The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanchanok Jindarat, 2020-05-22 05:28:07

โหล

โหล

‘จัดการความรู้ 101’
ปฏบิ ัตกิ ารเชอ่ื มโลกวชิ าการกบั สงั คม
วชิ าทมี่ หาวิทยาลยั ไมไ่ ด้สอน

ปกปอ้ ง จนั วิทย์

บทบาทของมหาวิทยาลัยในการเป็นแหล่งผลิตความรู้เพื่อตอบโจทย์ปัญหาของสังคม ผันแปรไปตาม
การเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจการเมือง ในระยะหลัง สถาบันระดับอุดมศึกษาทั้งเก่าและเกิดใหม่
หลายแห่งแปรสภาพเป็นธุรกิจการศึกษา เคยแม้แต่ถูกเรียกอย่างเข้าอกเข้าใจว่าเป็นเพียงโรงเล้ียงเด็ก
ของชนช้ันกลางที่ซึ่งนักศึกษาส่วนใหญ่ขาดสายใยและส�ำนึกผูกพันกับชนช้ันผู้เสียเปรียบ ขณะที่
มหาวิทยาลัยช้ันน�ำถูกมองว่าเป็น “หอคอยงาช้าง” อยู่ห่างไกลจากวิถีชีวิตประชาชน ท�ำงานผลิตความรู้
ทางวิชาการอนั ทรงคณุ ค่าท่ีคนทัว่ ไปเข้าถงึ ยากและไม่สามารถเข้าใจได้
และแล้ว... ก็มีผู้บุกเบิกสร้างสะพานเช่ือมพรมแดนสองฟากฝั่งระหว่างมหาวิทยาลัยกับสังคม ด้วยหวัง
จะช่วยลดทอนความศักดิ์สิทธ์ิของความรู้ ท�ำความรู้ให้เคี้ยวง่าย เชื่อมโยงความรู้ทางวิชาการให้เป็น
ฐานทางนโยบายหรือแนวทางการแก้ไขปัญหา ท่ีใครๆ ก็เข้าใจได้ คิดได้ วิพากษ์วิจารณ์เสนอแนะได้
เป็นการสร้างพน้ื ฐานทางวัฒนธรรมการเรียนรู้ท่ีเชอื่ มนั่ ในศกั ยภาพทางปัญญาของคนทุกคน

250 | โหล

ปญั หากค็ ือว่า
ประเทศน้ีไม่ไดก้ �ำหนด
นโยบายดว้ ยความรู้
ประเทศน้กี ำ� หนด
นโยบายดว้ ยอำ� นาจ

251

เม่ือก่อนเราคดิ ว่าการจดั การความรู้คอื ท�ำให้ง่าย
แต่จริงๆ แล้วมนั ไม่ใช่แค่น้นั เราต้องดดู ้วยว่าคนรบั ความรู้เป็นใคร
ต้องใช้ช่องทางการส่อื สารแบบไหน
และช่องทางการส่อื สารแต่ละแบบกม็ ไี วยากรณ์ไม่เหมอื นกัน

ช่วยเล่าประสบการณ์ในการท�ำงานสื่อสารความรู้ อยู่ในห้องสมุด อยู่บนช้ันหนังสือ จึงมาคิดว่าท�ำอย่างไรถึงจะ
ทางวิชาการวา่ มีความเปน็ มาอย่างไร ท�ำให้ของดีๆ พวกนี้แพร่กระจายไปสู่สังคมวงกว้าง มันเป็น
เม่ือผมย้อนมองดูประสบการณ์การท�ำงานของตัวเองในช่วง passion ท่ีเกิดจากความรู้สึกเสียดายของดี อยากให้มีคนมา
10 ปีท่ีผ่านมาต้ังแต่ยังเป็นอาจารย์ท่ีคณะเศรษฐศาสตร์ อ่านมีคนมาดู
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จนถึงการท�ำงานร่วมกับทีดีอาร์ไอ ตอนอยู่ท่ีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผมได้เข้าไปท�ำหน้าท่ี
(สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย) และการออกมา ผู้อ�ำนวยการคณะท�ำงานสัมมนาและเผยแพร่ของคณะ
ตงั้ บรษิ ทั ดวิ นั โอวนั เปอรเ์ ซนต์ มนั กลายเปน็ จกิ๊ ซอวท์ ตี่ อ่ จดุ กนั เศรษฐศาสตร์ ตั้งใจไว้ตั้งแต่แรกเลยว่าคณะฯ จะไม่ใช่ที่ท่ีให้
ได้หมดเลย นั่นก็คือการเช่ือมโลกของวิชาการและองค์ความรู้ ค�ำตอบทางสังคมเฉพาะกับนักศึกษาท่ีมีโอกาสได้เข้ามาเรียน
ต่างๆ กับโลกของมวลชนและประชาชนวงกว้างเข้าด้วยกัน ปีละไม่ก่ีร้อยคน แต่จะต้องให้ความรู้เศรษฐศาสตร์กับสังคม
วงกว้าง มีเหตุการณ์เกิดข้ึนในบ้านเมืองเยอะแยะ คณะฯ
ท่ีผ่านมานักวิชาการไทยท�ำงานดีๆ ไว้เยอะ งานวิจัยบางชิ้นใช้ ควรจะมสี ว่ นชว่ ยในการผลติ คำ� อธบิ ายทมี่ ตี อ่ เหตกุ ารณเ์ หลา่ นนั้
เวลาท�ำเป็นปีๆ ใช้งบประมาณเป็นล้านบาท แต่ปรากฏว่าคนท่ี ชี้ว่าอะไรคือประเด็นน่าสนใจท่ีควรจะต้ังค�ำถาม แล้วก็มี
ได้อ่านหรือเข้าถึงก็คือคนในวงการเดียวกันเอง ส่วนใหญ่

252 | โหล

ค�ำตอบให้กับประเด็นค�ำถามท่ีหลายคนสงสัยจึงคิดว่าจ�ำเป็น ความรู้จากตัวละครท่ีท�ำงานวิจัยจริงๆ ในแบบที่เข้าใจได้ เห็น
ต้องมีการสร้างบรรยากาศทางวิชาการที่คึกคัก น�ำมาสู่การ ความเชื่อมโยงกับเขาและสนุกร่ืนรมย์
จัดกิจกรรมเสวนาทุกสัปดาห์ในหลายๆ รูปแบบ
ในอีกด้านหน่ึงการน�ำความรู้ออกไปหาคนหมู่มาก สุดท้ายมัน
หมายความว่าท่ีผ่านมามหาวิทยาลัยเป็นแหล่ง ยอ้ นกลบั มาทำ� ใหง้ านวชิ าการเขม้ แขง็ เพราะถา้ เรามเี พอ่ื นเยอะ
ความรู้ท่เี ปดิ ประตคู วามรสู้ ่สู งั คมนอ้ ยเกินไป ขึ้นได้คุยกับคนเยอะขึ้นเราก็ฉลาดขึ้นด้วยใช่ไหมครับ
ใช่ครับ ผมคิดว่าทุกคนอยู่ในพ้ืนที่ท่ีเป็น comfort zone ซึ่ง นักวิชาการก็จะตั้งโจทย์ท่ีสนุกข้ึนคมขึ้นได้ อย่างที่อาจารย์
comfort zone หน่ึงส�ำหรับนักวิชาการก็คือการท�ำวิจัย อัมมาร สยามวาลา บอกว่า เราไม่สามารถหาค�ำตอบได้จาก
บางคนอาจจะคิดว่างานวิจัยที่ดีมีคุณภาพถือว่าเป็นจุดหมาย โจทย์ท่ีไม่ดี ค�ำตอบท่ีดีมาจากโจทย์ที่ดีเท่านั้น เพราะฉะน้ัน
ปลายทางแล้ว แต่ผมอยากจะชวนคิดต่อว่านั่นไม่ใช่จุดหมาย การออกไปปะทะกับสังคมไปเจอผู้คนช่วยขยายโลกของ
ปลายทาง ผมเช่ือในปรัชญาของธรรมศาสตร์ว่าเป็นตลาดวิชา นักวิชาการได้กว้างข้ึน
ถ้าเราบอกว่างานวิจัยเป็นเครื่องมือในการท�ำความเข้าใจโลก
มนั ควรจะตอ้ งถกู ใชส้ อนคนนอกรว้ั มหาวทิ ยาลยั ดว้ ย การสอน อาจารย์มองว่าสังคมไทยมีความรู้มากมาย เพียง
ไม่ใช่แค่พาคนมาดูของดี แต่ต้องสื่อสารต้องเล่าเร่ืองเป็นด้วย แต่ต้องรู้จักน�ำของเดิมที่มีอยู่มาจัดการให้มี
เพราะว่าการเขียนงานวิชาการกับการเล่าเรื่องมีรูปแบบวิธีการ ประสทิ ธิภาพ
ที่ไม่เหมือนกัน ใช่ครับ เราท�ำงานวิจัยกันเยอะมากเราตั้งค�ำถามกับโจทย์
ส�ำคัญๆ ของประเทศเยอะมาก แล้วก็มีข้อเสนอเชิงนโยบาย
ผมเรียกว่าน่ีเป็นการจัดการความรู้ คือเอาความรู้จากงานวิจัย ที่มาจากฐานวิชาการแทบจะทุกเรื่อง แต่ปัญหาก็คือว่า
สามสร่ี อ้ ยหนา้ มาดวู า่ จะจดั การกบั มนั อยา่ งไรเลา่ เรอื่ งแบบไหน ประเทศนี้ไม่ได้ก�ำหนดนโยบายด้วยความรู้ ประเทศน้ีก�ำหนด
คล้ายๆ เอาวัตถุดิบมาปรุงรสให้อร่อย แล้วก็ท�ำให้เป็นระบบ นโยบายด้วยอ�ำนาจ ที่ผ่านมานักวิชาการจ�ำนวนหนึ่งที่มี
พอจดั การความรเู้ สรจ็ กต็ อ้ งพจิ ารณาวา่ จะสอื่ สารกบั สาธารณะ ความรู้ก็หาวิธีการผลักดันความรู้ไปสู่นโยบายด้วยการเข้าหา
อย่างไร ผ่านช่องทางไหน จังหวะเวลาใดเพราะนักวิจัยจ�ำนวน อ�ำนาจ เอางานวิจัยของตัวเองไปย่ืนใส่มือผู้มีอ�ำนาจไปกระซิบ
มากไม่รู้จักวิธีท�ำงานร่วมกับสื่อมวลชน ถ้าเราท�ำหน้าท่ีเป็น ข้างหูผู้มีอ�ำนาจ แล้วก็หวังว่าผู้มีอ�ำนาจจะเอาไปปฏิบัติ มันถึง
สะพานเช่ือมตรงน้ีดีๆ สุดท้ายสังคมก็ได้ประโยชน์ได้ฟัง ไม่เคยเวริ ์คไงครบั เพราะปัญหามนั อยู่ทผ่ี ู้มอี ำ� นาจเขาไม่มเี หตุ

253

คนมกั จะคดิ ว่างานวชิ าการคอื งานศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ตำ� ราคอื ความจริงแท้
เราต้องทำ� ให้คนเหน็ ก่อนว่างานวชิ าการไม่ใช่เร่อื งศักด์สิ ทิ ธิ์
...ถ้ามีทฤษฎใี หม่ๆ ท่อี ธิบายความจรงิ ได้ดกี ว่า
ทฤษฎีเก่ากถ็ ูกล้มล้างไป ความรู้จงึ พฒั นาต่อยอดไปได้

อะไรต้องเอาความรู้พวกน้ีไปท�ำต่อ เพราะว่าการเปล่ียนแปลง ฉะน้ันส่ิงท่ีผมพยายามท�ำทั้งท่ีคณะเศรษฐศาสตร์ ทีดีอาร์ไอ
มันกระทบกับฐานะอ�ำนาจของเขา มันท�ำให้เขาท�ำงานยากขึ้น รวมถึงส่ิงที่ก�ำลังท�ำอยู่เวลานี้ก็คือการพยายามเช่ือม่ันในพลัง
ท�ำให้เขาเหน่ือยข้ึนท�ำให้ผลประโยชน์เขาหายไป ของประชาชน เราไม่ต้องว่ิงตรงไปหาผู้มีอ�ำนาจ เราพยายาม
เพราะฉะน้ันถ้าคุณต้องการเปล่ียนประเทศน้ีโจทย์ส�ำคัญคือ ส่ือสารโดยตรงกับประชาชน แล้วเราก็หวังว่าประชาชนจะย้อน
โลกของการเมืองมันเปลี่ยนไปจากเม่ือก่อนแล้ว เทคโนแครต กลบั มาชว่ ยเราในการเขา้ ไปกำ� กบั ไปบงั คบั ไปกดดนั ผมู้ อี ำ� นาจ
ที่ฝันอยากจะท�ำประโยชน์เพื่อประชาชนอาจจะเป็นไปได้ใน ให้ต้องปฏิรูปประเทศบนวิถีทางประชาธิปไตยเพราะเราไม่
ยุคต้นของการพัฒนาท่ีโจทย์มันยังไม่ซับซ้อน แต่ในยุคนี้ สามารถปฏิรูปประเทศนี้จากผู้มีอ�ำนาจได้ เราต้องปฏิรูป
ปญั หาประเทศมนั ซบั ซอ้ นเราตอ้ งพฒั นาประเทศดว้ ยการคำ� นงึ ประเทศจากฐานข้างล่าง
ถึงคนในประเทศท่ีหลากหลายไม่มีใครเป็นเทวดาท่ีจะรู้
ทุกอย่าง เพราะฉะนั้นมันก็ต้องใช้พลังประชาชนในการ มีวิธีในการส่ือสารความรู้ยากๆ ให้คนท่ัวไปเข้าใจ
ขับเคล่ือน อย่างไร
นักวิชาการท�ำวิจัยมาเป็นปีทุกคนก็จะหวงงานที่ตัวเองท�ำมา
อยากจะเอาทุกอย่างท่ีท�ำใน 1 ปียัดลงไปในอินโฟกราฟิก

