1 - 2 ลานบาท จากเดิมเคยไดประมาณปละ 2 - 10 ลานบาท เงินปของ
พระบรมวงศานวุ งศถูกลดลงตามสวน ขนุ นางเดิมถกู ปลดออกจากราชการโดยรบั เพียงบํานาญ และ
เจา นายบางพระองคถูกเรียกทรพั ยส ินสมบัตคิ นื เปนของแผนดนิ

138

3) ผลกระทบทางดา นสงั คม
ภายหลงั การเปลีย่ นแปลงการปกครอง ประชาชนเริ่มไดรับเสรีภาพและมีสิทธิ

ตาง ๆ ตลอดจนความเสมอภาคภายใตบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ และไดรับสิทธิในการปกครอง
ตนเอง ในขณะที่บรรดาเจาขุนมูลนาย ขุนนาง ซึ่งมีอํานาจภายใตระบอบการปกครองดั้งเดิม
ไดส ูญเสยี อาํ นาจและสิทธปิ ระโยชนต า ง ๆ ทีเ่ คยมมี ากอน โดยทคี่ ณะราษฎรไดเขาไปมีบทบาทแทน
บรรดาเจานายและขนุ นางในระบบเกาเหลาน้นั

รัฐบาลไดกระจายอํานาจการปกครองไปสูทองถิ่นดวยการจัดตั้งเทศบาลตําบล
เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร มีสภาเทศบาล คอยควบคุมกิจการบริหารของเทศบาลเฉพาะ
ทองถน่ิ นน้ั ๆ โดยมเี ทศมนตรเี ปนผบู รหิ ารตามหนา ท่ี

รฐั บาลของพันเอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา ไดประกาศใชแผนการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. 2479 โดยกําหนดแบงการศึกษาออกเปน 2 ประเภท คอื สายสามญั ศึกษาและสายอาชีวศกึ ษา
ซึ่งเปนการเนน ความสําคัญของอาชวี ศึกษาอยา งแทจ รงิ โดยไดก าํ หนดความมงุ หมายเพือ่ สงเสรมิ ให
ผูท่ีเรียนจบการศึกษาในสายสามญั แตล ะประโยคแตละระดับการศึกษาไดเรียนวิชาอาชีพเพิ่มเติม
นอกเหนือไปจากเรียนวิชาสามัญ ท้ังนี้เพ่ือประโยชนในการท่ีจะออกไปประกอบอาชีพและมี
นโยบายท่ีจะสงเสรมิ การศกึ ษาของราษฎรอยางเตม็ ท่ี ตามหลกั 6 ประการของคณะราษฎร ดังนั้น
รัฐบาลจงึ ไดโ อนโรงเรียนประชาบาลทตี่ งั้ อยใู นเขตเทศบาลที่รฐั บาลไดจัดตง้ั ขึน้ ใหเ ทศบาลเหลา นน้ั
รับไปจดั การศกึ ษาเอง ตามทเ่ี ทศบาลเหลานั้นจะสามารถรับโอนไปจากกระทรวงธรรมการได ทาํ ให
ประชาชนในทองถ่ินตา ง ๆ มสี ว นรวมในการทาํ นุบาํ รงุ การศึกษาของบตุ รหลานของตนเอง นําไปใช
ประกอบอาชีพตอไปอยา งมน่ั คงและมคี วามสขุ

หลังจากไดดําเนินการเปลี่ยนแปลงการปกครองสาํ เรจ็ เรยี บรอ ยแลว คณะราษฎรไดม ี
บทบาทและอิทธิพลในทางการเมือง การปกครอง และสังคมของประเทศไทย เปนระยะเวลา
ประมาณ 15 ป จนกระทง่ั ในปลายป พ.ศ. 2490 ไดเกิดการรฐั ประหารของคณะนายทหาร ภายใต
การนําของพลโทผิน ชุณหะวัณ และจากน้ันไดใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม ขึ้นดํารงตําแหนง
นายกรัฐมนตรีตอ ไป

139

ความเปนชาตไิ ทยสมัย จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม
(ระหวา ง พ.ศ. 2481 - 2487)

