The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สค11002 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

ระดับประถมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-06-15 23:26:22

สค11002 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

สค11002 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

ระดับประถมศึกษา

Keywords: ประถม

1

2

เอกสารสรุปเนอ้ื หาที่ตองรู

รายวิชาศาสนาและหนา ที่พลเมอื ง
ระดบั ประถมศึกษา
รหัส สค11002

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
พุทธศกั ราช 2551

สาํ นักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

กระทรวงศึกษาธกิ าร

หามจําหนาย

หนงั สอื เรียนนีจ้ ดั พมิ พดวยเงนิ งบประมาณแผน ดนิ เพือ่ การศกึ ษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
ลขิ สทิ ธเิ์ ปนของสาํ นกั งาน กศน.สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ



3

สารบัญ

หนา

คาํ นํา

คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เนื้อหาทต่ี อ งรู

โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาทพ่ี ลเมือง

บทที่ 1 ศาสนา 1

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของศาสนา ความสาํ คญั ของศาสนา 2

เรอ่ื งที่ 2 ประวัติศาสดา 4

เรอ่ื งท่ี 3 หลักธรรมของศาสนาตา งๆ 8

เรอื่ งที่ 4 การปฏิบัตติ นตามศาสนาตา งๆ 13

เรื่องที่ 5 บคุ คลตัวอยางทใี่ ชห ลักธรรมในการดําเนนิ ชีวติ 14

เรอ่ื งท่ี 6 การแกป ญ หาความแตกแยกของบคุ คล สังคม ชมุ ชน

เพราะความแตกตา งทางความเชอ่ื ศาสนาและสงั คมดว ยสันติวิธี 18

กิจกรรมทา ยบทท่ี 1 20

บทท่ี 2 วฒั นธรรมประเพณี 23

เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของวฒั นธรรมประเพณี 24

เรือ่ งท่ี 2 วฒั นธรรมประเพณที ี่สําคัญของทอ งถิ่น และของประเทศ 25

เรอื่ งที่ 3 การอนรุ ักษ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย 29

เรื่องที่ 4 คานยิ มทพี่ งึ ประสงคของไทยและของทอ งถิ่น 30

เรื่องที่ 5 การประพฤติปฏิบัติตนตามคา นิยมที่พึงประสงค 32

กิจกรรมทายบทที่ 2 33

บทที่ 3 หนา ทพี่ ลเมอื งไทย 36

เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของประชาธปิ ไตย 37

เรอื่ งท่ี 2 สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาทีข่ องพลเมอื งในวถิ ีประชาธปิ ไตย 40

เรอ่ื งที่ 3 การมีสว นรวมในการปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมายและการมีสว นรว ม

ในการปอ งกันและปรามปรามการทจุ รติ 42

เรื่องท่ี 4 คุณธรรมและคานยิ มพ้นื ฐานในการอยรู วมกันอยางปรองดอง

สมานฉันท 47

สารบัญ(ตอ) 4

เรือ่ งท่ี 5 รัฐธรรมนญู หนา
เร่อื งที่ 6 ความรเู บื้องตน เกีย่ วกับกฎหมาย
เรอ่ื งที่ 7 กฎหมายที่เกี่ยวของกบั ตนเองและครอบครัว 54
เร่ืองท่ี 8 กฎหมายที่เก่ยี วของกบั ชมุ ชน 58
เร่อื งที่ 9 กฎหมายอ่นื ๆ 61
กจิ กรรมทา ยบทท่ี 3 64
เฉลยกจิ กรรมทา ยบท 67
บรรณานกุ รม 71
คณะผจู ัดทํา 76
80
83

5

คําแนะนําการใชเอกสารสรุปเนื้อหาทีต่ อ งรู

หนังสือสรุปเน้ือหารายวิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมืองเลมน้ี เปนการสรุปเน้ือหาจาก
หนังสือเรียนสาระ ความรูพื้นฐานรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง สค11002 ระดับ
ประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2557) เพื่อใหนักศึกษา กศน. ทําความเขาใจและเรียนรูในสาระสําคัญ
ของเนื้อหารายวิชาสาํ คญั ๆ ไดสะดวกและสามารถเขาถงึ แกนของเน้ือหา ไดด ขี ้ึน

ในการศึกษาหนงั สือสรปุ เนอ้ื หารายวชิ าศาสนาและหนา ที่พลเมือง เลมน้ี ผูเรียนควร
ปฏิบัติดังน้ี

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมืองจากหนังสือเรียนสาระความรู
พน้ื ฐาน รายวิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมือง สค11002 ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2557) ใหเขาใจ
กอน

2. ศกึ ษารายละเอียดเน้อื หาของหนงั สือสรุปเนื้อหารายวิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมือง
ใหเ ขา ใจอยางชัดเจน ทลี ะบท จนครบ 3 บท

3. หากตองการศึกษารายละเอียดเน้ือหารายวิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมืองเพ่ิมเติม
นักศึกษา กศน. สามารถศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมจากตํารา หนังสือเรียนที่มีอยูตามหองสมุด
รา นหนงั สือเรียน หรือจากครูผสู อน

6

โครงสรา งรายวิชาศาสนาและหนาทพี่ ลเมือง
(สค11002)

ระดับประถมศึกษา

สาระสําคัญ
เปนสาระท่เี กย่ี วกบั ความหมาย ความสําคัญของศาสนา ศาสนาในประเทศไทย ประวัติ

ศาสดา หลกั ธรรมของศาสนา การปฏบิ ัตติ นตามหลักศาสนา ความหมายและความสําคัญของ
วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทย วัฒนธรรมประเพณที ่ีสําคญั ของทองถิ่น การอนุรักษสืบสาน
วฒั นธรรมของประเพณีไทย คา นยิ มท่ีพงึ ประสงคของไทยและของทองถิ่น การประพฤติปฏิบัติ
ตนตามคานิยมที่พึงประสงค ความหมายของประชาธิปไตย สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาท่ีของ
พลเมืองใน วิถปี ระชาธิปไตย การมีสวนรวมในการปฏิบัติตนตามกฎหมาย และการมีสวนรวม
ในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต มีคุณธรรมและคานิยมพื้นฐานในการอยูรวมกันอยาง
ปรองดองสมานฉันท กฎหมายท่ีเกี่ยวของกับตนเองและครอบครัว กฎหมายท่ีเก่ียวของกับ
ชุมชน กฎหมายอนื่ ๆ เชน กฎหมายแรงงานและสวสั ดกิ าร กฎหมายวาดวยสิทธิเด็กและสตรี

ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวงั
1. อธิบายประวตั ิ หลักคําสอน และการปฏิบตั ิตามหลกั ศาสนาทต่ี นนบั ถือ

2. เห็นความสําคัญของวัฒนธรรม ประเพณีและมีสวนรวมในการปฏิบัติตนตาม
วัฒนธรรม ประเพณที อ งถ่นิ

3. ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี
4. ยอมรับและปฏิบตั ติ นเพ่อื การอยูร ว มกันอยา งสันติสุขในสงั คม ทีม่ คี วามหลากหลาย
ทาง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี มีคุณธรรมและคานิยมพื้นฐานในการอยูรวมกันอยาง
ปรองดอง สมานฉันท
5. บอกสทิ ธเิ สรภี าพ บทบาทและหนาที่ตามกฎหมายของการเปนพลเมอื งดีตาม
ระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข
6. เห็นคณุ คาของการปฏบิ ตั ิตนเปนพลเมืองดีตามกฎหมาย
7. มสี ว นรว มในการปกครองสวนทอ งถิ่นในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย
ทรงเปน ประมุข
8. วิเคราะหการแกป ญ หาการทุจรติ และมสี ว นรว มในการปอ งกันและปราบปรามการ
ทจุ ริต

7

ขอบขา ยเนือ้ หา
บทท่ี 1 ศาสนา
บทท่ี 2 วฒั นธรรมประเพณี
บทที่ 3 หนา ที่พลเมืองไทย

1

บทที่ 1
ศาสนา

สาระสําคญั
เปนสาระสําคัญที่เกี่ยวของกับความหมาย ความสําคัญของศาสนา ศาสนา

ในประเทศไทยคือศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณฮินดู ประวัติ
ศาสดา หลักธรรมของศาสนา การปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา บุคคลตัวอยาง
ทใ่ี ชห ลกั ธรรมในการดาํ เนนิ ชีวติ และการอยูรวมกันของคนไทยท่ีตา งศาสนา

ผลการเรยี นรูท่คี าดหวงั
1. มีความรู ความเขาใจเกย่ี วกับความหมาย ความสาํ คัญของศาสนาตาง ๆ ในประเทศ

ไทย
2. มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับพุทธประวัติ ประวัติศาสดาของศาสนาตาง ๆ

ในประเทศไทย
3. มีความรู มีความเขาใจและสามารถนําหลักธรรมสําคัญของศาสนาไปใชในการ

ดําเนินชวี ติ ประจาํ วนั
4. สามารถปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ศาสนาท่ีตนนับถือได
5. ตระหนกั ถงึ คุณคาและเหน็ ความสาํ คัญในการนําหลักธรรมมาใชในการดาํ รงชีวิต
6. มีความเขาใจในการแกปญหาความแตกแยกของบุคคล สังคม และชุมชน

เพราะความแตกตา งทางความเชอื่ ศาสนาและสังคม ดวยสนั ติวิธี

ขอบขายเน้ือหา
เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย และความสาํ คญั ของศาสนา
เรอ่ื งที่ 2 ประวัติศาสดาของศาสนาตาง ๆ
เรอ่ื งที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตางๆ
เรอ่ื งที่ 4 การปฏิบัตติ นตามหลักของศาสนาตา งๆ
เรอ่ื งท่ี 5 บคุ คลตัวอยางท่ีใชห ลกั ธรรมทางศาสนาในการดําเนินชีวติ
เร่ืองท่ี 6 การแกไขปญหาความแตกแยกของบุคคล สังคม ชุมชน เพราะความแตกตาง

ทางความเชอื่ ศาสนาและสังคม ดวยสนั ตวิ ธิ ี

2

เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย และความสาํ คญั ของศาสนา

1.1 ความหมายของศาสนา
ความหมายของศาสนา
“ศาสนา” คือ หลักธรรมคําส่ังสอนของศาสดา ที่เปนความเช่ือในหลักการ

กรรมวธิ ี การปฏบิ ตั ติ น เพ่อื เปน แนวทางใหผปู ฏบิ ตั ิเกดิ ความเจรญิ ในชีวิต
ศาสนาเปนสิ่งยึดเหน่ียวจิตใจของคน และศาสนาทุกศาสนามีจุดมุงหมาย

เดียวกัน คือ สอนใหทุกคนทําความดี ละเวนจากการทําความช่ัว ดังน้ันหากคนทุกคนปฏิบัติ
ตามหลักธรรมคําสั่งสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ ก็จะทําใหผูปฏิบัติมีความสงบสุข และอยู
รวมกันในสังคมอยางมีความสขุ

สาเหตุการเกดิ ศาสนา มี 2 ประการ
ประการแรก เกิดจากความกลัวของมนุษยเนื่องจากมนุษยไมมีความรู ความ
เขาใจ ปรากฏการณทางธรรมชาติ ภัยพิบัติตาง ๆ มนุษยคิดวา ส่ิงเหลานี้เกิดจากอํานาจของ
วิญญาณ และส่ิงศักด์ิสิทธ์ิดลบันดาลใหเปนไป มนุษยจึงแสวงหาวิธีภักดี ออนนอมใหอยูใต
อํานาจดวยการแสดงออกตาง ๆ นานา เชน การเคารพบูชา การเซนสังเวย การทําทุกรกิริยา
เพือ่ ใหส ่ิงศักด์ิสิทธ์ิเห็นใจ
ประการตอมา เกดิ จากการคนหาความจริงของธรรมชาติ โลกและชีวิต โดยไม
หวังพ่ึงพิงอํานาจศักดิ์สิทธ์ิ ใด ๆ เม่ือคนหาความจริงพบแลวจึงนํามาประกาศศาสนา เพื่อให
ชาวโลกรตู าม ไดแ ก พระพทุ ธเจา เปน ตน
องคประกอบของศาสนา มอี ยู 5 ประการ คอื
1. มีศาสดา คือ ผูกอต้ังศาสนา เชน พระพุทธเจาเปนศาสดาของศาสนาพุทธ
พระเยซูเปนศาสดาของศาสนาครสิ ต พระมฮู มั มัดเปนศาสดาของศาสนาอสิ ลาม
2. มีคัมภีร คือ หลักธรรมคําสั่งสอน เชน ศาสนาพุทธมีพระไตรปฎก ศาสนาคริสต
มีคมั ภรี ไบเบิล ศาสนาอิสลามมคี ัมภรี อัลกรุ อาน
3. มีสาวก คือ ผูปฏิบัติตนตามคําสอนของศาสนา เชน ศาสนาพุทธ
มพี ระภกิ ษุและพทุ ธบรษิ ทั ศาสนาครสิ ตม บี าทหลวง ศาสนาอสิ ลามมีมสุ ลิม (มสุ ลิมไมใชน กั บวช
ผนู ํามสุ ลมิ คอื จฬุ าราชมนตร)ี
4. มศี าสนาสถาน คอื สถานทป่ี ระกอบพิธีกรรมทางศาสนา เชน ศาสนาพุทธ
มวี ดั ศาสนาคริสตม โี บสถ ศาสนาอสิ ลามมีมัสยดิ

3

5. มีสัญลักษณ คือ เครื่องหมายแสดงทางศาสนา เชน ศาสนาพุทธมีเสมา
ธรรมจกั ร ศาสนาครสิ ตม ไี มกางเขน ศาสนาอสิ ลามมีดาว 5 แฉก และจนั ทรเ ส้ียว)

ประเภทของศาสนา จาํ แนกเปน 4 ประเภท คอื
1. เอกเทวนิยม เชื่อในพระเจาองคเดียว เชน ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาคริสต
2. พหุเทวนิยม เชอ่ื ในพระเจาหลายองค เชน ศาสนาฮินดู ศาสนาชินโต
3. สัพพัตถเทวนิยม เชื่อวาพระเจาสิงสถิตอยูในทุก ๆ แหง เชน ศาสนา

พราหมณบางลัทธิ เปนตน
4. อเทวนิยม ไมเช่ือวาพระเจาเปนผูสรางโลก เชน ศาสนาพุทธ

ศาสนาเซน
1.2 ความสาํ คญั ของศาสนา สรปุ ได 7 ประการ คือ
1. เปนท่ียึดเหน่ียวทางจิตใจ ชวยใหมนุษยเกิดความม่ันใจในการดํารงชีวิต

และชวยใหรสู ึกปลอดภัย
2. ชวยสรางความสามัคคีในหมูมนุษย ชวยใหมนุษยรวมมือกันแกไขปญหา

ตาง ๆ ตลอดจน รว มมือกนั สรางสรรคส ิ่งทีเ่ ปนประโยชนต อ ศาสนาและชีวติ
3. เปนเครื่องมือขัดเกลาสมาชิกในสังคมใหสมาชิกยึดมั่น เชื่อถือ

ปฏิบตั ติ นเปนคนดตี ามคําสอน กลัวบาปที่เกดิ จากความประพฤติไมด ีตาง ๆ
4. ชวยพัฒนาและยกระดับจิตใจการกระทําของมนุษยใหสูงข้ึน คือ

ชว ยใหมนษุ ยเสียสละและ อดทน อดกล้นั ยิ่งข้ึน ทาํ ความดีมากยงิ่ ข้นึ เปน ตน
5. เปน บอเกดิ แหงศาสตร ความรูด า นศิลปะ ขนบธรรมเนียม ประเพณีตาง ๆ

มีกาํ เนิดจากศาสนา
6. ชว ยใหม นุษยมีอิสระ คําสอนของศาสนาเสนอแนวทางท่ีมนุษยสามารถฝก

ตนใหพ น จากกิเลสมอี สิ ระจากกเิ ลสทัง้ ปวง
7. เปนสัญลักษณ แสดงถึงความดีงามและพลังแหงความสามัคคี

ความเปน น้ําหน่งึ ใจเดียวกันของบุคคลในแตละศาสนา

4

เรือ่ งท่ี 2 ประวตั ศิ าสดา
2.1 พทุ ธประวัติ
ศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติของประเทศไทยเปนศาสนาประเภท

