The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanchanok Jindarat, 2020-05-22 05:28:07

โหล

โหล

การใช้ภูมิศาสตร์สารสนเทศวิเคราะห์พฤติกรรมการยืมหนังสือของ อิเล็กทรอนิกส์ ภาพ แผนท่ี สุนทรพจน์ ปาฐกถา บทความ
ผู้ใช้บรกิ าร และหนังสือพิมพ์อีกมากกว่า 20 ล้านหัวข้อซ่ึงครอบคลุมทุก
ช่วงของประวัติศาสตร์สิงคโปร์ เทคโนโลยีที่ NLB น�ำมาใช้
เปน็ ตวั ชว่ ยเพอ่ื อำ� นวยความสะดวกในการสบื คน้ กค็ อื search
engine ท่ีช่ือว่า OneSearch ซ่ึงเม่ือพิมพ์ข้อความท่ีต้องการ
ค้นหาก็จะสามารถพบต�ำแหน่งของทรัพยากรหลากหลาย
ประเภท ทั้งหนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ได้อย่าง
ง่ายดาย

ปรับปรุงบริการด้วย Big Data
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันเอ้ือให้ NLB ใช้
ประโยชน์จาก Big Data ในการเจาะลึกสารสนเทศเพ่ือ
วิเคราะห์แนวโน้มการอ่านของกลุ่มลูกค้า รูปแบบการยืมคืน
และอุปสงค์เฉพาะด้านของผู้ใช้บริการ

การวเิ คราะห์ความต้องการทรัพยากรทีม่ ีอยู่ NLB ได้ร่วมมือกับ Singapore Land Authority (SLA)
เพื่อออกแบบเครื่องมือการวัดโดยใช้ภูมิศาสตร์สารสนเทศ ซ่ึง
ชว่ ยในการกำ� หนดนยิ ามและกลมุ่ เปา้ หมายของหอ้ งสมดุ แตล่ ะ
แห่ง และสามารถวางแผนทรัพยากรให้อยู่บนพื้นฐานความ
ต้องการและพฤติกรรมของลูกค้า เช่น สามารถติดตามความ
เคลอ่ื นไหวของทรพั ยากรได้แบบเรยี ลไทม์หรอื เกอื บเรยี ลไทม์
สามารถจัดการทรัพยากรทั้งหมดที่อยู่ในศูนย์จัดหาของ
ห้องสมุดและโกดังภายนอกอีกหลายแห่ง และช่วยจัดการ
ทรัพยากรสารสนเทศส�ำหรับผู้ใช้บริการได้เป็นรายบุคคล

50 | โหล

ห้องสมดุ ต้นไม้ ต้งั อยู่ภายในอาคารของหอสมุดแห่งชาตสิ ิงคโปร์

ผู้น�ำเทคโนโลยีสีเขียว กรอบคิดว่าด้วยการวัดและประเมินผลให้ครอบคลุมถึง
หลายปีที่ผ่านมา NLB ยึดถือการสร้างสมดุลระหว่างความ ประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้า การใช้กระดาษ ของเสียจาก
ต้องการเทคโนโลยีกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมผ่าน เทคโนโลยี และการสื่อสารทางไกล ฯลฯ
โครงการเทคโนโลยีสีเขียว (Green Technology) และ
นับเป็นหน่ึงในหน่วยงานแรกๆ ของสิงคโปร์ที่ส่งเสริมเร่ือง กระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรม
ดังกล่าว โดยมีนโยบายมากมายเกี่ยวกับการจัดการวงจรชีวิต
ของระบบไอที เลือกใช้เซิร์ฟเวอร์เสมือน cloud computing ความสำ� เรจ็ ในการพฒั นาหอ้ งสมดุ ของสงิ คโปรม์ สี ว่ นสำ� คญั มา
และอปุ กรณค์ อมพวิ เตอรท์ เ่ี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ กอ่ จากการก�ำหนดโครงสร้างอย่างชัดเจนให้ NLB Labs และ
ต้ังศูนย์ข้อมูลสีเขียว และ “ห้องสมุดต้นไม้” (My Tree Library Innovation Centre – LIC มีบทบาทโดยตรงใน
House) ซ่ึงเป็นห้องสมุดสีเขียวส�ำหรับเด็กแห่งแรกของโลก ด้านการพัฒนานวัตกรรมห้องสมุด กระบวนการเฝ้าสังเกต
พฤตกิ รรมของผใู้ ชบ้ รกิ ารหรอื กลมุ่ เปา้ หมายหลกั ของหอ้ งสมดุ
NLB ได้รับการคัดเลือกจาก InfoComm Development อย่างจริงจังและเป็นระบบ ไปสู่การนิยามปัญหาท่ีชัดเจนเพื่อ
Authority ของสิงคโปร์ให้มีส่วนร่วมในโครงการศึกษาน�ำร่อง ใช้ตั้งโจทย์ในการพัฒนาห้องสมุดให้ดียิ่งข้ึน เช่น มีการติดตั้ง
เก่ียวกับการวัดและประเมินเทคโนโลยีสีเขียวในสถาน กล้องวิดีโอท่ัวห้องสมุดเพ่ือสังเกตลักษณะการใช้พ้ืนที่แต่ละ
ประกอบการในประเทศสิงคโปร์ น�ำมาซึ่งการปรับปรุง ส่วนและพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้า เพื่อมองหาจุดอ่อน
ของการให้บริการแล้วพัฒนาให้ดีย่ิงข้ึน เป็นต้น

51

NLB Labs มีบทบาทนัยยะเดียวกันกับห้องแล็บทดลองทาง ความหลากหลาย และการเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมใน
วิทยาศาสตร์ กล่าวคือน�ำกระบวนการทดสอบสมมุติฐานมาใช้ การเปลี่ยนแปลงองค์กรในทิศทางท่ีสร้างสรรค์ แน่นอนว่าการ
พิสูจน์นวัตกรรมทางสังคม เป็นการแปลงจินตนาการและ ปฏิรูปวัฒนธรรมการท�ำงานแบบใหม่ไม่อาจท�ำแบบถอนราก
แนวคิดให้กลายเป็นต้นแบบท่ีจับต้องได้ แล้วจัดท�ำเป็น ถอนโคนได้ทันที เพราะธรรมชาติขององค์กรย่อมประกอบไป
โครงการน�ำร่องเพ่ือทดลองปฏิบัติการในบริบทท่ีซับซ้อนและ ด้วย ผู้ที่พร้อมและสามารถเป็นผู้น�ำในการเปลี่ยนแปลง ผู้ที่
มีตัวแปรใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากท่ีสุดภายในระยะเวลา เปลย่ี นแปลงไดย้ าก และผทู้ ย่ี งั สงวนทา่ ทแี ตห่ ากมกี ารโนม้ นา้ ว
6 เดือนซ่ึงยาวนานพอจะเห็นผลลัพธ์ ก่อนที่ห้องสมุดจะรับ ให้เห็นประโยชน์ก็พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลง
นวัตกรรมดังกล่าวไปใช้จริงต่อไป NLB ใช้แนวทางสนับสนุนบุคลากรที่มีความพร้อมก่อนเป็น
นวัตกรรมและการริเร่ิมใหม่ๆ ไม่อาจงอกงามข้ึนได้ในองค์กร อันดับแรก โดยมีโครงการ BlackBox ช่วยสร้างแรงจูงใจใน
ท่ีท�ำงานโดยการสั่งการของคนที่มีอ�ำนาจเพียงไม่ก่ีคน หากแต่ การก้าวออกมาจากกรอบเดิมๆ และเม่ือเล็งเห็นว่าเจ้าหน้าท่ี
จะต้องแวดล้อมไปด้วยเสรีภาพทางความคิด การยอมรับใน เหล่านั้นมีศักยภาพกใ็ ห้การสนับสนนุ ในด้านต่างๆ อย่างเตม็ ที่

52 | โหล

เพ่ือให้พวกเขากล้าท�ำส่ิงใหม่และไม่กลัวความล้มเหลว พ้ืนท่ี นอกจากนี้ NLB ไม่ได้ท�ำงานแบบหัวเดียวกระเทียมลีบ แต่
นิทรรศการนวัตกรรมห้องสมุดภายใน LIC เปรียบเสมือนส่ือ มองหาพนั ธมติ รอยา่ งรอบดา้ น ไมว่ า่ จะเปน็ การเชอ่ื มโยงขอ้ มลู
กลางท่ีถ่ายเทคุณค่าของการริเริ่มและสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ระหว่างภาครัฐด้วยกัน การจับมือกับภาคธุรกิจเพ่ือรวบรวม
ระหว่างเพ่ือนร่วมงาน เป็นพื้นท่ีซ่ึงบุคลากรในองค์กรสามารถ ความรู้และสารสนเทศไว้ให้ครบถ้วน การเรียนรู้และแบ่งปัน
เรยี นรแู้ ละชน่ื ชมวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) ระหวา่ ง เทคโนโลยีกับภาคอุตสาหกรรม และการสร้างการมีส่วนร่วม
กนั และจดุ ประกายความคดิ รเิ รม่ิ ใหแ้ ตกหนอ่ ออกไปไมส่ นิ้ สดุ กับชุมชนและผู้คนในการพัฒนาห้องสมุดเพื่อให้เป็นห้องสมุด
ส�ำหรับชาวสิงคโปร์ทุกคน

แหล่งข้อมลู

http://www.nlb.gov.sg/Labs/

ภาพจาก

https://www.nlb.gov.sg
http://thenewageparents.com/child-friendly-libraries-singapore/
http://www.greatdeals.com.sg/2014/10/28/library-orchard-reopens-orchard-gateway
http://www.orgnix.com/orgnix_sb/blog/national-library-board-launches-quest/
https://www.nlb.gov.sg/portals/0/IMG/About/About-NLB.jpg
http://www.channelnewsasia.com/image/1268944/1464163839000/large16x9/768/432/nlb-books.jpg
http://www.nlb.gov.sg/Portals/0/library/gallery/Yishun/Borrowing%20Stations%20-%20YIPL.jpg
http://www.channelnewsasia.com/blob/2083204/1440765250000/nlb-reservation-locker-data.jpg
https://farm1.staticflickr.com/125/422755700_8a29e303be_z.jpg?zz=1
http://referenceteamlibrary.weebly.com/uploads/1/1/8/8/11887868/941558.jpg?735
http://www.las.org.sg/wp/sjlim/ifles/SPMaker3.jpg
http://citypatriots.com/Asia/singapore/tampines-library/Tampines-Library-3.jpg

53

54 | โหล

แนวคดิ ใหมใ่ นการพฒั นาพื้นที่ห้องสมดุ

เลส วัตสัน
ที่ปรึกษาด้านห้องสมุดและพื้นที่เพื่อการเรียนรู้

บทน�ำ โครงการปรับปรุงหรือบูรณะไม่ใช่งานที่ง่าย เขาหรือเธอต้อง
ผสานทุกสิ่งที่ตนทราบเกี่ยวกับวิชาชีพของตนเองเข้ากับ
คนมักทึกทักกันเนืองๆ ว่าสถาปนิกและมัณฑนากรเป็น ข้อควรตระหนักเก่ียวกับทิศทางและแนวคิดท่ีอุบัติข้ึนทั่วโลก
ผู้รับผิดชอบการร้ือสร้างพ้ืนที่และอาคาร เม่ือบรรณารักษ์หรือ รวมท้ังจะต้องใช้ความสร้างสรรค์ในการสังเคราะห์ปัจจัย
นักการศึกษาได้รับมอบหมายให้ด�ำเนินงานโครงการปรับปรุง เหล่านี้ เป็น ‘วิสัยทัศน์แห่งอนาคต’ ท่ีอธิบายและให้เหตุผล
หรือบูรณะ พวกเขามักมอบความรับผิดชอบในโครงการให้อยู่ สนับสนุนได้เมื่อถูกท้าทายด้วยแนวคิดอื่นและวิสัยทัศน์
ในความดูแลของบรรดามืออาชีพท่ีมีความรู้และประสบการณ์ คู่แข่ง การใช้ส่ิงท่ีเรียนรู้จากอดีตและข้อมูลเก่ียวกับปัจจุบัน
มากกว่า เพื่อคาดการณ์ส่ิงท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคตเป็นหน้าท่ีท่ีเส่ียง
ในความเป็นจริง สถาปนิกหรือมัณฑนากรมีบทบาทในการ นอกจากนี้ ความประหว่ันต่อความล้มเหลวอาจรุนแรงมากจน
ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ดังน้ัน ในกรณีของ ผลักดันให้บรรณารักษ์ผู้รับบริการเลือกรับเอาแนวทางพ้ืนๆ
ห้องสมุด ความส�ำเร็จของโครงการท้ายท่ีสุดแล้วจะข้ึนอยู่กับ แต่ปลอดภัย ที่รังแต่จะสร้างความผิดหวังกับผู้สนับสนุน
ความรู้และวิสัยทัศน์ของบรรณารักษ์ผู้รับบริการ (client โครงการและผู้ใช้อาคาร
librarians) ที่มีส่วนเก่ียวข้องนั่นเอง การเป็นผู้รับบริการใน

ปรับปรุงและเรียบเรียงจากบทความเรื่อง “ห้องสมุดและพ้ืนที่การเรียนรู้ที่เหนือกว่า: ทิศทางและแนวคิด” (Better Library and
Learning Space - Trends and Ideas) เอกสารประกอบการบรรยายในงานประชุมวิชาการ TK Forum 2017

55

บทความนอ้ี ภปิ รายเกย่ี วกบั อปุ สรรคท้าทายทเี่ กดิ กบั หอ้ งสมดุ ในสหราชอาณาจักร เอ็ด เวซีย์ (Ed Vaizey) รัฐมนตรีว่าการ
ในช่วงต้นศตวรรษท่ี 21 รวมทั้งทิศทางและแนวคิดท่ีอุบัติข้ึน กระทรวงวัฒนธรรม การส่ือสารและอุตสาหกรรมความคิด
เกยี่ วกบั การพฒั นาพนื้ ทหี่ อ้ งสมดุ เพอื่ ตอบสนองอปุ สรรคทา้ ทาย สร้างสรรค์ (Ministry of Culture, Communications and
เหล่านั้น ซึ่งจะสร้างพื้นฐานในกระบวนการคิดใคร่ครวญถึง Creative Industries) ของสหราชอาณาจักร กล่าวอ้างใน
ลกั ษณะทเ่ี ป็นไปได้ของห้องสมดุ กายภาพแห่งอนาคต (future ปาฐกถาครั้งหน่ึงในปี พ.ศ. 2555 ว่าส่ิงที่เกิดขึ้นนั้นดีกว่าที่
physical libraries) เนื้อหาบทความแบ่งเป็นสามส่วนหลัก คาดการณ์กันไว้มาก กล่าวคือ ห้องสมุดเพียง 157 แห่งปิด
ได้แก่ การเรียนรู้ เทคโนโลยี และประสบการณ์ ทิศทางและ ตัวลง และห้องสมุดอีกเพียง 225 แห่งอยู่ในภาวะเส่ียงต่อการ
แนวคิดท่ีน�ำเสนอในบทความนี้น�ำมาจากหนังสือ “ห้องสมุด ปิดตัว ไม่ว่าจ�ำนวนท่ีเกิดขึ้นจริงจะเป็นเท่าใด ช่วงเวลาท่ี
และพ้ืนที่เพื่อการเรียนรู้ที่เหนือกว่า: โครงการ ทิศทาง และ บีบค้ันนี้เป็นปัจจัยหลักท่ีกระตุ้นการตั้งค�ำถามต่อการคงห้อง
แนวคิด” (Watson, 2013) ท่ีข้าพเจ้าเป็นบรรณาธิการ ซ่ึงน�ำ สมุดไว้เป็นพ้ืนท่ีกายภาพ รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงคร้ังใหญ่
เสนอความคิดของผู้แต่ง 26 ท่านจากหลายสาขาอาชีพ จึง ในด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ สังคมและพฤติกรรม ก็น�ำไปสู่
ไม่น่าแปลกหากบทความนี้จะเป็นเพียงเนื้อหาส่วนย่อยและ คำ� ถามเกย่ี วกบั ความจำ� เปน็ ในการดำ� รงไวซ้ งึ่ หอ้ งสมดุ กายภาพ
มไิ ดค้ รอบคลมุ แนวคดิ หลากหลายทนี่ ำ� เสนอโดยผแู้ ตง่ จำ� นวน ด้วย
มากมายในหนังสือเล่มดังกล่าว อย่างไรกต็ าม เมอ่ื พจิ ารณารายงานทปี่ รากฏในสอ่ื สง่ิ พมิ พ์และ
โทรทัศน์ในช่วงไม่กี่ปีนี้ ปัจจัยการเงินการคลังดูจะเป็น
ความเป็นมา อุปสรรคท้าทายหน่ึงเดียวที่ส่งผลรุนแรงที่สุดต่อห้องสมุดใน
สหราชอาณาจกั ร โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ หอ้ งสมดุ ประชาชนระดบั
ไม่น่ากังขาเลยว่าส่ิงแวดล้อมและพัฒนาการของห้องสมุดใน ท้องถิ่นขนาดเล็ก ถึงแม้ห้องสมุดเหล่านี้จะยังไม่ได้ปิดตัวลง
สหราชอาณาจกั รและประเทศอนื่ ๆ ประสบกบั ภาวะยากลำ� บาก แต่ก็ได้รับเงินสนับสนุนลดลงโดยเฉลี่ยถึง 7% ระหว่างปี
เนื่องจากวิกฤติเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2551 ในช่วง 15 ปีแรก พ.ศ. 2551 - 2552 และปี พ.ศ. 2554 - 2555 (LAMPOST,
ของศตวรรษน้ี เกิดความเปลี่ยนแปลงทางการเงินอย่างรนุ แรง 2013) จนตกอยู่ภายใต้แรงกดดันเข้าใกล้กาลอวสานมากขึ้น
จากความรุ่งเรืองสู่การล่มสลาย ซ่ึงลดทอนความพร้อม เร่ือยๆ แต่รายงานในส่ือสิ่งพิมพ์และโทรทัศน์ก็ระบุด้วยว่า
ด้านทรัพยากร โดยเฉพาะอย่างย่ิงในภาครัฐ ก่อผลกระทบ ห้องสมุดเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อยในช่วงเวลา 50 ปีท่ี
อย่างใหญ่หลวงต่อห้องสมุดประชาชน ผ่านมา ซึ่งสอดคล้องกับการที่กลุ่มต่อต้านการปิดห้องสมุด

56 | โหล

หรือการจ�ำกัดการให้บริการห้องสมุดคัดค้านการเปล่ียนแปลง องค์ประกอบส�ำคัญในโครงสร้างการเรียนรู้พ้ืนฐานของชาติ
หอ้ งสมดุ จากบทบาทของคลงั เกบ็ หนงั สอื และพนื้ ทเี่ พอื่ การอา่ น เช่นเดียวกับโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หอจดหมายเหตุ
(book repository and place of reading) (Horn, 2008) และพิพิธภัณฑ์ และเนื่องด้วยอินเทอร์เน็ตส่งผลต่อความ
ภาพท่ีพบบ่อยคือการท่ีรัฐบาลและหน่วยงานระดับท้องถ่ิน ต้องการการเรียนรู้ส่วนบุคคลให้ได้รับความสะดวกง่ายดาย
เพิกเฉยต่อการชุมนุมประท้วงต่อต้านการลดหรือปิดห้องสมุด และมีอิสระเพ่ิมขึ้น มันก็สร้างโอกาสให้กับห้องสมุดในการ
ในยุคที่สารสนเทศมีปริมาณมากมายกว่าที่เคยมีมา สามารถ ครองพื้นท่ีอยู่ในโครงสร้างการเรียนรู้ของชาติไปพร้อมกัน
สืบค้นได้จากช่องทางมากมายกว่าท่ีเคยมีมา และสืบค้นโดย ตามที่ สจ๊วร์ต แบรนด์ (Stewart Brand) (1995) ได้กล่าว
ผู้คนมากมายกว่าท่ีเคยเป็นมา ไว้ อาคารใหม่ (หรือท่ีผ่านการปรับปรุง) ทุกหลัง รวมทั้ง
“ระหว่างการถือก�ำเนิดของโลกและปี พ.ศ. 2546 สารสนเทศ ห้องสมุด สะท้อน “การคาดการณ์เกี่ยวกับอนาคต” เน่ืองจาก
ปริมาณกว่าห้าเอกซะไบต์ 1 ได้ถูกสร้างข้ึน [ขณะน้ี] เราสร้าง พื้นที่ใหม่ไม่เพียงแต่จะต้องเหมาะสมกับเป้าหมายการใช้งาน
สารสนเทศปริมาณห้าเอกซะไบต์ทุกสองวัน” (King, 2013) นบั ตงั้ แตว่ นั แรกทเี่ ปดิ ตวั แตจ่ ะตอ้ งเหมาะสมกบั อนาคตซง่ึ ยงั
และเน่ืองด้วยระบบเศรษฐกิจผสมระหว่างสิ่งพิมพ์กระดาษ ไม่เป็นท่ีประจักษ์ด้วย ความเหมาะสมกับอนาคตเป็นอุปสรรค
และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คนอ่านหนังสือจึงเพิ่มจ�ำนวนข้ึน ท้าทายยิ่งใหญ่ท่ีสุดท่ีการรื้อสร้างใดๆ ต้องเผชิญ โดยเฉพาะ
มากมายกว่าท่ีเคยเป็น (The Guardian, 2011) ผลส�ำคัญ อย่างย่ิง เน่ืองด้วย “การคาดการณ์ [เกี่ยวกับอนาคต] มัก
ประการหนงึ่ ทก่ี ารเตบิ โตอยา่ งมโหฬารของทรพั ยากรสารสนเทศ ผิดพลาด!” ดังน้ันสิ่งท่ีแบรนด์ได้เขียนไว้ จึงมักไม่มีค�ำตอบท่ี
บนอินเทอร์เน็ตมีต่อห้องสมุด คือไม่เพียงสารสนเทศจะเป็น ถูกต้องตายตัว วัตถุประสงค์ส�ำคัญประการหน่ึงของบทความ
งานหลักของห้องสมุดและผู้ใช้บริการห้องสมุดจะต้องการและ น้ี คือการสร้างความเข้าใจให้มากขึ้นเกี่ยวกับส่ิงที่ก�ำลังเกิดข้ึน
ปรารถนาจะเขา้ ถงึ สารสนเทศ แตท่ รพั ยากรสารสนเทศดงั กลา่ ว กับการเรียนรู้ เทคโนโลยีและประสบการณ์ ซึ่งเป็นข้อมูลของ
ได้สร้างโอกาสส�ำหรับการเรียนรู้ส่วนบุคคลตามอัธยาศัย การพัฒนาห้องสมุดและพ้ืนที่เพ่ือการเรียนรู้ในช่วงต้นของ
มากข้ึนกว่าที่เคยเป็น สิ่งส�ำคัญคือการเน้นว่าห้องสมุดเป็น ศตวรรษท่ี 21 ส�ำหรับใช้เป็นกรอบแนวทางในการคิดวิเคราะห์
เพื่อการพัฒนาต่อไป

