The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ 1-64 ม ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-04-19 05:20:34

แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ 1-64 ม ปลาย

แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ 1-64 ม ปลาย

1.4 ใหผ้ ูเ้ รยี นศกึ ษาความรทู้ ่วั ไปเกยี่ วกับการปฐมพยาบาล จากหนังสือเรยี น
1.5. ผู้เรียนและครรู ว่ มกนั อภปิ รายเก่ียวกับหลักสำคญั ของการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้

94

ขั้นที่ 2 การแสวงหาขอ้ มูล และการจัดการเรยี นรู้ (N : New ways of learning)

2.1 ครูถามผู้เรยี นว่า มีใครเคยโดนผงึ้ ต่อยบ้าง แล้วทำอย่างไรหลงั จากถกู ผึ้งตอ่ ย

2.2 ครูอธิบายการปฐมพยาบาลเม่ือถูกสัตวม์ ีพษิ ต่อยหรอื กัด โดยเรียกอาสาสมัครออกมาสาธิต

วิธีการปฐมพยาบาลตามท่ีครอู ธิบาย

2.3 ครแู บ่งผเู้ รยี นเป็น 5 กลุ่ม กลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั แล้วให้แต่ละกลุ่มฝึกการปฐมพยาบาล โดย

ใช้อปุ กรณท์ ี่ครเู ตรยี มไวใ้ ห้

1. วิธีการปฐมพยาบาลผถู้ กู ไฟไหม้
2. วิธกี ารปฐมพยาบาลผูถ้ ูกน้ำรอ้ นลวก
๓. วธิ กี ารปฐมพยาบาลผ้ถู ูกไฟฟา้ ช็อต
๔. วิธีการปฐมพยาบาลผถู้ กู สัตวม์ พี ษิ กดั ตอ่ ย
5. วิธกี ารปฐมพยาบาลผถู้ ูกสารพษิ ควนั พิษ
2.4 ครูให้แต่ละกล่มุ ออกมาสาธติ การปฐมพยาบาล ครแู ละเพอื่ นชว่ ยกันสังเกตความถูก
ตอ้ ง และคอยแนะนำวธิ ีทีถ่ กู
2.5 ครถู ามผู้เรียนวา่ ถา้ ไม่มีอุปกรณท์ ค่ี รเู ตรยี มมา ผู้เรียนสามารถใช้อะไรทดแทนได้
2.6 ครูและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรุปเรื่อง การปฐมพยาบาลเมื่อถกู สัตว์มพี ิษตอ่ ยหรือกัด

ขัน้ ที่ 3 การปฏิบตั ิและนำไปประยุกตใ์ ช้ (I : Implementation)
3.1 ผู้เรียนร่วมกันสรุปการนำความรู้ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มนำไป

ประยกุ ต์ใชใ้ นการดำรงชวี ติ ประจำวัน

ขั้นท่ี 4 การประเมินผล (E : Evaluation)

4.1 ครูและผู้เรยี นประเมนิ ผลจากแบบทดสอบ
4.2 ครแู ละผเู้ รยี นร่วมกนั ประเมินงานจากการทำใบงาน
4.3 ครูผูส้ อนประเมินผลการเรียนรจู้ ากการนำเสนอโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่

6. สอื่ การเรยี นรู้
1. ใบงาน
2. ใบความรู้
3. แบบฝกึ หัด
4. วิดิทศั น์

5. หนงั สอื เรียนวชิ าการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น

95

7. การวัดและการประเมินผล
๑. ใบงาน
๒. แบบบนั ทึกการเรียนรู้

๓. แบบฝกึ ปฏิบัติ

...............................................ผู้จัดทำแผน
(นางพมิ ลธยา แก้วแดง)
ครู กศน.ตำบลบา้ นหม้อ

วันท่ี ๓ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕6๔

ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะของผบู้ งั คบั บญั ชากอ่ นนำแผนการสอนไปใช้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ……………..………………………

(นางสาวดนยา แยม้ ภู่)
ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอเมืองเพชรบรุ ี

วนั ที่ ๓ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕6๔

96

ใบงาน

ชอื่ -นามสกลุ ....................................................รหสั ประจำตวั ......................................ระดบั ......................

คำชแ้ี จง ให้ผู้เรียนอธบิ ายวิธกี ารการปฐมพยาบาล ในหัวข้อทกี่ ำหนด โดยเลือกตอบมา 2 ข้อ

1. ผูถ้ กู ไฟไหม้
2. ผู้ถกู นำ้ ร้อนลวก
๓. ไฟฟา้ ช็อต
๔. สตั วม์ ีพิษกัดต่อย
5. สารพษิ ควันพษิ

..................................................................................................................................... .....................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
....................................................................................................................................... ...................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
......................................................................................................................................... .................................
.................................................................................................. ........................................................................
............................................................................................................................. .............................................
........................................................................................................................................... ...............................

........................................

..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................

........................................

97

เฉลย

การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล หมายถงึ การใหค้ วามช่วยเหลอื ผปู้ ว่ ยหรอื ผูบ้ าดเจบ็ ณ สถานทเี่ กดิ เหตุ โดยใช้อปุ กรณ์

เทา่ ท่จี ะหาได้ในขณะนัน้ ก่อนท่ผี ู้บาดเจ็บจะไดร้ ับการดแู ลรักษาจากบุคลากรทางการแพทย์ หรอื ส่งตอ่ ไปยังโรงพยาบาล

การปฐมพยาบาลมีวัตถปุ ระสงค์ทส่ี ำคญั คือ
1. เพ่อื ชว่ ยชีวิต
2. เพอ่ื เปน็ การลดความรุนแรงของการบาดเจบ็ หรือการเจ็บป่วย
3. เพื่อทำใหบ้ รรเทาความเจ็บปวดทรมาน และชว่ ยใหก้ ลบั สู่สภาพเดมิ โดยเร็ว
4. เพอื่ ป้องกนั ความพกิ ารท่จี ะเกิดขน้ึ ตามมาภายหลงั การปฐมพยาบาลแบบต่าง ๆ