อเทวนิยม คือ ไมเชือ่ วา มีพระเจา สรา งโลก สรางมนุษย กาํ หนดโชคชะตามนษุ ย แตเชือ่ วา
ทกุ อยา งเกิดมาไดเ พราะมเี หตุ ทุกอยางตอ งอาศยั กนั เปน เหตุเปน ปจจัยซง่ึ กันและกัน จะมีเพียง
อยางใดอยางหนึง่ มไิ ด

ศาสนาพุทธเกิดในชมพูทวีป ปจจุบันเปนพื้นท่ีของประเทศอินเดีย เนปาล
ภูฏาน ปากีสถาน และ บังกลาเทศ รวมกัน

ศาสดาของศาสนาพุทธคือ พระพุทธเจา ทรงมีพระนามเดิมวา เจาชาย
สิทธตั ถะ กําเนิดในตระกูลกษตั รยิ ใ นยคุ ท่ศี าสนาฮนิ ดูเจริญรงุ เรืองในชมพูทวีป พระองคประสูติ
ณ ลมุ พนิ วี นั แควน สกั กะ เมอื งกบลิ พัสด (ปจจุบนั คอื เมอื งรุมมินเด ประเทศเนปาล)ทรงประสูติ
ในวนั ศกุ รข ้นึ 15 ค่าํ เดอื น 6 ปจอ กอ นพทุ ธศกั ราช 80 ป เมือ่ ประสูติได 7 วัน พระราชมารดา
คือ พระนางสิริมหามายาส้ินพระชนม พระราชบิดาของพระองค คือ พระเจาสุทโธทนะจึงให
พระเจานาคือพระนางประชาบดีโคตรมี เปนผูเลี้ยงดู พระเจาสุทโธทนะไดเชิญพราหมณมา
ทํานายลักษณะพระโอรส พราหมณไดพยากรณ พระราชกุมารวา “ถาออกบวชจะไดเปน
ศาสดาเอกของโลกถาทรงเปนฆราวาสจะไดเ ปนพระจกั รพรรดิ” พระเจาสุทโธทนะจึงปรารถนา
จะใหเจาชายสิทธัตถะเพลิดเพลินในความสุขทางโลก เพ่ือจะไดใหเจาชายสิทธัตถะเปน
พระจักรพรรดิ ดง้ั น้นั พระราชบิดาจงึ สรางปราสาทที่งดงาม 3 หลัง ใหประทับแตละฤดูและให
ศึกษาเลาเรียนศิลปวิทยากับสํานักอาจารยวิศวามิตร เจาชายทรงอภิเษกสมรสกับพระนาง
พมิ พา ถงึ แมพระราชบิดาจะหาสิ่งอํานวยความสุข ความสะดวกสบายใหพระองค แตเจาชาย
สิทธตั ถะก็มิไดเ พลิดเพลนิ กับความสขุ ทางโลก เมื่อพระองคเสด็จออกนอกพระราชวัง พระองค
ทอดพระเนตรเห็น การเกิด การแก การเจ็บ การตาย เปนความทุกข พระองคทรงครุนคิด
แสวงหาทางใหมนุษยพนทุกขแ ละเห็นวา การหนที ุกขในโลกดวยการบรรพชา

ดงั นั้นพระองคจ ึงเสด็จออกจากวังในวนั ทพี่ ระนางพิมพาประสูติพระโอรสคือ
เจาชายราหุล พระองคทรงราํ พงึ วา “หว งเกิดแลวหนอ” เมื่อพระองคเสด็จผานทรงพบเห็นนาง
สนมนอนระเกะระกะอยู เปน ภาพที่ไมนา ดู ไมสวยงาม ลว นนาปลงสงั เวช พระองคจึงเสด็จออก
บวชพรอมกับคนรับใชช่ือนายฉันนะ ทรงข่ีมาช่ือกัณฐกะ จากนั้นใหนายฉันนะกลับไปแลว
พระองคทรงปลงผม ถือเพศบรรพชิต และแสวงหาอาจารยจากสํานักตาง ๆ เพ่ือสั่งสอนให
พระองคบ รรลธุ รรมทที่ ําใหส ัตวโลกพนจากความทุกข ทรงศึกษาที่สํานักอาฬารดาบสและอุทก

5

ดาบส ฝก ฝนทางจิตจนไดฌานสมาบัติ 8 ซึ่งเนนโยคะวิธี ทรงเห็นวาไมใชทางพนทุกขที่แทจริง
ตอมาพระองคท รงใชว ธิ กี ารทรมานตนเองดว ยการบําเพ็ญทุกรกิริยา คือ อดอาหารและทรมาน
ตนดวยวิธีตา ง ๆ จนรางกายซบู ผอม ทรงพบวา ทางนก้ี ็มิใชพ น ทกุ ข จงึ หันมาเดินสายกลาง และ
เสวยพระกระยาหารตามเดมิ แลวหันมาบําเพ็ญเพียรทางจิตคนหาสัจธรรม และทรงคนพบสัจ
ธรรมในวนั เพ็ญเดอื นวสิ าขะ คือวันข้ึน 15 ค่าํ เดอื น 6 ประกา กอ นพระพุทธศกั ราช 45 ป ทรงมี
พระชนมายุ 45 พรรษา

สจั ธรรมที่พระองคตรัสรู คือ ทรงคนพบปุพเพนิวาสญาณ คือ อดีตชาติของ
พระองค ทรงคนพบ จุตูปปาตญาณ คือการกําเนิดของสัตวโลกและอาสวักขยญาณ
คือ การกําจัดกิเลสใหหมดส้ินไป เพื่อจะปฏิบัติตนใหพนทุกขไมตองเวียนวายตายเกิด
คอื อริยสัจสีเ่ ปน ความจริงอนั ประเสริฐ ซง่ึ เปน หัวใจสําคญั ของพระพทุ ธศาสนา คอื

ทุกข คือ ปญหาท้ังหลายท่ีเกิดข้ึนในชีวิต ไดแกความไมสบายกาย
ความไมส บายใจ

สมุทยั คอื สาเหตุแหง ปญหาทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ
นโิ รธ คอื ความจริงวาดว ยการดับทุกข การละตนเหตุของความทกุ ข
มรรค คือ ความจรงิ วาดว ยแนวทางแหงความดับทุกข
หลังจากตรัสรูแลวพระองคไดเสด็จไปเทศนาธรรมแกปญจวัคคีย ท้ัง 5 คือ
โกณฑญั ญะ วัปปะ ภัททยิ ะ มหานามะ อัสสชิ ซึ่งติดตามดแู ลพระองคชวงที่แสวงหาธรรมและ
บําเพ็ญทกุ รกริ ิยา เมื่อพระองคเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยาจึงคิดวาพระองคทอถอย ไมบําเพ็ญเพียร
จึงพากนั หนไี ปทป่ี า อิสิปตนมฤคทายวัน เมอ่ื พระองคเ ทศนาธรรมคอื ธมั มจกั กปั วตั นสตู ร
ซึ่งแสดงถึงขอปฏิบตั ทิ างสายกลางคือ มรรค 8 ซ่งึ เปน ขอ ปฏิบัติใหพนจากความทุกข คือ
1. สัมมาทฏิ ฐิ ปญ ญาเหน็ ชอบ
2. สมั มาลังกัปโป ความดาํ รชิ อบ
3. สมั มาวาจา วาจาชอบ
4. สัมมากัมมนั โต การงานชอบ
5. สมั มาอาชโี ว ความเลย้ี งชพี ชอบ
6. สัมมาวายาโม ความเพียรชอบ
7. สัมมาสติ ความระลึกชอบ
8. สมั มาสมาธิ การตง้ั จติ ชอบ

โกณฑญั ญะ ไดด วงตาเห็นธรรมเปนคนแรกและปญจวัคคียท้ังหมด

6

จึงบวชเปนภิกษุ จึงถือวาเกิดพุทธศาสนา ครบสมบูรณคือ พระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ เปนไตรสรณคมณ ซึ่งเปนท่เี คารพของชาวพุทธตอมาพระองคทรงเผยแพร
ศาสนาอยู 45 ป และปรินิพพานท่ีเมืองกุลินารา ในวันเพ็ญเดือน 6 วันเดียวกับที่พระองค
ทรงประสูติ ตรสั รู และปรินิพพาน เรียกวา เปนวันวสิ าขบชู า เปนวันสาํ คัญของชาวพทุ ธ

2.2 ประวตั ิพระเยซู
คริสตศาสนาเปนศาสนา 1 ใน 3 ศาสนาสําคัญของโลก ในประเทศไทย

มีจํานวนผนู บั ถอื ครสิ ตศาสนามากเปนอันดับ 3 ศาสนาคริสต พัฒนามาจากศาสนายูดาย คําวา
“คริสต” มีรากศพั ทมาจากภาษาโรมันและภาษากรีก แปลวา ผูปลดเปลื้องความทกุ ข

พระเยซู เปนผูใหกําเนิดศาสนาคริสต ทานเกิดท่ีหมูบานนาซาเรท
แควน กาลิลี หา งจากนครเยรซู าเล็มประมาณ 55 ไมล มารดาของพระเยซูชื่อมาเรียหรือมารีย
บิดาชื่อโยเซฟ อาชีพชางไม ตามประวัติมาเรียมารดาของพระเยซูน้ัน ตั้งครรภมากอนขณะท่ี
โยเซฟยังเปนคูหม้ัน รอนถึงเทวทูตของพระเจา คือ พระยะโฮวาหหรือยาหเวหตองมาเขาฝน
บอกโยเซฟใหรูวาบุตรในครรภของมาเรียเปนบุตรของพระเจาคือ พระยะโฮวาหหรือยาหเวห
เปน ผมู บี ญุ มากใหต งั้ ชอื่ วาพระเยซู ตอไปคนผูนี้จะชวยไถบาปใหชาวยิว รอดพนจากความทุกข
ตัง้ ปวง โยเซฟปฏบิ ตั ติ ามคาํ ของทูตแหงพระเจา จงึ รับมาเรียมาอยดู วยกนั โดยมิไดสมสูกันเยี่ยง
สามีภรรยา พระเยซูไดรับการเลี้ยงดูมาอยางดี มีความรูภาษากรีกแตกฉาน ศึกษาพระคัมภีร
เกา ไดมอบตัวเปน ศษิ ยข องโยฮันผแู ตกฉานในคัมภีรของยิว เม่ือทานเติบโตมาเปนผูใหญมีนิสัย
ใฝส งบอยใู นวเิ วก ใฝใ จทางศาสนา เมื่อทานอายุได 30 ป ไดรับศีลลางบาปจากจอนห โดยเยซู
อาบนํ้าลางบาปท่ีแมนํ้าจอรแดน ตั้งแตนั้นมาถือวาพระเยซูไดสําเร็จรูปธรรมสูงสุดในศาสนา
ครสิ ตเปน ศาสดา บําเพ็ญพรต อดอาหาร และพิจารณาธรรมอยูในปาสงัด ถึง 40 วัน จากน้ัน
จึงออกประกาศศาสนา ทานเผยแพรศาสนาอยู 3 ป มีผูนับถือพระเยซูมากข้ึนจนเปนเหตุให
พวกปโุ รหิต พวกธรรมาจารยแ ละพวกฟาริซี เกลยี ดชังขณะท่พี ระเยซพู รอ มสาวก 12 คน กําลัง
รับประทานอาหารมื้อคํ่าสุดทาย พวกทหารโรมันก็จูโจมเขาจับพระเยซูและใหขอหาเปนกบฏ
ตอซีซาร จักรพรรดิโรมัน ต้ังตนเปนพระเมสสิอาห และถูกตัดสินใหลงโทษประหารชีวิต โดย
การตรงึ ไมก างเขนไวจนส้ินพระชนม หลังจากน้ัน 3 วัน พระองคไดเสด็จกลับคืนชีพและเสด็จ
ขน้ึ สวรรค

7

นักบวชและผูสืบทอดศาสนา คือ พระบาทหลวง หมอสอนศาสนา และ
คริสตศาสนิกชน ผูเล่ือมใสคริสตศาสนา ศาสนสถานท่ีใชในการประกอบกิจกรรมสําคัญ
คือ โบสถ และวิหาร สัญลักษณท่ีแสดงความเปนคริสตศาสนิกชนทุกนิกายใชเคร่ืองหมาย
กางเขนเหมอื นกนั เพราะแสดงถงึ ความเสียสละที่ย่ิงใหญแ ละเปน นิรนั ดรข องพระองค

2.3 ประวตั พิ ระนบีมูฮัมหมัด
ศาสนาอิสลามเปนศาสนา 1 ใน 3 ศาสนาสําคัญของโลก ในประเทศไทย

จํานวน ผูนับถือศาสนาอิสลามในประเทศไทยมีจํานวนมากเปนลําดับท่ี 2 ศาสนาอิสลาม
กําเนิดในประเทศซาอดุ อี าระเบีย เมื่อ พ.ศ. 1113 คําวา อิสลาม มาจากคําวา อิสลามะ แปลวา
การออ นนอ มถอมตนตอ พระอัลเลาะหเจาอยางสิ้นเชงิ ผูนับถอื อิสลามเรียกวา มุสลิมหรือ อิสลา
มิกชน

ศาสดาของศาสนาอิสลามคือ พระนบีมูฮัมหนัด ทานเกิดเม่ือวันจันทรที่ 30
สิงหาคม พ.ศ. 1113 เมืองเมกกะ (นักกะ) ประเทศซาอุดีอาระเบีย บิดาชื่ออับดุลเลาะห
มารดาช่ืออามีนะห ในตระกูลฮาซิม เผากูเรซ บิดาสิ้นชีวิตกอนพระนบีมูฮัมหมัดเกิด มารดา
สน้ิ ชีวิตเมื่อทานมอี ายไุ ด 6 ขวบ จึงอยูใ นความอุปการะของปูและลุงตามลําดับ ทานไดแตงงาน
กับหญิงมา ยชอ่ื คอดยี ะ เปน เจา ของกิจการคา มบี ุตรธิดารวม 7 คน (ชาย 3 คน หญิง 4 คน)

เมื่อทานไดอายุ 40 ป ทานไดข้ึนไปหาความวิเวกท่ีถ้ําหิเราะ บนภูเขานูริ
เทพยมิ รออิลท่ีเปน บริวารของพระอัลเลาะหเ จา ไดลงมาบอกวา พระอัลเลาะหไดแตงต้ังใหทาน
เปนศาสดาเผยแผศาสนาอสิ ลามของพระองค ทา นจงึ เปนพระนบีหรอื เปนศาสนฑูตหรือตัวแทน
ของพระเจาบนพื้นพภิ พ เมือ่ พ.ศ. 1153 ขณะท่ีทานมีอายุได 40 ป โดยใชสถานที่ประดิษฐาน
หินกาบะหเปนที่ประกาศสัจธรรม ระหวางการเผยแพรศาสนาอิสลาม ทานตองตอสูกับฝาย
ปรปกษจนไดรับชัยชนะ พระนบีมูฮัมหมัดประกาศศาสนาอยู 23 ป ทานถึงแกกรรมเม่ืออายุ
ได 63 ป

นักบวชหรือผูสืบทอดศาสนา ผูปฏิบัติตามคําสอนของศาสนา เชน อิหมาม
ผนู าํ ศาสนา และมุสลิมหรอื อิสลามมิกชน ศาสนสถานคือ สถานที่ประกอบศาสนกิจของผูนับถือ
ศาสนาอิสลามไดแก สุเหราหรือมัสยิด ซ่ึงเปนสถานท่ีที่จัดไวเพื่อการละหมาด สัญลักษณของ
ศาสนาอิสลาม เน่ืองจากศาสนาอิสลามสอนใหมีพระเจาองคเดียว และสอนไมใหเคารพบูชา
สัญลกั ษณห รอื รปู เคารพใด ๆ รูปพระจันทรครึ่งเสี้ยวและมีดาว 5 แฉกอยูตรงกลาง ที่พบตาม
สุเหราทัว่ ไปนน้ั ไมใ ชสัญลกั ษณท างศาสนาแตเปน เคร่ืองหมายของอาณาจักรออตโตมานเตอรก
ที่รุงเรืองมากในอดีตต้ังแตศตวรรษท่ี 15-20 ที่ประเทศมุสลิมสวนใหญตกอยูในอํานาจของ

8

อาณาจักรนี้ ชนชาวอสิ ลามจงึ ถือเอาเครอ่ื งหมายนั้นเปนสญั ลกั ษณข องตนและชนชาติมุสลิมสืบ
มา และกลายเปนสัญลกั ษณของผูนับถอื ศาสนาอสิ ลามไปโดยปริยาย