1 เอกซะไบต์หรือเอกซาไบต์ (Exabyte) เป็นหน่วยวัดขนาดข้อมูลในคอมพิวเตอร์ในรูปแบบความจุของหน่วยความจ�ำ เท่ากับ
หน่ึงล้านล้านล้าน (1,000,000,000,000,000,000) ไบต์ – ผู้แปล

57

คิดใคร่ครวญเก่ียวกับการเรียนรู้ โดยห้องสมุดท�ำหน้าท่ีเป็นนายหน้าสารสนเทศ (information
brokers) ด้วย
ตลอดมา ห้องสมุดเป็นพื้นท่ีเพ่ือการเรียนรู้ซ่ึงสนับสนุน ลกั ษณะดงั กลา่ ว หอ้ งสมดุ จงึ เปน็ สว่ นหนงึ่ ในโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
การท่องไปของบุคคลในโลกแห่งสารสนเทศและความรู้ที่ การเรยี นรรู้ ะดบั ชาตแิ ละระดบั นานาชาตอิ ย่แู ลว้ อย่างไรกต็ าม
ทรัพยากรห้องสมุดบรรจุไว้ นอกจากน้ี ห้องสมุดยังเป็นพื้นที่ ห้องสมุดยังแสดงบทบาทได้อีกมากในการเรียนรู้ของชุมชน
เพ่ือการเรียนรู้ส�ำหรับนักวิจัยและส�ำหรับผู้เรียนในฐานะ สังคมและบุคคล ผ่านการพัฒนาการสนับสนุนผู้เรียนและการ
นกั วจิ ยั คำ� แนะนำ� เกยี่ วกบั วธิ กี ารใชท้ รพั ยากรหอ้ งสมดุ เพอ่ื ให้ เรียนรู้ของพวกเขาในห้องสมุดกายภาพและห้องสมุดเสมือน
เกิดประโยชน์สูงสุดและวิธีการเข้าถึงบริการไม่ว่าจะผ่าน (physical and virtual library) ความเข้าใจในการสนับสนุน
เอกสารแจกผู้ใช้บริการหรือผ่านหลักสูตรฝึกอบรมเฉพาะก็ การเรียนรู้ซ่ึงก้าวล้�ำกว่าการให้เพียงค�ำแนะน�ำเก่ียวกับการใช้
ล้วนเป็นส่วนหนึ่งของงานห้องสมุด บทบาทน้ีพัฒนาไปพร้อม
กับการเติบโตของทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (e-resources)

58 | โหล

ห้องสมุดเป็นก้าวส�ำคัญก้าวแรกในการแสดงบทบาทท่ีย่ิงใหญ่ ทรพั ยากรภายในสถานท่ี (outside-in library) ไดก้ ลายสภาพ
ขึ้นน้ี เป็นหอ้ งสมดุ ซงึ่ ช่วยใหผ้ ้ใู ชส้ ามารถกลายเปน็ ผสู้ รา้ งทรพั ยากร
ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 และต้นศตวรรษที่ 21 ทฤษฎีและ รวมทั้งน�ำเสนอผลิตภัณฑ์บริการให้พร้อมใช้ได้ทุกแห่งโดย
โมเดลการรู้สารสนเทศ (information literacy) ได้ถูกพัฒนา ไม่จ�ำกัดเพียงภายในอาคาร (inside-out library)
ขึ้นในบริบทห้องสมุด ตัวอย่างเช่น ในสหราชอาณาจักร มีการ ในศตวรรษท่ี 21 เทคโนโลยีได้กลายเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ
พัฒนาโมเดลท่ีเป็นระบบส�ำหรับการให้บริการฝึกอบรมและ ของทักษะท่ีจ�ำเป็นต่อการเข้าถึงและการบริหารสารสนเทศ
ความรู้เกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ บางโมเดลถูกพัฒนาจาก รวมท้ังการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ เราก�ำลังก้าวสู่ระยะถัดไป
ทฤษฎีการเรียนรู้ปัจจุบัน เช่น โมเดลเสาหลักเจ็ดประการ ในการรู้ดิจิทัล สื่อ และวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม (partici-
SCONUL (SCONUL seven pillars model, 2011) ซ่ึง patory culture) (Jenkins, 2013) และต้องคิดทบทวน
คล้ายคลึงอย่างยิ่งกับโมเดลการเรียนรู้ของเดวิด คอล์บ เกยี่ วกบั การใหบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ และพน้ื ทเี่ พอ่ื การเรยี นรู้ ซง่ึ เปน็
(David Kolb) (1984) ท่ีเชื่อว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นก็ต่อเม่ือ คุณูปการที่ห้องสมุดจะสร้างให้กับการเรียนรู้ของชุมชนและ
ประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านระยะไตร่ตรอง (reflection) เพื่อ บุคคล และที่ส�ำคัญเราต้องปรับทัศนะท่ีมีต่อผู้เรียนรู้จาก
เรียนรู้จากประสบการณ์นั้น รวมทั้งเพื่อวางแผนและรับ ผู้บริโภคสารสนเทศเป็นผู้สร้างและผู้ผลิตองค์ความรู้
ประสบการณ์คร้ังใหม่
แต่การเปล่ียนผ่านจาก “ทัศนะของผู้บริโภค” ซ่ึงมองห้องสมุด เรามีชวี ิตอยู่ในยคุ มโนทศั น์
เป็นช่องทางเข้าถึงทรัพยากรการเรียนรู้ สู่การท่ีห้องสมุดแสดง
บทบาทเชิงรุกในกระบวนการเรียนรู้ นับเป็นหน่ึงในอุปสรรค เคน โรบินสัน (Ken Robinson) (2013) กล่าวว่า: “ระบบการ
ท้าทายส�ำคัญอันดับแรกต่อโมเดลการรู้สารสนเทศและการมี ศึกษาปัจจุบันไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองอุปสรรค
ส่วนร่วมอย่างแท้จริงของห้องสมุดในกระบวนการเรียนรู้ ท้าทายท่ีเราเผชิญอยู่ในตอนน้ี ระบบการศึกษาเหล่าน้ันถูก
สิ่งส�ำคัญอันดับสองคือการเปล่ียนมุมมอง กล่าวคือ ผู้บริโภค พัฒนาข้ึนเพื่อตอบสนองความต้องการในยุคก่อน การปฏิรูป
ในห้องสมุดสมัยใหม่ (modern library) กลายเป็นผู้สร้าง นั้นไม่เพียงพอ ระบบการศึกษาเหล่าน้ันจะต้องถูกปฏิวัติ”
ดังที่ลอร์แคน เด็มพ์ซีย์ ( Lorcan Dempsey) (2010) กล่าว การบริหารการศึกษาด้วยแนวทาง “อุตสาหกรรม” เป็นท่ี
ไว้ว่าห้องสมุดแห่งอดีตซึ่งผู้ใช้ภายนอกเข้ามารับบริการจาก คลางแคลงอย่างย่ิงในปัจจุบัน ในหนังสือของแดเนียล พิงค์
(Daniel Pink) (2005) ช่ือ “ชุดความคิดใหม่” (A Whole

59

New Mind) ระบวุ า่ การเปลย่ี นผา่ นทางสงั คม ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชว่ ง พื้นฐานก็เป็นสิ่งท้าทาย การคิดอย่างจริงจังเกี่ยวกับห้องสมุด
เวลากว่า 200 ปี จากยุคกสิกรรม (agricultural age) สู่ยุค และพ้ืนท่ีเพ่ือการเรียนรู้รูปแบบใหม่อาศัยการตระหนักถึง
อุตสาหกรรม (industrial age) สิ้นสุดท่ียุคสารสนเทศ/ ธรรมชาตทิ เ่ี ปลยี่ นแปลงในกจิ กรรมตา่ งๆ ของทง้ั ครผู สู้ อนและ
ความรู้ (age of information/knowledge) สิ่งที่เราอ่าน ผู้เรียน เพื่อท่ีจะมั่นใจได้ว่าบริการและทรัพยากรถูกใช้ให้เกิด
จ�ำนวนมาก ส่ิงท่ีก�ำหนดวิธีการออกแบบห้องสมุดของเรา และ ประโยชน์สูงสุด ฟรีแมน (Freeman) (2005) มองว่าห้องสมุด
ส่ิงที่เรา “สอน” ในห้องสมุดล้วนเช่ือมโยงกับสังคมสารสนเทศ เป็น “ส่วนต่อขยายของห้องเรียน” และสรุปว่า “พ้ืนท่ีห้องสมุด
นอกจากน้ี ระเบียบวิธี (methodologies) ท่ีเราใช้สอนได้ จะต้องกอปรด้วยศิลปะวิทยาการสอนแนวใหม่ รวมถึงวิธีการ
รับข้อมูลจากแนวทางการสอนในยุคอุตสาหกรรม แบบพ่ึงพาและแบบมีปฏิสัมพันธ์ (collaborative and
พงิ คต์ ระหนกั ถงึ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมขนานใหญค่ รง้ั ใหม่ interactive modalities)”
ในชว่ งปแี รกๆ ของศตวรรษท่ี 21 ทเ่ี กดิ ขน้ึ พรอ้ มกบั การกำ� เนดิ ในชว่ งไมก่ ปี่ มี านี้ มกี ารเนน้ กระบวนการพฒั นาผเู้ รยี นดว้ ยการ
ของสงั คมมโนทศั น์ (conceptual society) ซงึ่ หมายถงึ สงั คม เรียนรู้ตามอัธยาศัยซ่ึงเกิดขึ้นนอกห้องเรียน เช่น ผลกระทบ
ท่ีให้คุณค่ากับลักษณะบุคคล เช่น ความคิดสร้างสรรค์และ ของหลักสูตรออนไลน์ระบบเปิดที่รองรับผู้เรียนจ�ำนวนมาก
ความเห็นอกเห็นใจ ว่าเป็นทรัพย์ส่วนบุคคลและทรัพย์ (Massively Open Online Courses หรือ MOOCs) ซึ่ง
ส่วนรวมของสังคม สังคมมโนทัศน์เป็นการสอดประสาน ก�ำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในการอุดมศึกษาทั่วโลก เมื่อการ
ระหวา่ งศกั ยภาพดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละสมรรถนะในการสรา้ ง บรรยายถูก “น�ำเสนอ” ในวงกว้างผ่านช่องทางออนไลน์ สิ่งที่
วิถีคิดและแนวคิดใหม่ๆ (new thinking and ideas) เกิดข้ึนภายนอกบริบทนี้จึงถือเป็นการเรียนรู้ “อย่างแท้จริง”
ซึ่งกอปรกันเป็นพ้ืนฐานใหม่ส�ำหรับการมีส่วนร่วมของบุคคล ผลท่ีตามมาก็คือห้องสมุดและพื้นท่ีในห้องสมุดทุกประเภทมี
ในสังคมโลกและส�ำหรับศักยภาพในการแข่งขันของชาติ บทบาทส�ำคัญกว่าท่ีเคยมีมาในฐานะพื้นที่เพื่อการเรียนรู้ภาย
(global individual participation and national ใต้ระบบการศึกษาท่ีเป็นไปเพ่ือสาธารณชนอย่างแท้จริง ใน
competitiveness) หรือ “เศรษฐกิจระบบคิด” (idea eco- ห้องเรียน “กลับด้าน” (flflipped classroom) ดังกล่าว ห้อง
nomy) สมุดทั้งในระบบการศึกษาและภาครัฐต้องการวิสัยทัศน์และ
การทบทวนวิธีการที่จะปฏิวัติระบบการศึกษาจากการเน้น เป้าหมายเกี่ยวกับประชาชนและวิธีการเรียนรู้ของพวกเขาเพ่ือ
การเรียนการสอนไปสู่การช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะ จะสามารถสรา้ งคณุ ปู การอยา่ งแทจ้ รงิ ตอ่ การเรยี นรทู้ เี่ หมาะกบั
สังคมมโนทัศน์ ห้องสมุดแห่งศตวรรษที่ 21 ด�ำเนินงาน

60 | โหล

ท่ามกลางกระแสของสารสนเทศและเศรษฐกิจระบบคิดซึ่งให้ ปฏสิ มั พนั ธไ์ ปสมู่ ติ ทิ างสงั คมของการเรยี นรู้ การสนทนาซง่ึ เปน็
คุณค่าและสนับสนุนผู้เรียนในฐานะผู้สร้าง รวมทั้งตระหนัก องค์ประกอบส�ำคัญในปฏิสัมพันธ์ส่วนใหญ่ของมนุษย์ มี
ถึงความจริงแท้ของวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม [เจนคินส์ บทบาทหลักในกิจกรรมการเรียนรู้ (และการสอน) ทั้งหมด
(Jenkins) (2013)] การสนทนามิได้เกิดเพียงกับเพื่อนและครูผู้สอนเท่านั้น แต่ยัง
กินความถึงการสนทนากับวัสดุการเรียนรู้ ทรัพยากรและ
เกดิ อะไรขึ้นกบั การเรียนรู้ เทคโนโลยีต่างๆ ด้วย (โปรดดู Laurillard (2002) ส�ำหรับ
กรอบแนวคดิ และการอภปิ รายเกย่ี วกบั การสนทนาอยา่ งละเอยี ด)
จอห์น ซีลีย์ บราวน์ (John Seely Brown) (Brown and นอกจากน้ี การสนทนายังเป็นองค์ประกอบส�ำคัญในทฤษฎี
Duguid, 2000) เช่ือว่า “การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสังคม การเรียนรู้ปัจจุบันจ�ำนวนมาก รวมถึง แนวคิดคอนสตรัค-
อย่างเห็นได้ชัด ในความเป็นจริง การเรียนรู้มิได้เกิดข้ึน ติวิสต์เชิงสังคม (social constructivism) (การน�ำเสนอและ
ตอบสนองการสอน แต่เป็นผลจากกรอบทางสังคมที่ส่งเสริม อธิบายของครูผู้สอน) แนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้” ความรู้เป็นผลของปฏิสัมพันธ์ทางสังคมผ่านการ (constructionism) (การสนทนากับตนเองซ่ึงปรับเปล่ียน
สังสรรค์กันอย่างไม่เป็นทางการ (informal get-togethers) กรอบแนวคิดของตัวเรา) และการเรียนรู้ในบริบทจริง
ซง่ึ กจิ กรรมหลกั ในการสงั สรรคก์ นั ดงั กลา่ วคอื การสนทนา และ (situated learning) (การร่วมสร้างความรู้ในสถานการณ์ที่
ดังท่ีเขากล่าวไว้ว่า เราประสงค์ใช้ความรู้นั้น)
“การเรียนรู้ทุกประการเริ่มต้นที่การสนทนา”

จริงๆ แล้ว ข้อความสามัญท่ีถูกละเลยได้ง่ายน้ีบ่งบอกแนวคิด
ซึ่งทรงอิทธิพลและส�ำคัญอย่างย่ิงยวดที่เปิดโลกทัศน์ของเรา
ว่า “สังคม” คืออะไร จากมิติทางสังคมของกระบวนการ

61

ความส�ำคัญของการสนทนาต่อการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพนั้น อย่างดีในฐานะผู้อ�ำนวยการการเรียนรู้ (learning facilita-
ชัดเจนท้ังในบริบททางสังคมและบุคคล โอกาสส�ำหรับ tors) ของห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้
ห้องสมดุ ในฐานะพนื้ ทเี่ พอ่ื การเรยี นรู้ คอื การมสี ่วนร่วมในการ
ปรับสมดุลใหม่น้ี อุปสรรคท้าทายคือการใช้สิ่งอ�ำนวยความ ไม่ใชเ่ พยี งความหลากหลายของการสนทนา แตย่ งั
สะดวกที่เราสร้างข้ึนและบริการท่ีเราน�ำเสนอในห้องสมุดและ รวมถงึ ปัญญาทเ่ี กิดขึ้นจากการสนทนา
พื้นที่เพื่อการเรียนรู้ในการสร้างสมดุลใหม่ให้ระบบการศึกษา
ซึ่งเน้นการสอนมากเกินไป ห้องสมุดและพื้นที่การเรียนรู้ งานวิจัยด้านจิตวิทยาการศึกษาของโฮวาร์ด การ์ดเนอร์
โฉมใหม่ควรจะสะท้อนความหลากหลายของรูปแบบการ (Howard Gardner) (2006, 1999, 1993) ช้ีให้เห็นว่าปัญญา
สนทนาเพื่อสร้างสมดุลระหว่างการสร้างความเข้าใจผ่าน มิได้เป็นเอกทัศน์ (singular concept) และผู้เรียนทุกคนมี
กระบวนการทางสังคม และการสืบค้นสารสนเทศผ่าน มิติแห่งปัญญาของตนที่หลากหลาย ดังน้ัน ผู้เรียนทุกคนจึงมี
กระบวนการการเรียนการสอน ห้องสมุดควรสร้างบรรยากาศ ปัญญาในด้านที่ต่างกัน ประเด็นท่ีชัดเจนจากงานวิจัยของเขา
และประสบการณ์ซ่ึงเปิดโอกาสให้ผู้เรียนท้าทายและพัฒนา คอื การมอี ยขู่ องความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลและความตอ้ งการ
กรอบความเข้าใจของพวกเขาผ่านการสนทนาในหลายรูปแบบ ของผู้เรียนที่มีความหลากหลายเป็นปกติวิสัย นอกจากน้ี ยัง
เท่าที่จะเป็นไปได้ ท้ังจากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน ไปจนถึง มีการยอมรับว่าการเรียนรู้มีองค์ประกอบด้านอารมณ์ด้วย
การไตร่ตรองตามล�ำพัง อารมณ์ทางบวกและทางลบ เสริมหรือขัดขวางการเรียนรู้ได้
นอกจากน้ันกระบวนการที่บุคลากรห้องสมุดมีส่วนร่วมในการ เจนเซ่น (Jensen) (2005) เตือนพวกเราว่าอารมณ์ไม่เพียงแต่
สนทนาและสร้างประสบการณ์ก็เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญยิ่งต่อ จะเปน็ แรงผลกั ดนั และอปุ สรรคสำ� คญั ในการเรยี นรู้ แตย่ งั เกดิ
ประสิทธิภาพของพ้ืนที่เพ่ือการเรียนรู้ บรรณารักษ์สามารถ ขึ้นตลอดเวลา เช่ือมโยงกับพฤติกรรมของเราและแปรเปลี่ยน
แสดงบทบาทส�ำคัญในการเรียนรู้ได้ เน่ืองจากพวกเขามีความ ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา
เขา้ ใจในทรพั ยากรหอ้ งสมดุ ซงึ่ เปน็ วสั ดพุ น้ื ฐานในกระบวนการ ส่ิงท่ีประจักษ์ชัดอีกประการหน่ึง คือธรรมชาติแห่งพลวัตของ
เรียนรู้ และในขณะน้ี ความหลากหลายของประเภททรัพยากร ความต้องการนั้นซับซ้อนเช่นเดียวกับอารมณ์ เม่ือกอปรกับ
การศึกษาแบบเปิด (open education resources) ก�ำลัง ปัจจัยด้านบุคลิกภาพและปัญญา จะเกิดความซับซ้อนด้าน
ขยายตัวข้ึนอย่างรวดเร็ว (Bonk, 2009) จึงสร้างพ้ืนฐานให้ บริบทส่วนบุคคลในกระบวนการเรียนรู้ ท่ีท�ำให้เราต้องมุ่งมั่น
บรรณารักษ์ใช้ประโยชน์จากทักษะหลักของพวกเขาได้เป็น อย่างไม่หยุดยั้งในการท�ำความเข้าใจเชิงประสบการณ์ว่า
ส่ิงแวดล้อมแบบไหนอาจเสริมการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมแบบ

62 | โหล

ไหนจะไม่เสริมการเรียนรู้ พ้ืนที่เพ่ือการเรียนรู้ซึ่งเราสร้างขึ้น ประเภทพ้ืนที่เพื่อการเรียนรู้แบบคร่าวๆ นี้เป็นกรอบแนวคิด
สามารถเสริมหรือขัดขวางการเรียนรู้ ครูและนักจิตวิทยาชาว ซ่ึงมีประโยชน์ในการคิดไตร่ตรองถึงส่ิงที่ห้องสมุดแห่ง
อิตาเลียนนามว่า โลริส มาลากุซซ่ี (Loris Malaguzzi) เชื่อ ศตวรรษที่ 21 จะสร้างข้นึ ได้ ประเภทเหล่าน้มี ไิ ด้เบด็ เสรจ็ หรือ
ว่าเด็กๆ มีพัฒนาการผ่านปฏิสัมพันธ์ เริ่มจากผู้ใหญ่ในชีวิต ผกู ขาด หากแตเ่ ปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ สกู่ ารคาดการณ์ การตอ่ ยอดและ
ของพวกเขา ได้แก่ ผู้ปกครองและครู ตามด้วยเพ่ือนของพวก การผสมผสาน ขอบเขตของพ้ืนท่ีประเภทสถานพบปะชุมนุม
เขา และสุดท้ายคอื สิง่ แวดล้อมท่อี ยู่รอบตัวพวกเขา มาลากซุ ซี่ (marketplace type space) (ประเภทที่หน่ึงตามการจ�ำแนก
เชื่อว่าสิ่งแวดล้อมเป็นเสมือนครูคนท่ีสาม ของริซโซ่) และพื้นท่ีในศาสนสถาน (ประเภทที่ส่ีตามการ
จ�ำแนกของริซโซ่) รวมท้ังความสมดุลระหว่างพ้ืนที่เพื่อการ
นัยบางประการต่อพน้ื ทีห่ ้องสมุด เรยี นรทู้ งั้ สองประเภทอาจจะผนั แปรไปตามหอ้ งสมดุ แตล่ ะแหง่
การค�ำนึงถึงความสมดุลระหว่างพื้นท่ีประเภทต่างๆ หมายถึง
ส่ิงแวดล้อมที่เราปฏิบัติงานและเรียนรู้ส่งผลอย่างย่ิงยวดต่อ การพิจารณาขอบเขตพื้นท่ีเพ่ือการเรียนรู้ทางสังคมประเภทที่
ความรู้สึกและการเรียนรู้ของเรา ริซโซ่ (Rizzo) (2002) ช้ีแนะ หน่ึงและประเภทที่สองซึ่งจอแจและก�ำลังเป็นที่นิยมตามห้อง
แนวทางท่ีพัฒนาจากการศึกษาความคาดหวังของผู้ใช้บริการ สมดุ หลายแหง่ ในสหราชอาณาจกั ร เมอื่ เปรยี บกบั พนื้ ทเี่ พอื่ การ
ห้องสมุดวิชาการเก่ียวกับประเภทของสิ่งแวดล้อมที่พวกเขา เรียนรู้ประเภทท่ีสามและประเภทท่ีส่ีในห้องสมุดแบบด้ังเดิม
แสวงหา โดยริซโซ่ได้จ�ำแนกพ้ืนท่ีเพื่อการเรียนรู้เป็นสี่ประเภท (traditional library) ความเป็นจริงด้านความคาดหวังของ
ได้แก่ ผู้ใช้บริการห้องสมุดท่ีแปรเปลี่ยนไปและแนวคิดด้านการ
(1) พ้ืนที่เพื่อการเรียนรู้ในชุมชนซ่ึงมีชีวิตชีวาและสร้างการมี เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 สนับสนุนการเปล่ียนแปลงจากพื้นที่
ประเภททสี่ ามและประเภททส่ี ใี่ หก้ ลายเปน็ พน้ื ทป่ี ระเภททห่ี นง่ึ
ส่วนร่วมอย่างมาก และประเภทท่ีสอง
(2) พื้นที่เพื่อการเรียนรู้ซ่ึงสร้างการพ่ึงพาและปฏิสัมพันธ์ แลงเคส (Lankes) (2013) แสดงออกซง่ึ แนวคดิ นอ้ี ยา่ งชดั เจน
ว่า “ห้องสมุดท่ีดีเลิศในปัจจุบันล้วนแต่ก�ำลังแปลงโฉมจาก
ส�ำหรับการสืบค้นส่วนบุคคลและการท�ำงานกลุ่ม อาคารเงียบงันซ่ึงมีห้องให้ใช้เสียงดังได้หน่ึงหรือสองห้อง เป็น
(3) พ้ืนท่ีเพื่อการเรียนรู้ซึ่งไม่ใคร่จะมีชีวิตชีวาและค่อนข้าง อาคารที่จอแจซ่งึ มหี ้องห้ามใช้เสียงหน่งึ ห้อง ห้องสมดุ เหล่านั้น
กำ� ลงั เปลย่ี นแปลงจากอาณาจกั รของบรรณารกั ษเ์ ปน็ อาณาจกั ร
เงียบเชียบ เช่น ห้องและซุ้มหรือมุมส�ำหรับอ่านหนังสือ
(4) พน้ื ทเี่ พอ่ื การเรยี นรสู้ ำ� หรบั การใครค่ รวญและดำ� ดง่ิ ในหว้ ง

ความคิดอย่างเงียบเชียบ

63

สำ� เรจ็ นอ้ ยทสี่ ดุ คอื พนื้ ทซี่ ง่ึ ไมต่ อบสนองความตอ้ งการของผใู้ ช้
บริการและไม่สามารถปรับตัวเข้ากับความต้องการระยะส้ันท่ี
แปรเปลี่ยนได้

ของชมุ ชน” ห้องสมดุ แหง่ ศตวรรษที่ 21 ซงึ่ ประสบความส�ำเรจ็ ความหลากหลายและความยดื หย่นุ
จะต้องมีความสมดุลระหว่างพ้ืนที่ประเภทต่างๆ ซึ่งตอบสนอง
ความต้องการของชุมชนที่ใช้บริการ อย่างไรก็ตาม ห้องสมุด จากมุมมองการเรียนรู้ พื้นท่ีประเภทต่างๆ ซึ่งค�ำนึงถึงความ
แห่งศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงประสบความส�ำเร็จอย่างแท้จริงจะมี แตกต่างระหว่างบุคคล การเรียนรู้ผ่านการสนทนาและปัจจัย
พลวัตที่สมดุลซ่ึงท�ำได้เกินกว่าความคาดหวังและปรับตัวตาม ด้านอารมณ์ แทนที่เราจะละเลยมิติเหล่านั้น เรากลับจะต้องใช้
วฏั จกั รการใชง้ านตลอดทง้ั ปเี พอื่ ตอบสนองความตอ้ งการทเ่ี กดิ แนวทางใหมส่ สู่ ง่ิ ทเ่ี ราใหบ้ รกิ ารในหอ้ งสมดุ และวธิ กี ารนำ� เสนอ
ข้ึนในแต่ละช่วงเวลาได้ บริการน้ัน ความหลากหลายของความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด คือความต้องการพื้นที่อ่านหนังสือที่ ในกลุ่มผู้ใช้บริการห้องสมุดเกิดจากความต้องการของผู้เรียน
เงียบเชียบซึ่งเพ่ิมข้ึนในหมู่องค์กรการศึกษาระหว่างการสอบ ที่มีความหลากหลายเป็นปกติวิสัย และความต้องการเหล่าน้ี
เมอื่ เทยี บกบั ความตอ้ งการพนื้ ทสี่ ำ� หรบั การอา่ นหนงั สอื รว่ มกนั แปรผันตามกาลเวลา อย่างไรก็ตาม ความหลากหลายนี้มิได้
ระหว่างการท�ำโครงการ การสร้างการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หมายถึงพื้นที่แยกเป็นสัดส่วนตามประเภท แต่หมายถึง
อาจท�ำได้ง่ายโดยเพียงกดสวิตช์เปล่ียนสีของพ้ืนท่ี การเปลี่ยน การตระหนกั วา่ เราเปน็ สตั ว์สงั คมทย่ี งั ประโยชนใ์ นแบบของเรา
หลอดไฟหรือการติดต้ังโครงสร้างหรือฉากก้ันแบบก่ึงส่วนตัว นอกจากน้ียังหมายถึงการท่ีเราสร้างกรอบความเข้าใจภายใต้
(semi-private structures or partitions) เพื่อสร้างความ อิทธิพลของกรอบการสนทนา ซึ่งครอบคลุมปฏิสัมพันธ์ที่เกิด
เป็นส่วนตัว หรือพ้ืนที่ส�ำหรับกิจกรรมกลุ่มซึ่งป้องกันการ กับทรัพยากรและเทคโนโลยี การฟัง การมีส่วนร่วม การสร้าง
รบกวนกิจกรรมของผู้อ่ืนท่ีอยู่ใกล้เคียง พื้นที่ซึ่งประสบความ ประโยชน์ การไตร่ตรองและการสร้าง สิ่งที่ห้องสมุดจะต้อง
ท�ำเพิ่มขึ้นคือการส่งเสริม กระตุ้นและสนับสนุนผู้สร้าง
องค์ความรู้แห่งอนาคต การผันตัวจากการเน้นพ้ืนที่ห้องสมุด
ไปสู่กิจกรรมของประชาชนในฐานะผู้เรียนและผู้สร้าง ภายใต้
บริบทแห่งยุคมโนทัศน์ท่ีก�ำลังเติบโตท�ำให้เราไม่เพียงจะต้อง
เข้าใจว่าผู้คนเรียนรู้อย่างไร แต่จะต้องเข้าใจด้วยว่าพ้ืนท่ีท่ีเรา
สร้างข้ึนจะรองรับการเรียนรู้ของพวกเขาได้อย่างไร

64 | โหล

เทคโนโลยีและห้องสมุด เทคโนโลยีก�ำลังเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว การจินตนาการ
ส่ิงท่ีเทคโนโลยีจะท�ำให้เกิดข้ึนต่อไปในอนาคตจึงมิใช่เรื่องง่าย
ตลอดหลายปีท่ีผ่านมา ห้องสมุดได้ใช้เทคโนโลยีเพ่ือเสริม อุปสรรคท้าทายยิ่งกว่าท่ีเคยมีมา คือการคาดการณ์ได้ว่า
ประสิทธิผลเชิงปฏิบัติการด้วยการรับเอาระบบสารสนเทศซึ่ง นวัตกรรมเทคโนโลยีใดจะมีแนวโน้มแพร่หลายและมีความ
ท�ำให้การปฏิบัติงานและบริการของห้องสมุดด�ำเนินไปอย่าง ส�ำคัญอย่างแท้จริงกับการพัฒนาพ้ืนท่ีห้องสมุด ค�ำถามที่เกิด
อัตโนมัติ โดยเน้นการจัดหา การบริหารจัดการและการเผย ข้ึนคือพัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งตอนน้ีดูจะไม่
แพรท่ รพั ยากร จนถงึ การขยายขอบเขต (ทไ่ี มใ่ ครส่ มบรู ณแ์ บบ เชื่อมโยงกับห้องสมุด เช่น ยานยนต์ไร้คนขับ (driverless
นัก) ไปสู่การบริหารจัดการทรัพยากรดิจิทัล ในทางกลับกัน cars) แว่นตากูเกิ้ล (google glass) เครื่องพิมพ์สามมิติ (3D
การใชเ้ ทคโนโลยกี บั พนื้ ทหี่ อ้ งสมดุ คอ่ นขา้ งถกู ละเลย การสรา้ ง printers) การประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ (cloud computing)
ระบบฮาร์ดแวร์ การสร้างระบบเครือข่ายและอุปกรณ์บริการ เครอื ขา่ ยทางสงั คม (social web) อปุ กรณส์ วมใส่ (wearable
ตนเอง กอปรกับการลงทุนในป้ายอิเล็กทรอนิกส์ (electronic devices) หุ่นยนต์ (robots) ปัญญาจักรกล (machine
signage) และจอแสดงผล (display screen) เป็นมิติที่ intelligence) หรือผลิตภัณฑ์นาโนเทคโนโลยี (products of
เดน่ ชดั ทสี่ ดุ ของพน้ื ทที่ ม่ี กี ารใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งกวา้ งขวาง แนวคดิ nanotechnology) จะส่งผลอย่างไรต่อห้องสมุด และปัจจัย
เก่ียวกับศูนย์ประเภทต่างๆ เช่น ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ใด (ถ้ามี) อาจสร้างอนาคตที่สดใสกว่าส�ำหรับห้องสมุดแห่ง
(IT commons) และศูนย์สารสนเทศ (Information Com- อนาคต? รายการส้ันๆ ที่ไม่ครบถ้วนเหล่านี้เป็นเพียง
mons) (Watson and Anderson, 2008) ได้วิวัฒน์ไปสู่ เทคโนโลยีที่เรามีอยู่ ณ ปัจจุบัน แต่ความเป็นจริงคือการ
การติดต้ังคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะเช่ือมโยงผ่านเครือข่ายที่เรียง พัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องที่อัตราการเปลี่ยนแปลงยก
ซ้อนกันดังที่พบในมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่และห้องสมุด ก�ำลังสอง (change2) จะส่งผลอย่างใหญ่หลวงเกินกว่าที่เรา
ประชาชนหลายแห่ง ซ่ึงท�ำให้นึกถึงฟาร์มเลี้ยงไก่แบบกรงตับ จะจินตนาการได้
(battery chicken style farms) ส่ิงแวดล้อมท่ีไม่น่าอภิรมย์ เรย์ เคิร์ซเวลล์ (Ray Kurzweil) (2006) คาดการณ์ว่าภายใน
เช่นน้ี นับว่ายังห่างไกลจากบรรยากาศท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ ปลายทศวรรษที่ 2020 คอมพิวเตอร์จะผ่านการทดสอบทัวริง
ซงึ่ บรรยายไว้ในส่วนทแี่ ล้วของบทความน้ี การเสรมิ เทคโนโลยี (Turing Test) กล่าวคือ จักรกลจะสามารถร่วมการสนทนา
ในพน้ื ทห่ี อ้ งสมดุ เดมิ หรอื แมก้ ระทง่ั ทสี่ รา้ งขนึ้ ใหมโ่ ดยมากแลว้ ได้อย่างเก่งกาจจนแทบคล้ายคลึงกับมนุษย์ เมื่อเป็นเช่นน้ัน
เห็นได้ชัดว่าเป็นอุปสรรคต่อวิธีแก้ปัญหาและไม่ได้ช่วยเสริม เราจะยงั ตอ้ งการบคุ ลากรสำ� หรบั การใหค้ ำ� ปรกึ ษาและการตอบ
พ้ืนที่แต่อย่างใด

65

ค�ำถามในห้องสมุดอยู่หรือไม่ พัฒนาการน้ีและอ่ืนๆ ที่เกิดข้ึน มีผลกระทบส�ำคัญต่อทุกมิติชีวิตอย่างมหาศาลและไม่คาดฝัน
จะผลกั ดนั ใหเ้ ราตอ้ งกา้ วจากเพยี งการรบั เอามาใชห้ รอื การปรบั รวมทั้งห้องสมุดและการปฏิบัติงานของบรรณารักษ์ การ
ตวั ไปสกู่ ารยอมรบั และการสรา้ งความกลมกลนื กบั เทคโนโลยี เปลยี่ นแปลงนำ� มาซง่ึ ความไมแ่ นน่ อนและชใี้ หเ้ หน็ วา่ เราจะตอ้ ง
สิ่งที่จะเกิดข้ึนแน่นอนคือคอมพิวเตอร์จะสามารถซ่อมแซมตัว ทบทวนถึงขั้นฐานรากเก่ียวกับรูปแบบและหน้าท่ีของห้องสมุด
เอง ท�ำส�ำเนาตัวเอง และพัฒนาตัวเองได้ในอนาคตอันใกล้ ในฐานะพ้ืนท่ี รวมถึงค�ำถามส�ำคัญว่า ‘ท�ำไมผู้คนจึงเลือกไป
ท�ำให้การเปล่ียนแปลงยกก�ำลังสองยิ่งท้าทาย ผลสืบเนื่องของ ห้องสมุด’ การตอบค�ำถามน้ีภายใต้บริบทของเทคโนโลยี
อัตราการเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วน้ีและความล้มเหลวของเราใน ห้องสมุดจะต้องประเมินความสัมพันธ์ระหว่างห้องสมุดและ
การเหน็ ภาพการเปลยี่ นแปลงยกกำ� ลงั สอง คอื การทเ่ี ทคโนโลยี เทคโนโลยีอย่างใกล้ชิด

66 | โหล

ห้องสมุดคือเทคโนโลยี ครอบคลุมระบบทั้งหมดที่ท�ำให้เราสามารถบริหารจัดการ
พัฒนาและใช้เคร่ืองมือเหล่าน้ีได้
“เทคโนโลยีคือส่ิงใดก็ตามท่ีประดิษฐ์ข้ึนหลังจากคุณเกิด” – เคลลยี เ์ ชอื่ วา่ ในชว่ งหลายศตวรรษทผ่ี า่ นมา อนกุ รมเทคโนโลยี
อลัน เคย์ (Alan Kay) ได้วิวัฒน์คู่ขนานกับระบบชีววิทยา จากทัศนะนี้ ตัวห้องสมุด
ห้องสมุดมักตอบสนองต่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการ เองกเ็ ปน็ เทคโนโลยี กลา่ วคอื เปน็ ระบบภายใตอ้ นกุ รมเทคโนโลยี
ส่ือสารด้วยการเช่ือมโยงกับสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและบริการ ซึ่งอุบัติขึ้นเพื่อสร้างการใช้เทคโนโลยีต่างๆ อย่างต่อเน่ือง
ที่มีอยู่เดิมอย่างต้ืนเขินเกินไป ส่วนใหญ่จะเป็นการรับเอา เช่น ศิลาจารึก ต้นฉบับที่เขียนด้วยลายมือ ตัวอักษรตีพิมพ์
เทคโนโลยีมาใช้โดยมีการปรับตัวเพียงเล็กน้อย วิธีการนี้จะได้ สิ่งประดิษฐ์ดิจิทัล และวัสดุส่ือประสม ดังนั้น ค�ำถามท่ีลึกซ้ึง
ผลดกี บั เทคโนโลยที มี่ บี ทบาทเฉพาะด้าน เช่น แผ่นฟิล์มขนาด ย่ิงข้ึนส�ำหรับห้องสมุดคือรูปแบบถัดไปของเทคโนโลยีจะเป็น
เล็กหรือไมโครฟิช (microfiche) หรือเทคโนโลยีการพิมพ์ แต่ อย่างไร ค�ำถามดังกล่าวมีนัยมากกว่าเพียงการพิจารณาถึง
การด�ำเนินงานจะน่าผิดหวังเมื่อมีการรับเอาเทคโนโลยีสามัญ กลวธิ ขี องหอ้ งสมดุ ในการรบั เอาเทคโนโลยมี าใชแ้ ละปรบั ตวั ให้
อเนกประสงค์ (generic all-purpose technology) มาใช้ เข้ากับเทคโนโลยี สิ่งที่จ�ำเป็นส�ำหรับห้องสมุดคือการผสาน
เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และการสรา้ งความกลมกลนื กบั เทคโนโลยผี นวกกบั จนิ ตนาการ
เควิน เคลลีย์ (Kevin Kelly) (2010) ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์ เพ่ือน�ำพาเทคโนโลยีท่ีเราเรียกกัน ณ ตอนน้ีว่า ‘ห้องสมุด’ ไป
Wired 2 จ�ำแนกเทคโนโลยีเป็นประเภทต่างๆ ภายใต้ระบบ สู่ย่างก้าวต่อไป แทนที่จะคงสถานะเดิมท่ีห้องสมุดเพียงแค่
นิเวศเทคโนโลยีท่ีวิวัฒน์อย่างรวดเร็ว ที่เขาเรียกว่า “อนุกรม สร้างความเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นเท่านั้น
เทคโนโลยี” (technium) ส�ำหรับเคลลีย์ อนุกรมเทคโนโลยี หน่ึงในทิศทางของอนุกรมเทคโนโลยีของเคลลีย์ คืออนุกรมฯ
คอื ระบบเทคโนโลยซี ง่ึ “กนิ ขอบเขตมากกวา่ ฮารด์ แวรม์ นั ปลาบ นั้นวิวัฒน์ไปพร้อมกับการสร้างโอกาสท่ีเพ่ิมขึ้น นั่นคือ โอกาส
ครอบคลุมถึงวัฒนธรรม ศิลปะ สถาบันทางสังคมและ ในการพัฒนามนุษย์ ผ่านการเพ่ิมศักยภาพทางปัญญาและ
การสร้างสรรค์ทางปัญญาทุกประเภท” ไม่เพียงกอปรด้วย ความคดิ สรา้ งสรรค์ ผลทต่ี ามมาคอื ทางเลอื กทเี่ พม่ิ ขนึ้ เคลลยี ์
เครื่องมือท้ังหมดท่ีถูกประดิษฐ์ข้ึนโดยมนุษยชาติ แต่ยัง

2 Wired เป็นเว็บไซต์ช้ันน�ำซ่ึงรายงานข่าวสารเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี รวมท้ังผลท่ีปัจจัยเหล่าน้ีมีต่อแวดวงธุรกิจ
การแสวงหาความบันเทิง การส่ือสาร วิทยาศาสตร์ การเมืองและวัฒนธรรม – ผู้แปล

67

เช่ือว่า “เรา [ในฐานะมนุษย์] ต้องการทางเลือกท่ีหลากหลาย การพจิ ารณาปจั จยั เหลา่ นไ้ี ปพรอ้ มกนั เพอ่ื ทจี่ ะสรา้ งความมน่ั ใจ
ครบถ้วนซึ่งอนุกรมเทคโนโลยีสร้างข้ึนในการปลดปล่อย ว่าปัจจัยต่างๆ จะท�ำงานสอดประสานกันและเพ่ิมคุณค่าซ่ึงกัน
ศักยภาพของพวกเราให้ถึงที่สุด” ในทัศนะของเขาเราควรจะ และกนั แทนทจี่ ะขดั กนั เอง ตวั อยา่ งงา่ ยๆ คอื ในอดตี หอ้ งสมดุ
“ลงมือเพิ่มทางเลือกเสมอ” แนวคิดเช่นนี้ช่วยให้มุมมองใหม่ มักวางเคร่ืองบริการตนเอง บนหรือใกล้กับโต๊ะยืม-คืนหนังสือ
เก่ียวกับห้องสมุดในฐานะระบบเทคโนโลยี ซึ่งน�ำเราให้ก้าวพ้น ทำ� ใหบ้ รเิ วณนนั้ เกดิ ความแออดั และทำ� ใหเ้ กดิ ความไมแ่ นใ่ จใน
จากการยึดติดการใช้เทคโนโลยีไปสู่การเน้นท่ีผู้ใช้บริการและ กลุ่มบุคลากรและสมาชิกห้องสมุดว่าจะใช้สิ่งอ�ำนวยความ
บุคลากรห้องสมุด การยึดติดแนวทางเดิมมีแนวโน้มจะน�ำไป สะดวกชนิดใหม่เม่ือไหร่ หรือจะใช้หรือไม่ จะเห็นว่าเพียงแค่
สกู่ ารรบั เอาเทคโนโลยมี าใช้แต่เฉพาะเมอื่ มคี วามปลอดภยั แต่ การวางเครื่องมือชนิดใหม่ยังอาจส่งผลลบต่อสิ่งแวดล้อมและ
แท้ที่จริงแล้วการผสานและการสร้างความกลมกลืนกับ ทำ� ให้ผู้คนรู้สกึ สบั สนได้ ดงั นนั้ การคดิ ให้รอบด้านถงึ เป้าหมาย
เทคโนโลยีขององค์กรใดๆ ควรจะต้องมุ่งไปสู่อนาคตและ องค์รวมที่แท้จริงของเทคโนโลยี กระบวนการท่ีเราประสงค์ให้
สอดคลอ้ งเปน็ หนงึ่ เดยี วกบั กรอบกลยทุ ธข์ ององคก์ ร เทคโนโลยี เกิดขึ้นบนพ้ืนที่สร้างข้ึน และความคาดหวังที่เรามีต่อบุคลากร
จะต้องเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กรและจะต้อง และสมาชิกห้องสมดุ จะเป็นตัวช้ีว่าการตั้งเคร่ืองบริการตนเอง
ถูกบูรณาการเข้ากับส่ิงแวดล้อมขององค์กร ดังที่แสดงใน ต้องให้ห่างจากโต๊ะยืม-คืน และควรต้ังอยู่ ณ จุดแรกท่ีผู้ใช้
แผนภาพด้านล่าง บริการก้าวเดินผ่านเข้าสู่อาคาร รวมท้ังควรจะตั้งเครื่องบริการ
ตนเองกระจายตลอดทั่วท้ังอาคาร จะเป็นทางออกท่ีไม่เพียง
บุคคล เสริมสิ่งแวดล้อมพื้นที่ แต่ยังท�ำให้การเลือกใช้เทคโนโลยีเป็น
บุคลากรและสมาชิก ท่ีประจักษ์ต่อสมาชิกและบุคลากรห้องสมุด เนื่องจาก
วัตถุประสงค์หลักของกลยุทธ์บูรณาการเทคโนโลยี คือการ
เทคโนโลยี สง่ิ แวดลอ้ ม สรา้ งพน้ื ทหี่ อ้ งสมดุ ซง่ึ มกี ารใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งกวา้ งขวางทง้ั เชงิ
แพร่หลายและกลมกลนื กายภาพและเสมอื น กายภาพและเชงิ เสมอื น ทำ� ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารมที างเลอื กดา้ นบรกิ าร
ท่ีมีฐานรากจากเทคโนโลยีซึ่งไม่เกะกะรกตาและบูรณาการเข้า
กับประสบการณ์ห้องสมุดอย่างไร้ท่ีติ

