The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการนิเทศการจัดกิจกรรมตามนโยบายและจุดเน้น ปีงบประมาณ 2564 ของ กศน.อำเภอวังจันทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2021-10-19 11:43:26

รายงานผลการนิเทศการจัดกิจกรรมตามนโยบายและจุดเน้น ปีงบประมาณ 2564

รายงานผลการนิเทศการจัดกิจกรรมตามนโยบายและจุดเน้น ปีงบประมาณ 2564 ของ กศน.อำเภอวังจันทร์

Keywords: กศน.อำเภอวังจันทร์

๔๒

๓.๓ เนื้อหาที่ครูผู้สอนนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ มีความเหมาะสม
อันเนื่องมาจาก การวิเคราะห์เนื้อหาในช่วงของการจัดทำแผนการเรียนการสอน ที่เลือกเนื้อหาวิชา
และมกี ารออกแบบเน้ือหาวิชาทเ่ี หมาะสมกับการจดั การเรยี นการสอนด้วยวิธอี อนไลน์

๔. ปัญหาอุปสรรค
ผเู้ รียนบางคนไม่มีอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการเรยี นการสอนออนไลน์ หรอื มปี ัญหาในการเข้าถงึ

สญั ญาณอินเตอร์เนต็ จึงไมส่ ะดวกตอ่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์
๕. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผ้รู บั การนิเทศ
๕.๑ ควรมีการสร้างความเข้าใจกับผู้เรียนถึงวิธีการรับชม การใช้โปรแกรม การเข้าระบบ

โดยอาจจัดทำเป็นคู่มือการใช้งานระบบต่าง ๆ ของการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา เช่น
จัดทำเป็นคู่มือแผ่นพับ เอกสารเผยแพร่ เพื่อให้ผู้เรียนใช้เป็นแนวทางในการเข้าสู่ระบบการเรียนการ
สอนออนไลนไ์ ด้อยา่ งถกู ตอ้ ง

๕.๒ ควรมีการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้เรียน เพื่อแนะแนวการศึกษาออนไลน์ รวมถึงการ
ตรวจสอบการเข้าถึงสัญญาณอินเตอร์เน็ต หรือการใช้เข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ และมีการจัดการเรียนการ
สอนใหก้ บั ผู้เรยี นท่ไี ม่สะดวกตอ่ การจัดการเรยี นการสอนรปู แบบออนไลน์

๖. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
๖.๑ ขอ้ เสนอแนะต่อ กศน.อำเภอ
ควรจัดให้ กศน.ตำบล ทุกตำบล มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

ทีค่ รบครนั ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพียงพอต่อการจัดการศึกษาในรูปแบบออนไลน์
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวดั
จัดสรรงบประมาณสำหรบั การซ้ือวัสดอุ ปุ กรณเ์ ก่ยี วกับเทคโนโลยที ีท่ ันสมัย พร้อมทั้ง

ส่อื การเรียนการสอนท่ีใช้เทคโนโลยีสมยั ใหม่
๗. ผลการปฏบิ ัตงิ านที่เปน็ เลิศ (Best Practice)
-
๘. ภาพกจิ กรรม

นิเทศการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ภาคเรยี นที่ ๑ /๒๕๖๔ การจดั การศกึ ษาออนไลน์ กศน.

๔๓

ด้านที่ ๔ Good Partnership
๑๐. โครงการเสริมสรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคีเครือขา่ ย
๑. ความเป็นมา
สำนักงาน กศน.ได้กำหนดนโยบาย จุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.

๒๕๖๔ ข้อ ๔ บูรณาการความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุนจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ
ประชาชนอย่างมีคุณภาพ โดยร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชมุ ชน อาทิ การส่งเสริมการฝึก
อาชีพที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของชุมชน ส่งเสริมการตลาดและขยายช่องทางการจำหน่ายเพื่อ
ยกระดับผลิตภัณฑ์/สินค้า และการขับเคลื่อน สู่ กศน.WOW ด้านที่ ๔ Good Partnership การ
เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครอื ข่าย โดยให้มีความร่วมมือจดั ทำ ทำเนียบภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน และ
สง่ เสริมภมู ิปญั ญาสูก่ ารจดั การเรียนรชู้ ุมชน เพอ่ื ยกระดับการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ตอบโจทย์ความ
ต้องการที่แท้จริงของประชาชน เพื่อให้สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต การจัดการ
ศึกษาตามอัธยาศัยและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มอย่างกว้างขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่ม อสม.
โดยใช้หลักการทำงานแบบบูรณาการ ซึ่งเป็นการทำงานแบบสานพลังร่วมกับทุกภาคส่วนในชุมชน
เพื่อเชื่อมโยง หนุนเสริมและต่อยอด โดยต้องมี Change agent เป็นตัวที่สร้างการเปลี่ยนแปลงและ
ตัวกลาง ในการประสานความร่วมมือ ด้วยการ ๑) “เห็นปัญหา” ทำให้ทุกภาคีเห็นสถานการณ์ด้วย
ชุดข้อมูลจริงที่เกิดขึ้นในเวลานั้น ที่เป็นปัญหาในภาพรวมของชุมชนทุกปัญหา ซึ่งจะนำไปสู่การ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์นั้นให้แก่ คนทุกช่วงวัย ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภาคีเครือข่ายในท้องถิ่นเข้ามาร่วมหนุนเสริมได้ ๒) กำหนดเป้าหมาย ประเด็นผลักดัน “เฉพาะ”
“ร่วม” บางประเด็น ได้แก่ การเตรียมความพร้อม คนรุ่นใหม่รองรับ “สังคมสูงอายุ” (ใช้บทเรียน
กระบวนการทำงานจากการผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุ) ปัญหาสภาพแวดลอ้ ม ปัญหาเด็กในสถานสงเคราะห์
๓) “หาแนวร่วม” จัดเวทีแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็นระหวา่ งภาคีเครือข่าย : เชื่อมโยง ข้อมูล
งบประมาณ ความเช่ยี วชาญ ระเบียบ ทรพั ยากร วัสดุ ครภุ ัณฑ์ สถานท่ี ฯลฯ ทแี่ ตล่ ะหน่วยงานมีเพ่ือ
การจัดการเรียนรู้ ๔) บูรณาการงานร่วมกัน และสร้างความภูมิใจร่วมกันเพื่อเชื่อมโยงแผนงาน
โครงการ กิจกรรม งบประมาณ ความเชีย่ วชาญในการ “หนุนเสริม” การจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย ในพนื้ ที่ และ “ตอ่ ยอด” เพื่อพฒั นากิจกรรม กศน. ให้มคี ุณภาพและ
ประสิทธิภาพมากขึ้น ประกอบกับปัจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากความ
เจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีที่หลากหลาย ความเจริญทางด้านการสื่อสารที่รวดเร็ว
การคมนาคมที่สะดวกและมีให้เลือกหลายเส้นทาง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องจัดกิจกรรม กศน. ให้
สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย สภาพแวดล้อม และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ด้วยการ

๔๔

สร้างและการประสานงานกับภาคีเครือข่าย เป็นการสะท้อนความสัมพันธ์ของหน่วยงานและ
สถานศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีต่อชุมชน สังคม ทั้งร่วมกันประสานความคิด การวางแผน
และการปฏิบัติในการช่วยเหลือกัน ตลอดจนการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ดังนั้นการเสริมสร้างความ
ร่วมมือกับเครือข่ายจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือ เนื่องจากงบประมาณและ
จำนวนบุคลากรที่จัดกิจกรรมบริการกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่มีจำกัด นอกจากนี้กรณีที่มีการประสาน
และร่วมกันจัดกิจกรรม กศน.อย่างต่อเนื่อง จะมีการจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับภาคี
เครือขา่ ย

๒. สภาพทีพ่ บ
การจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็น

ของเดิม ที่เคยจัดทำไว้ มีจัดทำเพิ่มบ้างเล็กน้อย นอกนั้นเป็นการจัดทำในระดับนโยบาย ซึ่ง
สำนักงาน กศน.จังหวัดระยองได้มีการจัดประชุมชี้แจงสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้บริหาร ครู
และบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับ สนับสนุน กศน.อำเภอ ให้มีการจัดระบบฐานข้อมูลภาคีเครือข่าย
เพื่อการประสานความร่วมมือในรูปแบบ ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือในการสร้างความเป็น
เอกภาพ เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกันใน
ระดับพื้นที่ ระหว่าง กศน.อำเภอ กศน.ตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย ในการ
สง่ เสริมสนบั สนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทุกภารกจิ มีการเสริมสร้าง
แรงจูงใจใหภ้ าคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ อย่างกว้างขวางและต่อเน่ือง

ระดับตำบล ครู กศน.ตำบล มีจัดเก็บรวบรวมข้อมูลแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
จากการสัมภาษณ์ตามแบบสำรวจแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิน่ จัดทำทำเนียบแหล่งเรียนรู้และ
ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ภายในตำบลเปน็ รปู เลม่ และกรอกขอ้ มลู ในระบบ DMIS มีการแต่งต้งั คณะกรรมการ
กศน.ตำบล มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนจัดกจิ กรรม เชญิ ภูมปิ ัญญามาเป็นวิทยากรในการให้ความรู้
ดว้ ยการเปน็ วทิ ยากรในการจัดกจิ กรรมท้ังการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน การศกึ ษาต่อเนอื่ ง และการศึกษาตาม
อัธยาศยั

ระดับสถานศึกษา กศน.อำเภอมอบหมายและกำกับดูแลให้ครู กศน.ตำบลและบุคลากร
ของสถานศึกษาสำรวจและจัดทำข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และจัดทำข้อตกลงความ
ร่วมมือ (MOU) กับภาคีเครือข่ายที่จัดและสนับสนุนการจัดกิจกรรม จัดเก็บข้อมูลสารสนเทศอย่าง
เป็นระบบเพื่อสะดวกต่อการสืบค้น สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา และมีการจัด
ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาทุกปีงบประมาณอย่างต่อเนื่อง เพื่อรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน พร้อมทั้ง ขอความเห็นชอบพิจารณาหลักสูตร และแผนปฏิบัติ
การประจำปงี บประมาณ

๔๕

๓. ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อความสำเรจ็
๓.๑ นโยบายสำนกั งาน กศน. ส่งเสรมิ และสนับสนุนใหท้ ุกภาคสว่ น เข้ามามสี ่วนร่วมเปน็ ภาคี
เครือข่ายในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดกิจกรรม กศน.ทุกรูปแบบเป็นการจัดการศึกษา
ตลอดชีวิต
๓.๒ หน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี ทั้งในด้านงบประมาณ
อาคารสถานที่ และการจัดกิจกรรม
๓.๓ ทกุ ภาคส่วนมเี ป้าหมายในการดำเนินงานทช่ี ดั เจน โดยยดึ ผู้เรียน/ผ้รู ับบรกิ ารเปน็ สำคญั
๓.๔ บคุ ลากรมคี วามสามารถในการประสานสมั พันธ์งานกับภาคเี ครอื ขา่ ย

๔. ปัญหาอุปสรรค
๔.๑ ภาคเี ครอื ข่ายยงั ขาดความรคู้ วามเข้าใจในการดำเนินงานของ กศน. แหล่งเรียนรู้ ภูมิ

ปัญญาท้องถิ่น ขาดการส่งเสรมิ สนบั สนุนจากหนว่ ยงานในการดำเนนิ การเผยแพร่องค์ความรู้ท่ชี ดั เจน
และการปฏบิ ตั งิ านที่สอดคล้องกบั กจิ กรรม

๔.๒ การจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในระดับสถานศึกษาจัดทำได้น้อย ส่วนมากเป็น
ภาคีเครอื ข่ายเดมิ

๔.๓ การบรณู าการรว่ มกับภาคีเครือข่ายในการจัด สง่ เสริม และสนับสนนุ การจัดการศึกษา
ตลอด
ชวี ิตใหค้ รอบคลุมพื้นท่ีทุกระดับอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ ยังจดั ทำไดน้ อ้ ย สว่ นมากร่วมกันจัดตามปกติ
ทำให้
ขาดการพัฒนาให้ครอบคลมุ กลุ่มเปา้ หมาย

๔.๔ กศน.ตำบลบางแห่งมีการประสานงานกับภาคีเครือข่ายน้อย ส่งผลกระทบต่อการ
พัฒนาคุณภาพกจิ กรรม

๔.๕ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)ทำ
ให้การจัดกิจกรรมบางกิจกรรมไม่ได้ดำเนินการ และมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบกิจกรรมเป็นรูปแบ
ออนไลน์

๕. ขอ้ นิเทศต่อผู้รับการนเิ ทศ
๕.๑ ควรสำรวจ ค้นหาแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรม

เพมิ่ เติมจากท่ีมีอยู่เดิม และประสานงานการใช้ทรัพยากรร่วมกันใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ
และปรับปรงุ ขอ้ มูลสารสนเทศภาคีเครือขา่ ย แหลง่ เรียนรู้ และภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ให้เปน็ ปัจจุบนั

๕.๒ ให้มีการทบทวนและจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับภาคีเครือข่ายที่มี
ศกั ยภาพในการจดั กจิ กรรม กศน.

๔๖

๕.๓ ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจภูมิปัญญา และเครือข่ายในการดำเนินงานของ กศน. ใน
ด้านการสร้างความเข้าใจต่อกระบวนการถ่ายทอดความรู้เพื่อร่วมเป็นภาคีเครือข่ายการจัดกิจกรรม
กศน.ในพน้ื ท่ี

๖. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา
๖.๑ ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศึกษา
๑) ทบทวนและจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับภูมิปัญญา หน่วยงานภาคี

เครือข่ายท่จี ัดกจิ กรรมร่วมกนั อยา่ งตอ่ เน่ือง
๒) สถานศึกษาควรมีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งภาคีเครือข่ายร่วมนิเทศติดตามการจัด

กจิ กรรมใหค้ รอบคลุมทุกกจิ กรรม
๓) จัดประชมุ ชแ้ี จง/อบรม ทำความเขา้ ใจกบั ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน และเครือข่าย
๔) ให้มีเพจ เวป็ ไซต์ รวบรวมแหล่งเรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่
๕) สร้างขวัญกำลังใจ เชิดชูเกียรติในการทำงานร่วมกัน จัดประกวด และให้รางวัล

กบั ภมู ิปัญญา และภาคเี ครือขา่ ย
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จงั หวดั
๑) จัดทำข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายระดับจังหวัดท่ี

จดั รวมทง้ั ให้การสนับสนนุ กิจกรรมการศกึ ษาทีจ่ ดั ต่อเน่ืองทุกภาคเรยี น ทุกปีงบประมาณ
๒) สร้างขวัญกำลังใจ เชิดชูเกียรติในการทำงานร่วมกัน จัดประกวด และให้รางวัล

กับภมู ปิ ัญญา และภาคเี ครอื ขา่ ย
๖.๓ ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.
๑) จดั ทำขอ้ ตกลงความรว่ มมือ (MOU) กบั หน่วยงานภาคีเครอื ข่ายระดับประเทศ
๒) ส่งเสริมและสนับสนุนจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานภาคี

เครอื ข่ายระดบั จังหวดั และอำเภอ

๗. ผลการปฏบิ ัติงานที่เปน็ เลิศ (Best Practice)
-

๔๗

๘. ภาพกจิ กรรม

ครู กศน.ตำบล ลงพนื้ ท่รี ่วมกบั พัฒนาชมุ ชนใน กศน.อำเภอวังจันทรป์ ระชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
การดำเนินงานเกย่ี วกับการทำโคกหนองนาโมเดล (รปู แบบออนไลน์) วนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๔

วนั ท่ี ๒ มถิ ุนายน ๒๕๖๔ ณ บา้ นคลองไผ่ ณ ห้องประชุม กศน.อำเภอวังจันทร์ จงั หวดั ระยอง
ตำบลชุมแสง อำเภอวงั จนั ทร์ จงั หวัดระยอง