2.4 ประวัติศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู
เปนศาสนาท่ีมีผูนับถือจํานวนมากในโลกเชนกัน สําหรับในประเทศไทยมี

ผูนับถือจํานวนนอยท่ีสุด แตอยางไรก็ตามวัฒนธรรมประเพณีไทยหลายอยางท่ีสืบทอดมาถึง
ปจจุบันมีการนําศาสนาพราหมณมาปะปนอยูคอนขางมาก เชน พระราชพิธีจรดพระนังคัล
แรกนาขวญั

ศาสนาพราหมณ-ฮนิ ดู เปนศาสนาประเภทพหุเทวนิยม เช่ือในเทพหลายองค
คอื พระอศิ วรเปน ผูสรา งโลก นอกจากนัน้ ยังมีพระนารายณ พระพรหม พระอุมา พระพิฆเณศ
ซง่ึ ทาํ หนาทใ่ี หกบั โลกตา ง ๆ กนั ศาสนาพราหมณ- ฮินดู ไมมีศาสดา ผูสืบทอดศาสนาพราหมณ
ไดแ ก พราหมณ นักบวช มหี นาที่ศึกษาคัมภีรรายเวทเปนผูนําสวดมนต และประกอบพิธีกรรม
ตาง ๆ ทางศาสนา รวมท้ังผูศรัทธาเล่ือมใส ศาสนาพราหมณ - ฮินดู สถานท่ีใชประกอบ
พิธกี รรมทางศาสนาไดแก โบสถ สัญลักษณของศาสนาพราหมณ ใชอักษรเทวนาครึที่เขียนวา
“โอม” ซึ่งหมายถงึ เทพเจาทัง้ 3 ท่สี ําคญั มากคือ พระพรหม เปน ผูสรางโลกตา ง ๆ พระวิษณุ
เปนผูคุมครองโลกตาง ๆ นอกจากนี้ยังนิยมสรางเคร่ืองหมายแนวนอน 3 เสน ไวที่หนาผาก
เหนือควิ้ ซึ่งหมายถึงทีน่ ่งั ของสหี ะ คอื มหาเทพท่ตี นนับถือ

เร่อื งที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตา ง ๆ
3.1 หลักธรรมของศาสนาพทุ ธ
ตามที่กลาวมาแลววา ศาสนธรรมเปนองคประกอบที่สําคัญของศาสนา

คาํ สอนของสัมมาสัมพทุ ธเจา เรยี กวา พระธรรม
พระธรรมในศาสนาพุทธ กําหนดไวในพระไตรปฎกมีอยู 3 ตะกรา กลาวคือ

คาํ สอนของ พระพุทธเจา ในอดตี จารกึ ไวใ นสมดุ ขอยและใบลาน แยกไว 3 หมวดหมู คอื
1. พระสตุ ตนั ตปฎ ก เปนคมั ภีรท ่รี วบรวมคําสอนของพระพุทธเจา ในโอกาส

ตาง ๆ มีชาดกประกอบ เชน สุภชาดก ท่ี 5 โทษของการไมรูประมาณความสรุปวา
เม่อื พระพทุ ธเจาประทบั อยู ณ พระวหิ ารเชตะวัน ทรงปรารภถึงภิกษรุ ปู หน่ึงท่มี รณภาพ
เพราะฉันมากเกินไปจนอาหารไมยอย พระพุทธเจาจึงตรัสวา แมในกาลกอนภิกษุน้ีก็ตาย
เพราะบริโภคมาก

9

2. พระวินัยปฎก เปนธรรมที่เกี่ยวกับระเบียบกฎเกณฑความประพฤติของ
พระสงฆ ซึ่ง พระพุทธเจา กําหนดไวมีท้ังหมด 227 ขอ พระพุทธเจาจะทรงกําหนดขึ้นเมื่อมี
เหตกุ ารณท ่ีพระสงฆไ มค วรประพฤติปฏิบัติ

3. พระอภธิ รรมปฎก คัมภีรท่ีรวบรวมเก่ียวกับหลักธรรมหรือขอธรรม ลวน ๆ
คําส่ังสอนวาเปนพระสูตรตาง ๆ ของพระพุทธเจา ตัวอยางคือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ซ่งึ กลาวถงึ มรรค 8 ซ่ึงเปน ทางปฏบิ ัตใิ หไกลจากกเิ ลส

พระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาเปนตัวแทนพระพุทธเจาท่ีปรินิพาน
ไปแลว เม่ือถึงคราวที่ศาสนาพุทธเกิดปญหามีความเสื่อมลง เน่ืองจากพุทธบริษัท คือ ภิกษุ
ภกิ ษณุ ี อุบาสก อุบาสิกา ไมปฏบิ ัติตามคาํ สงั่ สอนของพระพุทธเจา จะมีการนําพระไตรปฎกมา
สังคายนา มีการตรวจสอบชําระใหถูกตอง วัดในสมัยเกาเก็บพระไตรปฎก ท่ีจารึกไวในใบลาน
สมดุ ขอย เก็บไวท ศี่ าลาธรรมทต่ี งั้ อยกู ลางนํ้า เพื่อปองกัน มอด ปลวก กดั กินทําลาย

หัวใจของศาสนาพุทธ
โอวาทปาติโมกข พระพุทธองคทรงประกาศหัวใจของศาสนาพุทธ
ในวันมาฆบูชาเปนวันข้ึน 15 คํ่าเดือน 3 ซึ่งเปนวันมหัศจรรยคือ พระสงฆ 1,250 รูป
ลวนเปน พระอรหนั ต มาประชุมโดยมไิ ดน ดั หมาย พระสงฆเหลา นล้ี วนเปน ผทู พี่ ระพุทธเจาโปรด
ประทานบวชใหดวยพระองคเองดวยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทาและเปนวันที่พระจันทรเสวยฤกษ
เต็มดวง พระพุทธเจาทรงประกาศหัวใจของศาสนาพุทธไวในโอวาทปาฏิโมกข
มีอยู 3 ขอ คอื
1. การไมท ําบาปอกุศลทงั้ ปวง คือไมท ําชวั่
2. การทําบุญกศุ ล คือใหท าํ ความดี
3. การทาํ จิตใหผ องใสไกลจากความเศรา หมองของกเิ ลส
เบญจศลี ศีล 5 เปนขอ พ้ืนฐานท่สี ําคญั สาํ หรับการปฏบิ ัติตนของชาวพุทธ คือ
1. ละเวน การฆาสังหาร ไมประทุษรายตอชีวิตและรางกาย
2. ละเวน การลกั ขโมย เบียดบงั แยง ชงิ ไมป ระทษุ รายตอทรัพยส นิ ผูอ น่ื
3. ละเวนการประพฤติผิดในกาม ไมประทุษรายตอของรักของหวง
อันเปน การทําลายเกียรตภิ มู ิและจิตใจของผูอนื่ เชน บตุ ร ภรยิ า ญาตมิ ิตร
4. ละเวนจากการพูดเท็จ โกหกหลอกลวง พูดเพอเจอไรสาระ
พูดคาํ หยาบคาย พดู สอ เสยี ด

10

5. เวนจากสุราเมรัย ไมเสพเครื่องดองของมึนเมา สิ่งเสพติด อันเปนเหตุให
เกิดความประมาทมัวเมา กอความเสียหายผดิ พลาดเพราะขาดสติ อนั เปนเหตใุ หเ กิดอุบตั ิเหตุ

เบญจธรรม 5 ประการ เปนหลักธรรมที่คนท่ัวไปควรปฏิบัติ มี 5 ประการ
ดงั น้ี

1. เมตตา กรุณา เปนธรรมะคูกันและสนับสนุนศีลหา- ขอท่ีหน่ึง
(ไมฆ า สัตว – ไมเบยี ดเบียน)

2. สัมมาอาชวี ะ เปน ธรรมะคกู ันและสนบั สนุนศลี ขอสอง (ไมลักทรพั ย
ไมฉอโกง)

3. กามสังวร หมายถึง การสํารวมระวังในความตองการเปนธรรมะคูกับศีล
ขอ สาม (การไมขมเหงนาํ้ ใจกนั )

4. สัจจะความจริงใจ เปนธรรมะคูกบั ศลี ขอ ส่ี (ไมโกหก)
5. สติ สมั ปชัญญะ เปนธรรมะคูกับศลี ขอหา (ไมทําใหตนเองขาดสติ)
พ ร ห ม วิห า ร 4 เ ป น หลั ก ธ ร รม ป ร ะจํ า ใ จ เพื่ อ ใ ห ตน ดํ า ร งชี วิ ต ไ ด
อยา งประเสรฐิ และบรสิ ุทธิ์ ประกอบดว ยหลักปฏิบัติ 4 ประการ คอื
1. เมตตา ความปรารถนาอยากใหผอู ื่นมีความสขุ
2. กรณุ า ความปรารถนาอยากใหผ อู ื่นพนทกุ ข
3. มุทติ า ความยินดีที่ผูอนื่ มีความสขุ ในทางทเ่ี ปนกศุ ล
4. อุเบกขา การวางจิตเปนกลาง

การมีเมตตา กรุณา มุทิตา เปนส่ิงที่ดี แตถาตนไมสามารถชวยเหลือผูนั้น
ได จติ ตนจะเปน ทกุ ข ดงั น้ัน ตนจึงควรวางอุเบกขาทําใจใหเปนกลาง และพิจารณาวาสัตวโลก
ยอมเปนไปตามกรรมท่ีไดเคยกระทําไว จะดีหรือชั่วก็ตาม กรรมน้ันยอมสงผล
อยางยตุ ธิ รรมตามที่เขาผนู ัน้ ไดเคยกระทําไว

ฆราวาสธรรม ประกอบดว ย 2 คํา “ฆราวาส” แปลวา ผูดําเนนิ ชวี ติ ในทางโลก,
ผคู รองเรอื น และ “ธรรม” แปลวา ความถกู ตอง, ความดีงาม, นสิ ัยที่ดีงาม, คณุ สมบัต,ิ ขอ ปฏิบัติ

ฆราวาสธรรม แปลวา คุณสมบัติของผูประสบความสําเร็จในการดําเนินชีวิต
ทางโลก ประกอบดว ยธรรมะ 4 ประการ คอื

1. สจั จะ แปลวา จริง ตรง แท
2. ทมะ แปลวา ฝก ตน ขมจติ และรกั ษาใจ
3. ขันติ แปลวา อดทน

11

4. จาคะ แปลวา เสยี สละ
3.2 หลักธรรมของศาสนาครสิ ต

พระธรรมคําสอนของศาสดาจะปรากฏในพระคริสตคัมภีร คัมภีรไบเบิล
ผนู บั ถอื คริสตศ าสนา ทุกคนตองยึดม่ันในหลักปฏิบตั ิสําคัญของครสิ ตศ าสนา เรียกวาบัญญัติ 10
ประการ คอื

1. จงนมสั การพระเจา เพียงองคเ ดียว อยา เคารพรูปบูชาอื่น
2. อยาออกนามพระเจา อยา งพลอย ๆ โดยไมส มเหตุสมผล
3. จงไปวดั วนั พระอันเปนวันศกั ดส์ิ ทิ ธิ์
4. จงเคารพนับถอื บิดา
5. จงอยาฆา คน
6. จงอยาทําลามก
7. จงอยา ลกั ขโมย
8. จงอยาพดู เทจ็ หรอื นินทาผูอนื่
9. จงอยา ปลงใจในความอลุ ามก
10. จงอยา มกั ไดใ นทรัพยของเขา
หลกั คาํ สอนของศาสนาครสิ ตท สี่ รปุ สาํ คัญมา 2 ขอ คือ
1. จงรกั พระเจา อยา งสดุ จติ สดุ ใจ
2. จงรกั เพือ่ นบาน (เพ่ือนมนษุ ย) เหมือนรักตัวเอง
3.3 หลกั ธรรมของศาสนาอิสลาม
หลกั ธรรมของศาสนาอิสลาม จารกึ ไวใ นคมั ภรี อ ลั กุรอาน ซ่ึงในอดีตถูกจารึกไว
ในหนงั สตั ว กระดกู สตั ว หลักปฏิบตั ขิ องศาสนาอสิ ลาม 5 ประการ คือ
1. ตองปฏิญาณตนวา จะไมมีพระเจาองคอ่ืนนอกจากพระอัลเลาะห โดยมี
พระนบมี ฮู มั หมดั เปน ศาสนฑูต รับคําสอนของพระองคมาเผยแผใหช าวมุสลิม
2. ตองนมัสการพระอัลเลาะหเพื่อสรรเสริญขอพรตอพระองควันละ 5 ครั้ง
ในเวลาใกลพระอาทติ ยขน้ึ บา ย เย็น พลบค่ํา และกลางคนื
3. ปหน่ึงตองถือศีลอด (อัศศิยาบา) เปนเวลา 1 เดือน โดยงดการบริโภค
อาหาร นา้ํ ดื่ม ตงั้ แตพ ระอาทติ ยขน้ึ จนพระอาทติ ยต ก
4. ตองบริจาคทาน (ซะกาด) เพื่อพัฒนาและชําระจิตใหสะอาดหมดจด
บริสทุ ธย์ิ ่ิงขน้ึ

12

5. ในชวงชีวิตหนึ่งควรไปประกอบพิธีฮัจญ คือเดินทางไปประกอบศาสนกิจ
ท่ีมสั ยิดไบดุลเลาะห ณ เมอื งเมกกะ อยางนอ ย 1 คร้งั

หลั ก คํ า ส อ น ข อ งศ า ส น า อิ ส ล า ม เป น เ ร่ื อ ง ศ รั ท ธ า คื อ ค ว า ม เ ช่ื อ
เปนเรื่องสาํ คญั ท่ีสดุ มสุ ลมิ ทกุ คนจะตอ งเช่ือและไมร ะแวงสงสยั ดงั นี้

1. เช่ือวาพระอัลเลาะหมีจริง มุสลิมทุกคนตองเช่ือวาพระเจามีองคเดียวคือ
พระอลั เลาะห

2. เชอ่ื ในเทพบริวารหรือเทวทูตของพระอัลเลาะห เพื่อชักนําไปสูหนทางที่ดี
งาม

3. เชื่อวา คัมภีรอ ลั กุรอานเปน คัมภีรที่สมบูรณท่สี ุด
4. เช่อื ในตัวแทนพระอลั เลาะหหรอื ศาสนฑตู เปน ผนู าํ คาํ สอนมาเผยแพร
5. เชอ่ื ในวนั ส้ินโลก เมือ่ พระอัลเลาะหทรงสรางโลกได กต็ องทําลายโลกได
6. เช่ือในกฎกําหนดสภาวะของพระอัลเลาะห กลาวคือ ทุกอยางเกิดข้ึนโดย
พระอลั เลาะหและดําเนินไปตามประสงคของพระองค
3.4 หลกั ธรรมของศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู
ศาสนาพราหมณ - ฮินดู เช่ือวา พระพรหมเปนเทพเจาสูงสุด เปนผูสรางโลก
และสรรพส่ิงตลอดจนกําหนดโชคชะตาชีวิตของคนและสัตว เพราะฉะนั้นวิถีชีวิต แตละคน
จึงเปนไปตามพรหมลขิ ติ แตละคนก็อาจเปลี่ยนวิถชี วี ติ ไดหากทําใหพระพรหม เห็นใจและโปรด
ปรานโดยการบวงสรวงออนวอน และทําความดตี อพระองค หากตายไป ก็จะไปเกิดในสุคติภูมิ
และหากโปรดปรานทสี่ ดุ กจ็ ะไปอยกู ับพระองคช ั่วนจิ นริ นั ดร ชาวฮินดูเชื่อวาวญิ ญาณเปนอมตะ
จึงไมต ายไปตามรางกาย ทวี่ า ตายนั้นเปน เพียง วิญญาณออกจากรางกายเทาน้ัน
คําสอนเฉพาะเปนคําสอนเฉพาะกลุมแตละวรรณะ แตละหนาท่ี ตัวอยางคํา
สอนทัว่ ไป เชน สอนใหมนุษยมีความเมตตากรุณาตอกัน สอนใหมีสันติ สอนถึงหนาที่และสิ่งท่ี
มนษุ ยควรปฏิบตั ิตอกัน สอนใหม ีขันติ สอนวิธีหาความสุขและรูเทา ทันความจริง สอนเรื่องความ
เปนอมตะของวิญญาณ หนาท่ีบิดา มารดามีตอบุตรธิดา หนาท่ีครูอาจารยตอศิษย หนาท่ีของ
บุตรธิดา และศิษยท่มี ตี อ พอ แม ครู อาจารย หนาทส่ี ามตี อ ภรรยา หนาที่ภรรยาตอสามี หนาที่
นายตอ บา ว หนาท่รี าชาตอ ราษฎร