68 | โหล

แลว้ พน้ื ท่ีห้องสมดุ ซึ่งมีการใช้เทคโนโลยี “สิ่งที่บุคคลจะได้รับจากอุปกรณ์ตกยุคในห้องสมุดประชาชน
อยา่ งกว้างขวางมรี ูปลักษณอ์ ย่างไรในวนั นี?้ ที่ติดตั้งซอฟต์แวร์คัดกรองบังคับ และไร้ซึ่งโอกาสส�ำหรับการ
ความแพร่หลาย จัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลจะหมองไปเม่ือเทียบกับส่ิงท่ีบุคคล
จะท�ำได้ด้วยคอมพิวเตอร์ที่บ้านซึ่งเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้อย่าง
พื้นท่ีห้องสมุดซึ่งมีการใช้เทคโนโลยีอย่างกว้างขวางในปัจจบุ ัน อิสระ มีความแรงสูงและเช่ือมต่อได้ตลอดเวลา” – เจนคินส์
มกี ารใช้ระบบเครือข่ายทง้ั แบบผ่านสายเชอื่ มต่อ (wired) และ (Jenkins) (2013)
แบบไรส้ าย (wireless) อยา่ งแพรห่ ลาย ทำ� ใหส้ มาชกิ หอ้ งสมดุ สิ่งที่ส�ำคัญอีกประการหน่ึง คือการใช้อุปกรณ์เหล่านี้จะท�ำให้
สามารถใช้อปุ กรณ์เทคโนโลยตี ่าง ๆ ณ จุดใดกไ็ ด้ภายในพนื้ ท่ี ผู้ใช้บริการสามารถเลือกสถานที่ท�ำงานของพวกเขาภายใน
อุปกรณ์เช่ือมต่อบางประเภทเป็นทรัพย์สินของห้องสมุด เช่น ห้องสมุดและส่ิงแวดล้อมซึ่งเหมาะสมท่ีสุดกับความต้องการ
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะซึ่งจัดวางในรูปแบบท่ีหลากหลายส�ำหรับ ของพวกเขาได้ อย่างไรก็ตาม ศักยภาพการย้ายเคล่ือน
การใชง้ านของบคุ คลและกลมุ่ บคุ คล แตท่ ส่ี ำ� คญั ไปกวา่ นน้ั คอื ตำ� แหน่งการใช้งานในห้องสมุดยงั คงถกู จำ� กดั โดยความจำ� เป็น
อุปกรณ์หลายประเภทเป็นทรัพย์สินของผู้ใช้บริการห้องสมุด ด้านการเข้าถึงแหล่งจ่ายไฟ ห้องสมุดซ่ึงมีการใช้เทคโนโลยี
กระแสการน�ำอุปกรณ์ของตนเองมาห้องสมุด (Bring Your อย่างกว้างขวางพร้อมด้วยอุปกรณ์ที่เตรียมไว้เป็นอย่างดีจะ
Own Device หรือ BYOD) ท่ีแพร่หลายในแวดวงอุดมศึกษา ตอ้ งมโี ครงขา่ ยไฟฟา้ ใตด้ นิ และเตา้ รบั จา่ ยไฟตดิ ตง้ั บนโตะ๊ หรอื
และการให้บริการยืมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดให้ ข้างโซฟา นอกจากน้ี ห้องสมุดอาจจะส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยี
อิสระแก่ผู้ใช้บริการสามารถน�ำเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา อย่างแพร่หลายด้วยบริการให้ยืมอุปกรณ์พกพาส�ำหรับใช้งาน
แท็บเล็ตและสมาร์ทโฟนมาใช้ท�ำงานในห้องสมุด การเปลี่ยน ได้ทุกพ้ืนท่ีภายในตัวอาคาร รวมท้ังการจัดหาอุปกรณ์
แปลงจากการบงั คบั ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ ตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอร์ บางประเภทส�ำหรับสมาชิกชุมชนซ่ึงไม่สามารถเข้าถึงอุปกรณ์
ตง้ั โตะ๊ “ของ” หอ้ งสมดุ นไี้ ดร้ บั การตอบรบั เปน็ อยา่ งดี แนวทาง เหล่าน้ันก็ได้ ในอนาคต การเพิ่มทางเลือกด้านเทคโนโลยี
เช่นนสี้ ะท้อนถึงธรรมชาตดิ ้านบคุ คลของเทคโนโลยี และท�ำให้ จะพ่ึงพาการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีไร้สาย ซ่ึงจะเกิดข้ึน
ผู้ใช้บริการสามารถท�ำงานด้วยซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พวกเขา ในอนาคตอันใกล้ รวมทั้งอุปกรณ์สวมใส่พกพา (mobile
พึงใจและเข้าถึงหน่วยเก็บข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ส่วนตัวได้ wearable devices) ซึ่งก�ำลังกลายเป็นวิถีใหม่
ทันใดตามเวลาจริง

69

บรรณารักษ์มักเป็นผู้รับเอาเทคโนโลยีกลุ่มแรกเสมอมา ที่เพ่ิงถือก�ำเนิดและท่ีเป็นต�ำนาน รวมถึงหนังสือ ห้องสมุดจะ
(ตัวอย่างเช่น ใช้บัตรเจาะรูและไมโครฟิล์ม ระบบการออกเลข ด�ำเนินแนวทางท่ีพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อสร้างความสมดุล
หนังสือ การจัดท�ำดัชนี และการอนุรักษ์หนังสือพิมพ์ ในช่วง ระหว่างพ้ืนที่ส�ำหรับหนังสือและพ้ืนท่ีส�ำหรับผู้ใช้บริการ โดย
ต้นทศวรรษ 1960) และบทบาทที่เด่นชัดของห้องสมุดในการ รบั เอากลยทุ ธต์ า่ งๆ เชน่ การปรบั ปรงุ คลงั หนงั สอื ประจำ� ปี และ
ตรวจสอบและการจดั แสดงเทคโนโลยใี หมๆ่ ดงั นนั้ การใชง้ าน การก�ำจัดหรือยกเลิกรายการท่ีไม่มีผู้ใช้งาน ความรู้ท่ีถี่ถ้วน
กระดานอัจฉริยะสามมิติ (3D smart boards) และ เกย่ี วกบั การใช้งานคลงั หนงั สอื (ตวั อย่างเช่น จากสถติ กิ ารยมื )
มีเคร่ืองพิมพ์สามมิติในห้องสมุดเป็นท่ีแรก จึงเป็นส่ิงท่ีผู้ใช้ เป็นสิ่งจ�ำเป็นในการให้ข้อมูลส�ำหรับการด�ำเนินกลยุทธ์นี้
บริการคาดหมาย รวมท้ังเพ่ือการต่อยอดกลยุทธ์ไปสู่นโยบายการบริหารจัดการ
เชิงรุก อาทิ การใช้งานช้ันหนังสือเปิด (open access
การบริหารจัดการเทคโนโลยี shelving) ช้ันหนังสือขนาดเล็ก (compact shelving) และ
คลังหนังสือแยกส่วน (remote book stores) เพ่ือเพ่ิมพ้ืนที่
เช่นเดียวกับระบบเทคโนโลยีส่วนใหญ่ ห้องสมุดซ่ึงมีการใช้ ส�ำหรับผู้ใช้บริการ
เทคโนโลยอี ยา่ งกวา้ งขวางในปจั จบุ นั ประกอบดว้ ยทงั้ เทคโนโลยี

70 | โหล

นอกจากน้ี ทางออกท่ีสร้างสรรค์ส�ำหรับการคงคลังหนังสือใน ข้ันโดยการติดตั้งบนโต๊ะอินเตอร์แอคทีฟ และเกิดเป็นวิธีใหม่
ห้องสมุดควรจะเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยี ในการรับประสบการณ์สารสนเทศ ดังเช่นที่ใช้ในการศึกษา
ตัวอย่างเช่น การใช้หนังสือเพ่ือก้ันอาณาเขต (zones) ภายใน ทรัพยากรประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น
ห้องสมดุ การใช้ก�ำแพงหนังสือเพ่ือสร้างความเป็นส่วนตัวและ ห้องสมุดหลายแห่งใช้เทคโนโลยีสร้างแสงสว่าง (lighting
กันเสียงรบกวน และการใช้หนังสือเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ technology) ในการเสริมภาพและอารมณ์ (look and feel)
ภายในห้องสมุด การรับเอาและการใช้งานทรัพยากรอิเล็ก- ของพื้นที่ห้องสมุด กล่าวคือ การใช้ดวงไฟเพ่ือปรับสีของพ้ืนที่
ทรอนิกส์และการสร้างข้อมูลดิจิทัล (digitization) ท�ำให้ ในแต่ละช่วงวันจะมีอิทธิพลอย่างยิ่งยวดต่ออารมณ์และ
หอ้ งสมดุ ทม่ี กี ารใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งกวา้ งขวางสามารถเพม่ิ พน้ื ที่ พฤติกรรม และเป็นทางเลือกท่ีพึงปรารถนาเม่ือเทียบกับการ
ส�ำหรับประชาชนและขยายขอบเขตทรัพยากรห้องสมุดไป ตกแต่งด้วยแสงสีตายตัว (fixed color déécor) ในท�ำนอง
พร้อมกันได้ เดยี วกนั ภาพกราฟกิ อาจถกู ใชใ้ นการสรา้ งสง่ิ แวดลอ้ มประเภท
ต่างๆ ภายในห้องสมุดเพื่อเสริมความกระตือรือร้นในการ
ปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งอาคาร ท�ำงานกลุ่มหรือพฤติกรรมสงบเสงี่ยม อุปกรณ์เสียง (audio
และทรัพยากรภายในอาคาร devices) สามารถเพิ่มความหลากหลายให้กับวิธีการน�ำเสนอ
ข้อมูล ตัวอย่างเช่น การใช้เสียง ณ ทางเข้าพ้ืนที่เพื่อสร้าง
เทคโนโลยีอาจถูกฝังตัว (embedded) และถูกใช้เพื่อสร้าง ประสบการณ์ให้กับผู้ใช้บริการ อาจอยู่ในรูปแบบการเล่นเสียง
การสนทนาท่ีต่อเนื่องกับสมาชิกห้องสมุดในขณะท่ีพวกเขา จุ๊ปาก เมื่อผู้ใช้บริการเข้าสู่พ้ืนท่ีห้ามใช้เสียง หรือการเล่นเสียง
เคลอื่ นจากพนื้ ทห่ี นง่ึ ไปยงั อกี พนื้ ทหี่ นง่ึ ภายในอาคาร ในระดบั จ�ำลองบรรยากาศสถานพบปะชุมนุมเม่ือผู้ใช้บริการเข้าสู่พ้ืนที่
พ้ืนฐาน ป้ายอิเล็กทรอนิกส์อาจถูกใช้เพื่อให้ข้อมูลที่เป็น ส�ำหรับปฏิสัมพันธ์กลุ่ม
ประโยชน์ เก่ียวกับตัวห้องสมุดกับผู้ใช้บริการ รวมทั้งงาน
กิจกรรมท่ีจัดข้ึน นอกจากนี้ ห้องสมุดบางแห่งใช้รหัสบาร์โค้ด การรับรเู้ กีย่ วกบั ผู้ใชบ้ รกิ ารและความต้องการ
สองมิติหรือคิวอาร์โค้ด (QR code) ที่ท�ำให้เข้าถึงข้อมูลเชิงลึก ของพวกเขา
ไดจ้ ากสมารท์ โฟน หรอื จดุ ใหบ้ รกิ ารสามารถสง่ ขอ้ มลู สอู่ ปุ กรณ์
พกพาผ่านระบบการเช่ือมต่อกับบลูทูธในขณะที่ผู้ใช้บริการ ห้องสมุดทุกแห่งต่างก็มุ่งแสวงหาข้อมูลเก่ียวกับการใช้งาน
เดินผ่าน จอแสดงผลแบบอินเตอร์แอคทีฟ (interactive ห้องสมุดของสมาชิกและวิธีการปรับปรุงอุปกรณ์อ�ำนวย
displays) ซ่ึงพัฒนาจากเทคโนโลยีพื้นผิว (surface ความสะดวกและการให้บริการ ในกระบวนการนี้ เทคโนโลยี
technology) อาจถูกใช้เพ่ือยกระดับป้ายอิเล็กทรอนิกส์ไปอีก

71

จะมีส่วนช่วยได้อย่างมาก ข้อมูลพื้นฐานน้ันอาจรวบรวมและ หนุ่ ยนต์ก�ำลังเขา้ มามบี ทบาท
เขา้ ใจไดง้ า่ ย แตป่ ระสบการณท์ แี่ ทจ้ รงิ ของผใู้ ชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ
น้ันกลับซับซ้อนและเข้าใจได้ยาก ความยุ่งยากคือหากเรายึด หากกล่าวถึงหุ่นยนต์กับผู้คน ผลตอบรับต่อแนวคิดอาจเป็น
ติดกับความง่าย เราอาจแค่เก็บและวิเคราะห์ข้อมลู แต่หากเรา ความรงั เกยี จหรอื ความไมเ่ ชอื่ แตห่ นุ่ ยนตก์ ำ� ลงั เขา้ มามบี ทบาท
มงุ่ สร้างความเขา้ ใจทลี่ กึ ซง้ึ เกยี่ วกบั ผ้ใู ช้บรกิ ารของเราและมอง และจะถูกใช้ในห้องสมุดซ่ึงมีการใช้เทคโนโลยีอย่างกว้างขวาง
ลึกลงไป การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องนั้นล้วนซับซ้อนและยุ่งยาก หนุ่ ยนตเ์ รมิ่ มบี ทบาทแลว้ ในการจดั เกบ็ และสบื คน้ หนงั สอื ดว้ ย
เทคโนโลยรี ะบตุ วั ตนดว้ ยคลนื่ ความถว่ี ทิ ยุ (radio frequency
โปรแกรม Big Data ซึ่งเป็นพัฒนาการด้านศักยภาพข้อมูล identification หรือ RFID) แขนกลของหุ่นยนต์ (robotic
ล่าสุด ไม่เพียงมีศักยภาพในแง่การรวบรวมข้อมูลปริมาณ arms) ยังถูกใช้ในการวางอุปกรณ์พักหนังสือบนสายพาน
มหาศาล แต่รวมถึงการใช้งานตัวเทคโนโลยีเองผ่านชุดค�ำส่ัง ในปัจจบุ นั บรรณารกั ษ์ยงั สบื ค้นหนงั สอื ด้วยเครอื่ งอ่าน RFID
ซับซ้อน (complex algorithms) และอ�ำนาจการค�ำนวณที่ และอาจทำ� เชน่ นตี้ อ่ ไปไดอ้ กี ไมน่ าน แตอ่ ยา่ งนอ้ ยกน็ านจนกวา่
ทวีขึ้น ท�ำให้การวิเคราะห์และเข้าใจข้อมูลลักษณะน้ีก�ำลังเร่ิม หนุ่ ยนตเ์ คลอื่ นทรี่ ะบบปฏบิ ตั กิ ารแบบเดยี่ ว/แบบลำ� พงั (stand
เป็นไปได้ ส�ำหรับห้องสมุดซ่ึงมีการใช้เทคโนโลยีอย่าง alone mobile robot) ท่ีสืบค้นชั้นวางหนังสือได้จะถือก�ำเนิด
กวา้ งขวาง พฒั นาการนชี้ ว่ ยใหเ้ ราทำ� ความเขา้ ใจกบั “ประสบการณ์ ข้ึน เราไม่อาจทราบได้ถึงรูปแบบของหุ่นยนต์แห่งอนาคตและ
ห้องสมุด” ของผู้ใช้บริการได้ง่ายขึ้น ลองจินตนาการดูว่า เวลาทหี่ ุ่นยนต์นน้ั จะเป็นทย่ี อมรบั แต่บรรณารกั ษ์ในห้องสมดุ
หากใช้อุปกรณ์พกพาในยุคปัจจุบันผสานกับโปรแกรม Big ซึ่งมีการใช้เทคโนโลยีอย่างกว้างขวางควรจะเริ่มคิดใคร่ครวญ
Data ในการสร้างความเข้าใจที่แท้จริงเกี่ยวกับประสบการณ์ ได้แล้วว่าพวกเขาหวังจะให้หุ่นยนต์ปฏิบัติงานอะไร เพราะ
ห้องสมุดโดยรวบรวมข้อมูลตามเวลาจริง (real time data) บรรณารักษ์ควรสร้างสิ่งแวดล้อมท่ีดีท่ีสุดส�ำหรับผู้ใช้บริการ
กล่าวคือ แทนท่ีจะเน้นส่ิงที่เกิดข้ึนในอดีต (การส�ำรวจเก็บ โดยพึ่งพาการใช้ทรัพยากรท้ังหมดที่มีในห้องสมุดให้เกิด
ข้อมูล ณ ช่วงเวลาหน่ึง แล้วน�ำมาวิเคราะห์) เทคโนโลยีใหม่ ประโยชน์สูงสุด อาร์เธอร์ ซี คลาร์ก (Arthur C. Clarke)
กลับให้ข้อมูลเก่ียวกับส่ิงที่ด�ำเนินอยู่ตอนนี้ รวมทั้งการ เคยกล่าวไว้ว่า “ครูที่แทนท่ีด้วยหุ่นยนต์ได้ก็ควรจะถูกแทนท่ี
วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหผ์ ลการศกึ ษาดว้ ยโปรแกรม Big Data ด้วยหุ่นยนต์” ในท�ำนองเดียวกัน บรรณารักษ์คนใดก็ตามท่ี
จะทำ� ให้เข้าใจได้ทนั ทวี ่าผู้ใช้บรกิ ารรู้สกึ อยา่ งไรกบั สถานทแี่ ละ แทนท่ีด้วยหุ่นยนต์ได้ก็ควรถูกแทนท่ีด้วยหุ่นยนต์เช่นกัน
บริการของเรา เน่ืองจากว่าบรรณารักษ์มีงานท่ีมีความหมายมากเกินกว่าน้ัน
ให้ท�ำ

72 | โหล

ประสบการณจ์ ากพน้ื ทกี่ ายภาพนัน้ เปน็ สง่ิ ส�ำคญั (1999) บรรยายถึงพัฒนาการความต้องการของลูกค้าจาก
โภคภัณฑ์ (commodities) สู่ผลิตภัณฑ์ (goods) บริการ
ความสร้างสรรค์เป็นหัวใจส�ำคัญของสังคมมโนทัศน์ ฟลอริดา (services) และที่สุดคือประสบการณ์ (experiences) ดังน้ัน
(Florida) (2013) เผยในงาน “ชนชั้นสร้างสรรค์” (the การมอบประสบการณ์ห้องสมุดท่ีดีเลิศน้ัน ควรเป็นหนึ่งใน
creative class) ของเขาว่า ตรงข้ามกับความคาดหวังของเรา เป้าหมายพ้ืนฐานของห้องสมุดหรือการพัฒนาพ้ืนท่ีห้องสมุด
นักสร้างสรรค์ท่ีตระหนักถึงประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตยังคง ใดก็ตาม ประสบการณ์ท่ีผู้ใช้บริการได้รับขึ้นอยู่กับคุณภาพ
เห็นคุณค่าของสถานที่อยู่: ของพ้ืนท่ี การจัดวางพ้ืนท่ีและบริการที่น�ำเสนอในพื้นท่ี
“การท�ำนายถึงการส้ินสูญของสถานที่ไม่สอดคล้องเลยกับ เนอ่ื งดว้ ยพน้ื ทแี่ ละบรกิ ารแยกจากกนั ไมไ่ ดแ้ ละพง่ึ พาอาศยั กนั
คนจ�ำนวนนับไม่ถ้วนที่ผมได้สัมภาษณ์ กลุ่มสนทนาที่ผมได้ เม่ือใดก็ตามที่พื้นที่และบริการถูกออกแบบและบริหารจัดการ
สงั เกตการณ์ รวมทงั้ งานวจิ ยั เชงิ สถติ ิ พบวา่ สถานทแ่ี ละชมุ ชน ให้ตอบสนองความคาดหวังได้อย่างสมบูรณ์แบบ รวมทั้ง
เป็นปัจจัยส�ำคัญย่ิงกว่าท่ีเคยเป็นมา... แม้ระบบเศรษฐกิจเอง ผันแปรตามความคาดหวังท่ีเปล่ียนไป ผลลัพธ์ท่ีได้จะเป็น
ก็ก่อตัวเพ่ิมข้ึนรอบๆ กลุ่มคนในสถานท่ีจริง” ประสบการณ์ท่ีดีเลิศ

