The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการนิเทศการจัดกิจกรรมตามนโยบายและจุดเน้น ปีงบประมาณ 2564 ของ กศน.อำเภอวังจันทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2021-10-19 11:43:26

รายงานผลการนิเทศการจัดกิจกรรมตามนโยบายและจุดเน้น ปีงบประมาณ 2564

รายงานผลการนิเทศการจัดกิจกรรมตามนโยบายและจุดเน้น ปีงบประมาณ 2564 ของ กศน.อำเภอวังจันทร์

Keywords: กศน.อำเภอวังจันทร์



คำนำ

รายงานนิเทศการจัดกิจกรรม กศน.อำเภอวังจันทร์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เล่มนี้ จัดทำขึ้น
เพื่อ รวบรวมข้อมูลผลการจัดกิจกรรมที่ได้จากการนิเทศในรอบปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ที่ผ่านมา
ซึ่งดำเนินการ ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ สำหรับใช้เป็นข้อมูลใน
การพัฒนาคุณภาพ กิจกรรม ขณะนี้ได้ดำเนินการปรับเอกสารเป็นรูปเล่มสมบูรณ์แล้วจึงใช้รายงาน
สำนักงาน กศน. สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก และสำนักงาน กศน. จังหวัดระยอง เพื่อการ
ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ตลอดจนส่งให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง และผู้ที่สนใจ ได้ใช้ประโยชน์ในการศึกษาและ
วางแผนจัดกจิ กรรมในส่วนทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

กศน.อำเภอวังจันทร์ หวังว่าเอกสารรายงานนิเทศการจัดกิจกรรม กศน.อำเภอวังจันทร์
ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ น้ี คงจะเปน็ ประโยชนต์ ่อผ้ทู ่ีไดศ้ กึ ษาและนำไปปฏิบัติอยา่ งแทจ้ รงิ

กศน.อำเภอวงั จนั ทร์
ตุลาคม ๒๕๖๔



สารบญั

หนา้

กรอบความคิดการนิเทศงาน กศน.

บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหาร

กิจกรรมตามนโยบายเร่งด่วน

๑. นอ้ มนำพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสู่การปฏบิ ัติ ๑

๑.๑ การสรา้ งและพัฒนาศูนย์สาธติ และการเรียนรู้ (โครงการ “โคก หนอง นาโมเดล”)

๒. ส่งเสริมการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตสำหรบั ประชาชนที่เหมาะสมกับทกุ ๕

ชว่ งวยั

๒.๑ การจัดการศกึ ษาอาชีพเพ่อื การมีงานทำในรูปแบบ “Re-Skill & Up-Skill ”

๓. พัฒนาหลกั สูตร สือ่ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศึกษา แหลง่ เรียนรู้ และรูปแบบ ๘

การจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ในทกุ ระดับทกุ ประเภท

๓.๑ การพฒั นาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform ที่รองรบั DEEP และช่องการ

เรยี นรู้รูปแบบอ่นื ๆ (Online /On-site/ On-air)

๔. พัฒนาศักยภาพและประสทิ ธิภาพในการทำงานของบุคลากร กศน. ๑๑

๔.๑ พฒั นาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจทิ ัล Digital Literacy & Digital

Skill ให้บุคลากรทุกประเภททุกระดับ

๕. ปรับปรงุ และพัฒนาโครงสรา้ งและระบบบรหิ ารจดั การองค์กร ปจั จยั พ้นื ฐานในการจัด ๑๗

การศึกษาและประชาสมั พนั ธ์การสรา้ งการรับรู้ต่อสาธารณะชน

๕.๑ การพัฒนาปรับปรงุ ซอ่ มแซม ฟน้ื ฟอู าคารสถานท่แี ละสภาพแวดลอ้ ม (กศน.งามตา

ประชาชืน่ ใจ) และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และแหลง่ เรยี นร้ทู กุ แหลง่

ให้สะอาดปลอดภยั พร้อมให้บริการ

๖. การจัดการศึกษาและการเรียนรใู้ นสถานการณ์แพรบ่ าดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๒๐

(Covid-๑๙) ของสำนักงาน กศน.

๖.๑ การพัฒนา ปรบั รปู แบบ กระบวน วธิ ีการดำเนนิ งาน และการจดั การเรยี นรู้เพื่อรองรบั ชีวิต

แบบปกติวถิ ีใหม่ (New Normal)



สารบญั (ตอ่ ) หน้า

กจิ กรรมตามภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง ๒๔
ด้านที่ ๑ Good Teacherกิจกรรม กศน.ป้องกันภาวะซึมเศร้าคงสมรรถนะทางกาย จิต
และสมองของผู้สูงอายุ” ๓๒
๗. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ด้านที่ ๒ Good Place – Best Check In ๔๐
๘. เรง่ ยกระดับ กศน.ตำบล เปน็ กศน.ตำบลตน้ แบบ ๕ ดี พรีเมย่ี ม
ด้านท่ี ๓ Good Activities ๔๓
๙. พฒั นาการจดั การศกึ ษาออนไลน์ กศน.
ดา้ นท่ี ๔ Good Partnership ๔๘
๑๐. โครงการเสริมสรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคีเครือขา่ ย
ด้านท่ี ๕ Good Innovation ๕๒
๑๑. พัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษา ๕๕

๑. การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ๖๑
๑๒. สง่ เสรมิ การเรยี นรู้หนังสือไทย ๖๕
๑๓. การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ๖๙
๗๓
๒. การศกึ ษาต่อเน่ือง
๑๔. การจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชพี (ศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน) ๗๙
๑๕. การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชน ๘๒
๑๖. การจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต ๘๕
๑๗. การจดั การศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่

๓. การศึกษาตามอธั ยาศัย
๑๕. หอ้ งสมุดประชาชน
๑๖.บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน
๑๗. ห้องสมดุ เคล่อื นท่ีสำหรับชาวตลาด

กรอบความคิดการนิเทศงาน กศน.

คณะกรรมการนิเทศเพื่อขับเคล่ือนการดำเนินงานตามนโยบาย จุดเน้น กศน.อำเภอวังจันทร์
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้ใช้แนวคิดเชิงระบบ (System Concept, System Approach) เป็น
แนวทางในการนเิ ทศกิจกรรมของ กศน.อำเภอวังจนั ทร์ โดยพิจารณาจากองค์ประกอบของระบบ ดงั น้ี

๑. ปัจจัยนำเข้า (Input) หมายถึง ปัจจัยต่างๆ ที่เป็นทรัพยากรของระบบ เช่น แผนงาน/
โครงการงบประมาณ บุคลากร ของแตล่ ะงาน/โครงการ

๒. กระบวนการ (Process) หมายถึง กระบวนการดำเนินงานของโครงการ การบริหาร
จัดการ การนิเทศ ติดตามผล เพื่อให้โครงการบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายและตัวชี้วัด
ของโครงการ

๓. ผลผลิต (Output) หรือ (Product) และผลลัพธ์ (Outcome) ของโครงการ ในส่วนที่เป็น
ผู้สำเร็จการศึกษา อัตราความพึงพอใจ ในส่วนที่เป็นผลลัพธ์ คือ ผลที่สืบเนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการ
หรือ ผู้เข้ารับการศึกษานำไปใช้หรือพัฒนาให้ก้าวหน้า เช่น อัตราการมีงานทำงาน การนำความรู้ไป
พัฒนาต่อยอด เปน็ ตน้

ผู้จัดทำเอกสาร ได้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เพื่อสะท้อนปัจจัย
ความสำเร็จ ปัญหาอปุ สรรค นำสู่ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นาตลอดจนการวิเคราะหผ์ ลการปฏิบัติงาน
ดีเด่น (Best Practice) เพื่อใช้เป็นแนวทางหรือวิธีการต้นแบบของการพัฒนา สำหรับรายงานนิเทศ
การจัดกิจกรรม กศน.อำเภอวังจันทร์ ครึ่งปีแรก ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ นี้ คณะผู้จัดทำได้ร่วม
สรปุ ผลการนเิ ทศตามกรอบแนวคดิ เชงิ ระบบดงั กล่าว มีรายละเอียดดงั น้ี

บทสรุปสำหรบั ผ้บู ริหาร

ความเปน็ มา
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) ได้
กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ด้านการกำกับ นิเทศ
ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
โดยมุ่งเน้นการสร้างกลไกการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานเชื่อมโยง
กับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายทั้งระบบ ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้อง
ทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ตดิ ตามและรายงานผลการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถ
ตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ และให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศ
ในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด
อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการบริหารจัดการข้อมูล และการพัฒนางาน
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
หน่วยศึกษานิเทศก์ กศน. จึงกำหนดรูปแบบและแนวทางการนิเทศที่เหมาะสมกับ
สถานการณ์การเกิด โรคไวรัสติดเชื้อ COVID-๑๙ ด้วยการนิเทศออนไลน์ ให้เป็นวิธีการหนึ่งใน
การนิเทศ เพื่อสามารถนำผลการนิเทศมาพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย ทัง้ ในด้านการพฒั นารปู แบบการนเิ ทศและการรายงานผลผลการนิเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์
สูงสดุ โดยใชแ้ นวทาง “การนิเทศเชงิ บรู ณาการ” ระหวา่ งผู้นิเทศ สงั กดั หนว่ ยศึกษานิเทศก์ สำนักงาน
กศน. สถาบัน กศน.ภาค สำนักงาน กศน.จังหวัด และผู้เกี่ยวข้องที่มีความรู้ ประสบการณ์การนิเทศ
ร่วมเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานขับเคล่ือนการนิเทศติดตามการจัดกิจกรรม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน. เพื่อให้
สามารถนำผลการนเิ ทศมาพัฒนาและปรับปรุงงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้
บรรลตุ ามนโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.
สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยประสานงานและขับเคลื่อนการ
นิเทศ และสรุปรายงานผลการนิเทศการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ตามนโยบายและจดุ เน้น สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เขตภาคตะวนั ออก

การนิเทศ
จากการนิเทศติดตามการจดั กจิ กรรมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
ตามนโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้สรุปผลการนิเทศ
การจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีรายละเอียดตามกรอบการจัด
กจิ กรรมตามนโยบายเร่งดว่ น และภารกจิ จดั จดั กิจกรรมต่อเนือ่ งข้างต้น

ปจั จยั ทีส่ ่งผลตอ่ ความสำเรจ็
๑. สำนักงาน กศน. กำหนดนโยบายด้านการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล
การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ชัดเจนส่งผลให้การขับเคลื่อน
การกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลการจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ของนโยบาย และเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ
๒. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นของ
สำนักงาน กศน. อย่างชัดเจน
๓. มีเครอ่ื งมือนิเทศติดตามการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ี
ชัดเจน ทำให้ศึกษานเิ ทศก์และผ้ทู ำหน้าท่ีนิเทศสามารถดำเนนิ การนิเทศ ตดิ ตามไดส้ ะดวก ถูกต้อง
๔. มีรูปแบบการดำเนินงานนิเทศที่ชัดเจน โดยใช้รูปแบบ “การนิเทศเชิงบูรณาการ”
ซึ่งมีการนิเทศออนไลน์ นิเทศเชิงประจักษ์ ติดตามดูร่องรอยหลักฐาน การสัมภาษณ์ และการรายงาน
เป็นต้น
๕. มีการนิเทศติดตามโครงการและกิจกรรมตามนโยบาย ประเภทกิจกรรม และบริบทพื้นที่
เป็นหมู่คณะ และเป็นรายคน โดยนิเทศติดตามในระดบั อำเภอ จังหวัด กลุ่มศูนย์ฯ ภาค และประเทศ
ขนึ้ อยกู่ ับกจิ กรรมทจ่ี ัด
๖. คณะนิเทศของสำนักงาน กศน.จังหวัด ดำเนินการนิเทศร่วมกับคณะผู้นิเทศภายใน
สถานศกึ ษา ของสถานศกึ ษาในสงั กดั
๗. ทุกครั้งที่นิเทศจะมีการแนะนำผู้รับผิดชอบกิจกรรมด้วยวาจาก่อนและมีการประชุม
สรปุ ผลนิเทศในแต่ละวัน นอกจากน้ีไดจ้ ัดทำสรุปผลการนเิ ทศเป็นเอกสารรายงานผ้บู ริหาร การ
รายงานผลในการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการจัดทำหนังสือแจ้งสถานศึกษาในสังกัดเพื่อ
เป็นหลกั ฐานท่ีจะพัฒนาคุณภาพกิจกรรม
๘. สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก เป็นหนว่ ยงานกลางทท่ี ำหนา้ ท่ปี ระสานงานนเิ ทศ สนับสนนุ
งบประมาณ อำนวยความสะดวกต่อการดำเนินการนิเทศ กระบวนการนิเทศ การติดตาม ประเมินผล
และการสรุปผลนิเทศตามความเหมาะสม ในเขตภาคตะวันออกอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การนิเทศ
การดำเนนิ งานตามนโยบาย ของสำนักงาน กศน. จังหวัดในภาคตะวันออกเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

๙. ศึกษานิเทศก์ ผู้ทำหน้าที่นิเทศ ของสำนักงาน กศน.จังหวัด ในเขตภาคตะวันออก
เป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจ มีประสบการณ์นิเทศ และให้ความร่วมมือในการนิเทศ ติดตาม
และการสรุปผลนิเทศ เป็นอยา่ งดี

๑๐. ศึกษานิเทศก์ และผู้ทำหน้าที่นิเทศของสำนักงาน กศน.จังหวัด มีความรู้ความเข้าใจ
และมีประสบการณ์ในการนิเทศกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นอย่างดี
และต่อเน่อื ง

๑๑. การนิเทศออนไลน์ตามแผนนิเทศ ในสภาวะที่เกิดโรคไวรัสติดเชื้อ COVID-๑๙ ระบาด
ซึ่งเป็นรูปแบบการนเิ ทศรูปแบบหนึ่ง เพื่อติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในการพัฒนาคณุ ภาพ
กจิ กรรม กศน.