13

เรือ่ งท่ี 4 การปฏบิ ัตติ นตามศาสนาตา ง ๆ
4.1 การปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ศาสนาพทุ ธ
พระพทุ ธศาสนามหี ลักธรรมที่สําคัญสาํ หรับการปฏิบัตติ น ดังนี้

การปฏบิ ตั ิ การทาํ ชว่ั ที่ควรเวน การทาํ ดที ่ีควรปฏิบตั ิ
1.มีเมตตากรุณาชว ยเหลือกัน
1.การฆาสตั ว 2.เคารพในกรรมสทิ ธิท์ รัพยส ินของผูอ น่ื
3.สํารวมระวังไมประพฤติผิดในกาม
กาย 2.การถือเอาของท่เี ขาไมใหโ ดยการ
ลักขโมย 1.ไมพ ูดเท็จ
2.กลา วถอ ยคําที่สรา งความสามคั คี
3.การประพฤตผิ ิดในกาม 3.พดู แตค ําสุภาพ
4.พูดแตค วามจริง
1.การพดู เท็จ
การทําดที ค่ี วรปฏิบตั ิ
วาจา 2.การพูดสอ เสยี ด 1.ไมโ ลภอยากไดของเขา
3.การพูดคําหยาบ 2.ไมค ดิ รา ยผอู ืน่
3.มคี วามเหน็ ชอบ
4.การพูดเพอ เจอ

การปฏบิ ัติ การทําชัว่ ทีค่ วรเวน

1.การเพงเลง็ อยากไดของเขา
ใจ 2.การคดิ รา ยผูอ ืน่

3.การมีความเห็นผิดจากคลองธรรม

4.2 การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ศาสนาคริสต
การปฏบิ ตั ิตนตามคําสอนศาสนาคริสต มดี ังน้ี
1. การละเวน ความชว่ั มีขอบัญญัติ ไว 10 ประการ ท่ีสอนใหเวนความชั่ว เชน

ไมฆา คน ไมผิดประเวณี ไมลกั ทรพั ย ไมใ สอ ารมณ ไมนนิ ทา ไมคดิ มิชอบ ไมโลภ ในส่ิงของของ
ผูอนื่

2. ความขยัน ศาสนาคริสตยกยองคนขยัน คนทํางาน และไมชอบคน
เกยี จครา น

3. ความซอื่ สัตย ศาสนาคริสตส อนใหมนุษยต อ งซ่อื สัตยต อพระเจา
4. ความรจู กั พอ สอนใหร ูจ ักพอกับความม่งั คง่ั และเกียรตยิ ศ
5. การอยรู วมกนั ในครอบครวั
6. ความรักเพ่ือนมนุษย สอนใหบตุ รเคารพและเชื่อฟงคําสอนของบิดามารดา

14

4.3 การปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามมคี ําสอนสาํ หรับการปฏิบัตติ น ดงั นี้
1. การทําความดีละเวนความชั่ว ศาสนาอิสลามสอนใหกระทําความดียับยั้ง

ความช่วั และใหศรทั ธาในพระเจา
2. ความสจั จริง คือ การไมพ ูดโกหก และทาํ ตามสิง่ ท่ีตนพดู
3. ความพอดี คือสอนใหทําตัวใหพ อเหมาะ คอื เดินสายกลาง
4. การรักษาความสะอาดทางกาย คือการชําระจิตใจใหสะอาด และการทํา

ความสะอาดทางกายกอ นการทาํ ละหมาด
5. ความเอ้ือเฟอ แบง ปน ศาสนาอิสลามถอื วามนุษยท่ีดี คอื ผบู าํ เพ็ญประโยชน

ตอ เพือ่ นมนษุ ยจงึ มีการบรจิ าคทานทีเ่ รยี กวา “ซะกาต”
6. การแสวงหาความรู คือ การแสวงหาความรูทั้งทางโลกและทางธรรม

ความรทู างโลกจะชวยใหประกอบอาชีพเล้ียงตัวและครอบครัวได สวนทางธรรมจะชวยกลอม
เกลาจิตใจใหพ น จากอํานาจฝายตํา่

4.3 การปฏิบตั ิตนตามศาสนาพราหมณ – ฮินดู
ศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู มีคําสอนใหค นปฏบิ ตั ิเพื่อยกระดบั ชวี ติ ใหส ูงขน้ึ

ใหบ รรลุจดุ มงุ หมายทีส่ ูงสุด คอื โมกษะอาศรม 4 ไดแก
1. พรหมจารี หมายถึง ผเู ปนนกั ศกึ ษามหี นาทีศ่ กึ ษาเลา เรยี น ประพฤติตน

เปนพรหมจรรยใ นสํานักอาจารยพ รอมปรนนบิ ตั ิรับใชอ าจารย
2. คฤหัสถ หมายถึง ผูค รองเรือน ทาํ หนาท่ีเปนหัวหนา ครอบครวั
3. วานปรัสถ หมายถงึ ผอู ยูป า แสวงหาความสงบฝกจิตใหบริสุทธิ์ ปฏิบัติตน

เปนประโยชนตอ สงั คม เชน เปนอาจารยใ หการศกึ ษา
4. สันยาสี หมายถึง ผูสละโลก เปนระยะสุดทายของชีวิต สละโลก

โดยสน้ิ เชงิ

เรอ่ื งที่ 5 บคุ คลตัวอยางทใี่ ชหลักธรรมทางศาสนาในการดาํ เนนิ ชีวติ

สําหรับบุคคลท่ีขอยกมาเปนตัวอยางในการใชหลักธรรมทางศาสนาในการดําเนิน
ชีวิต คือพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริยไทยทรงเปนบุคคล
ตัวอยางท่ีใชหลักธรรมในการดําเนินชีวิต พระองคทรงเปนพุทธมามกะ และทรงเปนองคอัคร
ศาสนูปถมั ภกของศาสนาทุกศาสนาในประเทศไทย

15

พระองคทรงแสดงใหเห็นถึงพระเมตตาและพระมหากรุณาธิคุณในการบําบัดทุกข
บาํ รงุ สุขใหแ กพสกนิกรทั้งแผนดิน ใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดี ทรงมีความละเอียดรอบคอบและ
ทรงคิดคนหาแนวทางการพัฒนาเพื่อมุงประโยชนแกประชาชนสูงสุด พสกนิกรควรยึดเปน
แบบอยางในการเจริญรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท นํามาปฏิบัติตนเพื่อใหเกิดผลตอตนเอง
สงั คม และประเทศชาติตลอดไป

หลักการทรงงานของพระองคท่ีสามารถรวบรวมไดม ดี งั ตอ ไปนี้ คือ
1. ศึกษาขอมูลอยางเปนระบบ การท่ีพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง
จะทรงศึกษาขอมูล รายละเอียดอยางเปนระบบ ทั้งจากขอมูลเบ้ืองตน จากเอกสารแผนที่
สอบถามจากเจา หนา ท่ี นักวชิ าการ และราษฎรในพื้นท่ี เพอ่ื ใหไ ดร ายละเอียดท่ีถูกตอ ง
2. ระเบดิ จากขางใน พระองคท รงมุงเนน เรื่องการพัฒนาตน ทรงตรัสวา
ตอ งระเบิดจากขา งใน หมายความวา ตอ งสรา งความเขมแข็งใหค นในชมุ ชนทเี่ ราเขาไปพัฒนาให
เกิดสภาพพรอมท่ีจะรับการพัฒนาเสียกอน แลวจึงคอยออกมาสูสังคมภายนอก ไมใชการนํา
ความเจรญิ มาจากภายนอกเขา ไปหาชุมชน
3. แกป ญหาทีจ่ ุดเล็ก พระองคทรงมองเห็นปญหาในภาพรวมกอนเสมอ แตการ
แกป ญ หาของพระองคจะเริม่ ทีจ่ ดุ เล็ก ๆ
4. ทําตามลําดับขั้นตอน ในการทรงงานพระองคจะเริ่มตนจากส่ิงท่ีจําเปนท่ีสุด
ของประชาชนกอน ไดแก สาธารณสุข เมื่อมีรางกายสมบูรณแข็งแรงแลวก็จะสามารถทํา
ประโยชนดานอ่ืน ๆ ตอไปได ตอจากน้ันก็จะเปนเรื่องสาธารณูปโภคพื้นฐานและส่ิงจําเปน
ในการประกอบอาชีพ เชน ถนน แหลงน้ําเพ่ือการเกษตร การอุปโภคบริโภคที่เอ้ือประโยชน
ตอประชาชนโดยไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึง การใชความรูทางวิชาการและ
เทคโนโลยที ี่เรยี บงา ย เนน การปรบั ใชภ ูมปิ ญ ญาทองถนิ่ ท่รี าษฎรสามารถนําไปปฏิบัติไดและเกิด
ประโยชนส ูงสดุ
5. ภูมิสังคม การพัฒนาใด ๆ ตองคํานงึ ถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นวาเปน
อยางไร และสงั คมวทิ ยาเกี่ยวกับลักษณะนิสยั ใจคอของคน ตลอดจนวฒั นธรรมประเพณใี น
แตล ะทอ งถิ่นมคี วามแตกตา งกนั
6. องครวม ทรงมีวิธีการคิดอยางองครวม คือการมองอยางครบวงจร ในการ
พระราชทานพระราชดําริเก่ียวกับโครงการหนึ่งน้ันจะทรงมองเหตุการณที่จะเกิดข้ึนและแนว
ทางแกไขอยางเชื่อมโยง ดังเชน กรณี“ทฤษฎีใหม”ที่พระราชทานแกปวงชนชาวไทยเปน
แนวทางในการประกอบอาชพี แนวทางหนง่ึ ท่พี ระองคทรงมองอยา งองคร วม ตั้งแตการถือครอง

16

ที่ดินโดยเฉล่ียของประชาชนไทยประมาณ 10 - 15 ไร การบริหารจัดการที่ดิน และแหลงน้ํา
อันเปนปจจัยพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการประกอบอาชีพ เม่ือมีนํ้าในการทําเกษตรแลวจะสงผลให
ผลผลิตดขี ้นึ หากมผี ลผลิตเพ่มิ มากขนึ้ เกษตรกรจะตอ งรูจ กั วธิ ีการจัดการและการตลาด รวมถึง
การรวมกลมุ รวมพลงั ชมุ ชนใหมีความเขม แข็ง เพื่อพรอมท่ีจะออกสูการเปล่ียนแปลงของสังคม
ภายนอกไดอ ยา งครบวงจร

7. ไมตดิ ตาํ รา การพฒั นาตามแนวพระราชดําริ เปนการพัฒนาทรี่ อมชอม
กบั สภาพธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ มและสภาพสงั คมจติ วทิ ยาแหง ชุมชน คือ ไมต ดิ ตาํ รา ไมผูกมัดกับ
วชิ าการและเทคโนโลยที ไ่ี มเ หมาะสมกับสภาพชวี ติ ทแ่ี ทจรงิ ของคนไทย

8. ประหยัด เรียบงาย ไดประโยชนสูงสุด พระองคทรงประหยัด เชน
หลอดยาสีฟนพระทนตน น้ั พระองคทรงใชอ ยางคมุ คา ในปหนง่ึ พระองคเบกิ ดินสอ 12 แทงทรง
ใชเดือนละแทงใชกระทั่งกุด ในการแกปญหาใหแกปญหาดวยความเรียบงายและประหยัด
ราษฎรสามารถทาํ ไดเ อง ดังพระราชดํารัสความตอนหนึง่ วา ใหป ลกู ปาโดยไมต อ งปลูก ปลอยให
ขึ้นเองจะไดป ระหยัดงบประมาณ

9. ทาํ ใหงาย พระองคทรงมีพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการคิดคน
ดัดแปลง ปรบั ปรงุ และแกไขพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดําริ ทรงใชกฎแหงธรรมชาติเปน
แนวทาง ตัวอยา งเชน การปลูกหญา แฝกเปนหญาคลุมดินเพื่อปองกันการพังทลายของหนาดิน
เปน ตน

10. การมีสวนรวม พระองคทรงเปนนักประชาธิปไตย จึงทรงนําประชาพิจารณ
มาใชในการบริหาร ดังพระราชดํารัสตอนหนึ่งวา “สําคัญที่สุดตองหัดทําใจใหกวางหนักแนน
รูจักรบั ฟงความคิดเห็น แมกระทัง่ การวิพากษว ิจารณจากผอู ่ืนอยางฉลาด เพราะการรูจักรับฟง
อยางฉลาดนัน้ แทจรงิ คือ การระดมสติปญญาและประสบการณ อันหลากหลายมาอํานวยการ
ปฏิบัตบิ รหิ ารงานใหป ระสบความสําเร็จท่ีสมบรู ณนั้นเอง”

11. ประโยชนสวนรวม ในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ และการพระราชทาน
พระราชดําริ พระองคท รงราํ ลึกถงึ ประโยชนส วนรวมเปน หลกั สาํ คัญ

12. บริหารรวมทีจ่ ดุ เดียว เปนรปู แบบการบริหารแรงงานแบบเบ็ดเสร็จที่เกิดข้ึน
เปนครั้งแรกโดยทรงใหศูนยศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ เปนตนแบบในการ
บริการรวมที่จุดเดียว เพ่ือประโยชนตอประชาชนที่จะมาขอใชบริการจะประหยัดเวลาและ
คาใชจาย โดยจะมีหนวยงานราชการตาง ๆ มารวมดําเนินการและใหบริการแกประชาชน ณ
ท่แี หง เดียว

17

13. ทรงใชธรรมชาติชวยธรรมชาติ หากเราตองการแกไขธรรมชาติจะตองใช
ธรรมชาติชวยเหลือ เชน การแกไขปญหาปาเส่ือมโทรมไดพระราชทานพระราชดําริ
การปลกู ปาโดยไมตอ งปลกู ปลอยใหธรรมชาตชิ วยฟน ฟูธรรมชาติ

14. ใชอธรรมปราบอธรรม ทรงนําความเจริญ กฎเกณฑของธรรมชาติ
มาเปนหลักการ แนวปฏิบัติที่สําคัญในการแกปญหาและปรับปรุงเปล่ียนแปลงสภาวะ
ที่ไมปกตเิ ขา สรู ะบบทเี่ ปนปกติ เชน การนาํ นํา้ ดขี ับไลน้าํ เสยี หรือเจือจางนาํ้ เสียใหกลับเปนนํ้าดี
ก า ร บํ า บั ด นํ้ า เ น า เ สี ย โ ด ย ใ ช ผั ก ต บ ช ว า ซึ่ ง มี ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ดู ด ซึ ม ส่ิ ง ส ก ป ร ก ป น เ ป อ น
ในนาํ้ ดงั พระราชดํารัสวา “ใชอธรรมปราบอธรรม”

15. ปลูกปาในใจคน ปญหาการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติใหกลับคืนมาจะตอง
ปลกู จติ สาํ นกึ ในการรักผืนปาใหแกคนเสียกอ น ดงั พระราชดํารัสความตอนหนึ่งวา “...เจาหนาท่ี
ปาไมค วรจะปลกู ตนไมล งในใจคนเสียกอนแลว คนเหลาน้ันก็จะพากันปลูกตนไมลงบนแผนดิน
และรกั ษาตนไมดว ยตนเอง...”

16. ขาดทุนคือกําไร หลักการคือ “...ขาดทุนคือกําไร Our loss is gain... การเสียคือ
การได ประเทศชาติก็จะกาวหนา และการที่คนอยูดีมีสุขน้ันเปนการนับที่เปนมูลคาประเมิน
ไมได. ..” หลกั การคอื การใหแ ละการเสยี สละสง ผลใหม ผี ลกาํ ไรคอื ความอยูดีมีสขุ ของราษฎร

17. ก ารพึ่งต นเอง พระองคทรงมีพระราชดํารัสความตอนหน่ึงวา
“...การชวยเหลือสนบั สนุน ประชาชนในการประกอบอาชีพและตัง้ ตวั ใหมคี วามพอกินพอใชกอน
อื่นเปนส่ิงสําคัญย่ิงยวด เพราะผูมีอาชีพและฐานะเพียงพอท่ีจะพึ่งพาตนเองได ยอมสามารถ
สรา งความเจรญิ ในระดบั สูงข้ันตอ ไป...”