แนวคดิ นชี้ ถี้ งึ ความจำ� เปน็ ในการดำ� รงหอ้ งสมดุ ไวใ้ นฐานะพน้ื ท่ี การท�ำให้อาคารห้องสมุดเป็น “ประสบการณ์” เป็นทัศนะ
ทางกายภาพ การท�ำงานกับกลุ่มสนทนาที่ชนชั้นสร้างสรรค์เข้า สดใหมท่ ก่ี ดดนั ใหเ้ ราใครค่ รวญเกย่ี วกบั รปู ลกั ษณแ์ ละอารมณ์
ร่วมท�ำให้ฟลอริดาเชื่อว่าสิ่งที่ส�ำคัญคือ ‘ประสบการณ์’ อย่างถ่ีถ้วน งานของ ริชาร์ด ฟลอริดา (Richard Florida)
“ประสบการณ์ก�ำลังเข้ามาแทนท่ีสินค้าและบริการ เพราะ แสดงให้เห็นว่าสถานที่ยังคงมีความส�ำคัญส�ำหรับผู้คนในยุค
ประสบการณก์ ระตนุ้ ทกั ษะตามธรรมชาตดิ า้ นความสรา้ งสรรค์ มโนทัศน์และความส�ำคัญของอาคารในฐานะปัจจัยสร้าง
และเสริมศักยภาพด้านความสร้างสรรค์ รูปแบบชีวิตที่ ประสบการณ์เป็นส่ิงท่ีมองข้ามไม่ได้ นักออกแบบนาม คาริม
กระตือรือร้นและมุ่งการเรียนรู้จากประสบการณ์นี้ก�ำลังแพร่ ราชิด (Karim Rashid) แสดงออกซ่ึงแนวคิดน้ีเป็นอย่างดีใน
ขยายและมีผลมากข้ึนในสังคม...” แถลงการณ์ข้อที่ 43 จากแถลงการณ์ 50 ข้อของเขาดังน้ี:
บทความช่ือ “เศรษฐกิจประสบการณ์” (Experience “ประสบการณ์เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญที่สุดในการด�ำรงชีวิต
Economy) ของ ไพน์ และกิลมอร์ (Pine and Gilmore) และที่แท้แล้ว ท้ังหมดท่ีมีคือการแลกเปลี่ยนแนวคิดและ
ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างมนษุ ย์ พน้ื ทแี่ ละวตั ถุ สามารถส่งเสรมิ หรอื
บั่นทอนประสบการณ์ได้” (www.karimrashid.com) วิถีคิด

73

ดงั กลา่ วพาเรากา้ วขา้ มการใหบ้ รกิ ารลกู คา้ ไปสคู่ วามจำ� เปน็ ของ พื้นท่ีห้องสมุดมักจะเป็นการสร้าง “บ้านส�ำหรับอ่านหนังสือ”
ความรู้เก่ียวกับผู้ท่ีใช้สถานท่ี ซ่ึงจะแปลงเป็นความเข้าใจต่อ (study home) ส�ำหรับผู้ใช้บริการท่ีขาดพื้นที่ดังกล่าว
ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ประสบการณ์ของพวกเขาและความ
รู้สึกท่ีพวกเขามีต่อประสบการณ์นั้น ความเป็นจรงิ บางประการ

ถอ้ ยค�ำเกย่ี วกับบ้านหลงั ท่สี าม ฮิวจ์ แอนเดอร์สัน (Hugh Anderson) และข้าพเจ้า (2008)
ได้ท�ำการส�ำรวจสถาบันการศึกษาต่อเนื่องและสถาบัน
มีการเขียนถึงแนวคิดบ้านหลังที่สาม (the Third Place) ของ อุดมศึกษาในสหราชอาณาจักรจ�ำนวนหนึ่งเพ่ือศึกษาว่าปัจจัย
โอลเด็นเบิร์ก (Oldenburg) (1999) อย่างมากมาย: ที่จับต้องได้ (tangible factors) ปัจจัยใดเป็นปัญหามากที่สุด
“บ้านหลังที่สาม มิใช่ที่พ�ำนักหรือที่ท�ำงานซ่ึงเป็นเสมือนบ้าน เราพบว่าปัจจัยท่ีเป็นปัญหามากที่สุด คือระบบท�ำความร้อน
สองหลังแรก แต่เป็นสถานท่ีต่างๆ เช่น ร้านกาแฟ ร้านหนังสือ และระบบระบายอากาศ ตามมาติดๆ ด้วยเสียงรบกวน ผู้ใช้
หรอื รา้ นอาหารเลก็ ๆ (caf)é ทเี่ ราพบปะกบั คนรจู้ กั ในบรรยากาศ บริการรู้สึกว่าห้องสมุดและพ้ืนที่เพ่ือการเรียนรู้หลายแห่งร้อน
ไม่เป็นทางการ สถานที่เหล่านี้ประกอบกันเป็น ‘หัวใจของพลัง เกินไปในฤดูร้อนและหนาวเกินไปในฤดูหนาว นอกจากน้ี ผู้ใช้
ทางสังคมของชุมชน’ เป็นสถานที่ซึ่งผู้คนไปเพ่ือหาเพ่ือนร่วม บริการยังมักต�ำหนิเกี่ยวกับการที่พวกเขาไม่สามารถควบคุม
สนทนาและการสนทนาที่มีชีวิตชีวา” ระบบท�ำความร้อนและระบบระบายอากาศได้เอง
ความเสย่ี งในการประยกุ ตใ์ ชโ้ มเดลบา้ นหลงั ทสี่ ามกบั หอ้ งสมดุ ปัจจัยท่ีผู้เข้าร่วมการส�ำรวจรู้สึกว่าไม่ใคร่เป็นปัญหานักคือ
คือการท่ีโมเดลกล่าวถึงเพียงมิติทางสังคม การมีเพ่ือนร่วม ระบบแสงและกล่ิน ถึงแม้ว่าผลการส�ำรวจจะช้ีว่ามีความพึง
สนทนาและการสนทนาท่ีดี แต่มิได้กล่าวถึงการท�ำงานอย่างมี พอใจโดยรวมตอ่ การจดั ระบบแสง เรากลบั รสู้ กึ ว่าผลทอ่ี อกมา
เป้าหมายและการเรียนรู้ผ่านการสนทนา แนวคิดบ้านหลังท่ี น้ีท�ำให้พลาดโอกาสในการเสริมผลลัพธ์ของพ้ืนที่ด้วยการใช้
สามในฐานะปัจจัยกระตุ้นการพัฒนานี้เป็นข้ันตอนหน่ึงใน ระบบแสงเพ่ือเพิ่มความน่าสนใจและการใช้สี ซึ่งเป็นปัจจัย
กระบวนการและเป็นดัชนีช้ีวัดที่เป็นประโยชน์ อย่างไรก็ตาม ส�ำคัญในการสร้างอารมณ์ท่ีจะส่งสัญญาณได้อย่างแยบคาย
ห้องสมดุ แห่งอนาคตต้องการโมเดลที่ผสานแนวคิดบ้านหลังท่ี ค�ำแนะน�ำของเราคือควรพิจารณาเร่ืองระบบแสงให้มากพอ
สามเข้ากับผลิตภาพของบ้านหลังท่ีสอง คือท่ีท�ำงาน และบ้าน ไม่เพยี งแตใ่ นแงก่ ารปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐาน แต่ยงั รวมถงึ ในด้าน
หลังแรก คือที่พ�ำนัก ที่จริงแล้ว มิติส�ำคัญประการหนึ่งของ การเพิ่มวิธีการเสริมผลด้านอารมณ์ของพื้นท่ี

74 | โหล

เนอื่ งจากการอนุญาตให้นำ� อาหารและเครอ่ื งดม่ื แพร่หลายมาก กักเสียงรบกวนและสร้างพื้นท่ีก่ึงส่วนตัวได้ ส่ิงส�ำคัญอีก
ขนึ้ ในหอ้ งสมดุ และพนื้ ทเี่ พอื่ การเรยี นรู้ ซงึ่ เกดิ เปน็ วถิ กี ารสรา้ ง ประการหนงึ่ คอื พน้ื ทเ่ี ปดิ โลง่ สรา้ งโอกาสสำ� หรบั “การออกแบบ
พ้ืนที่เพ่ือคืนความสดช่ืน (refreshment facilities) จึงควรมี พ้ืนที่ใหม่” ได้ตลอดเวลาด้วยการเพิ่มโครงสร้างและเฟอร์-
การดำ� เนนิ การเพอ่ื ปอ้ งกนั กลนิ่ รบกวนใหม้ ากทสี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะเปน็ นิเจอร์ใหม่ หรือการจัดวางต�ำแหน่งใหม่ของเฟอร์นิเจอร์เดิม
ไปได้ การวางแผนระบบระบายอากาศจงึ ควรจะคำ� นงึ ถงึ ปัจจยั (ค่อนข้างไม่ซับซ้อน) หรือชั้นหนังสือเดิม (ยุ่งยากและใช้
ด้านอาหารและเครื่องด่ืมด้วย ทรัพยากรมากกว่า) พ้ืนท่ีเปิดโล่งมีข้อดีในเรื่องของความ
ยืดหยุ่น แต่ก็ต้องมีการสร้างสมดุลด้วยกลยุทธ์การจัด
แนวโน้มและความคิดเร่ืองพื้นที่ อาณาเขตด้วย

พืน้ ท่เี ปิดโลง่ พื้นทีเ่ ปดิ โลง่ เทยี บกับพ้ืนที่ปดิ

ส�ำหรับโครงการสร้างอาคารใหม่ แนวทางสมัยใหม่ท่ีนิยมมาก ในพื้นท่ีซึ่งมีการใช้เทคโนโลยีอย่างกว้างขวางประเภทเปิดโล่ง
ที่สุดคือการสร้างพื้นที่เปิดโล่ง พื้นท่ีเปิดโล่งแก้ไขปัญหาความ ลักษณะของพ้ืนที่จะก�ำหนดโดยเฟอร์นิเจอร์ เครื่องประกอบ
ไม่แน่นอนบางประการที่กล่าวถึงในส่วนที่แล้ว รวมท้ังความ และอุปกรณ์ และจะปรับเปลี่ยนได้ง่ายด้วยการทดลองใช้งาน
เป็นไปได้ในการแปลงโครงสร้างใหม่ได้อย่างต่อเนื่องไม่ส้ินสดุ พน้ื ท่ี ปจั จบุ นั นี้ การออกแบบหอ้ งสมดุ และพนื้ ทเ่ี พอ่ื การเรยี นรู้
การด�ำเนินงานพื้นที่เปิดโล่งที่ประสบความส�ำเร็จสูงสุดคือการ ประสบกบั แรงกดดนั ดา้ นการใชง้ านพน้ื ทใ่ี หย้ ดื หยนุ่ ตอ่ แนวทาง
ไตร่ตรองอย่างรอบคอบเกี่ยวกับการเชื่อมต่อพื้นท่ีเหล่าน้ี เพ่ือ ปฏบิ ตั งิ านทเ่ี ปลย่ี นไปและการนำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ ที่
เลย่ี งการจราจรทไ่ี ม่จำ� เป็นผ่านตวั อาคาร ซง่ึ อาจเกดิ จากบนั ได ผ่านมาการผสานความจ�ำเป็นด้านความยืดหยุ่นและการใช้
ที่วางต�ำแหน่งไม่เหมาะสม หรือช้ันลอยที่ออกแบบวางแผนไว้ พ้ืนท่ีให้เกิดประโยชน์เป็นไปอย่างตื้นเขิน เช่น การสร้างพ้ืนท่ี
อย่างอ่อนด้อย หรือช่องรับแสงครอบพื้นท่ีเปิดโล่งเพียงเพ่ือ สำ� นกั งานเปดิ โลง่ ใหญโ่ ตแตอ่ ดั แนน่ ดว้ ยชอ่ งกนั้ ฉาก (screened
ผลทางสถาปัตยกรรม off cells) น�ำไปสู่ความอึดอัดเบื่อหน่ายและไม่มีความสุขของ
พ้ืนท่ีเปิดโล่งซ่ึงเสนอความเป็นไปได้ท่ีไร้ขอบเขตช่วยให้การ ผู้ใช้งานพื้นท่ีนั้น
เตรยี มรบั สถานการณอ์ นาคตผดิ พลาดไดย้ าก แตพ่ นื้ ทเี่ ปดิ โลง่ พื้นท่ีห้องสมุดแบบเปิดโล่งสมัยใหม่อาจก่อปัญหาคล้ายคลึง
ก็ถูกวิจารณ์ในเร่ืองของเสียงรบกวนและการขาดความเป็น กันหากขาดความหลากหลายและการออกแบบภายในอย่าง
ส่วนตัว ดังนั้นความรอบคอบในการเลือกและการจัดวาง เหมาะสม ในทางตรงกันข้าม พ้ืนท่ีเปิดซึ่งได้รับการออกแบบ
เฟอรน์ เิ จอร์ รวมทง้ั การกำ� หนดตำ� แหนง่ ชนั้ หนงั สอื จะชว่ ยเกบ็

75

อย่างรอบคอบจะไม่เพียงยืดหยุ่นแต่จะสามารถรองรับความ ผู้อ่ืน ส�ำนึกของความเป็นชุมชน รวมทั้งทางเลือกและความ
หลากหลาย การไหลเวียนของผู้ใช้งานและความซับซ้อนได้ ต่ืนเต้นในกลุ่มผู้ใช้พื้นที่ แผนภาพด้านล่าง (Watson and
นอกจากน้ี พ้ืนที่เปิดโล่งท่ีดียังสร้างแรงบันดาลใจ แรงกระตุ้น Anderson, 2008) แสดงการเปรียบเทียบระดับและความ
ความอยากรู้อยากเห็น ความสนใจ โอกาสการเรียนรู้จาก ซับซ้อนของพ้ืนท่ี

ความซับซ้อนในการให้บริการ (complexity of provision) อเนกประสงค์ เกิดความยุ่งยากมากที่สุด
ขนาดเล็ก เป็นนวัตกรรมมากท่ีสุด

(multi-functional (most difficult most innovative)

small scale) อเนกประสงค์
ขนาดใหญ่

(multi-functional
large scale)

ใช้งานลักษณะเดียว ใช้งานลักษณะเดียว
ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่

(single purpose (single purpose
small scale) large scale)

เกิดความยุ่งยากน้อยที่สุด ระดับการให้บริการ (scale of provision)
เป็นนวัตกรรมน้อยท่ีสุด

(least difficult least innovative)

76 | โหล

แผนภาพแสดงให้เห็นว่าพ้ืนที่เปิดโล่งขนาดใหญ่จะน�ำมาซ่ึง ไวข้ า้ งตน้ พนื้ ทแ่ี ยกสว่ นซงึ่ สรา้ งขนึ้ แลว้ จะกำ� จดั ไดย้ าก จงึ ควร
ศักยภาพการรองรับการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมที่เกิดต่อ คำ� นงึ ถงึ ศกั ยภาพโครงสรา้ งในการทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ เฟอรน์ เิ จอรแ์ ละ
เนอ่ื ง แตก่ เ็ พมิ่ ความยงุ่ ยากในการบรหิ ารจดั การดว้ ย โครงการ ศกั ยภาพเฟอรน์ เิ จอรใ์ นการทำ� หนา้ ทแี่ ยกสดั สว่ นพน้ื ที่ ซงึ่ สรา้ ง
ใดกต็ ามจะตอ้ งพจิ ารณาแรงกดดนั ระหวา่ งความยงุ่ ยากในการ ความยืดหยุ่นในการออกแบบพ้ืนที่เปิดโล่งได้ดีกว่า ดังน้ัน
บริหารจัดการกับศักยภาพการรองรับนวัตกรรม ณ ระยะ ข้อแนะน�ำคือการลงทุนในเฟอร์นิเจอร์ เครื่องประกอบและ
วางแผน พนื้ ทซี่ งึ่ มกี ารใชง้ านเทคโนโลยอี ยา่ งกวา้ งขวางประเภท อุปกรณ์ เพ่ือการสร้างสิ่งแวดล้อมภายในและการแบ่ง
เปิดโล่งมิได้เป็นโอสถครอบจักรวาล หากไม่สามารถจัดหา อาณาเขตพ้ืนที่ (ดูส่วนถัดไป) จะเพ่ิมโอกาสการรองรับความ
ทรัพยากรที่จ�ำเป็นต่อการบริหารจัดการพื้นที่ได้ในอนาคต ก็ ยืดหยุ่นในอนาคต
ไม่เกิดประโยชน์ท่ีจะสร้างความยืดหยุ่นให้กับพื้นท่ีดังกล่าว
ดังน้ันในการเลือกพื้นท่ีเปิดโล่งเม่ือเทียบกับพ้ืนท่ีแยกส่วน การจัดสรรพนื้ ท่ี
(cellular space) ค�ำถามหลักท่ีต้องพิจารณาคือเราปรารถนา
ให้กิจกรรมซ่ึงพ่ึงพาความเช่ียวชาญเฉพาะด้านประเภทใด แนวโน้มในภาพรวมของห้องสมุด แม้กระท่ังห้องสมุดท่ีมีอยู่
ด�ำเนินต่อไปในอนาคต หรือกิจกรรมใดต้องแยกพื้นที่ด้วย เดิม มักใช้พ้ืนที่แบบเปิดมากกว่าการแบ่งซอยพื้นท่ีออกเป็น
เหตุผลอื่น เพราะถึงแม้ว่าความยืดหยุ่นจะเป็นลักษณะที่ ส่วนย่อย ในปัจจุบันพ้ืนท่ีแบบเปิดกลายเป็นพ้ืนที่ส�ำหรับ
พึงประสงค์ของพ้ืนที่และรองรับการสร้างนวัตกรรมและ ชั้นวางหนังสือซ่ึงมีคุณสมบัติที่สามารถน�ำมาใช้ในกลยุทธ์การ
การทดลอง ท�ำให้พื้นที่รับสถานการณ์ในอนาคตได้ แต่ความ จัดสรรพ้ืนที่ได้ โดยแบ่งพื้นท่ีจากพ้ืนขึ้นไปจนใกล้ถึงเพดาน
ยืดหยุ่นก็ก่อให้เกิดต้นทุนความยุ่งยากที่ไม่ส้ินสุดในการ ออกเป็นส่วนย่อยที่มีขนาดเท่าๆ กัน เปิดโอกาสให้ห้องสมุดมี
บริหารจัดการได้ด้วยเช่นกัน การใช้ชั้นวางหนังสือที่เหลือเป็น “ก�ำแพงหนังสือ” เพ่ือสร้าง
พื้นท่ีใช้สอยได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลายเป็น “ห้อง” ขนาด
ความยดื หยนุ่ เล็กหลายห้องภายในพ้ืนที่เปิด ตามหลักการแล้ว แม้แต่ใน
พนื้ ทเ่ี ปดิ พน้ื ทแ่ี ตล่ ะสว่ นกส็ ามารถเกดิ ขนึ้ ไดจ้ ากเคา้ โครงตาม
ส�ำหรับอาคารและพ้ืนที่ใหม่ ควรเลี่ยงการสร้างชั้นบางประเภท ธรรมชาติของอาคาร
เช่น ก�ำแพงแยกสัดส่วนภายในแบบถาวร (fixed internal ระยะห่างระหว่างเฟอร์นิเจอร์กับเพดานอาจแตกต่างกันตาม
dividing walls) ซึ่งมีอายุการใช้งานระยะกลางและอาจเป็น ความสูงของเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ท่ีเลือกน�ำมาติดตั้ง
อุปสรรคต่อการรองรับกิจกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไป ดังที่กล่าว อยา่ งไรกต็ าม การจดั สรรพน้ื ทมี่ ขี อ้ จำ� กดั ทำ� ใหใ้ นการออกแบบ

77

หอ้ งสมดุ และพน้ื ทเ่ี พอ่ื การเรยี นรขู้ นึ้ ใหมน่ น้ั จะตอ้ งมกี ารตรวจ พื้นที่ก่งึ สว่ นตัว
สอบให้แน่ใจก่อนว่าสถาปัตยกรรมของอาคารนั้นสามารถ
จัดสรรพื้นท่ีที่จ�ำเป็นตามความแตกต่างของส่ิงแวดล้อมที่ ในกลุ่มของ “อุปกรณ์ส�ำหรับติดต้ังอ่ืนๆ” ซึ่งหมายถึงสิ่งท่ีต้ัง
ต้องการได้ อยู่ในพ้ืนท่ีเปิด แต่มีคุณสมบัติในการสร้างความเป็นส่วนตัว
การจัดสรรพ้ืนท่ีเป็นวิธีหน่ึงในการสร้างทางเลือก มีความ ในระดับหนึ่ง ที่เรียกว่า “พื้นท่ีก่ึงส่วนตัว” น้ันมีวัตถุประสงค์
ยืดหยุ่น ท�ำให้ผู้คนและกิจกรรมต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายไป สองประการ ประการแรกคือเพื่อสร้างเกราะก�ำบังให้กับผู้ใช้
ในพ้ืนที่ต่างๆ ภายในอาคารได้ โดยไม่จ�ำเป็นต้องมีการปรับ จากพน้ื ทอี่ น่ื ๆ ของหอ้ งสมดุ ทม่ี กี ารดำ� เนนิ การทไี่ มเ่ ปน็ ระเบยี บ
เปลี่ยนพ้ืนที่เชิงกายภาพตลอดเวลา พื้นที่ท่ีมีการจัดสรรเป็น เรียบร้อยนัก เช่น เครื่องบริการตนเอง เคร่ืองพิมพ์ และ
อย่างดีท�ำให้ผู้ใช้มีทางเลือกที่เข้าใจง่าย สนับสนุนให้เกิด รถเข็นหนังสือ โดยจัดวางอุปกรณ์เหล่าน้ีไว้หลังฉากก้ัน หรือ
ปฏิสัมพันธ์ และป้องกันไม่ให้กลุ่มคนท่ีเข้ามาใช้งานบางราย อุปกรณ์อ่ืนๆ ที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกัน และประการที่สอง
แสดงความเป็นเจ้าของหรือครอบครองใช้พื้นที่ส่วนต่างๆ ใน คือ เพ่ือแบ่งสมาชิกของห้องสมุดบางส่วนออกจากกันในพื้นที่
อาคารอย่างถาวร เปิดขนาดใหญ่ ท�ำให้ผู้ใช้บริการเด่ียวหรือกลุ่มผู้ใช้บริการ
สามารถท�ำงานในพื้นที่เปิดได้ และยังคงรู้สึกราวกับว่าก�ำลัง
ท�ำงานในห้องส่วนตัว