การปฐมพยาบาลเมอื่ มแี มลงและสตั ว์มีพษิ กดั ต่อย
1. แมลง

แมลงหลายชนิดมเี หลก็ ใน เชน่ ผึ้ง ตอ่ แตน เป็นตน้ เมอื่ ตอ่ ยแล้วมักจะทิง้ เหล็กในไว้ ภายในเหลก็ ในจะมพี ิษของ
แมลงพวกนี้มักมีฤทธ์ทิ ีเ่ ปน็ กรด บริเวณท่ถี กู ตอ่ ยจะบวมแดง คนั และปวด อาการปวดจะมากหรือนอ้ ยข้ึนอยู่กับบรเิ วณท่ีต่อย
และสภาพร่างกายของแต่ละบคุ คล

วิธปี ฐมพยาบาล
1. พยายามเอาเหล็กในออกใหห้ มด โดยใชว้ ัตถทุ ม่ี ีรู เช่น ลูกกญุ แจ กดลงไปตรงรอยทถี่ ูกต่อย เหลก็ ในจะโผลข่ นึ้ มา
ใหค้ บี ออกได้

2.ใชผ้ ้าชุบน้ำยาทฤี่ ทธ์ิดา่ งอ่อน เชน่ นำ้ แอมโมเนีย นำ้ โซดาไบคาบอร์เนต น้ำปูนใส ทาบริเวณแผลให้ทว่ั เพอื่ ฆา่
ฤทธ์ิกรดท่คี ้างอยู่ในแผล

3. อาจมนี ้ำแข็งประคบบริเวณทถี่ กู ต่อยถา้ แผลบวมมาก
4. ถา้ มีอาการปวดใหร้ บั ประทานยาแกป้ วด ถ้าคันหรอื ผวิ หนงั มีผ่ืนขึน้ ใหร้ ับประทานยาแกแ้ พ้
5. ถา้ อาการไม่ทเุ ลาลง ควรไปพบแพทย์
2. แมงป่องหรือตะขาบ
ผ้ทู ถี่ กู แมงปอ่ งต่อยหรอื ตะขาบกัด จะมีอาการเจ็บปวดมากกวา่ แมลงชนิดอ่ืน เพราะแมงป่องและตะขาบมพี ษิ
มากกวา่ บางคนทแ่ี พ้สตั ว์ประเภทน้ีอาจมอี าการปวดและบวมมาก มีไขส้ งู คลื่นไส้ บางคนมอี าการเกร็งของกลา้ มเนื้อและมี
อาการชักด้วย
วิธีปฐมพยาบาล
1. ใชส้ ายรัดหรือขันชะเนาะเหนือบรเิ วณเหนอื บาดแผล เพอ่ื ปอ้ งกันไมใ่ ห้พษิ แพร่กระจายออกไป
2. พยายามทำใหเ้ ลือดไหลออกจากบาดแผลใหม้ ากทส่ี ดุ อาจทำได้หลายวธิ ี เช่น เอามอื บบี เอาวัตถทุ มี่ รี ูกดใหแ้ ผลอยู่
ตรงกลางรพู อดี เลอื ดจะไดพ้ าเอาพษิ ออกมาดว้ ย
3. ใช้แอมโมเนียหอมหรอื ทงิ เจอรไ์ อโอดี 2.5% ทาบริเวณแผลใหท้ วั่
4. ถ้ามอี าการบวม อกั เสบและปวดมาก ใชก้ ้อนน้ำแข็งประคบบริเวณแผล เพอ่ื ชว่ ยบรรเทาความเจ็บปวดด้วย
5. ถา้ อาการยังไมท่ เุ ลาลง ตอ้ งรบี นำส่งแพทย์

98

3. แมงกะพรุนไฟ
แมงกะพรุนไฟเปน็ สัตว์ทะเลชนดิ หน่งึ ซงึ่ มสี ารพิษอยทู่ ห่ี นวดของมัน แมงกะพรนุ ไฟมสี ีนำ้ ตาล เมอ่ื คนไปสัมผสั ตวั

มันจะปล่อยพษิ ออกมาถูกผิวหนงั ทำให้ปวดแสบปวดรอ้ นมาก ผวิ หนงั จะเปน็ ผื่นไหม้ บวมพองและแตกออก แผลจะหาย
ชา้ ถ้าถูกพิษมากๆ จะมีอาการรนุ แรงถงึ กบั เป็นลมหมดสตแิ ละอาจถงึ ตายได้

วธิ กี ารปฐมพยาบาล
1. ใชผ้ ้าเช็ดตวั หรอื ทรายขดั ถบู รเิ วณทถี่ ูกพษิ แมงกะพรนุ ไฟ เพื่อเอาพษิ ทค่ี า้ งอย่อู อกหรอื ใช้ผักบ้งุ ทะเลซ่งึ หางา่ ย
และมอี ยูบ่ ริเวณชายทะเล โดยนำมาลา้ งให้สะอาด ตำปดิ บรเิ วณแผลไว้

2. ใช้น้ำยาที่มฤี ทธเิ์ ป็นดา่ งเช่น แอมโมเนียหรือน้ำปนู ใส ชุบสำลปี ดิ บรเิ วณผวิ หนงั ส่วนน้นั นานๆ เพ่อื ฆา่ ฤทธ์ิกรด
จากพษิ ของแมงกะพรนุ

3. ให้รบั ประทานยาแกป้ วด
4. ถา้ อาการยงั ไมท่ ุเลาลง ให้รีบนำสง่ แพทยโ์ ดยเรว็
4. งู
ประเทศไทยมีงูหลายชนดิ มีทงั้ งพู ิษและงูไม่มีพิษ งพู ษิ รา้ ยแรงมอี ยู่ 7 ชนิด คือ งูเหา่ งจู งอาง งแู มวเซา งกู ะปะ งู
สามเหลี่ยม งูเขียวหางไหม้ และงทู ะเล พษิ ของงมู ลี กั ษณะเปน็ สารพษิ งแู ตล่ ะชนดิ มลี กั ษณะของสารไมเ่ หมอื นกัน เมือ่ สารพิษน้ี