18. พออยูพอกิน การที่พระองคทรงเสด็จไปเยี่ยมประชาชน ทรงเขาพระทัย
ปญหาอยางลึกซ้ึงถึงเหตุผลมากมายท่ีทําใหราษฎรอยูในวงจรแหงทุกขเข็ญ จากนั้น
จึ ง พ ร ะ ร า ช ท า น ค ว า ม ช ว ย เ ห ลื อ ใ ห ร า ษ ฎ ร เ พื่ อ ใ ห มี ชี วิ ต อ ยู ใ น ข้ั น พ อ อ ยู พ อ กิ น ก อ น
แลวจงึ คอยขยับขยายใหม สี มรรถนะที่กาวหนา ตอ ไป

19. เศรษฐกิจพอเพียง เปน ปรชั ญาที่พระองคมีพระราชดํารัสช้ีแนะแนวทางแหง
การดาํ เนินชวี ติ โดยยดึ ถอื หลักความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมทั้งความจําเปนที่จะตอง
มีระบบภูมคิ มุ กันทด่ี พี อสมควร

20. ความซือ่ สตั ย สจุ รติ จริงใจตอกัน พระองคมีพระราชดํารัสวา “...ผูท่ีมีความ
สจุ ริตและบรสิ ุทธใ์ิ จ แมจะมีความรูนอยก็ยอมทําประโยชนใหแกสวนรวมไดมากกวาผูมีความรู
มากแตไ มมคี วามสุจริตไมม ีความบรสิ ทุ ธ์ิใจ...”

18

21. ทํางานอยางมีสุข พระองคทรงตรัสวา “...ทํางานกับฉัน ฉันไมมีอะไร
จะใหนอกจากความสขุ รว มกนั ในการทําประโยชนใ หกับผอู ืน่ ...”

22. ความเพยี ร : พระมหาชนก จากพระราชนิพนธพระมหาชนก ซ่งึ เปนตัวอยาง
ของผมู ีความเพียรพยายาม แมจ ะไมเ หน็ ฝง ก็ยังวา ยน้ําตอไป เชนเดยี วกับพระองคท่ีทรงริเร่ิมทํา
โครงการตา ง ๆ ในระยะแรกท่ไี มม คี วามพรอมในการทํางานมากนัก ทรงใชพระราชทรัพยสวน
พระองคมุงมัน่ พฒั นาบานเมอื งใหเกิดความรมเย็นเปน สุข

23. รู รัก สามัคคี พระองคทรงมีพระราชดํารัส คําสามคําน้ี ใหนําไปใชได
ทกุ ยุคทกุ สมัย

รู คือ การลงมือทําส่ิงใด โดยรูถึงปจจัยทั้งหมด รูถึงปญหาและรูถึงวิธีการ
แกปญหา

รัก คือ ความรัก เม่ือรูแจง จะตองรักการพิจารณาท่ีจะเขาไปลงมือปฏิบัติ
แกไขปญหาอน่ื ๆ

สามัคคี คือ การคํานึงเสมอวาเราทํางานคนเดียวไมได ตองทํางานรวมมือ
รวมใจ เปนองคก ร เปนหมคู ณะ จงึ มพี ลงั เขาไปแกป ญ หาใหล ลุ ว งไปไดดว ยดี

เรื่องท่ี 6 การแกไขปญหาความแตกแยกของบุคคล สังคม ชุมชน เพราะความ
แตกตา งทางความเชอ่ื ศาสนาและสังคม ดวยสนั ติวิธี

ศาสนามีประโยชนคือ ชวยใหทุกคนในสังคมอยูดวยกันอยางสงบสุขและมีสันติ
มีความรักใครสามัคคีปรองดองกัน ซ่ึงเปนพื้นฐานสําคัญท่ีสงผลใหตนเอง ครอบครัว ชุมชน
สังคม มีความเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน ทําใหเกิดความสามารถนําพาตนเอง ครอบครัว ชุมชน
สังคม เจริญรุดหนาไป อยางไรก็ตาม หากชุมชน สังคมมีขอปฏิบัติทางศาสนาเดียวกัน มี
วฒั นธรรมประเพณีเหมือนกัน สงั คมนัน้ จะมีความกลมเกลยี ว

แตภาวะปจจุบันสังคมไทยเกิดปญหาความแตกแยก ไมสามัคคีกัน โดยระบุวา
สาเหตุเปนเพราะความเชื่อทางศาสนานั้น เม่ือวิเคราะหสาเหตุและสืบสาวเหตุการณแลว
ความเช่ือทางศาสนาไมใชสาเหตุ ท้ังน้ีเพราะศาสนาลวนมีกฎเกณฑที่ไมใหมนุษยเบียดเบียน
รงั แกกนั ดังนน้ั สังคมไทยตั้งแตส มัยสุโขทยั พทุ ธศาสนาและฮินดู อยูรวมกันอยางผสมกลมกลืน
คาํ สอนของพทุ ธศาสนาปรากฏในศาสนาฮินดูและพิธีกรรมศาสนาฮินดู ปรากฏอยูในสังคมไทย
พุทธ โดยอยูรวมกันอยา งลงตัว

19

กลาวโดยสรุป สังคมไทย แมมีศาสนาหลากหลายในชุมชน สังคม คนไทย ที่ตาง
ศาสนายึดหลกั ประนีประนอม เคารพซึ่งกันและกัน เขาใจวิถีชีวิตท่ีแตกตางกันทําใหอยูรวมกัน
ไดอ ยา งมีความสขุ เราจะเห็นภาพของสังคมไทยท่ัวไปทคี่ นไทยมสุ ลมิ คนคริสเตียน คนไทยพุทธ
ไทยฮินดู ติดตอ คาขาย ประกอบกิจศาสนาใชชวี ิตครอบครัวท่ตี า งศาสนาอยูรวมกันในสังคมไทย
อยางปกติสุข ในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาระดับสูงมีบุตรหลานคนไทยตางศาสนาอยู
รวมกนั ศึกษาหาความรู โดยไมม ปี ญหาใดๆ เม่อื เกิดปญหาความขดั แยงแตกแยกของคนในสังคม
ตั้งแตครอบครัว ชุมชนใดๆ ในประเทศไทย และความแตกแยกนั้นทวีความรุนแรงย่ิงข้ึน
ครอบครัว ชุมชน ทุกแหงย่ิงจะตองนําหลักคุณธรรม จริยธรรม มาแกไขปญหาเพื่อลดความ
ขดั แยง ในทกุ ระดับ สถาบนั องคก รทางศาสนาและทกุ คนจะตอ งรว มมือกนั ในการนําสันติสุขมาสู
ชมุ ชน สังคม โดยเรว็

กรณตี ัวอยางจากพทุ ธประวัติ การแกปญหาความแตกแยกในสังคมโดย สันติวิธี
คร้ังหน่ึงเหลากษัตริยศากยวงศ พระญาติฝายพุทธบิดาและเหลากษัตริยโกลิยวงศ
พระญาติฝายพุทธมารดา ทะเลาะวิวาทกันเร่ืองแยงน้ําโรหิณีเน่ืองจากฝนแลง
นํ้าไมเพียงพอ การทะเลาะวิวาทลุกลามไปจนเกือบกลายเปนศึกใหญ พระสัมมาสัมพุทธเจา
ทรงทราบเหตดุ ว ยพระญาณ จึงเสดจ็ ไปหามสงคราม โดยตรสั ใหเ ห็นถงึ ความไมส มควรท่ีกษัตริย
ตอ งมาฆาฟน กนั ดวยสาเหตเุ พียงแคการแยงนํา้ และตรสั เตือนสติวา ระหวางน้ํากับพ่ีนอง อะไร
สําคัญย่ิงกวา กัน ทงั้ สองฝายจึงไดสติคืนดีกัน และขอพระราชทานอภัยโทษตอเบ้ืองพระพักตร
พระพุทธองค

20

กจิ กรรมทา ยบทท่ี 1

กิจกรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นเลอื กคาํ ตอบท่ถี ูกตอ ง

1. ความหมายของ “ศาสนา” คอื ขอใด

ก. วัฒนธรรมทีป่ ระพฤติสบื ตอกนั มา ข. ประเพณีทปี่ ฏบิ ัติสบื กันมา

ค. ความเชื่อทีป่ ฏิบัติสบื ตอกนั มา ง. หลกั คาํ สอนของเจา ลัทธิ

2. ศาสดาหมายถึงอะไร

ก. ผปู ฏิบัติตามคําสอนของศาสนา ข. ผนู ับถือศาสนา

ค. ผคู นพบศาสนาและนําคําสอนมา ง. สาวกของศาสนา

เผยแผ

3. สมั มาสมาธิอยใู นธรรมะหมวดใด

ก. มรรค 8 ข. อริยสจั 4

ค. ฆราวาสธรรม ค. พรหมวิหาร 4

4. คาํ สอนศาสนาใดทเ่ี นน ใหม นุษยมีความรักตอ กนั

ก. พุทธ ข. ครสิ ต

ค. อสิ ลาม ค. พราหมณ – ฮินดู

5. หลักคําสอนของศาสนาใดท่ตี รงกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ก. ศาสนาฮนิ ดู ข. ศาสนาคริสต

ค. ศาสนาอสิ ลาม ง. ศาสนาพราหมณ

6. การแกไขปญหาความขดั แยง ในสังคม วิธีใดเปน วิธที ่ดี ีท่ีสดุ

ก. ใชห ลกั ธรรมทางศาสนา ข. ใชหลักกฎหมาย

ค. ใชหลักการเจรจา ง. ใชคณะกรรมการ

7. สังคมท่ีมีความเจริญกาวหนาทางวัตถุเปนสังคมวัตถุนิยม ประชาชนควรมีคานิยมใดจึง

จะเหมาะสม

ก. รูรักสามัคคี ข. ประหยดั และนิยมไทย

ค. ใชชวี ติ เรยี บงาย ง. มีระเบยี บวนิ ัย

21

8. เมกะ คือเมืองสาํ คญั ของศาสนาใด ข. อสิ ลาม
ก. พทุ ธ ง. พราหมณ – ฮินดู
ค. คริสต
ข. ศาสนาอิสลาม
9. การถือศีลอดเปนขอ ปฏิบัตขิ องศาสนาใด ง. ศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู
ก. ศาสนาพทุ ธ
ค. ศาสนาคริสต ข. ศาสนาอสิ ลาม
ง. ศาสนาพราหมณ – ฮินดู
10. ศาสนาใดทีน่ บั ถือเทพเจา หลายองค
ก. ศาสนาพุทธ
ค. ศาสนาครสิ ต

กจิ กรรมท่ี 2 จงอธบิ ายมาพอเขา ใจ

1. องคประกอบของศาสนา มีกี่องคป ระกอบ อะไรบา ง
............................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. ศาสดาของศาสนา หมายถงึ อะไร ในแตล ะศาสนามีใครเปน ศาสดาบาง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
3. หากเราจะปฏิบตั ติ ามคําสั่งสอนขององคพระสัมมาสมั พทุ ธเจา เพ่ือใหรอดพนจากความทุกข
สูน ิพพาน เราควรปฏิบัติหลกั ธรรมในขอ ใด เพราะเหตุใด

........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

22

4. หลกั ธรรมสาํ หรบั ผูบรหิ ารบานเมอื งท่จี าํ เปน ตองมี คอื หลักธรรมใด เพราะเหตใุ ด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
5. หลกั ธรรมใดท่ีใชเปนเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจคน และสามารถใชแกปญหาความแตกแยกของ
บคุ คล สงั คม และชมุ ชนได อธิบายรายละเอยี ดหลักธรรมดงั กลา วดว ย

......................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.................................................................................................................

23

บทท่ี 2

วฒั นธรรมประเพณี

สาระสาํ คญั
เปนสาระสําคัญท่ีเก่ียวกับความหมายและความสําคัญของวัฒนธรรมประเพณี

ในประเทศไทย วัฒนธรรมประเพณีที่สําคัญของทองถ่ิน การอนุรักษสืบสานวัฒนธรรมของ
ประเพณไี ทย คานิยมท่ีพึงประสงคของไทยและของทอ งถิ่น การประพฤติปฏิบัติตนตามคานิยม
ทพี่ ึงประสงค

ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั
1. มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับความหมายและความสําคัญของวัฒนธรรมประเพณี

ในประเทศไทย
2. มีความรู ความเขาใจ เกย่ี วกบั วฒั นธรรมประเพณขี องทอ งถิ่นตาง ๆ
3. ตระหนักถึงความสําคัญของวัฒนธรรมประเพณีของของชุมชน ทองถ่ิน และของ

ประเทศ
4. มีสว นรวมในการปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมประเพณีของทองถน่ิ
5. นําคานยิ มทพี่ งึ ประสงคข องสงั คม ชุมชนมาประพฤตปิ ฏิบัตจิ นเปน นสิ ัย

ขอบขา ยเนือ้ หา
เร่ืองที่ 1 ความหมาย และความสําคญั ของวัฒนธรรมประเพณีในประเทศไทย
เรื่องท่ี 2 วัฒนธรรม ประเพณีท่ีสําคญั ของทอ งถน่ิ และของประเทศ
เรอ่ื งที่ 3 การอนุรกั ษส ืบสานวัฒนธรรมของประเพณีไทย
เรอื่ งท่ี 4 คานิยมทพ่ี ึงประสงคของไทยและของทอ งถิ่น
เร่อื งที่ 5 การประพฤติปฏบิ ัติตนตามคา นยิ มที่พงึ ประสงค

24

เรื่องท่ี 1 ความหมายและความสาํ คัญของวัฒนธรรมและประเพณี
1.1. ความหมายและความสําคัญของวฒั นธรรม
วัฒนธรรม คือ มรดกแหงสังคมที่มนุษยไดสรางสรรคขึ้น และไดรับการ

ถา ยทอดกนั มาจากอดีตสปู จ จุบัน เปน ผลผลิตที่แสดงถงึ ความเจริญงอกงามท้ังดา นวัตถุและ
ท่ไี มใชว ัตถุ เชน อดุ มการณ คานยิ ม ประเพณี ศีลธรรม กฎหมายและศาสนา เปน ตน

ความสําคญั ของวัฒนธรรม มีอยู 5 ประการ คือ
1. วัฒนธรรมชวยใหมนุษยสะดวกสบายข้ึน ชวยแกปญหาและสนองความ
ตอ งการตา ง ๆ ของมนุษยส ามารถเอาชนะธรรมชาติได เพราะสรา งวัฒนธรรมขน้ึ มาชว ย
2. วัฒนธรรมทําใหสมาชิกในสังคมมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
และสามัคคกี ัน
3. วัฒนธรรม แสดงถึงเอกลักษณของชาติ ชาติท่ีมีวัฒนธรรมสูงยอมไดรับการ
ยกยอง และเปน หลกั ประกนั ความม่ันคงของชาติ
4. วัฒนธรรมกําหนดพฤติกรรมของคนในสังคมเพ่ือใหอยูรวมกัน
อยางสนั ตสิ ขุ
5. วฒั นธรรมทําใหประเทศชาตมิ คี วามเจรญิ รุงเรอื ง

1.2. ความหมายและความสําคัญของประเพณี
ประเพณี หมายถึง แบบความประพฤติที่คนสวนรวม ถือเปนธรรมเนียมหรือ

ระเบียบแบบแผนและปฏิบัติสืบตอกันมาชานาน จนเกิดเปนแบบอยางความคิดหรือ
การกระทาํ ทีไ่ ดสบื ตอ กันมา และยงั มีอทิ ธพิ ลอยูใ นปจ จุบัน ซึง่ อยใู นรูปแบบของ จารีต ประเพณี
ขนบประเพณี และธรรมเนยี มประเพณี

จารีตประเพณี คือ ประเพณที เ่ี กย่ี วขอ งกับศีลธรรมและจิตใจ เชน การตอบแทน
บุญคุณบดิ า มารดา บพุ การี การเล้ียงดูเมอ่ื ทานแกเฒา การเคารพเช่ือฟงครู อาจารย การนับ
ถือบรรพบรุ ษุ