กศน.ตำบลป่ายุบใน ได้รับงบสนับสนุนจากโครงการพัฒนา ครู กศน.ตำบล ท้ัง4 แห่ง เขา้ รว่ มประชุมผลการจัดเก็บ
พื้นทวี่ ังจนั ทรว์ ลั เลยเ์ พอ่ื เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษ และรับรองคุณภาพข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน(จปฐ.)
ภาคตะวันออก ในวันที่ 28 กันยายน 2564 เพ่ือนำไปจัด ประจำปี2564 วนั ที่ 29 กนั ยายน 2564
กิจกรรมการเรียนการสอน ให้นักศึกษาและประชาชนใน ณ พืน้ ท่ี 4 ตำบล ในอำเภอวังจนั ทร์ จังหวดั ระยอง

พน้ื ที่ไดใ้ ช้ประโยชน์อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

๔๘

ด้านที่ ๕ Good Innovation
๑๑. พัฒนานวตั กรรมทางการศึกษา
๑. ความเป็นมา
นวัตกรรมหมายถึง ความคิด การปฏิบัติ และการกระทำใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน หรือ

การพัฒนา ดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำนวัตกรรมมาใช้
จะช่วยให้การ ทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ส่วนนวัตกรรมการศึกษา
(Education Innovation) หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การจัดการศึกษาและการเรียนการสอน
มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิด
แรงจูงใจในการเรยี นด้วยนวัตกรรม การศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย รวมทั้งมีการ
ประยุกต์ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ก้าว ทันเทคโนโลยีที่ทันสมัย ดังนั้นการพัฒนานวัตกรรมทาง
การศึกษาจึงจัดทำเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษา บริการกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งองค์ประกอบของ
นวตั กรรมมดี ังน้ี ๑. เปน็ สิ่งใหม่ ๒. เนน้ ใช้ความร้คู วามคิด สรา้ งสรรค์ ๓. เปน็ ประโยชน์ ต้องตอบ
ได้ว่าสิ่งที่เราสร้างเป็นอย่างไร ๔. เป็นที่ยอมรับ และ๕. มีโอกาสในการ พัฒนา สรุปนวัตกรรม
การศึกษา เปน็ การนาํ เอาส่ิงท่ีคิดและหรือประดษิ ฐ์ใหม่ๆ มาใช้ในระบบการจัด การศกึ ษา เพ่ือมุ่งหวัง
ให้การจัดการศึกษามีประสิทธภิ าพยิง่ ขึ้น ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรูไ้ ด้ รวดเร็วขึ้นตามไป
ด้วย ซึ่งการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบาย จุดเน้นด้านที่ ๕ การพัฒนานวัตกรรมทาง
การศึกษาเพ่ือประโยชน์ต่อการจดั การศึกษาและกลุ่ม เป้าหมาย (Good Innovation) ของ สำนักงาน
ส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้กำหนดนโยบายละจุดเน้น ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ในส่วนข้อ ๓ ส่งเสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษาและ
เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ให้เกิด ประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัยให้กบั ประชาชนอย่างทว่ั ถงึ ขอ้ ๔ พัฒนาหลกั สตู ร รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือและ
นวัตกรรม การวดั และประเมินผลทุกรปู แบบให้ สอดคลอ้ งกบั บริบทในปัจจุบนั ข้อ ๕ พัฒนาบุคลากร
และระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่ง จัดการศึกษา และการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ โดย
ยึดหลกั ธรรมาภบิ าล

จากความสำคัญ และนโยบายจุดเน้นในการดําเนินงานปีงบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.
อำเภอวังจันทร์ได้ดำเนินการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษา โดย
จัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ท้งั ในรปู แบบของการศึกษาขน้ั พื้นฐาน การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะอาชีพ
การศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งพัฒนาระบบ พัฒนาบุคลากรใน
การส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการวิจัย
อย่างง่ายเพื่อสร้างนวัตกรรม ใหม่ มีการนําระบบเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี น ผรู้ ับบรกิ าร ชุมชนเกดิ การเรยี นร้ตู ลอดชีวิตไดอ้ ยา่ งทัว่ ถงึ มคี ุณภาพ

๔๙

มีรูปแบบการพัฒนาเทคโนโลยี หรือ นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มาปรับใช้ให้เป็น
ประโยชน์สอดคล้องกับบริบทของชุมชน มีการทดลองพัฒนา โดยใช้กระบวนการปฏิบัติที่ดี เพื่อการ
สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้นวัตกรรมอาชีพ หรือนวัตกรรมอื่น ที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน อีกทั้ง
ประชาชนสามารถพัฒนาตนเอง พัฒนาชุมชนได้อย่าง ยั่งยืนมีการนํานวัตกรรมที่เกิดจากการพัฒนา
มาใชห้ รือเผยแพรผ่ า่ นช่องทางตา่ ง ๆ มผี ลการนิเทศสรปุ ไดด้ ังนี้

๒. สภาพท่ีพบ
กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ด้านต่าง ๆ

ทั้งด้านวิชาการและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มุ่งหวังให้มีการใช้อย่างเป็นระบบ มีวิธีการในการ
ปรับปรุงและพัฒนาวธิ กี ารสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรู้ในสถานการณ์ทีม่ ีโรคไวรัส
ติดเชื้อ COVID-๑๙ ระบาด ให้สามารถใช้การเรียนการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล ราย
กลุ่ม โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่ง กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้พัฒนาบุคลากรเพื่อพัฒนานวัตกรรมการ
จดั การเรยี นรู้ ดงั นี้

๑. กศน.อำเภอวังจันทร์ สร้างการรับรู้ให้กับบุคลากรด้านการพัฒนานวัตกรรมทาง
การศึกษา โดยเข้าร่วมโครงการอบรมปฏิบัติการที่จัดโดย สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก สำนักงาน
กศน.จังหวัดระยอง ในการพัฒนาบุคลากรให้มี ความรู้ความสามารถ ในการใช้ดิจิทลั เพ่ือการบริหาร
และจัดการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนานวตั กรรมทาง การศึกษาโดยเฉพาะการนําเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใช้ใน
การจัดการศึกษา จัดการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ต่าง ๆ ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย

๒. กศน. อำเภอวงั จันทร์มีการพัฒนาระบบ ส่ือ นวตั กรรมเพือ่ การจดั การศึกษาออนไลน์
ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ผลิตภัณฑ์ของ Google Apps for Education ได้แก่ google drive เพื่อเป็นระบบ
ฐานข้อมูลในการจัดเก็บ เผยแพร่ และใช้ข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม สื่อการเรียนรู้ร่วมกับ google
site เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ต่าง ๆ ของสถานศึกษา กศน. ตำบล ห้องสมุดประชาชน ศูนย์สื่อการเรียนรู้
google Classroom เพื่อสร้างห้องเรียนออนไลน์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของ google เพื่อการจัดทำ
แบบสํารวจ ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด แบบทดสอบ คลิปวิดีโอ เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ทุกคน มีการพัฒนานวัตกรรม จัดเก็บ เผยแพร่ และใช้นวัตกรรมการจัดการศึกษาออนไลน์
รว่ มกนั

๓. กศน.อำเภอวังจนั ทร์ ได้จัดทำแอปพลเิ คชนั Edu Wangchan เก่ียวกับงานการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บริการกับนักศึกษา กศน.อำเภอวังจันทร์ ในการลงทะเบียนออนไลน์ ตารางสอบ
ปลายภาค ปฏิทินการศึกษา ตรวจชั่วโมงกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) และผู้ที่สนใจในการ
สมัครเรยี นออนไลน์

๕๐

๓. ปัจจยั ที่ส่งผลต่อความสำเร็จ
๓.๑ สถานศึกษามีการสร้างการรับรู้ พร้อมทั้งชี้แจงถึงความสำคัญ และความจําเป็นที่

ตอ้ งมีการพัฒนาการบรหิ ารและการจัดการด้วยเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจทิ ัล รวมถึง
มกี การกำหนดแนวทางเพือ่ การพฒั นาองค์กร บุคลากรด้านเทคโนโลยีอยา่ งชดั เจน

๓.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ครูส่วนหนึ่งมีความรู้ความสามารถที่จะคิดรูปแบบการจัด
กจิ กรรมการ เรยี นการสอนใหมๆ่ ทีเ่ หมาะสมกบั ผู้เรยี น และสถานการณ์ทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงครู กศน.
และบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้ง มีการปรับตัวด้านการเรียนรู้ในการพัฒนานวัตกรรมสำหรับจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้

๓.๓ สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน ครู และบุคลากรในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ
พัฒนา นวัตกรรมเพ่ือการจดั การเรียนร้ใู ห้กับผู้เรยี น และผู้รับบรกิ าร

๓.๔ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย เพ่อื ให้มีประสทิ ธิภาพ และลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน

๔. ปัญหาอุปสรรค
๔.๑ ครูและบุคลากรของสถานศึกษา ขาดการจัดกระทำข้อมูลตามขั้นตอนของ

กระบวนการอยา่ งเป็นระบบ จงึ มผี ลใหก้ ารนาํ เขา้ ขอ้ มลู ขาดความครบถ้วนสมบูรณ์
๔.๒ ครู กศน. ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ มีภาระงานมากทั้งงานประจำและงานตามนโยบาย

ทำให้บางครั้ง การทำงานท่ีเปน็ งานที่อยู่ในพื้นทเี่ กิดผลกระทบ ไม่สามารถทำงานได้เต็มที่ ครูบางคนท่ี
ไม่มีความรู้ ความสามารถทางดา้ นเทคโนโลยหี รือมีน้อย จึงทำให้เกิดการเรียนรู้ไดช้ า้ ส่งผลทำให้บาง
คนไม่สามารถสรา้ ง นวตั กรรมใหมๆ่ ได้

๕. ข้อนิเทศต่อผู้รับการนเิ ทศ
๕.๑ ควรมีการสร้างความเข้าใจกับผู้เรียนถึงวิธีการใช้แอปบพลิเคชัน การเข้าระบบ โดย

อาจจัดทำเป็นคู่มือการใช้งานระบบตา่ ง ๆ ของการจัดการการใช้แอปพลิเคชันEdu Wangchan ของ
สถานศึกษา เช่น จัดทำเป็นคู่มือ แผ่นพับ เอกสารเผยแพร่ เพื่อให้ผู้เรียนใช้เป็นแนวทางในการใช้แอ
ปบพลเิ คชนั Edu Wangchan ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

๕.๒ ควรมีการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้เรียน เพื่อแนะแนว การใช้แอปพลิเคชัน
Edu Wangchan รวมถงึ การตรวจสอบการเข้าถึงสัญญาณอินเตอร์เน็ต หรอื การใช้เขา้ ถงึ ข้อมลู ตา่ ง ๆ
และมกี ารจดั การเรียนการสอนใหก้ ับผ้เู รยี นที่ไม่สะดวกต่อการใช้แอปพลิเคชัน Edu Wangchan

๕๑

๖. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา
๖.๑. ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา

๑) ครใู หผ้ ูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในการออกแบบการเรยี นรู้
๒) ควรมีการติดตาม ตรวจสอบการจัดทำและการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา
เทคโนโลยีดจิ ิทัลทไี่ ดร้ บั จากการพฒั นาไปใช้ในการจัดการศึกษาออนไลนอ์ ย่างจริงจงั
๓) ควรมีการจดั ทำคลปิ สือ่ แผนการเรยี นออนไลน์และจดั การศกึ ษาออนไลน์ โดยครู
ให้ผูเ้ รียนมีสว่ นรว่ มในการออกแบบการเรยี นรู้
๗. ผลการปฏบิ ตั ิงานทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice)
แอปพลิเคชนั Edu Wangchan
๘. ภาพกิจกรรม

ตดิ ต้ังแอปพลิเคชัน Edu Wangchan ประมวลภาพแอปพลเิ คชนั Edu Wangchan

๕๒

๑. การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
๑๒. สง่ เสรมิ การเรยี นรู้หนังสือไทย
๑. ความเป็นมา
นโยบายสำนักงาน กศน.เกี่ยวกับส่งเสริมการรู้ไทย เพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และ

ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชนที่พลาด ขาดโอกาส และไม่รู้หนังสือภาษาไทย ซึ่งรวมถึงผู้ที่ลืม
หนังสือ ให้ได้เรียนรู้ภาษาไทย สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย ตลอดจนการคิดคำนวณ
เบื้องต้น และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ใช้เป็นทักษะพื้นฐานสำคัญที่ทำให้ประชาชนสามารถ
แสวงหาความรู้ได้อยา่ งต่อเน่ือง สามารถอยรู่ ว่ มกันในสังคมได้อย่างสันตสิ ุข เน้นการเรียนรู้ตามสภาพ
ความตอ้ งการและปญั หาของประชาชนในสงั คมท่เี กีย่ วข้องกับวิถีชวี ติ ของผู้เรียนดังน้ี

๑. การจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาไทย ให้กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ ให้
สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย ตลอดจนการคิดคำนวณเบื้องต้น เพื่อนำไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั ได้

๒. เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้
ประชาชนสามารถอ่านออกเขยี นได้ และการคดิ คำนวณเบ้ืองต้น โดยมกี ารวดั ระดบั การรหู้ นังสือ การ
ใช้สื่อ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพพื้นท่ี
และกลมุ่ เป้าหมาย

๓. ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกจิ กรรมพัฒนาทักษะการรูห้ นังสือใน
รูปแบบต่างๆ รวมทั้งพัฒนาให้ประชาชนมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อเป็นเครื่องมือในการ
เรียนรูต้ ลอดชีวิตของประชาชน

๔. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสอื ตามนโยบาย
๑) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือการดำเนินงาน และ

เครื่องมือวัดผล การส่งเสรมิ การรูห้ นงั สอื ทีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพและบรบิ ทของแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย
๒) พัฒนาครู กศน.และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้

ความสามารถ และทักษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้ให้กับผูไ้ ม่รู้หนังสืออย่างมปี ระสิทธิภาพ และอาจ
จดั ใหม้ อี าสาสมัครส่งเสริมการรูห้ นงั สือในพ้ืนทท่ี ี่มีความต้องการเปน็ พเิ ศษ

๓) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคง
สภาพการรูห้ นังสือ การพฒั นาทกั ษะการรู้หนังสือให้กบั ประชาชนเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาและ
เรียนรอู้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ิตของประชาชน

๔) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ
เปน็ ระบบเดยี วกันท้ังส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

๕๓

กศน.อำเภอวงั จันทร์ มีบทบาทหนา้ ท่ที ่ตี ้องจัด สง่ เสริม สนบั สนุนจดั การศกึ ษาให้แก่กลุ่มผู้ไม่รู้หรือลืม
หนังสือ จัดและส่งเสริมการจัดกิจกรรมการรู้หนังสือ โดยจัดทำหลักสูตรการรู้หนังสือไทยขึ้น ซึ่ง
รายละเอียดในหลักสูตรประกอบด้วยหลักการ จุดหมาย กลุ่มเป้าหมาย โครงสร้าง หลักสูตร การจัด
กระบวนการเรียนรู้ สื่อ และแหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การจบหลักสูตร เอกสาร
หลักฐานการศกึ ษา และการบริหารหลักสูตร แต่เนื่องด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทำให้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้องมีการเปลี่ยนแปลง
ไปตามสถานการณ์ดังกล่าว

๒. สภาพท่พี บ
กศน.อำเภอวังจันทร์ ได้ดำเนินการสำรวจข้อมูลประชากรวัยแรงงาน การประชาสัมพันธ์

เผยแพร่ข่าวสารข้อมูลให้ชุมชนได้รับทราบอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจใน
การออกแบบการเรียนรู้และการสอน รวมทั้งเพื่อส่งเสริมประชาชนให้อ่านออก เขียนได้ พูด-ฟัง
ภาษาไทยอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เนื่องจากได้รับการพัฒนาด้านการจดั การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง มีการนำ
ความรู้ที่ได้รับมาจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน การวางแผนระหว่างผู้บริหารและบุคลากรที่
เกี่ยวข้อง มีการนำเสนอแผนและปรับแผนให้เหมาะสมกับผู้เรียน การประเมินข้อมูลพื้นฐานการรู้
หนงั สอื เดิมกอ่ นจดั การเรียนสอน ครูผูส้ อนมีการนำส่อื หนงั สือ แบบเรียน บตั รคำ และโปสเตอร์ ฯลฯ
เป็นสื่อมาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน มีการประเมินผู้เรียน ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และ
หลังเรียน โดยใช้หนังสือเรียนและแบบทดสอบของสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง ที่ตัวแทนบุคลากร
ของสถานศกึ ษาในสังกัดมาจัดทำร่วมกัน โดยทบทวนและนำไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม ผลการ
จดั กจิ กรรมการส่งเสริมการรหู้ นงั สอื ไทย สอนใหผ้ ู้ไมร่ ูห้ นังสือได้อ่านออก เขยี น และคิดเลขพื้นฐานได้
จำนวน ๑๑ คน จากเปา้ หมาย ๑๑ คน มีผ้จู บ ๙ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๑.๘๑

