The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by intaram, 2021-02-03 10:47:59

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีงบประมาณ 2563-2565

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 1

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 2

บทท่ี 1
กรอบแนวคดิ และทศิ ทางการจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

1. ยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)
ในการท่ีจะบรรลุวิสัยทัศน์และทำให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์น้ัน จำเป็นจะต้องมี

การวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาว และกำหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้
ขบั เคล่ือนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น จึงจำเป็นจะต้องกำหนดยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว เพ่ือถ่ายทอดแนว
ทางการพัฒนาสู่การปฏบิ ัตใิ นแต่ละช่วงเวลาอย่างต่อเนื่องและมีบรู ณาการ และสร้างความเข้าใจถึงอนาคตของ
ประเทศไทยร่วมกันและเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคม ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -
2579) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนา
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” ประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์ โดยสรปุ ได้ดังนี้
1) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมัน่ คง

มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคงประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการ
สภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบรอ้ ยในทุกระดับ
มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับ
ภัยคุกคามและภยั พิบตั ิไดท้ ุกรูปแบบ ใชก้ ลไกการแกไ้ ขปญั หาแบบบรู ณาการ บนพ้ืนฐานของหลักธรรมาภิบาล
2) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั

เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งจำเป็นต้องยกระดับผลิตภาพ
การผลิตและการใช้นวัตกรรมในการเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาอย่างย่ังยืน ท้ังในสาขา
อุตสาหกรรม เกษตรและบริการ การสร้างความม่ันคงและปลอดภัยด้านอาหาร การเพิ่มขีดความสามารถทาง
การค้าและการเป็นผู้ประกอบการ รวมทั้งการพัฒนาฐานเศรษฐกิจแห่งอนาคต ท้ังน้ีภายใต้กรอบการปฏิรูป
และพฒั นาปัจจยั เชิงยุทธศาสตรท์ ุกด้าน อันได้แกโ่ ครงสร้างพ้นื ฐานและระบบโลจสิ ติกสว์ ทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี
และนวัตกรรม การพฒั นาทนุ มนษุ ย์ และการบรหิ ารจดั การทัง้ ในภาครฐั และภาคธุรกจิ เอกชน
3) ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์

เพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้ง
กาย ใจ สติปัญญา มพี ัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะทีด่ ีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผดิ ชอบตอ่ สังคม
และผูอ้ ่นื มธั ยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวินยั รกั ษาศีลธรรม และเป็นพลเมอื งดขี องชาติ มีหลักคิดทถี่ ูกต้อง มี
ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาทีส่ าม และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มนี ิสัย
รักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด
ผู้ประกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่ และอนื่ ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 3

4) ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกนั ทางสังคม
เพื่อเร่งกระจายโอกาสพฒั นาและสรา้ งความม่ันคงใหท้ ว่ั ถึง ลดความเล่อื มล้ำไปส่สู ังคมท่ีเสมอภาคและ

เป็นธรรม
5) ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มติ รต่อส่งิ แวดล้อม

เพื่อเร่งอนุรักษ์ฟ้ืนฟูและสร้างความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และมีความม่ันคง รวมท้ังมี
ความสามารถในการป้องกันผลกระทบและปรับตัวตอ่ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ
และพฒั นามงุ่ สู่การเปน็ สงั คมสีเขียว
6) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั

เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ มีสมรรถนะสูง มีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล กระจายบทบาทภารกจิ ไปสู่ทอ้ งถ่ินอยา่ งเหมาะสม มีธรรมาภิบาล

2. นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
หลักการ

1. ให้คามสำคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ ท้ังผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ข้าราชการพลเรือน และผู้บริหารทุกระดับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดับทุกประเภท และเป็น
การศึกษาตลอดชวี ิต

2. บูรณาการการทำงานร่วมกนั ระหว่างสว่ นรสชการหลกั องคก์ ารมหาชนในกำกับของรัฐมนตรีวา่ การ
ประทรวงศึกษาธิการให้มีความคล่องตัว รวมทั้งหน่วยงานต้นสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนที่ภูมิภาคให้
สามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพ่ือดำเนินการปฏิรูปการศึกษาร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
ตามโยบายประชารฐั

ระดบั ก่อนอนุบาล
เน้นประสานงานกับส่วนราชการ และชุมชน ในการเตรียมความพร้อมผู้เรียนในด้านสุขภาพและ
โภชนาการ และจัดประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ี่เช่อื มโยงกับระบบโรงเรยี นปกติ
ระดับอนบุ าล
เน้นสร้างความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อออกแบบกิจกรรมการพัฒนาทักษะท่ี
สำคัญด้านต่างๆ เช่น ทักษะทางสมอง ทักษะความคิดความจำ ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการรู้จักและ
ประเมินตนเอง
ระดบั ประถมศกึ ษา
มุ่งคำนึงถงึ พหุปัญญาของผ้เู รียนรายบุคคลทีห่ ลากหลายตามศัยภาพ ดว้ ยจดุ เนน้ ดังน้ี
1. ปลูกฝงั ความมีระเบียบวนิ ยั ทศั นคตทิ ่ีถูกตอ้ ง โดยใช้กระบวนการลูกเสอื และยวุ กาด
2. เรียนภาษาไทย เนน้ เพ่อื ใชเ้ ปน็ เคร่อื งมอื ในกรเรยี นร้วู ิชาอ่ืน
3. เรียนภษาองั กฤษและภาษาพน้ื ถน่ิ (ภาษาแม)่ เน้นเพอ่ื การส่ือสาร