เข้าไปส่รู า่ งกายแล้วสามารถซมึ ผ่านเข้าไปในกระแสเลอื ดทีไ่ ปเล้ียงตามส่วนตา่ งๆ เกิดขนึ้ ในร่างกายไมเ่ หมอื นกัน ซ่ึงสามารถ
แบ่งลักษณะงูพิษได้ 3 ประเภท

ลักษณะบาดแผลทีถ่ ูกงพู ิษและงไู ม่มพี ษิ กัด
งูพษิ มีเข้ยี วยาว 2 เขย้ี ว อยู่ด้านหน้าของขากรรไกรบนมลี ักษณะเป็นท่อปลายแหลมเหมอื นเขม็ ฉดี ยา มีท่อตอ่ มน้ำ

พิษท่โี คนเข้ียว เม่ืองกู ัดพษิ งจู ะไหลเข้าสู่รา่ งกายทางรอยเขย้ี ว
สว่ นงูไมม่ พี ิษจะไม่มเี ข้ยี ว มแี ต่ฟนั ธรรมดาแหลมๆ เลก็ ๆ เวลากัดจงึ ไม่มีรอยเขยี้ ว
วิธปี ฐมพยาบาล
เมอื่ แน่ใจวา่ ถูกงกู ดั ใหท้ ำการปฐมพยาบาลอย่างสขุ มุ รอบคอบรดั กมุ อย่าตกใจ ใหร้ บี สอบถามลักษณะงทู ี่กัด

จากผปู้ ่วยและรีบทำการปฐมพยาบาลตามลำดับ ดังน้ี
1. ใช้เชอื ก สายยาง สายรัด หรอื ผ้าผืนเลก็ ๆ รัดเหนอื แผลประมาณ 5-10 เซนตเิ มตร โดยให้บริเวณท่ีถกู รัดอยู่ระหวา่ ง

แผลกับหวั ใจ รดั ใหแ้ นน่ พอสมควร แต่อยา่ ใหแ้ น่นจนเกนิ ไป พอใหน้ ิ้วก้อยสอดเขา้ ได้ เพอื่ ปอ้ งกันไมใ่ หพ้ ษิ งเู ขา้ สหู่ ัวใจโดย
รวดเร็ว และควรคลายสายที่รัดไว้ ควรใช้สายรัดอกี เสน้ หนง่ึ รดั เหนอื อวัยวะท่ถี ูกงกู ดั ข้นึ ไปอีกเปลาะหนงึ่ เหนอื รอยรดั เดมิ
เลก็ นอ้ ยจงึ ค่อยคลายผ้าท่รี ัดไวเ้ ดิมออก ทำเชน่ นี้ไปจนกว่าจะได้ฉดี ยาเซรมุ่

2. ล้างบาดแผลดว้ ยน้ำด่างทับทมิ แก่ๆ หลายๆ ครง้ั และใช้นำ้ แขง็ หรอื ถุงนำ้ แขง็ ประคบหรือวางไว้บนบาดแผล พษิ งู
จะกระจายเขา้ สรู่ า่ งกายได้ชา้ ลง

3. ให้ผูป้ ่วยนอนอยใู่ นท่าท่บี าดแผลงพู ิษกัดอย่ตู ่ำกว่าระดับหวั ใจ นอนอยูน่ ิ่งๆ เคลอื่ นไหวร่างกายให้น้อยที่สุด เพอ่ื
ไม่ให้พิษงกู ระจายไปตามรา่ งกาย และควรปลอบใจใหผ้ ้ปู ว่ ยสบายใจ

4. ไม่ควรใหผ้ ปู้ ว่ ยเสพของมนึ เมา เช่น กญั ชา สุรา น้ำชา กาแฟ เพราะจะทำให้หวั ใจเตน้ แรง อาจทำใหพ้ ิษงกู ระจาย
ไปทัว่ รา่ งกายเรว็ ขึ้น

5. รีบนำผปู้ ่วยสง่ โรงพยาบาลที่ใกล้ท่ีสุด ถ้านำงูที่กดั ไปดว้ ยหรอื บอกชือ่ งทู ี่กัดได้ด้วยยิ่งดี เพราะจะทำให้ เลือกเซรุ่ม
แกพ้ ิษงูได้ตรงตามพษิ งทู ีก่ ัดไดง้ ่ายยิง่ ขน้ึ

การปอ้ งกันงูพษิ กัด
1. ถา้ ตอ้ งออกจากบา้ นเวลากลางคืนหรอื ตอ้ งเดินทางเข้าไปในปา่ หรอื ทุ่งหญา้ หรอื ในท่ีรก ควรสวมรองเทา้ หุ้มสน้ หรอื
รองเทา้ ห้มุ ขอ้ และสวมกางเกงขายาว
2. ควรหลีกเลี่ยงการเดนิ ทางไปในท่รี กเวลากลางคนื หรอื เดนิ ทางไปในเส้นทางทีน่ า่ จะเปน็ ทอี่ ยู่อาศยั หรอื ทีห่ ากินของ
งู ถา้ จำเป็นควรมไี ฟสอ่ งทางและควรใช้ไมแ้ กวง่ ไปมาใหม้ เี สียงดงั ด้วย แสงสวา่ งหรือเสยี งดังจะทำใหง้ ตู กใจหนไี ปทอี่ น่ื
3. หากจำเปน็ ตอ้ งเดินทางไปในทมี่ งี ชู ุกชมุ หรือเดินทางไปในท่ีซงึ่ มีโอกาสได้รบั อนั ตรายจากงูกัด ควรระมัดระวังเปน็
พิเศษและควรเตรียมอปุ กรณป์ ฐมพยาบาลติดมอื ไปดว้ ย
4. เวลาที่งอู อกหากนิ คอื เวลาทพ่ี ลบคำ่ และเวลาท่ีฝนตกปรอยๆ ท่ชี นื้ แฉะ งชู อบออกหากนิ กบและเขยี ด ในเวลาและ
สถานที่ดังกลา่ ว ควรระมัดระวงั เป็นพเิ ศษ
5. ไมค่ วรหยิบของหรือยืน่ มอื เข้าไปในโพรงไม้ ในรู ในท่รี ก กอหญ้า หรือกองไม้ เพราะงพู ษิ อาจอาศัยอยู่ในท่นี นั้