๓. ปัจจยั ท่ีส่งผลตอ่ ความสำเรจ็
๓.๑ มกี ารนำส่อื ท่ีหลากหลายมาใชก้ บั ผเู้ รียนไดต้ ามความเหมาะสมของแตล่ ะบุคคล
๓.๒ ผเู้ รยี นมีความต้งั ใจและพยายามท่จี ะเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
๓.๓ จัดบรรยากาศการเรียนการสอนทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ ทำให้ผู้เรยี นไม่เบื่อตอ่ การเรยี น

๔. ปญั หาอปุ สรรค
๔.๑ ผู้เรียนมภี ารกจิ การประกอบอาชีพ ทำใหก้ ารเรียนไมต่ ่อเน่อื ง

๔.๒ ครูผู้สอนส่วนหนึ่งไม่มีเวลาสอนติดต่อกันหลายวัน เนื่องจากภาระงานในสถานศึกษา ทำ
ให้ขาดความตอ่ เนือ่ ง

๔.๓ ความสามารถในการรับรแู้ ตกตา่ งกัน เช่น อายุ พนื้ ฐานความรูเ้ ดิม
๔.๔ สภาวะแวดลอ้ ม เช่น ครอบครัวไมส่ นับสนุนให้ไดร้ ับการศกึ ษา
๔.๕ ปญั หาสุขภาพ เก่ยี วกับโรคภัยไขเ้ จบ็ ซงึ่ สภาพจติ ใจไมพ่ รอ้ มสำหรับเรือ่ งการเรยี น

๕๔

๕. ขอ้ นิเทศต่อผู้รบั การนิเทศ
แนะนำการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรผ่านคลิป กลุ่มไลน์ ให้สามารถ

เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง สามารถสอนเสริมโดยบุคคลในครอบครัว เพื่อนนกั ศึกษา กศน. หรือประชาชนท่ีมี
จิตอาสา ซึ่งครูผู้สอนสามารถประสานงานขอข้อมูลจากหน่วยงาน/ผู้นำชุมชน เป็นข้อมูลเพิ่มเติมใน
การศึกษาชุมชน รวมถึงการนำสื่อดิจิทัลเข้ามามีส่วนในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น
เช่น Line Facebook Youtube และ QR Code เป็นต้น นอกจากนี้มีการติดตามผู้ที่ผ่านการ
ประเมนิ ใหเ้ ข้าศึกษาตอ่ ในระดบั ทส่ี ูงขน้ึ การออกวฒุ บิ ตั รให้กบั ผผู้ า่ นการประเมินตามหลักสูตร

๖. ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
๖.๑ ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
ควรมีการพฒั นาหลกั สตู รการจัดการเรียนการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทของผู้เรยี น
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะตอ่ กศน.อำเภอวังจันทร์
จดั อบรมเทคนิคการสอนผู้ไมร่ หู้ นังสือ
๖.๓ ข้อเสนอแนะต่อ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ระยอง
ควรสนับสนุนงบประมาณเป็นค่าสื่อ วสั ดุ และอุปกรณ์ ให้กับผูเ้ รียนในการจัดการเรียน

การสอนให้มากขึน้
๗. ผลการปฏบิ ตั งิ านท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice)
-
๘. ภาพกิจกรรม

จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการรหู้ นงั สือ ระหว่างเดอื นมนี าคม -กันยายน ๒๕๖๔
ณ บ้านคะเคยี นทอง หมู่ ๖ ตำบลวังจันทร์ อำเภอวงั จนั ทร์ จงั หวดั ระยอง
เป้าหมายจำนวน ๑๑ คน ผู้จบจำนวน ๙ คน

๕๕

๑๓. การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๑. ความเปน็ มา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังจันทร์ ได้จัดให้มีหลักสูตร

สถานศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ี
พัฒนาขึ้นตามหลักการ ปรัชญา กศน. และนโยบายของรัฐบาล ตลอดจนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สงั คมแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่แี กไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.
๒๕๔๕ และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ท่ี
มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา และมีศักยภาพในการประกอบ
อาชีพ การศึกษาต่อ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งน้ี
สถานศึกษาสามารถนำมาตรฐานและสาระการเรียนรู้ไปพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ
สภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของสถานศึกษา โดยให้เป็นไปตามหลักการที่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดไวด้ ังนี้

๑. หลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และการจัดการเรียนรู้
โดยเน้นการบรู ณาการเนื้อหาให้สอดคลอ้ งกบั วิถชี วี ิต ความแตกต่างของบุคคล ชมุ ชน และสังคม

๒. ส่งเสริมให้มีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัย

๓. ส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิต โดยตระหนักว่าผู้เรียนมี
ความสำคญั สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ

๔. ส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั

๒. สภาพท่พี บ
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูและ
บุคคลากร องค์กรนักศึกษา ได้มีส่วนร่วมนิเทศกิจกรรมและเอกสารที่เกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา
แผนการเรียนรู้รายภาค แผนการสอน และสมุดลงเวลาเรียนนักศึกษาเป็นรายคน เพื่อแก้ไขปัญหา
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน แผนการเรยี นรู้รายภาคและแผนการสอน เพือ่ นำไปสู่การปฏิบัติให้
ถูกต้องและชัดเจน ตลอดจนเรียนรู้วิธีการจัดการศึกษาที่ทันสมัย ครูผู้สอนมีการจัดทำฐานข้อมูล
ผู้เรียนของตนเองและจัดทำแฟ้มผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการบันทึกหลังสอนอย่างต่อเนื่อง และนำ
ขอ้ มูลจากการบนั ทึกหลงั สอนไปใช้ในการพฒั นาผู้เรยี นด้วยการจัดการเรียนรูท้ สี่ อดคล้องกับวิถีชีวิต มี
การปรับปรุงแผนการสอนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยการนำข้อมูลของผู้เรียนมาออกแบบ
กจิ กรรมเพม่ิ เติม แนะนำเนื้อหาและช่องทางใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้เพิม่ เติม สร้างบรรยากาศในห้องเรียน

๕๖

ให้น่าเรียนรู้มากขึ้น การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ี

หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้เลือกวิธีการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับความต้องการ สอดคล้องกับวิถีชีวิต

ได้จัดการเรียนรู้แบบพบกลุ่มรายวิชา เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมาพบกันเป็นกลุ่มโดยใช้

กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้มีการอภิปรายนอกจากนี้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และหาข้อสรุปร่วมกันตาม

แผนการเรียนรู้รายภาคที่ขออนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา นอกจากนี้มีโครงการพัฒนาคุณภาพ

ผู้เรียนที่สอดคล้องกับแผนการเรียนรู้และมีการประเมินระดับการรู้หนังสือผู้เรียนทุกคน ครูผู้สอนมี

การสรปุ เนื้อหาความรู้รว่ มกบั ผ้เู รียน เพื่อนำความรู้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ รวมทง้ั มกี ารจัดต้ังกลุ่ม Line

Facebook เพื่อการสื่อสาร การส่งงาน และการติดตามงาน รวมทั้งมีการเยี่ยมบ้านผู้เรียนหลัง

เรียนเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน สำหรับการจัดทำแผนออนไลน์ และการสอนออนไลน์ตามแผนในช่วง

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ซึง่ ทำไดน้ อ้ ยทำให้ขาด

ความตอ่ เนอื่ ง

ผลการจัดกิจกรรมหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช

๒๕๕๑ ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๓ และภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖๔ (ปงี บประมาณ ๒๕๖๔)

ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๓

๑. ระดับประถมศกึ ษา ๒๐ คน

๒. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ๑๗๐ คน

๓. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๒๒๑ คน

รวม ๔๑๑ คน

ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔

๑. ระดบั ประถมศึกษา ๑๙ คน

๒. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๑๕๒ คน

๓. ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๒๐๓ คน

รวม ๓๗๔ คน

รวมทัง้ สิ้น ๗๘๕ คน

หมายเหตุ ขอ้ มูล ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ วันที่ ๒๙ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔

๓. ปัจจัยท่สี ่งผลต่อความสำเร็จ

๓.๑ หลักสูตรสถานศึกษาได้พัฒนาให้มีความสอดคล้องกับบริบท ความต้องการของ

ผูเ้ รียน และการเปล่ียนแปลงของสังคม

๓.๒ หลักสูตรมีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนในรายวิชาเลือกเสรี การวัด

และประเมินผลมคี วามสอดคลอ้ งกบั ผเู้ รยี น เน่ืองจากมีการประเมินตามสภาพจริง

๕๗

๓.๓ ครูผู้สอนบางคนมีการจัดทำแผนการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี ทำให้ครูผู้สอนก้าว
ทันเทคโนโลยีมากขึน้ และทำให้ผู้เรยี นสนใจการเรียนมากขึน้ ที่ได้เรียนจากวิธีการสอนท่ีหลากหลาย
รปู แบบ

๓.๔ การวัดและประเมินผลมคี วามสอดคล้องกบั ผ้เู รียน ดว้ ยวธิ ีการประเมินตามสภาพจริง
๓.๕ การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนสามารถนำไปปรับใช้
ในการจัดกระบวนการเรียนได้อย่างหลากหลายรูปแบบกิจกรรม และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ดว้ ย
ตนเอง
๔. ปญั หาอปุ สรรค
๔.๑ ครูผูส้ อนส่วนใหญ่ไม่ให้ความสำคัญ ในการนำผลจากการบันทึกหลังสอนไปใช้ในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างตอ่ เนอ่ื งและจรงิ จงั เนือ่ งจากภาระงานในหนา้ ที่ทเ่ี พิม่ มากขึน้
๔.๒ ครูผู้สอนมีการสอดแทรกเนื้อหาการจัดการเรียนการสอน นอกเหนือจากการจัดการ
เรียนรู้ตามแผน แตส่ ่วนใหญไ่ มม่ กี ารบนั ทกึ เนอื้ หาทีส่ อดแทรกเป็นรอ่ งรอยไว้
๕. ข้อนเิ ทศต่อผรู้ ับการนเิ ทศ
การจัดการและเทคนิคการเรียนรู้ ได้ใช้กระบวนการ PLC ในการนิเทศ เพื่อให้ครูผู้สอน
ได้มีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมตามหลักการของ STEM Education โดยได้นำเสนอข้อมูลเพ่ือ
การนำความคิด การออกแบบกิจกรรม ซึ่งออกแบบโดยใช้หลักการทั้ง ๔ หลักการ ของ STEM
Education ให้สอดคล้องกับวิถีการดำรงชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ในการ
ดำรงชวี ิตประจำวนั ไดต้ อ่ ไป
จากการใช้กระบวนการ PLC สรุปได้ว่า ครูผู้สอนจะดำเนินการออกแบบกิจกรรมตาม
หลักการ STEM Education ให้สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชาที่จัดการเรียนรู้ในแต่ละภาคเรียน และ
วถิ ีชีวิตของผเู้ รียน
ดังนี้
๑. ดา้ นการบริหารจัดการ ไดแ้ นะนำการจัดทำแฟ้มผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล เพราะจะทำให้
ครูผู้สอนและผู้เรียนสามารถยืนยันข้อมูลว่าผู้เรยี นเรียนครบหรือไม่ มีผลการเรียนแต่ละด้าน แต่ละ
วิชาเป็นอย่างไร รวมทั้ง การประเมินคุณธรรม กิจกรรมพัฒนาคุณชีวติ (กพช.) ครบตามเงื่อนไขของ
หลักสูตรหรือไม่ อย่างไร ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน ส่วนข้อมูลบันทึกหลังสอน และนำข้อมูลดังกล่าว
มาพัฒนาการจัดการเรียนรู้นั้น เป็นสิ่ง ที่ควรกระทำ แต่ครูผู้สอนควรสรุปรวบรวมข้อมูลด้วยว่า
ขอ้ มูลการบันทึกหลังสอนเป็นข้อมูลอะไร กำหนดแนวทางการแก้ไขและพัฒนาแต่ละสิ่งที่เกิดขึ้นด้วย
ว่า ใช้วิธีการใด เพราะอะไร และอย่างไร มีเครื่องมือหรือมีวิธีการในการพัฒนาอะไร อย่างไร ใน
ระหว่างการพัฒนา มีผลการพัฒนาเป็นอย่างไร รวมทั้งมีบทสรุปเกี่ยวกับการพัฒนาเพื่อประมวล

๕๘

ขอ้ มลู การพัฒนาทั้งหมด สงิ่ ตา่ งๆ เหลา่ นี้ ควรบนั ทกึ และสรุปผลรวบรวมไว้ เพราะเป็นส่ิงที่แสดงถึง
การเปน็ ครดู ี (Good Teacher)

๒. ด้านการจัดและเทคนิคการจัดการเรียนรู้ จากการติดตามผล พบว่า ครูผู้สอนมีการ
ออกแบบกจิ กรรมตามหลักการของ STEM Education ในการจัดการเรียนรสู้ าระความรู้พื้นฐาน จาก
การจดั กจิ กรรมพบว่า

๒.๑ สถานศึกษามีการออกแบบกิจกรรมตามหลักการของ STEM Education ที่
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ที่ลงทะเบียนในภาคเรียนนี้ ได้แก่ เศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา
โมเดล) การจัดการขยะ การจดั ทำส่อื ภาษาองั กฤษและภาษาไทยด้วยรปู ทรงทางเรขาคณติ เปน็ ตน้

๒.๒ ผู้เรียนให้ความสนใจ กระตือรือร้นในการเรียนรู้ดี เกิดการเรียนรู้แบบร่วมมือ มี
การระดมความคิดซึ่งกันและกัน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
และเป็นไปตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรในแต่ละสถานศึกษา สอดคล้องกับการพัฒนา
ทักษะผู้เรยี นในศตวรรษ ท่ี ๒๑

๒.๓ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ และการเรียนรู้ที่เป็น
วทิ ยาศาสตร์ตามหลักการของ STEM Education มากข้นึ

๒.๔ ครผู สู้ อนสามารถจดั กิจกรรมได้หลากหลาย และตรงกบั จดุ มุง่ หมายของหลักสูตร
๒.๕ ผู้เรียนบางส่วนยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ตามหลักการของ STEM
Education อาจเป็นเพราะ ๑) ครูผู้สอน อาจจะออกแบบขั้นตอนกิจกรรมไม่ชัดเจนหรือออกแบบ
ขัน้ ตอนการจดั กจิ กรรมที่รวบรัดเกินไป ทำใหผ้ ู้เรียนไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ๒ ) ผู้เรียน
อาจเป็นเพราะผ้เู รยี นไม่เคยชินกบั การเรียนรู้ด้วยการปฏบิ ัติจรงิ
๒.๖ ผลการนิเทศการจดั การเรียนรูแ้ ละเทคนคิ การจัดการเรยี นรู้ สรปุ ได้วา่

๑) ครูควรมีการจัดทำเนื้อหาย่อ โดยผ่าน QR Code เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
เนอ้ื หาเป็นส่วนๆ และเรียนรู้ได้ทุกเวลา

๒) ครูควรจดั ทำแผนการเรยี นรู้โดยใช้สือ่ เทคโนโลยีอย่างตอ่ เน่อื ง
๓) ครูควรจัดกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้มีการนำความรู้จากการเรียนรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์เปน็ ทปี่ ระจกั ษ์
๓. สอ่ื ที่ใช้ในการจดั การเรยี นรู้
กศน.อำเภอวังจันทร์ มีการจัดทำระบบยืม – คืนสื่อ การเรียนรู้ ตามระเบียบและ
วิธีการที่กำหนด ทั้งนี้ครูยังได้รับการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี พบว่ามี
ครูผูส้ อนบางสว่ นยังไม่ไดน้ ำสอื่ เทคโนโลยีมาใชใ้ นการจดั กระบวนการเรียนรอู้ ย่างต่อเน่อื ง
ครูทกุ คนควรนำกระบวนการ PLC ในการนเิ ทศ เพือ่ ใหค้ รผู ูส้ อนได้มีส่วนรว่ มในการออกแบบ
การจัดการเรียนรู้ จากการนิเทศ มีผลสรุปการออกแบบการจัดการเรียนรู้นำสู่การปฏบิ ัติว่า ครูมีการ