78 | โหล

โครงสร้างส�ำหรับวัตถุประสงค์ประการแรกอาจอยู่ในรูปของ โครงสร้างของ “พ้ืนที่กึ่งส่วนตัวช่ัวคราว” น้ี มีลักษณะที่
ฉากกั้นพื้นที่ส�ำหรับวางเครื่องพิมพ์ ลานจอดรถเข็น และพื้นท่ี แตกต่างจากเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ตกแต่งอ่ืนๆ ในพ้ืนท่ี
ส�ำหรับเครื่องบริการตนเอง ซึ่งไม่เพียงถูกใช้เป็นท่ีส�ำหรับ และเน่ืองจากมีการใช้งานกันมาอย่างต่อเน่ืองและได้รับความ
“แอบ” อุปกรณ์เหล่าน้ีเท่าน้ัน แต่ยังช่วยให้สภาพแวดล้อมดี นิยมมาก จึงเป็นเหตุให้ได้รับความสนใจจากผู้ใช้ในด้านอื่นๆ
ขึ้นอีกด้วย ยกตัวอย่างเช่น ฉากกั้นพ้ืนที่ส�ำหรับให้บริการ มากกว่าคุณสมบัติในการลดเสียงรบกวน ในเชิงของการ
เคร่ืองพิมพ์และเคร่ืองถ่ายเอกสาร ซ่ึงมีเสียงจากการท�ำงาน ออกแบบพื้นที่ อุปกรณ์เหล่านี้ช่วยสร้างโครงสร้างในพ้ืนท่ี ซึ่ง
ของเคร่ืองและไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย แต่ก็ถือเป็นโอกาสใน ความยืดหยุ่นของอุปกรณ์ช่วยให้เกิดการรบกวนโครงสร้าง
การสรา้ งความน่าสนใจผา่ นลวดลายกราฟิกบนฉากกน้ั ทตี่ ง้ั อยู่ หลักน้อยที่สุด ท�ำให้อุปกรณ์เหล่าน้ีถูกน�ำมาใช้งานเหมือน
ในพื้นที่เปิด เฟอร์นิเจอร์ เปิดโอกาสให้การออกแบบพ้ืนที่เปิดมีความ
ส่วนวัตถุประสงค์ท่ีสองมุ่งเน้นไปท่ีการแบ่งกลุ่มสมาชิกของ ยืดหยุ่นมากย่ิงข้ึน
หอ้ งสมดุ ทตี่ อ้ งการทำ� งานคนเดยี วหรอื ทำ� งานเปน็ กลมุ่ เลก็ ออก
จากกัน ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ๆ ส่วนใหญ่มักจะอยู่ในรูปของม้านั่ง การไหลเวยี น
บุนวมหรือโต๊ะรับประทานอาหาร และก�ำแพงหนังสือดังท่ีได้
กล่าวถึงไปแล้วก่อนหน้านี้ โครงสร้างของพ้ืนที่กึ่งส่วนตัวมี การสร้างพ้ืนที่ไม่เพียงเก่ียวกับขอบเขตและสมดุลของพ้ืนที่
หลากหลายรปู แบบซง่ึ มกี ารปดิ กน้ั และการปอ้ งกนั เสยี งรบกวน ท่ีมีความหลากหลายเท่าน้ัน แต่ยังมีความเก่ียวข้องกับความ
ในระดับที่แตกต่างกัน เช่น หลังคากระโจมเคล่ือนท่ี เต๊นท์ สมั พนั ธแ์ ละการไหลเวยี นจากพนื้ ทหี่ นงึ่ ไปยงั อกี พนื้ ทหี่ นง่ึ ดว้ ย
โดมเป่าลมและร่ม ดังภาพตัวอย่างด้านล่างนี้ ประเด็นส�ำคัญคือท�ำให้อย่างไรให้สามารถหลีกเลี่ยงการท�ำให้
เกิดความรู้สึกที่แปลกแยก งานเขียนมากมายเปรียบห้องสมุด
แนวความคดิ การใช้ “โดมเป่าลม” และ “ร่มบนท้องถนน” ที่ซัลไทเยอร์ เสมือนบ้านหลังท่ีสามดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น กล่าวคือเป็น
เซ็นเตอร์ (Saltire Centre) มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ คาเลโดเนีย สถานท่ีท่ีไม่ใช่ที่ท�ำงานและไม่ใช่บ้าน แต่มีความส�ำคัญเป็น
พิเศษต่อผู้ท่ีเข้ามาเยี่ยมชมและใช้งาน มิกันดา (Mikunda)
(2006) กล่าวว่าการสร้างบ้านหลังที่สามควรจะมี “เส้นด้าย
สที อง” (golden thread) (หมายถงึ การไหลเวยี น หรอื Flow)
ทชี่ ว่ ยสนบั สนนุ ใหผ้ ใู้ ชเ้ ดนิ เขา้ ไปและสำ� รวจภายในนนั้ โดยการ
ใช้วิธีท�ำให้เกิดความสงสัยใคร่รู้และการเปิดเผย ซ่ึงสถานท่ี
แบบนม้ี กั จะมจี ดุ สงั เกตหรอื มสี ถานทหี่ ลกั ทเ่ี ปน็ จดุ ดงึ ดดู ความ

79

สนใจเพอื่ ทำ� ใหเ้ กดิ ความอยากร้อู ยากเหน็ เปน็ สงิ่ ทเ่ี หน็ แลว้ จะ แต่โต๊ะก็ยังคงเป็นฉากกั้นระหว่างเจ้าหน้าท่ีและผู้ใช้บริการ
ต้องร้อง “ว้าว” ซึ่งมักมีอยู่ในพ้ืนที่หรืออาคารใหม่ๆ การไหล อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ความพยายามในการลดผลกระทบของ
เวียนช่วยให้ผู้ใช้เดินผ่านพื้นที่ดังกล่าว ส่วนจุดสังเกตหรือ โต๊ะส�ำหรับให้บริการและการท�ำให้เกิดความรู้สึกเป็นส่วนหน่ึง
จุดดึงดูดความสนใจถือเป็นเป้าหมาย ของการให้บริการยังปรากฏให้เห็นมากข้ึนในห้องสมุดต่างๆ
เช่น การใช้ฉากก้ันขนาดเล็กแบบไม่เป็นทางการในจุดท่ีส�ำคัญ
พืน้ ท่ีและการบริการไมอ่ าจแยกออกจากกนั ได้ ในอาคาร ฉากกนั้ ขนาดเลก็ เหลา่ นสี้ ามารถเคลอ่ื นยา้ ยได้ ทำ� ให้
สามารถต้ังจุดบริการ “ชั่วคราว” ได้ง่าย คุณลักษณะท่ีมีความ
พื้นที่และบริการมีความเช่ือมโยงกันในเชิงชีวภาพ ขณะท่ี ยืดหยุ่นเช่นน้ี ท�ำให้สามารถใช้กลยุทธ์ในการให้การบริการท่ี
การปรับเปล่ียนและการพัฒนาการให้บริการในห้องสมุดใดๆ สนับสนุนให้เจ้าหน้าท่ีที่มีหน้าที่รับผิดชอบในจุดอ่ืนๆ เข้ามา
สามารถท�ำได้อยู่เสมอ การพัฒนาการให้บริการของห้องสมุด นั่งท�ำงานที่โต๊ะส�ำหรับให้บริการได้ตามความต้องการและ
ในประเทศอังกฤษส่วนใหญ่สามารถมองเห็นได้ผ่านการใช้ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็วทันเวลา
อุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกในการยืม-คืนหนังสือด้วยตนเอง
การพัฒนามักมุ่งเน้นไปที่ระดับการให้บริการตนเองที่สูงข้ึนใน การบรู ณาการงานบริการ
สว่ นทสี่ ามารถทำ� ได้และการกำ� จดั อปุ สรรคในการเข้าถงึ บรกิ าร
และการบูรณาการงานบริการ การจัดให้มีจุดบริการท่ีสามารถ อีกกลยุทธ์หน่ึงท่ีเหมาะส�ำหรับอนาคตซ่ึงมีทรัพยากรจ�ำกัดคือ
“เพมิ่ หรอื ลด” พนื้ ทขี่ องโตะ๊ สำ� หรบั ใหบ้ รกิ ารได้ โดยใหเ้ จา้ หนา้ ที่ การบูรณาการ อุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกในห้องสมุดท่ีเพิ่ม
ทรี่ บั ผดิ ชอบงานในสว่ นอน่ื ๆ มานงั่ ทำ� งานแทน ณ โตะ๊ ใหบ้ รกิ าร ขึ้นท�ำให้เกิดบริการท่ีหลากหลายข้ึนส�ำหรับผู้ใช้ห้องสมุด และ
ในกรณที ม่ี ผี ใู้ ชบ้ รกิ ารจำ� นวนมาก ชว่ ยตอบสนองความตอ้ งการ ก็ไม่ใช่เรื่องแปลกท่ีห้องสมุดจะมีร้านกาแฟและร้านอาหารให้
ของผู้ใช้บริการได้อย่างดี ยกตัวอย่างเช่น การมีโต๊ะกลาง (โต๊ะ บรกิ ารรว่ มกบั พพิ ธิ ภณั ฑห์ รอื หอ้ งแสดงผลงานศลิ ปะ และเปน็
ส�ำหรับเจ้าหน้าที่หรือผู้ใช้) และโต๊ะอีก 2 ตัวในบริเวณใกล้ สถานที่ส�ำหรับให้บริการจากทางภาครัฐอยู่ภายในห้องสมุด
เคียง ท�ำให้ในกรณีที่มีผู้เข้าแถวใช้บริการจ�ำนวนมากข้ึน
เจ้าหน้าท่ีจะมีพ้ืนที่ในการท�ำงานมากขึ้น และเมื่อไม่ได้ใช้งาน การพฒั นาชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้
โต๊ะในบริเวณใกล้เคียง ผู้ใช้บริการก็สามารถใช้พื้นท่ีน้ันได้
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีความพยายามให้โต๊ะเป็นส่ิงอ�ำนวย ความท้าทายอย่างหนึ่งท่ีพบในการพัฒนาการให้บริการการ
ความสะดวกที่เจ้าหน้าที่และผู้ใช้บริการสามารถใช้ร่วมกันได้ เรยี นรผู้ า่ นเวบ็ และการเรยี นรเู้ สมอื นจรงิ คอื การสรา้ งสงั คมแหง่
การเรียนรู้ท่ีจะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้รายบุคคลและการ
เรียนรู้ร่วมกันกลุ่มเพ่ือน (peer group learning) เว็บไซต์

80 | โหล

จ�ำนวนมากพยายามใส่ข้อมูลเพ่ือเพ่ิมพูนทรัพยากรและสร้าง บทสนทนาทส่ี นกุ สนาน แตด่ ว้ ยการมบี รกิ ารทข่ี ยายวงกวา้ งขน้ึ
ชุมชนในกลุ่มผู้ใช้เพื่อระบุท่ีต้ังและบริการ ซ่ึงจะช่วยเช่ือมโยง นน้ั หอ้ งสมดุ ยงั สามารถขยายขอบขา่ ยไปถงึ การพบปะกนั อยา่ ง
สถานที่จริงกับสถานที่เสมือนเข้าด้วยกัน ความเป็นไปได้ใน ไม่คาดคิดมาก่อนและบทสนทนาโดยบังเอิญ ซ่ึงเป็นหัวใจของ
การสร้างและผสมผสานสิ่งแวดล้อมเสมือนและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ ‘เมดิซี’ (Medici) ของ โยฮันเซน (Johanssen)
ทางกายภาพ รวมถึงการสร้างและรักษาชุมชนแห่งการเรียนรู้ (2004) – วิวัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ส�ำหรับ
ออนไลนอ์ ย่างไร้ขดี จำ� กดั และในห้องสมดุ จรงิ ถอื เป็นโอกาสใน ยุคใหม่ ห้องสมุดเป็นพื้นท่ีท่ีมีความยืดหยุ่นและสามารถ
การพัฒนา ยกตัวอย่างเช่น หลักสูตรการเรียนแบบออนไลน์ ตอบสนองความต้องการได้ อีกทั้งยังเป็นพ้ืนที่ท่ีเต็มไปด้วย
(MOOCs) และห้องเรียนกลับด้าน (flipped classroom) จะ พลังและความคิดสร้างสรรค์และไม่หยุดนิ่งส�ำหรับผู้ใช้บริการ
มีประสิทธิภาพมากข้ึนหากเครือข่ายท่ีอยู่ในพื้นที่มีส่วนช่วยใน มิใช่ส�ำหรับบรรณารักษ์
การสนับสนุนประสบการณ์ดังกล่าว ย่ิงห้องสมุดสามารถสร้าง นอกจากนี้การพัฒนาและความส�ำเร็จของห้องสมุดแห่ง
พ้ืนท่ีท่ีใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสูงท่ีมีการให้บริการแบบ ศตวรรษท่ี 21 ถอื เปน็ ศลิ ปะมากกวา่ เปน็ วทิ ยาศาสตร์ หอ้ งสมดุ
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางอย่างทั่วถึงมากเท่าใด ห้องสมุดก็จะย่ิงมี แห่งศตวรรษที่ 21 ไม่ใช่บ้านหลังที่สาม แต่เป็นการผสมผสาน
บทบาทเป็นสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเปิดที่จะน�ำมาซึ่งการ กนั อย่างชาญฉลาดของบ้านหลงั ทห่ี นงึ่ และบ้านหลงั ทสี่ อง เป็น
พัฒนาของชุมชนของการเรียนรู้ พนื้ ทส่ี ำ� หรบั การทำ� งาน การใชเ้ วลาวา่ งและการเรยี นรทู้ ใ่ี หค้ วาม
รู้สึกเหมือนอยู่ในบ้าน ซ่ึงถือเป็นการใช้ความสามารถในการ
การสร้างห้องสมุดแห่งศตวรรษท่ี 21 สร้างสรรค์ เปรียบเสมือนศิลปินที่สามารถระบายสีทับลงไป
เพ่ือเปลี่ยนแปลงผลงานศิลปะ เจ้าหน้าท่ีห้องสมุดลบเส้นแบ่ง
ห้องสมุดแห่งศตวรรษท่ี 21 มีบทบาทส�ำคัญกว่าในอดีต เขตแดนและสร้างทัศนคติใหม่ๆ โดยใช้ความยืดหยุ่นท่ีเกิด
ท่ีผ่านมา และจ�ำเป็นจะต้องพัฒนาบทบาทต่อไปในฐานะที่เป็น ขึ้นจากการใช้พ้ืนที่เปิด และการปรับเค้าโครงของเน้ือหาใน
ศูนย์กลางของการเรียนรู้และชุมชน โดยการคิดใหม่เกี่ยวกับ พ้ืนท่ีโดยใช้จินตนาการ ห้องสมุดท่ีประสบความส�ำเร็จใน
พ้ืนท่ีและบริการต่างๆ ของห้องสมุด ห้องสมุดแห่งศตวรรษที่ ศตวรรษท่ี 21 จะไมห่ ยดุ อยทู่ เี่ คา้ โครงของพนื้ ทท่ี ปี่ ระสบความ
21 นั้นเป็นมากกว่าพ้ืนท่ีทางสังคมท่ีไม่มีค่าใช้จ่าย แต่เปรียบ ส�ำเร็จในคร้ังแรกเท่านั้น แต่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงและ
เสมือนบ้านหลังท่ีสาม และเป็นส่วนประกอบท่ีส�ำคัญของ ปรับปรุงอย่างสม่�ำเสมอเพ่ือให้เป็นห้องสมุดท่ีดียิ่งข้ึน
โครงสร้างพ้ืนฐานการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ท้ังภายใน
มหาวิทยาลัยและภาครัฐท้ังในระดับท้องถ่ินและระดับชาติ
ห้องสมุดแห่งศตวรรษที่ 21 ไม่ได้เป็นเพียงเพ่ือนที่ดีและ

81

บรรณานุกรม
Bonk C.J. (2009) The World is Open, Jossey Bass
Brand, S. (1995) How buildings learn-what happens to them after they are built, Penguin
Dempsey L. (2010) Outside-in and Inside-out Redux, Lorcan Dempsey’s weblog, 6th June 2010, (accessed 19th

November 2016)
Feynman, R.P. (2000) The Pleasure of Finding Things Out (Penguin) London
Florida, R. (2003) The Rise of The Creative Class: And how it’s Transforming Work, Leisure, Community and Ev-

eryday Life: Basic Books
Freeman, G. T. (2005) Changes in Learning Patterns, Technology and Use, In Library as Place: Rethinking Roles,

Rethinking Space. Washington, DC: Council on Library and Information Resources
Gardner, H. (2006) The Development and Education of the Mind (Routledge) Oxford
Gardner, H. (1999) Intelligence Reframed: Multiple Intelligences for the 21st Century (Basic Books) New York
Gardner, H. (1993) Frames of Mind: the theory of multiple intelligences. New York: Basic Books.
Guardian, The (2011) UK ebook sales rise 20% to £180m, 3/05/2011
Horn, C. (2008) Authors Ffi ight for UK Libraries, The Bookseller, Issue 5348, 9th May
Jenkins H. (2013) Confronting the Challenges of Participatory Culture: Media Education for the 21st Century, an

occasional paper from The John D and Catherine T MacArthur Foundation, MIT
Jensen, E. (2005) Teaching with the Brain in Mind. Alexandria, VA: ASCD Books.
Johanssen, F. (2004) The Medici Effect, Breakthrough Insights at the Intersection of Ideas, Concepts and Cultures:

HBS Press
Kelly, K. (2010) What Technology Wants, Penguin
King, B. (2013) Too Much Content: a world of exponential information growth, The Hufffi ington Post Tech, 20th May,

www.huffif ington.com/brett-king/too-much-content-a-world-_b_809677.html (accessed 20th May 2013)
Kolb D.A.(1984) Experiential Learning: experience as a source of learning and development. New Jersey: Prentice

Hall
Kurzweil R. (2006) The Singularity is Near – When Humans Transcend
Lankes D. (2013) Expect More: Demanding Better Libraries (p.32)
Laurillard, D. (2002) Rethinking University Teaching: A Conversational Framework for the Effective Use of Learning

Technologies, Routledge/Falmer
82 | โหล

Maya Angelou quoted in Prahalad D. Sawhney R. (2011) Predictable Magic – Unleash the Power of Design
Strategy to Transform Your Business, Wharton School Publishing

Mikunda C. (2006) Brand Lands, Hot Spots & Cool Spaces – Welcome to the Third Place and the Total Marketing
Experience, Kogan Page

Oldenburg R (1999) The Great Good Place, Marlowe and Company
Pass, S. (2004) Parallel Paths to Constructivism: Jean Piaget and Lev Vygotsky (Information Age Publishing)
Pine J. B. Gilmore J.H., (1999) The Experience Economy, HBS Press
Pink D.H., (2005) A Whole New Mind, How to thrive in the new conceptual age, Cyan Books
Rizzo J.C. (2002) Finding Your Place in The Information Age Library, New Library World, Volume 103. Number

1182/1183 . pp 457±466
Robinson K. (2013), Out of Our Minds, Capstone Publishing
SCONUL Working Group on Information Literacy (2011) SCONUL Seven Pillars of Information Literacy: core model

for higher education. http://www.sconul.ac.uk/sites/default/ilf es/documents/coremodel.pdf (accessed 3.5.2013)
Seely Brown, J. and Duguid, P. (2000) The Social life of information. Harvard Business School Press.
Sweeney, M. (2011), UK eBook Sales Rise 20% to 1£ 80 million, Guardian, 3rd May
Watson L. Anderson H. (2008) The Design and Management of Open Plan Technology Rich Learning Space in

Further and Higher Education in the UK, Joint Information Systems Committee, e-learning program, http://www.
jisc.ac.uk/whatwedo/projects/managinglearningspaces.aspx (accessed 4/5/2013)
Watson L. Ed.(2013) Better Library and Learning Space: Projects, Trends and Ideas, FACET publishing
ภาพจาก
http://hyperallergic.com/wp-content/uploads/2016/03/GOMEZ-Fujimoto-Musashino-Library.jpg
http://www.igniteafricalibrary.org/assets/img/preview/slider/library.jpg
http://www.montroseps.vic.edu.au/uploaded_lfi es/media/laptops__classroom.jpg
http://learningspace.kmutt.ac.th/wp-content/uploads/2015/08/8A0A0060-1500x630.jpg
http://modelprogrammer.slks.dk/udfordringer/rum-og-zoner/digitale-rum/

83



หอ้ งสมดุ กับอนาคต

[FUTURE POSSIBLE]

86 | โหล

นครแห่งอนาคต ห้องสมุดแหง่ อนาคต:
ประสบการณแ์ ละบทเรยี น
จากหอ้ งสมดุ เมืองเบอรม์ ิงแฮม

ไบรอัน แกมเบิลส์
อดีตผู้อำ�นวยการห้องสมุดเมืองเบอร์มิงแฮม

เปน็ ระยะเวลาสน้ั ๆ เพยี ง 18 เดอื นหลงั จากการเปดิ ตวั ในเดอื น ของชมุ ชนเขา้ ถงึ ได้ (ข) เพอื่ บรู ณาการหอ้ งสมดุ ฯ ใหเ้ ปน็ สมบตั ิ
กันยายน พ.ศ. 2556 ห้องสมุดเมืองเบอร์มิงแฮมกลายเป็น สาธารณะส่วนหนึ่งของเมือง และ (ค) เพ่ือเช้ือเชิญผู้เยี่ยมชม
หอ้ งสมดุ สาธารณะทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ แบบไรค้ เู่ ปรยี บในโลก ห้องสมุดฯ ให้เดินทางไปสู่การเรียนรู้และการค้นหา
ห้องสมุดฯ ดึงดูดผู้มาเยือนนับล้านด้วยเป้าหมายใหม่และ การแปลงโฉมการให้บริการได้ด�ำเนินควบคู่ไปกับการพัฒนา
ได้รับรางวัลจ�ำนวนนับไม่ถ้วน มีการแปลงโฉมโมเดลการ รูปแบบของห้องสมุดอย่างไร้รอยต่อ ซึ่งผมจะได้กล่าวถึง
ออกแบบและการบริการห้องสมุดสาธารณะ รวมทั้งท�ำให้ภาพ ต่อไป
ลักษณ์ของเมืองเบอร์มิงแฮมเปลี่ยนแปลงไป ผมเอง บรรณารกั ษค์ อื อะไร หนงั สอื คอื อะไร หอ้ งสมดุ คอื อะไร เนอื้ หา
เป็นผู้ก�ำกับโครงการซ่ึงริเริ่มและรังสรรค์ห้องสมุดเมือง ท่ีผมจะน�ำเสนอเก่ียวข้องกับการเรียนรู้และการแสวงหา
เบอร์มิงแฮม และนี่คือเรื่องราวของเรา ทรพั ยากรในโลกทเี่ ปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ การววิ ฒั นต์ นเอง
แนวทางในการออกแบบของเหล่าสถาปนิกยึดหลัก 3 ประการ และบทบาทของเราถือเป็นความรับผิดชอบด้านวิชาชีพ
ได้แก่ (ก) เพ่ือให้ห้องสมุดฯ มีความเป็นมิตรและคนทุกกลุ่ม