ปัญหาอปุ สรรค
๑. ครู กศน.ตำบล บางคนยังขาดทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ทำให้การขยายผลสู่
กลุ่มเป้าหมายยังไม่สมบรู ณ์เท่าท่ีควร
๒. ขาดการวางแผนและการดำเนินงานตามภารกิจหลักที่สำนักงาน กศน. กำหนดอย่างเป็น
ระบบ
๓. ขาดการติดตามผูจ้ บหลักสตู รเพื่อติดตามการนำความร้ไู ปใช้
๔. ครูส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการจัดทำคลิปสื่อการสอนออนไลน์ ของเนื้อหาวิชางาน
การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานนอ้ ย ทำให้ผลิตไดช้ า้ นำไปพัฒนาไปซงึ่ ต้องอาศยั ประสบการณ์
๕. สถานศึกษาหลายแห่งยังขาดการนำ STEM Education และ E-commerce มาบูรณา
การในการจดั กระบวนการเรียนรู้
๖. วิทยากรส่วนใหญ่ขาดเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ในด้านทฤษฎี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ซ่ึงสถานศึกษาส่วนใหญ่ ยังไมไ่ ดม้ ีการจดั อบรมเพ่อื พัฒนาศักยภาพการสอนให้แกว่ ิทยากรผูส้ อน
๗. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการในศูนย์ดิจิทัลชุมชนบางแห่งชำรุด เสียหาย ไม่สามารถใช้
เป็นเครอ่ื งมอื ในการจดั การเรียนรู้ได้ เน่อื งจากไม่มีงบประมาณซ่อมแซม
๘. ครู กศน. ตำบล บางส่วนโดยเฉพาะในเมืองอุตสาหกรรมมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยคร้ัง
(ลาออก/ สอบเปล่ยี นตำแหนง่ ) ส่งผลให้ภารกจิ ของ กศน. ขาดความตอ่ เน่อื ง
๙. สถานทต่ี ั้ง กศน. ตำบล หลายแห่งยงั ไมเ่ ปน็ เอกเทศ ทำใหไ้ ม่สามารถอำนวยความสะดวก
กบั ผใู้ ช้บรกิ ารไดม้ ากเท่าทค่ี วร
๑๐. ครู กศน. ตำบล ยังไม่ให้ความสำคัญในการนำผลจากการบันทึกหลังสอนไปใช้ในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนื่องและจรงิ จัง

ขอ้ เสนอแนะ
๑. ควรมีการวางแผนจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีความ
ชัดเจน และสอดคลอ้ งกบั สภาพบรบิ ทของพื้นทตี่ ามสถานการณ์
๒. ควรมีการจัดการและเร่งดำเนินการจัดตั้ง กศน.ตำบล ให้เป็นเอกเทศ เพื่อความสะดวก
และง่ายต่อการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
๓. ควรมีการจัดสรรอัตรากำลังครู กศน.ตำบล ให้ครบทุกตำบล เพื่อให้เกิดการจัดกิจกรรม
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ครอบคลมุ ทุกพน้ื ที่
๔. ควรมีการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้และทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอก
ระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหก้ บั ครู กศน.ตำบล และวทิ ยากรอยา่ งต่อเนอ่ื ง
๕. ควรมกี ารจดั ลำดับความจำเป็น เร่งด่วน และแบง่ แยกภาระงานอ่ืนๆ ตามความจำเป็นเพ่ือ
ไมใ่ หส้ ่งผลกระทบตอ่ การจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแผนท่ีวางไว้
๖. ควรมีการกำกับ ติดตามผลผู้เรียนหรือผู้รับบริการหลังการจัดกิจกรรมการศึกษานอก
ระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง



ประเดน็ รายงานการสรปุ ผลการนิเทศ (นโยบายเรง่ ดว่ น)
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. นอ้ มนำพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสูก่ ารปฏิบตั ิ
๑.๑ การสรา้ งและพัฒนาศนู ยส์ าธติ และการเรยี นรู้ (โครงการ “โคก หนอง นาโมเดล”)
๑. ความเปน็ มา
การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ

๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ส่วนของยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ด้านความมนั่ คง ข้อ ๑.๑ พฒั นาและเสริมสร้าง
ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนำและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดำริตา่ งๆ สำหรับ กศน. มีนโยบายดา้ นพันธกิจ ข้อ ๑
จัดกิจกรรม กศน.ที่มีคุณภาพ ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและความ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้
ของประชาชนกลุม่ เป้าหมาย ดา้ นจดุ เนน้ การดำเนนิ งานประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ข้อ ๑ น้อมนำ
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ข้อ ๑.๑ สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้าง
และพัฒนาศูนย์สาธิตและเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหาร
ทรัพยากรรูปแบบต่างๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุต์ ่างๆ และส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน
อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้ รวบรวม ขยายผล เชื่อมโยง สร้างเครือข่าย
และเผยแพร่องค์ความรู้เก่ียวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นการ
เรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาทตามแนวพระราชดำริและหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ ๙) โดยบูรณาการการทำงานและประสานความร่วมมือ
กับภาคีเครอื ข่าย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการพัฒนาสงั คมและชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีความเข้มแขง็
และยั่งยนื

๒. สภาพท่ีพบ
๑. กศน.อำเภอวังจันทร์ มีการดำเนินงานตามกรอบการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียงและโคก หนองนา โมเดล เกษตรทฤษฎใี หม่ ตามที่สำนกั งาน กศน.กำหนด
๒. กศน.อำเภอวังจันทร์ น้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระ

เจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี ๙ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ และบรู ณาการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
สง่ เสริมใหส้ ถานศึกษาบรหิ ารจัดการ และจดั การเรยี นการสอนตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

๓. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ โคกหนองนา
โมเดล การเรียนรู้เกี่ยวกับศาสตร์พระราชา การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการทรงงาน และพระบรมราโชบาย เพื่อแก้ปัญหาที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ



โรคโควิด ๑๙ ใหก้ ับประชาชนในพน้ื ที่ได้เกดิ การเรยี นรู้และประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนินชีวติ และประกอบ
อาชพี และเพอื่ เป็นการนำนโยบายสู่การปฏิบตั ิอย่างตอ่ เนือ่ งและเกดิ ผลสัมฤทธ์ิ

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จัดกิจกรรมการจดั การศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง(“โคก หนองนาโมเดล”) จำนวน ๒ โครงการ และจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี้

๑. โครงการศึกษาเรียนรู้โคก หนอง นาโมเดล และการปลูกพืชต้านโควิด ๑๙
หลกั สตู ร ๕ ชวั่ โมงวนั ที่ ๒๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๔ ณ ศนู ยเ์ รียนรเู้ กษตรพอเพยี ง วสิ าหกิจชุมชนเพาะเห็ด
และเกษตรผสมผสาน หมู่ ๑ ตำบลชุมแสง อำเภอวังจันทร์ จังหวดั ระยอง ผูจ้ บเปน็ ประชาชนในพ้ืนที่
อำเภอวงั จันทร์จำนวน ๑๕ คน

๒. โครงการศกึ ษาเรียนรโู้ คกหนองนาตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง จำนวน
๕ ชั่วโมง (รูปแบบออนไลน)์ วันท่ี ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๔ณ กศน.อำเภอวงั จนั ทร์ ตำบลชุมแสง อำเภอ
วงั จันทร์ จงั หวดั ระยอง ผจู้ บเปน็ นกั ศกึ ษา กศน. จำนวน ๕๐ คน

๓. ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ ครู กศน.ตำบล ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน (แบบ
ออนไลน์ แบบพบกลุ่ม) สอดแทรกในเนื้อหาบทเรียน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวมทั้งส้นิ ๓๐๐ คน

๓. ปัจจัยทส่ี ง่ ผลตอ่ ความสำเร็จ
๓.๑ ครู กศน. มีการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างดี

สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์ให้ประชาชนและนักศึกษา กศน. ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

๓.๒ ประชาชน และนักศึกษา ประมาณร้อยละ ๘๐ มีจติ สำนึกทดี่ แี ละเห็นความสำคัญใน
การปฏิบัตติ นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๓.๓ ปราชญ์ชาวบ้านมีองค์ความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถ
ถ่ายทอดความรู้นำไปสู่การปฏิบตั จิ ริง เปน็ แบบอย่างในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

๓.๔ ระบบสารสนเทศ ซึ่งมีทำเนียบภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและ
เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่โคกหนองนาโมเพลฯลฯ สำหรับให้บริการประชาชนสืบค้น เรียนรู้ และ
ฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ เพอื่ ใหเ้ กิดความสะดวก รวดเร็ว สามารถนำความรูท้ ่ไี ดร้ บั ไปเพ่ิมรายได้ ลดรายจ่าย ลด
ต้นทุนในการผลติ สามารถพึ่งพาตนเองได้

๓.๕ ประชากรบางส่วนประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลสู่
ความสำเร็จของการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
โคกหนองนาโมเดล



๔. ปัญหาอุปสรรค
ภูมิปัญญาและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร

ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่โคกหนองนาโมเดล ที่เกิดขึ้นในชุมชน บางส่วนยังขาดการจัดการความรู้อย่าง
เป็นระบบ

๕. ข้อนิเทศต่อผรู้ ับการนิเทศ
๕.๑ ควรมีการจัดทำแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษาด้านการดำเนินงานของ การสร้างศูนย์

สาธิตและการเรียนรู้ (โครงการ โคกหนองนาโมเดล) เพราะจะทำให้ผู้จัดกิจกรรมทราบเป้าหมายการ
ดำเนินงานมีแนวทางในการจัดทำกรอบการจัดกิจกรรม เพื่อจัดทำแผนและดำเนินการในระดับตำบล
ต่อไป

๕.๒ ควรมุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ คือ มีการประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อการ
แสดงข้อมูลผลผลิต (Output) ที่เกิดจากกการจัดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และมีการ
ติดตามผลอย่างเป็นระบบ เพื่อแสดงข้อมูลผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดจากการนำความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์

๕.๓ ดว้ ยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทำให้
การจัดกิจกรรมต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพ เน้นการเรียนรู้แบบออนไลน์ รูปแบบนิเทศก็
นิเทศแบบออนไลน์ ใช้ระบบเทคโนโลยี และการประชมุ ทางไกลเพ่อื ตดิ ตาม

๖. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นา
๖.๑ ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศึกษา
ครู กศน.ตำบล ควรประเมินผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และ

ตดิ ตามผลการนำความรู้ไปใช้ของกลมุ่ เป้าหมาย เมื่อผ่านการอบรมแลว้ ๑ เดือน จะได้ผลเชิงประจักษ์
รวมถงึ ปญั หาอปุ สรรค เพอ่ื นำข้อมลู จากการติดตามมาปรับปรุงแก้ไข ใหก้ ารจดั กจิ กรรมเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพมากขน้ึ ต่อไป

๖.๒ ข้อเสนอแนะต่อ กศน.อำเภอวังจนั ทร์
จัดให้มีการนิเทศติดตามผลการดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง มีเวที

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ทีป่ ระสบผลสำเร็จด้านเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมมอบโล่ เกียรติบัตร สำหรับผู้
ท่มี ีผลงานดเี ดน่ ระดับจังหวัด

๖.๓ ข้อเสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวดั ระยอง
จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับครู กศน. เกี่ยวกับการดำเนินการจัดการ

ความรู้ (Knowledge Management) เพือ่ ใหค้ รู กศน.นำความร้ทู ไ่ี ดไ้ ปปฏิบัติจริง
๗. ผลการปฏิบตั ิงานทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice)
-



๘. ภาพกจิ กรรม
๑. โครงการศึกษาเรียนรู้โคก หนอง นาโมเดล และการปลูกพืชต้านโควิด ๑๙ หลักสูตร ๕
ชั่วโมงวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๔ ณ ศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียง วิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ด และเกษตร
ผสมผสาน หมู่ ๑ ตำบลชมุ แสง อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ผเู้ รียนฟงั บรรยายน/ฝึกปฏิบัติร่วมกัน
และศึกษาดงู าน ผจู้ บจำนวน ๑๕ คน

๒. โครงการศึกษาเรียนรู้โคกหนองนาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (รูปแบบ
ออนไลน์) วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๔ณ กศน.อำเภอวังจันทร์ ตำบลชุมแสง อำเภอวังจันทร์ จังหวัด
ระยอง ผู้จบ ๕๐ คน

๓. ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ ครู กศน.ตำบล ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน (แบบออนไลน์
และแบบพบกลุ่ม) สอดแทรกในเนื้อหาบทเรยี น ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวมท้งั สิน้ ๒๕๐ คน



๒. สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวิตสำหรบั ประชาชนทเี่ หมาะสมกับทกุ ช่วงวยั
๒.๑ การจัดการศกึ ษาอาชีพเพือ่ การมงี านทำในรปู แบบ “Re-Skill & Up-Skill ”
๑. ความเป็นมา
นโยบายเร่งดว่ น (Quick Win) ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร (นางสาวตรีนุช

เทียนทอง) ในเรื่องการจัดการศึกษา ข้อที่ ๕ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษา
ที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชีพและรายได้ที่เหมาะสมและ
เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ให้สถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน.รับทราบ
เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำสำหรับประชาชนผูไ้ ด้รับผลกระทบ
จากการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา (COVID-๑๙) จำนวน ๑๐ หลักสตู ร

สำนกั งาน กศน. ไดจ้ ดั สรรงบประมาณ เป็นค่าใช้จา่ ยโครงการฝกึ อาชีพสำหรบั ประชาชน
ผู้ได้รบั ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) หลักสูตรเพ่ือ
การพัฒนาอาชพี Re-Skill & Up-Skill ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒. สภาพที่พบ
กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้ดำเนินการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำในรูปแบบ Re-

Skill & Up-Skill การสร้างนวัตกรรมและผลติ ภณั ฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน ผู้รับบริการ โดยไดด้ ำเนนิ การจดั โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน
หลักสูตรการทำเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ จำนวน ๓๘ ชั่วโมง ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๑๒ คน ได้
ดำเนินการทำในภาพรวมของ กศน.อำเภอวังจันทร์ (ตำบลละ ๔ คน) ในรูปแบบของ ๑ อำเภอ ๑
อาชีพ สำหรับกระบวนการเรียนรู้ จะเป็นในรปู แบบของการสอนแบบออนไซต์ มีให้กลุ่มเปา้ หมาย
ได้เรียนรู้และฝึกปฏบิ ัตจิ ริงตามขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร โดยมีวิทยากรได้บรรยายให้
ความรู้แต่ละขั้นตอน มีการออกแบบบรรจุภัณฑ์ มีการวัดผลประเมินผลของผู้เรียนตลอดจนจบ
หลกั สตู ร

๓. ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อความสำเรจ็
๓.๑ วิทยากรมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเนื้อหา และการถ่ายทอดความรู้ ทำให้ผู้เรียน

สามารถนำความร้ไู ปประยุกตใ์ ช้ในการจดั กจิ กรรมได้
๓.๒ การวัดและประเมนิ ผล วทิ ยากรมกี ารประเมนิ ผ้เู รยี น ด้วยการใช้วธิ ีการสังเกตแบบมี

สว่ นรว่ มจากการฝกึ ปฏิบตั ิ และศึกษาผลสำเรจ็ ของชิ้นงาน ในลกั ษณะการประเมนิ ตามสภาพจริง โดย
มีครู กศน.ตำบล เป็นผู้มีส่วนร่วมในการประเมินผลของผู้เรียนด้วย รวมทั้งมีการประเมินความพึง
พอใจผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมในด้านหลักสูตร เนือ้ หา ระยะเวลา การสอนของวทิ ยากร ความรคู้ วามเข้าใจ
และการนำไปใช้ พร้อมทั้งนำผลการประเมินการเรียนบันทึกลงในแบบรายงานตามที่สถานศึกษา
กำหนด ซึ่งเป็นเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ส่วนใหญ่การวัดและประเมินผล



ยังไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้สถานศึกษามีการอนุมัติผู้จบ
หลักสูตร และบางแห่งมีการมอบใบประกาศนียบัตรแก่ผู้จบหลักสูตร มีเอกสารสรุปผลและการ
รายงานผลการดำเนินงาน หลงั จากเสรจ็ สนิ้ การจดั กิจกรรม

๔. ปญั หาอุปสรรค
๔.๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สถานศึกษาส่วนใหญ่ขาดการวางแผนและการ

ดำเนินงาน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตามภารกิจหลักที่สำนักงาน กศน. กำหนดอย่างเป็นระบบ
๔.๒ สถานศึกษากำหนดชั่วโมงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สั้น มีผลให้การกำหนดเนื้อหา

เพื่อการเรียนรู้ไมค่ รบองค์ประกอบของความรู้เท่าทีค่ วร ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการนำความรู้ไปใช้ใน
การประกอบอาชพี ได้

๔.๓ ครู กศน.ตำบล ส่วนใหญ่ขาดการติดตามผู้จบหลักสูตร ในการนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

๕. ขอ้ นเิ ทศต่อผู้รับการนเิ ทศ
๕.๑ สถานศึกษาควรมีการมอบหมายให้ผู้เกี่ยวข้องสำรวจ และจัดกิจกรรมตามความ

ตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย
๕.๒ ควรทบทวนเป้าหมายผลการนำความรไู้ ปใช้ของผูเ้ รียน ตามทกี่ ำหนดไว้ใน

แผนพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษา เพ่อื ส่งเสรมิ ใหก้ ารประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
เป็นไปอย่างเปน็ ระบบและแสดงถงึ คุณภาพการจดั การเรยี นรู้

๕.๓ ควรจัดระบบและควบคุมการจัดการศกึ ษา ให้มีการประเมินคุณภาพตามองคป์ ระกอบ
ของการจัดการศึกษา และแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ ได้แก่
๑) การประเมินความรู้ความเข้าใจตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๒) การประเมินทักษะตาม
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๓) การประเมินคุณภาพหลักสูตร ๔) การประเมินคุณภาพกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ ๕) การประเมินคุณภาพวิทยากร ๖) การประเมินคุณภาพสื่อ และ ๗) การประเมิน
ความพึงพอใจ พร้อมให้มีการรายงานผล รวมทั้งนำผลจากการประเมินไปร่วมพิจารณาพัฒนา
ปรับปรงุ อยา่ งเป็นระบบ