254 | โหล

1 แผ่น แรกๆ เราก็ท�ำอย่างนั้น สุดท้ายมันส่ือสารกับใคร ชอ่ งทางการสอ่ื สารแบบไหน และชอ่ งทางการสอ่ื สารแตล่ ะแบบ
ไมไ่ ดเ้ ลย เรากต็ อ้ งรจู้ กั วธิ ไี ฮไลท์ ทกุ คนมนั เรยี นรดู้ ว้ ยกนั หมด ก็มีไวยากรณ์ (grammar) ไม่เหมือนกัน ทีวีมีไวยากรณ์แบบ
นะครับ ท้ังนักวิชาการรวมถึงดีไซเนอร์ที่ท�ำอินโฟกราฟิกเองก็ ของมัน งานวิจัยมีไวยากรณ์แบบของมัน ผมถึงปิ๊งตรงน้ี
ต้องมาอ่านข้อมูล ต้องมีคนประสานงานตรงกลางมาท�ำงาน มันเปล่ียนให้เราไปต่อได้อีกชั้นเลยว่า สอนหนังสือน่ีคือ
ด้วยกัน เหล่าน้ีเป็นประสบการณ์ท่ีเราต้องคิดทั้งนั้นเลย ไวยากรณ์แบบหนึ่ง เขียนงานวิจัยไวยากรณ์แบบหน่ึง เขียน
ต้องเรียนรู้ว่าเขียนข่าวอย่างไรให้น่าสนใจ ต้องมีวิธีพาดหัว ต้นฉบับบทความไวยากรณ์อีกแบบหนึ่ง จัดรายการโทรทัศน์
อย่างไร นักข่าวต้องการข่าวแบบไหน ประชาชนต้องการอะไร ไวยากรณ์ก็อีกแบบหน่ึง แม้แต่โซเชียลมีเดียแต่ละชนิดก็มี
Feedback เป็นอย่างไร เนื้อหาแบบไหนที่คนแชร์เยอะ จะ ไวยากรณ์คนละแบบ เราต้องหารูปแบบการส่ือสารความรู้ให้
รักษาความน่าเชื่อถืออย่างไร ถ้าผิดพลาดต้องท�ำอย่างไร เหมาะสมกับช่องทางแต่ละแบบ ไม่ใช่แค่สรุปงานวิจัยให้สั้น
เมอื่ กอ่ นเราคดิ วา่ การจดั การความรคู้ อื ทำ� ใหง้ า่ ย แตจ่ รงิ ๆ แลว้ และง่ายเท่านั้น ถ้าเป็นทีวีก็ต้องคิดว่าจะใช้ประโยชน์จากการ
มันไม่ใช่แค่น้ัน เราต้องดูด้วยว่าคนรับความรู้เป็นใครต้องใช้

http://pokpong.org/ 255

ใช้ภาพเล่าเร่ืองอย่างไร หรือการเอางานวิจัยไปใช้สอนหนังสือ ประเด็นท่ีสามคือในต่างประเทศไม่คิดว่ามหาวิทยาลัยเป็นที่
ก็ไม่จ�ำเป็นต้องเดินเรื่องตามโครงสร้างของงานวิจัยเป๊ะๆ ผูกขาดความรู้ เขามี Think Tank สารพัด มีองค์กรพัฒนา
เอกชนท�ำงานเชิงประเด็นและสะสมองค์ความรู้มากมาย
ในอนาคตมหาวทิ ยาลยั ยงั จะเปน็ สถาบนั ทเี่ ปน็ แหลง่ สื่อมวลชนท�ำหน้าท่ีอย่างมีคุณภาพ เพราะฉะน้ันความรู้จึง
ความรู้ให้กับสังคมสามารถพ่ึงพาไดอ้ ย่หู รือไม่ กระจายและหลากหลาย ไม่มีใครผูกขาดความงามความดี
ผมว่ามหาวิทยาลัยเมืองนอกปรับตัวเยอะนะครับ แต่ ความจริง แต่เมืองไทยถ้าพูดถึงสถาบันวิจัยก็ต้องนึกถึง
มหาวิทยาลัยเมืองไทยแทบจะไม่ปรับตัวเพราะมีสาเหตุอยู่ มหาวิทยาลัย ถ้าคนข้างนอกไปแข่งแทบไม่ชนะเลย เพราะมัน
2-3 ประเด็น ประเด็นท่ีหน่ึงก็คือมหาวิทยาลัยไทยถูกท�ำลาย ไปติดอยู่กับช่ือกับบุญเก่า วัฒนธรรมของเราไปให้คุณค่ากับ
ด้วยระบบราชการ และเร่ืองเกี่ยวกับการประกันคุณภาพต่างๆ มหาวิทยาลัยเยอะ งบประมาณด้านความรู้ไปกระจุกอยู่ที่
ที่ท�ำลายคุณภาพ มันเป็นเรื่องของเปลือกทั้งหมด ความง่ีเง่า มหาวิทยาลัย พอมหาวิทยาลัยไม่ฟังก์ชั่นมันก็ตาย
มันเยอะขึ้นอย่างที่เกินกว่าจะจินตนาการ ระบบราชการท่ี
แข็งกระด้างและรวมศูนย์ไม่สามารถจะสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ได้ ท�ำอย่างไรจึงจะท�ำให้สังคมไทยเป็นสังคมอุดม
ปญั ญา
ประเด็นท่ีสองคือในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยเข้าไปอยู่ มันเชื่อมโยงกันอยู่หลายเรื่อง ในด้านวัฒนธรรมคนมักจะคิด
บนเส้นทางของความขัดแย้งทางการเมือง เป็นสนามของ เสมอว่างานวิชาการคืองานศักดิ์สิทธิ์ ต�ำราคือความจริงแท้
การเมือง บางแห่งก็เล่นการเมืองระดับชาติ บางแห่งก็เล่น เราต้องท�ำให้คนเห็นก่อนว่างานวิชาการไม่ใช่เร่ืองศักด์ิสิทธ์ิ
การเมืองภายใน ผู้บริหารมหาวิทยาลัยแทบไม่ท�ำหน้าท่ีบริหาร ทฤษฎีก็คือเรื่องเล่าชุดหน่ึงท่ีพยายามอธิบายและเข้าถึง
มหาวิทยาลัยอย่างท่ีควรจะท�ำ กลับใช้ต�ำแหน่งเป็นบันได ความจรงิ ให้มากทส่ี ดุ มนั ไมใ่ ช่ความจรงิ แทอ้ นั สมบรู ณ์ เพราะ
ไต่เต้าทางการเมือง ส่วนอาจารย์ที่เป็นนักเปลี่ยนแปลง ก็ไม่ ฉะน้ันถ้ามีทฤษฎีใหม่ๆ ท่ีอธิบายความจริงได้ดีกว่า ทฤษฎีเก่า
ค่อยมีท่ีทางในมหาวิทยาลัย อาจารย์เหล่าน้ันยอมเหน่ือย ก็ถูกล้มล้างไป ความรู้จึงพัฒนาต่อยอดไปได้
เพื่อที่จะให้สังคมเปลี่ยนแปลง ให้มหาวิทยาลัยเปลี่ยนแปลง
ให้ห้องเรียนเปลี่ยนแปลง แต่ระบบแทบไม่เคยช่วยคนพวกนี้ ด้านทสี่ องกค็ อื ต้องทำ� ให้คนกล้าท้าทาย กล้าวพิ ากษ์วจิ ารณ์ถงึ
เลย ทุกอย่างถูกผลักให้เป็นภาระส่วนตัว สงิ่ ทเ่ี ปน็ อยู่ ถา้ สงั คมยง่ิ เตม็ ไปดว้ ยสง่ิ ทเ่ี ราตง้ั คำ� ถามไมไ่ ดม้ าก
เทา่ ไร วฒั นธรรมการวพิ ากษว์ จิ ารณ์วฒั นธรรมการทา้ ทายเพอ่ื

256 | โหล

เรียนรู้ ‘เสรนี ิยมประชาธิปไตย’ ผา่ นรายการ “วัฒนธรรมชบุ แป้งทอด”

สปิริตของ ‘วัฒนธรรมชุบแป้งทอด’ คือการตั้งค�ำถามให้เห็น
ว่าทุกเร่ืองในโลกเป็นความรู้ทั้งนั้น และการต้ังค�ำถามท่ีคม
และน่าสนใจจะน�ำมาซึ่งการเปล่ียนแปลง เราเร่ิมต้นจากการ
ตั้งค�ำถามเรื่องรอบตัว ให้เห็นว่าทุกเรื่องมีมิติเศรษฐกิจ
การเมือง สังคมเช่ือมโยงกันอย่างแยกไม่ออก เพราะฉะน้ัน
ถ้าคุณจะเข้าใจสังคมคุณต้องรู้มิติต่างๆ ไม่ใช่รู้แค่ศาสตร์ใด
ศาสตร์หนึ่ง

ทีมงานเบื้องหลังมีแนวทางการท�ำงานว่าเราไม่ได้ท�ำส่ือเพื่อ รายการน้ีมีวิธีแต่งตัวหลายชั้น มันห่อเนื้อหาด้วยลูกเล่น
ผลกั ดนั ความคดิ ความเชอื่ ของตวั เรา เพอื่ ใหท้ กุ คนเปน็ เหมอื น ด้วยวิธีการเล่าเร่ืองให้ดูมีสไตล์ มีรสอร่อย หีบห่อสวยงาม
เรา แต่เราท�ำเพื่อตั้งค�ำถาม เสนอค�ำตอบที่หลากหลาย ให้ เม่ือมันสนุก เด็กๆ ก็เปิดดู ครูบาอาจารย์ก็เอาไปใช้สอน
คนดูเอากลับไปคิดต่อ ให้สังคมเกิดการอภิปรายถกเถียงกัน หนังสือได้ แก่นของวัฒนธรรมชุบแป้งทอดคือเราต้องการ
จุดยืนของคนท�ำสื่อไม่ใช่การออกมาประกาศว่าอะไรถูกผิด จะผลักดันวัฒนธรรมแบบเสรีนิยมประชาธิปไตยนี่แหละ
เราอยากสร้างแพลตฟอร์ม สร้างพ้ืนท่ีทางปัญญามากกว่า เพราะเราถอื วา่ นค่ี อื ฐานของการเรยี นรแู้ ละความคดิ สรา้ งสรรค์

พวกเราเป็นเสรีนิยม (liberal) มีพื้นฐานความเช่ือในเร่ือง จรงิ ๆ แล้ววฒั นธรรมชุบแป้งทอดกค็ อื ปฏบิ ตั กิ ารทางการเมอื ง
ความหลากหลาย กระทั่งทีมงานเราเองยังมีความชอบหรือ ในเชิงวัฒนธรรม เราก�ำลังจะท�ำรายการที่ไม่ได้สื่อสารเฉพาะ
ความสนใจในเรอื่ งทแ่ี ตกตา่ งกนั เรากต็ อ้ งเชญิ คนทมี่ คี วามคดิ กับคนที่สนใจสังคมเชิงลึกอยู่แล้ว เราอยากน�ำความรู้เชิงลึก
เห็นแตกต่างหลากหลาย แล้วก็น�ำเสนอในส่ิงที่เขาเป็นอย่าง ออกสู่มวลชนวงกว้าง โจทย์ก็คือท�ำอย่างไรให้ความรู้พวกน้ี
เปน็ ธรรมกบั เขา ใหเ้ ขาไดพ้ ดู ในสง่ิ ทคี่ ดิ อยา่ งครบถว้ นรอบดา้ น ออกไปสู่คนดูท่ัวไปได้ส�ำเร็จ ท�ำอย่างไรถึงจะส่ือสารกับกลุ่มนี้
แล้วคนดูจะเป็นคนตัดสินในแต่ละเร่ืองเอง เราเช่ือมั่นในพลัง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เล่าเร่ืองอย่างไรให้ดึงดูด ท�ำอย่างไร
ของคนดู เราอยากให้รายการเป็นการผจญภัยทางปัญญาของ ใหค้ นรนุ่ ใหมด่ ู ทำ� อยา่ งไรใหช้ นชน้ั กลางในเมอื งดแู ลว้ มองเหน็
คนดู คณุ คา่ ความหมายของประชาธปิ ไตยในระดบั วธิ คี ดิ และวถิ ชี วี ติ

257

ถ้าสังคมย่งิ เตม็ ไปด้วยส่งิ ทีเ่ ราตั้งค�ำถามไม่ได้มากเท่าไร
วฒั นธรรมการวพิ ากษ์วจิ ารณ์วฒั นธรรมการท้าทาย
เพอ่ื แสวงหาความจรงิ กไ็ ม่เกิด

แสวงหาความจริงก็ไม่เกิด เพราะฉะน้ันเราต้องดูว่าเราเรียนรู้ ที่ใหญ่มาก แล้วเราคาดหวังการเปล่ียนแปลงแบบพลิกฟ้า
กันอย่างไรในครอบครัวในโรงเรียนในระดับสังคม และเรารับ คว่�ำแผ่นดินไม่ได้ สิ่งท่ีเราท�ำอยู่มันค่อยๆ รุกคืบไปข้างหน้า
ส่ือแบบไหน ถ้าสื่อกลัวอ�ำนาจแล้วสื่อไม่พูดถึงความจริงที่ ความส�ำเร็จส�ำหรับผมไม่ได้อยู่ที่จุดหมายปลายทางแต่อยู่ท่ี
แตกต่างคนก็จะไม่รู้จักตั้งค�ำถาม ทุกคนก็ถูกครอบง�ำด้วย ระหวา่ งทาง บนเสน้ ทางหา้ ปขี องดวิ นั โอวนั เปอร์เซนต์ผมคดิ วา่
อดุ มการณ์ท่ีถูกผลิตซ้�ำแบบนี้ หรือถ้าเราต้ังค�ำถามแล้วแต่ถูก คนที่น่ีเก่งข้ึน ผมเองก็ค่อยๆ เก่งข้ึน แต่เรายังมีพ้ืนท่ีให้
ปฏิบัติด้วยความรุนแรงกลับมา สิ่งต่างๆ พวกน้ีจะเกิดขึ้นมา เรยี นรตู้ ่อ
ได้อย่างไร ผมคิดว่าเร่ืองเหล่านี้เป็นเรื่องใหญ่ คือเราจะเป็น มีอยู่เรื่องหน่ึงที่ท�ำให้ผมยังมองเห็นความหวังเสมอทุกเทอมท่ี
ไทยแลนด์ 4.0 หรือ Creative Economy ไม่ได้ ถ้าสังคม ผมสอนหนังสือ ผมจะมีตัวช้ีวัดส่วนตัวอันหนึ่งท่ีใช้ประเมิน
ไม่มีเสรีภาพและไม่เป็นประชาธิปไตย ความส�ำเร็จของตัวเอง นั่นคือ การท่ีนักศึกษาเดินมาหาท้าย
ชั้นเรียนด้วยสีหน้าคับข้องใจและแววตาที่มีความหมาย แล้ว
อาจารย์คิดว่าสังคมไทยจะเปล่ียนแปลงไปในทาง ถามว่า ‘อาจารย์เราจะปล่อยให้บ้านเมืองเป็นแบบนี้ได้อย่างไร
ท่ีดีข้นึ ได้หรือไม่ เราท�ำอะไรได้บ้าง’ ผมไม่มีค�ำตอบส�ำเร็จรูปให้ แต่มักตอบไป
แน่นอนครับ แต่ก็ต้องท�ำงานหนักข้ึนเพราะเราก�ำลังสู้กับอะไร