ขนบประเพณี คือ ประเพณีท่ีประพฤติปฏิบัติกันอยูทั่วไปมาอยางเปนระเบียบ
บังคบั ใหค นในสังคมนนั้ ๆ ยึดถือและปฏิบัติตาม เชน กฎหมาย กฎระเบียบ และขอบังคับตาง
ๆ และมขี นบประเพณที ่ีคนในสังคมไมตอ งปฏบิ ตั ิตามเสมอไป เชน ประเพณีการโกนจกุ เปนตน

ธรรมเนยี มประเพณี คือ ประเพณที ่เี กยี่ วขอ งกบั การปฏบิ ตั ริ ะหวางบคุ คล
ท่ีสังคมยอมรับ เชน การทักทาย การไหว การเดิน กิรยิ ามารยาท เปนตน

25

นอกจากนย้ี งั มีประเพณที างศาสนา เชน วันโกน วันพระ ประเพณีเกี่ยวกับการ
เกดิ การตาย การโกนผมไฟ ประเพณีเกีย่ วกับครอบครัว เชน การปลูกเรือน ประเพณีเกี่ยวกับ
เทศกาลตาง ๆ เชน ตรุษไทย วันสงกรานต วันลอยกระทง และแตละภาคและทองถิ่นมี
ประเพณีแตกตา งกนั ออกไป

ความสําคัญของประเพณี มอี ยู 5 ประเภทคือ
1. เปนเคร่ืองบอกความเจริญของชาตินั้น ๆ ชาติที่เจริญในปจจุบัน จะมี
ประเพณตี าง ๆ ที่แสดงถงึ ความเจริญกา วหนา
2. ประเพณีสวนมากมีการสืบทอดมาต้ังแตอดีตเช่ือมโยงถึงปจจุบัน ประเพณี
จงึ สามารถใชเ ปน แนวทางในการศึกษาประวัติศาสตรไดเ ปนอยา งดี
3. ประเพณีทําใหค นในสังคมเกดิ ความภาคภูมิใจในความดีงามของชุมชน สังคม
และชาตบิ านเมืองตนเอง
4. ประเพณีทําใหคนในสังคมไดทํากิจกรรมรวมกัน อันเปนการดํารงความรัก
สามัคคี ทาํ ใหค นในชมุ ชน สังคม ภาค และเปนชาติมคี วามม่ันคงสืบตอ กนั มา
5. ประเพณีเปนสัญลักษณท่ีสําคัญ ซึ่งแสดงออกความเปนเผา ชุมชน สังคม
และชาติ

เร่ืองท่ี 2 วัฒนธรรม ประเพณที ่ีสาํ คญั ของทอ งถน่ิ และของประเทศ
2.1 วัฒนธรรมท่สี าํ คญั ของทอ งถนิ่ และของประเทศ
วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ สํ า คั ญ ข อ ง ท อ ง ถ่ิ น แ ล ะ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ที่ แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง

ความเปน ไทยทีส่ ําคญั ตา ง ๆ คือ ภาษา การแตงกาย อาหาร และมารยาท
ภาษา ภาษาทีใ่ ชส ่ือสารกนั ในสงั คม มี 2 ลักษณะคือ ภาษาทางกาย (ภาษาทาง

กิริยา) และภาษาทางวาจา ในแตละเผา แตละชุมชน แตละภาค จะมีภาษาถิ่น
สําเนียงถิ่น กิรยิ าอาการแสดงออกของทองถิ่น และจะมีภาษากิริยาอาการตาง ๆ คนไทยจะใช
ภาษาไทยกลางซ่งึ เปน ภาพรวมของประเทศ ดังนั้น วัฒนธรรมทางภาษาจะบงบอกที่มาของถิ่น
กํา เ นิ ด ซึ่ งค ว ร จ ะ เ ปน ค ว า ม ภูมิ ใ จ ใ น ตั วต น ไ ม เ ปน สิ่ ง เ ช ย น า อ า ย หรื อ ล า ส มั ย
ในการแสดงออกทางภาษาถ่ิน เชน การพูดของภาคอีสาน ที่บงบอกถึงความเปนคน
ภาคอีสาน เปน ตน

การแตงกาย การแตงกายของคนในสังคมไทยในปจจุบันไดรับอิทธิพลจาก
วัฒนธรรมตะวันตก ในชีวิตประจําวันคนไทยจึงแตงตัวแบบสากล ตอเม่ือมีงานบุญ ประเพณี

26

ตาง ๆ หรือในโอกาสสําคัญๆ จึงนําการแตงกายประจําถิ่นที่แสดงออกถึงความเปนเผา
เปน ชุมชน และเปนภาค อยา งไรก็ตามเรายังเห็นคนรุนเกา รุน พอ แม ปู ยา ตา ยาย ในทองถ่ิน
บางแหง ยงั คงมีวัฒนธรรมการแตง กายที่สบื ทอดมาจากบรรพบุรุษใหเราเห็นไดในชีวิตประจําวัน
เชน การนงุ ผาซน่ิ ไปทาํ บุญท่ีวัด เปน ตน

อาหาร เน่ืองจากการติดตอส่ือสารของโลกปจจุบันเปนโลกไรพรมแดน
เราจึงสามารถ รับประทานอาหารไทยที่รานอาหารตาง ๆ อาทิ ในเมืองลอสแองแจลิส
เมืองฮอ งกง วฒั นธรรมทางอาหารการกนิ ของคนไทยในทองถิน่ ตาง ๆ ยังคงสืบตอต้ังแตอดีตมา
จนถึงปจจุบัน เพราะสภาวะแวดลอมทางภูมิศาสตร ทรัพยากรตาง ๆ สงผลใหวัตถุดิบที่ใชใน
การประกอบอาหารทอ งถน่ิ ไทย ยังคงมีอยูและนํามาใชในการประกอบอาหารการกินไดตลอด
มา แตอ าหารบางชนิดเริม่ สูญหายไป เดก็ ไทยปจจุบันเริ่มจะไมรูจักคุนเคยอาหารบางชนิด เชน
ขนมกง :ซ่งึ เปน ประเพณีแตง งานภาคกลาง ในอดีตจะมีขนมกงเปน ขนมทําจากถ่ัวทองปน
เปน รูปวงกลมมซี ่ีเหมอื นลอ เกวียน เพอื่ ใหช วี ติ แตงงานราบรืน่ กา วไปขา งหนา เปน ตน

มารยาท มารยาทของคนไทยท่ีอาศัยอยูเปนเผา เปนชุมชน เปนภาค ตลอดจน
ไทยกลางไดรับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ แตเมื่อกลาวโดยรวมแลวมารยาทไทยน้ันทั่วโลก
ยอมรับ วามีความงดงาม ออนชอย เชน การไหว การกราบ บงบอกถึงความเปนชาติที่มี
วัฒนธรรมอันดีงาม ทําใหคนตางประเทศประทับใจ และเปนสวนหน่ึงที่ชวยสงเสริม
อตุ สาหกรรมการทองเท่ียวใหเ จรญิ กาวหนา

2.2 ประเพณี
ประเพณี คือ แนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมยึดถือ และสืบทอดกันมา เปนสิ่งท่ี

ถกู ตอ งดีงามทําใหช มุ ชนอยูร ว มกนั อยางมีความสุข
2.2.1 ประเพณที เ่ี ปน เอกลกั ษณข องสังคมไทย
1) ประเพณีที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย เน่ืองจากสถาบันพระมหากษัตริย

มีความใกลชิดและเปนท่ียอมรับของสังคมไทยมาชานาน และชาวไทยตางก็ยกยองเทิดทูน
พระมหากษัตริย เพราะพระองคทรงมีพระมหากรุณาธิคุณตอปวงชนเสมอมา ดังน้ัน ประเพณี
วัฒนธรรมที่เก่ียวของกับองคพระมหากษัตริยที่สําคัญ เชนพระราชพิธีวันฉัตรมงคล
วันพอแหงชาติ หรือวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันท่ี 5 ธันวาคม ซึ่งเราไดยกยองใหวันนี้เปนวัน
ชาติไทยดว ย

2) ประเพณที ่เี กยี่ วกบั อาชพี อาชพี หลักของคนไทยเปน อาชีพเกษตรกรรม
มาชา นาน ดั้งนั้นพิธีกรรมทางอาชีพการเกษตรจะเปนท่ียอมรับและเช่ือถือของสังคมมาตลอด

27

ดังน้ันการประกอบพิธีกรรมท่ีเกี่ยวกับอาชีพการเกษตรจะผูกพันกับชีวิตความเปนอยูของคน
ไทยมาตลอด เชน พิธีวันพืชมงคล ซึ่งเปนวันกําหนดพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
เปนพระราชพิธีเพื่อความเปนสิริมงคล และบํารุงขวัญใหกับเกษตรกร และอีกวันหนึ่งคือ
วันสารทไทย เปนวันทําบุญส้ินเดือนสิบของไทย ท้ังน้ีเพ่ือเปนการฉลองท่ีพืชพันธุธัญญาหาร
และผลไมก ําลงั เจรญิ งอกงามดีในฤดูน้เี ปนครัง้ แรก

3) ประเพณีทางศาสนา ศาสนาและความเชื่อ เปนสวนหน่ึงของวัฒนธรรม
ท่ีสืบเนื่องปฏิบัติติดตอกันมาจนกลายเปนประเพณี โดยเฉพาะอยางยิ่งการปฏิบัติตนของชาว
พุทธในวันสําคัญทางพุทธศาสนา เชน วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา
วนั พระ วนั ออกพรรษา และวนั ตักบาตรเทโว เปนตน

2.2.2 ประเพณขี องแตล ะทองถิน่
สําหรับประเพณีของแตละทอ งถ่ิน แบง เปน ภาค ดังน้ี
1) ประเพณีภาคเหนือ
ภาคเหนอื หรือเรยี กวา “ลา นนาไทย” มีเอกลักษณท ี่แตกตางไปจาก

ภาคอื่น ๆ เพราะมีลักษณะภูมิประเทศเปนทิวเขาและหุบเขา ประชากรมีหลายชนชาติ
สวนใหญเปนชาวไทย ที่เรียกวา “ไทยเหนือ” หรือ “คนเมือง” ซ่ึงสวนใหญพูดภาษา
สําเนยี งเหนอื

ประเพณสี ําคญั ๆ ของภาคเหนอื มีดังนี้
ประเพณีลอยกระทง หรือประเพณีย่ีเปง หรือลอยโขมด เพ่ือเปน
การบูชาทาวพกาพรหม เปนการลอยเคราะห ลอยบาป ลอยเพ่ือบูชาพระนารายณ เปนตน
ประเพณยี เ่ี ปง ตรงกบั เดอื นยข่ี ้ึน 14-15 คํ่า วัดวาอารามจะจดั เตรียมส่ิงของดงั ตอ ไปนี้
1. ทาํ ราชวตั ร รอบวหิ าร เจดยี  ทาํ ซุมประตูทางเขาวดั
2. ทําโคมแขวน โคมคา ง โคมรปู ตา ง ๆ
3. ทาํ วาว หรอื โคมลอย มี 2 ชนดิ คอื

3.1 โคมทใ่ี ชป ลอยตอนกลางวัน เรียกวา วาว โดยใชว ธิ ีรมควัน
3.2 โคมท่ีปลอยตอนกลางคืน ใชวิธีรมควันเหมือนวาว
แตจ ะจดุ ไฟที่ผาผกู ตดิ กบั ปากโคมปลอ ยสอู ากาศ
4. การทําบอกไฟ (บั้งไฟ) ประกอบดว ยบอกไฟหลายชนดิ เชน
บอกไฟดอก บอกไฟดาว บอกไฟเทยี น เปน ตน ทําขึ้นเพอ่ื จุดในวนั ย่ีเปง

28

2) ประเพณภี าคกลาง
ประเพณีภาคกลาง มักจะเปนประเพณีเก่ียวกับการเกษตร เชน

ประเพณวี ่งิ ควาย เปนประเพณีที่เปนมรดกตกทอด เพ่ือเปนการทําขวัญควาย และใหควายได
พกั ผอ น ซึง่ เปนประเพณปี ระจาํ จังหวดั ชลบุรี ประเพณวี ัวเทียมเกวียน ของจังหวดั เพชรบรุ ี
เม่ือเสรจ็ ส้ินจากการทาํ นา ก็จะนําวัวทเี่ ปนสตั วท่ชี วยทํานามาวิง่ แขง กนั หรือเอาเกวียนมาเทียม
ว่ิงแขง กัน เปนตน

3) ประเพณีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน มีพื้นท่ีแหงแลงสงผลไปถึง

การประกอบอาชีพซงึ่ มปี ระเพณที สี่ าํ คญั คือ ประเพณแี หเทียนพรรษา ของจังหวัดอุบลราชธานี
มีการประกวดตนเทียน 2 ประเภท คอื ประเภทติดพิมพ และประเภทแกะสลัก โดยมีชื่องานวา
“ฮุงเฮืองเมืองธรรมงามลํ้าเทียนพรรษา ภูมิปญญาชาวอุบล” ประเพณีไหลเรือไฟ ของจังหวัด
นครพนม ท่ใี นหนานา้ํ จะนําเทียนมาตกแตงเรือใหเปนรูป ที่สวยงาม เม่ือจุดเทียน จะเกิดแสง
สวา งเปนรปู ภาพทอ่ี อกแบบไว เปน ตน

4) ประเพณีภาคใต
ภมู ิประเทศของภาคใต เปนคาบสมทุ รยื่นไปในทะเลทางตะวันตกของ

คาบสมทุ ร ซ่งึ มปี ระเพณีสําคัญ คือ ประเพณีบุญเดือนสิบ ซ่ึงเกิดจากความเช่ือวาบรรพบุรุษที่
ลวงลับไปแลว ยังตองใชเวรกรรมอยูในยมโลก และจะกลับมาเยี่ยมญาติหรือครอบครัว
ประเพณีจัดอยูในชวงแรม 1 ค่ํา เดือน 10 ถึงแรม 15 คํ่า สวนมากจัดในจังหวัด
นครศรีธรรมราช ซึ่งมีอาหารท่ขี าดไมไ ด 5 ชนดิ ประกอบดว ย

1. ขนมลา เปรยี บเสมือนเสอื้ ผา เพ่ือใหผตู ายสวมใสไปนรกภมู ิ
2. ขนมพอง เปรียบเสมือนแพเพ่ือใหผูตายใชเปนพาหนะ
ขา มหว งแหง สงั สารวัฏ(การเวียนวาย ตาย เกิด)
3. ขนมบา เปรยี บเสมือนสะบา ใหผ ตู ายไดเลน ในนรกภมู ิ
4. ขนมดซี าํ เปรยี บเสมอื นเบ้ยี หรอื เงนิ ใหผตู ายนาํ ไปใช
5. ขนมกง เปรียบเสมือนเครือ่ งประดบั เพือ่ ใหด ภู มู ฐิ านและสวยงาม

29

เร่ืองท่ี 3 การอนรุ ักษสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย
3.1 ความสาํ คญั ในการอนรุ กั ษส บื สานวฒั นธรรมประเพณีไทย
การอนุรักษสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยเปนส่ิงที่สําคัญท่ีคนไทยทุกคนพึง

ตระหนักถึงหนาที่ที่ทุกคนพึงกระทํา ท้ังนี้เพราะวัฒนธรรมประเพณีประจําชาติและทองถ่ิน
จัดเปนส่ิงที่มีคุณคาควรแกการอนุรักษ โดยเฉพาะอยางย่ิงขนบธรรมเนียมประเพณี
โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษาวรรณกรรมตาง ๆ ซ่ึงไดบรรจุและสั่งสมความรู ความหมาย
คณุ คา ท่มี มี าตัง้ แตอ ดตี ใหคนไทยปจ จบุ นั ไดเ รยี นรู เพอ่ื รจู กั ตนเองและมีความภูมิใจในความเปน
ชาตไิ ทย และสิ่งเหลานจ้ี ะสูญหายหากขาดการเอาใจใสในการอนรุ ักษและสงเสริมในทางท่ีถูกที่
ควร

3.2 แนวทางในการอนรุ ักษ วฒั นธรรมประเพณขี องไทย
3.2.1 ศึกษา คนควา วิจัย วัฒนธรรม ประเพณีไทยและทองถ่ินท่ียังไมได

รวบรวม ศึกษาไว เพอ่ื ใหมีความรคู วามเขาใจถองแท ทําใหเกิดความรูสึกยอมรับในคุณคาจะ
ไคแหนหวงภูมใิ จและเผยแพรใหเกดิ ประโยชนตอ ไป