๕.๔ ควรจัดระบบและควบคุมการติดตามผู้เรียนหลังจบการศึกษาตามหลักสูตรไปแล้ว
๑ เดือน เพื่อติดตามว่าผู้เรียนนำความรู้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพ
และคุณลักษณะที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาหรือไม่ อย่างไร

๕.๕ แนะนำให้สถานศึกษาวางแผนใช้ กศน. ตำบล เป็นฐานการเรียนรู้ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ และเผยแพรง่ านอาชีพตามภารกิจหลักของศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชนให้มากข้นึ

๕.๖ อธิบายและแนะนำสถานศึกษาให้ดำเนินการวัดและประเมินผลความรู้ ทักษะ
และเจตคติของผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอย่างเป็นระบบ เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลของการ



จัดการเรียนรู้ และคุณภาพการจัดการเรียนรู้ รวมถึงการสรุปผลการจัดกิจกรรมให้ตอบวัตถุประสงค์
และตวั ช้ีวัดของโครงการ ท้งั เชิงปรมิ าณและเชิงคุณภาพ

๕.๗ อธิบายและเสนอแนะแนวทาง วิธีการจัดเก็บข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำสารสนเทศ เช่น
ข้อมูลความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลการจัดกิจกรรม กศน. ผลการจัดกิจกรรมในแต่ละ
โครงการเพ่ือนำมาใชใ้ นการวางแผนใหด้ ำเนนิ การได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

๖. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
๖.๑ ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
๑) พฒั นาหลกั สูตรท้องถนิ่
๒) จัดทำทำเนียบหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ ง (ศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน)
๖.๒ ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จงั หวัด
๑) ควรขอเพิ่มค่าวัสดุฝึกรายหัวให้เหมาะสมกับหลักสูตรในบางวิชา เนื่องจากมี

ผูส้ มคั รเรียนเป็นจำนวนมากทำใหค้ ่าวสั ดุไมเ่ พียงพอ
๒) ควรขอสนับสนุนงบประมาณ เพื่อจัดสรรเพิ่มค่าวัสดุเป็นรายหัวตามจำนวนของ

ผูเ้ รยี น หากจำนวนสมาชกิ ในกลุม่ มีจำนวนมาก จะไดม้ ีงบประมาณเพียงพอ
๖.๓ ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.
๑) สนบั สนนุ งบประมาณในการจัดกิจกรรมอยา่ งเพียงพอและต่อเน่ือง
๒) ควรกำหนดนโยบาย จดุ เน้น แนวทางการดำเนินงาน ให้ชดั เจน ตั้งแตช่ ว่ งตน้

ปงี บประมาณ เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถวางแผน และดำเนินการจดั กจิ กรรมได้ตลอดท้ัง
ปีงบประมาณ

๗. ผลการปฏิบัตงิ านท่เี ป็นเลิศ (Best Practice)
-

๘. ภาพกจิ กรรม

หลักสตู รการทำเคร่อื งดื่มเพื่อสขุ ภาพระหว่างวนั ที่ ๑๓-๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๔
ณ กศน.อำเภอวงั จนั ทร์ จงั หวัดระยอง



๓. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และรูปแบบการจัด
การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ในทุกระดบั ทุกประเภท

๓.๑. การพัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform ที่รองรับ DEEP
และช่องการเรียนรู้รปู แบบอ่นื ๆ (Online /On-site/ On-air)

๑. ความเปน็ มา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์ มีการนำเทคโนโลยี

ทางการศึกษามาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาสการเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจดั
และให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในการส่งเสริมและให้กับประชาชน
กลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง เป็นไปตามพันธกิจของสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ประกอบกับใน
ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สำนักงาน กศน. ได้กำหนดจุดเน้นการดำเนินงานในด้านพัฒนาหลักสูตร ส่ือ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาแหล่งเรียนรู้ และรูปแบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาทีเ่ หมาะสม กับทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความ
ทันสมยั สอดคลอ้ งและพร้อมรองรับบริบทสภาวะสังคมปัจจบุ ัน ความตอ้ งการของผเู้ รียน และสภาวะ
การเรียนรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital
Learning Platform ที่รองรับ DEEP ของกระทรวงศึกษาธิการ และช่องทางเรียนรู้รูปแบบอื่น ๆ
ทั้ง Online On-site และ On-air

๒. สภาพที่พบ
ครผู ูส้ อนของ กศน.อำเภอวงั จันทร์ ไดเ้ รยี นรแู้ ละดำเนินการตามแนวทางที่กำหนดในคู่มือ

การดำเนนิ งานการจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานดว้ ยวิธีออนไลน์ ของสำนกั งาน กศน.จังหวัดระยอง ที่มอบ
ให้กับ กศน.อำเภอวังจันทร์ ภายใต้การจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประกอบด้วยองค์ประกอบ
ครูผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา สื่อการเรียนและแหล่งเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบการ
ติดต่อสื่อสาร การวัดและการประเมินผล และครูผู้สอน กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้มีการจัดรูปแบบการ
เรียนการสอนหลากหลายวิธี ที่ทำให้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันได้ เพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงคใ์ นการจัดการเรียนการสอน เกิดผลลพั ธ์การเรยี นรู้ตรงตามหลักสตู ร

จากการนิเทศการพบกลมุ่ ของ ครผู ู้สอนของ กศน.อำเภอวงั จันทร์ ทั้ง ๘ กลมุ่
ครูผสู้ อน ของกศน.อำเภอวังจนั ทร์ มีการจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบออนไลน์ เพ่ือให้
ผู้เรียนสามารถเขา้ ถึงได้ง่าย และสะดวกต่อเรียนรู้ โดยอยู่ภายใต้ประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ และตามมาตรการเกี่ยวกับสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา และใช้โปรแกรมการสื่อสารออนไลน์ ได้แก่ โปรแกรม Hangout Meet,
Line, Facebook Messenger และ Google Site เป็นต้น การใช้โปรแกรม จัดการศึกษาออนไลน์
เหล่านี้ ครผู ู้สอนไดจ้ ัดเตรยี มเอกสารประกอบการสอน เช่น Power point วดิ ีโอ รูปภาพ เอกสารการ



สอนในรูปของ Google doc เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอน ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในการเรียน
มากขน้ึ รวมท้งั มีการบันทึกไฟลห์ ลังจากการจัดการเรยี นการสอน เพือ่ ให้สามารถเรียนย้อนหลังในกรณีท่ี
ผู้เรียนไม่สามารถเข้าเรียนตามกำหนดเวลาได้ ครูผู้สอน ของกศน.อำเภอวังจันทร์ ได้จัดทำเว็บไซต์
การศึกษาออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม Google site เพื่อจัดทำขึ้นเป็น platform พื้นฐานในการเข้าถึง
การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ โดยได้กำหนดให้ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานเข้าเรียนตามวัน เวลา
ที่กำหนดไว้ในแผนการสอน มีการเช็คชื่อเข้าเรยี น โดยใช้ Google form รวมทั้งมีการตรวจงาน และ
มีการพัฒนาแอปพลิเคชันทางการศึกษา โดยใชช้ ื่อ EDU Wangchan Application โดยแอปพลเิ คชัน
ดังกล่าว เปรียบเสมือนเป็นประตูสู่โลกออนไลน์ นำพาให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลทางการ
ศึกษาในทุกมิติได้ ผู้เรียนสามารถสามารถใช้ประโยชน์และสร้างคุณค่าทางการเรียนรู้ได้มาก
เนื่องจากผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายผ่านทางโทรศัพท์มือถือ สามารถเข้าถึงส่ือ
ประกอบการสอนจากเมนสู ื่อการเรียนการสอนออนไลน์ สามารถตรวจสอบตารางการจดั การเรียนการ
สอนได้ สามารถตรวจสอบวชิ าทล่ี งทะเบียนเรียนได้ อีกทั้งเปน็ ชอ่ งทางในการติดต่อผู้สอนได้อย่างง่าย
โดยผ่านแอปพลิเคชัน การให้ข้อมูลย้อนกลับ เป็นการสะท้อนการรับการส่งข้อมูลของผู้สอนให้กับ
ผ้เู รยี น เพ่ือทบทวนเป้าหมายและวัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้

๓. ปจั จัยท่สี ง่ ผลต่อความสำเรจ็
๓.๑ ผู้บริหารสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง และผู้บริหาร กศน.อำเภอวังจันทร์ ให้

ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ พร้อมทั้งให้การสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ ที่ใช้ใน
การจัดการเรียนการสอน ไม่ว่าจะเป็นด้านการพฒั นาความรู้ความสามารถของครูผูส้ อน ด้านอุปกรณ์
ทางดา้ นเทคโนโลยีต่าง ๆ และด้านการสง่ เสรมิ ให้เกิดการใชง้ านจริง

๓.๒ ครูผู้สอนมีความเข้าใจและมีความรู้ ทักษะและมีความสามารถในการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ เข้าใจในระบบเทคโนโลยี สามารถใชเ้ คร่ืองมือ หรือตัวชว่ ยทางเทคโนโลยีตา่ ง ๆ ได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๔. ปญั หาอุปสรรค
ผเู้ รยี นบางคนไมม่ ีอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการเรียนการสอนออนไลน์ หรอื มีปัญหาในการเขา้ ถึง

สญั ญาณอินเตอร์เนต็ จงึ ไม่สะดวกต่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์
๕. ข้อนเิ ทศตอ่ ผู้รับการนิเทศ
๕.๑ ควรมีการสร้างความเข้าใจกับผู้เรียนถึงวิธีการรับชม การใช้โปรแกรม การเข้าระบบ

โดยอาจจัดทำเป็นคู่มือการใช้งานระบบต่าง ๆ ของการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
เช่น จัดทำเปน็ คู่มือแผ่นพับ เอกสารเผยแพร่ เพ่อื ให้ผเู้ รียนใช้เป็นแนวทางในการเข้าสู่ระบบการเรียน
การสอนออนไลน์ได้อยา่ งถูกต้อง

๑๐

๕.๒ ควรมีการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้เรียน เพื่อแนะแนวการศึกษาออนไลน์ รวมถึงการ
ตรวจสอบการเข้าถึงสัญญาณอินเตอร์เน็ต หรือการใช้เข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ และมีการจัดการเรียนการ
สอนให้กับผเู้ รยี น ทีไ่ มส่ ะดวกตอ่ การจัดการเรยี นการสอนรูปแบบออนไลน์

๖. ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
๖.๑ ขอ้ เสนอแนะต่อครู
ครูควรมีการสื่อสารผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Line หรือ Facebook เป็น

ประจำอย่างต่อเนื่อง เช่น การออกเยี่ยมบ้านผู้เรียน กำกับติดตามผู้เรียนที่มีปัญหาทางการเรียน
ออนไลนอ์ ยา่ งสม่ำเสมอ

๖.๒ ขอ้ เสนอแนะตอ่ กศน.อำเภอ
๑) ควรจัดให้ กศน.ตำบล ทุกตำบล มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

ท่คี รบครัน ใชง้ านได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เพียงพอตอ่ การจดั การศึกษาในรูปแบบออนไลน์
๒) ควรมีการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาแบบออนไลน์ ควรจัดให้มีการ

ประกวดการสร้างนวตั กรรมการเรยี นการสอนออนไลน์
๖.๓ ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวัด
จัดสรรงบประมาณสำหรบั การซื้อวัสดุอปุ กรณ์เก่ยี วกับเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย พร้อมทง้ั

สือ่ การเรียนการสอนท่ีใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหม่
๗. ผลการปฏบิ ัติงานทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice)

-

๘. ภาพกิจกรรม

EDU Wangchan Application การจดั การศึกษาออนไลน์ กศน.

๑๑

๔. พัฒนาศกั ยภาพและประสิทธภิ าพในการทำงานของบุคลากร กศน.
๔.๑ พฒั นาศกั ยภาพและทักษะความสามารถดา้ นเทคโนโลยีดิจิทัล Digital Literacy &

Digital Skill ใหบ้ คุ ลากรทุกประเภททุกระดับ
๑. ความเปน็ มา
กศน.อำเภอวังจันทร์ ในฐานะเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าทีจ่ ดั กิจกรรมด้านการศึกษาในพ้นื ที่

และไดร้ บั มอบหมายให้ดำเนินการสร้างเครือขา่ ยศนู ย์ดจิ ิทัลชุมชน ในการพฒั นาคนทุกช่วงวัยให้ได้รับ
การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะการปรับตัวให้รู้เท่าทัน ก้าวทันโลก และสามารถนำ
เทคโนโลยที ่มี ีอยใู่ นปจั จุบนั มาใชป้ ระโยชน์ในการดำรงชีวติ ทั้งดา้ นการเรยี นรู้ การประกอบอาชีพได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ขณะนี้สำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ได้จัดอบรมวิทยากรแกนนำ และ
มอบหมายให้แกนนำจัดอบรมขยายผลให้กับครู กศน. นำไปสอนต่อให้กับกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนท่ี
ซึ่งเป็นบุคลากรที่จะต้องทำงานเชิงรุกในการขยายผลสู่ชุมชน โดยจัดอบรมประชาชนให้มีความรู้เท่า
ทันดิจิทัล ใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิต นอกจากนี้ศูนย์ดิจิทัลชุมชนจะเป็น
ชอ่ งทางในการเพมิ่ โอกาสทางการค้าขายของคนในชุมชนผ่านเทคโนโลยีดิจิทลั เพอื่ ส่งเสริมอาชีพและ
เพม่ิ รายได้ใหก้ ับประชาชนในพน้ื ที่ โดยมีวตั ถุประสงค์ด้านเทคโนโลยี ดังนี้

๑. ผลิตและพัฒนาคลิปสอื่ การเรยี นการสอน
๒. พัฒนาสื่อเพื่อจัดกิจกรรมออนไลน์ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และ
การศึกษาตามอัธยาศยั
๒. สภาพทพ่ี บ
กศน.อำเภอวังจันทร์ มีหน้าที่จัดการเรียนรู้ด้านดิจิทัลให้กับประชาชน สำหรับปีงบประมาณ
๒๕๖๔ ครูอาสาสมัคร กศน. จำนวน ๑ คน และครู กศน.ตำบล จำนวน ๓ คน รวมทั้งสิ้น ๔ คน ได้
เข้าร่วมโครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน หลักสูตรการใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพื่อสร้างโอกาสการมีงาน
ทำ โดย สำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ รุ่นที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๒๔ - ๒๕
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ สุนทรภู่ สำนักงาน กศน.จังหวดั ระยอง วิทยากรใหค้ วามรูจ้ ำนวน ๓
ท่าน ประกอบด้วย ๑. นางกัญญาทิพ เสนาะวงษ์ ครูชำนาญการพิเศษจากสถาบัน กศน.ภาค
ตะวันออก ๒. นายธีรพล เดือนกลาง ครูผู้ช่วย กศน.อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง และ ๓. นาย
อนุรักษ์ คำมุงคุณ นักเทคโนโลยีสารสนเทศ การอบรมมุ่งให้ครูแกนนำ ไปจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน
ประชาชน รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล คิดวิเคราะห์ และแยกแยะสื่อดิจิทัล เพื่อการบริโภคได้อย่างเหมาะสม
เมื่อครูขยายผลสู่ชุมชน ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในดิจิทัลมากขึ้นและปรับใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั ได้อย่างเหมาะสม สง่ ผลให้เกิดการคา้ ขายออนไลนแ์ ละยกระดบั คณุ ภาพชีวิตใหด้ ีข้นึ
โดยมีวตั ถุประสงค์หลักดงั นี้ ๑. เพือ่ พฒั นาศักยภาพของ ครูอาสาสมคั ร กศน. ครู กศน.ตำบล
ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และให้มีการฝึกปฏิบัติการใช้งานโปรแกรมสำนักงาน เพื่อไปประยุกต์ใช้ใน

๑๒

สำนักงานตนเองและนำไปถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนในพื้นที่ และ ๒. เพื่อขยายเครือข่าย

เศรษฐกิจดจิ ิทลั สู่ชุมชน โดยครูแกนนำ กศน.อำเภอวงั จันทร์ ท่ีผ่านการอบรม การจดั อบรมให้ความรู้

และส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนที่เขา้ ร่วมโครงการ ได้รเู้ ทคนคิ วิธีการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการออกแบบ

บรรจุภัณฑ์ โดยนำไปประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผ่านเพจ (page) ร้านค้าออนไลน์ และ เพจเฟสบุ๊ค

(page facebook) เพื่อใช้ในการคา้ ขายออนไลน์ ก่อให้เกิดการสร้างรายได้สู่ชุมชน สำหรับกจิ กรรม

ทีด่ ำเนนิ การมีรปู แบบการจัดอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร

ไดแ้ ก่ การฟังบรรยาย ลงมือปฏบิ ตั ิ และการจัดทำแบบฝึกหัด: (รวมจำนวน ๔ คน) ดังนี้

๑. นางสาวปลิ นั ธสุทธ์ิ วงศ์จันทร์ ครูอาสาสมคั รฯ ครู ค. แทนครู กศน.ตำบลป่ายบุ ใน

๒. นางสาวสชุ าดา พานิชย์ ครู กศน.ตำบลชุมแสง ครู ค.