258 | โหล

วา่ เปน็ หนา้ ทข่ี องคณุ ไง อกี สป่ี ใี นรว้ั มหาวทิ ยาลยั ลองหาคำ� ตอบ 100 มันได้ 100 หรือได้ใกล้ๆ 100 สมัยอยู่มหาวิทยาลัยเรา
ของตัวเองต่อค�ำถามเม่ือกี๊น้ี น่ีเป็นจุดเร่ิมต้นของเส้นทางทาง ก็ท�ำงานกันหนักมากแต่ท�ำไมมันขยับไปได้น้อย สู้กับระบบ
ปัญญาเลยนะ และทุกปีผมยังเจอเด็กที่เดินมาหาผมแบบนี้ เสร็จ สู้กับคนอีก ไม่รู้ก่ีด่านทุ่มไม่รู้กี่ครั้งใช้เวลาไม่รู้เท่าไร
หรืออย่างทีดีอาร์ไอก็มีข้อจ�ำกัดทางวัฒนธรรมในการท�ำงาน
ดูเหมือนว่างานสอนเป็นงานท่ีอาจารย์ถนัดและรัก บางเรื่อง ก็เลยมาคิดว่าแทนที่เราจะไปท�ำงานให้องค์กรน้ัน
ท่ีจะท�ำ ท�ำไมถึงตัดสินใจลาออกแล้วมาเปิดบริษัท องค์กรน้ี เราน่าจะสร้างสถาบันของเราเองแบบท่ีเราดูแล
ดวิ นั โอวนั เปอร์เซนต์ รับผิดชอบมันได้เต็มรูปแบบ ท�ำตามความคิดความฝันของ
ชวี ติ นผ้ี มไมเ่ คยคดิ วา่ ตอ้ งทำ� บรษิ ทั เอกชนคดิ วา่ จะเปน็ อาจารย์ ตัวเองได้เต็มท่ีข้ึน
ไปท้ังชีวิต ตอนแรกผมก็ประหลาดใจในชะตากรรมของตัวเอง ที่ต้ังช่ือดิวันโอวันเปอร์เซนต์ก็เพราะว่า 101 คือรหัสวิชา
แต่สุดท้ายก็ไม่ได้คิดว่าท่ีท�ำอยู่มันคือธุรกิจเพ่ือแสวงหาก�ำไร ความรู้พ้ืนฐาน เราอยากผลักความรู้ด้านต่างๆ ออกไปสู่สังคม
สงู สุดเข้าตัวเอง แต่มันคือการที่เราลกุ ขึ้นมาท�ำงานความรู้ด้วย วงกว้างอย่างสร้างสรรค์ อีกด้านหนึ่งหมายถึงเราท�ำงาน
ตัวเองและสร้างสถาบันให้มันอยู่ได้อย่างยั่งยืน ไม่ได้พ่ึงระบบ เกินร้อย โลโก้ก็สะท้อนถึงสปิริตของงานท่ีเราท�ำคือ know-
ราชการระบบมหาวิทยาลัยอีกต่อไป ledge ยกก�ำลังด้วย creativity เพราะเราเช่ือว่าความรู้เป็น
ฐานในการท�ำความเข้าใจการเปล่ียนแปลงของสังคม และเราก็
ผมคิดว่างานทั้งหมดท่ีตัวเองท�ำ ไม่ว่าจะสอนหนังสือ ท�ำวิจัย เชื่อว่าถ้าเราเอาความคิดสร้างสรรค์ไปยกก�ำลัง มันจะช่วยเพ่ิม
ท�ำงานจัดการความรู้ ท�ำสารคดีโทรทัศน์ มันมีแก่นเดียวกัน พลังความรู้อีกเป็นทวีคูณ
คือเร่ืองของความรู้ทั้งสิ้น ถึงตอนน้ีเราอยากท�ำงานที่เราใส่แรง

ปกป้อง จันวิทย์ อดีตอาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอดีตที่ปรึกษาด้านการจัดการความรู้และส่ือสาร
สาธารณะ สถาบนั วจิ ยั เพอื่ การพฒั นาประเทศไทย (ทดี อี ารไ์ อ) หนง่ึ ในผกู้ อ่ ตง้ั และบรรณาธกิ ารอำ� นวยการสำ� นกั พมิ พ์ openworlds
และผู้ก่อตง้ั เวบ็ ไซต์โรงเรยี นไท ตลาดวชิ าสาธารณะออนไลน์ ปัจจบุ นั ทำ� งานทบ่ี รษิ ทั ดวิ นั โอวนั เปอร์เซนต์อย่างเตม็ ตวั ในตำ� แหน่ง
ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการด้านวิจัยและจัดการความรู้ มีผลงานท่ีรู้จักกันดีทางสถานีโทรทัศน์ Thai PBS
คือ รายการ ‘วัฒนธรรมชุบแป้งทอด’ และสารคดี ‘ป๋วย อ๊ึงภากรณ์: จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน’

259

Jump Space ชุมชนการเรียนรู้
ของสตาร์ทอัพแดนดอกคนู

อจั ฉริยะ ดาโรจน์

ทุกวันน้ี พรมแดนของแหล่งการเรียนรู้มิได้มีเพียงโรงเรียน ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ หรือศูนย์การเรียนรู้
ที่เป็นทางการเท่าน้ัน เพราะไม่ว่าสถานท่ีใดก็ตามที่คนมีโอกาสมาพบปะพูดคุยแลกเปล่ียนความคิด
สร้างแรงบนั ดาลใจ และจดุ ประกายไอเดีย การเรียนรู้กพ็ ร้อมจะเกดิ ขน้ึ ได้เสมอ
มีการวิเคราะห์กันว่าแม้คนรุ่นใหม่จะเติบโตขึ้นในโลกของดิจิทัล แต่อย่างไรเสียก็ยังคงต้องการพ้ืนท่ี
การเรียนรู้ที่ผู้คนได้มีปฏิสัมพันธ์ควบคู่กันไปด้วย แนวโน้มหนึ่งซึ่งก�ำลังเติบโตอย่างชัดเจนก็คือพ้ืนท่ี
การท�ำงานทเ่ี รยี กว่า co-working space ซงึ่ ผดุ ข้นึ มากมายตามหัวเมืองใหญ่ๆ ในประเทศไทย
ล่าสุดคอื Jump Space จังหวัดขอนแก่น ซ่งึ บกุ เบิกโดยคนหนุ่มไฟแรงแห่งเมอื งหมอแคนทีม่ คี วามคิด
แตกต่างจากคนท�ำธุรกิจท่ัวไป เพ่ือหวังจะสร้างพ้ืนที่พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เกิดเป็นชุมชนวิชาชีพ
ของชนรุ่นดจิ ทิ ลั ณ ดินแดนศนู ย์กลางการค้าของภาคอสี าน

260 | โหล

เราบังคับให้ตอ้ งเป็น
อย่างท่ีอยากจะเหน็ ไมไ่ ด้
เพราะเม่อื ไหร่ที่เราไปบีบบังคับ
มันจะไม่ใช่ชุมชน
แต่จะกลายเปน็ การครอบง�ำ

261

แนวคิดและโมเดลธุรกิจ co-working space ร้านกาแฟก็ต่างคนต่างกิน ต่างคนก็ต่างอยู่ มันเป็นไปไม่ได้ท่ี
พวกเขาจะมาท�ำความรู้จักกัน
ยังใหม่มาก แม้แต่ในกรุงเทพฯ เองก็เพ่ิงจะเกิดขึ้น
พนื้ ทหี่ รอื ระบบนเิ วศทสี่ ตารท์ อพั ตอ้ งการมลี กั ษณะ
ได้ไม่นาน อะไรคือจุดเร่ิมต้นท่ีสนใจท�ำธุรกิจน้ี อย่างไร
ส�ำหรับคนที่จะเป็นสตาร์ทอัพ ก่อนอื่นคุณต้องกล้าท่ีจะพูด
ในต่างจังหวัด สิ่งท่ีคิดอยู่ในใจหรือไอเดียท่ีมีอยู่ หลายคนอาจจะมโนเองว่า
ผมเคยไปเย่ียมชม Hubba co-working space ท่ีกรุงเทพฯ ส่ิงท่ีคิดมันเจ๋งมากเลยไม่ได้พูดออกมา แต่ถ้าคุณอยากพูดข้ึน
รู้สึกว่าเป็นสถานท่ีที่ cool ดีเพราะท�ำให้คนได้มาเจอกัน ก็เลย มาคณุ จะไปพดู กบั ใครในเมอ่ื ไม่มสี ถานทซ่ี งึ่ มคี นอยากฟงั สงิ่ ท่ี
คิดว่าน่าจะมีสถานท่ีอย่างน้ีท่ีขอนแก่นบ้าง ตอนน้ันยังไม่ค่อย คุณพูด
เข้าใจหรอกว่า co-working space คืออะไร จนเม่ือได้
เรียนรู้กับโรงเรียนบ่มเพาะผู้ประกอบการสตาร์ทอัพไทยหรือ co-working space มีหน้าท่ีสร้างสภาพแวดล้อมให้เกิดการ
Disrupt University จงึ เรมิ่ เข้าใจว่าการทสี่ ตาร์ทอพั จะเตบิ โต แบ่งปันความคิด แต่ไม่ได้ก�ำหนดว่ามันจะต้องเกิด เราเหมือน
ได้ต้องมีนิเวศ (ecosystem) ที่เหมาะสมเพื่อให้คนหลายๆ คนทเี่ ตรยี มนำ้� เตรยี มดนิ เตรยี มแสง ช่วยปรบั อากาศ เราไม่รู้
แบบหรือพวก 3H ได้มาเจอกัน ท้ังที่เป็นนักคิด (Hustler) หรอกว่าจะเกิดอะไรข้ึน เพราะคนท่ีมาเจอกันพร้อมท่ีจะพากัน
นักออกแบบ (Hipster) และนักประดิษฐ์ (Hacker) ซ่ึงคน
3 แบบนมี้ โี อกาสมาเจอกนั ยากมาก เพราะปกตแิ ลว้ คนทที่ ำ� งาน
อิสระมักจะน่ังท�ำงานตามร้านกาแฟ แต่ทุกคนที่เข้าไป

262 | โหล

ภาพจาก https://www.facebook.com/pg/jumpspacethailand

ไปทางไหนก็ได้ เรามีความคาดหวังแต่เราบังคับให้ต้องเป็น แล้วเชิญผู้ใหญ่มาเปิดงาน ผมไม่ชอบอย่างนั้นก็เลยริเร่ิมงาน
อย่างที่อยากจะเห็นไม่ได้ เพราะถ้าเม่ือไหร่ท่ีเราไปบีบบังคับ Kaen Talk ขึ้นมา เป็นเหมือนดินเนอร์ปาร์ต้ีคือแทนท่ีจะคุย
มันจะไม่ใช่ชุมชนแล้วแต่จะกลายเป็นการครอบง�ำ กันตอนกลางวัน ก็เปล่ียนมาคุยกันตอนเย็นแทน

ดังนั้นสิ่งท่ีเราต้องท�ำคือเตรียมปัจจัยไว้เฉยๆ แล้วให้คนใน งานนี้จัดมาแล้ว 3 คร้ัง ครั้งแรกจัดเป็นงานเล็กๆ ในโรงแรม
ชุมชนน�ำมันไปเอง เราเรียกคนที่สร้างองค์ประกอบแบบนี้ว่า เพื่อคุยกันเรื่องสตาร์ทอัพ ได้รับการสนับสนุนวิทยากรจาก
community builder ชุมชนอาจจะมีหลายแบบทั้งท่ีเป็นกลุ่ม SIPA (ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ)
นักพัฒนาเทคโนโลยี กลุ่มเมกเกอร์ หรือกลุ่มศิลปิน ผมก็จะ มกี ารประชาสมั พนั ธไ์ ปยงั คนทง้ั ในและนอกวงการไอที ปรากฏ
คอยกระตุ้นให้ผู้น�ำในแต่ละกลุ่มสร้างกิจกรรมของพวกเขา วา่ มคี นมาจากไหนกไ็ มร่ ู้ ทง้ั พนกั งานออฟฟศิ พนกั งานธนาคาร
ขึ้นมา คนท�ำหอพัก ฯลฯ เราเองก็ไม่คิดมาก่อนว่าจะมีคนสนใจเร่ือง
อย่างนี้มากขนาดน้ี Kaen Talk 2 เป็นกิจกรรมทอล์ค
กระบวนการท่ีจัดให้คนได้มาพบปะกันมีอะไรบ้าง เก่ียวกับงานด้านหุ่นยนต์ ส่วน Kaen Talk 3 จัดเร่ือง What
พูดตรงๆ เลยว่าท�ำทุกรูปแบบ ไม่มีตายตัว จัดปาร์ต้ีริมสระ is startup? เป็นกิจกรรมทอล์คตอนกลางวันและงานปาร์ต้ี
ว่ายน้�ำก็มี มันเป็นเร่ืองของการสร้างเครือข่ายในรูปแบบใหม่ที่ ตอนกลางคืน
ไม่ใช่การเชิญนักวิชาการมาน่ังคุยกันในห้องประชุมส่ีเหล่ียม

263

ขอนแก่นมีความต้องการพ้ืนท่ีแบบ co-working ภาพอย่างที่ผมเห็น แล้วชวนให้เขามองต่อไปว่าในอนาคต
space มากน้อยแค่ไหน ขอนแก่นจะต้องมีอะไรบ้าง
ประมาณ 3 ปีที่แล้ว Hubba เคยมาส�ำรวจพ้ืนที่ดูลู่ทางการ
ลงทุนและวิเคราะห์ว่าขอนแก่นยังไม่พร้อม คือยังมองเห็น ผมคิดว่าคนขอนแก่นจะต้องรวมตัวกันเพื่อรักษาอะไรบาง
กลุ่มผู้บริโภคไม่ชัดว่ามีตัวตนจริงหรือเปล่า อยู่ที่ไหนและ อย่างในพื้นที่ไว้ เปรียบเทียบง่ายๆ ว่าถ้ามีต่างชาติมาบุก
มพี ฤตกิ รรมอย่างไร สถานท่อี ย่างเช่นร้านกาแฟหรือคอมมูนิตี้ ประเทศไทยแล้วเราไม่ท�ำอะไรเลยเราก็โดนกินหมด ซ่ึงตอนนี้
มอลล์ยงั สามารถตอบโจทยช์ วี ติ ของคนร่นุ ใหม่ของทนี่ ไ่ี ด้ และ กรุงเทพฯ ก�ำลังจะมาบุกขอนแก่น เราก็ต้องตั้งหลักไว้ก่อน
อาจจะไมไ่ ดต้ อ้ งการสถานทที่ มี่ กี จิ กรรมพบปะหรอื แลกเปลยี่ น
ความคิดกับคนอ่ืน Hubba ก็เลยตัดสินใจชะลอการลงทุน แล้วในท่ีสุดกลายมาเป็น Jump Space ได้อย่างไร
จริงๆ แล้ว co-working space เป็นสถานที่อย่างไรก็ได้
ถึงแม้ว่ากิจกรรม Kaen Talk พิสูจน์ให้เห็นว่าขอนแก่นมี ไม่จ�ำเป็นต้องหรูหรา ไม่ต้องสวยก็ได้ ขอเพียงมีกิจกรรม
กลุ่มคนที่สนใจเร่ืองสตาร์ทอัพอยู่จริง แต่ไม่มีอะไรรับรองได้ ให้คนได้มารวมตัวกัน ในต่างประเทศบางท่ีก็ใช้โกดังเก่าๆ
ว่าจ�ำเป็นต้องมีพ้ืนที่อย่าง co-working space หรือไม่ ก็ถือ บางที่ก็สร้างริมทุ่งนา ผมเลยคิดว่าถ้าอย่างน้ันน่าจะหาคน
ได้ว่าเป็นการเร่ิมต้นที่มีความเสี่ยงอยู่ ท�ำให้เราลงทุนเองคน มาร่วมกันลงทุนรายละไม่กี่แสนบาทก็น่าจะท�ำได้
เดียวไม่ได้
บังเอิญว่าตอนน้ันผู้บริหารของบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมือง
ผมเป็นคนที่อยู่ในวงการเทคสตาร์ทอัพ (tech startup) ก็พอ (KKTT)* ก�ำลังมองหานักพัฒนาระบบ Mobile Application
จะมองเหน็ วา่ โลกมนั กำ� ลงั เปลย่ี นไปอยา่ งไร กรงุ เทพฯ เปลย่ี น ส�ำหรับติดตามรถชัตเทิลบัสของมหาวิทยาลัยขอนแก่น จึง
ไปอยา่ งไร ผมเองพยายามจะทำ� ความเขา้ ใจกบั นกั ลงทนุ ใหเ้ หน็ ติดต่อมาทางกลุ่มคนท�ำงานไอทีในจังหวัดเพื่อสอบถามว่า

