The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร SAWADDEE ฉบับที่ 16

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Napassawan Sinjoy, 2021-11-04 00:39:09

วารสาร SAWADDEE ฉบับที่ 16

วารสาร SAWADDEE ฉบับที่ 16

สวัสดิ์
ประหยัดพลังงาน

ที่มา : blog.pttexpresso.com49

50

5 วิธีง่ายๆ

ช่วยลดการใช้กระดาษในที่ทำงาน

1 2

จัดพิมพ์เอกสาร ตรวจสอบความถูกต้อง
เท่าที่จำเป็น หน้ าคอมพิวเตอร์ก่อน
พิมพ์ต้นฉบับ

3 4

ใช้กระดาษ 2 หน้ า นำกระดาษ ใช้การจัดเก็บเอกสาร
ที่ใช้แล้วหน้ าเดียวกลับมาใช้ สำเนาในรูปแบบไฟล์ PDF,
ใหม่ (Reuse) สำหรับเอกสารที่ E-book, E-mail หรือเว็บไซต์
ไม่สำคัญภายในหน่ วยงาน

5

ส่ งข้อมูลข่าวสารต่างๆผ่าน
ระบบคอมพิวเตอร์ ลดการ
ใช้กระดาษ และพลังงานใน
การผลิตได้มาก

51

รักษ์ศรีสวัสดิ์
จัง
เ ห ตุ ผ ล ที่ ต้ อ ง ใ ส่ ใ จ
ก า ร อ นุ รั ก ษ์ พ ลั ง ง า น

1. ในอนาคตการใช้พลังงานจะมีแต่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ
จำนวนประชากรในประเทศมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่ อง ทำให้การใช้
การผลิต การนำเข้าพลังงานเกือบทุกประเภทเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะน้ำมัน
สำ เ ร็ จ รู ป แ ล ะ ไ ฟ ฟ้า ซึ่ ง เ ป็ น พ ลั ง ง า น ห ลั ก

2. ลดผลกระทบเชิงลบต่อโลก
โลกพัฒนาไปข้างหน้าอย่างมาก แต่สภาพสิ่งแวดล้อมกลับแย่ลง
มนุษย์ใช้พลังงานเพื่อความสะดวกสบาย ทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่ง
แวดล้อมนี่ คือตัวอย่างผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นกับโลก เช่น

โลกร้อน

อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ เป็นผลมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง ทำให้
เกิดก๊าซต่างๆ ในชั้นบรรยากาศ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซ
ไนโตรเจนออกไซด์ เป็นต้น จนกลายเป็นภาวะเรือนกระจก (Greenhouse
Effect) เก็บกักรังสีความร้อนที่สะท้อนออกจากผิวโลก

อากาศเป็นพิ ษ

การเผาไหม้เชื้อเพลิงไม่สมบูรณ์ยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่ งของก๊าซพิษใน
อากาศ เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ

52

ฝนกรด

เกิดจากการการเผาไหม้เชื้อเพลิงของโรงไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง
ของรถยนต์ ก๊าซหุงต้ม ทำให้เกิดออกไซด์ของไนโตรเจนและ
กำมะถันกระจายอยู่ในชั้นบรรยากาศ ซึ่งสามารถรวมตัวกับไอน้ำใน
บรรยากาศจะเปลี่ยนเป็นกรดไนตริกและกรดกำมะถันได้ จึงทำให้
ไอน้ำในบรรยากาศมีสภาพเป็นกรดมากกว่าที่ควรจะเป็น

3. เพื่อความยั่งยืนในอนาคต ช่วยเหลือสิ่งแวดล้อมและผู้คน
ปัญหาขาดแคลนพลังงานดูเหมือนจะเป็นเรื่องไกลตัว แต่จากแนวโน้มการ
ใ ช้ พ ลั ง ง า น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ทุ ก ปี ต า ม ก า ร เ ติ บ โ ต ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ภาวะขาดแคลนพลังงานอาจจะใกล้เข้ามามากกว่าที่คิด เชื้อเพลิงที่เราใช้อยู่
กำ ลั ง ล ด น้อ ย ล ง เ รื่ อ ย ๆ

ทุกคนควรช่วยกันแก้ไขไม่ใช่แค่เรื่องพลังงานที่ลดน้อยลง หรือมลพิษต่างๆ
แต่เราควรมองไปข้างหน้าอีกหลายสิบปี เพื่อให้คนรุ่นใหม่มีพลังงานใช้
และได้อาศัยอยู่ในโลกที่น่าอยู่ต่อไป

53

มาตรการสำคัญ

!!