๓. นายวราพล วงศ์จนั ทร์ ครู กศน.ตำบลวงั จันทร์ ครู ค.

๔. นางนลนิ รตั น์ ครุฑนอ้ ย ครู กศน.ตำบลพลงตาเอยี่ ม ครู ค.

จากการพัฒนาศักยภาพของ ครูอาสาสมัคร กศน. ครู กศน.ตำบล ผ่านการอบรม เป็นครูแกนนำ

กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้รบั ความรู้ ความเข้าใจ และฝึกปฏิบตั ิการใชง้ านโปรแกรมสำนักงาน สามารถ

นำไปประยุกต์ใช้ในสำนักงานตนเองและนำไปถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนในพื้นท่ี และขยาย

เครือข่ายเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัลสชู่ ุมชนได้

ครูแกนนำ ครู ค. กศน.อำเภอวังจันทร์ ที่ผ่านการอบรม ทั้ง ๔ คน ได้นำความรู้มาขยายผล และ

จัดกิจกรรมศูนย์ดิจิทัลชุมชนให้กับกลุ่มเปา้ หมายในพื้นท่ีอำเภอวังจันทร์ รวมเป็น ๑๐๐ คน คิดเป็น

ร้อยละ ๑๐๐ ในโครงการเรียนรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) การใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพื่อเพิ่ม

โอกาสในการมีงานทำ หลักสูตร ๑๒ ชั่วโมง (รูปแบบออนไลน์) ระหว่างวันท่ี ๑๗-

๑๘ สงิ หาคม ๒๕๖๔ ณ กศน.อำเภอวงั จันทร์ ตำบลชุมแสง อำเภอวงั จนั ทร์ จังหวัดระยอง

๑. จำนวนประชากรทีผ่ า่ นการอบรม

๑.๑ กศน.ตำบลวงั จนั ทร์ จำนวน ๒๕ คน

๑.๒ กศน.ตำบลพลงตาเอีย่ ม จำนวน ๒๕ คน

๑.๓ กศน.ตำบลชมุ แสง จำนวน ๒๕ คน

๑.๔ กศน.ตำบลป่ายุบใน จำนวน ๒๕ คน

รวมท้งั ส้ิน จำนวน ๑๐๐ คน

๓. ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ ความสำเร็จ

๓.๑ โทรศัพท์ และระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ มีการเตรยี มความก่อนอบรม

๓.๒ วิทยากรที่เป็นครู กศน. มีการวางแผนการขยายผลการเรียนรู้ให้กับประชาชนใน

ระดับตำบล พร้อมทั้งตรวจสอบระบบอินเทอร์เน็ตให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการ

จดั เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ และส่อื การสอนให้พร้อมกอ่ นการจัดการอบรม

๑๓

๔. ปญั หาอปุ สรรค
๔.๑ สัญญาณอินเทอร์เน็ตบางช่วงมีปัญหา เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมีปริมาณมาก

พอสมควร
๔.๒ ขาดการติดตามการขยายผลสู่ชมุ ชน

๕. ข้อนเิ ทศตอ่ ผู้รบั การนิเทศ
๕.๑ กระตุ้นผู้เข้ารับการอบรมให้ความร่วมมือด้วยดี กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีพื้นฐาน

การคา้ ออนไลน์อยบู่ ้าง
๕.๒ ช่วงการอบรม ควรมีคณะช่วยตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องและโปรแกรมที่ใช้

ระหวา่ งการอบรม โดยใหต้ รวจสอบและตดิ ตง้ั กอ่ นการอบรม
๕.๓ ควรมีวิทยากรผู้ช่วยกำกับเพียงพอ ให้บริการในกรณีที่ผู้อบรมตามเนื้อหาวิทยากร

อธบิ ายในการฝกึ ปฏิบตั ิไม่ทัน
๕.๔ ควรจัดทำหลักสูตรให้ครอบคลุมเนือ้ หาท้ังหมด โดยนำหลักสูตรจากสำนักงาน กศน.

มาปรบั ใหเ้ ข้ากับบรบิ ทพนื้ ท่ี
๕.๕ ให้มีช่องทางการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น YouTube Website และแหล่งเรียนรู้

อื่นๆ
๕.๖ ให้มีวิธีการและช่องทางการจัดจำหนา่ ยผ่านส่ือออนไลน์ เช่น กลุ่ม Line Facebook

Website เพ่อื ให้สามารถเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง และเป็นการทบทวนความร้ไู ด้
๖. ขอ้ เสนอแนะและเพอ่ื การพัฒนา
๖.๑ ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
๑) ควรวางแผนจัดกลมุ่ ผเู้ รียน เพอื่ จัดการเรยี นรูต้ ามความรูพ้ ื้นฐานดา้ นเทคโนโลยีท่ี

ใกล้เคียงกันเป็นรายกลุ่มให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถจัดเนื้อหาหลักสูตรในการเรียนรู้ได้เหมาะสมและ
สอดคล้องกบั สภาพท่แี ท้จรงิ ของกลมุ่ เป้าหมาย

๒) ควรกำชับครู กศน. ตำบล ประเมินผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
และติดตามผลการนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจะได้รับรู้ถึงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดข้ึน
ตลอดจนปัญหาอปุ สรรค แลว้ นำข้อมลู มาปรบั ปรุงแก้ไข เพื่อใหก้ ารจัดการเรียนรู้มปี ระสิทธิภาพมาก
ข้นึ

๓) ครู กศน.ตำบล ควรวางแผนการขยายผลให้กับประชาชนในระดับตำบล พร้อม
ทั้งตรวจสอบระบบอินเทอร์เน็ตใหส้ ามารถใช้งานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดเตรียมวสั ดุอุปกรณ์
ดา้ นเทคโนโลยีและสอื่ การสอนใหพ้ ร้อมกอ่ นจดั อบรม

๑๔

๔) การจัดการอบรม ควรต้องแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบถึงคุณสมบัติที่
เหมาะสมเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือ และควรเป็นของตนเอง เพื่อให้การเรียนรู้เป็นไป
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

๕) แนะนำให้ ครู กศน.ตำบล ใช้สื่อวัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัยประกอบการบรรยายให้
ความรู้ จัดให้มีการปฏิบัติจริง จัดตั้งกลุ่มเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งเป็น
ประโยชน์ในการติดตาม ซึ่งควรมกี ารตดิ ตามผลการนำความร้ไู ปใชผ้ ่านระบบออนไลน์

๖) ควรจัดให้มีการนิเทศภายใน ติดตามผลการนำความรู้ไปใช้โดยผ่าน ศูนย์ OOCC
ของแต่ละตำบล ในทกุ สถานศกึ ษา

๗) ควรกำชับให้ ครู กศน.ตำบล บริหารจัดการ ศูนย์ OOCC ให้มีสินค้าเคลื่อนไหว
อยู่ตลอดเวลา

๖.๒ ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จังหวัด
๑) ควรกำหนดนโยบายและทิศทางการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ เพื่อให้

สถานศกึ ษานำไปวางแผนจดั การเรียนรู้ตามลำดับความรู้พืน้ ฐานและพฒั นาความรูต้ อ่ ยอด
๒) ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลที่ประสบความสำเร็จ เพื่อเป็น

แบบอยา่ ง
๓) ติดตามผลการจัดกิจกรรมในระดับอำเภอ สรุปผลการดำเนินงานระดับอำเภอ

และรายงานผลการดำเนินงานให้กบั ผบู้ ริหารทราบอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
๔) ตดิ ตามผลการนำความรู้ไปใช้ในการเสนอขายสนิ คา้ ของชมุ ชนและสง่ เสริมให้เกิด

Best Practice ในแต่ละสถานศึกษา โดยจดั ใหม้ กี ารประกวดผลงาน
๖.๓ ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จงั หวัดระยอง
๑) ควรมีนโยบายและทิศทางการดำเนินงานอย่างตอ่ เนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับการ

พฒั นาความรูด้ ้านเทคโนโลยแี ละสารสนเทศในยคุ ศตวรรษที่ ๒๑ Thailand ๔.๐
๒) ควรจัดสรรงบประมาณในการจัดการเรียนรู้ และงบประมาณเพื่อการซ่อมบำรุง

เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ท่ีให้บริการในศูนย์ดิจิทลั ชมุ ชนอย่างต่อเนื่อง
๓) กำหนดแนวทางการจัดกจิ กรรมให้มีความชัดเจน พรอ้ มทั้งแบบฟอรม์ สำหรับเก็บ

ขอ้ มลู ในการรายงานผลการปฏิบตั งิ าน
๗. ผลการปฏิบัติงานทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice)
-

๑๕

๘. ภาพกิจกรรม
โครงการเรยี นรูด้ ิจิทลั (Digital Literacy) การใช้งานโปรแกรมสำนกั งานเพ่อื เพิ่มโอกาสในการมงี านทำ

หลกั สูตร ๑๒ ชั่วโมง (รูปแบบออนไลน์) ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๗-๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๔
ณ กศน.อำเภอวงั จนั ทร์ ตำบลชุมแสง อำเภอวังจนั ทร์ จงั หวดั ระยอง

๑๖

จากผู้ผ่านการอบรม กศน.อำเภอวังจันทร์ คัดเลือกผู้ประสบความสำเร็จระดับอำเภอ
จำนวน ๑ คน ดังนี้

๑. รปู ภาพ

๒. นางสาวกมลชนก กาจกำแหง
๓. อายุ ๒๕ ปี
๔. อาชีพ ลูกจ้างพนักงาน บริษัท พี.เอส.ฟู้ด แอนด์ เบฟเวอร์เรจ จำกัด
สาขาโลตัส แกลง ระยอง ตำแหนง่ ผชู้ ่วยผจู้ ดั การ
๕. ประโยขน์ท่ีได้รับจากการอบมและส่ิงทีป่ ระสบความสำเรจ็
- การใช้ Facebook ในการโปรโมท และนำเสนอสินคา้
- การรับและส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์(E-mail) ในการติดต่อสื่อสารด้านการตลาด
และสั่งสินค้าจากสำนกั งานใหญ่ และรับการสัง่ งานจากสำนกั งานใหญ่ การติดต่อและสื่อสาร
กบั ลกู คา้ ไดท้ ุกระดับ เข้าถงึ ลูกค้าได้งา่ ย รวดเรว็ และประหยดั เวลา
-การใช้โปรแกรมสำนักงาน เช่น Microsoft Word และ Microsoft Excel ในการ
พิมพง์ านเอกสารท้งั ภายในและภายนอกของบริษัท
-ใชโ้ ปรแกรม Microsoft Power Point ในการนำเสนองาน การสรา้ งหนา้ เพจ การ
ตกแต่งหนา้ เวบ็ ไซต์
-การนำระบบออนไลน์มาปรับใช้ในการเพิ่มยอดซื้อจากลูกค้า ต่อยอด ส่งสินค้า
รวดเร็วด้วยแอพพลิเคช่ันออนไลน์
- การใช้ Facebook ในการโปรโมท และนำเสนอสินค้า จนทำให้ปัจจุบันเพิ่ม
ยอดขายสนิ ค้า ได้เป็นอันดบั หนง่ึ ในภาตะวนั ออก

๑๗

๕. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารจัดการองค์กร ปัจจัยพื้นฐานในการจัด
การศึกษาและประชาสมั พันธ์การสรา้ งการรบั รตู้ อ่ สาธารณะชน

๕.๑ การพัฒนาปรับปรุงซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม (กศน.งามตา
ประชาชื่นใจ) และสภาพแวดลอ้ มโดยรอบของหน่วยงาน สถานศึกษา และแหล่งเรียนรูท้ ุกแหลง่
ใหส้ ะอาดปลอดภยั พรอ้ มให้บริการ

๑. ความเปน็ มา
กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้าน

การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา เป็นยุทธศาสตร์ด้านพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มี
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้มีความพร้อมในการให้บริการ และจัดตั้งศูนย์การ
เรียนรู้สำหรับทุกช่วงวัยที่มีกิจกรรมที่หลากหลากตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ในแต่ละวัย
เพือ่ ใหม้ พี ัฒนาการเรียนรู้ทเี่ หมาะสม และมคี วามสขุ กับการเรยี นรูต้ ามความสนใจ โดยมุ่งส่งเสริมการ
จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้งความต้องการของ
ประชาชนและชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ และตัดสินใจภายใต้
ข้อมูลที่ถูกต้อง โดยมี กศน. ตำบล เป็นกลไกในระดับพื้นที่ ที่ดำเนินการกับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
โดยตรง มีการส่งเสริม สนับสนุนให้มีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมของ กศน. ตำบล ให้มีประสิทธิภาพ
ด้วยการพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ มีการจัด
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ภายใน กศน. ตำบล โดยเสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย รวมทั้งสิ่งสำคัญในโลก
ศตวรรษที่ ๒๑ ทจี่ ำเป็นอยา่ งยิง่ ตอ้ งมีองค์ประกอบของการนำเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเข้ามาบรู ณาการ เป็น
กลไก ในการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในระดับพื้นที่ได้
อยา่ งท่ัวถึง ครอบคลมุ และมีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ ในอนาคต ตามนโยบายสำนกั งาน กศน. ด้วยการ
นำรปู แบบการบรหิ ารจดั การมาประยกุ ต์ใชใ้ นการบริหารจดั การ กศน.ตำบล สรา้ ง กศน.ตำบลตน้ แบบ
มีการพัฒนา กศน.ตำบลให้มีประสิทธิภาพ อันเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ให้เกิดผลเป็นเชิงประจักษ์ และประชาชนในชุมชนเกิดการเรียนรู้
และการศกึ ษาตลอดชีวิต

๒. สภาพที่พบ
๒.๑ กศน.ตำบล เป็นสถานท่ีเอกเทศ สามารถพัฒนาปรับปรุงและซ่อมแซมฟื้นฟูสถานท่ี

และสภาพแวดล้อมได้ แตกต่างกันตามแนวคิด และวิธีการ การจัดบรรยากาศเอื้อต่อการจัด
กระบวนการเรยี นรูใ้ น แตล่ ะ กศน.ตำบล

๑๘

๒.๒ ครู กศน.ตำบล มีการประสานงานกับภาคีเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ เอกชน
สถานประกอบการ หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น รพ.สต. วัด และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพื่อขอรับ
การสนบั สนุนงบประมาณ วัสดุอปุ กรณ์ ในการปรบั ปรงุ และซ่อมแซมฟน้ื ฟูสถานทีแ่ ละสภาพแวดล้อม
และบรรยากาศรอบ ๆ กศน.ตำบล

๓. ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ ความสำเร็จ
๓.๑ นโยบายของสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เกี่ยวกับ การ

พฒั นาปรับปรงุ ซ่อมแซม ฟืน้ ฟอู าคารสถานทแี่ ละสภาพแวดล้อม (กศน.งามตา ประชาช่นื ใจ)
๓.๒ กศน.อำเภอวังจันทร์ ให้ความสำคัญต่อแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้าง

และระบบการบริหารจัดการองค์กร ปัจจัยพื้นฐานในการจัดการศึกษาและประชาสัมพันธ์การสร้าง
การรบั ร้ตู อ่ สาธารณะ มีการพัฒนา ปรบั ปรุงซอ่ มแซม ฟน้ื ฟอู าคารสถานทแ่ี ละสิง่ แวดล้อม