* บริษัทขอนแก่นพัฒนาเมือง เป็นการระดมทุนกันของนักธุรกิจท้องถ่ินกว่า 20 ราย ด้วยทุนจดทะเบียน 200 ล้านบาท เพ่ือพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานและออกแบบการพัฒนาเมืองตามหลักวิชาการโดยไม่รองบประมาณจากภาครัฐ เช่น รถไฟฟ้ารางเบา นิคมอุสาหกรรม
สีเขียว การบริหารจัดการน้�ำ ศูนย์การประชุมนานาชาติ ฯลฯ ในอนาคตมีแนวทางท่ีจะเปิดให้ชาวขอนแก่นร่วมถือหน่วยลงทุนในกองทุน
ก่อนท่ีจะน�ำเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ต่อไป
264 | โหล

สามารถท�ำระบบแบบน้ีได้ไหม เราเข้าไปพบและบอกว่าท�ำได้ Jump Space เกิดขึ้นเร็วเกินไปไหม
แล้วก็ถือโอกาสคุยไอเดียที่อยากจะท�ำ co-working space ผมว่าก�ำลังพอดี อาจจะเร็วไปแค่หลักเดือน เพราะเราเห็นแล้ว
ไปด้วย สุดท้ายกลายเป็นว่าในวันน้ันวันเดียวมี 2 บริษัทเกิด ว่าแนวโน้มแบบนี้ก�ำลังมา ตอนนี้การด�ำเนินงานของเราติดลบ
ข้ึนใหม่พร้อมกันคือ Jump Up ซ่ึงท�ำเรื่องสมาร์ทซิตี้ กับ ก็จริง แต่เรารู้ว่าท�ำไมถึงติดลบ เราติดลบเพ่ือรอบางอย่างอยู่
Jump Space ที่ท�ำเรื่อง co-working space
ด้านหนึ่งเราก็อยากให้ภาครัฐเข้ามาช่วยสนับสนุนพ้ืนท่ีใน
กลุ่มเป้าหมายของ Jump Space คือใคร ลักษณะน้ีบ้าง ซ่ึงยังมองเห็นนโยบายไม่ชัดเท่าไรนัก จริงๆ
ตอนแรกเรามองท่ีกลุ่ม Tech SME ก่อน ซ่ึงเขามีการจัด งบประมาณจากภาครฐั กม็ ลี งมาทขี่ อนแกน่ ตลอด แตม่ นั ไปอยู่
ประชุมพบปะกันเป็นระยะๆ อยู่แล้วตามร้านกาแฟ คิดว่าเขา ในภาคส่วนอ่ืนและยังท�ำแบบเดิมๆ เช่น การอบรมเขียนแผน
น่าจะต้องการพื้นท่ีแบบนี้และน่าจะเปลี่ยนพฤติกรรม แต่ ธุรกิจ ซึ่งเป็นเรื่องท่ีอยู่ในกระดาษ
ปรากฏว่าเขาไม่เปล่ียน ส่วนหนึ่งคงเป็นเพราะธุรกิจเหล่านี้อยู่
มานานเกิน 5 ปีแล้ว แต่ละบริษัทเริ่มมีที่ทางเป็นของตัวเอง ผมก�ำลังเขียนโครงการบ่มเพาะธุรกิจเพ่ือขอทุนสนับสนุนจาก
ไม่จ�ำเป็นต้องมาใช้บริการพ้ืนท่ีแบบเรา ส่วนกลุ่มนักศึกษาก็มี หน่วยงานรัฐ ซึ่งจะไม่ใช่รูปแบบการอบรมแบบเดิมๆ สิ่งท่ีเรา
เข้ามาบ้าง แต่คิดว่าคงต้องรอเวลาให้เขาเติบโตกลายเป็น เสนอคือการให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้เข้าใจกระบวนการทางธุรกิจ
สตาร์ทอัพ เพื่อเราจะได้ตอบโจทย์ความต้องการของเขาได้ จากประสบการณ์จริงที่มาจากการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับกลุ่ม
จริงๆ คนในแวดวงเดียวกันหรือจากผู้รู้ที่มีประสบการณ์มาก่อน

265

ท�ำความรจู้ ักสตารท์ อัพ

สตารท์ อพั คอื ธรุ กจิ รปู แบบใหมท่ เ่ี กดิ ขน้ึ ในยคุ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เคลอ่ื นไหวทนี่ า่ สนใจเชน่ การจดั งาน Startup Thailand 2016
ซงึ่ เนน้ การใชน้ วตั กรรมและความคดิ สรา้ งสรรคเ์ พอื่ ตอบโจทย์ ทั่วทุกภูมิภาคเพื่อให้ความรู้และจุดประกายเรื่องสตาร์ทอัพให้
ปัญหาใหม่ๆ ท่ียังไม่เคยมีใครท�ำ ต่างจากเอสเอ็มอีท่ีเติบโต กับคนรุ่นใหม่ การก่อตั้งโรงเรียนสอนสตาร์ทอัพ Disrupt
ตามก�ำไรท่ีลงทุนเช่นการขยายสาขาร้านก๋วยเต๋ียวออกไป University และกองทุนสตาร์ทอัพ 500 TukTuks โดย
เรื่อยๆ แต่สินค้าและบริการของสตาร์ทอัพน้ันเป็นส่ิงท่ีเติบโต เรอื งโรจน์ พนู ผล ผบู้ กุ เบกิ วงการสตารท์ อพั เมอื งไทย นอกจากนี้
ได้อย่างรวดเร็วโดยการท�ำซ�้ำได้ เช่น เฟซบุ๊คซ่ึงท�ำเพียงคร้ัง ผปู้ ระกอบการยงั มกี ารรวมตวั กนั เปน็ สมาคม Thailand Tech
เดียวแต่มีผู้ใช้งานได้นับพันล้านคน โดยที่ต้นทุนค่าใช้จ่าย Startup เป็นต้น
ไม่ได้เพ่ิมขึ้นตามจ�ำนวนผู้ใช้งาน ในปี 2555 ประเทศไทยมีธุรกิจสตาร์ทอัพอยู่เพียง 3 ราย
แหล่งเงินทุนในการขยายกิจการธุรกิจสตาร์ทอัพมักไม่ได้มา แต่มาถึงปี 2559 จ�ำนวนเพิ่มขึ้นเป็นมากกว่า 30 บริษัท
จากธนาคารเหมือนกับผู้ประกอบการรายย่อยอื่นๆ แต่ใช้ มียอดการระดมทุนประมาณ 3 พันล้านบาท อย่างไรก็ดี
วิธีการระดมทุนสาธารณะ (Crowdfunding) ซึ่งมีทั้งรูปแบบ สตาร์ทอัพส่วนใหญ่ยังอยู่ในระยะตั้งไข่ มีเพียงไม่ถึง 10 ราย
การบริจาค การสนับสนุน การให้กู้ และการเข้าหุ้น ซึ่ง ที่แข็งแกร่งและสามารถก้าวเข้าสู่ตลาดทุนหรือเวทีธุรกิจระดับ
ประเทศไทยก�ำลังจะมีกฎหมายข้ึนมารองรับการระดมทุน ภูมิภาค
ประเภทน้ีอย่างถูกต้อง
กล่าวกันว่า สตาร์ทอัพเป็นธุรกิจที่มีโอกาสเติบโตได้สูงแบบ
ก้าวกระโดด และถือเป็นอีกหน่ึงก�ำลังส�ำคัญในการขับเคล่ือน
เศรษฐกิจดิจิทัล ปัจจุบันท้ังภาคเอกชนและภาครัฐจึงต่าง
ตื่นตัวและให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมสตาร์ทอัพ ความ

ข้อมูลจาก สรปุ ภาพรวมสตาร์ทอพั ไทย 2016 : แรงจรงิ หรือแค่กระแส รวยเรว็ ไหม และเราจะไปทางไหนกันต่อ!? http://themomentum.co
ภาพจาก http://www.thailandstartup.org
266 | โหล

มาเรยี นรฝู้ กึ ฝนใหร้ จู้ กั การตงั้ สมมตฐิ านและการทดสอบตลาด ปัจจัยส�ำคัญที่สนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้คืออะไร
กันจริงๆ ซ่ึงจะเป็นวิธีการบ่มเพาะสร้างธุรกิจแบบใหม่ ผมคิดว่าทัศนคติ (mindset) เป็นส่ิงส�ำคัญท่ีสุด คือคุณต้อง
ยอมรบั ความคดิ ของคนอนื่ ต้องเข้าใจว่าความสำ� เรจ็ ทางธุรกจิ
จุดแข็งของขอนแก่นอยู่ท่ีไหน ไม่ได้เกิดจากปัจจัยหรือองค์ประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งเพียง
ผมว่าอยู่ที่ภาคเอกชน ภาคเอกชนในขอนแก่นเราท�ำงาน อย่างเดียว ความหลากหลายต่างหากท่ีจะท�ำให้คุณอยู่รอดใน
ร่วมกันเพื่อขอนแก่น เรามีความเป็นขอนแก่นสูงมาก ภาค ทางธุรกิจ
เอกชนของที่น่ีไม่รอภาครัฐแล้ว เราลองผิดลองถูกกันเลย
แต่ก่อนน้ีทุกคนอาจจะเก่งหรือเช่ียวชาญเฉพาะทาง แล้วท�ำใน
ส่วน co-working space ที่น่ีก็มีความเป็นท้องถ่ินมาก ส่ิงท่ีเก่งจนประสบความส�ำเร็จ แต่ทุกวันนี้ไม่ใช่ มันเป็นเรื่อง
ไม่เหมือนท่ีอ่ืนอย่างที่ภูเก็ต หาดใหญ่ หรือพัทยาซ่ึงเป็นเมือง ของการบูรณาการ ถ้าคุณมี mindset ที่ยอมรับความคิดเห็น
ท่องเที่ยว จริงๆ แล้วการมีชาวต่างชาติมานั่งท�ำงานเป็นเร่ืองดี ท่ีแตกต่างหลากหลาย คุณถึงจะท�ำงานร่วมกันกับคนอ่ืนได้
อยู่แล้ว แต่ที่เหล่านั้นมักจะขาด community builder ก็จะ ทำ� ใหท้ มี แขง็ แกรง่ ขน้ึ ได้ และไมไ่ ดห้ มายความวา่ เมอื่ เตบิ โตขน้ึ
คล้ายกับเป็นแค่สถานท่ีนั่งท�ำงานเฉยๆ ขณะท่ี Jump Space ทุกคนจะต้องกลายเป็นผู้ประกอบการ แต่การมีความเข้าใจ
พยายามสร้างพื้นท่ีด้วยปรัชญาที่อยากให้เป็นชุมชนของคนใน อย่างน้ีมันท�ำให้คุณสามารถขับเคลื่อนองค์กรท่ีมีนวัตกรรมได้
ท้องถ่ิน

อัจฉริยะ ดาโรจน์ ผู้ก่อต้ัง Jump Space ซึ่งเป็น co-working space แห่งแรกของจังหวัดขอนแก่น ท�ำธุรกิจด้านไอที
ในต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัทเมกาจีเนียส และเป็นกรรมการ Thailand Tech Startup Association หรือสมาคม
การค้าเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการเทคโนโลยีรายใหม่ สนใจติดตามความเคล่ือนไหวของธุรกิจสตาร์ทอัพและพยายามสร้างพ้ืนที่
หรือนิเวศที่เอื้อต่อการเรียนรู้การคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรมส�ำหรับคนขอนแก่นรุ่นใหม่

267

เมืองอจั ฉรยิ ะภเู กต็
เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล แรงงานทักษะไอที

ผศ.ดร.รัตนา เวทยป์ ระสทิ ธิ์

เพียงระยะไม่นานมานี้เอง ผู้คนต่างพูดถึงแนวนโยบายประเทศไทย 4.0 ซึ่งมุ่งปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้พัฒนา
เติบโตจากฐานความรู้และความคิดสร้างสรรค์เพ่ือสร้างนวัตกรรม แต่ส�ำหรับภาพที่เล็กลงมาในระดับจังหวัดน้ัน
ภเู กต็ ถกู ก�ำหนดทศิ ทางการพฒั นาส่กู ารเป็นเกาะอจั ฉรยิ ะมานานนบั สบิ ปแี ล้ว ซง่ึ หมายถงึ ความพร้อมของโครงสรา้ ง
พ้ืนฐานไอทีและพลเมืองดิจิทัลท่ีมีคุณภาพควรเป็นส่ิงท่ีน่าจะมองเห็นรูปธรรมได้บ้างไม่มากก็น้อย
อย่างไรก็ตาม หนทางสู่ ‘เมืองอัจฉริยะ’ (Smart City) น้ันมิได้ราบเรียบ ถึงแม้ท้ังภาครัฐและเอกชนจะพยายาม
ร่วมมือกันอย่างไร แต่ก็ยังไม่ทันต่อพัฒนาการทางเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งระบบ
บริหารงานและงบประมาณภาครัฐท่ีมีระเบียบขั้นตอนปฏิบัติล่าช้านับเป็นอุปสรรคต่อการเปล่ียนโฉมหน้าของภูเก็ต
จากภาพความฝันสู่ความจริง
วนั นี้ ทศิ ทางการพฒั นาระดบั ชาตกิ �ำลงั เดนิ มาบรรจบกบั เสน้ ทางการพฒั นาของจงั หวดั หากความพยายามของภเู กต็
ประสบความส�ำเรจ็ อาจกลายเป็นโมเดลตวั อย่างทน่ี �ำไปใช้ในหลายพน้ื ทจ่ี นกระทง่ั บรรลเุ ป้าหมายสู่ประเทศไทย 4.0
ก็เป็นไปได้

268 | โหล

ถ้าอยากจะวางรากฐาน
ด้านดจิ ิทัล เราต้องมองไปข้างหน้า
คำ� นวณคาดการณ์ความตอ้ งการ
นักพัฒนา และวางแผนผลิต
นักพฒั นาที่มคี ุณภาพ