การปฐมพยาบาลผู้ปว่ ยเป็นลม
การเป็นลมแดด
สาเหตุ เกิดจากสมองมเี ลอื ดไปเลย้ี งมากเกนิ ไป ซึ่งอาจเนื่องมาจากอยู่กลางแดดนานเกนิ ไปหรือดม่ื สุราขณะทีอ่ ากาศ

ร้อนจัด เปน็ ต้น
อาการ ใบหน้าและนยั น์ตาแดง เวยี นศรี ษะ คลืน่ ไส้ อาเจียน กระหายน้ำ หายใจถ่ี ชีพจรเตน้ เร็วและเบา ผิวหนงั และ

ใบหนา้ แหง้ ตวั รอ้ น ถา้ เปน็ มากอาจจะมอี าการชกั และหมดสตไิ ด้

วิธีการปฐมพยาบาล
1. รบี นำผู้ปว่ ยเขา้ ในรม่ ทใ่ี กลท้ ี่สุด
2. ให้ผปู้ ว่ ยนอนหงายแลว้ ยกศรี ษะใหส้ งู กว่าลำตวั
3. อย่าให้แอมโมเนยี หรือยากระตนุ้ หวั ใจ เพราะจะกระตนุ้ ใหเ้ ลือดไปเลีย้ งสมองมากข้นึ
4. ขยายเสอื้ ผ้าของผูป้ ่วยใหห้ ลวม เพอื่ ใหเ้ ลอื ดหมนุ เวยี นได้สะดวก
5. เมื่อผู้ปว่ ยร้สู ึกตัวแลว้ และรา่ งกายเย็นมาก ใหเ้ อาผา้ ห่อคลมุ ตวั ใหอ้ บอุ่นและหาเคร่ืองดมื่ รอ้ นๆ ใหด้ ่มื เพอื่ ให้ความ
อบอุ่นร่างกาย
6. ถา้ ผู้ป่วยยังไม่รู้สกึ ตวั ให้รีบนำสง่ โรงพยาบาลโดยเร็ว
การปฐมพยาบาลผ้ไู ดร้ บั บาดแผล
เมื่อสว่ นหน่ึงสว่ นใดของรา่ งกายถกู ของมีคมหรือถกู กระแทกอาจจะทำใหผ้ วิ หนังหรือเนอื้ เย่อื บรเิ วณนัน้ ๆ ชำ้ หรือ
ฉีกขาดเปน็ บาดแผลขึน้ กบั ตำแหน่งบาดแผล และความรุนแรงของแรงกระแทกทีม่ ถี งึ อวยั วะภายใน รวมทงั้ ชนดิ ของเช้ือโรค
ทเี่ ข้าสู่บาดแผล ดังนัน้ เม่อื เกดิ บาดแผลข้ึนตอ้ งรีบปฐมพยาบาล เพื่อลดอาการเจบ็ ปวดและปอ้ งกันไม่ให้แผลตดิ เชือ้
การปฐมพยาบาลผไู้ ดร้ ับบาดแผลหรือการทำแผลขน้ึ อยกู่ ับลกั ษณะของบาดแผล ซงึ่ แบง่ ได้เป็น 2 ประเภท
ใหญ่ๆ คอื บาดแผลฟกช้ำและบาดแผลแยก
1. แผลฟกช้ำ บาดแผลฟกชำ้ หรือบาดแผลเปิด เปน็ บาดแผลท่ีไมม่ ีร่องรอยของผวิ หนัง แตม่ ีการฉีกขาดของเนอ้ื เยอื่ และ
หลอดเลอื ดบรเิ วณท่ีอย่ใู ต้ผวิ หนงั สว่ นนั้น มกั เกดิ จากแรงกระแทกของแข็งท่ไี มม่ คี ม เชน่ ถูกชน หกล้ม เปน็ ต้น ทำใหเ้ ห็นเป็น
รอยฟกชำ้ บวมแดงหรอื เขยี ว
การปฐมพยาบาล
1. ใหป้ ระคบบริเวณนน้ั ดว้ ยความเย็น เพราะความเย็นจะชว่ ยใหเ้ ลอื ดใตผ้ ิวหนงั บรเิ วณนัน้ ออกน้อยลง โดยใชผ้ ้า
ชบุ น้ำเยน็ ประคบหรือใชผ้ า้ หอ่ น้ำแขง็ ประคบเบาๆ ก็ได้
2. ถา้ บาดแผลฟกช้ำเกิดขึ้นกบั อวัยวะท่ีต้องมกี ารเคลอื่ นไหวอยูเ่ สมอ เช่น ข้อมือ ขอ้ เทา้ ขอ้ ศอก เป็นตน้ ให้ใช้
ผา้ พันแผลชนดิ เป็นม้วนที่ยืดหยุ่นไดพ้ นั รอบข้อเหล่านนั้ ให้แนน่ พอสมควร เพือ่ ชว่ ยใหอ้ วยั วะทม่ี บี าดแผลอยนู่ ่งิ ๆ และพยายาม
อยา่ งเคล่ือนไหวผา่ นบริเวณน้นั เพราะจะทำให้รอยชำ้ คอ่ ยๆ จางหายไป
2. แผลแยก
บาดแผลแยกหรอื บาดแผลเปดิ เปน็ บาดแผลท่ีเกดิ จากการฉกี ขาดของผวิ หนงั หรอื เนอ้ื เยอื่ จากการถกู ของมีคม
บาด แทง กรีด หรอื ถกู วัตถกุ ระแทกแรงจนเกิดบาดแผล มองเห็นมีเลอื ดไหลออกมา บาดแผลแยกมลี กั ษณะแตกต่างกัน แบ่งได้
เป็น 4 ชนิด ดังนี้
2.1 แผลถลอก