ปรับปรุงและเรียบเรียงจากบทความเร่ือง “นครแห่งอนาคต ห้องสมุดแห่งอนาคต: ประสบการณ์และบทเรียนท่ีได้รับจากห้องสมุดเมือง
เบอร์มิงแฮม” (Future City, Future Library: Experiences and Lessons Learned from the Library of Birmingham) เอกสาร
ประกอบการบรรยายในงานประชุมวิชาการ TK Forum 2016

87

ห้องสมุดจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 เนื่องด้วย ออกแบบบริการห้องสมุดในอนาคต ท้ังในเมืองซีแอตเติล
วัสดุและแนวทางด�ำเนินการแบบดั้งเดิมเดินมาถึงทางตัน ส่ิงท่ี เมืองแวนคูเวอร์ ในอเมริกาเหนือ ประเทศสิงคโปร์ เมือง
ส�ำคัญที่สุดคือ ห้องสมุดไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ขนาดไหน ก็ถือ อัมสเตอร์ดัม เมืองเฮลซิงกิ และห้องสมุดอีกหลายแห่งใน
เป็นส่วนหนึ่งของภูมิทัศน์เมือง (urban landscape) และ ประเทศฮอลแลนด์ เดนมาร์ก และสวีเดน นอกจากน้ี แนวคิด
ส่วนหน่ึงของชุมชน นี่คือเหตุผลว่าท�ำไมห้องสมุดเมืองเบอร์ ของเพ่ือนร่วมอาชีพของเราในเมืองบาร์เซโลนา และเมือง
มิงแฮมจึงให้ความส�ำคัญย่ิงกับแนวคิดว่าด้วยพ้ืนท่ีสาธารณะ ออร์ฮูส 1 (Aarhus) ก็ช่วยท�ำให้เกิดแรงบันดาลใจด้วย แต่ผม
ท้ังพื้นที่ภายในห้องสมุด ความสัมพันธ์ระหว่างห้องสมุดกับ ใครจ่ ะอภปิ รายเกยี่ วกบั หอ้ งสมดุ สองแหง่ ทที่ า่ นอาจไมเ่ คยเหน็
พน้ื ทส่ี าธารณะ และความเชอ่ื มโยงของพน้ื ทดี่ า้ นนอกหอ้ งสมดุ มาก่อนแต่น่าจะสร้างแรงบันดาลใจให้พวกเราทุกคน
ไม่ว่าจะเป็นระเบียง อัฒจันทร์ และแม้กระท่ังหลังคาสีน�้ำตาล

ผมมักจะถูกถามบ่อยๆ ว่า กว่าจะมาเป็นห้องสมุดเมือง
เบอร์มิงแฮม ห้องสมุดแห่งไหนสร้างแรงบันดาลใจให้กับคุณ
มากท่ีสุด เราได้ไปเย่ียมเยือนห้องสมุดมากมาย ซึ่งท้ังหมด
ล้วนแต่ให้แนวคิดในการออกแบบพื้นท่ีห้องสมุดหรือการ

1 เมอื งออรฮ์ สู เปน็ เมอื งสำ� คญั ดา้ นการคา้ อตุ สาหกรรมและเมอื งทา่
นับเป็นเมืองใหญ่อันดับท่ี 2 ของประเทศเดนมาร์ก

88 | โหล

Alberto Manguel ได้กล่าวราวกับบทกวีในบทความ ค�ำกล่าวน้ีท�ำให้ผมอยากจะสร้างห้องสมุดยามราตรี ที่ซึ่งการ
ขนาดยาวอันน่าอัศจรรย์ของเขาเรื่อง “ห้องสมุดยามราตรี” ค้นพบ ความบังเอิญ ความประหลาดใจ และการค้นหาเป็น
(The Library at Night) ว่า: ส่ิงท่ีส�ำคัญท่ีสุด

“ในเวลากลางวัน ห้องสมุดเป็นโลกแห่งระเบียบ มีอักษรก�ำกับ ห้องสมุดแห่งพงไพร (Library of the Forest) เป็นห้องสมุด
อยู่ตามทางเดิน ผมเคล่ือนตัวไปด้วยเป้าหมายที่ชัดเจน ที่ไม่ธรรมดาอีกแห่ง ณ ห้องสมุดแห่งนี้ ไม่ได้จัดหมวดหมู่
เฝ้าสังเกตหนังสือต่างๆ ตามล�ำดับและประเภทของหนังสือ ทรัพยากรไว้ตามหัวข้อหรือตามระบบดิวอ้ี ห้องสมุดมีอายุราว
เหล่านั้น สถานที่มีโครงสร้างท่ีเด่นชัด เป็นเขาวงกตท่ีมิใช่เพ่ือ 25 ปี แต่มีหนังสืออยู่ไม่เกิน 1,100 เล่มในการนับคร้ังล่าสุด
การหลงอยู่ภายในแต่เพ่ือการค้นหา เป็นล�ำดับตามเหตุผล หนงั สอื แตล่ ะเลม่ บนั ทกึ การเดนิ ทางดว้ ยเทา้ อกี ทงั้ ยงั ประกอบ
เป็นภมู ิศาสตร์ที่อ่อนน้อม และเป็นล�ำดับข้ันท่ีน่าจดจ�ำ แต่เม่ือ ด้วยวัตถุและสารต่างๆ ที่เก็บได้ระหว่างเส้นทาง ไม่ว่าจะเป็น
ราตรีกาลมาเยือนบรรยากาศก็เปลี่ยนไป ระเบียบที่ถูกก�ำหนด สาหร่าย หนังงู เกล็ดแร่กลีบหิน ผลึกแร่ควอทซ์ เศษสน มอส
โดยบัญชีรายช่ือหนังสือเป็นเพียงวิถีซ่ึงไร้เกียรติในเงามืด หินเหล็กไฟท่ีใช้แล้ว ละอองเกสรดอกไม้ ผลโอ๊ก ใบไม้
หนังสือเล่มหน่ึงร้องหาอีกเล่มหนึ่งอย่างน่าอัศจรรย์ เกิดเป็น ห้องสมุดด�ำรงอยู่ในฐานะหนังสือแผนท่ีหลากมิติและเส้นทาง
พันธมิตรข้ามวัฒนธรรมและกาลเวลา หากห้องสมุดในยาม แห่งการค้นหา
ทิวาเป็นเสมือนเสียงก้องแห่งระเบียบของโลกท่ีเข้มงวดและ การเยย่ี มชมครง้ั สำ� คญั เกดิ ขนึ้ ณ หอ้ งสมดุ นอรแ์ มนฟอสเตอร์
มีเป้าหมายอันเป็นเหตุเป็นผล ห้องสมุดยามราตรีก็ดูจะเริงร่า (Norman Foster’s Library) ที่มหาวิทยาลัยไฟรเออร์
ไปในความวุ่นวายที่น่าร่ืนรมย์ของโลก”

89

(Freier Universitäät หรือ Free University) ในกรุงเบอร์ลิน
ตัวอาคารถูกเรียกด้วยชื่อเล่นที่สะท้อนความรักว่า ‘มันสมอง
แหง่ เบอรล์ นิ ’ เนอ่ื งจากมโี ครงสรา้ งทนี่ า่ สนใจรปู กะโหลกศรี ษะ
และมีบทบาทส�ำคัญด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย ห้องสมุด
มีการออกแบบท่ีงดงาม นับเป็นห้องสมุดที่สวยงามแห่งหนึ่ง
ของโลก นอกจากนี้ ห้องสมดุ ยงั มีประสทิ ธิภาพด้านการใช้งาน
จากการเดินทางมากมาย ผมได้เรียนรู้หลายสิ่งเก่ียวกับ
สถาปัตยกรรมที่มีการออกแบบช่วยช้ีน�ำ และเกี่ยวกับการใช้
ประโยชนข์ องหอ้ งสมดุ รวมถงึ สงิ่ ทไี่ ดผ้ ลและไมไ่ ดผ้ ล แตไ่ มม่ ี
สถานท่ีแห่งใดเลยที่ท�ำให้ผมหยุดคิดได้มากเท่าที่นี่
สิ่งแรกท่ีผมนึกถึง คือกฎข้อที่ 5 ของรังกานาธานผู้ย่ิงใหญ่
(the Great Ranganathan’s Fifth Law) นั่นคือ ห้องสมุด
เป็นองคาพยพที่เติบโต หมายความว่าห้องสมุดควรจะเป็น
สถาบันที่เปลี่ยนแปลงไปไม่สิ้นสุด ไม่หยุดนิ่งในด้านแนวคิด
หนังสือ วิธีการ และกายภาพของห้องสมุดควรจะได้รับการ
ปรับปรุงให้ดีขึ้นเม่ือเวลาผ่านไป
สาระส�ำคัญของกฎดังกล่าว คือการเน้นความจ�ำเป็นในการ
เปลี่ยนแปลงภายในมากกว่าการเปลี่ยนแปลงตัวสิ่งแวดล้อม
ดร.รังกานาธานกล่าวว่าองค์กรห้องสมุดจะต้องสนับสนุนการ
เติบโตของบุคลากร ทรัพยากร และการใช้งานของผู้ใช้บริการ
มติ นิ อี้ าศยั การเตรยี มพรอ้ มสำ� หรบั การเตบิ โตดา้ นกายภาพของ
อาคาร พ้ืนท่ีอ่านหนังสือ การจัดวางช้ันหนังสือ และบัญชี

90 | โหล

รายชื่อหนังสือ นี่เป็นการเติบโตที่ทุกวันน้ีดูเหมือนไม่จ�ำเป็น เท่ากับประเทศขนาดเล็กในทวีปยุโรปอย่างเดนมาร์กหรือ
ท�ำไม่ได้ และไม่พึงปรารถนาในมุมมองของพวกเราหลายคน นอรเ์ วย์ นครเบอรม์ งิ แฮมตง้ั อยตู่ อนกลางของประเทศองั กฤษ
อย่างไรก็ตาม ดร.รังกานาธาน ก็ยังมุ่งหวังที่จะเร่ิมการเปลี่ยน ขาดการเชื่อมต่อทางทะเลและปราศจากทรัพยากรธรรมชาติ
แปลงครั้งใหญ่ในระบบห้องสมุด เขาได้เขียนเร่ืองราวเหล่าน้ัน ใดๆ ไม่ว่าจะเป็นแม่น้�ำหรือสินแร่ใต้ดิน ถึงแม้ว่าในยุคต่างๆ
เผยแพร่แก่ทุกคน งานเขียนดังกล่าวมีศักยภาพในการเสริม นครเบอร์มิงแฮมจะเป็นศูนย์กลางเครือข่ายการขนส่งของ
พลังสาธารณชนและกระตุ้นการอภิปรายของพลเมือง (ซึ่งอาจ ประเทศด้วยคลอง รถไฟ และถนน ทว่าการเติบโตส่วนใหญ่
จะน�ำไปสู่ความไม่เห็นด้วยก็เป็นได้) ถึงแม้จะไม่มีหลักฐานว่า เกิดจากความคิดสร้างสรรค์และความชาญฉลาดของชาวเมือง
ดร.รังกานาธานท�ำสิ่งนี้ด้วยเหตุผลทางการเมืองหรือไม่ แต่ จึงกล่าวได้ว่าประชาชนน้ันเองเป็นผู้สร้างเมือง
แนวคิดด้านห้องสมุดของเขาได้ส่งผลเปล่ียนแปลงต่อการ เบอรม์ งิ แฮมเปน็ โฉมหนา้ แหง่ อนาคตของเมอื งในยโุ รปทงั้ หมด
ให้การศึกษาแก่ประชาชน ในด้านการท�ำให้ทุกคนเข้าถึง ข้อมูลด้านประชากรเป็นส่ิงส�ำคัญที่ก�ำหนดความเป็นไปของ
สารสนเทศ และช่วยเหลือสตรีและชนกลุ่มน้อยให้รู้จัก ห้องสมุด เราเป็นมหานครท่ีมีเปอร์เซ็นต์เด็กและคนหนุ่มสาว
กระบวนการแสวงหาข้อมูล อายุน้อยกว่า 25 ปีสูงที่สุดในยุโรป รวมทั้งเป็นเมืองท่ีมีความ
ดังน้ัน ห้องสมุดมิได้เป็นเพียงเครื่องมือเพื่อการพัฒนาและ หลากหลายท่ีสุดเป็นอันดับสองรองจากเมืองอัมสเตอร์ดัม
เสรมิ พลงั ใหก้ บั บคุ คลและสงั คม หรอื เปน็ เครอ่ื งมอื บอ่ นทำ� ลาย ซึ่งมีเปอร์เซ็นต์ประชากรชนกลุ่มน้อยสูงกว่า
เท่านั้น แต่ยังเป็นองคาพยพท่ีต้องเปลี่ยนแปลงและพัฒนา
ตัวเอง ดังเช่นสมอง!

ผมเชื่ออย่างสนิทใจว่าบทเรียนแรกส�ำหรับการออกแบบ
หอ้ งสมดุ และโครงการแปลงโฉมใดๆ กต็ าม คอื การร้จู กั ชมุ ชน
ของคณุ เอง ดงั นนั้ ผมควรจะใชเ้ วลาเพอ่ื บอกคณุ เกยี่ วกบั เมอื ง
เบอร์มิงแฮม นครที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศ
อังกฤษ เป็นที่พ�ำนักของประชากรราวหนึ่งล้านคน เป็น
นครใหญ่ในทวีปยุโรป เป็นเมืองหลวงในภูมิภาคซ่ึงมีขนาด

91

คณุ ลักษณะเหล่านี้เป็นโอกาสส�ำคัญส�ำหรับเมืองสมัยใหม่และ ไม่มีใครจะท�ำหน้าท่ีสร้างความตระหนักในเรื่องเหล่านี้ได้
เป็นสิ่งท้าทายที่ยิ่งใหญ่ไปพร้อมๆ กัน ความเยาว์วัยและ เหมาะสมกว่าห้องสมุด
ความหลากหลายมาพร้อมกับความท้าทายด้านการว่างงาน การให้ความส�ำคัญต่อห้องสมุดเมืองเบอร์มิงแฮมในการ
ทักษะแรงงานต่�ำ การขาดการรู้หนังสือ การใช้ชีวิตที่ขาด เปลย่ี นแปลงเมอื งเรม่ิ ตน้ จากการกำ� หนดตำ� แหนง่ ทตี่ ง้ั ถงึ แมว้ า่
สุขภาวะ และภาพลักษณ์ท่ีไม่น่ารื่นรมย์ของเมือง ต่อโลก ที่ตั้งของเราจะไม่ได้เป็นที่ตั้งในอุดมคติในหลายด้านด้วยกัน
ภายนอก ทั้งในแง่อุปสรรคด้านการเข้าถึงและขนาด แต่ห้องสมุดเมือง
และผมเช่ือว่าน่ีเป็นค�ำตอบส�ำหรับค�ำถามท่ีว่า ห้องสมุดควร เบอร์มิงแฮมก็มีข้อได้เปรียบส�ำคัญบางประการในด้านความ
ด�ำเนินไปในทิศทางใด ผมขอสนับสนุนการสร้างความเข้าใจ เป็นศูนย์กลางของประสบการณ์ฟื้นฟูสังคม ห้องสมุดฯ หัน
ท่ีลึกซึ้งเก่ียวกับสิ่งที่เมืองและประชากรของเมืองต้องการ หนา้ สแู่ ยกหลกั ของเมอื ง อยปู่ ระชดิ กบั ถนนคนเดนิ หลกั ทพ่ี าด
เพ่ือเป็นหนทางผลักดันการเปลี่ยนแปลง ประชาชนต้องการ ผ่านตัวเมือง และอยู่ติดกับอาคารเชิงวัฒนธรรมอื่นๆ ได้แก่
เคร่ืองน�ำทางและแรงบันดาลใจในการเรียนรู้มากกว่าข้อมูล โรงมหรสพ พพิ ธิ ภณั ฑ์ และหอแสดงคอนเสริ ต์ และนทิ รรศการ
เชิงวัตถุวิสัย เมืองต้องการให้ประชากรรู้หนังสือมากข้ึน มี ปัจจัยเหล่าน้ีเอาชนะข้อโต้แย้งใดๆ เก่ียวกับการเลือกที่ต้ัง
ทักษะท่ีดีขึ้น ด�ำเนินชีวิตอย่างมีสุขภาวะมากขึ้น และ จริงๆ แล้ว ที่ต้ังน้ีเคยใช้เป็นท่ีจอดรถมากว่า 70 ปี ซ่ึงไม่ใช่
ใฝ่หาความสมานฉันท์มากข้ึน เราเรียกส่ิงน้ีว่าทุนทางสังคม การใช้งานท่ีดินใจกลางเมืองอย่างท่ีสมควรจะเป็น

92 | โหล

ในเรอื่ งของการออกแบบพน้ื ทหี่ อ้ งสมดุ สงิ่ ซงึ่ ควรตระหนกั ถงึ ส�ำหรับความบังเอิญที่ผู้ใช้บริการจะพบวัสดุและสารสนเทศที่
เปน็ ลำ� ดบั แรกคอื คณุ อาจจะไมไ่ ดท้ ำ� สงิ่ ทถี่ กู ตอ้ งไปเสยี ทกุ อยา่ ง ตนเองไม่ได้วางแผนการค้นคว้ามาก่อนล่วงหน้า
มีการประนีประนอมที่ต้องท�ำเสมอ แต่เราควรจะต้ังเป้าให้ ดังนั้น รูปลักษณ์หน้าตาของห้องสมุดอาจถูกออกแบบเพ่ือเชื้อ
สงู และรบั เอาหลกั การทช่ี ดั เจนในการใชร้ ะบบปา้ ยสญั ลกั ษณ์ เชิญให้ผู้ใช้บริการที่มีพื้นท่ีความสนใจต่างๆ มีปฏิสัมพันธ์กับ
เพอ่ื บอกเสน้ ทาง การใหข้ อ้ มลู การบรกิ ารทอี่ ยใู่ กลเ้ คยี ง และการ ทรพั ยากรมนษุ ย์ กายภาพ และสารสนเทศดจิ ทิ ลั ทห่ี ลากหลาย
ระบุท่ีตั้งที่ดีท่ีสุดส�ำหรับการบริการแต่ละมิติ บทเรียนแรกคือ ภายในหอ้ งสมดุ สง่ิ นม้ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการคดิ ของเราอยา่ ง
เราปรารถนาจะใหท้ กุ สง่ิ อยทู่ ช่ี น้ั หนง่ึ ซง่ึ เปน็ ไปไมไ่ ด้ ดงั นนั้ การ ใหญ่หลวง
หาวธิ กี ระจายผใู้ ชบ้ รกิ ารใหท้ วั่ ทงั้ อาคารจงึ เปน็ สงิ่ สำ� คญั เราได้ ถอ้ ยคำ� ของ มารค์ ทเวน (Mark Twain) นกั เขยี นชาวอเมรกิ นั
ศกึ ษาการไหลเวยี นของผใู้ ชบ้ รกิ ารไมเ่ พยี งแตใ่ นหอ้ งสมดุ แต่ น�ำทางชีวิตของผมและน�ำทางความปรารถนาและแนวทางการ
ยงั รวมถงึ โรงแรม สนามบนิ และพพิ ธิ ภณั ฑ์ จดั การความเสยี่ งในการออกแบบและดำ� เนนิ การหอ้ งสมดุ เมอื ง
ในปี พ.ศ.2551 นักวิจัยชาวเดนมาร์กได้ศึกษาสิ่งท่ีเขาเรียกว่า เบอร์มิงแฮม นอกจากนี้ ยังมีถ้อยค�ำของ มาลาลา ยูแซฟไซ
ความแตกต่างระหว่าง ‘การค้นหาสารสนเทศ’ (information (Malala Yousafzai) ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพใน
recovery) และ ‘การค้นพบสารสนเทศ’ (information โอกาสการเปิดตัวห้องสมุดเมืองเบอร์มิงแฮม เธอกล่าวว่า
discovery) กล่าวอย่างสามัญก็คือ การค้นหาสารสนเทศ “เมืองที่ปราศจากห้องสมุดก็เสมือนสุสาน และขอให้เราไม่ลืม
เกย่ี วขอ้ งกบั สารสนเทศทผ่ี สู้ บื คน้ มคี วามรมู้ ากอ่ นเกย่ี วกบั การ ว่าหนังสือเพียงเล่มเดียว ปากกาเพียงด้ามเดียว เด็กเพียง
ด�ำรงอยู่ของสารสนเทศนั้น ในขณะท่ีการค้นพบสารสนเทศ คนเดียว และครูเพียงคนเดียว ก็เปล่ียนแปลงโลกได้ ปากกา
เก่ียวข้องกับข้อมูลท่ีผู้สืบค้นไม่เคยตระหนักถึงมาก่อน และหนงั สอื เปน็ อาวธุ ทส่ี รา้ งความปราชยั ตอ่ การกอ่ การรา้ ยได”้
นักวิจัยท่านนั้นต้ังค�ำถามว่า การออกแบบพ้ืนท่ีห้องสมุดจะ ดังท่ีโสเครติส (Socrates) กล่าวไว้ เราต้องรามือจากการสู้รบ
สนับสนุนการค้นพบสารสนเทศท่ีดีท่ีสุดได้อย่างไร ห้องสมุด กับอดีตและมุ่งไปที่อนาคต
ได้พัฒนาเครื่องมืออย่างหลากหลายเพ่ือสนับสนุนการค้นหา แดเนียล เบิร์นแฮม (Daniel Burnham) สถาปนิกและ
สารสนเทศ เช่น บัญชีรายช่ือหนังสือ ระบบจ�ำแนกประเภท นักวางแผนชาวอเมริกัน ผู้ประพันธ์ 1909 Plan of Chicago
และชั้นวางหนังสือ แต่สิ่งที่ส�ำคัญท่ีสุดคือจะท�ำอย่างไรให้ห้อง
สมุดสนับสนุนการค้นหาสารสนเทศ ไปพร้อมกับสร้างโอกาส