269

ICT คือลมหายใจของเมอื งทอ่ งเทยี่ ว มาสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจเกิดขึ้น
ท้ังในระดับสถานประกอบการและระดับเมือง ตัวอย่าง
ภูเก็ตเป็นเมืองท่องเที่ยวทางทะเลท่ีมีช่ือเสียงติดอันดับโลก การด�ำเนินงานระดับสถานประกอบการที่เห็นชัดเจนคือ
ดว้ ยทรพั ยากรทสี่ วยงาม กจิ กรรมทอ่ งเทยี่ วทหี่ ลากหลาย และ การยกระดับมาตรฐานการบริการท่องเที่ยวให้ทันสมัยและ
การให้บริการท่ีมีมาตรฐานระดับสากล อีกท้ังยังเป็นแม่ข่าย สะดวกสบาย อาทิ การสร้างระบบการจองท่ีพักหรือแพ็คเกจ
ท่ีเชื่อมโยงการท่องเท่ียวของจังหวัดฝั่งทะเลอันดามัน รองรับ ท่องเท่ียวออนไลน์ การให้บริการ wi-iffi การติดตั้ง
นักท่องเท่ียวมากถึง 13-15 ล้านคนต่อปี สร้างเม็ดเงิน กล้องวงจรปิดเพื่อรักษาความปลอดภัยบริเวณโรงแรม
ได้มากกว่าปีละ 4 แสนล้านบาท การพัฒนาอุตสาหกรรม ท่ีพัก การพัฒนาแอพพลิเคชั่นและตู้คิออสที่ให้บริการ
การท่องเท่ียวจึงเป็นหนึ่งในประเด็นส�ำคัญของการขับเคลื่อน ด้านการท่องเท่ียวอย่างเบ็ดเสร็จ
นโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของภูเก็ต

“ภูเก็ตเติบโตขึ้นจากธุรกิจท่องเที่ยว ซึ่งเป็นธุรกิจที่ใช้ไอที ส่วนการด�ำเนินงานระดับเมือง เพ่ิงจะมีการก่อต้ังบริษัทภูเก็ต
มากท่ีสุด ต่อไปนักท่องเที่ยวกลุ่มหลักจะเป็นกลุ่ม FIT พัฒนาเมือง ซึ่งเป็นการลงขันกันระหว่างเอกชนเพ่ือพัฒนา
(Foreign Individual Tourist) คือนักท่องเที่ยวท่ีไม่อาศัย จังหวัดให้มีความน่าอยู่ด้วยนวัตกรรมและเป็นโครงสร้าง
เอเยน่ ต์ ไมซ่ อ้ื แพก็ เกจทวั ร์ เขาจะศกึ ษาขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ นต็ พ้ืนฐานส�ำหรับการท่องเท่ียว เช่น รถไฟฟ้ารางเบา เรือส�ำราญ
มาก่อนว่าอยากจะไปเที่ยวท่ีไหน ตรงไหนมีอะไรน่าดู แล้วก็ ดิจิทัล ท่าจอดเรือที่ทันสมัย ฯลฯ
จองตั๋วเครื่องบินเองจองโรงแรมเอง เพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่า
ไอทเี ปน็ สง่ิ ทข่ี บั เคลอื่ นธรุ กจิ ทอ่ งเทย่ี ว โจทยก์ ค็ อื จะทำ� อยา่ งไร ทิศทางการพฒั นาชัด ปลดล็อคอปุ สรรค
ให้เขาเข้ามาท่องเที่ยวได้สะดวก มีข้อมูลให้เขาได้ศึกษาก่อน งบประมาณ บรู ณาการสารสนเทศ
เดินทาง มาถึงแล้วสามารถใช้อินเทอร์เน็ตท่ีเร็ว และมีแผนที่
ช่วยน�ำทาง” การพัฒนาด้านไอทีในจังหวัดภูเก็ตเกิดขึ้นมานับสิบปี ใน
ภาคเอกชนของภูเก็ตนั้นได้น�ำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและ ระยะแรกด�ำเนินการโดยภาครัฐ มุ่งสนับสนุนให้ประชาชน
การสื่อสารมาใช้ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของบรรดา สามารถเข้าถึงสารสนเทศอย่างเท่าเทียม เน่ืองจากในอดีต
นักท่องเท่ียวมานานแล้ว การเตรียมพร้อมและน�ำ ICT คอมพิวเตอร์ยังมีราคาแพง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตยังไม่ท่ัวถึง
และเทคโนโลยีอุปกรณ์โมบายยังไม่แพร่หลาย ภาครัฐจึงเน้น
ไปท่ีการวางโครงสร้างพื้นฐานและการสร้างแหล่งเรียนรู้ไอที

270 | โหล

เมอื งอจั ฉรยิ ะ (Smart City)

เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เป็นแนวคิดในการพัฒนา สารสนเทศและการส่ือสาร* มีโมเดลมาจากประเทศเกาหลีใต้
เมืองโดยบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศและ Internet of โดยก�ำหนดให้ภูเก็ตเป็นเมืองน�ำร่องภายในปี 2563 ด้วย
Things (IoT) เพ่ือแก้ปัญหาหรือจัดการทรัพยากรของเมือง งบประมาณ 200 ล้านบาท ก่อนที่จะเป็นต้นแบบในการขยาย
โดยมีเป้าหมายสูงสุดอยู่ท่ีการยกระดับคุณภาพชีวิตของ ผลไปสู่จังหวัดอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองท่องเท่ียว เช่น
ประชากรอยา่ งชาญฉลาด คณุ ลกั ษณะสำ� คญั ของเมอื งอจั ฉรยิ ะ จังหวัดเชียงใหม่
ได้แก่ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานให้มีประสิทธิภาพด้วย ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (SIPA) ได้
การใช้การวิเคราะห์ข้อมูล (data analysis) และ ปัญญา วางแนวทางไปสู่ภูเก็ตเมืองอัฉริยะคือ 1. มุ่งส่งเสริมให้เกิด
ประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) เช่ือมโยงคน อุตสาหกรรมเทคโนโลยีและส่งเสริมให้อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ในท้องถิ่นให้ใกล้ชิดกับหน่วยงานของท้องถ่ินด้วยการใช้ หันมาใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย 2. น�ำเทคโนโลยีมาช่วยให้ผู้คน
นวตั กรรมแบบเปดิ และการมสี ว่ นรว่ มผา่ นชอ่ งทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มีชีวิตอยู่อย่างมีสวัสดิภาพและปลอดภัย เช่นการใช้ภาพจาก
รวมทั้งการพัฒนาบริบทของเมืองให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ การ CCTV มาใช้ร่วมกับเทคโนโลยีตรวจจับใบหน้า ระบบติดตาม
ประยุกต์ และการสร้างสรรค์นวัตกรรม และรักษาความปลอดภัยในการเดินเรือ 3. การใช้เทคโนโลยี
เมืองอัจฉริยะชั้นแนวหน้าของโลก ได้แก่ ซูวอนและเขตกังนัม เซ็นเซอร์และ IoT มาใช้ในการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ของโซล ประเทศเกาหลีใต้ สต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน
วอเตอร์ลูและออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา ไทเป ประเทศ
ไต้หวัน มิตะกะ ประเทศญ่ีปุ่น กลาสโกว์ สก็อตแลนด์
นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา และประเทศสิงคโปร์ เป็นต้น
ในกรณีของประเทศไทย โครงการส่งเสริมพ้ืนท่ีพิเศษส�ำหรับ
เศรษฐกิจดิจิทัลหรือสมาร์ทซิต้ีของกระทรวงเทคโนโลยี

* ปัจจุบันคือกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม

271

ต่อมาเม่ือเทคโนโลยีดิจิทัลก้าวหน้ามากข้ึน ภาครัฐจึงวาง การยกระดับความเป็นอยู่ของคนในพ้ืนที่ โดยมีเป้าหมายให้
แนวทางการพัฒนาจังหวัดท่ีเชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลง ภูเก็ตเป็นเมืองที่มีความสุข ฉลาด และยั่งยืน (Smile Smart
ดังกล่าวอย่างต่อเน่ือง ไม่ว่าจะเป็นโครงการ Phuket Digital และ Sustainable)
Paradise โดย NECTEC โครงการ Phuket ICT City ท่ี “ส�ำหรับภูเก็ตแล้วไอทีไม่ได้เป็นเรื่องแปลกปลอม เป็นสิ่งที่
ได้รับการสนับสนุนจาก SIPA และล่าสุดโครงการ Phuket ทุกคนเคยชิน เพียงแต่อาจจะยังน�ำมาประยุกต์ใช้ไม่เต็มท่ี
Smart City ของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ ภเู กต็ มกี ารพฒั นาดา้ นไอทอี ยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยภาคเอกชนตา่ งคน
การสื่อสาร* ซ่ึงโครงการเหล่าน้ีล้วนบ่งชี้ให้เห็นทิศทาง ต่างท�ำ แต่สิ่งท่ีควรจะเป็นก็คือทั้งภาครัฐและภาคเอกชนควร
การพัฒนาเมืองภูเก็ตท่ีมีความชัดเจนมายาวนานระยะหน่ึง จะไปด้วยกัน เพราะระบบบางอย่างเป็นเร่ืองท่ีเอกชนท�ำ
ทุกวันน้ีภูเก็ตได้ช่ือว่าเป็นเมืองท่ีมีความทันสมัยรองจาก ฝ่ายเดียวไม่ได้ จนกระท่ังล่าสุดเกิดนโยบายภูเก็ตสมาร์ทซิต้ี
กรุงเทพฯ และเร่ิมมองการพัฒนาไอทีในแง่ที่เป็นเคร่ืองมือใน แผนงานโครงการต่างๆ จึงเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น

* ปจั จบุ นั คอื กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม

272 | โหล

Phuket Smart City Innovation Park

Phuket Smart City Innovation Park เป็นแหล่งเรียนรู้
ด้านเทคโนโลยีแห่งใหม่ล่าสุดของภูเก็ตที่เพิ่งเปิดตัวเมื่อปี
2559 กอ่ ตง้ั โดยกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร*
และสำ� นกั งานสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วรแ์ หง่ ชาติ (องคก์ าร
มหาชน) หรือ SIPA เพื่อสร้างระบบนิเวศที่เอื้อให้เกิดปัจจัยที่
จะน�ำไปสู่การเป็นสมาร์ทซิต้ี น่ันก็คือการบ่มเพาะผู้ประกอบ-
การเทคโนโลยี (Tech Startup) และผปู้ ระกอบการสรา้ งสรรค์
รวมท้ังเป็นศูนย์การเรียนรู้ท่ีสร้างความเข้าใจให้กับประชาชน
เก่ียวกับภาพของเมืองภูเก็ตท่ีก�ำลังจะพัฒนาไปในอนาคต

พื้นท่ีช้ันล่างประกอบด้วย video wall ท่ีจ�ำลองภาพเมือง พ้ืนท่ีช้ันสองเป็นห้องส�ำหรับจัดอบรมเชิงปฏิบัติการความจุ
อัจฉริยะออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม เช่น เรื่องระบบรักษา ประมาณ 30 คน รวมท้ังพื้นที่ co-working space ซึ่งมี
ความปลอดภัยซึ่งภาพกล้องวงจรปิดทั่วทั้งเกาะสามารถ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเหมาะกับการใช้งานทดสอบ
น�ำมาประมวลผลร่วมกัน การใช้เซ็นเซอร์ตรวจวัดคุณภาพ ประสิทธิภาพของซอฟต์แวร์ ส่วนชั้นสามเป็นพ้ืนที่ให้เช่าระยะ
สิ่งแวดล้อมท่ัวจังหวัด หรือระบบติดตามเรือท่องเที่ยวทุกล�ำ ยาวส�ำหรับบริษัทซอฟต์แวร์ท่ีสนใจ
ของภูเก็ต มีห้องสาธิตนวัตกรรมซอฟต์แวร์จากผลงานของ พ้ืนท่ีชั้นสี่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วางแผนจะพัฒนาเป็น
คนภูเก็ต อีกท้ังยังเป็นศูนย์ประสานงานด้านการลงทุนร่วมกับ ศูนย์การเรียนรู้ส�ำหรับ SME ในลักษณะของหลักสูตรอบรม
BOI เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกให้กับนักลงทุนไม่ต้องเดินทาง ระยะส้ัน ซึ่งอาจไม่ใช่ผู้ประกอบการด้านดิจิทัล แต่เป็นการ
ไปยงั กรงุ เทพฯ หรอื สรุ าษฎรธ์ านซี ง่ึ เคยเปน็ ศนู ยย์ อ่ ยแหง่ เดยี ว ส่งเสริมให้ธุรกิจเหล่านั้นได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอย่าง
ของภาคใต้ เต็มที่

* ปัจจุบันคือกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม

273

“นโยบายรัฐท่ีออกมาถือว่าสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่ ในเรื่องความปลอดภัย ภูเก็ตมีกล้องวงจรปิดไม่รู้ก่ีพันตัว
เพราะมาจากการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน แต่การ แต่เราไม่เคยสามารถประมวลผลภาพร่วมกันแล้วน�ำมา
สนับสนุนของภาครัฐท่ีผ่านมายังมีข้อจ�ำกัดโดยเฉพาะอย่างย่ิง วิเคราะห์ให้เกิดประโยชน์ได้เต็มท่ี เพราะต่างคนต่างซ้ือ ต่างก็
ความคล่องตัวในการบริหารและการจัดสรรงบประมาณ มีระบบเป็นของตัวเอง นี่เป็นตัวอย่างหน่ึงท่ีจะต้องพยายาม
แต่ในปีงบประมาณ 2561 เป็นต้นไปทุกอย่างน่าจะดีข้ึน ท�ำให้ส�ำเร็จ”
เพราะเร่ิมมีการบริหารโดยใช้งบยุทธศาสตร์ที่จัดสรรแบบใช้
พน้ื ทเี่ ปน็ ฐาน (area-based) ซง่ึ จะทำ� ใหก้ ารจดั สรรงบประมาณ อปุ สงค์-อุปทานแรงงานทักษะไอที
เป็นไปอย่างรวดเร็วข้ึนและจะช่วยให้การขับเคล่ือนเร่ือง กับคณุ ภาพนักพัฒนา
สมาร์ทซิต้ีเป็นไปได้มากย่ิงข้ึน
“ส่วนในระดับปฏิบัติ บริการของภาครัฐยังจ�ำเป็นต้อง เห็นได้อย่างชัดเจนว่าเกาะภูเก็ตก�ำลังมีความต้องการด้าน
บูรณาการสารสนเทศอย่างเป็นระบบให้มากกว่าเดิม เช่น ดิจิทัลเพ่ิมมากข้ึน โดยเฉพาะความต้องการทรัพยากรมนุษย์
ท่ีมีทักษะดิจิทัลซ่ึงเป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างเมืองอัจฉริยะ
และต้องมีชนช้ันสร้างสรรค์ (creative class) ท่ีเปน็ ผสู้ รา้ ง
นวัตกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการในอนาคตภายใต้
สงิ่ แวดลอ้ มดจิ ทิ ลั

“10 ปที ผี่ า่ นมาภเู กต็ เปลยี่ นแปลงไปมากและไปไกลกวา่ จงั หวดั
อ่ืนเยอะ อย่างเช่นเรื่องกราฟิกแอนิเมช่ันซึ่งเคยเป็นเรื่องใหม่
สำ� หรบั ประเทศไทย ภเู กต็ จดั อบรมเรอื่ งนม้ี าอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและ

274 | โหล

ซอฟต์แวร์พาร์คภเู ก็ต

ซอฟต์แวร์พาร์คภูเก็ตหรือเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ภูเก็ต ซอฟต์แวร์พาร์คภูเก็ตยังมีบทบาทด้านพัฒนาทักษะไอซีทีให้
ได้ช่ือว่าเป็นเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ที่เล็กที่สุดในโลก กบั คนรนุ่ ใหมใ่ นภเู กต็ โดยการกอ่ ตงั้ ศนู ยส์ รา้ งสรรคน์ วตั กรรม
กอ่ ตงั้ ขน้ึ เมอื่ ปี 2552 โดยการลงทนุ ของภาคเอกชน เพอื่ ขานรบั ภูเก็ต การจัดกิจกรรมอบรมต่างๆ และใช้โซเชียลมีเดียเป็น
นโยบายภาครัฐด้านเทคโนโลยี ซึ่งลงมาท่ีจังหวัดภูเก็ตอย่าง ส่ือกลางในการกระจายข้อมูลด้านการพัฒนาทักษะไอซีที
ต่อเนื่องหลายโครงการ วัตถุประสงค์หลักคือเป็นสถาน ที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนในภูเก็ต
ประกอบการของคนท�ำงานไอที เพ่ือสร้างโอกาสทางธุรกิจ
นวัตกรรม และการจ้างงาน และเป็นหน่วยวิจัยและพัฒนา
เพอื่ สรา้ งนวตั กรรม

ปัจจุบันซอฟต์แวร์พาร์คภูเก็ตเป็นแหล่งรวมของบริษัทด้าน
เทคโนโลยกี วา่ 10 บรษิ ทั ในบรรยากาศการทำ� งานทผี่ อ่ นคลาย
และกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ พื้นที่กว่า 50% ถูกรักษาไว้
เป็นโซนสเี ขยี ว และสร้างลู่วง่ิ ไว้รอบสระนำ้� ซงึ่ ครง้ั หนง่ึ เคยเป็น
เหมอื งดบี กุ ภายในอาคารออกแบบตกแตง่ อยา่ งมสี สี นั มพี น้ื ที่
ส�ำหรับพักผ่อนอิริยาบถ สนทนา และจัดประชุม

ซอฟต์แวร์พาร์คภูเก็ตคาดหวังที่จะสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้
ซง่ึ คนทท่ี ำ� งานในสายงานใกลเ้ คยี งกนั ไดท้ ำ� กจิ กรรมและเกดิ การ
แลกเปลยี่ นทกั ษะความรรู้ ะหว่างกัน แต่ภาพดังกล่าวยังเกิดขึ้น
ไมช่ ดั เจนนกั เนอ่ื งจากขาดผนู้ ำ� กระบวนการหรอื Community
Builder ท่ีมีความสามารถในการท�ำงานประสานเครือข่าย

275

เห็นความเปล่ียนแปลงในการน�ำเรื่องพวกน้ีมาใช้อย่างชัดเจน ผลิตได้ แต่ไม่พอในแง่จ�ำนวนคนท่ีเรียนจบออกไปแล้ว
ก่อนหน้านี้วงการอสังหาริมทรัพย์ไม่ว่าจะน�ำเสนองานอะไร สามารถท�ำงานได้ตรงกับท่ีตลาดต้องการหรือตรงกับท่ีได้
ก็มักจะใช้รูปถ่ายหรือวิดีโอ แต่ตอนน้ีหันมาใช้ภาพสามมิติ เรียนมา เพราะว่าธรรมชาติของศาสตร์ด้านโปรแกรมมิ่งเป็น
กันหมด ถ้าไม่ใช้ก็ขายไม่ออก” เร่ืองที่ยากและเครียด บางคนทนเรียนจนจบแล้วก็ไม่อยาก
ในขณะทภี่ เู กต็ มอี ปุ สงค์ (demand) หรอื ความตอ้ งการแรงงาน ท�ำงานด้านน้ีไปเลยก็มี
ด้านไอทีเพ่ิมสูงขึ้น แต่กลับมีอุปทาน (supply) หรือปริมาณ “คนที่จะเป็นนักพัฒนาต้องเก่งเรื่องตรรกะและมีความรู้
แรงงานท่ีมีทักษะด้านไอทีไม่เพียงพอ สถาบันอุดมศึกษาใน คณิตศาสตร์ท่ีดี ซ่ึงเป็นวิชาท่ีเด็กไทยไม่ค่อยเข้มแข็ง เด๋ียวนี้
จังหวัดภูเก็ตน้ันมีอยู่เพียง 2 แห่งยังไม่สามารถผลิตแรงงาน ท่ีอเมริกาเขาสอนเขียนโปรแกรมต้ังแต่ชั้นประถม ใช้เกมใน
ที่มีทักษะในสาขาท่ีตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานได้ เว็บไซต์สอนวิธีคิดเชิงตรรกะ ซึ่งถือเป็นพื้นฐานของการเรียน
“ตอนนี้นักพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Developer) วิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่จะน�ำไปสู่การเป็นนักพัฒนา
ของภูเก็ตมีไม่พอ ไม่ใช่ไม่พอในแง่จ�ำนวนท่ีสถาบันการศึกษา ด้านไอที

276 | โหล

“ถ้าอยากจะวางรากฐานด้านดิจิทัล เราต้องมองไปข้างหน้าว่า แต่การใช้แรงงานข้ามจังหวัดย่อมไม่ใช่ทางออกท่ียั่งยืน
ต้องการสร้างมูลค่าทางธุรกิจดิจิทัลเท่าไหร่ แล้วค�ำนวณคาด เนื่องจากหัวเมืองใหญ่ในแต่ละภูมิภาคต่างก็มีทิศทาง
การณ์ความต้องการนักพัฒนาออกมา จากน้ันก็วางแผนผลิต การพัฒนาเมืองที่ต้องใช้ไอทีหรือเทคโนโลยีดิจิทัลเป็น
นกั พฒั นาทม่ี คี ณุ ภาพใหเ้ พยี งพอรองรบั กบั ความตอ้ งการนนั้ … องค์ประกอบส�ำคัญ ท�ำให้ความต้องการแรงงานท่ีมีทักษะไอที
การสร้างนักพัฒนาด้านไอทีท่ีมีคุณภาพจะต้องเปล่ียนวิธีการ เพิ่มสูงข้ึนในหลายพ้ืนท่ี การสร้างนักพัฒนาด้านไอทีท่ีมี
สอนใหม่ และไม่ใชส่ อนวชิ าดา้ นคอมพวิ เตอร์อย่างเดยี วแต่ยงั ความคิดสร้างสรรค์และสามารถสร้างนวัตกรรมได้จึงเป็น
ต้องฝึกฝนให้เชี่ยวชาญภาษาต่างประเทศด้วย” ความท้าทายท่ีไม่ได้เกิดข้ึนเฉพาะกับภูเก็ต หากแต่เป็น
ปญั หาคา่ ครองชพี สงู ในจงั หวดั ภเู กต็ นบั เปน็ ปจั จยั ลบตอ่ วงการ โจทย์ใหญ่ระดับประเทศ
นักพัฒนาด้านไอที เนื่องจากอาชีพโปรแกรมเมอร์ในภูเก็ต “เคยมีการวิเคราะห์กันว่าคนไทยมีความคิดสร้างสรรค์ แต่
ได้รับค่าตอบแทนน้อยกว่าคนในสายงานแอนิเมชั่น ดังน้ัน มักจะเอียงไปทางด้านงานหัตถกรรมหรือศิลปวัฒนธรรม ไม่
ผู้ประกอบอาชีพโปรแกรมเมอร์จึงไหลออกไปท�ำงานที่ ค่อยโน้มเอียงมาทางไอทีหรือดิจิทัล... เราคงต้องหาบุคคล
กรงุ เทพฯ ทำ� ใหภ้ เู กต็ ตอ้ งนำ� เขา้ นกั พฒั นาจากจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ต้นแบบ (role model) ให้กับเด็กรุ่นใหม่ ถ้าเม่ือไหร่ท่ี
เช่นหาดใหญ่ เมืองไทยมีคนแบบสตีฟ จอบส์ เด็กก็คงรู้สึกว่าอยากจะเป็น
แบบน้ันบ้าง”

รัตนา เวทย์ประสิทธ์ิ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ และอาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ก่อนหน้านี้เคยท�ำหน้าที่ผู้จัดการส�ำนักงาน SIPA สาขาภูเก็ต
ปัจจุบันยังด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต และที่ปรึกษาเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ภูเก็ต (Software Park
Phuket) อีกด้วย

277

ข้าวโพด เขาหวั โลน้ เศรษฐกจิ ครัวเรือน
บทเรียนการเรียนร้แู บบน่านๆ
ส่เู ส้นทางความย่ังยนื

ดร.ฌชั ชภทั ร พานชิ

น่าน ก�ำลังเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จากเมืองเล็กแสนสงบที่เคยตั้งอยู่ไกลปืนเท่ียง การเดินทาง
แสนล�ำบาก มาสู่เมืองอันเป็นหมุดหมายท้ังด้านเศรษฐกิจและการท่องเท่ียว มีความโดดเด่นท้ังเร่ือง
วัฒนธรรมและธรรมชาติ การคมนาคมสะดวกสบาย อย่างไรก็ตาม กระแสการพัฒนาได้น�ำพาปัญหา
หลายประการที่จังหวัดเล็กๆ แห่งน้ี ไม่เคยประสบมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นการท�ำเกษตรเชิงเด่ียวในพ้ืนท่ี
ขนาดใหญ่ การใช้สารเคมีในภาคเกษตรอย่างเข้มข้น การรุกท�ำลายป่า ส่ิงแวดล้อมเสอ่ื มโทรม
แม้ว่าการเปล่ียนแปลงทั้งหลายน้ันยากจะปิดก้ันและไม่อาจใช้เวลาฟื้นฟูกลับคืนมาได้ดังเดิมในเร็ววัน
แต่ห้วงเวลาของการรับมือกับความเปล่ียนแปลงน้ีได้กลายเป็นโอกาสของการเรียนรู้และสร้างสรรค์
องค์ความรู้ข้ึนใหม่ ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลขุดลึกลงไปที่ฐานรากของปัญหา เรียนรู้และจัดการความรู้
ด้วยความตระหนักเข้าใจถงึ เง่อื นไขทางเศรษฐกจิ สงั คมของชาวบ้านและชมุ ชน กล้าลองผิดลองถกู และ
ทดลองสร้างโมเดลความส�ำเร็จจากจดุ เลก็ ๆ ก่อนทจ่ี ะคดิ ใหญ่และขยายวงกว้างออกไป
วันน้ี งานจัดการความรู้และการเรียนรู้ของชาวน่านยังไม่สิ้นสุด แต่ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ามกลาง
ปัญหาได้ก่อเกดิ เส้นทางสายใหม่ทมี่ ่นั ใจได้ว่า อนาคตของจังหวัดจะเป็นการเตบิ โตที่มน่ั คงและย่ังยนื

278 | โหล

เราใหค้ วามรทู้ ีไ่ มต่ รง
กับความตอ้ งการของผ้เู รยี น
เราพยายามยดั เยียดความรูใ้ หเ้ ขา
เขาก็ไมไ่ ดร้ บั ไป
เพราะมันไม่มีประโยชน์

279

ส�ำหรับจังหวัดน่าน โจทย์ส�ำคัญส�ำหรับการเรียนรู้ การเรียนรู้จะเข้าไปช่วยแก้ปัญหาภูเขาหัวโล้นได้
ในปัจจบุ นั คืออะไร อยา่ งไร
ตอนนเี้ รามปี ญั หาเรอื่ งการทำ� เกษตรเชงิ เดยี่ ว มปี ญั หาเรอ่ื งภเู ขา ประเด็นเรื่องการปลูกข้าวโพดกับภูเขาหัวโล้น จริงๆ แล้วมัน
หวั โล้น ตงั้ แต่ไหนแต่ไร น่านเป็นสงั คมเกษตรกรรม ปลกู ข้าว เป็นเพียงแค่เนื้อหาเชิงปรากฏการณ์เท่านั้นเอง แต่หัวใจก็คือ
ไร่ซึ่งใช้พื้นที่ไม่เยอะ ปกตแิ ล้วครอบครวั หนงึ่ จะมี 5-6 แปลง ระบบเศรษฐกจิ ของครวั เรอื น เราต้องเข้าไปศกึ ษาว่าครัวเรือน
ปีน้ีท�ำแปลงน้ีปีต่อไปก็ย้ายไปอีกแปลงหน่ึง พอครบ 4-5 ปี เขามีความต้องการในการดำ� รงชีวิตอย่างไร จงึ จะจดั การเรียน
ก็จะวนกลับมาท่ีเดิม หรือท่ีเรียกกันว่าท�ำไร่เลื่อนลอย ที่ท�ำ รู้ในเรอ่ื งนั้นๆ ให้กับพวกเขาได้ เรยี กว่าเป็น Family-Based
อยา่ งนกี้ เ็ พราะวา่ การปลกู พชื ในทเี่ ดมิ ซำ�้ ๆ กนั จะทำ� ใหด้ นิ เสอื่ ม Learning จึงจะไปลดจำ� นวนไร่ข้าวโพดลงได้
วัชพืชข้ึนง่าย แต่ถ้าเวียนไปปลูกพืชท่ีอ่ืน ดินในแปลงเดิมจะ
เร่มิ ฟื้นตัวและมีความสมบูรณ์ระดับหนึ่ง แต่กระแสทุนท่ีนี่แรงมาก ผมอยากเปรียบเทียบให้เห็นว่า
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งอยใู่ นนโยบายชาติ อยใู่ นแผนพฒั นา
แตป่ จั จบุ นั คนนา่ นหนั มาปลกู ขา้ วโพด ซงึ่ ราคาผลผลติ ตอ่ ไรต่ ำ่� เศรษฐกจิ ฯ มาหลายสบิ ปแี ลว้ จนถงึ วนั นก้ี ย็ งั เปน็ ไปในแนวทาง
หนึง่ ไร่ได้ไม่เกิน 3,000 บาท เพราะฉะน้ันท�ำ 10 ไร่กไ็ ด้เงนิ นนั้ ไมไ่ ด้ แตเ่ รอื่ งการปลกู ขา้ วโพดนไี่ มม่ หี นว่ ยงานไหนสอนเลย
แค่ 30,000 บาท มันไม่พอ กต็ ้องท�ำ 200-300 ไร่ มีสถติ ิว่า แต่มันลามไปไวมาก ถามว่าเขาเรียนรู้มาจากไหน หนึ่งคือ
ปี 2553 น่านมีไร่ข้าวโพดประมาณ 3 แสนไร่ แต่พอปี 2558 เรยี นรู้จากพ่อค้าคนกลางทต่ี ลาด สองคอื เรยี นรู้จากเพอ่ื นบ้าน
มีถึง 1.3 ล้านไร่ คือเพิ่มข้ึนกว่าหน่ึงล้านไร่ภายใน 5 ปี อนั ท่สี ามสำ� คญั ท่สี ดุ คอื เขามแี รงจงู ใจในการเรียนรู้ เหน็ บ้าน
เดี๋ยวนี้เขาไม่ได้ถือมีดคนละด้ามไปถางป่าบุกเบิกท่ีท�ำกิน นน้ั ได้เงนิ หลายแสนเห็นบ้านน้ไี ด้รถคันใหม่
เหมือนคนสมยั ก่อน แต่บรรทกุ ยาฆ่าหญ้าใส่ถงั 200 ลิตรต่อ
กบั เครอ่ื งปม๊ั แลว้ ราดรดลงบนผนื ดนิ ไรห่ นง่ึ ตอ้ งใชย้ าฆา่ แมลง นี่คือตัวอย่างท่ีเราต้องวิเคราะห์แล้วน�ำมาเป็นต้นแบบการ
อย่างน้อย 3 ลิตร ต่อเน่ืองกัน 3 ครง้ั ลองคดิ ดูว่าพน้ื ท่ีล้านไร่ เรยี นรู้ เราจะเหน็ ได้วา่ หนง่ึ การแสวงหาความรเู้ กดิ มาจากการ
ตอ้ งใชย้ าฆา่ หญา้ มากมากแคไ่ หน แลว้ มนั ไปไหนหมด คำ� ตอบ มีแรงบันดาลใจ อย่างที่สองน่ีชัดเจนเลยว่า ถ้าอยากจะปลูก
กค็ ือไหลลงแม่นำ�้ เจ้าพระยา ข้าวโพดก็สามารถท�ำได้ง่ายๆ แค่มีทีด่ นิ ท�ำกนิ ปัจจัยการผลิต
ก็มาส่งให้ถึงบ้านเลย ทั้งเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และยาฆ่าแมลง
พอปลูกเสร็จแค่วางข้าวโพดไว้ท่ีไร่ก็มีคนมาขนไป จัดการให้