เกิดจากผวิ หนังถูกของแขง็ หรือของมคี ม ขดู ขดี ขว่ น หรอื ครดู มกั เปน็ บาดแผลต้ืน มีเลอื ดไหลซึมๆ เชน่ หกล้มหัว
เขา่ ถลอก ถูกเล็บขว่ น เปน็ ตน้

การปฐมพยาบาลแผลถลอก
1. ให้ชำระลา้ งบาดแผลด้วยนำ้ สบู่และน้ำสะอาด ถ้ามีเศษหิน ข้ีผง ทราย อยู่ในบาดแผลใหใ้ ชน้ ้ำสะอาดลา้ งออกให้
หมด
2. ใชป้ ากคีบสำลชี ุบแอลกอฮอล์ 70% พอหมาดๆ เช็ดรอบๆ บาดแผลเพอื่ ฆ่าเช้อื โรครอบๆ (ไมค่ วรเชด็ ลงบาดแผล
โดยตรง เพราะจะทำให้เจบ็ แสบมาก เน่อื งจากยังเปน็ แผลสด)
3. ใช้สำลชี บุ ยาแดงหรอื ทงิ เจอรใ์ สแ่ ผลสด (สสี ม้ ๆ) ทาลงบาดแผล แล้วปลอ่ ยท้ิงไวโ้ ดยไม่ต้องปิดบาดแผล ยกเวน้
บาดแผลทเี่ ท้าซ่งึ ควรปิดด้วยผา้ กอซสะอาด เพอื่ ปอ้ งกันฝุ่นละออง
4. ระวังอย่าใหบ้ าดแผลถกู นำ้
5. ไมค่ วรแกะหรอื เกาบาดแผลที่แห้งตกสะเกด็ แล้ว เพราะทำใหเ้ ลอื ดไหลอีก สะเก็ดแผลเหลา่ นัน้ จะแห้งและหลดุ ออก
เอง
2.2 แผลตดั
เกดิ จากถูกของมีคมบาดลกึ เข้าไปในเน้ือเยอื่ ใตผ้ วิ หนัง เชน่ มดี บาด กระจกบาด ฝากระป๋อง เปน็ ต้น อาจเปน็
บาดแผลต้นื ๆ หรอื บาดแผลตดั ลกึ ก็ได้ ซ่ึงถา้ ถูกเส้นเลอื ดใหญ่จะมีเลอื ดไหลออกมา
การปฐมพยาบาลเมอื่ มแี ผลตดั
1. ถ้าบาดแผลตดั เปน็ บาดแผลต้ืน ควรหา้ มเลอื ดโดยใช้น้ิวสะอาดหรือผ้าจดบนบาดแผลจนเลือดหยดุ ไหล
2. เมื่อเลอื ดหยุดไหลแล้วให้ลา้ งแผลด้วยนำ้ สะอาด แล้วใสย่ าแดงหรอื ทงิ เจอรใ์ สแ่ ผลสด
3. รวบขอบบาดแผลทีต่ ัดเข้าหากนั แลว้ ปดิ ด้วยปลาสเตอร์
4. ระวังอย่าใหแ้ ผลถกู นำ้ 2-3 วนั รอยแยกของแผลตดั จะตดิ กันสนิท
5. ในกรณที แี่ ผลลึกและยาวซ่ึงตอ้ งเยบ็ แผล ควรหา้ มเลอื ดแลว้ ปิดแผลดว้ ยผา้ สะอาด แลว้ รีบนำผู้บาดเจบ็ สง่ แพทย์
2.3 แผลฉีกขาด
เกดิ จากถูกของแขง็ กระแทกอยา่ งแรงทำใหเ้ น้อื เยอื่ และผิวหนงั ฉกี ขาด ขอบแผลจะเป็นรอยกะรุ่งกะริ่ง บางตอน
ตืน้ บางตอนลึก ไม่เรียบเสมอกันและจะมีเลือดออกมาก เช่น แผลถูกรถชน แผลถูกระเบดิ แผลถูกสนุ ัขกัดกระชาก เป็นตน้ แผล
ชนดิ น้มี เี น้ือเยอ่ื ถกู ทำลายมากกว่าแผลตดั บาดแผลมักกวา้ ง เชอื้ โรคเขา้ สูบ่ าดแผลไดง้ ่าย

101

การปฐมพยาบาลเม่ือมแี ผลฉีกขาด
1. บาดแผลฉกี ขาดทมี่ เี ลอื ดไหลออกมาก ควรรบี ห้ามเลือดโดยเรว็ โดยใช้ผ้าสะอาดท่มี ีความนุ่มและหนาพอสมควร

กดลงบนบาดแผล หากเลือดยังไมห่ ยุดไหลแสดงวา่ เสน้ เลือดใหญ่ฉกี ขาด ควรหา้ มเลอื ดโดยวิธกี ารกดเสน้ เลอื ดแดงใหญ่
บริเวณน้ันรว่ มกบั การใช้ผ้ากดห้ามเลอื ด

2. เมื่อเลอื ดหยดุ ไหลแล้ว ให้ทำความสะอาดบรเิ วณรอบๆแผลด้วยน้ำสะอาด แลว้ ปดิ แผลดว้ ยผา้ กอซ แล้วใช้
ปลาสเตอรห์ รอื ผ้าพนั แผลพันรอบใหแ้ น่นพอสมควร