๕๙

พัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่ดีขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนดีขึ้น มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาเพื่อการเรียนรู้ได้ง่ายและรวดเร็ว
สะดวกต่อการค้นคว้าทุกที่ ทุกเวลา และเข้าใจง่าย การติดตามผล ครู กศน.ส่วนใหญ่ ได้นำส่ือ
เทคโนโลยีมาใช้ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ เปน็ สงิ่ ทีท่ นั สมัย มีการพฒั นาข้ึนจากการจัดกจิ กรรมการ
เรยี นการสอนแบบเดิมเปน็ สิ่งท่นี ่าประทับใจสำหรบั ผูเ้ รียน การเรียนรู้ยงั ตดิ ขดั บ้างเล็กน้อยเนื่องจาก
เป็นวธิ ีการจัดการเรียนรู้ใหม่

๔. การวดั ผลและประเมนิ ผล
ครูผู้สอนกำหนดวิธีการประเมินผลตามที่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งกำหนดใช้วิธีการวัดและประเมินผลในรายวชิ าบังคับและเลอื กบังคบั
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่หลักสูตรกำหนด สำหรับรายวิชาเลือกเสรี กำหนดให้ดำเนินการ
ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ จากการเรยี นรู้ของผู้เรยี นทำใหก้ ารประเมนิ ผลมีความหลากหลายมากขน้ึ

ข้อนิเทศ รายวิชาเลือกเสรี ส่วนหนึ่งใช้การประเมินตามสภาพจริงตามระเบียบและ
ประกาศของสถานศึกษา ว่าด้วยการวัดและประเมินผล ทำให้สถานศึกษาได้พบข้อมูลผลการเรียนรู้
เชงิ ประจักษท์ ่ีแสดงถึงการแสวงหาความรู้ ทักษะการคดิ ทกั ษะการปฏิบัติของผู้เรียนทช่ี ัดเจน ซึ่งหาก
พบข้อบกพร่องของผู้เรียนในทักษะใด สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อ
พฒั นาทกั ษะทีบ่ กพรอ่ งใหก้ บั ผู้เรียนได้

การติดตามผล ผู้เรียนที่เรียนรู้ตามแผนการเรียนรู้รายบุคคลในรายวิชาเลือกเสรี
พบว่า ผู้เรียนสามารถแสดงข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและดำเนินการมาได้อย่างมั่นใจ สามารถแสดง
ให้เห็นถึงความรู้ ทักษะที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ได้ชัดเจน โดยครูผู้สอนมีการนำผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของผู้เรียนมาวิเคราะห์ มาวางแผนแก้ปัญหาและพัฒนาการจัดทำแผนการเรียนรู้ในภาคเรียน
ต่อไป

๕. การสรปุ รายงานผลการดำเนินงาน
สภาพทพี่ บ ครูผูส้ อนสว่ นใหญม่ ีการสรปุ รายงานผลการดำเนินงานเมอื่ สิ้นสุดภาคเรียน

และสถานศึกษามีการนำผลสรุปรายงานของครูผู้สอนมาศึกษา วิเคราะห์ และนำไปกำหนดเป็น
แนวทางในการแกไ้ ข ปรับปรุง และพฒั นา

ข้อนิเทศ ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้น สถานศึกษาไม่สามารถประเมินได้ว่า ผลที่เกิดขึ้น
บรรลุผลการดำเนินงานหรือไม่ หากสถานศึกษาไม่ได้นำผลที่เกิดขึ้นไปศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์
คุณภาพที่สถานศึกษากำหนดไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้นในการวิเคราะห์
เพ่อื นำส่กู ารแก้ไข ปรบั ปรงุ หรอื พัฒนา สถานศกึ ษาควรดำเนินการดังนี้

๑. ทบทวนแผนพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาและเกณฑ์คณุ ภาพ ใหม้ ีความชดั เจน
ครอบคลุมภาระงานและศักยภาพของสถานศึกษาทตี่ ้องดำเนนิ งาน

๖๐

๒. นำผลท่เี กิดข้นึ ไปเปรียบเทยี บกบั เกณฑ์คณุ ภาพ ทกี่ ำหนดไวใ้ นแผนพฒั นาการศึกษา
ซ่งึ สถานศกึ ษาจะสามารถตอบสังคมไดอ้ ยา่ งชัดเจนว่า สิ่งทีเ่ กดิ ขึ้นบรรลุผลตามเกณฑค์ ุณภาพของการ
พฒั นาการศึกษาของสถานศกึ ษาหรือไม่ อย่างไร เพราะอะไร

๖. ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
๖.๑ ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา
๑. สถานศึกษาควรกำกับ ตดิ ตาม และตรวจสอบบันทึกหลงั สอนของครู กศน.ตำบล

อย่างต่อเน่ือง
๒. สถานศึกษาควรมีการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้น เป็นระยะ

อยา่ งต่อเน่อื ง
๓. การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ ควรคำนึงถึงตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) เช่น

อัตราการจบการศึกษา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเฉล่ีย ๒.๐๐ ขึ้นไป และร้อยละการเข้าสอบที่เพ่มิ ขึน้
เป็นตน้

๔. ครคู วรใหผ้ ู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในการออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
๕. สถานศึกษาควรให้ครูผู้สอนสรุปข้อมูลนอกเหนือจากการจัดการเรียนรู้ตามแผน
เช่น การสอดแทรกเร่ืองการรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ คุณธรรม และประชาธิปไตย
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวัด
๑. การจัดทำและจัดหาตัวอย่างแผนการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม ให้
สถานศกึ ษาในสังกดั ได้นำไปศกึ ษาและปรบั ใช้
๒. มกี ารจัดอบรมครูผสู้ อนใหใ้ ชส้ ่อื ในรปู แบบใหม่ๆ และทันสมยั
๗. ผลการปฏิบัติงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice)

-
๘. ภาพกิจกรรม

นเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ภาคเรียนท่ี ๑ /๒๕๖๔ การจัดการศึกษาออนไลน์ กศน.

๖๑

๒. การศึกษาตอ่ เน่อื ง
๑๔. การจดั การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชพี (ศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน)
๑. ความเปน็ มา
การจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และสนองความ

ต้องการของสังคม ทั้งภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และการบริการ ที่มีสถาน
ประกอบการ หรือมีผู้ประกอบการด้วยตนเอง โดยเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญ
อาชีพเฉพาะด้าน ที่เรียนรู้จากสถานการณ์จริงและสถานการณ์จำลอง เพื่อการมีงานทำที่ยั่งยืนให้
สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็ง
ให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง มุ่งเน้นสร้างความสามารถในการแข่งขัน
มกี ารจดั อาชพี เพ่อื ยกระดับทักษะอาชพี ของประชาชนสู่ตลาดฝีมอื แรงงาน การจดั อาชพี เพื่อการมีงาน
ทำที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาดในขณะนั้น มุ่งให้ประชาชน
สามารถนำไปประกอบอาชีพได้จริง โดยเน้นหลักสูตรการศึกษาอาชีพช่างพื้นฐาน และประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพ เช่น การเรียนผ่าน Youtube การเรียนผ่าน
Facebook Live เป็นต้น รวมถึงสนับสนุนให้เกิดระบบการผลิตที่ครบวงจร และอาจใช้พื้นที่ส่วน
ราชการเป็นที่แสดงสินค้าของชุมชน เพื่อสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชน โดยบูรณาการความ
ร่วมมือพัฒนาทักษะของประชาชน ที่ใช้ประโยชนจ์ ากศักยภาพและสภาพสังคมของพื้นท่ี ดำเนินการ
เชิงรุกเพื่อเสริมจุดเด่นในระดบั ภาคในการเป็นฐานการผลติ และการบริการท่สี ำคัญ รวมถึงมงุ่ เนน้ สร้าง
โอกาสในการสร้างรายได้ จากการสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จัดให้มีการรวมกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน การพัฒนาหนึ่งตำบลหนึ่งอาชีพเด่น การประกวดสินค้า ๕ ดีพรีเมี่ยม การสร้าง
แบรนดข์ อง กศน. รวมถึงการสง่ เสรมิ และจัดช่องทางการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ ให้มีการกำกับ
ติดตาม และรายงานผลการจัดอาชีพเพ่ือการมงี านทำอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อ
ความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการบริการ พัฒนากลุ่มอาชพี
พื้นฐานรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เช่น เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic
Corridor : EEC) ได้แก่ จังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา และระยอง ที่สามารถพัฒนาศักยภาพไปสู่ระดับ
ฝีมอื แรงงาน สร้างความม่ันคงใหแ้ ก่ประชาชนและประเทศชาตติ ่อไป

๒. สภาพท่พี บ
๒.๑ สถานศกึ ษามกี ารจัดทำหลกั สตู รทเี่ หมาะสม สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของชมุ ชน
๒.๒ สถานศกึ ษาจดั ทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพจิ ารณาหลักสูตร
๒.๓ เนื้อหาหลักสูตรในแบบสำรวจตรงกบั ความตอ้ งการของคณะกรรมการและวิทยากร

ผู้สอน
๒.๔ หลกั สตู รสอดคลอ้ งกับหลกั การและวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้

๖๒

๒.๕ ชั่วโมงในหลักสูตรเปิดสอนตั้งแต่ ๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป โดยแบ่งเป็นภาคทฤษฎี

ภาคปฏิบตั ิ

๒.๖ ผ้จู ดั ร่วมกับวทิ ยากรจัดสรรเวลาการฝกึ อบรมได้อยา่ งเหมาะสม

๒.๗ วทิ ยากรมีความร้คู วามสามารถตรงตามเนื้อหา

รปู แบบกิจกรรม ๑. พัฒนาอาชพี กลุ่มสนใจ หลักสูตร ๑ – ๓๐ ชัว่ โมง

๒. ชั้นเรียน หลกั สตู ร ๓๑ ชวั่ โมงข้ึนไป

๓. ๑ อำเภอ ๑ อาชพี

รปู แบบการจดั กจิ กรรมเชิงปรมิ าณ

๑ อำเภอ ๑ อาชีพ พัฒนาอาชีพ ไมเ่ กนิ ชั้นเรยี นวิชาชีพ

ที่ อำเภอ ๓๐ ชม. (กลมุ่ ๓๑ ชม.ขึน้ ไป
สนใจ)

แผน ผล แผน ผล แผน ผล

๑ วงั จันทร์ ๘๘ ๑๐๐ ๘๔ ๓๑๖ ๙๖ ๙๖

๓. ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อความสำเรจ็
๓.๑ วิทยากรผู้สอนมคี วามรู้ความสามารถ มเี อกสารรับรองความรู้ มีการแนะนำ

วทิ ยากรสาขาอาชีพต่าง ๆ จากภาคเี ครือข่าย วิทยากรท่เี ป็นภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน หรอื ปราชญ์ชาวบ้าน
ส่วนใหญเ่ ป็นผทู้ ีไ่ ดร้ ับการยอมรบั จากชมุ ชน ท้องถิน่ และหน่วยงานท่เี กยี่ วข้อง มกี ารจัดการเรยี นรู้
ตามแผนทกี่ ำหนด จัดการเรยี นการสอนในแหลง่ เรยี นร้ตู ่าง ๆ เชน่ ศนู ย์เรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
ประจำตำบล แหลง่ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ปราชญช์ าวบา้ น และของภูมิปัญญาท่ีเปน็ วทิ ยากร แต่
สถานศึกษาบางแห่งมิได้ใช้ กศน. ตำบล จดั ตั้งศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน เป็นแหล่งเรยี นรู้ในการฝกึ อาชีพ
ตลอดจนการเผยแพรง่ านอาชีพ เนือ่ งจากข้อจำกัดดา้ นสถานท่ี และบางแห่งเลอื กใชเ้ ป็นสถานท่เี รยี น
เพราะอยู่ใกล้วัสดุและอุปกรณ์ในการฝึกปฏบิ ัติ

๓.๒ การวัดและประเมินผล วิทยากรผู้สอนมีการประเมินผลผู้เรียนด้วยการใช้วิธีการ
สังเกต แบบมีส่วนร่วมจากการฝึกปฏิบัติ และศึกษาผลสำเร็จของชิ้นงาน ในลักษณะการประเมิน
ตามสภาพจริงโดยมีครู กศน.ตำบล เป็นผู้มีส่วนร่วมในการประเมินผลผู้เรียนด้วย รวมทั้งมีการ
ประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมในด้านหลักสูตร เนื้อหา ระยะเวลา การสอนของ
วิทยากร ความรู้ความเข้าใจ และการนำไปใช้ พร้อมนำผลการประเมินการเรียนบันทึกลงในแบบ
รายงานตามทส่ี ถานศึกษากำหนด ซ่งึ เปน็ เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณดว้ ย ส่วนใหญ่
การวัดและประเมินผลยังไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอย่างเป็นระบบ สถานศึกษามีการ

๖๓

อนุมัติการจบหลักสูตร และบางแห่งมีการมอบใบประกาศนียบัตรให้แก่ ผู้จบหลักสูตร มีเอกสาร
สรปุ ผล และการรายงานผลการดำเนินงาน หลังจากเสร็จสิ้นการจดั กิจกรรม

๔. ปญั หาอุปสรรค
๔.๑ โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน สถานศึกษาส่วนใหญ่ขาดการวางแผนและการ

ดำเนนิ งานศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชนตามภารกิจหลกั ทส่ี ำนักงาน กศน. กำหนดอย่างเป็นระบบ
๔.๒ สถานศึกษากำหนดชว่ั โมงการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้สั้น มผี ลใหก้ ารกำหนดเน้อื หา

เพื่อการเรียนรู้ไม่ครบองคป์ ระกอบของความรเู้ ทา่ ท่ีควร ซ่งึ จะสง่ ผลกระทบต่อการนำความรไู้ ปใชใ้ น
การประกอบอาชพี ได้

๔.๓ ครู กศน.ตำบล ส่วนใหญ่ขาดการติดตามผู้จบหลักสูตร ในการนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

๕. ข้อนเิ ทศตอ่ ผ้รู ับการนิเทศ
๕.๑ ควรทบทวนเป้าหมายผลการนำความรู้ไปใชข้ องผเู้ รยี น ตามท่ีกำหนดไว้ใน

แผนพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เพอื่ สง่ เสริมให้การประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
เป็นไปอยา่ งเปน็ ระบบและแสดงถึงคุณภาพการจัดการเรยี นรู้

๕.๒ ควรจดั ระบบและควบคุมการจดั การศึกษา ให้มีการประเมินคุณภาพตาม
องคป์ ระกอบของการจัดการศึกษา และแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ ไดแ้ ก่
๑) การประเมินความรูค้ วามเขา้ ใจตามวตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร ๒) การประเมินทกั ษะตาม
วัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร ๓) การประเมนิ คุณภาพหลักสตู ร ๔) การประเมนิ คุณภาพกระบวนการ
จัดการเรยี นรู้ ๕) การประเมินคุณภาพวทิ ยากร ๖) การประเมนิ คุณภาพสื่อ และ ๗) การประเมิน
ความพึงพอใจ พร้อมให้มีการรายงานผล รวมทง้ั นำผลจากการประเมนิ ไปรว่ มพิจารณาพัฒนา
ปรบั ปรงุ อยา่ งเป็นระบบ

๕.๓ ควรจัดระบบและควบคุมการตดิ ตามผเู้ รยี นหลังจบการศึกษาตามหลกั สูตรไปแล้ว ๑
เดือน เพื่อตดิ ตามว่าผเู้ รียนนำความรู้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพหรอื ไม่ เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพ และ
คณุ ลกั ษณะท่กี ำหนดไว้ในแผนพฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษาหรอื ไม่ อยา่ งไร