๓.๓ การร่วมรับรู้สภาพปัญหา การร่วมคิด การร่วมกำหนดแนวทางการพัฒนาของผู้
นเิ ทศ และคณะผูร้ ่วมนิเทศ ทำใหม้ มี มุ มองทางความคิดในการพัฒนาทห่ี ลากหลาย เกิดความร่วมมือ
ในการร่วมดำเนนิ การพฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบ

๓.๔ สถานที่ กศน.ตำบลเป็นเอกเทศเหมาะสม พร้อมที่จะพัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม
อาคารสถานที่และส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือให้เอื้อต่อการจดั กจิ กรรมและใหบ้ ริการแก่กลมุ่ เปา้ หมาย

๓.๕ ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุน กศน.ตำบล ในเรื่องงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เป็น
อย่างดี

๔. ปัญหาอปุ สรรค
จากการดำเนนิ งาน พบปญั หาอุปสรรคทสี่ ง่ ผลให้การดำเนินงานไมเ่ ปน็ ไปตามแผนดังนี้
๔.๑ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)

ทำใหค้ รู กศน.ตำบล จงึ ทำให้ กศน.ตำบล ดำเนนิ การปรับปรงุ และพัฒนา กศน.ตำบล ได้รอ้ ยละ ๗๐
๔.๒ ครู กศน.ตำบล มีการย้ายอำเภอ ย้ายข้ามจังหวัด ทำให้เกิดผลกระทบต่อการ

ปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนา ปรับปรุง และซ่อมแซมสถานที่และสภาพแวดล้อม ทำให้ขาดความ
ต่อเนอื่ ง

๕. ข้อนเิ ทศตอ่ ผูร้ ับการนเิ ทศ
๕.๑ สถานศึกษาควรพัฒนา กศน.ตำบล ตามนโยบาย กศน.ตำบลตน้ แบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม
๕.๒ ควรวางแผนจัดกิจกรรมร่วมกับภาคเี ครอื ขา่ ย
๕.๓ ควรพัฒนาตนเองและ กศน.ตำบล อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีความพร้อมในการ

ให้บริการอยา่ งตอ่ เนือ่ งตามช่วงวนั และเวลาที่กำหนด
๕.๔ ควรมีการพัฒนาและจัดบรรยากาศทั้งภายในและภายนอก กศน.ตำบล ให้มีความ

เหมาะสม ทันสมยั และเอ้ือต่อการจดั กระบวนการเรยี นรู้

๑๙

๕.๕ ควรมีการดำเนินการยกระดับคุณภาพ กศน.ตำบล ทุกแห่ง ตามกรอบตัวบ่งชี้และ
เกณฑ์การประเมินตามที่สำนักงานกศน.กำหนด ให้เป็น กศน.ตำบล ๕ ดี พรีเมี่ยม รวมทั้งมีการ
เชอ่ื มโยงเขา้ กับการประเมินผลการปฏิบัตงิ านตามกรอบการประเมนิ กศน.ตำบล

๕.๖ ควรจัดทำสรุปรายงานผลการพัฒนา ปรับปรุงซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานที่และ
สภาพแวดล้อม หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจ เป็นสารสนเทศ(DMIS) และรายงานผู้บริหารทราบเป็น
ปจั จุบัน

๖. ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา
๖.๑ ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศึกษา
๑) ควรมีการนำข้อมูลความต้องการในการพัฒนาพัฒนา ปรับปรุงซ่อมแซม ฟื้นฟู

อาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม ของ กศน.ตำบล มาจดั ทำเป็นฐานข้อมูล เพ่อื จดั ทำแผนการพัฒนา
ฯในแต่ละปีงบประมาณ

๒) ควรมกี ารนเิ ทศ กำกบั ติดตามครู กศน.ตำบล ในด้านการพัฒนา ปรบั ปรุงซ่อมแซม
ฟื้นฟอู าคารสถานที่และสภาพแวดล้อม ของ กศน.ตำบล เพอ่ื จะได้นำมาเป็นข้อมลู ในการแก้ไขปัญหา
เพือ่ พัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื ง

๖.๒ ขอ้ เสนอแนะต่อ กศน.อำเภอวังจันทร์
- ควรมีโครงการพัฒนา ปรับปรุงซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม

ของ กศน.ตำบล อยา่ งต่อเนอื่ ง และตรงตามความตอ้ งการของครู กศน.ตำบล
๖.๓ ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.
สนบั สนนุ งบประมาณในการการพฒั นา กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรเี มย่ี ม

๗. ผลการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice)
-

๘. ภาพกิจกรรม
กศน.ตำบล ไดพ้ ฒั นา ปรบั ปรุงซ่อมแซม ฟื้นฟอู าคารสถานท่แี ละสภาพแวดล้อม

ทำป้ายจดุ check in , ทำปา้ ยประชาสมั พันธ์ งาน กศน. ทำจดุ เรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง
และปรับปรงุ ภมู ทิ ัศน์ภายนอกอาคาร ฯลฯ

๒๐

๖. การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ในสถานการณ์แพร่บาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-๑๙) ของสำนักงาน กศน.

๖.๑ การพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวน วิธีการดำเนินงาน และการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับ
ชวี ติ แบบปกติวิถีใหม่ (New Normal)

๑. ความเปน็ มา
การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ในสถานการณ์แพร่บาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (Covid
๑๙) ของสำนักงาน กศน. ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ส่วนของ
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญที่
ให้ความสำคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชนประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น มาร่วม
ขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของ ประชาชนในการร่วมคิดร่วมท่าเพื่อส่วนรวม
การกระจายอ่านาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การ
เสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุ ชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย
ทั้งในมิติสุขภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง
และท่าประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการ
และสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (๑) ความแตกต่างของ
รายได้และการเข้าถึงบริการภาครัฐระหว่างกลุ่มประชากร (๒) ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน
(๓) ความก้าวหน้าในการพัฒนาจังหวัดในการเป็นศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และ
เทคโนโลยี และ (๔) คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง
โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประกอบดว้ ย ๔ ประเด็น ได้แก่
๑. การลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ โดย (๑) ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
(๒) ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค (๓) กระจายการถอื ครองทีด่ ินและการเขา้ ถึงทรัพยากร
(๔) เพิม่ ผลิตภาพและคมุ้ ครองแรงงานไทยใหเ้ ป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพและความริเร่ิมสรา้ งสรรค์ มี
ความปลอดภัยในการท่างาน (๕) สร้างหลกั ประกันทางสังคมท่ีครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วง
วัย ทุกเพศภาวะและทุกกลุ่ม (๖) ลงทุนทางสังคมแบบมุ่งเป้าเพื่อช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลุ่ม
ผู้ด้อยโอกาสโดยตรง (๗) สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขและการศึกษา
โดยเฉพาะส่าหรับผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และ (๘) สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึง
กระบวนการยุติธรรมอย่างทั่วถึง๒. การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและ
เทคโนโลยีโดย (๑) พัฒนาศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในภูมิภาค
(๒) กำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของแต่ละกลุม่ จังหวัดในมิติต่าง ๆ(๓) จัดระบบเมืองทีเ่ อ้อื
ตอ่ การสรา้ งชวี ติ และสงั คมท่มี ีคุณภาพและปลอดภยั ใหส้ ามารถตอบสนองต่อสังคมสูงวยั และแนวโน้ม
ของการขยายตัวของเมืองในอนาคต (๔) ปรับโครงสร้างและแก้ไขกฎหมายระเบียบบริหาร

๒๑

ราชการแผ่นดิน เพื่อวางระบบและกลไกการบริหารงานในระดับภาค กลุ่มจังหวัด (๕) สนับสนุนการ
พัฒนาพื้นที่บนฐานข้อมูลความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม และ (๖) การพัฒนากำลังแรงงานในพ้นื ท่ี
๓. การเสริมสร้างพลังทางสังคม โดย (๑) สร้างสังคมเข้มแข็งที่แบ่งปันไม่ทอดทิ้งกัน และมีคุณธรรม
โดยสนบั สนนุ การรวมตวั และดึงพลังของภาคสว่ นตา่ ง ๆ(๒) การรองรบั สงั คมสูงวยั อย่างมีคุณภาพ (๓)
สนับสนุนความร่วมมือระหวา่ งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน
(๔) ส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรีในการสร้างสรรค์สังคม (๕) สนับสนุนการ
พฒั นาบนฐานทุนทางสงั คมและวัฒนธรรม และ (๖) สนับสนุนการพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อ
สรา้ งสรรค์ เพอ่ื รองรับสงั คมยุคดจิ ทิ ัล๔. การเพมิ่ ขดี ความสามารถของชมุ ชนท้องถ่ินในการพฒั นา การ
พึ่งตนเองและการจัดการตนเอง โดย (๑) ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือนให้มีขีด
ความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ(๒) เสริมสร้าง
ศักยภาพของชุมชนในการพึง่ ตนเองและการพึ่งพากันเอง (๓) สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ
เพ่ือสร้างประชาธิปไตยชมุ ชน และ (๔) สร้างภมู คิ ุ้มกันทางปัญญาให้กับชมุ ชน

จุดเนน้ การดำเนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) เมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการ
เรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศและมี
มาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสดังกล่าว อาทิ กำหนดให้มีการเว้น
ระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใชอ้ าคารสถานทีข่ องโรงเรยี นและสถาบันการศึกษา
ทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็น
จำนวนมากการปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกำหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ
ใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์
วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึงการสื่อสารแบบทางไกลหรือด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ในส่วนของ
สำนักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดำเนินงานในภารกิจต่อเนื่อง
ต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจำวัน และการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับการชีวิตแบบปกติวิถี
ใหม่(New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสำคัญกับการดำเนินงานตามมาตรการ
การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) อาทิ การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ทุกประเภทหากมีความจำเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมี
มาตรการป้องกันที่เขม้ งวด มีเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ผู้รับบริการตอ้ งใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากาก
ผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลเน้นการใช้สื่อดิจิทัลและเทคโนโลยีออนไลน์ในการจัดการ
เรียนการสอน

๒๒

๒. สภาพที่พบ
๑. อปุ กรณต์ า่ งๆ สมนุ ไพร ฯลฯ รวมถงึ เมล็ดพันธ์ุ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม มีราคาสูงเน่ืองสถานการณ์

ท่ที กุ คนมีความต้องการสูง
๓. ปัจจยั ที่ส่งผลต่อความสำเรจ็
๓.๑ บุคลากรมีการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

(COVID - ๑๙) เป็นอย่างดี และทำงานร่วมกับสาธารณะสุข ในพื้นที่ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้
และประสบการณ์ใหป้ ระชาชนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

๓.๒ ประชาชน ประมาณร้อยละ ๘๐ สามารถปฎิบัติตนมาตรการการป้องกันการแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) และสามรถนำความรู้ท่ีไดร้ ับไปประยุกต์ใช้กับคน
ในครอบครวั

๓.๓ การบูรณาการการทำงานร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น สาธารณะสุขอำเภอ
โรงพยาบาล รพ.สต. อสม. จัดกจิ กรรมเพื่อได้รับความรูท้ ี่ถกู ต้อง จนสามารถนำความรู้ไปใช้ เป็นต้น

๔. ปัญหาอุปสรรค
๔.๑ การจดั กจิ กรรมไมส่ ามารถรวมกลมุ่ คนได้
๔.๒ ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายไม่มีความรู้ในช่องทางในการตดิ ต่อท่ีลำ้ เทคโนโลยี

๕. ข้อนเิ ทศตอ่ ผรู้ บั การนิเทศ
๕.๑ สถานศึกษาควรมีการจัดทำแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษาด้านการดำเนินงานของ

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) เพื่อจัดทำแผนและ
ดำเนนิ การจัดโครงการให้เหมาะสมในระดบั ตำบลต่อไป

๕.๒ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) ควรมี
การวางแผนเชอ่ื มโยงงานส่พู ืน้ ที่ ท่สี แี ดง และพืน้ ท่ี ท่คี วรเฝา้ ระวัง ในการให้ความรู้ กานนำสิง่ ของเพื่อ
เอื้อกบั ผทู้ ่ีกกั ตวั และกลมุ่ เสี่ยง

๕.๓ ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทำให้
การจัดกิจกรรมต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพ เน้นการเรียนรู้แบบออนไลน์ รูปแบบนิเทศก็
นเิ ทศแบบออนไลน์ ใช้ระบบเทคโนโลยี และการประชมุ ทางไกลเพือ่ ตดิ ตาม เป็นต้น

๖. ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
๖.๑ ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศกึ ษา
๑) ครู กศน.ตำบล ควรประเมินผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และ

ติดตามผลการนำความรู้ไปใช้ของกลมุ่ เป้าหมาย เม่ือผา่ นการอบรมแลว้ ๑ เดอื น จะไดผ้ ลเชงิ ประจักษ์
รวมถงึ ปญั หาอปุ สรรค เพอ่ื นำขอ้ มลู จากการติดตามมาปรบั ปรุงแกไ้ ข ให้การจดั กจิ กรรมเปน็ ไปอย่างมี
ประสิทธิภาพมากข้นึ ตอ่ ไป

๒๓

๒) ควรหาความรู้เพิ่มเติมแบบใหม่ๆ เพื่อให้รู้เท่าทัน กับเหตุการณ์ปัจจุบัน เพ่ือ
แนะนำข้อมลู ใหก้ บั ผู้ท่เี ขา้ มาอบรมและแลกเปลยี่ นกบั ประชาชนในชุมชนได้

๓) สถานศกึ ษาควรจัดอบรมเนน้ กระบวนการมสี ว่ นร่วม
๗. ผลการปฏิบัตงิ านทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice)

-
๘. ภาพกิจกรรม

ศกึ ษาดงู านตามฐานการเรยี นรู้ อบรมแลกเปลยี่ นเรียนรู้

ฝกึ ปฏิบัติ คดั เลอื กเมลด็ พนั ธุ์

แจกวสั ดุฝึก แจกวสั ดฝุ ึก

ฝึกปฏบิ ตั ิ ฝึกปฏิบตั ิ

๒๔

ประเด็นรายงานการสรุปผลการนิเทศ (ภารกจิ ต่อเน่อื ง)
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ด้านที่ ๑ Good Teacher
๗. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
๑. ความเป็นมา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์ได้กำหนดยุทธศาสตร์

เพื่อสนับสนุนขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ด้วยการกำหนดให้ กศน.ตำบล เป็นหน่วยจัดกิจกรรม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และการ
เรยี นรตู้ ลอดชวี ิตให้แก่ประชาชน โดยมี ครู กศน.ตำบล เปน็ ผู้ประสานงาน และจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
กับชุมชน ภายใตก้ ารกำกบั ดแู ลของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยระดบั อำเภอ
วงั จนั ทร์ การดำเนินการส่งเสริมให้เกิดสังคมแห่งการเรยี นรู้ และการเรียนร้ตู ลอดชีวติ ให้แก่ประชาชน
นั้น ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์
ได้ให้ความสำคัญต่อการการพัฒนาครูและบุคลากรทาง การศึกษาให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
โดยกำหนดพันธกิจ ข้อ ๖ ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ
สมรรถนะ คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมที่ดี เพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพของการให้บริการทางการศึกษาและการ
เรยี นรูท้ ี่มคี ณุ ภาพมากยิ่งขึ้นและระบุเปา้ ประสงค์ใน ข้อ ๘ บุคลากร กศน. ทกุ ประเภททุกระดับได้รับ
การพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงานและการให้บริการทางการศึกษานอก ระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยรวมถึงการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งการ
พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นนโยบายหนึ่งที่สำคัญ ที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์ ต้องตระหนัก แล้วจึงทำการวิเคราะห์นโยบายและบทบาท
หนา้ ที่ ท่ีจะตอ้ งพิจารณาคดั เลือกเรอ่ื งท่ีจะพัฒนาก่อน-หลงั ของแตล่ ะโครงการและกิจกรรม ตลอดจน
ระยะเวลาที่ดำเนินการ จากความสำคัญ และนโยบายจุดเน้นในการดำเนินงานปีงบประมาณ ๒๕๖๔
ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอวงั จนั ทร์ ไดด้ ำเนินการนเิ ทศ มีผลการ
นเิ ทศสรปุ ได้ดังนี้