3. นำผ้ปู ่วยสง่ โรงพยาบาล เพอ่ื ใหต้ กแต่งบาดแผลดว้ ยวธิ ีท่ีถกู ตอ้ งต่อไป
2.4 แผลถูกแทงหรือยงิ

เกิดจากการถูกของแขง็ ทิม่ แทงทะลุเขา้ ไปใตผ้ วิ หนัง ขนาดของแผลมกั เล็กแตล่ ึก มเี ลือดออกมาภายนอกไม่มาก แตม่ ี
เลอื ดตกภายใน เพราะอวัยวะภายในบางสว่ นอาจฉีกขาดจากการถกู แทงหรอื ยิง บางครง้ั อาจเสียชีวติ ได้ เชน่ ถกู มดี แทงถูก
ตะปตู ำ ถูกยงิ ด้วยกระสนุ ปืน เปน็ ต้น

การปฐมพยาบาลเมือ่ มบี าดแผลถูกแทงหรือยงิ
1. แผลถกู แทงหรือยงิ ส่วนใหญเ่ ปน็ บาดแผลฉกรรจ์และอนั ตรายมากควรนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
2. ระหวา่ งทาง ควรชว่ ยห้ามเลือดที่ไหลออกมาภายนอกโดยใช้ผ้าสะอาดกดบนแผล ส่วนเลอื ดท่ีออกภายในซ่งึ เรา
มองไม่เห็นน้นั อาจใช้ผ้าหอ่ นำ้ แข็งประคบรอบๆ แผลเพราะความเย็นจะชว่ ยใหเ้ ลือดไหลชา้ ลง
3. สงั เกตอาการผปู้ ่วย ถา้ พบว่าหยุดหายใจหรือหายใจแผว่ ให้ผายปอดทนั ที หรือหวั ใจหยดุ เตน้ หรอื แผ่วเบา ให้รบี
นวดหัวใจร่วมกบั การผายปอด
แผลถกู ไฟไหม้ หมายถงึ แผลทผี่ วิ หนังหรือเนอ้ื ถกู ทำลายเนอื่ งจากถูกความร้อน ซ่ึงอาจเกดิ จากไฟหรอื กระแสไฟฟา้ ทงั้ นี้
รวมถึงการถกู สารเคมวี ัตถจุ ำพวกกรดและดา่ งด้วย
แผลถกู นำ้ รอ้ นลวก หมายถงึ แผลทผ่ี ิวหนังหรอื เนื้อเยอื่ ตา่ งๆ ถูกทำลายเน่ืองจากถูกความรอ้ นจากส่งิ ต่างๆ เช่น นำ้ เดอื ด
ไอนำ้ หรอื นำ้ มันร้อนๆ เป็นตน้
อาการของผทู้ ี่ถกู ไฟไหม้หรอื น้ำรอ้ นลวก
ผ้ทู ่ีถูกไฟไหมห้ รอื นำ้ ร้อนลวก จะมีอาการและอันตรายมากหรอื น้อยกแ็ ล้วแตผ่ วิ หนังที่ถกู ไหมห้ รือลวก หากมบี าดแผลกวา้ งจะ
ทำใหต้ ดิ เชื้อและมโี รคแทรกซอ้ นได้ จึงมคี วามจำเปน็ ทจ่ี ะต้องรรู้ ะยะของอาการและอนั ตรายก่อนทีจ่ ะปฐมพยาบาล ซึ่งแบ่งได้
เปน็ 4 ระยะ ดังน้ี
1. ระยะชอ็ คขนั้ ตน้

ระยะน้ผี ูป้ ่วยจะมอี าการชอ็ คทันที เมื่อถกู ไฟไหมห้ รอื นำ้ รอ้ นลวก ผูป้ ว่ ยจะมีอาการหมดสติ ชีพจรเต้นเบาแตเ่ รว็
มาก กระสับกระสา่ ย เหง่อื ออกมาก และอาจถงึ แกช่ วี ิตได้หากไมไ่ ด้รบั การปฐมพยาบาลท่ีถูกวิธแี ละรวดเรว็
2. ระยะช็อคขนั้ ที่สอง

จะเกิดขนึ้ ภายหลังจากถกู ไฟไหม้ หรอื น้ำรอ้ นลวกแลว้ ประมาณ 2 -24 ชว่ั โมงอาการคล้ายอาการชอ็ คข้นั ต้น แต่
รนุ แรงกวา่ การช็อคขนั้ นม้ี ีสาเหตุมาจากการเสียนำ้ ในรา่ งกายมาก เพราะถกู ไฟเผาและเหงอื่ ออก
3. ระยะเกิดพิษ

ระยะเกดิ พษิ จะเป็นระยะท่ตี ดิ เชื้อแบคทเี รีย ทำให้เกดิ หนองท่บี าดแผล อาการขั้นนจี้ ะเกดิ ขน้ึ ภายหลังจากไฟไหม้
หรอื นำ้ ร้อนลวกมาแลว้ ประมาณ 48 - 72 ช่ัวโมง อาการระยะนี้จะมอี าการอกั เสบ มีหนอง มไี ขส้ ูง ชีพจรเต้นเรว็ ปวด
ศีรษะ คล่นื ไส้ อาเจียน เบอ่ื อาหาร นอนไมห่ ลับ และอาจถึงแก่ความตายได้

102

4. ระยะเกดิ แผลเป็น
เมอ่ื บาดแผลหายมกั จะเกิดแผลเปน็ ขนึ้ จะมากหรือน้อยกแ็ ล้วแต่บาดแผล ทถ่ี กู ไหมห้ รือลวก หรอื การรักษา

ถกู ต้องเพียงใด
การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟไหมห้ รือน้ำรอ้ นลวก ปฏิบตั ไิ ด้ดงั น้ี