สรปุ จากการนเิ ทศ พบวา่ ผูจ้ บการศึกษาสว่ นใหญย่ ังไมส่ ามารถนำความรไู้ ปใชเ้ พื่อการ
ประกอบอาชีพหรือการพัฒนาอาชีพได้อย่างแท้จรงิ สว่ นใหญม่ ีการนำความร้ไู ปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
ซึง่ ยงั ไมส่ อดคล้องกบั จดุ มุ่งหมายการจัดการศึกษาศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชนทกี่ ำหนดโดยตรง ทงั้ นอี้ าจเป็น
เพราะระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรยี นร้สู ั้นเกนิ ไปและบางคร้ังจัดไม่ตอ่ เนื่อง ทำให้การจดั เนอ้ื หา
การเรยี นรู้ ไม่สามารถจดั เนื้อหาได้ครบถว้ นตามองค์ประกอบของความรู้ที่จะสามารถนำไปใชใ้ นการ
ประกอบอาชีพได้

๖๔

๖. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
๖.๑ ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศึกษา
จดั ทำทำเนยี บหลักสูตรการศึกษาตอ่ เน่อื ง (ศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน)
๖.๒ ข้อเสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวัด
๑) ควรขอเพิ่มค่าวัสดุฝึกรายหัวให้เหมาะสมกับหลักสูตรในบางวิชา เนื่องจากมี

ผสู้ มัครเรยี นเปน็ จำนวนมากทำให้ค่าวสั ดุไม่เพียงพอ
๒) ควรขอสนับสนุนงบประมาณ เพื่อจัดสรรเพิ่มค่าวัสดุเป็นรายหัวตามจำนวนของ

ผเู้ รยี น หากจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มมจี ำนวนมาก จะไดม้ ีงบประมาณเพียงพอ
๓) ควรมีนโยบายและงบประมาณในการพัฒนา อบรมวิทยากร กศน.ให้มีคุณภาพ

ทั้งในด้านการเขียนแผน จัดกิจกรรม การสาธิตการสอน การใช้สื่อเทคโนโลยี และการส่งเสริมด้าน
การตลาด ฯลฯ

๔) ควรมีช่องทางในการประชาสัมพันธ์ ส่งเสริม และสนับสนุนศูนย์กลางการ
จำหน่าย/จดั แสดงผลติ ภณั ฑ์สินคา้ ของชมุ ชน ในสว่ นกลาง เพ่อื ชว่ ยสง่ ต่อสนิ คา้ ให้ถึงมือผู้บริโภคกลุ่ม
ใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ชุมชนได้มีโอกาสเข้าไปเสนอขายสินค้าของตนเองได้ปริมาณมาก
ข้นึ อยา่ งท่ัวถงึ

๖.๓ ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.
๑) ควรให้มีการนำเสนอผลงาน การประกวดผลงานและผลิตภัณฑ์ ตลอดจนควรมี

การมอบใบประกาศเกียรติคณุ สำหรับผู้ท่ีมีผลงานดเี ด่น
๒) ควรรวบรวมรา้ นค้าออนไลน์สินค้าแต่ละประเภท เพือ่ การจดั ทำฐานขอ้ มูลและเพิ่ม

ช่องทางในการประชาสัมพันธ์
๗. ผลการปฏิบัตงิ านทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice)
-
๘. ภาพกจิ กรรม

หลกั สตู รชา่ งประปา หลกั สตู รการสานตะกรา้ เชือกมัดฟางทรงอเนกประสงค์

ระหวา่ งวนั ที่ 16-24 มนี าคม 2564 (1 อำเภอ อาชีพ) ระหว่างวันท่ี 21-30 มิถนุ ายน 2564

ณ กศน.ตำบลชุมแสง อำเภอวังจนั ทร์ จงั หวัดระยอง ณ กศน.อำเภอวังจนั ทร์ จงั หวดั ระยอง

๖๕

๑๕. การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชมุ ชน
๑. ความเป็นมา
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนของสถานศึกษาได้นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ

ชุมชนมาวางแผนจัดกิจกรรมการศึกษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชุมชน โดยการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและ
ชุมชนนั้น เป็นการศึกษาที่บูรณาการความรู้และทักษะจากการศึกษาที่ผู้เรียนมีความรู้อยู่หรือได้รับ
จากการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบ รวมทั้ง นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม
และชุมชนอยา่ งย่ังยืน โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งที่มีหลากหลายรูปแบบ และใช้ชุมชน
เป็นฐานในการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชน โดยให้ประชาชนในชุมชนร่วมกันรับผิดชอบ และ
เห็นถึงความสำคัญในการฟื้นฟู พัฒนาสังคม และชุมชนของตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับ นโยบายและ
จุดเน้นของ กศน. ได้แก่ พันธกิจ ข้อที่ ๑ จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั ทม่ี คี ณุ ภาพ สอดคล้อง กับความเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม พฒั นาสมรรถนะทักษะ
การเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสม ให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวใน
การดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม และเป้าประสงค์ข้อ ๓. ประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้
และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู้ ช่องทางการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ
ต่าง ๆ และยังมีกิจกรรมที่หลากหลายน่าสนใจ สนองต่อความต้องการของชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพ
การเรียนรขู้ องประชาชน โดยการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชนสง่ เสริมให้ประชาชนเกดิ การเรียนรู้
มีการบูรณาการความรู้ ประสบการณ์ และทักษะอาชีพให้เกิดประโยชนต์ ่อการพัฒนาสังคมและชุมชน
โดยรวม ทำให้เกิดสังคมแห่งการเรยี นรูน้ ำสู่สังคมที่เข้มแขง็ มีความเอื้ออาทรต่อกัน และพึ่งพาตนเอง
ได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เน้นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคม
และชุมชน ด้าน คือ สังคม การเมือง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถนําความรู้ไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวันรวมถึงการแก้ปญั หาและพฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้อยา่ งสร้างสรรค์

๒. สภาพที่พบ
จากการนิเทศการจัดกิจกรรมของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

อำเภอวังจันทร์ พบว่า สถานศึกษามีการจัดโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดย
สถานศึกษาได้สำรวจความต้องการในการเรียนรู้ของชุมชน วิเคราะห์บริบทชุมชน และข้อมูลที่
เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดเน้ือหา หลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และบริบท
ของแต่ละชุมชน โดยหลักสูตรมีการพัฒนาให้มีเนื้อหาทันสมัย ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน นอกจากน้ี
สถานศึกษาได้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีตามนโยบาย และแผนการจัดกิจกรรมการศึกษา
ต่อเนื่องที่มีเป้าหมายชัดเจน ซึ่งการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาได้มีการประสานบุคคลที่มีความรู้
ความสามารถเฉพาะเรื่องมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ แต่ทั้งนี้ วิทยากรที่มาให้ความรู้นั้น ส่วนใหญ่

๖๖

สถานศึกษายังไม่ได้มีการพัฒนาวิทยากรให้มีความรู้ความเข้าใจในการออกแบบกระบวนการ และ
วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้ใหญ่ รวมทั้งปรัชญาคิดเป็น ที่ใช้ข้อมูล
ดา้ นตนเอง สังคม และวชิ าการมาประกอบตดั สินใจในการเรียนรู้ ซ่งึ กิจกรรมที่สถานศึกษาดำเนินการ
จัด ได้แก่ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย ปลอดภัยจากโรคระบาดในปัจจุบัน โครงการส่งเสริม
สุขภาพอนามัย ห่างไกล โควิด๑๙ และโครงการอบรมการทำนำ้ ยาอเนกประสงคเ์ พื่อสรา้ งอาชีพ เมื่อ
จดั กิจกรรมเป็นท่เี รยี บรอ้ ยสถานศึกษาได้มีการกำกับและติดตาม แล้วนำผลไปรายงานในระบบ DMIS
ตามระบบของสำนักงาน กศน.

๓. ข้อนิเทศตอ่ ผรู้ ับการนิเทศ
๓.๑ การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน เป็นการจัดการเรียนรู้ทีเ่ นน้ กระบวนการการ

มีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ ดงั นนั้ ในการดำเนินการจัดการเรยี นรู้ ควรสง่ เสรมิ ให้ประชาชน ชมุ ชนร่วมกัน
รับผิดชอบ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ บูรณาการความรู้ ประสบการณ์ และทักษะการ
แก้ปัญหา ที่ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชนของตนเอง สู่การพัฒนาสังคมให้มีความ
เข้มแขง็ และเปน็ สงั คมแห่งการเรียนรู้

๓.๒ เมื่อสิ้นสุดการเรียนรู้แล้ว ให้มีระยะเวลาในการติดตามผลหลังสิ้นสุดการอบรม
ประมาณ ๑ - ๒ เดือน เพื่อติดตามว่ากลุ่มเป้าหมายมีการนําความรู้ไปใช้ และมีการพัฒนาความรู้
อย่างไร เพือ่ แสดง ใหเ้ ห็นถงึ คุณภาพและผลสัมฤทธท์ิ เ่ี กดิ จากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

๓.๓ สถานศึกษา ควรนําผลการประเมนิ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ มาวเิ คราะหผ์ ลว่าผล
ของการประเมินแต่ละด้าน และประเด็นย่อยใดในแต่ละด้าน ดีหรือควรปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ
และคณุ ภาพ ยิง่ ขึน้ ต่อไป

๔. ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลต่อความสำเร็จ
๔.๑ สถานศึกษามีการสำรวจความต้องการในการเรียนรู้ของชุมชน วิเคราะห์บริบท

ชุมชนข้อมูลที่เกี่ยวข้องและเหตุการณ์ในปัจจุบัน เพื่อกำหนดเนื้อหา และจัดทำหลักสูตรในการจัด
กจิ กรรม

๔.๒ ผู้บริหารให้การสง่ เสรมิ และสนบั สนุนในการจัดโครงการการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสังคม
และชุมชนใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของสำนักงาน กศน.จงั หวัดระยอง

๔.๓ กลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญในการพัฒนาสังคมและชุมชนของตนเอง จึงมีส่วน
ร่วมในการออกแบบกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม

๔.๔ ภาคีเครอื ขา่ ยเห็นความสำคัญในการจัดกิจกรรม จึงให้การสนับสนุน และมีส่วนร่วม
ในการจดั กจิ กรรม

๔.๕ ครู กศน. เปน็ ผ้มู คี วามสามารถในการประสานวทิ ยากรในการจัดกระบวนการเรยี นรู้

๖๗

๕. ปญั หาอุปสรรค
๕.๑ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสติตเชื้อ COVID-๑๙ ทำให้ต้องเลื่อน

การจัดกิจกรรม ปรับเปลี่ยนสถานที่จัดกิจกรรม และปรับเปล่ียนรปู แบบการจัดกิจกรม เพื่อให้เปน็ ไป
ตามมาตรการเฝ้าระวังและการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสติตเชื้อ COVID-๑๙ จึงทำให้
เกิดผลกระทบตอ่ กระบวนการจดั กจิ กรรม

๔.๒ สถานศึกษาขาดการติดตามผลการนำความรู้ไปใช้ในในการดำรงชีวิต การพัฒนา
สงั คม หรือการพัฒนาชมุ ชน

๔.๓ วิทยากรขาดทักษะในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้ใหญ่ และการบูรณาการหลัก
ปรัชญาคิดเป็นในการจดั กิจกรรม

๖. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
๖.๑ ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นาสำหรับสถานศึกษา
๑. สถานศึกษาควรมีการจัดอบรมวิทยากร ในเรื่องเทคนิคการสอน และจิตวิทยา

การเรียนรผู้ ู้ใหญ่
๒. สถานศึกษาควรมีนโยบายให้ ครู กศน.ตำบล ติดตามผลหลังสิ้นสุดการจัด

กิจกรรมการเรยี น ว่ามีการนำความรูไ้ ปใชห้ รอื ไม่ และเกิดประโยชน์ตอ่ สงั คมหรอื ชมุ ชนอยา่ งไร
๖.๒ ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนาสำหรบั สำนกั งาน กศน. จังหวดั

ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดทำคลิปสื่อการเรียนการสอน ที่สามารถนำไปปรับใช้ในการจัด
กิจกรรมให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น

๖.๓ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนาสำหรับ สำนกั งาน กศน.
การจัดทำคลิปตัวอย่างหลักสูตร โครงการเกี่ยวกับกิจกรรมพัฒนาสังคมที่ดี

มีประโยชน์ และสามารถนำไปปรบั ใชไ้ ด้ในสถานการณ์ปจั จุบนั
๖. Best Practice
-
๗. ภาพกจิ กรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย ปลอดภัยจากโรคระบาดในปัจจุบัน จัดในวันที่ ๒๖

มนี าคม ๒๕๖๔ ณ ศาลาอเนกประสงค์บา้ นเขาตาอ๋นิ ตำบลชมุ แสง อำเภอวังจันทร์ จงั หวดั ระยอง

๖๘

โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย ห่างไกล โควิด ๑๙ จัดในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๔ ณ
หอประชมุ อำเภอวงั จนั ทร์ ตำบลชุมแสง อำเภอวงั จนั ทร์ จังหวัดระยอง

โครงการอบรมการทำน้ำยาอเนกประสงค์เพื่อสร้างอาชีพ(รูปแบบออนไลน์) จัดในวันท่ี
๓ กันยายน ๒๕๖๔ ณ กศน.อำเภอวงั จนั ทร์ ตำบลชมุ แสง อำเภอวังจนั ทร์ จงั หวัดระยอง

๖๙

๑๖. การจดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ติ
๑. ความเป็นมา
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนให้มี

ความรู้ เจตคติ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบันได้อย่างมีความสุข
การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความรู้ความสามารถ
ของบุคคล เพื่อให้สามารถจัดการกับตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความสุขและความสงบสุขตาม
สภาพความปลอดภัยในสังคม ดังนั้นสถานศึกษาจึงได้ร่วมกับชุมชนจัดเวทีประชาชาคมสำรวจสภาพ
ปัญหาและความต้องการ แล้วจัดลำดับความสำคัญ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตเป็นรูปแบบ
กิจกรรมหนึ่งของ กศน. ที่เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความรู้ความสามารถของ
บคุ คล เพอ่ื ให้สามารถจดั การกับตนเองและส่ิงแวดล้อม เพื่อให้มีความสุขและความสงบสขุ ตามสภาพ
ความปลอดภัยในสังคม โดยการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้
ความสำคัญกับการพัฒนาคนทุกช่วงวัย และเตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี การจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
เปน็ การใชก้ ระบวนการเรยี นร้แู บบมีสว่ นรว่ ม โดยให้กล่มุ เป้าหมายไดฝ้ กึ คิด วิเคราะห์ ปฏบิ ัติ และการ
แก้ปัญหา เมื่อกลุ่มเป้าหมายผ่านกระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวแล้ว จะสามารถพัฒนาทักษะชีวิตของ
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คมไดต้ อ่ ไป
โดยจดั กิจกรรมท่มี เี นือ้ หาสำคญั ต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรูเ้ พื่อการปอ้ งการการแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) การอบรมพัฒนาสขุ ภาพกายและสุขภาพจิต
การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้าง
คา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวติ และทรัพยส์ นิ ผา่ นการอบรมเรียนรู้ในรปู แบบตา่ ง ๆ อาทิ
ค่ายพัฒนาทักษะชีวติ การจัดตั้งชมรม/ชมุ นุม การอบรมสง่ เสรมิ ความสามารถพิเศษต่าง ๆ เปน็ ต้น

การจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชวี ิต เน้นการจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิตพื้นฐานท่ี
จำเปน็ ๔ ด้าน คือ

๑. ดา้ นสขุ ภาพอนามยั และการปอ้ งกันโรคภยั
๒. ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การบรรเทาและป้องกันสาธารณภัยรวมทั้ง การ
รกั ษาความสงบเรียบร้อยในชมุ ชน การจราจร
๓. ด้านการอนรุ กั ษ์ ทำนบุ ำรุงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
๔. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์

๗๐

๒. สภาพท่พี บ
สถานศึกษามีการสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย วางแผนการจัดกิจกรรม