280 | โหล

เรียบร้อยคิดเงินให้เสรจ็ สรรพ โดยท่ีเขาไม่ต้องควกั เงนิ ลงทุน เงินกลับมาซื้ออาหาร ลองวิเคราะห์ดูว่า เราปลูกข้าวโพด
แต่ถ้าเขาจะเล้ียงหมูหลุมสักคอกหน่ึง ต้องคิดเองหมดเลยว่า เราซ้ือปุ๋ยซ้ือยา น่ีคือการขาดทุนคร้ังที่หนึ่ง พอเก็บเก่ียวแล้ว
จะต้องหาเงินจากไหน ซื้อพันธุ์ที่ไหน เล้ียงอย่างไร แล้วจะ เอาไปขายตอ่ ใหพ้ อ่ คา้ เราขาดทนุ แลว้ ครง้ั ทสี่ อง แลว้ เวลานำ� เงนิ
ต้องหาตลาดทไี่ หน ไปซ้ือข้าวปลาอาหารเราก็ต้องขาดทุนอีกเป็นครั้งท่ีสาม เพราะ
พอ่ คา้ ซอ้ื ขายของกต็ อ้ งเอากำ� ไร แตถ่ า้ เราหนั มาเพาะปลกู พชื ให้
หน่วยงานภาครัฐจึงควรเข้ามาท�ำเรื่องการจัดการความรู้ โดย หลากหลาย โดยเฉพาะผลิตสิ่งท่ีเราต้องกินประจ�ำ อย่างข้าว
เฉพาะเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพยี ง ชุดความรู้เรามอี ยู่แล้วแต่ทำ� ให้ พรกิ มะเขอื เราลงทุนปัจจัยการผลติ แค่ครั้งเดยี ว ไม่ต้องเสยี
เขา้ ใจงา่ ย ลงมอื ทำ� ไดง้ า่ ย และใหช้ าวบา้ นมองเหน็ วา่ ทำ� แล้วได้ เงินอกี ระหว่างทาง
ประโยชน์
วิทยาลัยชุมชนเข้ามีมาบทบาทอย่างไรในการแก้
การปลูกพืชเชิงเดี่ยวส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ปญั หาทก่ี �ำลังวกิ ฤตินี้
ครวั เรอื นอย่างไร เราเรม่ิ จากในระดบั เล็กก่อน เราได้เข้าไปศึกษาเชงิ ลึกถึงความ
ถ้าเกษตรกรปลูกข้าวโพดอย่างเดียวเป็นจ�ำนวนมากๆ หาก ต้องการของครวั เรอื น โดยมผี ู้เช่ยี วชาญด้านการทำ� การเกษตร
ผลผลติ ลน้ ราคาอาจจะตกตำ�่ ลง กไ็ ปกระทบกบั รายไดค้ รวั เรอื น มาช่วยวิเคราะห์ เช่น ควรจะปลูกพืชอะไรบ้าง พื้นท่ีที่มี
หรือหากมองในแง่ความเสี่ยงเมื่อผลผลิตชนิดน้ันราคาตก ความชนั ระดบั ตา่ งๆ เหมาะจะปลกู พชื ชนดิ ใด หรอื ระบบจดั การ
การปลูกพืชหลายชนิดนั้นก็ช่วยกระจายความเส่ียงได้ดีกว่า น�้ำควรจะเป็นอย่างไร แล้วทุกฝ่ายมาร่วมกันออกแบบแปลง
อีกอย่างหน่ึงคือสหภาพยุโรปซึ่งเป็นลูกค้าผลิตภัณฑ์อาหาร เกษตรทต่ี รงกบั ความต้องการในการดำ� รงชีวติ ของเขาจรงิ ๆ
สัตว์เริ่มตระหนกั ถงึ ปัญหาสงิ่ แวดล้อม และเพง่ิ ออกมาตรการ
ไม่รับซ้ือข้าวโพดจากที่ดินที่ไม่มีกรรมสิทธิ์หรือที่ดินจากการ วิทยาลัยชุมชนมีแนวทางในการท�ำห้องเรียนการเกษตรเพื่อให้
รุกป่า ตรงนี้ก�ำลังจะเป็นแรงกดดันต่อบริษัทท่ีรับซ้ือข้าวโพด ชาวบ้านได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ โดยให้ครอบครัว 8-15
อกี ทางหนึ่ง ครัวเรือนจัดสรรพ้ืนท่ีแปลงเล็กๆ ไว้ ซ่ึงเมื่อคิดรวมกันแล้ว
อาจจะมีประมาณ 100 ไร่ วิทยาลัยชุมชนจะเข้าไปมีบทบาท
แม้ว่าน่านเป็นจังหวัดเกษตรกรรม แต่เราต้องน�ำเข้าอาหารมา เหมอื นกับนักจดั การความรู้ เป็น Facilitator คอยจดั เนอื้ หา
จากจังหวัดอื่นๆ ท้งั เนอ้ื สตั ว์ ปลา และพืชผกั เพราะเรากลาย ให้สอดคล้องกบั สงิ่ ทพี่ วกเขาต้องการเรยี นรู้
เป็นจังหวัดผลิตข้าวโพด แล้วก็ส่งออกไป จากนั้นจึงค่อยน�ำ

281

อาจารยค์ ดิ วา่ การจดั การความรแู้ ละจดั กระบวนการ
เรียนรู้ดังกล่าวจะสามารถเปล่ียนแปลงวิถีการ
เกษตรของนา่ นใหม้ คี วามย่ังยืนได้หรือไม่
จรงิ ๆ แลว้ นอกจากการสง่ เสรมิ ความรดู้ า้ นการผลติ ยงั มปี ญั หา
อื่นๆ รออยู่อีก เราขับเคลื่อนเร่ืองเกษตรอินทรีย์หรือ
ผกั ปลอดภยั ไมค่ ่อยได้ เราเขา้ ไปสอนกล่มุ ชาวบา้ นบางหมบู่ า้ น
จนเขาเชี่ยวชาญมากเรื่องการปลูกผัก แต่สุดท้ายแล้วก็ยังมี
ปัญหาเร่อื งการตลาดและการจัดการ

ถ้าเราดเู ส้นทางอาหารว่าผลิตเสร็จแล้วไปไหน ยกตวั อย่างเช่น
กะหล�ำ่ ปลซี ง่ึ ปลูกที่น่านเยอะ พอปลูกเสร็จไม่มีการจดั การทีด่ ี
พอ่ คา้ คนกลางกจ็ ะรบั กะหลำ�่ ปลจี ากแตล่ ะดอยใสร่ ถไปทตี่ ลาด
พิษณุโลก เอาไปกองอยู่ตรงน้ัน แล้วพ่อค้าก็แบ่งเอากลับมา
ขายทน่ี า่ นอกี ครง้ั ราคากเ็ พม่ิ สงู ขน้ึ ไปอกี เปน็ ทรี่ กู้ นั วา่ นา่ นไมม่ ี
ตลาดกลางการเกษตร ดังนั้นแล้วผมคิดว่าหน่วยงานราชการ
ตั้งแต่ระดับนโยบายลงมาถึงระดับปฏิบัติ คงต้องคุยกันอย่าง
จรงิ จงั เพอ่ื ช่วยกนั แก้ปัญหาด้านการตลาดและการจดั การ เช่น
ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งตลาดกลางสินค้าเกษตรขึ้นมา
ในจงั หวัด

ในสว่ นของวทิ ยาลยั ชมุ ชน เรากำ� ลงั ทดลองทำ� เรอ่ื งตลาดสเี ขยี ว
หรือตลาดปลอดภัย คือพยายามจะสร้างตลาดขึ้นมาสักแห่ง

282 | โหล

หนงึ่ เพอื่ ให้ชาวบ้าน 60-70 ครวั เรอื นทอี่ ยู่ในโครงการของเรามี เรายังไม่รู้ว่าในอนาคตข้างหน้าจะต้องเจอกับสถานการณ์อะไร
จุดกระจายสินค้าในจังหวัดน่านและส่งออกไปยังจังหวัดอื่นๆ บ้าง แต่เรื่องพื้นฐานที่เราจ�ำเป็นต้องรู้คือเร่ืองภาษาและ
เชน่ เราไปสง่ เสรมิ ใหช้ าวบา้ นปลกู ขา่ ตะไคร้ มะกรดู พชื พวกน้ี วฒั นธรรม เพอ่ื ใหเ้ ราสอื่ สารกบั คนในประเทศรอบขา้ งไดร้ เู้ รอ่ื ง
ปลูกแล้วดนิ ไม่เสีย และสามารถเก็บผลผลติ ไว้ได้นาน เราจะ อีกประเด็นหนึง่ คอื ปัญหาแรงงาน ตอนน้เี ราอาศยั แรงงานจาก
ลองหาตลาดให้เขาประมาณสัปดาห์ละ 3,000 กิโลกรัม แล้ว ประเทศเพื่อนบ้าน แต่ในอนาคตพวกเขามีขีดความสามารถที่
วางแผนกับชุมชนว่าใครจะปลูกอะไรเป็นสัดส่วนเท่าไหร่ ถ้า จะยกระดบั ตวั เองจนกลายเป็นผปู้ ระกอบการและมบี ทบาทใน
พชื ชนิดหน่งึ ราคาลดลงกย็ งั มีชนิดอ่ืนทีย่ ังขายได้ ธุรกิจท้องถิ่นของเราได้ ดังนั้นถ้าหากเราไม่เตรียมตัวและ
ไม่วางแผนกนั ให้ดี สดุ ท้ายเราอาจจะต้องกลายไปเป็นแรงงาน
ถา้ แปลงทเ่ี ราเขา้ ไปทำ� 5-6 แปลง มสี กั แปลงหนงึ่ ทอี่ ยรู่ อดและ ให้เขาแทน
อยู่กินกับมันได้ มันก็จะเป็นการสร้างแรงบันดาลใจให้กับ
คนอื่น เรามองว่านี่คือความย่ังยืนในระดับครัวเรือนมากกว่า การรบั มือท่ีไม่ใช่เชิงรับแต่เป็นเชิงรกุ มีหรือไม่
การมองในเรื่องการหาเงิน แต่จากตรงนี้กเ็ ป็นโอกาสทช่ี าวบ้าน มีหลายเรอ่ื งทีว่ ทิ ยาลยั ชุมชนจะทำ� เช่น เรอื่ งการท่องเทีย่ วเชงิ
จะสามารถสร้างรายได้ต่อไปได้ด้วย วัฒนธรรม ซ่ึงจังหวัดน่านมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง และ
สามารถเชอ่ื มกบั การทอ่ งเทย่ี วของเพอื่ นบา้ น เชน่ สบิ สองปนั นา
นอกจากเรือ่ งการเกษตรทเี่ ป็นรากฐานของจังหวดั หลวงพระบาง และเดยี นเบยี นฟู โดยมจี ังหวัดน่านเป็นประตู
น่านแล้ว ยังมีประเด็นอะไรท่ีส�ำคัญ หรือเป็นเร่ือง การท่องเทยี่ ว
ท้าทายทก่ี �ำลังจะเกดิ ขึ้นในอนาคต
เรื่องทใี่ กล้ตัวเรามากท่ีสดุ คอื เรอื่ งอาเซยี น เพราะเราอยู่ตดิ กบั วิทยาลัยชุมชนน่านมีแผนจะเปิดหลักสูตรอนุปริญญาด้าน
ชายแดนลาว จากลาวก็สามารถเช่อื มต่อไปทีเ่ ดยี นเบียนฟขู อง การท่องเที่ยว ซึ่งพยายามจะประชาสัมพันธ์ให้มีนักศึกษา
เวยี ดนามไดไ้ มไ่ กล สว่ นชาตทิ ก่ี ำ� ลงั มบี ทบาทกบั เรามากทสี่ ดุ ก็ แลกเปล่ียนจากประเทศเพ่ือนบ้าน เพ่ือท่ีในอนาคตจะกลาย
คือจนี เพราะอยู่ห่างกันแค่ 300 กิโลเมตร เรยี กว่าเราสามารถ เป็นสายสมั พันธ์ท่ีสามารถเช่ือมโยงกนั ด้านธุรกิจท่องเทย่ี ว
ไปถึงเขาเขาสามารถมาถงึ เราได้ภายในวันเดียว

283

ไร่ข้าวโพดกับปัญหาภเู ขาหวั โลน้

จงั หวดั น่านมพี น้ื ทป่ี ่าสงวนแห่งชาตถิ ึง 16 แห่ง และเป็นต้นนำ�้
ส�ำคัญ ได้แก่แม่น้�ำยมและแม่น�ำ้ น่าน แต่ปัจจุบนั เป็นพืน้ ทีท่ มี่ ี
อตั ราการบุกรกุ ป่าเป็นอันดบั ต้นๆ ของประเทศ พนื้ ท่ีป่าสงวน
กลายสภาพเป็นป่าเส่อื มโทรมมากกว่า 1.2 ล้านไร่ โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ การบุกรุกป่าเพือ่ ท�ำเป็นไร่ข้าวโพด