ประวตั ิจอมพล ป.พิบูลสงคราม

จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม มชี ื่อเดมิ วา “แปลก ขีตตะสังคะ” ชอ่ื จริงคําวา “แปลก”
เนื่องจากเมื่อแรกเกิดบิดามารดาเห็นวาหูท้ังสองขางอยูตํ่ากวานัยนตาผิดไปจากบุคคลธรรมดา
จงึ ใหชอ่ื วา “แปลก”

ภาพ : ประชมุ ครบรอบจอมพล ป.พิบลู สงครามถงึ แกก รรม

140

ในสมัยรัฐบาลของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีการดําเนินนโยบายโดยรัฐบาล
ใชร ะบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม และรฐั บาลสนับสนนุ ประชาชนคนไทยใหใชของที่ผลิตในประเทศ
ไทยดังมีคําขวัญที่วา “ไทยทาํ ไทยใช ไทยเจริญ”

แนวนโยบายของรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม หรือ “นโยบายสรางชาติ”
มคี วามหมายตามที่ปรากฏในคาํ กลาวปราศรัยของจอมพล ป. วา “ความหมายของการสรางชาติ”
น้นั มีวา ชาตไิ ทยมอี ยูแลว แตสถานะบางอยางของชาติยังไมขึ้นถึงข้ันระดับสมความตองการของ
ประชาชาติไทย เราจาํ เปน ตองพรอมใจกัน สรา งเพิ่มเติมใหด ขี ึน้ กวา เดมิ ชวยกันปรบั ปรุงไปจนกวา
เราทุกคนจะพอใจ หรอื อยางนอ ยกไ็ ดระดับเสมออารยประเทศ” นําไปสกู ารเปลี่ยนโฉมประเทศสยาม
ไปจากเดิม เปน ลกั ษณะเฉพาะทเ่ี กดิ ขึน้ ในชว งนัน้ ก็คอื การประกาศสิง่ ทเ่ี รียกวา “รฐั นิยม” อันเปน
ประกาศเกี่ยวกบั รปู แบบการปฏิบัติทางวัฒนธรรมสาํ หรับประชาชนที่จะแสดงใหเ หน็ ถงึ ความเปน ชาติ
ทม่ี อี ารยธรรม ซงึ่ เปน แนวทางทก่ี ําหนดขน้ึ เพอ่ื ปรบั ปรุงแกไ ขวฒั นธรรมบางอยางของชาติ สําหรับ
ใหใ ชเ ปนหลกั ใหป ระชาชนไดยึดถอื ปฏบิ ัติ

ประกาศรฐั นยิ มออกมาในชวงระหวา ง พ.ศ. 2482 - 2485 รวมทั้งส้ินจํานวน 12 ฉบับ
และไดม กี ารกําหนดบทลงโทษสําหรบั ผทู ีไ่ มปฏบิ ัติตามรฐั นิยมดังตอ ไปนี้

รัฐนิยมฉบบั ท่ี 1 : เรอื่ ง การใชชอ่ื ประเทศ ประชาชน และสญั ชาติ
โดยทช่ี อื่ ของประเทศน้ี มเี รยี กกนั เปนสองอยาง คือ “ไทย” และ “สยาม” แตประชาชน
นิยมเรียกวา “ไทย” รัฐบาลเห็นสมควรถือเปนรัฐนิยมใชชอื่ ประเทศใหตองตามชอ่ื เช้ือชาติและ
ความนยิ มของประชาชนชาวไทย ดังตอ ไปน้ี
ก. ในภาษาไทย ช่ือประเทศ ประชาชน และสญั ชาตใิ หใ ชว า “ไทย”
ข. ในภาษาองั กฤษ

1) ช่ือประเทศ ใหใชว า THAILAND
2) ช่ือประชาชน และสัญชาติใหใ ชวา THAI
แตไ มก ระทบถงึ กรณีทีม่ บี ทกฎหมายบญั ญตั คิ ําวา “สยาม” ไว ทั้งนต้ี ้ังแตวนั ท่ี 24 มิถนุ ายน พุทธศักราช
2482 เปน ตนไป
ประกาศมา ณ วนั ท่ี 24 มถิ นุ ายน พุทธศกั ราช 2482


Click to View FlipBook Version