3.2.2 สรา งความเขา ใจใหคนไทยทุกคนเขา ใจ ปรับเปล่ียน ตอบสนองวัฒนธรรม
ประเพณอี นื่ ๆ จากภายนอกอยา งเหมาะสม

3.2.3 ขยายขอบเขตเรือ่ งการอนุรักษวัฒนธรรม ประเพณีไทยใหคนไทย ทุกคน
เห็นเปนหนาทส่ี าํ คัญที่จะตองรว มกันทะนบุ าํ รุงรักษาท้ังดวยกําลังกาย และกาํ ลงั ทุนทรัพย

3.2.4 สงเสรมิ การแลกเปลยี่ นเรียนรูวัฒนธรรมประเพณีระหวางเผา ชุมชน ภาค
เพอื่ ส่ือสารสรางความสมั พันธร ะหวา งกนั

3.2.5 ชวยกนั จัดทําระบบขอมูลสารสนเทศทางวัฒนธรรมประเพณี เพื่อใชเปน
ฐานความรูของสังคม เพื่อใชในการประชาสัมพันธและสงผลถึงภาวะอุตสาหกรรม
ท่ีเกี่ยวของทส่ี ําคญั คือ อุตสาหกรรมทอ งเทย่ี วเชงิ อนุรกั ษจะสง ผลตอเศรษฐกิจของชาติโดยรวม

ตัวอยางการอนุรกั ษส บื สานวฒั นธรรมประเพณีภาคตาง ๆ
ประเพณีอมุ พระดํานาํ้
ประเพณีอุมพระดําน้ํา เปนประเพณีทองถ่ินในชวงเดือน 10 ของ ชาวจังหวัด
เพชรบูรณ ทม่ี ีความเปน เอกลักษณ ในงานจะมีการอญั เชญิ พระพุทธรปู มหาธรรมราช
พระคูบานคูเมืองของชาวเพชรบูรณ โดยมีเจาเมืองจะตองเปนคนอุมพระมาดําลงไปในน้ํา
ซึ่งมคี วามเชอ่ื วา จะทาํ ใหบ านเมืองและประชาชนมีความสุขความเจรญิ

30

ประเพณีตกั บาตรเทโว
ประเพณีตักบาตรเทโว เปนประเพณีสําคัญในงานออกพรรษา ซึ่งตรงกับ
ขนึ้ 15 คํา่ เดือน 11 ของชาวจังหวัดอุทัยธานี โดยพระสงฆ จํานวน 300 กวารูปเดิน ลงบันได
จากมณฑปพระพุทธบาทบนเขาสะแกกรัง ลงมารับบิณฑบาตร ขาวสาร อาหารแหง
จากพุทธศาสนกิ ชนบรเิ วณลานวัดสังกสั รตั นครี ี อําเภอเมือง จังหวดั อุทัยธานี

เรอื่ งที่ 4 คา นิยมท่พี ึงประสงคข องไทยและของทองถนิ่
4.1 คานยิ มทีพ่ งึ ประสงคของไทย
คานยิ มเปน สิง่ ทกี่ ําหนดความเชือ่ ซง่ึ สงผลถึงพฤติกรรมของคนในสังคมจึงควรมี

การกําหนดคานิยมท่ีพึงประสงคใ หก บั ประชาชนไดปฏิบตั ิ
อยางไรก็ตามมีผูแ จกแจงคา นิยมของสงั คมไทยไวดงั น้ี คอื กรมพระยาดาํ รง

ราชานุภาพ ไดก ลาววา คานิยมของสังคมไทยมี 3 ประการ คอื
1. รกั ความเปนไทย
2. คนไทยไมชอบการเบยี ดเบียนและหาเร่อื งกับคนอ่ืน
3. การรจู ักประสานประโยชน รจู กั การประนีประนอม โอนออนผอนตาม ทําให

เมืองไทย ไมตกเปน อาณานคิ มของประเทศใด
ในปจจุบันสังคมไทยมีปญหา คนขาดคุณธรรม จริยธรรม ปญหาเร่ืองเพศเร่ือง

ความรุนแรง และอบายมุขฯ ในป 2549 กระทรวงศึกษาธิการจึงกําหนดลักษณะ
เชงิ พฤตกิ รรมที่เปน 8 คุณภาพพื้นฐาน เพ่ือเปนรากฐานในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ใหเปน
คนดสี ง ผลใหส ังคมไทยเปนสงั คมทด่ี ี คือ

1. ขยัน คือ ตงั้ ใจเพยี รพยายามทําหนา ท่กี ารงานอยา งตอ เน่ือง สมา่ํ เสมอ อดทน
2. ประหยัด คือ รูจักเก็บออมถนอมใชทรัพยสินแตพอควรพอประมาณใหเกิด
ประโยชน คมุ คา ไมฟมุ เฟอ ย ฟุงเฟอ
3. ซอ่ื สัตย ประพฤตติ รง ไมเ อนเอียง ไมมีเลห เ หลี่ยม มคี วามจรงิ ใจ
ปราศจากความรูสึก ลําเอยี ง หรืออคติ
4. มีวินัย คือ ยึดม่ันในระเบียบแบบแผน ขอบังคับ และขอปฏิบัติ มีทั้งวินัยใน
ตนเอง และวนิ ัยตอสังคม

31

5. สภุ าพ คือ เรยี บรอ ย ออนโยน ละมนุ ละมอ ม มกี ริ ยิ ามารยาททีด่ งี าม
มสี ัมมาคารวะ

6. สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมองทั้งกาย ใจ และสภาพแวดลอม
ความผอ งใสเปนท่ีเจรญิ ตา ทําใหเ กิดความสบายใจแกผูพบเห็น

7. สามัคคี คือ ความพรอมเพรียงกัน ความกลมเกลียว ความปรองดอง
รวมใจกนั ปฏิบตั งิ านบรรลผุ ลตามทีต่ อ งการเกิดการงานอยา งสรางสรรค ปราศจาก
การทะเลาะววิ าท ไมเอารัดเอาเปรียบกันเปนการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกตาง
หลากหลายความคดิ เชอ้ื ชาติ หรืออาจเรยี กอกี อยา งวาความสมานฉันท

8. มีนํ้าใจ มีความจริงใจ ไมเ ห็นแกตัวและเรื่องของตัวเอง แตเห็นอกเห็นใจเห็น
คุณคาในเพื่อนมนุษย มีความเอ้ืออาทร เอาใจใส ใหความสนใจในความตองการ
ความจําเปน ความทุกขสุขของผอู นื่ และพรอมทจี่ ะใหค วามชวยเหลือเกอื้ กูลกันและกัน

คา นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายคณะรกั ษาความสงบแหงชาติ
ป 2558 มีดังน้ี

1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ซง่ึ เปนสถาบันหลักของชาติ
ในปจ จบุ นั

2. ซอ่ื สตั ย เสยี สละ อดทน มีอุดมการณในสิง่ ที่ดีงามเพ่อื สว นรวม
3. กตญั ูตอ พอ แม ผปู กครอง ครูบาอาจารย
4. ใฝห าความรู หมัน่ ศึกษา เลาเรียน ทั้งทางตรงและทางออ ม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันดงี าม
6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย หวงั ดตี อ ผูอนื่ เผ่ือแผแ ละแบงปน
7. เขาใจ เรียนรู การเปนประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปน
ประมขุ ที่ถูกตอ ง
8. มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผูนอ ยรูจกั เคารพผใู หญ
9. มีสติ รูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยหู ัว
10. รจู ักดํารงตนอยโู ดยใชห ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามพระราช
ดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รูจักออมไวใชเมื่อยามจําเปน มีไวพอกินพอใช
ถา เหลอื กแ็ จกจา ย และขยายกจิ การเมือ่ มีความพรอ ม โดยมภี มู คิ ุมกนั ทีด่ ี

32

11. มีความเขม แขง็ ทั้งรางกายและจิตใจ ไมยอมแพตออํานาจฝายตํ่าหรือกิเลส
มคี วามละอายเกรงกลวั ตอบาป

12. คํานึงถึงผลประโยชนของสวนรวม และตอชาติ มากกวาผลประโยชนของ
ตนเอง

4.2 คานยิ มทองถน่ิ
คานิยมของทองถิ่นจะบงบอกลักษณะนิสัยเดนของคนในทองถ่ิน เชน

คนภาคเหนือมีมารยาทออนโยน พูดจาออนหวาน คนภาคใตมีความรักใครพวกพองตาง ๆ
เหลาน้ีสามารถศึกษาไดจาก ลักษณะของคนในชุมชน วิถีชีวิตการแสดงออก สถาบัน
ทางการศึกษา ศาสนา และครอบครัว มีสวนสําคัญในการสรางเสริมคานิยมใหม ๆ
ใหเกดิ ขึน้ ในครอบครวั ชุมชน สงั คม

เร่อื งท่ี 5 การประพฤติปฏิบัติตนตามคานิยมท่พี ึงประสงค
การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามคานิยมทพ่ี งึ ประสงคน ั้นเปน สิ่งทีค่ วรกระทําทกุ คน

จึงเปน พลงั สาํ คัญสงผลใหป ระเทศชาติพฒั นาไปอยางย่ังยืน หรืออาจกลา ววา หากสงั คมใดมี
แตความเจริญทางวัตถแุ ตขาดความเจริญดานจิตใจ สังคมนั้นจะพัฒนาอยางไมย่ังยืน ซ่ึงความ
เจรญิ ทางดา นจติ ใจน้นั นอกจากคนในสังคมจะตองประพฤติปฏิบัติดีตามหลักธรรมศาสนาแลว
ควรสรางเสริมคานิยมที่ดีใหเกิดขึ้นกับคนในชาติ โดยพรอมเพรียงกันอีกดวย ตัวอยางเชน
คา นิยมความประหยัด การสรางนิสัยประหยัดพลังงานนํ้ามัน ของคนในชาติไมใชทําเฉพาะผูมี
รายไดนอย แตผูมีฐานะรํ่ารวยจะตองมีนิสัยประหยัดพลังงานดวย เปนตน และแมวาน้ํามันมี
ราคาถกู ลงทกุ คนในชาติควรประหยัดตอไปใหเปน นสิ ัย

33

กิจกรรมทา ยบทท่ี 2

กิจกรรมท่ี 1 ใหผ เู รยี นเลือกคาํ ตอบท่ถี กู ตอง
1. ขอ ใดคอื วฒั นธรรม

ก. อาหาร ข. การแตงกาย

ค. ภาษาพูด ง. ถกู ทกุ ขอ

2. ขอ ใดคอื ประเพณี

ก. การพดู ทกั ทาย ข. การแตง งาน

ค. การรบั ประทานขา ว ง. การถือศลี 8

3. การวง่ิ ควายเปน ประเพณขี องจงั หวดั ใด

ก. ชัยนาท ข. อางทอง

ค. ชลบรุ ี ง. สมุทรปราการ

4. ประเทศไทยไดร บั อิทธิพลวัฒนธรรมประเพณจี ากทใ่ี ด

ก. อารยธรรมตะวันตก ข. อารยธรรมจนี

ค. อารยธรรมอนิ เดยี ง. ถกู ทุกขอ

5. การตอบแทนบญุ คุณบิดา มารดาและบพุ การี จดั เปนความหมายตามขอ ใด

ก. ประเพณี ข. จารีตประเพณี

ค. ขนบประเพณี ง. ธรรมเนียมประเพณี

6. ภาษาไทยไดรบั อทิ ธพิ ลจากภาษาอะไรบา ง

ก. ภาษาบาลี – สนั สกฤต ข. ภาษาองั กฤษ

ค. ภาษาจีน ง. ถกู ทกุ ขอ

7. ประเพณใี ดทมี่ ีทกุ ภาคของประเทศไทย

ก. สงกรานต ข. แขงเรือ

ค. ว่งิ ควาย ง. สารทเดอื นสิบ

34

8. ประเพณจี รดพระนังคลั แรกนาขวัญไดร บั อทิ ธิพลจากศาสนาใด

ก. พุทธ ข.ครสิ ต

ค. อสิ ลาม ง. พราหมณ – ฮนิ ดู

9. วฒั นธรรม ประเพณีมคี วามสําคัญตอ อตุ สาหกรรมใด

ก. การกฬี า ข. การทองเที่ยว

ค. พาณชิ ยกรรม ง. นนั ทนาการ

10. ในความเปนชาตแิ ตล ะชาติมคี วามแตกตา งในดานใด

ก. วัฒนธรรมประเพณี ข. ภาษา

ค. ศิลปะ ง. ถูกทุกขอ

35

กิจกรรมท่ี 2 ใหผูเรียนนําตัวอักษรทางขวามือที่เปนคําตอบที่ถูกตองมาใสหนาขอทาง
ซา ยมอื

_____1. สง่ิ ทีน่ ําความเจริญงอกงามใหแ กหมคู ณะ ก. ขนบธรรมเนียม
_____2. แบบอยางทน่ี ิยมกนั มา ข. จารตี ประเพณี
_____3. ประเพณกี ารละเลนผตี าโขน ค. วฒั นธรรม
_____4. ประเพณีแหเทียน ง. ขาวยําน้ําบูดู
_____5. ประเพณบี ุญเดอื นสิบ จ. จงั หวดั อุบลราชธานี
_____6. วัฒนธรรมดา นท่อี ยอู าศัยภาคกลาง ฉ. ขนมจีนนํ้าเงย้ี ว
_____7. วัฒนธรรมดานอาหารภาคเหนือ ช. บานทรงไทยหลังคาประดับกาแล
_____8. วัฒนธรรมดา นอาหารภาคใต ซ. จงั หวดั นครศรธี รรมราช
_____9. วัฒนธรรมดา นท่ีอยูอาศยั ภาคเหนอื ฌ. จงั หวัดเลย
____10. วฒั นธรรมดา นการเกษตรกรรมภาคกลาง ญ. บา นทรงไทยหลังคาจวั่ สูง
ฎ. จงั หวัดชลบุรี
ฏ. ขนมจนี น้ํายา
ฐ. สถานภาพ บทบาทหนาที่
ฑ. ตักบาตรดอกไม
ฒ. ลงแขกเกี่ยวขาว
ณ. สาทรเดือนสิบ

36

บทที่ 3
หนา ท่ีพลเมืองไทย

สาระสําคญั

เปนสาระที่เกี่ยวกับ ความหมายของประชาธิปไตย สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาท่ีของ
พลเมืองในวิถีประชาธิปไตย การมีสวนรวมในการปฏิบัติตนตามกฎหมายและการมีสวนรวม
ในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต มีคุณธรรมและคานิยมพ้ืนฐานในการอยูรวมกันอยาง
ปรอง ดอง สมา นฉัน ท ก ฎหม ายที่ เกี่ย วขอ งกับ ตนเ องแ ละค รอบ ครัว กฎ หมา ย
ทีเ่ กยี่ วขอ งกบั ชุมชน กฎหมายอื่นๆ เชน กฎหมายแรงงานและสวัสดิการ กฎหมายวาดวยสิทธิ
เดก็ และสตรี

ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง

1. บอกความหมายของประชาธปิ ไตยได
2. บอกสิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาทีข่ องพลเมอื งในวิถีประชาธปิ ไตยได
3. อธบิ ายคุณคาของการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย
4. บอกแนวทางการมีสวนรวมในการปฏิบัติตนตามกฎหมายและการมีสวนรวม
ในการปองกนั และปราบปรามการทุจริตได
5. สามารถนําความรูเรื่องกฎหมายท่ีเก่ียวของกับตนเองและครอบครัวไปใชในชีวิต
ประจาํ วันได
6. สามารถนําความรเู รื่องกฎหมายท่เี กี่ยวขอ งกับชุมชนไปใชในชวี ิตประจาํ วันได
7. เหน็ คุณคาและประโยชนของการปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมายท่เี ก่ยี วขอ งกบั วถิ ีชีวติ ได

ขอบขายเนอ้ื หา

เรอื่ งท่ี 1 ความหมายของประชาธิปไตย
เรอ่ื งที่ 2 สทิ ธิ เสรภี าพ บทบาทหนา ทีข่ องพลเมืองในวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
เรื่องที่ 3 การมีสวนรวมในการปฏิบัติตนตามกฎหมายและการมีสวนรวมในการปองกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ ได
เรอ่ื งที่ 4 คุณธรรมและคานยิ มพนื้ ฐานในการอยูรว มกนั อยางปรองดอง สมานฉันท
เรอ่ื งท่ี 5 รฐั ธรรมนูญ
เรื่องท่ี 6 ความรูเ บอื้ งตน เก่ียวกบั กฎหมาย
เรื่องท่ี 7 กฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ งกบั ตนเองและครอบครัว