๒. สภาพท่พี บ
ประเด็นการนิเทศของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวัง

จันทร์ เพื่อพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา นอกเหนือจากการพัฒนาครูแล้ว ได้ดำเนินการดงั นี้
๑. กรอบแผนงาน / โครงการตามนโยบายจดุ เน้น ปี ๒๕๖๔ สำนกั งาน กศน.
๒. การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
๒.๑ การสง่ เสรมิ การสง่ เสริมการรหู้ นังสือ

๒๕

๒.๒ แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์คะแนนสอบ N-net แลปลายภาคเรียน
๒.๓ แนวทางการเพิม่ จำนวนผ้เู รยี นการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
๒.๔ การตรวจสอบรอ่ งรอยตาม SAR
๓. การศึกษาต่อเนื่อง
๓.๑ ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
๓.๒ สง่ เสริมสนบั สนนุ การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ
๓.๓ สง่ เสรมิ สนับสนุนการศึกษาเพือ่ เรียนรู้หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
๓.๔ สง่ เสริมสนบั สนุนการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน
๔. การศกึ ษาตามอัธยาศยั
๔.๑ แนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
๔.๒ แนวทางการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน
๔.๓ แนวทางการจัดกิจกรรม “บ้านหนงั สอื ชุมชน”
๔.๔ การตรวจสอบร่องรอยตาม SAR
จากการนิเทศพบว่า ครูและบุคลากรของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอวังจันทร์ ศึกษานโยบายจุดเน้น ปี ๒๕๖๔ ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์ แต่มีบางส่วนไม่ชัดเจน โดยเฉพาะการศึกษาออนไลน์ที่เป็น
รูปแบบใหม่ที่จำเป็นต้องจัดทำในสถานการณ์ COVID-๑๙ จึงเสนอข้อมูลให้บุคลากรของสถานศึกษา
ร่วมกันอภิปราย เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน จากนั้นแบ่งกลุ่มผู้รับผิดชอบกำหนด
แนวทางในการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐาน การจัดการศึกษาต่อเนื่อง และการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
กอ่ นทจ่ี ะนำเสนอข้อมูลแนวทางในภาพรวมของสถานศกึ ษา สรุปดังน้ี
๑. บุคลากรของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์ มีการ
ดำเนินงานตามแผนงาน โครงการที่กำหนด ซึ่งกิจกรรมที่จัดดำเนนิ การ มีความสอดคล้องและเป็นไป
ตามความต้องการของชุมชน และกลุ่มเป้าหมาย แต่ไม่สามารถจัดได้เป้าหมาย เพราะตามระบบ
DMIS มีการกำหนดให้ระบุประเภทของกิจกรรมตามแผนกิจกรรมและแผนงบประมาณที่ศูนย์
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั จนั ทร์ กำหนด จึงมผี ลใหก้ ารวางแผนในการ
ดำเนินงานเชงิ พ้ืนท่ีต้องปรบั ไปตามแผนท่ีศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ
วงั จนั ทร์ กำหนด
๒. การดำเนนิ งานของแต่ละโครงการ ยงั มีการจดั ทำรายงานไม่ครบทุกโครงการ
๓. รายงานที่มีการจัดทำ ไม่เป็นระบบ ทำให้การสืบค้นข้อมูลเพื่อการรายงานสรุปผลใน
ภาพรวมทำได้ไมส่ มบูรณ์เท่าท่ีควร

๒๖

๔. การดำเนินงานทั้งการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดการศึกษาต่อเนื่อง และการจัด
การศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งบางส่วนขาดการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงาน เพื่อสร้างสังคมแห่งการ
เรียนรู้ และการพัฒนาการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้เพราะครู กศน. ตำบล ขาดการวางแผนที่ดี
และจดั ทำแผนพฒั นาตนเองอย่างเปน็ ระบบ นอกจากนขี้ าดทักษะในการผลิตส่ือและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อการจัดการเรียนรู้ให้ทันการสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วนใหญ่มีเพียงการดำเนินงานโดย
การใช้อนิ เตอรเ์ น็ตเพ่ือการแสวงหาความรเู้ ทา่ นน้ั

๕. การดำเนินการจัดกจิ กรรมการศึกษาของครู กศน. ตำบล มกี ารประสานงานรว่ มกับบุคคล
หน่วยงานในพืน้ ที่ใหเ้ ข้ามามีส่วนร่วม และสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาของ กศน. ตำบลมากข้ึน

๖. สถานศึกษามีการใช้กระบวนการ PLC น้อย ในการขับเคลื่อนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ของ ครู กศน. ตำบล อยา่ งเป็นระบบ

๗. ครู กศน. ตำบล ได้รับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ หลายเรื่อง ได้แก่ การ
นำเทคโนโลยีไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์ชาติไทย STEM Education หลักสูตร
การเรยี นรดู้ จิ ิทัล (Digital Literacy) การใช้งานโปรแกรมสำนกั งานเพ่อื เพิ่มโอกาสในการมีงานทำ การ
เขียนผังการออกข้อสอบและการสร้างข้อสอบการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ การจัดทำ
ฐานข้อมูลระบบออนไลน์ Google Drive การเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศด้วยระบบออนไลน์ด้วย
Google Site การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยระบบออนไลน์โดยใช้ E – Book และการจัดการเรียน
การสอน Online ฯลฯ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์ ได้กำหนดแนวทางการ
พัฒนาดงั นี้

๑. สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วยกระบวน
การ PLC ในการแลกเปล่ยี นเรยี นร้ใู หม้ ากข้ึน

๒. สนับสนุนให้สถานศึกษากำหนดและวางระบบการดำเนินงานให้สนองตอบต่อเป้าหมาย
การพัฒนาองค์การ และบุคลากรของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวัง
จันทร์ทีก่ ำหนด

๓. พัฒนาการจัดทำฐานข้อมูลเชิงระบบออนไลน์โดยใช้ Google Drive เพื่อให้ครูและ
บุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีการจัดเก็บข้อมูล สารสนเทศของตนเอง รวมทั้ง เพื่อการเผยแพร่สู่
บุคคลอืน่ เพือ่ ใหเ้ กิดการใชข้ อ้ มูลร่วมกัน

๔. พัฒนาการเผยแพรข่ ้อมูลสารสนเทศสู่สาธารณะ ดว้ ยระบบออนไลน์ Google Site เพ่อื ให้
ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนเผยแพร่การดำเนินงาน และผลการดำเนินงานของตนเอง
สู่สาธารณชน รวมทั้ง เพือ่ ใหเ้ กิดการใชข้ ้อมูลรว่ มกนั

๒๗

๕. พัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยระบบออนไลน์โดยใช้ E – Book ทั้งเนื้อหาความรู้การศึกษา
พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อมุ่ง
พฒั นาสกู่ ารศึกษาตลอดชวี ิต ซ่ึงการศกึ ษาตามอัธยาศัยเป็นรูปแบบหน่ึงทส่ี ามารถจัดและส่งเสริมการ
เรียนรใู้ ห้กบั ประชาชนไดห้ ลากหลายเนือ้ หาและรปู แบบ ทำใหก้ ารจดั การศึกษาเปน็ ไปอย่างท่ัวถึงและ
สอดคล้องกับการจดั การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑

กจิ กรรมทไี่ ด้ดำเนินการมดี งั นี้
๑. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดทำฐานข้อมูลระบบออนไลน์ โดยใช้ Google
Drive ได้ทุกคน
๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดทำ Google Site เพื่อการเผยแพร่การ
ดำเนินงาน และผลการดำเนนิ งานของตนเองสู่สาธารณชนได้ทกุ คน
๓. บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุดประชาชน เป็นแกนนำในการจัดทำ E – Book ทั้ง
เนื้อหาความรูก้ ารศึกษาพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อพัฒนาการศึกษา
เรียนรสู้ กู่ ารศึกษาตลอดชีวิต ผา่ นสังคมแหง่ การเรยี นรไู้ ด้ โดย
๔. ครู กศน.ตำบล ได้เตรียมการและจัดการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษา
ต่อเนื่องรูปแบบออนไลน์ครบทุกตำบล รวมทั้งจัดการศึกษาตามอัธยาศัยด้วย Google Classroom
และรูปแบบอน่ื ๆ ขน้ึ อยูก่ บั ความถนัดและความพรอ้ มของแต่ละตำบล
นอกจากประเดน็ ตา่ ง ๆ ท่ีกลา่ วมาแล้ว ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอวังจันทร์ ได้เข้ารว่ มประชุมเพอ่ื พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทผ่ี า่ นมาดงั นี้
๑. โครงการออบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการการพัฒนาบุคลากรผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(E – Book) เพ่ือการศึกษา ระหวา่ งวันที่ ๑ – ๓ มนี าคม ๒๕๖๔ ณ โรงแรมสตาร์ คอนเวนชัน่ จงั หวัด
ระยอง

๒. โครงการออบรมแบบออนไลน์ หลักสูตรการจัดกิจกรรม กศน.ป้องกันภาวะซึมเศร้าคง
สมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๔ – ๓๐ สิงหาคม
๒๕๖๔ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ โดย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหดิ ล

๒๘

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (มสพช.) และสมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมแบบ
Online ผ่านระบบประชมุ ออนไลน์ Zoom

๓. โครงการอบรมจิตอาสา สำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ประจำปี ๒๕๖๔ โดยอบรมผ่าน
ระบบ Hangout Meet เพื่อให้ ข้าราชการครู และบุคลากรในสังกัด มีความรู้ความเข้าใจและมีจิต
สาธารณะที่พร้อมเป็นอาสาสมัครในการทำคุณประโยชน์ต่อส่วนรวม ภายใต้มาตรการการป้องกัน
และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โดยคณะวิทยากรหลักสูตรจิตอาสา ๙๐๔ เป็นวิทยากร
ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๔ – ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ณ กศน.อำเภอวังจนั ทร์ จงั หวัดระยอง

๓. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาบุคลากรสร้างแอปพลิเคชันจัดเก็บข้อมูล
การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ระหว่างวันที่ ๒๑ - ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๔ ณ
โรงแรมสตาร์ คอนเวนชน่ั จงั หวดั ระยอง

๔. โครงการอบรม การพัฒนาหลกั สตู ร โดยสถาบนั กศน.ภาคตะวันออก วนั ที่ ๑๙ กรกฎาคม
๒๕๖๔ รูปแบบออนไลน์ ณ กศน.อำเภอวังจันทร์ จงั หวดั ระยอง

๒๙

๕. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสตู รรายวชิ าเลือกและหลักสตู รการศึกษาต่อเน่ือง
เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โดยสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ระหว่างวันที่ ๒ - ๓
สิงหาคม ๒๕๖๔ รปู แบบออนไลน์ ณ กศน.อำเภอวงั จันทร์ จังหวดั ระยอง

๖. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ การอบรม PLC (PLC ของครู กศน.) โดยสถาบัน กศน.ภาค
ตะวนั ออก ระหวา่ งวนั ที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๔ - ๖ สงิ หาคม ๒๕๖๔ รูปแบบออนไลน์ ณ กศน.อำเภอ
วังจันทร์ จงั หวัดระยอง

๗. โครงการอบรม กิจกรรม กศน.ห่วงใยต้านภัยโควิด-๑๙ อบรมการทำเจลแอลกอฮอล์
โครงการวิทยาศาสตร์เคลื่อนที่สู่ชุมชนและโรงเรียน โดยศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสระแก้ว
วนั ท่ี ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ รูปแบบออนไลน์ ณ กศน.อำเภอวงั จันทร์ จงั หวดั ระยอง

๓๐

๓. ข้อนเิ ทศตอ่ ผรู้ บั การนเิ ทศ
๓.๑ บุคลากรของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์

มีการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการที่กำหนด สำหรับกิจกรรมท่ีดำเนินการ มีความสอดคลอ้ งและ
เปน็ ไปตามความตอ้ งการของชมุ ชนและกลุ่มเป้าหมาย แตย่ ังจัดไม่ครบทุกโครงการ

๓.๒ มีการจัดทำรายงาน แต่มีการจัดเก็บรายงานยังไม่เป็นระบบ ทำให้มีผลกระทบ
ต่อการสบื ค้นข้อมลู เพ่อื การรายงานสรุปผลในภาพรวม ทำให้ระบบสารสนเทศยงั ไม่สมบูรณ์

๓.๓ การดำเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม
อัธยาศัย ขาดการพัฒนาคุณภาพในการดำเนินงานบางส่วน เพราะครูและบุคลากรทางการศึกษา
มที กั ษะในการผลติ ส่อื และการใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ใหท้ นั กบั การเปลย่ี นแปลงน้อย มีเพยี ง
การดำเนินงานโดยการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการแสวงหาความรู้เท่านั้น ส่งผลการสร้างสังคมแห่งการ
เรียนรู้ ที่ขาดการเชือ่ มโยงการนำความร้ไู ปสสู่ าธารณะ

๓.๔ ครูและบุคลากรทางการศึกษาบางส่วนขาดความชัดเจนเกี่ยวกับแนวทาง
ทิศทางการดำเนินการจัดกิจกรรมของ กศน.อำเภอวังจันทร์ ภาพรวมให้มีประสิทธิผลตามเป้าหมาย
ทกี่ ำหนด

๓.๕ ใหม้ ีการรายงานผลการจัดและประชาสัมพันธ์เผยแพร่

๔. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเรจ็
๔.๑ วิสยั ทัศนข์ องผ้บู รหิ ารที่ตอ้ งการใหม้ กี ารพฒั นาบุคลากรอยา่ งต่อเนื่อง
๔.๒ บุคลากรของ กศน.อำเภอวงั จนั ทร์ ทำงานกนั เป็นทีม และให้ความรว่ มมือเปน็ อย่าง

ดี
๔.๓ การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรเป็นคนใฝ่ร้แู ละพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง
๔.๔ ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดทำฐานข้อมูลระบบออนไลน์ โดยใช้

Google Classroom และ ได้ทกุ คน
๔.๕ ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดทำ Google Site เพื่อการเผยแพร่การ

ดำเนนิ งาน และผลการดำเนนิ งานของตนเองส่สู าธารณชนไดท้ ุกคน
๔.๖ บรรณารกั ษแ์ ละเจ้าหน้าท่ีห้องสมุดประชาชนทุกแห่ง เปน็ แกนนำจัดทำ E – Book

ทั้งสาระความรูก้ ารศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาตอ่ เนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อพัฒนาการ
เรยี นรูต้ ลอดชีวิต ผา่ นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ได้ โดยมกี ารดำเนนิ งานการจดั ทำเปน็ E – Book เป็น pdf
และ Word

๓๑

๕. ปญั หาอปุ สรรค
๕.๑ เนื่องด้วยสถานการ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด ๑๙ กำหนดให้เว้น

ระยะห่างทางสังคม การห้ามใช้อาคารเพื่อฝึก หรืออบรม หรือการทำกิจกรรใด ๆ จึงจำให้ครูและ
บุคลากรมีการอบรมในรูปแบบออนไลน์ ด้วยสัญญาณเครือข่าย ระบบมีปัญหา ทำให้การอบรมขาด
ช่วงไม่ตอ่ เน่ือง

๕.๒ ขาดการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ประชุมปฏิบัติการ ไปใช้ใน
การปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ และตอ่ เน่อื ง

๖. ข้อเสนอแนะเพอื่ การพฒั นา
๖.๑. ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา
๑) ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุกคนพัฒนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ

และติดตามการใช้
๒) ส่งเสริมและสนบั สนุนครูให้จัดทำวิจยั อย่างง่ายเพ่ือแก้ปัญหาดา้ นการจัดกิจกรรม

การเรียนการสอน
๖.๒ ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จงั หวดั
๑) จดั อบรมวจิ ัยในชน้ั เรยี น
๒) จดั อบรมพัฒนาบคุ ลากรด้านการใช้เทคโนโลยีท่ีใหมๆ่
๓) จัดอบรมด้านศึกษาดงู านตา่ งประเทศ
๖.๓ ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.
จัดอบรมคณะผู้นิเทศภายในสถานศึกษาระดับภาค