ที่ทำให้เราห่างไกล
โควิด-19

54

=ดดููแแลลคตันวเทีอ่เงรารัก

Dอยู่ห่างไว้
DISTANCING

M ใส่แมสก์กัน ตรวจวัดอุณหภูมิ
MASK WEARING
T ตรวจหาเชื้อโควิด-19 (เฉพาะกรณี)
H หมั่นล้างมือ TESTING
HAND WASHING T ใช้แอปไทยชนะ
THAI CHA NA
#ดูแลตัวเอง=ดูแลคนที่เรารัก55

สถิติการเสียชีวิตจากโควิด-19

ผู้เสียชีวิตในไทยเป็ นคนกลุ่มไหน
ในการระบาดระลอกเดือนเมษายน 2564 (วันที่ 1 เมษายน – 9 กันยายน 2564) มีผู้เสีย
ชีวิตจากโควิดทั้งหมด 13,637 ราย กองระบาดวิทยาวิเคราะห์ลักษณะของผู้เสียชีวิตพบว่า
อายุมัธยฐาน 67 ปี (ค่ามัธยฐานได้จากการเรียงข้อมูลจากน้ อยที่สุดไปมากที่สุด แล้วหา
ค่าที่อยู่ตรงกลางคือ 67 ปี แสดงว่าเกินครึ่งหนึ่งเป็นผู้สูงอายุ) อายุน้อยที่สุด 12 วัน และ
อายุมากที่สุด 109 ปี ผู้ชายมีสัดส่วนมากกว่าผู้หญิง
โรคประจำตัวที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ ความดันโลหิตสูง (HT) รองลงมาเป็นเบาหวาน
(DM) เบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง (DLP) และไตวายเรื้อรัง (CKD)


เห็นอย่างนี้แล้วหลายคนอาจสรุปว่า ‘ความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต’ หรือ

สงสัยว่าทำไมถึงไม่จัดผู้มีโรคประจำตัวความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มเสี่ยง 608 ที่ควรได้รับการ
ฉีดวัคซีนก่อน

56

สถิติการเสียชีวิตจากโควิด-19




ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่อยู่ต่างจังหวัด (77.4% แต่จะสรุปว่าต่างจังหวัดเป็นปัจจัยเสี่ยงของการ
เสียชีวิตก็ไม่ได้อีกเช่นกัน) ส่วนใหญ่เสียชีวิตในโรงพยาบาล (95.29%) แต่มี 361 ราย
(2.65%) ที่เสียชีวิตนอกโรงพยาบาล ในผู้เสียชีวิตกลุ่มนี้พบว่า มีอายุมัธยฐาน 67 ปี อายุน้ อย
ที่สุด 2 ปี และอายุมากที่สุด 100 ปี อยู่ในกรุงเทพฯ 113 ราย (31.3%) และตรวจพบเชื้อหลัง
จากเสียชีวิต 56 ราย (15.5%)

ที่มา : https://thestandard.co/

57

เมื่อผู้สูงวัยเป็นผู้ป่วยโควิด-19 ชี้
อัตราการตาย สูงกว่าวัยอื่น 30 เท่า

“ นพ.สกานต์ บุนนาค ” ฉายภาพ ห่วงกลุ่มติดเตียง ไร้คนดูแล
ใกล้ชิดในสถานพยาบาล เตือน ลูก–หลาน อย่านำเชื้ อเข้าบ้าน ติด
คนที่เรารัก แม้จำนวนการติดเชื้ อโควิด-19 จะน้ อยกว่ากลุ่มในช่วง
วัยอื่ น แต่ทว่าอัตราการเสียชีวิตจากโควิด-19 ของกลุ่มผู้สูงวัยกลับ
มีจำนวนมากกว่ากลุ่มอื่ น โดยมีสัดส่วนเกือบครึ่ งหนึ่ งของผู้เสียชีวิต

ทั้งหมด สิ่งนี้เป็ นข้อห่วงใยของ น
พ.สกานต์ บุนนาค ผู้อำนวยการ

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่ อผู้สูงอายุ โดย
เฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงวัยที่เป็ นผู้ป่ วยติดเตียง ที่ถูก “ลูก–หลาน”
ในวัยทำงาน นำเชื้ อจากนอกเข้ามาภายในบ้าน ซึ่ งเป็ นกลุ่มที่เสี่ยง
ต่อการเสียชีวิตสูงมาก อัตราการเสียชีวิตจากคนติดเชื้อโควิด
อยู่ที่ 0.3 เปอร์เซ็นต์ในทุกกลุ่มวัย แต่เฉพาะผู้สูงอายุจริงๆ
เสียชีวิตในสัดส่วน 10 กว่าเปอร์เซ็นต์ หรือคิดเป็ น 20-30
เท่า ถ้าเทียบกับคนวัยอื่ น”

58

ถ้าผู้สูงวัยติดโควิด-19 วิธีการรักษาจะเป็นอย่างไร
แตกต่างจากผู้ป่วยในกลุ่มวัยอื่นหรือไม่ ?