93

สนับสนุนให้พวกเราทุกคน “ไม่ควรวางแผนเล็ก แผนเล็กไร้
ซึ่งเวทมนตร์ที่จะกระตุ้นมนุษย์และตัวแผนเองก็อาจจะไม่ถูก
ท�ำให้บรรลุ ควรวางแผนให้ใหญ่ ต้ังเป้าให้สงู ทั้งด้านความหวัง
และการปฏิบัติงาน”

หอ้ งสมดุ เปน็ สถานทท่ี รงพลงั จงอยา่ จำ� กดั ความทะเยอทะยาน
ของคุณ พวกเราทุกคนควรหวังจะรังสรรค์ห้องสมุดท่ีดีที่สุด
ในโลก

เรากำ� ลงั สรา้ งพนื้ ทส่ี าธารณะขนึ้ มาใหม่ ใหป้ ระชาชนไดใ้ ช้ wifi คุณภาพแบบไร้ข้อผิดพลาด หากการลงทุนลักษณะนี้เกิดขึ้น
คุณภาพและความริเร่ิมจะน�ำมาซ่ึงรางวัลเชิงพาณิชย์
โดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย มพี นื้ ทท่ี สี่ ะดวกสบาย และมโี อกาสในการ แม้กระนั้นก็ตาม อย่าประเมินระดับรายได้หรือประโยชน์สูง
ซื้อกาแฟดีๆ แล้วพวกเขาจะมา! แน่นอนว่าจะต้องมีอะไร เกินไปจนอาศัยเป็นรากฐานด้านการเงินของห้องสมุด เพราะ
มากกว่านน้ั แตน่ น่ั เป็นจดุ เรม่ิ ต้น เรอื่ งราวจากนเี้ ปน็ จดุ เรม่ิ ต้น ตราบเท่าทหี่ ้องสมดุ ยงั มเี ปา้ หมายหลกั ดา้ นการศกึ ษาแบบไม่มี
ง่ายๆ สู่การอภปิ รายเกยี่ วกบั ห้องสมุดสาธารณะในฐานะแหล่ง ค่าใช้จ่าย ตราบนั้นห้องสมุดจะไม่มีวันสร้างก�ำไรได้ และ
รายได้เชิงพาณิชย์ท่ีม่ันคง เช่น การค้าปลีกและบริการจัด ห้องสมุดก็ไม่ควรจะสร้างก�ำไร เพราะห้องสมุดด�ำเนินการเพื่อ
เตรียมอาหาร แต่หากบริการเหล่าน้ีไม่ได้ด�ำเนินการในระดับ สาธารณประโยชน์
ใหญม่ าก กำ� ไรสทุ ธมิ กั จะคอ่ นขา้ งตำ่� การใหบ้ รกิ ารหอ้ งประชมุ แล้วเราได้อะไรจากภาพลักษณ์เหล่าน้ี ข้อความอ้างอิงท่ีเป็นท่ี
พร้อมบริการจัดเตรียมอาหารที่หลากหลายจะสร้างรายได้ที่สูง รู้จักดีมีมากมาย:
ขึ้น เน่ืองจากสินทรัพย์ถูกใช้เพ่ือสร้างรายได้อย่างเข้มข้น จารึกเหนือประตูห้องสมุดแห่งนครธีบส์ (Thebes) ปรากฏ
ขึ้นเป็นเวลานานข้ึน ธุรกิจท่ีมีก�ำไรงามท่ีสุดคืองานกิจกรรมท่ี ขอ้ ความวา่ “หอ้ งสมดุ : ลนิ้ ชกั โอสถสำ� หรบั จติ วญิ ญาณ” และ
เกิดข้ึนครั้งเดียวจบ เช่น งานกาลาดินเนอร์ งานแต่งงาน ซเิ ซโร (Cicero) นกั ปราศรยั ชาวโรมนั ผยู้ ง่ิ ใหญร่ งั สรรคข์ อ้ ความ
งานกิจกรรมองค์กร
แตม่ คี ำ� เตอื นประการหนง่ึ คอื คณุ ตอ้ งลงทนุ ในการบรหิ ารแบบ
มืออาชีพ เนื่องจากผู้ที่จ่ายแพงกว่าย่อมคาดหวังงานที่มี

94 | โหล

ทโ่ี ด่งดงั ว่า “หากท่านครอบครองสวนและห้องสมดุ ท่านกไ็ ด้ ใจอย่างย่ิง แต่การสร้างเสรีภาพแห่งสารสนเทศผ่านเครือข่าย
ครองทกุ สง่ิ ทที่ า่ นตอ้ งการ” อินเทอร์เน็ต ซ่ึงไม่ว่าจะจัดเรียบเรียงด้วยระบบดิวอ้ีหรือด้วย
ข้อความเหล่านชี้ ใี้ หเ้ หน็ ถงึ สถานทเ่ี พอ่ื ความปลอดภยั เพอื่ การ เคร่ืองมือสืบค้นข้อมูลแบบสมัยใหม่ ก็ล้วนบรรจุด้วยเมล็ด
เยยี วยา เพอื่ การฟน้ื ฟู เพอ่ื การพกั ผอ่ น แตผ่ มชอบภาพลกั ษณ์ พันธุ์แห่งการท�ำลายตนเอง น่ันก็คือภาวะสารสนเทศท่วมท้น
ของห้องสมุดท่ีทันสมัยและท้าทายกว่าน้ันมากกว่า (information overload) ในทางทฤษฎีเราน่าจะได้รับข้อมูล
ข้อเขียนใน The Denver Post เม่ือปี พ.ศ.2546 ระบุว่า ที่น่าสนใจหรือมีคุณค่าด้วยความบังเอิญจากการค้นหาไป
“ห้องสมุดมิได้เป็นสถานที่ปลอดภัย เหตุผลก็เพราะว่ามี เรอื่ ยๆ ทว่าในทางปฏบิ ตั มิ มุ มองของผ้ใู ชบ้ รกิ ารยงั คงถกู จำ� กดั
ความคิดบางอย่างอาจจะถูกค้นพบได้ที่น่ัน” อยู่ในวงแคบ
วิลลี่ รัสเซลล์ (Willy Russell) นักเขียนบทละครและ ภาวะสารสนเทศทว่ มทน้ หมายถงึ ความยากลำ� บากทบี่ คุ คลหนง่ึ
นักประพันธ์เพลงผู้ยิ่งใหญ่ชาวอังกฤษเคยเขียนไว้ว่า “ผม อาจประสบในการท�ำความเข้าใจกับประเด็นใดๆ และการ
สวดอ้อนวอนให้บุตรหลานของผมไม่เหยียบย่างไปในสถานท่ี ตดั สนิ ใจ อนั เนอื่ งมาจากการปรากฏของสารสนเทศมากเกนิ ไป
อย่างห้องสมุด ห้องสมุดเป็นสถานท่ีอันตรายที่สุดจริงๆ เธอ ค�ำศัพท์น้ีถูกท�ำให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างโดยอัลวิน ทอฟฟ์เลอร์
หรือเขาท่ีถูกลวงไปในสถานท่ีอันแออัดด้วยความเพลิดเพลิน (Alvin Toffler) ในหนังสือช่ือ Future Shock ของเขา
แรงกระตุ้น ข้อเท็จจริง ความหลงใหล และความสนุกสนาน นักจิตวิทยาได้ตระหนักเป็นเวลานานแล้วว่ามนุษย์มีศักยภาพ
อย่างห้องสมุดถือเป็นผู้โชคร้าย” จ�ำกัดในการจัดเก็บ ย่อย และประมวลข้อมูลในระบบความจ�ำ
ห้องสมุดแห่งศตวรรษท่ี 21 ยังคงเป็น... ห้องสมุด แต่ก็เป็น เม่ือมนุษย์ก้าวล่วงขอบเขตดังกล่าว ‘ภาวะท่วมท้น’ จะเกิดข้ึน
มากกวา่ นนั้ เรามไิ ดพ้ ยายามหาชอื่ ใหม่ แตเ่ ราพยายามหานยิ าม ตามมา ภายในสภาวะนมี้ นษุ ยจ์ ะเรม่ิ สบั สนและมแี นวโนม้ ทจ่ี ะ
ใหมใ่ หก้ บั แนวคดิ ‘หอ้ งสมดุ ’ ขอใหผ้ มไดถ้ า่ ยทอดแนวคดิ บาง ตัดสินใจได้แย่ลง
ประการสู่พวกคุณ เทคโนโลยีปัจจุบันท�ำให้เราสามารถเข้าถึง ดังน้ัน ห้องสมุดแห่งอนาคตจึงมีบทบาทประการหนึ่ง นั่นคือ
สารสนเทศปริมาณมหาศาลได้อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน ปลดปล่อยผู้คนจากข้อจ�ำกัดของสารสนเทศเสรี และท�ำให้
สารสนเทศนน้ั มที งั้ ทค่ี ณุ ภาพยอดเยยี่ มไปจนถงึ น่าคลางแคลง ผู้คนสามารถแปลงข้อมูลให้กลายเป็นความรู้ผ่านกระบวนการ
เรียนรู้และค้นหา ท้ังของตนเอง ของผู้อ่ืน และของโลก

95

แนวคิดท่ีเราเสนอคือ ห้องสมุดแห่งอนาคตควรจะสร้างพ้ืนที่ Transaction Transformation
ทางสังคม ซึ่งความรู้ (มิใช่สารสนเทศ) ถูกท�ำให้เสรี ห้องสมุด Delivery Engagement
อาจเปิดทางให้กับปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การได้มาซ่ึงความรู้
การร่วมสร้าง ความคิดสร้างสรรค์ รวมไปถึงการพัฒนาตนเอง Information Learning
และชมุ ชน ความหลากหลายของผคู้ น มมุ มอง และสารสนเทศ Resource Resource
ควรได้รับการสนับสนุน เพ่ือให้เครือข่ายผู้คน ความรู้รูปแบบ Recovery Discovery
ใหม่ ความเขา้ ใจใหม่ และนวตั กรรมมโี อกาสเกดิ ขนึ้ ไดม้ ากกวา่
เราคาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกี่ยวกับการใช้ ตอ่ ไปผมจะกลา่ วถงึ กระบวนการวางแผนสำ� หรบั หอ้ งสมดุ เมอื ง
บรกิ ารหอ้ งสมดุ เมอื งเบอรม์ งิ แฮม จรงิ ๆ แลว้ มผี ใู้ ชบ้ รกิ ารเพยี ง เบอร์มิงแฮม หัวใจส�ำคัญของกระบวนการน้ีคือแนวคิดเรื่อง
15% ที่มาห้องสมุดเพ่ือ ‘ท�ำธุรกรรม’ เก่ียวกับหนังสือ อยา่ งไร การมีส่วนร่วมของชุมชน ห้องสมุดเมืองเบอร์มิงแฮมคงไม่มี
ก็ตาม จะเห็นได้ว่าเกือบ 85% ของทรัพยากรห้องสมุดถูกมุ่ง วันประสบความส�ำเร็จ ถ้าหลายฝ่ายท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียในการ
ไปเพอื่ ‘ธรุ กรรม’ เหล่านี้ ปรากฏการณน์ ที้ ำ� ใหเ้ ราสร้างแนวทาง พฒั นาหอ้ งสมดุ ไมไ่ ดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการออกแบบกายภาพ
การเปลี่ยนแปลงท่ีเรียบง่ายแต่มีวิสัยทัศน์ จากธุรกรรมสู่การ และการบรกิ าร การวเิ คราะหผ์ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี จงึ เปน็ ขนั้ ตอน
แปลงโฉม (from transactions to transformations) จาก ทจี่ ำ� เป็นในการวางแผนสำ� หรบั พวกเรา การดงึ จติ วญิ ญาณของ
สารสนเทศสู่การเรียนรู้ (from information to learning) ชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมท�ำให้ห้องสมุดฯ ไม่ได้เป็นของพวก
จากการให้บริการสู่การมีส่วนร่วม (from service delivery เราแต่เป็นของประชาชน หรือที่สถาปนิกของเราเรียกว่า
to engagement) และจากการค้นหาทรัพยากรสู่การค้นพบ ‘ท�ำเนียบของประชาชน’ (People’s Palace)
ทรัพยากร (from resource recovery to resource dis- เราใช้ค�ำว่า ‘การมีส่วนร่วม’ แทนค�ำว่า ‘การปรึกษาหารือ’ เพื่อ
covery) เป้าหมายของห้องสมุดฯ คือเพ่ือการพัฒนาชีวิตของ ไม่ให้เกิดความคาดหวังในระหว่างการออกแบบ และเราก็ไม่
ผู้ใช้บริการ เพื่อเปลี่ยนชะตากรรมของพวกเขา และเพ่ือสร้าง
แรงบันดาลใจส�ำหรับอนาคตกับพวกเขา สิ่งเหล่าน้ีอาศัยการท่ี
หอ้ งสมดุ เชอ้ื เชญิ ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารผละจากเสน้ ทางสายสารสนเทศ
สู่เส้นทางสายการเรียนรู้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์เป็นการบรรลุ
ความรู้ของตน

96 | โหล

ขอความเห็นอีกในช่วงท่ีการออกแบบก�ำลังพัฒนาไป ส่ิงที่ ‘ความส�ำเร็จที่ย่ิงใหญ่ของห้องสมุดฯ เกิดจากความคิดของ
ส�ำคัญมากกว่าน้ันคือ การประสานงานกับพลเมืองเกี่ยวกับ ทูตชุมชน (Community Ambassadors) จ�ำนวน 26 คน
ความคาดหวังที่พวกเขามีต่อห้องสมุดสาธารณะแห่งศตวรรษ ซงึ่ เป็นตวั แทนของประชากรทหี่ ลากหลายของเมอื งในด้านอายุ
ที่ 21 การด�ำเนินการภายใต้วัตถุประสงค์ด้านการมีส่วนร่วมที่ เพศ เช้ือชาติ ทั้งยังประกอบด้วยชายไร้บ้านคนหนึ่งและ
ได้ตั้งไว้ การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับห้องสมุดแห่งใหม่ ผทู้ พุ พลภาพขน้ั รนุ แรงคนหนงึ่ บา้ งกเ็ ปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญในวชิ าชพี
การสร้างการมีส่วนร่วมของสาธารณชนในกระบวนการคิด ท้ังหมดมีส่วนร่วมในการน�ำส่ิงท่ีก�ำลังเกิดข้ึนที่ห้องสมุดฯ ไป
เกย่ี วกบั การใชง้ านหอ้ งสมดุ แหง่ ใหม่ การใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั การ บอกเล่าแก่ชุมชนของพวกเขา เร่ืองราวที่เล่าผ่านค�ำพูดของ
ออกแบบบริการใหม่ และการท�ำให้แน่ใจว่าอาคารและรูปแบบ พวกเขา ไม่ใช่ของผม เป็นเรื่องราวท่ีทรงอ�ำนาจกว่ามาก โดย
การบริการที่วิวัฒน์ข้ึนสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ เฉพาะอย่างยิ่งเรื่องราวของเอียน (Ian) หนุ่มไร้บ้านซึ่งเคย
บริการและผู้ที่อาจมาใช้บริการในอนาคต ร่อนเร่อาศัยตามท้องถนน แต่เมื่อเขาได้เข้ามาเป็นทีมงาน
เรามคี วามสนใจอยา่ งมากในการใชง้ านเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารของอาคาร ก่อสร้างห้องสมุดฯ ก็ได้เรียนรู้ทักษะใหม่ ได้เพื่อนใหม่ และ
ขนาดใหญ่ ลำ� ดบั ความสำ� คญั ทหี่ อ้ งสมดุ ฯ ควรคำ� นงึ ถงึ ไดแ้ ก่ ตอนนี้เขาได้งานใหม่อีกงาน มีบ้าน และเป็นกวีที่มีผลงาน
บริการจัดเตรียมอาหาร สิ่งที่จัดหาเพื่อให้บริการคนหนุ่มสาว ตีพิมพ์ นี่คืออานุภาพของห้องสมุด
พ้ืนท่ีส�ำหรับจัดนิทรรศการ การออกแบบท่ีนั่ง ซ่ึงข้อมูลท่ี
เข้มข้นทั้งหมดได้มาจากสาธารณชน

นอกจากน้ียังควรค�ำนึงถึงการธ�ำรงไว้ซ่ึงจุดสนใจด้านการ
ออกแบบซึ่งเน้นสิ่งท่ีส�ำคัญต่อสาธารณชนอย่างแท้จริง ส่ิงที่
น่าสนใจอีกประการหนึ่งคือ เราได้ให้ความใส่ใจต่อประเด็นท่ี
หลากหลาย ต้ังแต่การระดมทนุ ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ของอาคาร การเขา้ ถงึ บรกิ ารไดข้ องผทู้ พุ พลภาพ ไปจนถงึ ความ
สนใจในการระบุประโยชน์ของห้องสมุดสาธารณะต่อเมือง
พวกเรามุ่งความสนใจไปที่เรื่องเหล่าน้ีและใคร่ครวญมันอย่าง
รอบคอบเสมอ

97

เรามีพันธสัญญาท่ีชัดแจ้งในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม สร้างห้องสมุดเสมือน รวมทั้งใช้เฟซบุ๊คและเทคนิคด้านเกม
ตลอดระยะเวลาการก่อสร้างห้องสมุด 5 ปี นอกเหนือจากการ เพ่ือสร้างการมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมายของเรา
ลงทุนจ�ำนวนมหาศาลในภาคการก่อสร้าง เราได้ท�ำสัญญา เป้าหมายของเราคือท�ำให้ทุกภาคส่วนของชุมชนภาคภูมิใจ
จ้างงานเพ่ือสร้างโอกาสการมีงานท�ำให้ชาวชุมชนที่ว่างงานมา ในห้องสมุดเมืองเบอร์มิงแฮม ในวันเปิดห้องสมุดฯ เป็น
เป็นเวลานาน นอกจากน้ียังมีโครงการฝึกงานส�ำหรับคนหนุ่ม ครงั้ แรกทพ่ี วกเราแนใ่ จวา่ ไดส้ รา้ งตำ� นานแหง่ ความสำ� เรจ็ ผคู้ น
สาว งานส�ำหรับคนไร้บ้านและอดีตผู้ต้องขัง นอกจากน้ี เรายัง เข้าแถวรอใช้บริการยาวข้ึนเรื่อยๆ แต่ละวันในสัปดาห์แรกมี
เชิญชาวเมืองนับพันคนเข้าเย่ียมชมไซต์งานก่อสร้าง และให้ คนคอยเข้าห้องสมุดฯ ไม่น้อยกว่า 500 คน พวกเขายินดีจะ
เด็กนักเรียนมากมายมีส่วนร่วมกับกระบวนการก่อสร้าง รอเพราะทราบดีว่า นี่หมายถึงความส�ำเร็จของห้องสมุดท่ีพวก
ทั้งหมดน้ีช่วยให้โครงการได้รับแรงสนับสนุนจากประชาชน เขาภูมิใจ
การใช้เทคโนโลยแี ละสอ่ื สงั คม (social media) มคี วามสำ� คญั ห้องสมุดฯ ได้กลายเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มี
อย่างยิ่งยวดในการแสวงหาวิธีการใหม่ๆ เพ่ือส่ือสารกับ ผู้เข้าเย่ียมชมมากที่สุดแห่งหนึ่งของสหราชอาณาจักรและเป็น
คนหนุ่มสาว คนกลุ่มน้ีเป็นอนาคตของเมือง แต่จากผลการ สถานที่ท่องเที่ยวช้ันน�ำนอกนครลอนดอน ผมภูมิใจอย่างยิ่ง
ส�ำรวจกลับพบว่าพวกเขาตระหนักและมีส่วนร่วมกับห้องสมุด กับการจัดอันดับความนิยมของทุกมิติของห้องสมุดซ่ึงได้
แห่งใหม่น้อยที่สุด เทคโนโลยีได้วิวัฒน์ไปอย่างรวดเร็ว เราได้ คะแนนสงู กวา่ 90% จากผลงานวจิ ยั เชงิ สำ� รวจในเดอื นตลุ าคม
ปี พ.ศ. 2557

ประเด็นถัดไปที่ผมอยากจะกล่าวถึงคือ ความสัมพันธ์ระหว่าง
บทบาทของบุคลากรห้องสมุดฯ กับการให้บริการโฉมใหม่

โดยมุ่งเน้นไปท่ีการให้บริการแบบมีส่วนร่วมและการช่วยให้
ประชาชนบรรลุผลลัพธ์ท่ีต้องการ มากกว่าการให้บริการด้าน
การท�ำธุรกรรมห้องสมุด ปรากฏการณ์นี้มีนัยลึกซ้ึงหลาย
ประการ ประการแรก คือเราจะต้องด�ำเนินการสรรหา

98 | โหล

Success?

• 2.4 m visitors (Top Ten UK Destination)
• Over 90% of visitors rate each aspect of Library as good or excellent

Overall rating Revisit Advocacy

Very enjoyable Certain to Certain to
Enjoyable Very likely Very likely

• Customer Survey validating vision for the library
• Multiple award winning
• popular ownership-pride in their library

Original reason(s) for Visiting the Library # annual
visits
To study 23%
22% 615,586
Explore / visit / enjoy the building 521,420
478,295
Use computers, go online, access WIFI 18% 370,614
260,532
Borrow books, films, music, other items 15% 297,523
12% 80,116
No reason - just passing, spontaneous visit 11% 75,492
50,328
Use reference materials on premises 38,858
25,164
Learning and job search help 3% 30% 25,164
tourism 25,164
Archive and heritage research 3% 25,164
15,542
A place to meet (friends, family, bussiness) 2% 2,898
32,011
Attend event, lecture, performance, workshop 2%
Use the Café 1% 99

Access business services 1%

See an exhibition 1%

Attend private event or function 1%

For my children to use the Library 1%

Use Library shop 0.1%

Other 1%

88% single reason


Click to View FlipBook Version