พัฒนาหลักสูตร ทั้งนี้กิจกรรมส่วนใหญ่เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ
การจัดการเรียนรู้ มกี ารจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ จัดหาวทิ ยากรท่ีมีความรู้ความสามารถ และใช้
เทคโนโลยีการถา่ ยทอดท่ีเหมาะสม โดยสว่ นใหญส่ ถานศกึ ษาเปน็ ผูจ้ ัดกิจกรรมการเรียนรเู้ อง

การดำเนินการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของสถานศึกษา มีการดำเนินการตาม
นโยบาย ๔ ข้อ คือ

๑. ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินได้แก่ การป้องกันอัคคีภัยเบื้องต้น การขับข่ี
ปลอดภัย กฎหมายเกยี่ วกับ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ การปอ้ งกนั และแก้ปญั หายาเสพตดิ เพศศกึ ษา

๒. ด้านสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคภัย ได้แก่ การส่งเสริมคุณภาพ การเตรียม
ความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ การเต้นและการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ การปฐม
พยาบาล อาหารเพือ่ สุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

๓. ด้านการอนุรักษ์ ทำนุบำรุงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ มัคคุเทศก์
ท้องถิ่น การอนุรักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการจัดการขยะชุมชน

๔. ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ การส่งเสริม
ประชาธปิ ไตย

การจัดการเรยี นรู้ตามหลักสูตร สถานศกึ ษาสว่ นใหญ่กำหนดใหม้ ีการวัดและประเมินผลอย่าง
เป็นระบบ ได้แก่ การประเมินผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์หลักสูตร ทั้งนี้ผลการประเมินด้าน
หลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ของวิทยากร และการประเมินความพึงพอใจ มีผลของการ
ประเมนิ เฉลย่ี อยใู่ นระดบั มากขึ้นทุกด้าน เมอ่ื สิ้นสดุ การดำเนินงานจดั การเรียนรู้ ผูร้ บั ผิดชอบสว่ นใหญ่
จัดทำรายงานผลการจดั การศึกษาตามวงจรคุณภาพ (P D C A) สำหรบั ผลจากการดำเนินงาน พบว่า
กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของสถานศึกษา แต่สถานศึกษา
ขาดการตดิ ตามผลการนำความรู้ไปใช้อย่างเปน็ ระบบ

๓. ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อความสำเร็จ
๓.๑ สถานศึกษามีการสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย นำมาจัดทำแผนการจัด

กจิ กรรม
๓.๒ สถานศึกษามีหลักสูตรที่หลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของ

กลุ่มเป้าหมายการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการประสานวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถตามเนื้อหา
ในการจัดการเรียนรู้

๗๑

๔. ปญั หาอุปสรรค
๔.๑ สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ักษะชีวิต ไม่ครอบคลุมทุกกลุม่ เป้าหมายภายใน

ชุมชน
๔.๒ สถานศึกษาขาดกลไกในการส่งเสริม สนับสนุน ให้ภาคีเครือข่ายจัดหรือร่วมจัด

กจิ กรรมการเรียนร้ทู ักษะชวี ิต
๔.๓ วิทยากรขาดเทคนิคการสอน และการนำหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ผู้ใหญ่มาใช้ในการ

สอน

๕. ขอ้ นิเทศต่อผ้รู ับการนเิ ทศ
๕.๑ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นกระบวนการการมี

ส่วนร่วม ในการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ควรเน้นให้กลุ่มเป้าหมายได้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตามท่ี
กำหนด ได้แก่ การฝึกคิด วิเคราะห์ ปฏิบัติ และการแก้ปัญหา เพื่อให้เป็นลักษณะนิสัย นำไปสู่การ
พฒั นาทกั ษะชีวิตของตนเอง
ครอบครวั ชมุ ชน และสังคมได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

๕.๒ เมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนรู้แล้ว ควรมีการติดตามผลการนำความรู้ไปใช้ในการ
ดำรงชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายทีเ่ ข้ารับการศึกษาในเนือ้ หาทีส่ อดคล้องกับการ
ดำรงชีวติ เชน่ การเตรยี มความพร้อมสู่วยั ผูส้ ูงอายุ การเตน้ และการออกกำลังกายเพ่ือสุขภาพสำหรับ
ผู้สูงอายุ และส่งเสริมด้านโภชนาการสุขภาพสำหรับผสู้ งู อายุ เพื่อติดตามว่ากลุ่มเป้าหมายได้มีการนำ
ความรู้ไปใชห้ รอื ไม่ อยา่ งไร

๕.๓ สถานศึกษาควรนำผลการประเมินมาวิเคราะห์ว่า ผลการประเมินแต่ละด้าน และ
ประเดน็ วา่ ดหี รอื ควรปรบั ปรุงให้มคี ณุ ภาพยง่ิ ขึ้นตอ่ ไป

๕.๔ สถานศึกษาควรกำหนดและเน้นยำ้ ใหผ้ รู้ บั ผิดชอบตดิ ตามผลการนำความรู้ไปใช้ โดย
ให้มีระยะเวลาในการติดตามผลหลังสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้วประมาณ ๑ เดือน เพ่ือ
ตดิ ตามวา่ กลมุ่ เปา้ หมายมกี ารนำความรูไ้ ปใช้และ/หรอื มีการพัฒนาความรอู้ ย่างไร

๖. ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา
๖.๑ ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา
๑) สถานศึกษาควรวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะชีวิต ให้ครอบคลุมทุก

กล่มุ เป้าหมายภายในชมุ ชน
๒) สถานศึกษาควรสร้างกลไกในการส่งเสริม สนับสนุน ให้ภาคีเครือข่ายจัดหรือ

รว่ มจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
๓) สถานศึกษาควรให้ครู กศน.ตำบล ติดตามผลหลังสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้แล้วประมาณ ๑ เดือน ว่าผู้เรียนได้นำความรู้ไปใช้หรือไม่ และเกิดประโยชน์อย่างไร

๗๒

๔) สถานศึกษาควรจัดอบรมวิทยากรให้มีความรู้ด้านจัดการเรียนรู้ทักษะชีวิต
เนน้ เรอื่ งเทคนคิ การสอน จิตวิทยาการเรียนรู้ผู้ใหญ่

๖.๒ ขอ้ เสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จงั หวัด
ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดทำคลิปสื่อการเรียนการสอน ที่สามารถนำไปปรับใช้ใน

การจัดกจิ กรรมใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น
๖.๓ ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.
๑) การจัดทำคลิปตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะชีวิต ที่มีประโยชน์ และสามารถ

นำไปปรบั ใชไ้ ดใ้ นสถานการณ์ปจั จุบนั
๒) ควรสนับสนุนงบประมาณให้เพยี งพอ เพ่อื การบริหารจัดการกระบวนการเรียนรู้

๗. ผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice)
-

๘. ภาพกิจกรรม

โครงการบรหิ ารจัดการขยะในชมุ ชน วันที่ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๔
ณ หอประชมุ อำเภอวงั จันทร์ จังหวัดระยอง

โครงการการดูแลตัวเองในช่วงโควิดและส่งเสริมการปลูกพชื สมนุ ไพรตา้ นภัยโควิด
วนั ท่ี ๒๖ มิถนุ ายน ๒๕๖๔ ณ วัดคลองไผ่ ตำบลชุมแสง อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง

๗๓

๑๗. การจดั การศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่
๑. ความเปน็ มา
การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ

๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ส่วนของยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ดา้ นความม่ันคง ขอ้ ๑.๑ พัฒนาและเสรมิ สร้าง
ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนำและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถงึ แนวทางพระราชดำริตา่ งๆ สำหรบั กศน. มนี โยบายด้านพนั ธกจิ ข้อ ๑
จัดกิจกรรม กศน.ที่มีคุณภาพ ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและความ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้
ของประชาชนกลมุ่ เป้าหมาย ด้านจดุ เนน้ การดำเนนิ งานประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ข้อ ๑ น้อมนำ
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ข้อ ๑.๑ สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและ
พัฒนาศนู ย์สาธิตและเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพอ่ื เปน็ แนวทางในการจดั การบรหิ ารทรัพยากร
รูปแบบต่างๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ต่างๆ และส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนอย่างมี
ประสิทธิภาพ และด้านภารกิจต่อเนื่อง ข้อ ๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง ข้อย่อยที่ ๔) การจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงผา่ นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวติ ในรูปแบบต่างๆ
ให้กับประชาชนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการความ
เสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน โดยมุ่งหวังให้ประชาชน
ไดร้ ับการยกระดับการศึกษา เพ่ือพฒั นาไปสู่ความมนั่ คงและย่ังยืนทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดี
อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยยุทธศาสตร์
นโยบายและจุดเน้นการดำเนินการเหล่านี้ นำมาซึ่งการลงนามความรว่ มมือกับกองอำนวยการรกั ษา
ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ซึ่งมีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจำตำบลใน กศน.ตำบลทกุ แห่ง มภี ารกจิ ที่สำคัญคือ เปน็ ศูนยก์ ลาง
การจัดการเรียนรู้ รวบรวม ขยายผล เชื่อมโยง สร้างเครือข่าย และเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ ซ่งึ เปน็ การเรียนรตู้ ามรอยพระยุคลบาทตามแนว
พระราชดำรแิ ละหลกั การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่ี ๙)
โดยบูรณาการการทำงานและประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการ
พฒั นาสังคมและชุมชนอยา่ งตอ่ เน่อื ง มีความเข้มแข็งและย่งั ยนื

๗๔

๒. สภาพที่พบ
๑. กศน.อำเภอวังจันทร์ มีการดำเนินงานตามกรอบการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงและโคก หนองนา โมเดล เกษตรทฤษฎีใหม่ ตามที่สำนักงาน กศน.กำหนด โดยแบ่ง
ออกเปน็ ๒ รปู แบบ ไดแ้ ก่

๑.๑ จัดตั้งและพัฒนาศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ณ กศน. ตำบล

๑.๒ จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ณ แหล่ง
เรยี นรู้ภายในชุมชน

๒. วางแผนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.อำเภอวังจันทร์ วางแผนกำหนดขอบข่าย
เน้ือหาในการจดั กิจกรรมการเรียนรสู้ รปุ ไดด้ ังน้ี

๒.๑ ด้านการดำรงชวี ติ ได้แก่ การเรียนรเู้ ก่ียวกับศาสตร์พระราชา การดำเนินชีวิตตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงาน และพระบรมราโชบาย ของรัชกาลที่ ๙ และ
รชั กาลที่ ๑๐

๒.๒ ด้านการประกอบอาชีพ มุ่งเน้นงานอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกผักเกษตร
อินทรีย์ การปลูกพืชสมุนไพรต้านภัยโควิด ๑๙ การปลูกผักปลอดสารพิษ การปลูกผักสวนครัว การ
ปลูกพืชผักร้วั กนิ ได้ และการเพาะเห็ด ฯลฯ รวมทัง้ เกษตรทฤษฎีใหม่

๒.๓ ด้านสงั คมและชมุ ชน ได้แก่ หลักการเกษตรอนิ ทรีย์ การท่องเทย่ี ววถิ ชี มุ ชน
๒.๔ ดา้ นสถานศึกษา ที่ผ่านการประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพียง ได้ตอ่ ยอดเขา้ รับการประเมิน
ใหเ้ ป็นศูนยเ์ รยี นรู้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่

๒.๕ ด้านบุคลากร ได้แก่ ครูผู้สอนพร้อมจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร
โครงการ และกจิ กรรม เพอ่ื จดั การเรยี นรูท้ ี่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของประชาชนและตลาดผลผลิต
โดยสถานศึกษามีการประชุม อบรม และพฒั นาเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ให้แกว่ ิทยากรตามเน้ือหาของ
หลกั สูตร

๒.๖ ด้านการประสานงานภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้าน และครูผู้สอนมีการวางแผน
ร่วมกับชุมชนดำเนินการจัดกิจกรรมของศูนย์เรียนรูป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ประจำตำบล และบันทึกข้อมูลแผนการดำเนินงานและผลการดำเนินงานในระบบฐานข้อมูลเพื่อการ
บรหิ ารจดั การ (DMIS๖๔)

๒.๗ เนื้อหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เนื้อหามีความสอดคล้องกับสภาพบริบทในแต่
ละพื้นที่ โดยสถานศกึ ษาส่วนใหญ่ใชห้ ลักสูตรทสี่ ถานศกึ ษานำมาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ สถานศกึ ษาบาง
แห่ง มีการนำหลักสูตรของสำนักงาน กศน. มาบูรณาการการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของประชาชนและบริบทของแต่ละพื้นที่

๗๕

๒.๘ การดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สถานศึกษาทุกแห่งมีการดำเนินการจัด

กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามขอบข่ายเนอื้ หา การทำบัญชคี รวั เรอื น การปลกู ผักเกษตรอินทรีย์ การปลูกพืช

สมุนไพรต้านภัยโควิด ๑๙ การปลูกผักปลอดสารพิษ การปลูกผักสวนครัว การปลูกพืชผักร้ั วกินได้

และการเพาะเห็ด หลักการนิเวศเกษตรทฤษฎีใหม่ศาสตร์พระราชา และการดำเนินชีวิตตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น โดยแต่ละศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ

เกษตรทฤษฎใี หม่ สามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้มคี วามสอดคลอ้ งกับสภาพบรบิ ทในแตล่ ะพนื้ ที่

๒.๙ ด้านการจัดทำระบบฐานข้อมูล ผู้จัดกิจกรรมมีการวางแผน ประสานงานภูมิ

ปัญญาและปราชญ์ชาวบ้าน ร่วมกับชุมชนเพื่อจัดกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล และบันทึกข้อมูลแผนการดำเนินงานและผลการ

ดำเนินงานในระบบฐานข้อมูลเพ่อื การบริหารจดั การ (DMIS๖๔)

๒.๑๐ ด้านผลการดำเนินงาน กศน.อำเภอวังจันทร์ ยังไม่สะท้อนผลการดำเนินงานใน

ลักษณะการดำเนินงานท่ีมุง่ ผลสมั ฤทธ์ิ เพราะขาดการประเมินผลและติดตามผลอย่างเป็นระบบ การ

นำความรู้ไปใช้ เพอ่ื แสดงผลลพั ธ์ท่เี กดิ ข้ึนจากการดำเนนิ การจดั การเรยี นรู้

๒.๑๑ ด้านการขยายผล มีการขยายแนวทางการดำเนินงานในศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ร่วมกับกองอำนวยการรักษาความมนั่ คงภายในราชอาณาจักร

(กอ.รมน.) จดั สัมมนา “ภูมปิ ัญญาและปราชญ์ชุมชนเพ่อื ความมั่นคง” ในแตล่ ะพื้นที่

เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กำหนดแนวคิด แนวทางนำสู่การขับเคลื่อนการดำเนินงานในระยะต่อไป

และบันทึกข้อมูลแผนการดำเนินงานและผลการดำเนินงานในระบบฐานข้อมูลเพื่อกา รบริหารจัดการ

(DMIS๖๔)

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ผลการจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน ๓ โครงการ เป้าหมายจำนวน ๕๖ คน ผู้เรียนและผู้

จบจำนวน ๑๐๙ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ ดงั นี้

๑. โครงการปลูกพืชผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพเกษตรอินทรีย์ วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔

ณ สวนเจ้เปียก หมู่ ๑ บ้านวังจันทน์ ตำบลวังจันทร์ อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ผู้จบจำนวน ๒๘

คน

๒. โครงการศึกษาเรียนรู้โคก หนอง นาโมเดล และการปลูกพืชต้านโควิด ๑๙ หลักสูตร ๕

ชั่วโมงวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๔ ณ ศูนย์เรยี นรู้เกษตรพอเพียง วิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ด และเกษตร

ผสมผสาน หมู่ ๑ ตำบลชมุ แสง อำเภอวงั จนั ทร์ จังหวัดระยอง ผจู้ บจำนวน ๑๕ คน

๓. โครงการศึกษาเรียนรู้โคกหนองนาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

(รูปแบบออนไลน์)วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๔ณ กศน.อำเภอวังจันทร์ ตำบลชุมแสง อำเภอวังจันทร์

จงั หวัดระยอง จบจำนวน ๕๐ คน

๗๖

๓. ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อความสำเร็จ
๓.๑ บุคลากรมีการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างดี

สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์ให้ประชาชนได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๓.๒ บุคลากรทั้งภาครัฐและเอกชาน ตลอดจนคนในชุมชนที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการ

จดั กจิ กรรม
๓.๓ ประชาชน ประมาณร้อยละ ๘๐ มจี ติ สำนึกท่ีดแี ละเห็นความสำคัญในการปฏิบัติตน

ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓.๔ ปราชญ์ชาวบ้านมีองค์ความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถ

ถา่ ยทอดความรู้นำไปสู่การปฏิบัติจริง เปน็ แบบอย่างในการดำเนินชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

๓.๕ การบูรณาการการทำงานร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น กองอำนวยการรักษา
ความม่นั คงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) เกษตร พัฒนาชุมชน ภมู ปิ ญั ญา และปราชญ์ชาวบ้าน
จดั กิจกรรมเพ่ือ
ความม่ันคงและย่ังยนื เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกบั นโยบายไทยนยิ มยัง่ ยนื

๓.๖ ระบบสารสนเทศ ซึ่งมีทำเนียบภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและ
เกษตรทฤษฎีใหม่ ฯลฯ สำหรับให้บริการประชาชนสืบค้น เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดความ
สะดวก รวดเร็ว สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ลดต้นทุนในการผลิต สามารถ
พึง่ พาตนเองได้อย่างย่งั ยนื

๓.๗ ประชากรบางส่วนประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลสู่ความสำเร็จ
ของการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่

๔. ปัญหาอุปสรรค
๔.๑ ภูมิปัญญาและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ

เกษตรทฤษฎีใหมท่ ่เี กดิ ขน้ึ ในชุมชน บางสว่ นยังขาดการจดั การความรู้อย่างเป็นระบบ
๔.๒ ครูผู้สอนบางคนขาดความตระหนักในการขับเคลื่อน และน้อมนำหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ไปใช้ในวิถชี ีวิต ได้น้อยกว่าเท่าท่ีควรเนื่องจากมีภารกิจความ
จำเปน็ ต้องประกอบอาชีพ

๔.๓ ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ สว่ นใหญข่ าดการติดตามผลการนำไปใช้หลังจากการจัดอบรม
อย่างเป็นระบบ

๕. ขอ้ นิเทศต่อผรู้ บั การนิเทศ
๕.๑ สถานศึกษาควรมีการจัดทำแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษาด้านการดำเนินงานของ

ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ เพราะจะทำให้ผู้จัดกิจกรรมของ

๗๗

สถานศึกษาทราบเป้าหมายการดำเนินงาน มีแนวทางในการจัดทำกรอบการจัดกิจกรรม เพื่อจัดทำ
แผนและดำเนินการในระดบั ตำบลตอ่ ไป

๕.๒ การจัดกิจกรรมการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎี
ใหม่ ควรมีการวางแผนเชื่อมโยงงานสู่พื้นที่ ที่ต้องการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยมยั่งยืนด้วย
โดยเฉพาะการขยายผลหลักสูตรการคา้ ออนไลน์ ONIE Online Commerce Center (OOCC)

๕.๓ การดำเนินงานการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร
ทฤษฎีใหม่ ควรมกี ารพฒั นาหลักสูตร โดยเพ่ิมเตมิ เนื้อหาเกีย่ วกับดจิ ิทลั เพ่อื ส่งเสริมให้กลุม่ เป้าหมาย
ได้เรียนรู้ถงึ ช่องทางการจำหน่ายผลผลติ หรือให้การบรกิ าร ในการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจทิ ัล

๕.๔ ควรมุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ คือ มีการประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อ
การแสดงขอ้ มูลผลผลิต (Output) ทเี่ กิดจากกการจัดการเรียนรูต้ ามวัตถุประสงค์ของหลกั สูตร และมี
การติดตามผลอย่างเป็นระบบ เพื่อแสดงข้อมูลผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดจากการนำความรู้ไปใช้ให้
เกิดประโยชน์

๕.๕ ดว้ ยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทำให้
การจัดกิจกรรมต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพ เน้นการเรียนรู้แบบออนไลน์ รูปแบบนิเทศก็
นเิ ทศแบบออนไลน์ ใช้ระบบเทคโนโลยี และการประชมุ ทางไกลเพือ่ ตดิ ตาม เป็นต้น

๖. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
๖.๑ ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
๑) ครู กศน.ตำบล ควรประเมินผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และ

ตดิ ตามผลการนำความรไู้ ปใชข้ องกลุม่ เป้าหมาย เมอื่ ผ่านการอบรมแล้ว ๑ เดอื น จะไดผ้ ลเชงิ ประจักษ์
รวมถงึ ปัญหาอุปสรรค เพอ่ื นำข้อมูลจากการติดตามมาปรับปรุงแก้ไข ใหก้ ารจดั กจิ กรรมเปน็ ไปอย่างมี
ประสิทธิภาพมากข้ึนต่อไป

๒) ควรพัฒนากลุ่มอาสาช่วยจัดกิจกรรม เพื่อแนะนำข้อมูลศูนย์เรียนรู้และแหล่ง
เรียนรู้ในชุมชนใหก้ ับผทู้ เ่ี ข้ามาศึกษาเรยี นรู้

๓) สถานศกึ ษาควรจัดอบรมเนน้ กระบวนการมสี ่วนร่วม
๖.๒ ข้อเสนอแนะตอ่ กศน.อำเภอวังจันทร์

จัดให้มีการนิเทศติดตามผลการดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง มีเวที
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ที่ประสบผลสำเร็จดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมมอบโล่ เกียรติบัตร สำหรับผู้
ทม่ี ีผลงานดเี ดน่ ระดับจงั หวัด

๖.๓ ขอ้ เสนอแนะต่อ กศน.อำเภอวงั จันทร์
๑) จดั ใหม้ ีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนร้สู ำหรบั ผปู้ ระสบความสำเรจ็ ด้านเศรษฐกิจพอเพียง

พรอ้ มมีการมอบโล่ เกียรตบิ ตั ร สำหรบั ผู้ท่ีมผี ลงานดเี ดน่ ระดับประเทศ

๗๘

๒) จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับครู กศน. เกี่ยวกับการดำเนินการจัดการ
ความรู้ (Knowledge Management) เพอื่ ใหค้ รู กศน.นำความรู้ที่ได้ไปปฏบิ ัตจิ ริง

๓) ควรสนับสนุนงบประมาณเกี่ยวกับการจัดอบรมประชาชน ค่าตอบแทนวิทยากร
และค่าวสั ดฝุ ึกอบรมให้เพิม่ ขึ้น

๗. ผลการปฏิบตั ิงานท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice)
-

๘. ภาพกิจกรรม

โครงการปลูกพชื ผักปลอดสารพษิ เพอ่ื สขุ ภาพเกษตร โครงการศึกษาเรยี นรู้โคก หนอง นาโมเดล

อนิ ทรีย์ วนั ท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔ และการปลูกพชื ต้านโควิด ๑๙ หลกั สตู ร ๕ ชั่วโมง

ณ สวนเจ้เปียก หมู่ ๑ บ้านวังจนั ทน์ ตำบลวังจนั ทร์ วนั ที่ ๒๙ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔

อำเภอวังจันทร์ จงั หวดั ระยอง ณ ศูนยเ์ รยี นรเู้ กษตรพอเพียง

หมู่ ๑ ตำบลชุมแสง อำเภอวังจนั ทร์ จงั หวัดระยอง

๗๙

๓. การศึกษาตามอธั ยาศัย
๑๘. หอ้ งสมดุ ประชาชน
๑. ความเปน็ มา
ห้องสมุดประชาชนอำเภอวังจันทร์ดำเนินงานโดยยึดแนวทางตามนโยบายและจุดเน้นการ

ดำเนินงานของสำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยประจำปงี บประมาณ
พ.ศ.๒๕๖๔ ดานการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู การศกึ ษาตามอธั ยาศัย โดยพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้
ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นใน
สังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน.ตําบล ห้องสมุด ประชาชนทุก
แห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย
สง่ เสริมการอ่าน จัดหนว่ ยบริการหอ้ งสมุดเคล่ือนท่ี ห้องสมุดชาวตลาด พรอ้ มหนงั สือและอุปกรณ์เพ่ือ
จัดกิจกรรม ส่งเสริมการอา่ นและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายใหบ้ รกิ ารกับประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ อย่าง
ท่ัวถึง สม่ำเสมอ รวมท้งั เสรมิ สรา้ งความพรอ้ มในดา้ นบุคลากร ส่ืออปุ กรณเ์ พอ่ื สนับสนุนการอา่ น และ
การจดั กจิ กรรมเพื่อส่งเสริมการอ่าน อย่างหลากหลายรูปแบบ

การบริหารงานห้องสมุดประชาชนอำเภอวังจันทร์ มีการจัดโครงสร้างงานของห้องสมุด
ออกเป็น ๓ งาน ดังน้ี งานบริหาร งานเทคนิคและงานบริการ ให้บริการยืม-คืนสื่อด้วยระบบ

คอมพิวเตอร์ โปรแกรมระบบเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้ (Learning resources linkage System)

ถูกจัดทำขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ห้องสมุด ในการจัดการข้อมูลหนังสือ สื่อ และ
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างในห้องสมุดได้เอง และช่วยอำนวยความสะดวกให้กับสมาชิกห้องสมุดใน
เรื่องการ จอง ยืม คืนหนังสือ โดยสมาชิกสามารถเข้าเว็บไซต์ห้องสมุดที่ตัวเองเป็นสมาชิกอยู่แล้ว
สามารถคน้ หาข้อมูลหนังสือ และ สือ่ ตา่ ง ๆท่สี นใจและ สามารถ จอง หนงั สอื ส่ือที่สนใจผ่านเว็บไซต์
ได้เองก่อ นที่จะ มาถึ งห้ องสมุ ด ซึ่งทำให้สมาช ิกเข้าถึง ห้อ งสมุด ได้ ง่าย ม า ก ขึ้ น

ในสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ห้องสมุดประชาชนอำเภอ
วังจนั ทร์ ได้จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านในรปู แบบออนไลน์ ใหบ้ รกิ ารหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)
และการอ่านผ่าน QR code และการใช้แอปพลิเคชัน NFE Rayong Knowledge ซึ่งเป็นคลัง
ความรู้ของสำนักงาน กศน.จังหวัดระยอง เป็นช่องทางในการส่งเสริมการอ่านผ่านสมาร์ทโฟน
สามารถสืบค้นข้อมูล ข่าวสาร ที่น่าสนใจผ่านสมาร์ทโฟนได้อย่างสะดวก รวดเร็วและประหยัดเวลา
สามารถนำพาผู้ใช้บริการไปยังการให้บริการตามหมวดต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ให้บริการ นิทรรศการวัน
สำคัญออนไลน์ กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นทำแบบทดสอบความรู้ออนไลน์และกิจกรรมถวายพระพรชัย
มงคลออนไลน์วันสำคัญ โดยประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมผ่านทาง Facebook มีกิจกรรมสะสม
แต้มการเข้าใช้บริการห้องสมุดฯผ่านแอพพลิเคชั่นLine และมีการจัดหาสื่อสิ่งพิมพ์และหนังสือ
เพื่อใหบ้ ริการในหอ้ งสมุด โดยมีแบบสำรวจความตอ้ งการหนงั สือ/ส่ือการเรยี นรู้ จากผู้ใชบ้ รกิ าร จดั ซ้ือ

๘๐

หนังสือและส่ือ โดยผ่านการเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาและได้รบั การอนุมัติจากผู้บริหาร
สถานศึกษา ห้องสมุดประชาชนอำเภอวังจันทร์มีการวิเคราะห์ SWOT เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลในการ
วางแผนการจัดกิจกรรมและนำปัญหา ข้อเสนอแนะมาแก้ไข ปรบั ปรุงเพ่ือใช้ในการจดั กิจกรรมในคร้ัง
ต่อไป

๒. สภาพทพี่ บ
๒.๑ ในสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทำให้ผู้ใช้บริการลดลง
และบางครัง้ ตอ้ งปิดใหบ้ รกิ ารตามนโยบายและคำสง่ั ของกระทรวง
๒.๒ ควรประสานงานร่วมกับครูตำบล ร่วมกันจัดหาอาสาสมัครส่งเสริมการอ่านในแต่ละ
ตำบล เพอ่ื เปน็ การขยายการอ่านให้ครอบคลุมทกุ พื้นท่ี
๓. ปจั จยั ทีส่ ่งผลตอ่ ความสำเร็จ
๓.๑ บรรณารักษ์มีความรู้ความสามารถ เอาใจใส่งานในหน้าท่ี มีความรับผิดชอบ สามารถ
ส่งผลให้การปฏิบตั งิ านมปี ระสทิ ธิภาพ
๓.๒ ผู้บริหารให้คำแนะนำในการดำเนินงานของบรรณารักษ์ เมื่อเกิดปัญหาจะให้
ข ้ อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ก า ร แ ก ้ ป ั ญ ห า เ พ ื ่ อ ใ ห ้ ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น ป ร ะ ส บ ผ ล ส ำ เ ร็ จ
๓.๓ บรรณารักษ์นำความรู้ที่ได้รับจากการเข้ารับการอบรม มาปรับใช้ในการดำเนินงาน
หอ้ งสมดุ เช่น การผลติ หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) การจดั ทำสื่อการเรียนการสอนด้วยแอปพลิเค
ชัน NFE Rayong Knowledge และการสรา้ งแบบทดสอบและเกียรติบตั รออนไลน์
๓.๔ บรรณารักษ์มีการประสานงานกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการจัดทำกิจกรรมหรือ
โครงการอย่างต่อเนอ่ื ง
๔. ปัญหาและอปุ สรรค
ในสถานการณ์ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทำใหผ้ ้ใู ชบ้ ริการลดลงและผู้ใช้บริการ
นิยมอา่ นหนงั สอื ผา่ น Smart Phone และใชง้ านในส่วนของความบนั เทิงมากกว่าการอา่ นหนงั สอื
๕. ข้อนเิ ทศต่อผรู้ บั การนเิ ทศ
๕.๑ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอวังจนั ทร์ มกี ารนำนวัตกรรม สอ่ื เทคโนโลยเี ขา้ มาสนับสนุนใน
การจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นภายในหอ้ งสมดุ
๕.๒ ห้องสมุดประชาชนอำเภอวังจันทร์ มีความพร้อมในการให้บริการ ดังนี้ มีมุมต่าง ๆ เชน่
มุมอ่านหนงั สือท้ังภายในและภายนอกห้องสมุดประชาชน มมุ น้ำดม่ื หอ้ งน้ำสะอาด ทจี่ อดรถเพียงพอ
มมี มุ ชารต์ แบตเตอรี่ บริการถ่ายเอกสาร ผใู้ ช้บรกิ ารสามารถนำคอมพิวเตอร์โนต้ บคุ๊ เข้ามาใช้สัญญาณ
wifi ในหอ้ งสมุดประชาชนได้

๘๑

๖. ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา
๖.๑ ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา
๑. ผู้บริหารสถานศกึ ษาควรส่งเสรมิ และสนับสนุน ส่อื งบประมาณในการจัดกิจกรรม

การศกึ ษาตามอัธยาศยั อยา่ งต่อเนือ่ ง
๒. ดำเนินการจดั หาครภุ ณั ฑ์ท่ีทันสมัยสำหรบั การปฏิบตั ิงานของบุคลากร
๓. ควรสร้างขวัญกำลังใจแก่ผูป้ ฏบิ ัติงานด้วยการชมเชย
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน. จังหวัด
๑. ควรจดั ใหบ้ รรณารกั ษ์ได้ศึกษาดงู าน เพ่ือเรียนรูก้ ารดำเนินงานของแต่ละห้องสมดุ เพ่ือ

นำมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน อยา่ งน้อยปลี ะ ๑ ครั้ง
๒. ควรสง่ เสรมิ สนับสนนุ กำกบั และติดตามการดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เน่ือง
๓. ควรสร้างขวญั กำลงั ใจแก่ผปู้ ฏบิ ตั ิงานดว้ ยการชมเชย
๖.๓ ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.
๑. สำนกั งาน กศน.ควรจัดสรรใหม้ ีเครอ่ื งมือและระบบอุปกรณ์ท่ที ันสมัยในการสบื ค้น