ผู้ติดเชื้ออายุเกิน 65 ปี ขึ้นไป จะถูกจัดอยู่ในกลุ่มผู้ป่ วย “สีเหลือง”
หรือ ผู้ป่ วยที่มีอาการปานกลาง โดยผู้ป่ วยในกลุ่มนี้จะต้องถูกส่งไปยัง
โรงพยาบาลหลักเท่านั้น ไม่สามารถส่งเข้า รพ.สนาม หรือ Hospital
ทั่วไปได้ โดยเฉพาะถ้าเป็ นกลุ่มผู้ป่ วยติดเตียง ที่ไม่สามารถดูแลตัวเอง
ได้ หากไม่มีญาติติดเชื้อด้วย




" กลุ่มนี้หากติดเชื้อต้องเข้าเฉพาะโรงพยาบาลหลักเท่านั้น ไม่สามารถ
เข้าโรงพยาบาลสนาม หรือ Hospital ได้เลยเพราะ รพ.สนาม กับ
Hospital ผู้ป่ วยต้องดูแลตัวเองได้และบุคลากรทางการแพทย์จะอยู่
วงนอก แต่ถ้าอยู่โรงพยาบาลหลัก เจ้าหน้ าที่จะต้องสวมชุด PPE คอย
ดูแลแทน” นพ.สกานต์ ระบุ

ดังนั้นทุกฝ่ ายจะต้องระมัดระวังการนำเชื้อ
ไปติดกับผู้สูงอายุ ซึ่งมีสภาพร่างกายที่
เปราะบางให้มากที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยง
ความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น

ที่มา : https://thaitgri.org

59

หลังจากที่รัฐบาลมีการอนุญาตให้เราสามารถตรวจเชื้อ
โควิด 19 ผ่าน Antigent Test Kit ด้วยตัวเองที่บ้านได้
แล้ว ทำให้การตรวจเชื้อร้ายนี้ทำได้ง่ายและไม่ต้องเสี่ยง
ออกไปเจอคนพลุกพล่านเหมือนเคย แต่รู้หรือเปล่าว่าเจ้า
ชุดตรวจนี้หลังจากถูกใช้งานแล้วจะเป็น"ขยะติดเชื้อ"
ทันที ดังนั้นการทิ้ง ATK จึงเป็นเรื่องที่ควรศึกษาให้ถูกต้อง
เหมือนวิธีตรวจโควิดเพื่อความปลอดภัยของพนักงานเก็บ
ขยะด้วยเช่นเดียวกัน

วิธีทิ้ง Antigen Test Kit
อย่างถูกวิธี

ทิ้งอย่างไรไม่ให้เหลือโรค

1.ฆ่าเชื้อ

หลังจากเราตรวจเชื้อโควิดผ่าน Antigen Test kid หรือ ATK
เสร็จ ต่อให้เครื่องจะแสดงว่าเราปลอดภัยหรือพบเชื้อโควิด-19
หรือไม่ ก่อนจะยัดใส่ถุงขยะต้องทำการฆ่าเชื้อด้วยแอลกอฮอล์
หรือน้ำยาฟอกขาวเสียก่อนเพื่อสร้างความมั่นใจในความ
สะอาดก่อนถึงมือของพนักงานเก็บขยะ

60

2 . แ ย ก ทิ้ ง ขยะ

ติดเชื้อ ขยะ

ติ ด เ ชื้อ

ต่อให้ฆ่าเชื้อชุดตรวจ ATK ด้วยแอลกอฮอล์จนสะอาดแล้ว
ก็ตาม แต่ก็ใช่ว่าจะเหมารวมได้ว่าเป็นขยะทั่วไปแล้วทิ้งลงถัง
เดียวกับเศษกระดาษ เศษอาหาร เพราะต่อให้สะอาดแค่ไหน
ยังไงก็เป็นอุปกรณ์ที่ติดเชื้ออยู่วันยังค่ำ หลังพรมน้ำยาเสร็จ
ต้องมัดใส่ถุงให้เรียบร้อย เขียนระบุหน้าถุงว่า "เป็นขยะติด
เชื้อ" ให้ชัดเจน แล้ววางแยกกับจุดรวมขยะทั่วๆ ไปหรือให้
หย่อนลงในถังขยะสีแดงที่ไว้สำหรับใส่ขยะติดเชื้อโดยเฉพาะ

3 . ล้ า ง มื อ

หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจตรวจเชื้อโควิดและทิ้งลงถังขยะ
ติดเชื้อเรียบร้อยแล้ว เมื่อกลับเข้าบ้านให้รีบล้างมือด้วยน้ำ
และสบู่ทันที

ที่มา : https://www.innnews.co.th

61

สินเชื่อทุกประเภท วงเงินสูงจัดเต็ม
อนุมัติไว ได้เงินเร็ว ไม่ต้องค้ำ ไม่ต้องโอนเล่ม
ไม่เช็กประวัติการเงิน
ไม่ต้องลุ้น

แอดไลน์ศรีสวัสดิ์ @srisawad คลิก
https://lin.ee/hl1chsk


Click to View FlipBook Version