๗. Best Practice
-

๘. ภาพกิจกรรม

กจิ กรรม กศน.ห่วงใยตา้ นภยั โควิด-๑๙ อบรมการทำเจลแอลกอฮอล์

๓๒

ด้านที่ ๒ Good Place – Best Check In
๘. เรง่ ยกระดับ กศน.ตำบล เปน็ กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรเี มย่ี ม
๑. ความเป็นมา
กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้าน

การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา เป็นยุทธศาสตร์ด้านพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มี
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้มีความพร้อมในการให้บริการ และจัดตั้งศูนย์การ
เรียนรู้สำหรับทุกช่วงวัยที่มีกิจกรรมที่หลากหลากตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ในแต่ละวัย
เพอื่ ให้มพี ฒั นาการเรยี นรู้ท่เี หมาะสม และมีความสขุ กบั การเรียนร้ตู ามความสนใจ โดยมุ่งส่งเสริมการ
จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้งความต้องการของ
ประชาชนและชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ และตัดสินใจภายใต้
ข้อมูลที่ถูกต้อง โดยมี กศน. ตำบล เป็นกลไกในระดับพื้นที่ ที่ดำเนินการกับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
โดยตรง มีการส่งเสริม สนับสนุนให้มีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมของ กศน. ตำบล ให้มีประสิทธิภาพ
ด้วยการพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ มีการจัด
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ภายใน กศน. ตำบล โดยเสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย รวมทั้งสิ่งสำคัญในโลก
ศตวรรษท่ี ๒๑ ท่จี ำเป็นอยา่ งย่งิ ต้องมีองค์ประกอบของการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาบูรณาการ เป็น
กลไก ในการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามรถของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในระดับพื้นที่ได้
อย่างทั่วถึง ครอบคลุม และมีประสิทธิภาพมากขึน้ ในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อต้องการสร้าง
กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เพิ่มขึ้นเป็นอำเภอละ ๒
แห่ง ตามนโยบายสำนักงาน กศน. ด้วยการนำรูปแบบการบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ในการบริหาร
จดั การ กศน.ตำบลให้เกดิ ผลเป็นเชงิ ประจักษ์ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนในชมุ ชนเกิดการเรียนรูแ้ ละการศึกษา
ตลอดชีวติ สำหรับปงี บประมาณ ๒๕๖๔ สำนักงาน กศน.จงั หวัดระยอง มนี โยบายให้ กศน.อำเภอวัง
จันทร์ ส่งกิจกรรมประกวด กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ โดยมี
วตั ถุประสงค์ดงั น้ี

๑. เพื่อสร้าง กศน.ตำบลต้นแบบ มีการพัฒนา กศน.ตำบลให้มีประสิทธิภาพ
อันเปน็ ประโยชนต์ อ่ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในชุมชน

๒. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง กศน.ตำบล ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของ
ชมุ ชนทมี่ ีประสิทธิภาพ

๓. เพื่อพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้
การจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการจัดกิจกรรม
การศึกษาและการเรียนรู้ภายใน กศน.ตำบล การเสริมสร้างและให้ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย

๓๓

และการนำเทคโนโลยดี จิ ิทลั เข้ามาบรู ณาการ ปรับประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นการพัฒนาและขยาย
บทบาทการดำเนนิ งานของ กศน.ตำบล

กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้ดำเนินการประเมินคัดเลือก กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จำนวน ๒ แหง่ คือ กศน.ตำบลวังจนั ทร์ และ กศน.ตำบลชมุ แสง โดยให้
เหลือ ๑ แห่ง คอื กศน.ตำบลวงั จันทร์ ดว้ ยการหลกั การพัฒนา ๕ ดา้ น ดังนี้

ดา้ นท่ี ๑ ครูมสี มรรถนะในการจัดการเรียนการสอน ทีมคี ุณภาพในระดบั ต่าง ๆ
(Good Teacher : ๓๕ คะแนน)

ด้านท่ี ๒ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ของ กศน.ตำบล ดึงดูดความสนใจและเอื้อต่อ
การเรียนรู้ (Good Place Best-Check in : ๑๕ คะแนน)

ด้านที่ ๓ ครูมีสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพในระดับต่างๆ
(GoodActivities : ๒๐ คะแนน)

ด้านที่ ๔ ภาคีเครือข่ายร่วมจัด สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่างมี
คุณภาพ (Good: Partnership : ๑๐ คะแนน)

ด้านที่ ๕ มีนวตั กรรมท่เี ป็นประโยชน์และสามารถนำไปใช้ได้จรงิ (Good Innovation :
๒๐ คะแนน)

๒. สภาพที่พบ
๒.๑ กศน.ตำบล บางแหง่ มสี ถานที่เปน็ เอกเทศ บางแห่งยังไม่เป็นเอกเทศ จงึ สง่ ผลให้การ

จัดบรรยากาศเออื้ ตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ใน กศน.ตำบลแตกตา่ งกนั
๒.๒ ครู กศน.ตำบล มีการประสานงานกับภาคีเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ เอกชน

สถานประกอบการ หน่วยงานปกครองส่วนท้องถ่ิน รพ.สต. วัด และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในการจัด
กิจกรรม และขอรับการสนับสนนุ งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และสถานท่จี ากภาคีเครอื ขา่ ย

๒.๓ การจัดกิจกรรมของ กศน.ตำบล ส่วนใหญ่จัดกิจกรรมตามการจัดสรรงบประมาณ
ของสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง จึงส่งผลให้การจัดกิจกรรมไม่ทั่วถึง และไม่ครอบคลุม
กล่มุ เป้าหมาย แตม่ ีขอ้ ดคี อื การจัดกิจกรรมมคี วามหลากหลาย

๒.๔ ครู กศน.ตำบล เข้ารับการอบรมเพื่อการพัฒนาความรู้ตามที่สถานศึกษา และ
สำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง กำหนด แต่ทั้งนี้ในส่วนของการวางแผนเพื่อการพัฒนาตนเองของ ครู
กศน.ตำบล พบวา่ ครู กศน.ตำบล มกี ารวางแผนเพอ่ื การพฒั นาตนเองน้อยและไม่ต่อเน่อื ง

๒.๕ จากการดำเนินงานนิเทศด้วยกระบวนการ PLC มีผลให้ครู กศน. ตำบล มีโอกาส
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และกำหนดแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานการจัดการศึกษาให้มี
ประสทิ ธิภาพและเหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา

๓๔

๒.๖ ครู กศน.ตำบล มีสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพในระดับต่าง ๆ
(Good Teacher) ครู กศน.ตำบล มขี อ้ มลู เก่ยี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู เพื่อการบรหิ ารจัดการ (DMIS) มีการ
วิเคราะห์ข้อมูลในการจัดทำแผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
รวมทั้งนโยบาย จุดเน้นการดำเนินงานของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง มีการ
จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายสปั ดาห์ แผนการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ มีบนั ทึกการเรียนรู้ มีระบบ
การช่วยเหลือผู้เรียน ส่งผลให้มีผู้เข้าสอบปลายภาคไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของผู้จบหลักสูตร
การศึกษาพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ในวิชาบังคับไม่ต่ำกว่า ๒.๐๐ เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑๐๐ ผู้จบหลักสูตร
การศึกษาต่อเนื่องที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ผู้ร่วม
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของบ้านหนังสือชุมชน กศน.ตำบล รวมทั้งกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
เคลื่อนที่ และอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมาย เนื่องจาก
ได้รับการสนับสนุนจากภาคีเครือข่าย ครูมีการดำเนินงานตามนโยบายเร่งด่วนหรืองานอื่นๆ ที่ได้รับ
มอบหมายครบถว้ น และมกี ารจดั ผลการปฏบิ ัตงิ านท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) สามารถเป็นแบบอย่าง
ได้ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีการปฏิบัตติ นเปน็ แบบอย่างที่ดี การปฏิบัติตนตามระเบียบวินัยของข้าราชการ
ครู ครูมีจรรยาบรรณวิชาชีพ และการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสมตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ครูมีทักษะ เทคนิค การจัดการเรียนการสอนที่ครอบคลุม และเข้าถึงความต้องการของผู้เรียน
อย่างเป็นระบบและชัดเจน มีการจัดทำแผนจัดการเรียนรู้ มีสื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจ มีการพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่อง และมเี ทคนคิ ในการประชาสมั พนั ธ์

๒.๗ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ของ กศน.ตำบล ดึงดูดความสนใจและเอื้อต่อการเรียนรู้
(Good Place - Best Check In) สถานทต่ี ้ัง กศน.ตำบล มีความมน่ั คง เป็นสดั สว่ น และปลอดภัย มกี าร
จัดสภาพแวดล้อม โดยยึดหลัก ๕ ส (สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ และสร้างนิสัย) และสะดุด
ตา มีเทคโนโลยีให้บริการการเรียนรู้ และเป็นจุดเช็คอิน (Check in) สำหรับผู้ใช้บริการ มีสิ่งอำนวย
ความสะดวกทเี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ มีเอกลักษณ/์ อัตลกั ษณ์ของตนเองตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี

๒.๘ กิจกรรมการเรียนรู้ มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพในการให้บริการ (Good
Activities) การจัดกิจกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย มี
การใช้เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระบบออนไลน์ได้โดดเด่นเหน็ ผลเชงิ ประจักษ์ มีการ
นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องครอบคลุม
กบั สภาพปญั หาความตอ้ งการของกล่มุ เปา้ หมายและชุมชน

๒.๙ ภาคีเครือข่ายส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ (Good
Partnerships) ภาคีเครือข่ายในระดบั พ้ืนท่ี เช่น องค์การบริหารสว่ นตำบล โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขต
พ้ืนทก่ี ารศึกษาระยอง เขต ๑-๒ สำนักงานพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตร และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบล รวมถงึ อาสาสมัคร กศน.ตำบล อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอา่ น และอ่ืนๆ ร่วมสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดการ

๓๕

เรียนรู้ตลอดชีวิตของ กศน.ตำบล อย่างต่อเนื่อง และได้มีการทำ MOU ร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ
และเอกชน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

๒.๑๐ มีนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ และสามารถนำไปใช้ได้จริง (Good Innovation) ครูมีการ
นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ตลอด
ชวี ติ ได้อยา่ งทว่ั ถึง และมคี ุณภาพ

๒.๑๑ สำนักงาน กศน.จังหวัดระยองให้แต่ละอำเภอพิจารณาคัดเลือก กศน.ตำบล เพ่ือ
จัดกิจกรรมและเตรียมเข้ารับการนิเทศและประเมิน กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรีเมียม ประจำปี
งบประมาณ ๒๕๖๔ อำเภอละ ๒ แห่ง ที่ไม่ซ้ำกับ กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม ประจำปี
งบประมาณ ๒๕๖๓

๒.๑๒ สำนักงาน กศน.จังหวัด ได้จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อประเมิน กศน.
ตำบล ตำบล ต้นแบบ ๕ ดี พรีเมียม อำเภอละ ๒ แห่ง ในวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๔ ประเมิน
กศน.ตำบลวงั จันทร์ และ กศน.ตำบลชมุ แสง

ทั้งนี้ในห้วงดำเนินงานการคัดเลือก กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม อยู่ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) จึงให้ กศน.อำเภอวังจันทร์
ดำเนินการ คัดเลือก กศน.ตำบล ที่เข้ารับการประเมิน อำเภอละ ๑ แห่ง เพื่อเข้ารับการประเมิน
ระดับจังหวัด โดยไม่ได้ดำเนินการลงพื้นที่เปลี่ยนรูปแบบการประเมินโดยการส่งคลิปและจัด
นิทรรศการ นำเสนอผลงาน และ มอบหมายให้ กศน.อำเภอคัดเลือกเหลอื อำเภอละ ๑ แห่ง

สำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ได้จัดประกวด กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม ซึ่งมีผล
ตามประกาศสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ลงวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๔ เรื่อง ประกาศผลการ
ประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ ๕ ดี พรีเมย่ี ม ดังนี้

๓. ปัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อความสำเรจ็
๓.๑ นโยบายของสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เกี่ยวกับ กศน.

ตำบลตน้ แบบ ๕ ดี พรเี มยี่ ม มหี ลักเกณฑก์ ารประเมนิ กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรีเม่ียม ทีช่ ดั เจน
๓.๒ กศน.อำเภอวังจันทร์ ให้ความสำคัญต่อแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้วย

เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้เป็นช่องทางในการสื่อสารข้อมูลสารสนเทศ สำหรับประเมินผลการ
ปฏบิ ัติงาน

๓.๓ การร่วมรับรู้สภาพปัญหา การร่วมคิด การร่วมกำหนดแนวทางการพัฒนาของผู้
นิเทศ และคณะผูร้ ว่ มนเิ ทศ ทำใหม้ ีมมุ มองทางความคิดในการพัฒนาท่ีหลากหลาย เกิดความร่วมมือ
ในการรว่ มดำเนินการพฒั นาอยา่ งเป็นระบบ

๓๖

๓.๔ สถานที่ กศน.ตำบลเป็นเอกเทศเหมาะสมเอื้อต่อการจัดกิจกรรมและให้บริการแก่
กล่มุ เปา้ หมาย

๓.๕ หลักเกณฑ์การประเมิน ๕ ด้านตามแบบประเมินของสำนักงาน กศน. คือ ด้าน ๑
ครูมีสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพในระดับต่าง ๆ ด้าน ๒ สภาพแวดล้อมทาง
กายภาพของ กศน.ตำบล ดึงดูดความสนใจและเอื้อต่อการเรียนรู้ ด้าน ๓ กิจกรรมการเรียนรู้
การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ด้าน ๔ ภาคีเครือข่ายร่วมจัด
สนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้ตลอดชวี ิตได้อยา่ งมีคุณภาพ และดา้ นที่ ๕ มนี วัตกรรมที่เป็นประโยชนแ์ ละ
สมารถนำไปใช้ได้จรงิ ประเมนิ ในรปู แบบคณะกรรมการ โดยมคี ะแนนรวมทงั้ หมด ๑๐๐ คะแนน

๓.๖ กศน.ตำบลจดั กิจกรรมได้อยา่ งหลากหลายเหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย
๓.๗ การกำหนดแนวทางเพื่อการพัฒนาองค์การ และบุคลากรของสำนักงาน กศน.
จังหวัด มีการกำหนดแนวทางท่ีชัดเจน และใหค้ วามสำคญั ต่อการพัฒนาศักยภาพของครูและบุคลากร
ทางการศึกษาทงั้ ด้านดิจิทัลเพื่อการบริหาร และจัดการเรียนรู้
๓.๘ การร่วมรบั รูส้ ภาพปัญญา การร่วมคดิ การร่วมกำหนดแนวทางการพัฒนาของคณะ
ผนู้ เิ ทศ และคณะนิเทศภายในสถานศึกษา ทำใหม้ มี ุมมองทางความคิดในการพฒั นาท่หี ลากหลาย เกิด
ความร่วมมอื ในการรว่ มดำเนินการพัฒนาอย่างเปน็ ระบบ
๓.๙ การดำเนินการช้ีแจงถึงความสำคัญ และความจำเปน็ ที่ต้องมีการพฒั นา ส่งผลให้ครู
และบุคลากรทางการศึกษา สามารถพัฒนาการดำเนินงานทั้งด้านการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยี
ดิจิทัล รวมถึงการจัดการเรียนรู้โดยจัดทำเนื้อหาย่อ (Content Brief) พร้อมการทำ QR Code เพ่ือ
นำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน เป็นแนวทางในการพัฒนาครู บุคลากรทางการ
ศึกษา รวมทั้งผ้เู รียน เป็น Smart Digital Persons
๓.๑๐ ครู กศน.ตำบลสว่ นใหญเ่ ป็นครมู อื อาชีพ (Good Teacher)
๓.๑๑ ภาคเี ครอื ข่ายให้การสนับสนุนการจดั กจิ กรรม กศน.เป็นอยา่ งดี

๔. ปัญหาอุปสรรค
จากการดำเนินงาน พบปญั หาอุปสรรคท่ีสง่ ผลให้การดำเนินงานไมเ่ ปน็ ไปตามแผนดงั นี้
๔.๑ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)