1. ถ้ามีอาการชอ็ ค ควรรกั ษาอาการช็อคเสียก่อน โดยปฏบิ ัตดิ ังน้ี

o ยกปลายเทา้ ใหส้ งู กวา่ ระดบั ศีรษะ
o ให้ความอบอนุ่ แก่รา่ งกาย โดยใชก้ ระเปา๋ น้ำร้อนประคบบรเิ วณบาดแผล
o ถา้ มอี าการปวดมากควรใช้ยาระงบั ปวด
o ถา้ หากผ้ปู ว่ ยหยุดหายใจ ใหท้ ำการผายปอด
2. แตง่ บาดแผล โดยปฏบิ ตั ิดังนี้
o ตดั เสอ้ื ทถี่ กู ไฟไหมห้ รอื นำ้ รอ้ นลวกออ
o ตดั ผิวหนงั สว่ นท่ีพองออก เพราะอาจลุกลามให้เกิดหนองได้ และอาจทำใหท้ ายาได้ไม่ถึงบาดแผล
o ลา้ งบาดแผลดว้ ยนำ้ อ่นุ นำ้ ด่างทับทมิ หรอื น้ำเกลอื
3. ใช้ยาทาบาดแผล เชน่ นำ้ มันพชื ข้ีผงึ้ ซัลฟา หรอื ขี้ผง้ึ ยูคาลปิ ตสั เป็นต้น
4. ถา้ มีอาการมากต้องรีบนำผ้ปู ่วยสง่ โรงพยาบาลทนั ที

บนั ทกึ หลงั การสอน

1 ความสำเรจ็ ในการจัดการเรยี นรู้
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

2 ปัญหา / อุปสรรค ในการจัดการเรียนรู้
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

3 แนวทางแก้ไขปัญหา / อุปสรรค
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

4 การปรับปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ......................................................ครูผู้สอน
(นางพิมลธยา แกว้ แดง)

วันที่ ๓ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕6๔

ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ าร
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ……………..………….…………………
(นางสาวดนยา แย้มภู่)

ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอเมอื งเพชรบุรี
วนั ที่ ๓ เดือน ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕6๔

แผนการเรยี นรรู้ ายสปั ดาห์ วชิ า ทช 02017 การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ จำนวน 3 หนว่ ยกติ

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา ๒๕6๔

กศน.ตำบลบา้ นหมอ้ อำเภอเมอื งเพชรบรุ ี จงั หวดั เพชรบรุ ี

สัปดาหท์ ่ี 18 วันอาทิตย์ท่ี ๓ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕6๔

เรอื่ ง การปฐมพยาบาลอยา่ งปลอดภยั จำนวน ๖ ชว่ั โมง

1. มาตรฐานท่ี มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคตทิ ี่ดีเกี่ยวกับ การดแู ลสง่ เสรมิ สุขภาพอนามยั และความ

ปลอดภยั ในการดำเนินชวี ติ

2. สาระสำคญั
ความหมาย และความสำคัญของการปฐมพยาบาล การช่วยฟื้นคืนชีพ การห้ามเลือด การปฐม

พยาบาลผบู้ าดเจ็บกระดกู หกั การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟไหม้ นำ้ รอ้ นลวก ไฟฟา้ ชอ็ ต สตั ว์ทมี่ พี ษิ กดั ต่อย ถูกสารพิษ
ควันพิษ ผู้จมน้ำ ตลอกจนการลำเลียงผู้ป่วย และการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจการปฐม
พยาบาล และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

3. ตวั ชี้วดั
1. บอกความหมาย ความสำคัญของการหา้ มเลอื ดได้
2. บอกประเภทของบาดแผลไดอ้ ยา่ งถกู วิธี
๓. แสดงวธิ ีการหา้ มเลอื ดได้อยา่ งถกู วิธี
๔. อธิบายการใชผ้ ้าพนั แผลชนิดตา่ งๆ ได้
๕. แสดงการใช้ผา้ พนั แผลชนิดต่างๆ ได้อยา่ งถกู วิธี

4. เนอ้ื หา
1. ความหมาย ความสำคัญของการหา้ มเลือด
2. ประเภทของบาดแผล
- บาดแผลเปดิ
- บาดแผลปดิ
๓. วิธกี ารหา้ มเลือดบาดแผลเปิด บาดแผลปิด
๔. วธิ กี ารใช้ผ้าพันแผลชนิดตา่ งๆ

5. ขัน้ ตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (O : Orientaiton)
1.1 ครูผสู้ อนทักทายผ้เู รยี นและเลา่ ประสบการณเ์ กย่ี วกบั การเกิดอุบัตเิ หตุภายในบ้านให้ผเู้ รยี นฟงั

เพ่ือเปน็ อุทาหรณ์ให้ผเู้ รียนได้ตระหนักถงึ ความปลอดภัยภายในบา้ น
1.2 ใหผ้ เู้ รียนยกตัวอยา่ งอุบตั ิเหตุตา่ งๆ ท่ีเกิดขึ้นภายในบ้าน เชน่ หกล้ม ตกบนั ได มีดบาดมอื นำ้

แกงลวก แลว้ บอกวธิ ีการปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น

105
1.3. ครูช้แี จงใหน้ กั เรียนทราบวา่ การเกิดอบุ ัตเิ หตจุ ะมีอาการมากหรือน้อยแลว้ แต่กรณี หากเรา
พบเหน็ หรืออยู่ในสถานการณน์ ัน้ ๆ ก็ควรให้ความช่วยเหลืออยา่ งถูกวิธี เพือ่ ให้สามารถบรรเทาอาการของผู้
เจบ็ ป่วยกอ่ นไปพบแพทย์
1.4 ใหผ้ ู้เรยี นศึกษาความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับการปฐมพยาบาล จากหนงั สอื เรยี น
1.5. ผู้เรียนและครูรว่ มกันอภปิ รายเก่ยี วกบั หลักสำคัญของการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้

ข้ันที่ 2 การแสวงหาข้อมลู และการจดั การเรยี นรู้ (N : New ways of learning)

2.1 ผเู้ รียนแบ่งกลุ่ม ออกเปน็ 4 กลุ่ม เพ่ือร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ กี่ยวกับวธิ ีการปฐมพยาบาลท่ี
ถูกตอ้ ง ดงั น้ี