37

เร่อื งท่ี 8 กฎหมายท่เี กยี่ วขอ งกับชุมชน
เรื่องท่ี 9 กฎหมายอ่ืน ๆ เชน กฎหมายแรงงานและสวัสดิการ กฎหมายวาดวยสิทธิเด็ก
และสตรี

เร่อื งท่ี 1 ความหมายของประชาธิปไตย
1.1 ความหมายของประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยเปน รูปแบบการปกครองในประเทศมาจากคาํ 2 คํา ดังน้ี
“ประชา” หมายถงึ ประชาชนทีเ่ ปน พลเมืองของประเทศ
“อธปิ ไตย” หมายถึง อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ
ดังนั้น ประชาธิปไตย หมายถึง ประชาชนปกครองหรือการปกครองโดย

ประชาชน พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของประชาธิปไตยไว
วา “ระบอบการปกครองที่ถือมติของปวงชนเปนใหญ หรือการถือเสียงขางมากเปนใหญ”และ
ศาสตราจารย ดร.กมล ทองธรรมชาติ ใหความหมายวา “ประชาธิปไตย เปนการปกครองของ
ประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน”

สรุป ประชาธิปไตย หมายถึงการที่ประชาชนหรือพลเมืองของประเทศ
มีอํานาจและมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายในการปกครองประเทศ โดยคํานึงถึงประโยชน
ของประชาชนสวนรวมเปน หลัก

1.2 หลกั การสาํ คญั ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
1.2.1 หลกั อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน หมายถึง ประชาชนเปน

เจาของอาํ นาจสูงสุดในการปกครองประเทศ
1.2.2 หลักความเสมอภาค ประชาชนทุกคนมีความเทาเทียมกันภายใต

กฎหมาย ความเทา เทียมกนั ทางการเมอื ง
1.2.3 หลักสิทธิ เสรีภาพ และหนา ท่ี ไดแก การท่ปี ระชาชนมอี าํ นาจ

อันชอบธรรมในการเปนเจาของทรัพยสิน มอี ิสระในการกระทําในขอบเขตของกฎหมาย และมี
แนวทางปฏบิ ตั ิตนที่เปน อิสระภายใตข อบเขตของกฎหมาย

1.2.4 หลักนิติธรรม การปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีหลักกฎหมาย
เปนกฎเกณฑและกติกาของประเทศ คือ การท่ีประชาชนใชกฎหมายเปนหลักในการดําเนินชีวิต
เพอ่ื การอยูรวมกนั อยางสนั ตสิ ุข และเกิดความยตุ ิธรรมในสงั คม

38

1.2.5 หลกั การยอมรบั เสียงขางมาก คือ การที่ประชาชนยอมรับในมติของ
ประชาชนสว นใหญ

1.2.6 หลักการใชเหตุผล คือ การท่ีประชาชนใชเหตุผลเปนหลักในการหา
ขอ สรุปเพือ่ การอยรู ว มกัน

1.2.7 หลักประนีประนอม คือ การทป่ี ระชาชนไมใ ชความรนุ แรงในการแกไ ข
ปญหา แตใชการตกลงรว มกันในการขจัดขอ ขัดแยง ที่ไมเหน็ ดวย

1.2.8 หลักความยินยอม คือ การที่ประชาชนใชวิจารณญาณในการตัดสินใจของ
ตัวเอง ปราศจากการบังคับ มีความเห็นตรงกัน และตัดสินใจผานตัวแทนของประชาชน
ในการดาํ เนนิ งานทางการเมืองและการปกครอง

1.3 ลักษณะของสงั คมประชาธิปไตย
ในสงั คมประชาธิปไตย ประชาชนจะปฏบิ ตั ิตอกัน ดงั นี้
1.3.1 การเคารพในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ตามขอบเขตท่ีบัญญัติไวใน

กฎหมาย
1.3.2 การใชหลกั เหตผุ ลในการตดั สินปญหา ขอขัดแยง
1.3.3 การเคารพในกฎกติกาของสังคมเพื่อความสงบสุขและความเปน

ระเบียบเรยี บรอ ยในสังคม
1.3.4 การมีสวนรวมในกิจกรรมของสวนรวมและสงั คม
1.3.5 การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน และเห็นแกประโยชนสวนรวม

มากกวา สว นตน
1.3.6 การยดึ มั่นในหลกั ความยุตธิ รรม และการปฏิบัติตอ กันอยางเสมอภาค

เทา เทียมกันของ สมาชกิ ทกุ คนในสงั คม
1.4 คุณลักษณะทส่ี ําคญั ของสมาชกิ ในสงั คมประชาธปิ ไตย
1.4.1 ยดึ ม่นั ในอุดมการณป ระชาธปิ ไตย
1.4.2 รูจักใชเหตุผลและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ซึ่งมีเหตุผลและมีการ

ประนปี ระนอมกันในทางความคิด
1.4.3 เคารพในสิทธิและการตดั สนิ ใจของผอู ่ืน
1.4.4 มคี วามเสยี สละและเห็นแกประโยชนข องสวนรวมมากกวา สว นตน
1.4.5 สามารถทาํ งานรวมกนั กบั ผอู ืน่
1.4.6 ใชเ สียงขา งมากโดยไมล ะเมดิ สทิ ธิเสยี งขางนอ ย

39

1.4.7 ยึดถือหลกั ความเสมอภาคและเทา เทียมกันของสมาชิก
1.4.8 ปฏิบตั ิตนตามกฎขอ บงั คบั ของสังคม
1.4.9 รูจกั แกป ญหาโดยสันติวธิ ี
1.5 ความสําคัญของการปฏบิ ตั ิตนเปน พลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย
1.5.1 ทาํ ใหส งั คมและประเทศชาติมีการพฒั นาไปอยางมน่ั คง
1.5.2 เกิดความรักและความสามคั คใี นหมคู ณะ
1.5.3 สังคมมคี วามเปนระเบยี บ สงบเรยี บรอย
1.5.4 สมาชิกทุกคนไดรับสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ จากกฎหมายเทาเทียมกัน
และเกดิ ความเปนธรรมในสงั คม
1.5.5 สมาชกิ ในสงั คมมีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผและมนี ํ้าใจตอกัน
1.6 วิถปี ระชาธิปไตย
สังคมประชาธิปไตยที่สมบูรณเปนสังคมที่ปลูกฝงความเปนประชาธิปไตย
ให แก ประชาชนท้ั งในแง ความคิ ด อุ ดมการณ และวิ ธี การดํ าเนิ นชี วิ ตตั้ งแต เด็ ก
เปนตนไป ในชีวิตประจําวันของบุคคลในครอบครัว ชุมชนและสังคมจะดําเนินไปอยางสงบสุข
ไ ด เ มื่ อ ทุ ก ค น ที่ เ ป น ส ม า ชิ ก เ ข า ใ จ แ ล ะ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง ก า ร ใ ช คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ
ประชาธิปไตยเปนแนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ติ ดังนี้
1.6.1 ประชาธปิ ไตยในครอบครัว

ประชาธิปไตยในครอบครวั จะเริ่มไดก ็ตอเมื่อพอแมคิดและประพฤติ
ปฏิบัติตอกัน ตอลูก ๆ และตอบุคคลอ่ืนอยางเปนประชาธิปไตย ในการดําเนินชีวิตประจําวัน
ทุก ๆ ดาน ไดแ ก

1) การแสดงความคดิ เหน็ อยา งมีเหตผุ ล
2) การรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผอู ่นื
3) การตัดสนิ ใจโดยใชเหตุผลมากกวา อารมณ
4) การแกป ญ หาโดยใชเหตุผล
5) การลงมตโิ ดยใชเสียงสวนใหญ
6) การเคารพกฎระเบยี บของครอบครวั
7) การกลาแสดงความคดิ เหน็ ตอ สว นรวม
8) การยอมรบั ความคิดเห็นของผูอ่นื

40

1.6.2 ประชาธิปไตยในชุมชนทอ งถนิ่
วิถีชีวิตประชาธิปไตยในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ภายในชุมชน

เปนการรวมกลุมของบุคคล ภายในชมุ ชน โดยสมาชิกในชุมชนตองมีคุณลักษณะประชาธิปไตย
ท่ีสาํ คญั คอื

1) การเคารพใน กฎ ระเบยี บ ของชุมชนทองถน่ิ
2) การมีสว นรว มในการพฒั นาชุมชนและทองถนิ่
3) การยอมรบั ฟงความคดิ เห็นของผอู ่ืน
4) การตัดสินใจในสว นรวมโดยใชการลงมติเสียงสวนใหญ
5) การตัดสินใจโดยใชวธิ ีการลงมติเสยี งสวนใหญ
6) การแสดงความคิดเหน็ อยางมเี หตุผล
7) การรวมกันวางแผนในการทํางานเปนกลุมหรือตัวแทน
ของกลมุ

เร่ืองที่ 2 สทิ ธิ เสรีภาพ บทบาท หนา ทข่ี องพลเมอื งในวถิ ีประชาธปิ ไตย
2.1 ความหมายของสิทธิเสรีภาพ หนาท่ี
“สิทธ”ิ หมายถึง อํานาจหรือผลประโยชนอันชอบธรรมของบุคคลที่มีกฎหมาย

ใหความคุมครอง เชน สิทธใิ นการนบั ถอื ศาสนา การประกอบอาชพี การไดรับการศกึ ษา ฯลฯ
“เสรีภาพ” หมายถึง ความมีอิสระในการกระทําของบุคคลซ่ึงการกระทํานั้น

จะตองไมข ัดตอกฎหมาย เชน การแตงกาย การแสดงความคิดเห็น ฯลฯ
“หนาท่ี” หมายถึง ภาระหรือความรับผิดชอบท่ีบุคคลจะตองปฏิบัติ

ตามกฎหมาย
สิทธิเสรีภาพ เปน รากฐานสําคญั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย การที่

จะรูวาการปกครองของประเทศใดมีความเปนประชาธิปไตยมากนอยเพียงใด ตองดูท่ีสิทธิ
เสรภี าพของประชาชนในประเทศนั้น ๆ เปนสําคัญ ถาประชาชนมีสิทธิเสรีภาพมาก ความเปน
ประชาธิปไตยของประเทศนั้นก็มีมาก หากสิทธิเสรีภาพของประชาชนถูกจํากัดสิทธิโดยผูมี
อํานาจ การปกครองประชาธิปไตยนั้นก็จะมีนอย เหตุน้ีกฎหมายรัฐธรรมนูญของไทยทุกฉบับ
จงึ ไดบ ญั ญัติคุม ครองสิทธิเสรภี าพของประชาชนไวอ ยางชัดเจน

41

สว นหนาทนี่ ้ันเปนกรอบหรือมาตรฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ทั้งน้ีก็เพราะวาการปกครองระบอบประชาธิปไตยน้ัน ตองอาศัยกฎหมายเปนหลักในการ
ดําเนินการ หากประชาชนไมรูจ กั หนา ทข่ี องตน ไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระบอบประชาธิปไตยก็
จะดํารงอยตู อไปไมได

ดังนั้น สิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ีจึงมีความสําคัญอยางยิ่งในการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยซ่งึ ขาดเสยี มิไดเ ด็ดขาด

2.2 ความสาํ คัญของสิทธิ เสรภี าพและหนาที่ มีดังนี้
2.2.1 ก าร ท่ี รัฐ ได บั ญญั ติ สิ ทธิ เส รีภ า พ แ ละ หน า ที่ ขอ ง บุค ค ล

ในรัฐธรรมนูญทําใหประชาชนไดรับความคุมครองและปฏิบัติอยางเทาเทียมเสมอภาค
และยุตธิ รรม

2.2.2 บุคคลทุกคนจะตองทราบและพึงปฏิบัติตามขอบเขตสิทธิ เสรีภาพ
และหนาทีท่ ี่ไดบ ญั ญตั ิใวใ นรัฐธรรมนญู

2.2.3 การใชอาํ นาจรัฐ จะตองคํานึงถึงสิทธิ เสรภี าพของประชาชน
2.3.4 ทั้งรัฐและประชาชนพึงปฏิบัติตามหนาท่ีที่บัญญัติใวในรัฐธรรมนูญ
อยางเครง ครัด ยอมกอใหเ กิดความสงบในชาติ
2.3.5 หนา ท่ีของประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตย ไดแก

1) หนาท่ีในการรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข

2) หนา ทีใ่ นการปอ งกันประเทศ ไดแก การชว ยสอดสองดูแลและแจง
ใหเจาหนาที่บานเมืองทราบถึงภัยที่จะเกิดข้ึนแกประเทศชาติ เชน การแจงขอมูลเก่ียวกับ
การคายาเสพตดิ การสมัครเปน อาสาสมัครรักษาดนิ แดน เปนตน

3) หนาท่ีในการรับราชการทหารตามกฎหมาย โดยชายไทย
ทุกคนที่มีอายุ 20 ปบริบูรณ จะตองไปตรวจเขารับการเกณฑทหารประจําการเปนเวลา 2 ป
เพ่อื เปน กาํ ลงั สําคญั เมื่อเกดิ ภาวะสงคราม

4) หนาที่ในการปฏิบัติตนตามท่ีกฎหมายกําหนด ทั้งน้ีเพ่ือความเปน
ระเบียบเรียบรอย ทําใหสังคมมีความสงบสุข และสมาชิกในสังคมอยูรวมกันได
อยางมคี วามสุข

42

5) หนาท่ีในการเสียภาษีอากรตามที่กฎหมายกําหนดเพ่ือรัฐ
จะไดมีรายไดเพื่อนํามาใชจายภายในประเทศ รวมท้ังจัดสวัสดิการตาง ๆ ใหกับประชาชนใน
ประเทศ

6) หนาท่ีในการรับการศึกษาภาคบังคับตามเง่ือนไขและวิธีการ
ทีก่ ฎหมายกาํ หนด เพื่อชวยใหมคี ณุ ภาพที่ดแี ละเปนกําลังใจในการพฒั นาประเทศตอ ไป

7) หนาท่ีในการชวยเหลือราชการตามกฎหมายกําหนด
เพอื่ ประโยชนส วนตนและสว นรวม

8) ห น า ท่ี ใ น ก า ร ใ ช สิ ท ธิ เ ลื อ ก ต้ั ง โ ด ย สุ จ ริ ต ใ น ก า ร เ ลื อ ก
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขาไป ทําหนาท่ีบริหารประเทศ ตามระบอบประชาธิปไตยใหยั่งยืน
สบื ไป

2.3 บทบาท
บทบาท หมายถึง การทําหนาท่ีตามสถานภาพท่ีสังคมกําหนด เชน

นายเอกมีสถานภาพ เปนพอ ตองดําเนินบทบาทในการใหการอบรมเล้ียงดู ส่ังสอนบุตร
ใหเปนคนดี สงเสียบุตรใหไดรับการศึกษาที่สมควรตามวัย สวนนายโทมีสถานภาพเปนบุตรท่ี
ตองดําเนินบทบาท เชื่อฟงคําส่ังสอนของบิดามารดา ต้ังใจหมั่นเพียรในการศึกษา ชวยเหลือ
บิดามารดาในการทํางานบานตามควร บทบาทกอใหเกิดการกระทําตามสิทธิและหนาที่ของ
ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม ทํ า ใ ห เ กิ ด ก า ร แ ล ก เ ป ล่ี ย น ผ ล ป ร ะ โ ย ช น ซ่ึ ง กั น แ ล ะ กั น
หากไมกําหนดบทบาท ความสัมพันธระหวางสมาชิกในสังคมจะไมมีระเบียบและทิศทาง
ท่ีแนน อน

สถานภาพกับบทบาทเปนสิ่งควบคูกัน สถานภาพบอกวาใครเปนใคร
มีตําแหนงหนาท่ีอยางไร สวนบทบาทบอกวาอยูในสภาพใด ควรปฏิบัติอยางไร
จึงจะเหมาะสม

เร่ืองท่ี 3 การมีสวนรวมในการปฏิบัติตนตามกฎหมายและการมีสวนรวม
ในการปองกันและปราบปรามการทุจริต

3.1 การมสี วนรวมในการปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย
ในฐานะพลเมืองของประเทศ ซึ่งมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ท่ีมีสิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาที่ ตองปฏิบัติตน


Click to View FlipBook Version