ขอ้ มูลในห้องสมุด
๒. ควรจดั ให้มีการอบรมบรรณารักษ์/เจา้ หน้าทห่ี อ้ งสมุดทกุ ประเภท ทั้งขา้ ราชการและ

อัตราจา้ ง อย่างนอ้ ยปลี ะ ๑ ครัง้ เพอื่ ใหบ้ รรณารกั ษ์/เจา้ หน้าท่หี ้องสมดุ ได้พัฒนาตนเองและ
แลกเปลีย่ นเรียนร้กู บั บรรณารักษ์/เจ้าหน้าทห่ี ้องสมุดจังหวัดอน่ื
๗. Best Pratice

-
๘. ภาพกิจกรรม

นิทรรศการออนไลน์วันสำคญั

จดั นิทรรศการ วนั แมแ่ ห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๔ หมนุ เวยี นนิตยสาร-วารสาร บนช้ันให้ทนั สมัยอยู่เสมอ

๘๒

๑๙. บ้านหนังสือชุมชน
๑. ความเป็นมา
บ้านหนังสือชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ทีเ่ กิดขึ้นใน

ชุมชน โดยชุมชนเป็นผู้รับผิดชอบร่วมกับ กศน. นอกจากนี้ใช้เป็นสถานที่พบปะพูดคุย แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น สามารถเข้าใช้บริการได้สะดวก มีความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และชุมชน โดยมี
เจ้าของบ้านหรืออาสาสมัครทำหน้าที่ดูแลการให้บริการ และจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการ
เรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ซึ่งเป็นไปตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน
สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสและความ
เสมอภาคทางสังคม ให้จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สำหรับทุกช่วงวัย ที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนอง
ความต้องการในการเรียนรู้ในแต่ละช่วงวัย เพื่อให้มีการพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีความสุข
กับการเรียนรู้ตามความสนใจ รวมทั้ง ๑ ใน ๖ จุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปี
งบประมาณ ๒๕๖๔ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่ง
เรียนรู้ และรูปแบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ในทุกระดับทุกประเภท เพื่อให้สามารถเรียนรู้ได้
อยา่ งท่วั ถึง ทกุ ท่ี ทุกเวลา เพ่อื บรกิ ารคนในชมุ ชน

๒.สภาพทพี่ บ
ที่ตั้งบ้านหนังสอื ชุมชนของกศน.อำเภอวังจันทร์ ส่วนใหญ่เป็นร้านค้า บ้านผู้มีจิตอาสา บ้าน
ผู้นำชุมชน ศาลาเอนกประสงค์และวัด จะเป็นสถานที่ที่เป็นศูนย์กลางของชุมชน บ้านหนังสือชุมชน
ทุกแหง่ ตั้งอยใู่ นบริเวณพื้นที่ทปี่ ระชาชนสามารถเข้าใชบ้ ริการไดส้ ะดวก พรอ้ มท้งั ใหม้ ผี ดู้ ูแลรับผิดชอบ
และให้บริการ โดยมีการสนับสนุนและอำนวยการความสะดวกในการบริการกิจกรรมบ้านหนังสือ
ชุมชน จากกลุ่มอาสาสมัครบ้านหนังสือชุมชนและภาคีเครือข่าย ครู กศน.ตำบลและกลุ่มอาสาสมัคร
บ้านหนังสอื ชุมชนจะบริการหมนุ เวียนหนงั สือ สื่ออยา่ งสมำ่ เสมอ บ้านหนงั สือชมุ ชนใหบ้ ริการส่งเสริม
การอ่านในหลายรูปแบบ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วารสาร นิตยสาร กิจกรรมส่งสริมการอ่านผ่านสื่อ
ออนไลน์ การอา่ นผ่าน QR Code การประชาสัมพันธ์แอปพลิเคชนั NFE Rayong Knowledge การ
จัดอาชีพระยะสั้น-อาชีพที่น่าสนใจ เช่น D.I.Y.ถุงผ้าจากเสื้อยืด การพับเหรียญโปรยทาน การพับ
ดอกไม้ใบเตย
บ้านหนงั สอื ชุมชนของกศน.อำเภอวงั จนั ทร์ มีจำนวน ๘ แห่ง จำนวนผใู้ ช้บรกิ าร ๒,๐๐๔ คน
แยกรายตำบลได้ ดงั นี้
๑. ตำบลชุมแสง
๑.๑ นางยิ่งลักษณ์ สขุ ศริ ิ ๒๑๙ หม่ทู ี่ ๗ บา้ นวังโพลง ตำบลชุมแสง อำเภอวังจนั ทร์ จังหวดั
ระยอง จำนวนผูใ้ ช้บรกิ าร ๔๑๒ คน

๘๓

๑.๒ นางสาวสายใจ พรหมปราณี ๑๒/๒ หม่ทู ี่ ๓ บา้ นคลองไผ่ ตำบลชมุ แสง อำเภอวังจันทร์
จงั หวัดระยอง จำนวนผใู้ ช้บรกิ าร ๓๖๕ คน

๒. ตำบลวงั จันทร์ฃ
๒.๑ วดั ชมุ นมุ ใน ศาลาริมน้ำ เลขท่ี ๕๙ ม.๔ บา้ นชมุ นมุ ใน จำนวนผใู้ ชบ้ รกิ าร ๑๒๒ คน
๒.๒ วัดชงโค เลขท่ี ๑ ม.๖ บ้านตะเคียนทอง จำนวนผู้ใช้บริการ ๑๑๗ คน
๓. ตำบลพลงตาเอีย่ ม
๓.๑ นางกัญชลิกา เตมีประเสริฐกิจ บ้านเลขที่ ๑๒๑ หมู่ที่ ๕ บ้านหนองเขิน ตำบลพลงตา
เอ่ียม จำนวนผู้ใชบ้ รกิ าร ๓๔๙ คน
๓.๒ นางนันท์นภัส จันทมา บ้านเลขที่ ๑๑๕/๒ หมู่ ๖ ตำบลพลงตาเอี่ยม จำนวน
ผู้ใช้บริการ ๑๘๑ คน
๔. ตำบลป่ายบุ ใน
๔.๑ นางเครือวัลย์ เจริญรื่น ๙๘ หมู่ที่ ๗ ตำบลป่ายุบใน อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
จำนวนผู้ใช้บรกิ าร ๒๒๐ คน
๔.๒ นางอรพิณ ฉัตรเงิน ๒๐ หมู่ที่ ๕ ตำบลปา่ ยุบใน อำเภอวังจนั ทร์ จงั หวัดระยอง จำนวน
ผู้ใช้บริการ ๒๓๘ คน
๓. ปจั จยั ทสี่ ่งผลตอ่ ความสำเรจ็

๓.๑ มอี าสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน
๓.๒ ภาคีเครือขา่ ยใหก้ ารสนับสนุนในการจัดกจิ กรรม
๓.๓ สถานทต่ี ง้ั เออ้ื ตอ่ การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น
๔. ปญั หาและอปุ สรรค
๔.๑ ในสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทำให้ผู้ใช้บริการ
ลดลง
๔.๒ บ้านหนงั สือชมุ ชนบางแห่งผรู้ บั ผิดชอบขาดการดูแลเอาใจใส่
๔.๓ หนังสือที่หมนุ เวียนลงบ้านหนังสือชมุ ชนมีสภาพทีเ่ ก่าและไมท่ ันสมัย
๕. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผู้รับการนิเทศ
๕.๑ ครู กศน.ตำบล ส่งเสริม สนับสนุนสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกของบ้าน
หนงั สือชุมชน ให้มีความเหมาะสมและเออื้ ต่อการให้บริการ
๕.๒ ครู กศน.ตำบล ควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในบ้านหนังสือชุมชน
๕.๓ มกี ารนเิ ทศตดิ ตามอย่างตอ่ เน่อื ง เพื่อนำมาพฒั นาการจดั กจิ กรรม

๘๔

๖. ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
๖.๑ ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา
๑.ผู้บริหารสถานศกึ ษา ให้การกำกับและติดตามครู กศน.ตำบล ให้พัฒนากิจกรรมบา้ น

หนังสอื ชมุ ชน
๒. จัดการหมุนเวยี นส่อื ทที่ ันสมัยกับเหตุการณ์ปจั จุบนั และเพยี งพอต่อการให้บรกิ าร
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน. จังหวดั
๑. จดั ให้มีการประกวดบ้านหนงั สือชุมชนต้นแบบระดบั จงั หวัด
๒. มอบเกยี รตบิ ัตรแกผ่ ดู้ แู ลบ้านหนงั สือชมุ ชน
๖.๓ ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.
๑. สนับสนุนงบประมาณ ในการขับเคล่อื นการดำเนนิ งานบา้ นหนังสือชุมชนทกุ แห่ง

๗.Best Pratice

-

๘. ภาพกิจกรรม

D.I.Y.ถงุ ผา้ จากเสื้อยืด ณ บ้านหนงั สอื ชมุ ชน บา้ นเลขท่ี ๑๑๕/๒ หมู่ ๖ ตำบลพลงตาเอย่ี ม

กจิ กรรมหมุนเวียนหนงั สือและประชาสมั พนั ธ์แอปพลเิ คชนั NFE Rayong Knowledge
ณ บ้านหนงั สอื ชมุ ชน บ้านเลขที่ ๒๐ หมู่ท่ี ๕ ตำบลป่ายบุ ใน

๘๕

๒๐. ห้องสมดุ เคลือ่ นทีส่ ำหรบั ชาวตลาด
๑. ความเปน็ มา
สำนักงาน กศน.จังหวดั ได้ให้สถานศึกษาในสงั กัดทกุ แห่ง จัดการศึกษาตามอธั ยาศัยเกยี่ วกบั

ห้องสมดุ เคล่ือนท่ีสำหรับชาวตลาด ตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็
พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเน้นหลักการมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคส่วน มเี ป้าหมาย
ใหช้ มุ ชนชาวตลาด ได้มหี นังสืออา่ นเปน็ ประจำ สร้างวฒั นธรรมการอา่ น และทรงเลง็ เหน็ ช่องทางใน
การพัฒนาอาชพี สู่การมีคุณภาพชีวติ ที่ดขี ึ้น หอ้ งสมุดเคลื่อนทส่ี ำหรบั ชาวตลาด โดยสำนกั งานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กศน.) เร่ิมต้ังแต่ปงี บประมาณ ๒๕๖๐ ถึงปจั จุบนั
โดยใช้หลักการมสี ่วนร่วม ของชุมชน โดยชุมชน เพอื่ ชมุ ชน ซึง่ มหี อ้ งสมุดเคลื่อนที่สำหรบั ชาวตลาด
ตน้ แบบจังหวัดละ ๑ แห่ง และให้ขยายผลตามความเหมาะสมของแตล่ ะพ้ืนที่ อันจะกอ่ ให้เกดิ พลงั
ชมุ ชนท่ีเขม้ แข็งในการร่วมสรา้ งวัฒนธรรมการอ่านและเปน็ การสง่ เสรมิ ใหช้ ุมชนเป็นศนู ย์กลางการ
เรียนรู้และการพฒั นาตามหลักการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนอย่างแท้จริง

๒. สภาพท่ีพบ
กศน.อำเภอวังจนั ทร์ ไดด้ ำเนินการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น ห้องสมุดเคลอ่ื นทีส่ ำหรับชาว
ตลาด จำนวน ๑ แห่ง คือ ตลาดชมุ แสง ลักษณะของตลาดคอื ตลาดนัด เปน็ อาคารชนั้ เดยี ว มีหลังคา
แผนการจดั กิจกรรมหอ้ งสมุดเคล่ือนที่สำหรับชาวตลาด กำหนดจัดกจิ กรรมเดือนละ ๑-๒ ครง้ั /เดือน
วนั เวลาทล่ี งพ้นื ที่จัดกจิ กรรม คือวนั จนั ทร์แรกของเดือนและวนั พฤหัสบดีสดุ ท้ายของเดือน ในเวลา
๑๕.๐๐น.-๑๖.๓๐น. โดยมกี จิ กรรมที่ออกใหบ้ รกิ าร เชน่ การทำยาดมสมุนไพร (เขยา่ แล้วหอม) มอบ
เจลแอลกอฮอล น้ำมนั เหลืองและแจกหนังสือ ประชาสัมพันธ์กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น จำนวน
ผู้ใช้บริการ ๒๖๕ คน
๓. ปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อความสำเรจ็
๓.๑ ภาคีเครือขา่ ยท่ีใหก้ ารสนับสนุน (เจา้ ของตลาด)
๓.๒ บุคลากรในองค์กรใหก้ ารช่วยเหลือกันและกนั
๔. ปญั หาอุปสรรค
๔.๑ ในสถานการณข์ องโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทำใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารลดลง
และบางคร้ังต้องปดิ ตลาดตามนโยบายและคำสั่งของสำนักงานสาธารณสขุ จังหวัด
๔.๒ ผใู้ ช้บริการใช้เวลารีบเรง่ จบั จ่ายซื้อของเพ่อื กลับบ้าน
๕. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผรู้ ับการนิเทศ
๕.๑ จดั กิจกรรมใหม้ ีความหลากหลาย เพื่อดึงดูดความสนใจผู้ใช้บรกิ ารมากข้ึน
๕.๒ ใหส้ ถานศกึ ษาประเมินสภาพแวดล้อม และจัดหาสถานท่ีทเี่ หมาะสม
๕.๓ ประชาสัมพนั ธก์ ารจัดกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง เพื่อเพิม่ การรับรขู้ องผรู้ บั บรกิ าร

๘๖

๕.๔ การประสานงานภาคเี ครือขา่ ยใชท้ รัพยากรร่วมกันในการจดั กจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง
๕. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา

๕.๑ ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
๑. ให้กำลังใจผ้ปู ฏิบัติงาน
๒. นิเทศภายใน ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานอย่างต่อเนื่อง
๓. ควรนำผลการนิเทศมาพฒั นาคุณภาพการจัดกจิ กรรม
๕.๒ ข้อเสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน. จังหวัด
๑. ใหก้ ำลังใจผปู้ ฏบิ ัติงาน
๒. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ติดตามผลการดำเนินงานอยา่ งต่อเนอื่ ง
๕.๓ ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.

บรบิ ทหรอื พื้นท่ีแต่ละที่แตกต่างกนั ความสำเรจ็ อาจไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมายหรอื ตาม
แผน ควรมีรูปแบบหรือแนวทางการจดั กิจกรรมท่ีแนน่ อน

๖. Best Pratice

-

๗. ภาพกิจกรรม

จัดกิจกรรมห้องสมดุ เคลอื่ นท่ีสำหรบั ชาวตลาด ณ ตลาดชุมแสง

๘๗

คณะทีป่ รึกษา คณะผ้จู ดั ทำ
นายเสกสรรค์ รตั น์จนิ ดามุข
นายวริ ชั ภัทรบูชา ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวดั ระยอง
นายมนตรี เวียงอินทร์ รองผ้อู ำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวดั ระยอง
ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอวังจันทร์

ขอ้ มูลการบรหิ ารจดั การและผลการดำเนินงาน

นายมนตรี เวยี งอินทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอวงั จันทร์

นายธรี พล เดือนกลาง ครผู ู้ช่วย

นางสาวณรรชมน บริคุต บรรณารกั ษ์ปฏิบัติการ

นางสาวปลิ ันธสุทธิ์ วงศจ์ นั ทร์ ครอู าสาสมัครนอกโรงเรียน

นางสาวสชุ าดา พานิชย์ ครู กศน.ตำบล

นายวราพล วงศ์จันทร์ ครู กศน.ตำบล

นางนลนิ รตั น์ ครฑุ นอ้ ย ครู กศน.ตำบล

นางสาวธมลพรรณ เรณูรว่ ง ครู กศน.ตำบล

นางสาวอาลซี ะ๊ ฮ์ พุทซา ครูศนู ย์การเรียนร้ชู มุ ชน

นายสมเกยี รติ วอ่ งเกยี รติคณุ ครศู ูนยก์ ารเรียนร้ชู มุ ชน

บรรณาธิการ ครผู ชู้ ว่ ย
นายธรี พล เดอื ยกลาง

จัดพมิ พ์/รูปเล่มเอกสาร ครูผู้ชว่ ย
นายธรี พล เดอื นกลาง




Click to View FlipBook Version