กลมุ่ ที่ 1 ศกึ ษาและสาธิตวิธีการปฐมพยาบาลผู้ป่วยดว้ ยการหา้ มเลอื ด
กลมุ่ ที่ 2 ศึกษาและสาธิตวิธกี ารปฐมพยาบาลผู้ป่วยทีเ่ ป็นลม
กลุ่มที่ 3 ศึกษาและสาธติ วิธีการปฐมพยาบาลผู้ป่วยท่ีกระดกู หกั
กลุ่มที่ 4 ศกึ ษาและสาธติ วิธีการใชผ้ ้าพนั แผลชนิดต่างๆ
2.2. ใหผ้ ู้เรียนแต่ละกล่มุ ศึกษา แลว้ รว่ มกันอภปิ รายและสรปุ สาระความรทู้ ีไ่ ดศ้ ึกษาลงในสมดุ
บันทึกการเรยี นรู้
2.3. ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มออกมา อธบิ ายความรแู้ ละสรปุ สาระสำคัญทีไ่ ดศ้ ึกษาให้เพ่ือนฟงั พรอ้ ม
ทั้งสาธิตวธิ กี ารปฐมพยาบาลผู้ปว่ ย ทง้ั นคี้ วรเปิดโอกาสให้เพื่อนซกั ถามในสว่ นที่ยังไมเ่ ขา้ ใจ
2.4. ครูสนทนากบั ผเู้ รียนถึงประโยชน์ของการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลุม่ วา่ การปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่มเป็น
การฝกึ ใหผ้ ู้เรียนมีความรบั ผิดชอบ มีความกระตือรอื รน้ มากยิง่ ขึน้ เพราะผู้เรียนจะต้องนำความรทู้ ่ีไดศ้ กึ ษาไป
ถ่ายทอดใหก้ ับเพ่ือนๆ อีกหลายคนฟงั ให้เกดิ ความรคู้ วามเข้าใจ
2.5. ให้ผเู้ รยี นทำใบงาน เร่อื ง การปฐมพยาบาลผปู้ ่วยอยา่ งปลอดภยั
ขัน้ ที่ 3 การปฏิบตั แิ ละนำไปประยกุ ตใ์ ช้ (I : Implementation)
3.1 ผู้เรียนและครูร่วมกันสรปุ ความรเู้ กีย่ วกบั หลักการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น และวธิ ีการปฐม
พยาบาลผูป้ ว่ ย
3.2 ครูต้งั คำถามเพื่อให้ผู้เรียนตอบเปน็ รายบุคคล เพ่อื ประเมินความรู้ความเข้าใจ เชน่
- เหตใุ ดจึงตอ้ งยกส่วนทีม่ ีเลือดออกใหส้ งู กว่าระดบั หัวใจ
- การสวมถุงมอื กอ่ นการปฐมพยาบาลมปี ระโยชนห์ รือไม่ อย่างไร
- ผู้ป่วยท่ีถูกสัตวม์ พี ษิ ท่ีมีเหลก็ ในตอ่ ย บาดแผลจะมลี ักษณะอย่างไร
- ผู้ปว่ ยท่ีถกู งพู ิษกดั มีขอ้ ห้ามในการปฐมพยาบาลอย่างไร
3.3 ผเู้ รยี นและครรู ว่ มกันสรุปประเด็นความรู้เกย่ี วกับวธิ กี ารปฐมพยาบาลทีถ่ ูกต้องและปลอดภยั
ข้ันท่ี 4 การประเมนิ ผล (E : Evaluation)

4.1 ครูและผเู้ รียนประเมนิ ผลจากแบบทดสอบ 106
4.2 ครูและผเู้ รียนรว่ มกนั ประเมนิ งานจากการทำใบงาน

4.3 ครูผู้สอนประเมนิ ผลการเรียนรจู้ ากการนำเสนอโดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม

6. สอ่ื การเรยี นรู้
1. ใบงาน
2. ใบความรู้
3. แบบฝกึ หัด
4. วดิ ิทศั น์
5. อปุ กรณ์ในการปฐมพยาบาล

7. การวัดและการประเมนิ ผล
๑. ใบงาน
๒. แบบบันทึกการเรยี นรู้
๓. แบบฝึกปฏิบัติ

...............................................ผจู้ ดั ทำแผน
(นางพมิ ลธยา แกว้ แดง)
ครู กศน.ตำบลบ้านหมอ้

วนั ท่ี ๓ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕6๔

ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะของผบู้ งั คบั บญั ชากอ่ นนำแผนการสอนไปใช้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ……………..………………………
(นางสาวดนยา แย้มภู่)

ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอเมอื งเพชรบรุ ี

วนั ท่ี ๓ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕6๔

ใบงาน การปฐมพยาบาลผู้ปว่ ยอย่างปลอดภยั

ช่อื -นามสกลุ ....................................................รหสั ประจำตวั ......................................ระดบั ......................

คำชแ้ี จง ใหผ้ ูเ้ รยี นแสดงวธิ ีการปฐมพยาบาลใหถ้ ูกต้อง

1. มีดบาด ...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
.............................................................................................

2. กระดูกขาหัก ...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
.............................................................................................

3. เป็นลมแดด ...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
.............................................................................................

บนั ทกึ หลังการสอน

1 ความสำเร็จในการจัดการเรยี นรู้

....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

2 ปัญหา / อปุ สรรค ในการจดั การเรียนรู้
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

3 แนวทางแกไ้ ขปญั หา / อุปสรรค
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

4 การปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู้
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงช่อื ......................................................ครูผูส้ อน
(นางพิมลธยา แก้วแดง)

วนั ที่ ๓ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕6๔

ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ าร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………..………….…………………
(นางสาวดนยา แยม้ ภู่)

ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอเมอื งเพชรบรุ ี
วนั ท่ี ๓ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕6๔


Click to View FlipBook Version