ข้าวโพดเป็น 1 ใน 4 พชื เศรษฐกจิ สำ� คญั เนอื่ งจากเป็นวตั ถดุ บิ ภาพจาก รายการสามัญชนคนไทย ตอน คนไทยกินป่าเป็นอาหาร
หลักในการผลิตอาหารสัตว์ท่ีมีตลาดรองรับทั้งภายในและต่าง (30 พฤษภาคม 2558) สถานโี ทรทัศน์ Thai PBS
ประเทศ โรดแมป็ ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ถูกวางระยะเวลาไว้ 12 ปี
นบั ตงั้ แต่ปี 2557-2569 เป้าหมายกค็ อื เพมิ่ ผลผลติ ให้เพยี งพอ สนับสนุนปัจจัยการผลติ เช่น ปุ๋ยและสารเคมีจากภาคเอกชน
ต่อความต้องการของธุรกิจอาหารสัตว์ ในขณะเดียวกันก็มี เงื่อนไขเหล่าน้ีมีส่วนท�ำให้พ้ืนที่ภูเขาข้าวโพดปรากฏเด่นชัดใน
แนวทางในการลดพื้นที่การเพาะปลูกท่ีไม่เหมาะสม เพื่อให้ หลายพน้ื ที่
สอดคล้องกับความพยายามในการแก้ไขปัญหาทรัพยากร การลดพน้ื ทป่ี ลกู ขา้ วโพดในพนื้ ทส่ี งู ชนั และลดการรกุ ลำ�้ ปา่ เปน็
ธรรมชาติและทิศทางการตลาดของโลก ไม่ว่าจะเป็นปัญหา ประเด็นท่ีสังคมก�ำลังให้ความสนใจ เพราะพ้ืนที่ดังกล่าวเป็น
หมอกควัน การบุกรกุ ป่า การขาดแคลนน้ำ� และการใช้สารเคมี นิเวศที่เปราะบาง และอาจก่อให้เกิดผลกระทบทางสังคมและ
ในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา มีหลายปัจจยั ทส่ี ่งผลให้การปลกู สงิ่ แวดลอ้ มตามมาอกี หลายดา้ น อาทิ ภยั พบิ ตั ิ นำ�้ แลง้ นำ้� ทว่ ม
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพ้ืนที่สูงชันขยายตัวอย่างรวดเร็ว ท้ังแรง ดนิ ถล่ม และหมอกควัน นับตง้ั แต่ต้นปี 2559 บริษัทเอกชน
จูงใจเชงิ นโยบายได้แก่ นโยบายด้านเงนิ กู้ นโยบายทางรายได้ ในต่างประเทศซึ่งเป็นคู่ค้าที่รับซ้ือข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เริ่มมี
เช่นการรับจ�ำน�ำและประกันราคาข้าวโพด นอกจากนี้ยังมีการ แนวทางไม่รับซอื้ สนิ ค้าการเกษตรจากท่ดี นิ ท่ไี ม่มกี รรมสิทธ์ิ

ข้อมลู จาก รายการเสียงประชาชนเปล่ียนประเทศไทย: ข้าวโพด บาดแผลการพัฒนา (16 ตุลาคม 2558) สถานีโทรทัศน์ Thai PBS

284 | โหล

อยากใหอ้ าจารยช์ ว่ ยสรปุ ถงึ เงอื่ นไขหรอื สงิ่ แวดลอ้ มท่ี เรยี นรู้ แตพ่ อจดั กระบวนการเรยี นรจู้ รงิ ๆ ชาวบา้ นอาจจะบอก
สนับสนนุ ใหก้ ารเรียนรู้ประสบผลส�ำเรจ็ ว่าไม่ใช่ ที่ผ่านมาเราให้ความรู้ที่ไม่ตรงกับความต้องการของ
การเรยี นรทู้ จ่ี ะประสบผลสำ� เรจ็ มากทส่ี ดุ กค็ อื การเรยี นรทู้ ท่ี ำ� ให้ ผู้เรียน เราพยายามยัดเยียดความรู้ให้เขา เขาก็ไม่ได้รับไป
ทุกคนได้รับประโยชน์ เราต้องศึกษาว่าเนื้อหาที่เราจัดการ เพราะมนั ไม่มปี ระโยชน์กบั เขา แม้แต่การศกึ ษาตามอัธยาศยั ก็
เรียนรู้ตรงกับความต้องการของเขาจริงๆ ถ้าผู้เรียนได้มี ยงั เป็นเช่นนั้น เขาไม่ชอบส่งิ น้นั แต่กย็ งั ต้องเรียน
ส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ จะทำ� ให้เขาเกิดการยอมรบั และ อีกประการหน่ึงคือเรื่องบรรยากาศของการเรียนรู้ต้องมีความ
นำ� ผลจากการเรียนรู้ไปต่อยอดจนเกิดประโยชน์ สัมพันธ์กับเน้ือหาท่ีเรียน เช่นเรียนเรื่องการท�ำนาก็ควรจะไป
จดั กระบวนการเรยี นรใู้ นแปลงนาเลย ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใหช้ าวบา้ น
การหาความสอดคล้องระหว่างเนื้อหากับความต้องการอาจ เข้ามาเรียนในศนู ย์การเรยี นรู้แล้วเอาความรู้ไปใส่ให้เขา
ไม่ใช่เร่ืองง่าย บางครั้งเรามองว่าความรู้น้ีดี น่าจะให้เขาได้

ฌัชชภัทร พานิช ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยชุมชนน่าน เคยด�ำรงต�ำแหน่งสาธารณสุขอ�ำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน สนใจงานด้านการ
พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในชุมชนและการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเร่ิมต้นจากรากฐานครอบครัว มีผลงานวิจัยที่ส�ำคัญ ได้แก่
“การสืบทอดวัฒนธรรมการจัดการทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนไทล้ือ: กรณีศึกษา ต�ำบลงอบ อ�ำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน”

285

ทา้ ยเล่ม

สภาพแวดล้อมการเรยี นรสู้ ร้างสรรค์: สงั เคราะห์แนวคิดจากบริบทไทย

จุดประสงค์ประการหนึ่งในการจัดท�ำหนังสือเล่มน้ีคือความ แหล่งเรียนรู้/พืน้ ท่กี ารเรียนรู้
พยายามท่ีจะประมวลข้อมูลและสรุปแนวคิดเก่ียวกับสภาพ
แวดล้อมการเรียนรู้สร้างสรรค์ของสังคมไทย ส่วนหนึ่งเป็นการ ความคดิ เสรีภาพ
รวบรวมความรู้ทต่ี ่อเนือ่ งมาจากหนังสือ ‘คดิ ทนั โลก’ ซงึ่ จดั พิมพ์ สร้างสรรค์ ในการ
ไปเม่ือปีทแ่ี ล้ว อกี ส่วนหนง่ึ มาจากการอ่าน แปล และสัมภาษณ์ แสดงออก
ผู้คนในแวดวงต่างๆ อกี หลายสิบคน

โดยทว่ั ไป แนวคดิ เกยี่ วกบั สภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้ (Learning เนือ้ หาสาระ กจิ กรรม
Environment) มักเก่ียวข้องกับการพัฒนาปรับปรุงบรรยากาศ
ในชน้ั เรยี นและสงิ่ แวดลอ้ มของโรงเรยี น สว่ นอกี คำ� หนงึ่ ทม่ี ใี หเ้ หน็ ความหลากหลาย
คอื ระบบนเิ วศการเรยี นรู้ (Learning Ecosystem) มคี วามหมาย
ท่ีขยายขอบเขตมากกว่าพน้ื ที่โรงเรียน แต่ครอบคลุมไปถงึ สถาน จากรปู สภาพแวดล้อมการเรยี นรู้สร้างสรรค์ ควรมอี งค์ประกอบ
ทท่ี ำ� งาน ชมุ ชน ซงึ่ แวดล้อมด้วยทรพั ยากร ผู้คน และเทคโนโลยี ที่จำ� เป็น 6 ประการได้แก่
ซึ่งล้วนมีส่วนในการสนับสนุนให้เกิดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ท้ัง 1. แหล่งเรียนรู้หรือพื้นท่ีการเรียนรู้ ที่มีทรัพยากรหลากหลาย
แง่บวกและแง่ลบ
อย่างไรกด็ ี มโนทศั น์ของค�ำว่า “สภาพแวดล้อมการเรียนรู้” มกั และเพียงพอตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ น่ีคือมุมมอง
ถูกโน้มน�ำให้นึกถึงเพียงแค่การปรับปรุงลักษณะทางกายภาพ ในเรื่องพ้นื ที่กายภาพซ่งึ คุ้นเคยกันดี
ดังเช่นอาคารสถานที่หรือส่ิงที่จับต้องได้ ซ่ึงไม่เพียงพอในการ 2. เนื้อหาสาระ หรอื Content แบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนทีห่ นึ่ง
ทำ� ความเขา้ ใจถงึ องคป์ ระกอบทส่ี นบั สนนุ หรอื เปน็ อปุ สรรคตอ่ การ คือองค์ความรู้ของแหล่งเรียนรู้น้ันๆ และส่วนที่สองคือสื่อ
เรียนรู้สร้างสรรค์ ดังนนั้ การขยบั มมุ มองไปยังมิตเิ ชงิ วฒั นธรรม การเรียนรู้ เป็นตวั กลางทน่ี �ำองค์ความรู้ไปสู่ผู้เรยี นหรือผู้ใช้
รวมถงึ ระบบโครงสรา้ งการศกึ ษา แลว้ นำ� มาทดลองสงั เคราะห์ จงึ 3. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ในลักษณะที่เป็นทั้งโครงการ
พอจะสรุปแนวคิดเบื้องต้นว่าด้วยสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ อเี ว้นท์ และการรณรงค์ ซงึ่ ควรเน้นการสร้างประสบการณ์แก่
สร้างสรรค์ได้ ดังแผนภาพ ผู้ใช้ในลักษณะของการลงมือปฏิบัติเพ่ือสร้างความรู้ด้วย

ตนเอง และส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมการแบ่งปันความรู้หรือ การศกึ ษามบี รรยากาศเปิดกว้าง ใชอ้ ำ� นาจนอ้ ย ลดการเรยี นร้เู ชงิ
บทเรียนจากการลงมอื ท�ำไม่ว่าจะส�ำเรจ็ หรือล้มเหลว เทคนิคและการท่องจ�ำ ให้น้�ำหนักกับการสร้างทักษะการเรียนรู้
4. ความหลากหลาย หมายถึงการยอมรับในความแตกต่าง และปรับตวั ของผู้เรียนให้สามารถพัฒนาตนเองได้ ย้ายความรู้ที่
ทงั้ ความคดิ และวถิ ชี วี ติ เคารพในอตั ลกั ษณย์ อ่ ยไมใ่ หถ้ กู กลนื มีศูนย์กลางอยู่ที่ครูผู้สอนไปสู่ผู้เรียน ด้วยความเช่ือว่านักเรียน
หาย โดยไม่จำ� เป็นต้องแสวงหาความเป็นหนึ่งเดียวเสมอไป สามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตัวเอง โดยครูท�ำหน้าที่เป็นเพียง
5. ความคดิ สร้างสรรค์ โดยส่งเสริมทกั ษะการคิดวิเคราะห์ คิด ผู้กระตุ้นและคอยให้ค�ำแนะน�ำ
เชงิ ตรรกะ คดิ เป็นระบบ และความมีเหตุผล ซงึ่ เป็นพนื้ ฐาน ระบบอปุ ถมั ภแ์ ละลกั ษณะอำ� นาจนยิ มในสงั คมไทยยงั เปน็ อกี หนงึ่
การคดิ สรา้ งสรรคท์ สี่ ามารถใชแ้ กไ้ ขปญั หาหรอื กระทง่ั ตอ่ ยอด ปัจจัยท่ีบ่ันทอนการคิดวิเคราะห์และคิดสร้างสรรค์อย่างร้ายแรง
จนเกดิ นวัตกรรม ทำ� ใหร้ ากฐานการวจิ ารณอ์ อ่ นแอ ขาดนสิ ยั การใชเ้ หตผุ ล หลกั การ
6. เสรีภาพในการแสดงออกท้ังการคิดการเขียนและการพูด ไมห่ นกั แนน่ คนไมเ่ หน็ ความจำ� เปน็ ของความรแู้ ละความสามารถ
โดยตระหนักถึงความรับผิดชอบในการใช้เสรีภาพท่ีจะต้อง ในการคิดเป็น ยอมรับความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจ เน้นอยู่ในพื้นท่ี
ไม่กระทบสทิ ธิเสรภี าพของผู้อนื่ หรือคนส่วนใหญ่ ปลอดภยั ภายใตก้ ารอปุ ถมั ภข์ องผมู้ อี ำ� นาจเหนอื กวา่ ไมก่ ลา้ แสดง
อุปสรรคของการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้สร้างสรรค์ใน ความคิดเหน็ และลงมือท�ำเพราะกลัวถกู ตำ� หนิหรอื กลวั ล้มเหลว
สังคมไทยน้ันดูเหมือนว่าจะไม่ได้อยู่ที่องค์ประกอบสามประการ ทางออกของปัญหาและอุปสรรคดังข้างต้นปรากฏอยู่ในหนังสือ
แรก (แนน่ อนวา่ มใิ ชห่ มายความวา่ องคป์ ระกอบเหลา่ นไ้ี มม่ ปี ญั หา เล่มนี้แล้ว บางประเด็นอาจไม่ได้ชี้ให้เห็นอย่างตรงไปตรงมา
ในเชงิ คณุ ภาพ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ปญั หาในการจดั การความรเู้ พอื่ แต่ได้สะท้อนอย่างชดั เจนแล้วว่าอะไรคอื ต้นตอของปัญหา
สร้างต้นแบบหรือแนวปฏิบัติท่ีดี การเข้าถึง และผลกระทบทาง บทสังเคราะห์นี้อาจเป็นข้อสรุปที่ออกจะรวบรัดและมองโลก
สังคม) แต่อยู่ท่ีองค์ประกอบสามประการหลังซ่ึงอาจเรียก ในแง่ร้าย และเป็นไปได้ว่าอาจยังไม่ครอบคลุมรอบด้าน หรือ
รวมกนั ไปว่า ‘บรบิ ททสี่ ่งเสริมการเรยี นรู้สร้างสรรค์’ แม้กระท่ังอาจไม่ใช่เร่อื งใหม่ท่ไี ม่มใี ครเคยรู้
ปญั หาระดบั รากฐานทส่ี ดุ คอื สงั คมไทยขาดการสง่ เสรมิ ใหค้ นรจู้ กั แต่ใช่หรอื ไม่ว่าทง้ั ๆ ทีร่ ู้ เราต่างกป็ ล่อยปละละเลยปัญหาเหล่านี้
คิดวิเคราะห์คดิ เป็นระบบและคิดอย่างมีเหตุผล หรอื ท่พี ดู กนั จน มานานจนเกินไปแล้ว
แทบจะเป็นทีย่ อมรับกันไปแล้วว่าเด็ก (นักเรียน) ไทยคิดไม่เป็น
ซึ่งทักษะการคิดดังกล่าวจะฝึกฝนเรียนรู้กันได้ก็ต่อเม่ือระบบ

ท่ีมา : http://2.bp.blogspot.com

คา่ นยิ ม 12 ประการ

หนึ่งรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ สองซ่ิอื สัตย์ เสียสละ อดทนได้
สามกตญั ญู พ่อแม่ สดุ หวั ใจ สีม่ ุ่งใฝ่ เล่าเรยี น เพียรวชิ า
ห้ารักษา วฒั นธรรม ประจ�ำชาติ หกไม่ขาด ศลี ธรรม ศาสนา

เจด็ เรียนรู้ อธิปไตย ของประชา แปดรกั ษา วินยั กฎหมายไทย
เก้าปฏบิ ตั ิ ตามพระ ราชดำ� รัส สบิ ไม่ขาด พอเพยี ง เลี้ยงชีพได้
สิบเอด็ ต้อง เข้มแขง็ ท้ังกายใจ สิบสองไซร้ คิดอะไร ให้ส่วนรวม


Click to View FlipBook Version