ทำให้ครู กศน.ตำบล ไม่สามารถจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม
อัธยาศยั เปน็ ไปตามแผนการดำเนินงานท่ีกำหนด จงึ ตอ้ งปรับเปล่ียนแผนตามสถานการณด์ ังกล่าว

๔.๒ ครู กศน.ตำบล มีการจัดกระทำข้อมูลไม่เป็นระบบกระบวนการ จึงส่งผลทำให้การ
นำเขา้ ข้อมูลหลักฐานขาดความสมบูรณค์ รบถ้วน

๓๗

๔.๓ กศน.ตำบลขาดวัสดุอุปกรณ์ท่ีทันสมยั เช่น คอมพิวเตอร์ TV นอกจากนี้อุปกรณ์ท่มี ี
อยเู่ กดิ การชำรดุ เพราะขาดการบำรงุ รักษาท่ีดี

๔.๔ ครู กศน.ตำบล มีการย้ายอำเภอ ย้ายข้ามจังหวัด ทำให้เกิดผลกระทบต่อการ
ปฏบิ ตั ิงาน ขาดความตอ่ เนอ่ื ง

๔.๕ ครูและบุคลากรของสถานศึกษา มีความแตกต่างกันเกี่ยวกับความรู้ ทักษะการ
บริหารจัดการเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม การจัดกระทำข้อมูลด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งบุคลากรบางคน
ทำได้ได้ชา้ ส่งผลใหบ้ คุ ลากรท่เี ก่งกวา่ ตอ้ งดูแลเพ่ือนเพือ่ ให้งานเสรจ็ ทันตามเวลาท่ีกำหนด

๔.๕ ครู กศน.ตำบล ยงั ขาดการจดั ทำแผนพฒั นาตนเองอยา่ งเป็นระบบและต่อเนื่อง
๔.๖ ครู กศน.ตำบล มีความตั้งใจในการปฏิบัติงาน แต่ยังขาดการออกแบบการจัด
กระบวนการเรยี นรูท้ ดี่ ีและทันสมยั

๕. ขอ้ นิเทศตอ่ ผรู้ ับการนเิ ทศ
๕.๑ สถานศึกษาควรพัฒนา กศน.ตำบล ตามนโยบาย กศน.ตำบลต้นแบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม

ให้มีการกำหนดระบบการปฏิบัติงาน สำหรับภาระงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน สนับสุนนการดำเนินงานซึ่งกันและกันให้มากขึ้น ด้วย
กระบวนการ PLC

๕.๒ ควรวางแผนจัดกจิ กรรมร่วมกบั ภาคีเครือขา่ ย
๕.๓ ครู กศน.ตำบล ควรนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปวางแผนจัดกระบวนการ
เรยี นรใู้ ห้กบั ผู้เรียน
๕.๔ ควรจัดกิจกรรมใหม้ คี วามสอดคลอ้ งและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
๕.๕ การจัดหาส่ือสงิ่ พมิ พ์ สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใหม้ ีความเหมาะสม สอดคล้อง และทันสมัย
ตามความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย
๕.๖ แนะนำการจดั ทำแผนการเรยี นรแู้ ละใชส้ ือ่ อิเลก็ ทรอนิกสม์ าใช้ในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ เช่น QR Code / Youtube / Google Classroom / E-Book / Line / Website ฯลฯ
กระบวนการ PLC ในการขับเคล่ือนโดยการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การพฒั นาการดำเนินงานการจัด
การศึกษาให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาเช่น ๑) การจัดทำเนื้อหาย่อ
(Content Brief) พร้อมการทำ QR Code เพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ และ ๒) การออกแบบ
STEM Education เพอื่ การดำรงชวี ิต
๕.๗ การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่สอดคล้องกับสถานการณ์
ควรจดั ในรปู แบบทหี่ ลากหลาย ให้ตรงตามความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมาย

๓๘

๕.๘ ควรพัฒนาตนเองและ กศน.ตำบล อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีความพร้อมในการ
ให้บริการอย่างตอ่ เน่อื งตามช่วงวันและเวลาท่ีกำหนด

๕.๙ ควรมีการพัฒนาและจัดบรรยากาศทั้งภายในและภายนอก กศน.ตำบล ให้มีความ
เหมาะสม ทนั สมยั และเออื้ ตอ่ การจัดกระบวนการเรียนรู้

๕.๑๐ ควรได้รับการพัฒนา สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลช่วยเหลือ และการ
แนะแนวทางการศกึ ษาและอาชพี

๕.๑๑ ควรเข้าร่วมกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ ับเพื่อนครู
สมำ่ เสมอ

๕.๑๒ ควรมกี ารมอบหมายใหอ้ าสาสมคั รเปิดให้บริการอยา่ งต่อเนื่อง กรณีครู กศน.ตำบล
ติดภารกิจ

๕.๑๓ ควรพัฒนาและส่งเสริมความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย (MOU) กับหน่วยงานใหม่ๆ
เพื่อขยายขอบเขตความร่วมมอื

๕.๑๔ ควรจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นเพื่อเพ่มิ จำนวนผู้อ่านหนังสือ และเพิ่มค่าเฉลี่ยสถิติ
การอ่านให้สูงข้นึ

๕.๑๕ ควรจัดทำข้อมูล/ทำเนียบ เช่น ภูมิปัญญา วิทยากร แหล่งเรียนรู้ และภาคีเครือ
ค่ายให้เป็นปัจจุบัน

๕.๑๖ ควรมีการดำเนินการยกระดับคุณภาพ กศน.ตำบล ทุกแห่ง ตามกรอบตัวบ่งชี้และ
เกณฑ์การประเมินตามที่สำนักงานกศน.กำหนด ให้เป็น กศน.ตำบล ๕ ดี พรีเมี่ยม รวมทั้งมีการ
เชอื่ มโยงเข้ากบั การประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามกรอบการประเมนิ กศน.ตำบล

๕.๑๗ ควรมีการขยายผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารสู่ผู้เรียน เพื่อแสดงให้เห็นว่า
ผู้เรียนสามารถนำความรูไ้ ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ โดยใช้เทคโนโลยีเพือ่ การสื่อสาร ซึ่งจะเป็นการสร้าง
เสรมิ ให้ผเู้ รียน กศน. เป็น Smart Digital Persons

๕.๑๘ ควรจัดทำสรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจกิจกรรม เป็น
สารสนเทศ(DMIS) และรายงานผ้บู ริหารทราบเป็นปจั จบุ ัน

๖. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
๖.๑ ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
๑) ควรมีการนำข้อมูลความต้องการพัฒนาตนเองของครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา

มาจัดทำเป็นฐานขอ้ มูล เพอ่ื จัดทำแผนการพฒั นาครู และบคุ ลากรในแต่ละปงี บประมาณ

๓๙

๒) ควรมกี ารนิเทศ กำกับ ติดตามครู กศน.ตำบล ในด้านการนำความรทู้ ่ีไดร้ ับจากการ
พัฒนาไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน การจัดกจิ กรรม และการปฏบิ ัติงานมากน้อยเพียงใด เพื่อจะ
ไดน้ ำมาเป็นขอ้ มลู ในการแกไ้ ขปญั หาเพ่ือพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง

๓) ควรมีการติดตาม ส่งเสริม และสนับสนุนให้ ครู กศน.ตำบล จัดกระทำข้อมูล
พร้อมนำข้อมูลจัดเก็บในระบบออนไลน์ ด้วย Google Drive พร้อมเผยแพร่ข้อมูลผ่าน Google Site
ให้เปน็ ปัจจุบัน และตอ่ เน่ือง

๔) ควรมีการตรวจสอบการจดั ทำข้อมลู สารสนเทศของครูและบุคลากรของสถานศึกษา
ใหถ้ ูกต้องสมบรู ณ์

๖.๒ ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จงั หวัด
๑) ควรมโี ครงการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาอย่างต่อเน่อื งและตรงตาม

ความต้องการของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๒) ควรสง่ เสรมิ ให้สถานศึกษา ครูและบุคลากรของ กศน.อำเภอวังจันทร์ บริหาร

จดั การด้านการดำเนนิ งานด้วยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เปน็ ระบบ
๓) ควรพัฒนาระบบฐานข้อมูล เพอ่ื บันทึกข้อมลู สารสนเทศเป็นรายบคุ คล ของครูและ

บคุ ลากรของสถานศกึ ษา ว่ามีความรู้ ความสามารถทักษะเฉพาะด้านในเรื่องใด หรือต้องการพฒั นา
ตนเองในเร่ืองใดเพิ่มเติม เพอื่ นำมาใชใ้ นการวางแผนพฒั นาบคุ ลากรได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

๔) ควรวเิ คราะห์ กำหนดแนวทางการส่งเสริมให้ครู กศน.ตำบล มีการบริหารจดั การ
ข้อมลู สารสนเทศดว้ ยระบบออนไลน์อยา่ งจรงิ จงั ต่อเนอ่ื ง และเป็นปัจจบุ นั

๖.๓ ข้อเสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.
สนบั สนุนงบประมาณในการการพฒั นา กศน.ตำบลตน้ แบบ ๕ ดี พรเี มีย่ ม

๗. ผลการปฏบิ ัติงานทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice)
-

๘. ภาพกจิ กรรม

๔๐

ด้านที่ ๓ Good Activities
๙. พฒั นาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน.
๑. ความเปน็ มา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์ มีการนำเทคโนโลยี

ทางการศึกษามาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาสการเรยี นรู้ รวมถึงการเพิ่มประสทิ ธิภาพในการจัด
และให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในการส่งเสริมและให้กับประชาชน
กลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง เป็นไปตามพันธกิจของสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ประกอบกับใน
ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สำนักงาน กศน. ได้กำหนดจุดเน้นการดำเนินงานในด้านพัฒนาหลักสูตร ส่ือ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาแหล่งเรียนรู้ และรูปแบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาที่เหมาะสม กับทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความ
ทันสมัย สอดคล้องและพร้อมรองรบั บรบิ ทสภาวะสังคมปจั จุบัน ความต้องการของผเู้ รียน และสภาวะ
การเรียนรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital
Learning Platform ที่รองรับ DEEP ของกระทรวงศึกษาธิการ และช่องทางเรียนรู้รูปแบบอื่น ๆ
ท้งั Online On-site และ On-air

๒. สภาพทพี่ บ
ครูผ้สู อนของ กศน.อำเภอวังจนั ทร์ ได้เรียนรู้และดำเนินการตามแนวทางท่ีกำหนดในคู่มือ

การดำเนินงานการจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐานดว้ ยวธิ ีออนไลน์ ของสำนกั งาน กศน.จงั หวัดระยอง ท่ีมอบ
ให้กับ กศน.อำเภอวังจันทร์ ภายใต้การจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประกอบด้วยองค์ประกอบ
ครูผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา สื่อการเรียนและแหล่งเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบการ
ติดต่อสื่อสาร การวัดและการประเมินผล และครูผู้สอน กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้มีการจัดรูปแบบการ
เรียนการสอนหลากหลายวิธี ที่ทำให้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันได้ เพื่อให้บรรลุ
วัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั การเรยี นการสอน เกดิ ผลลพั ธก์ ารเรียนรตู้ รงตามหลกั สูตร

จากการนิเทศการพบกลุ่มของ ครูผู้สอนของ กศน.อำเภอวังจันทร์ ทัง้ ๘ กลมุ่ ดังนี้
๑. การออกแบบวธิ ีการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์

รูปแบบการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับลักษณะรายวิชา คำนงึ ถงึ ความแตกต่างของ
ผเู้ รยี น เพอ่ื ให้จดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ไดส้ อดคล้องกับผู้เรียน มกี ารสำรวจความพร้อมก่อน
การจัดการศึกษาออนไลน์ โดยจัดทำ google form เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลความ
พร้อมต่อการจัดการศึกษาออนไลน์ และมีการจัดทำแผนการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ โดย
ครูผู้สอนของกศน.อำเภอวังจันทร์ มีการวิเคราะห์เนื้อหาวิชาที่เหมาะสม พร้อมทั้งออกแบบ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับการจัดการศึกษาออนไลน์ จากนั้นครูผู้สอนได้ชี้แจงวิธีการ
สอนให้กับผู้เรียนผ่านกลุ่มสื่อสังคมออนไลน์ (Line) เพื่อให้ผู้เรียนมีการเตรียมความพร้อมก่อน

๔๑

การเรียนรู้ รวมทั้งครูผู้สอนได้ออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถมสี ว่ นรว่ ม มีปฏิสมั พันธก์ บั ครูผสู้ อนและเพอ่ื นรว่ มชั้นเรยี นในกิจกรรมทหี่ ลากหลาย

๒. วิธกี ารจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ครูผู้สอน ของกศน.อำเภอวังจันทร์ มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ง่าย และสะดวกต่อเรียนรู้ โดยอยู่ภายใต้ประกาศของศูนย์บริหาร
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ และตามมาตรการเกี่ยวกับ
สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา และใช้โปรแกรมการสื่อสารออนไลน์ ได้แก่
โปรแกรม Hangout Meet, Line, Facebook Messenger และ Google Site เป็นต้น การใช้
โปรแกรมจัดการศึกษาออนไลน์เหล่านี้ ครูผู้สอนได้จัดเตรียมเอกสารประกอบการสอน เช่น Power
point วิดีโอ รูปภาพ เอกสารการสอนในรูปของ Google doc เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอน ที่ทำให้
ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในการเรียนมากขึ้น รวมทั้งมีการบันทึกไฟล์หลังจากการจัดการเรียนการสอน
เพื่อให้สามารถเรียนย้อนหลังในกรณีที่ผู้เรียนไม่สามารถเข้าเรียนตามกำหนดเวลาได้ ครูผู้สอน ขอ
งกศน.อำเภอวังจันทร์ ได้จัดทำเว็บไซต์การศึกษาออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม Google site เพื่อจัดทำ
ขึ้นเป็น platform พื้นฐานในการเข้าถึงการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยได้กำหนดให้ผู้เรียน
การศึกษาขั้นพื้นฐานเข้าเรียนตามวัน เวลาที่กำหนดไว้ในแผนการสอน มีการเช็คชื่อเข้าเรียน โดยใช้
Google form รวมทั้งมีการตรวจงาน และมีการพัฒนาแอปพลิเคชันทางการศึกษา โดยใช้ชื่อ EDU
Wangchan Application โดยแอปพลิเคชันนี้ ผู้เรียนสามารถสามารถใช้ประโยชน์และสร้างคุณค่า
ทางการเรียนรู้ได้มาก เนื่องจากผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายผ่านทางโทรศัพท์มือถือ
สามารถเข้าถึงสื่อประกอบการสอนจากเมนูสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ สามารถตรวจสอบตาราง
การจัดการเรียนการสอนได้ สามารถตรวจสอบวิชาที่ลงทะเบียนเรียนได้ อีกทั้งเป็นช่องทางในการ
ติดต่อผู้สอนได้อย่างง่าย โดยผ่านแอปพลิเคชัน การให้ข้อมูลย้อนกลับ เป็นการสะท้อนการรับการสง่
ข้อมลู ของผสู้ อนใหก้ ับผ้เู รยี น เพือ่ ทบทวนเป้าหมายและวัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้

๓. ปัจจัยทส่ี ่งผลต่อความสำเรจ็
๓.๑ ผู้บริหารสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง และผู้บริหาร กศน.อำเภอวังจันทร์

ให้ความสำคญั กบั การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ พรอ้ มท้ังใหก้ ารสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ ท่ีใช้ใน
การจัดการเรียนการสอน ไม่ว่าจะเป็นด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถของครูผูส้ อน ด้านอุปกรณ์
ทางดา้ นเทคโนโลยีตา่ ง ๆ และด้านการส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การใชง้ านจรงิ

๓.๒ ครูผู้สอนมีความเข้าใจและมีความรู้ ทักษะและมีความสามารถในการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ เข้าใจในระบบเทคโนโลยี สามารถใช้เครื่องมือ หรือตัวช่วยทางเทคโนโลยีต่าง ๆ
ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ


Click to View FlipBook Version