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 4

4. เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เพื่อพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
หรือจากสถานการณ์จำลองผ่านการลงมือปฏิบัติ และเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกันของผู้เรียนและครูด้วยการ
จดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็ ใหม้ ากข้นึ

5. สร้างแพลตฟอร์มดจิ ัลเพอื่ การเรียนรู้ และใช้ดิจิทลั เป็นเคร่อื งมือการเรียนรู้
6. จัดการเรยี นการสอนเพอ่ื ฝึกทกั ษะการคิดแบบมีเหตผุ ลและเป็นขนั้ ตอน (Coding)
7. พฒั นาครูให้มคี วามชำนาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาคอมพวิ เตอร์ (Coding)
8. จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรบั สภาพแววดลอ้ มท้ังภายในและภายนอก
บริเวณโรงเรยี นใหเ้ อ้อื ต่อการสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ
ระดับมัธยมศึกษา
ม่งุ ตอ่ ยอดระดบั ประถมศกึ ษา ดว้ ยจดุ เนน้ ดังน้ี
1. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาตร์ (STEM) และ
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาที่สาม)
2. จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อสร้างทักษะพื้นฐานที่เช่ือมโยงสู่การสร้างอาชีพและการมีงานทำ
เชน่ ทกั ษะด้านกฬี าที่สามารถพัฒนาไปสู่นกั กฬี าอาชีพ ทกั ษาะภาษาเพ่อื เปน็ มัคุเทศก์
ระดับอาชีวศึกษา
มุ่งจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทำและสร้างนวัตกรรมตามความต้องการของพื้นที่ชุมชน ภูฒิภาคปรือ
ประเทศ รวมทัง้ การเปน็ ผปู้ ระกอบการเอง ด้วยจุดเนน้ ดังน้ี
1. จดั การศกึ ษาในระบบทวภิ าคี ใหผ้ เู้ รยี นมีทกั ษะและความเชย่ี วชาญเฉพาะด้าน
2. เรียนภาษาอังกฤษ เพื่อเพิ่มทักษะสำหรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี
3. เรยี นรู้การใช้ดิจทิ ลั เพ่อื ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับในการสรา้ งอาชีพ
4. จัดตง้ั ศนู ยป์ ระสานงานการผลติ และพัฒนากำลงั คนอาชีวศึกษาในภูมิภาค
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
มุ่งสร้างโอกาสใหป้ ระชาชนผ้เู รยี นท่สี ำเร็จหลักสตู ร สามารถมีงานทำ ด้วยจดุ เนน้ ดงั นี้
1. เรียนรกู้ ารใชด้ ิจิทัล เพอื่ ใช้เปน็ เคร่อื งมอื สำหรบั หาชอ่ งทางในการสร้างอาชีพ
2. จัดทำหลักสูตรพัฒนาอาชีพท่ีเหมาะสมสำหรับผทู้ ีเ่ ขา้ สสู่ ังคมสงู วยั

3. แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
วิสยั ทัศน์

“มุ่งพฒั นาผู้เรยี นให้มคี วามรู้คคู่ ุณธรม มคี ุณภาพชวี ิตทดี่ ี มีความสุขในสังคม”
“ผู้เรียน” หมายถึง เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ท่ีได้รับบริการจาก
กระทรวงศกึ ษาธิการ
“มีความรู้คู่คุณธรรม” หมายถึง รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซ้ือสัตย์สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา
แบง่ ปนั ซ่งึ เปน็ 2 เง่อื นไขตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 5

“มคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ี” หมายถึง มีอาชพี มคี วามมนั่ คง มัง่ คัง่ และยั่งยืนในการดำรงชวี ติ
“มคี วามสขุ ” หมายถึง ความอยู่ดีมสี ขุ สามารถอยู่รว่ มกนั อย่างเอือ้ อาทร มคี วามสามัคคปี รองดอง
“สังคม” หมายถงึ สังคมไทย ภูมิภาคอาเซยี น และสงั คมโลก
พนั ธกจิ
1. ยกระดับคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับ/ประเภทสูส่ ากล
2. เสรมิ สร้างโอกาสการเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาของประชาชนอยา่ งท่วั ถงึ เทา่ เทยี ม
3. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
ยทุ ธศาสตร์
1. ยทุ ธศาสตร์พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
2. ยุทธศาสตรผ์ ลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
3. ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนากำลังคน รวมท้ังงานวิจัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนา
ประเทศ
4. ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ
5. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอ่ื การศกึ ษา
6. ยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาระบบบริหารจดั การและสง่ เสริมใหท้ กุ ภาคส่วนมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา

4. นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
วิสัยทัศน์

“สรา้ งคณุ ภาพทนุ มนุษย์ สู่สงั คมอนาคตท่ียัง่ ยนื ”
พนั ธกิจ

1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

2. พัฒนาผเู้ รยี นให้มีความสามารถความเป็นเลศิ ทางวชิ าการเพื่อสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขนั
3. พฒั นาศกั ยภาพและคณุ ภาพผูเ้ รยี นให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21
4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง
ทวั่ ถึงและเท่าเทยี ม
5. พัฒนาผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ป็นมอื อาชพี
6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และเปา้ หมายการพฒั นาที่ยั่งยนื (Sustainable Development Goals : SDGs)
7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ัล (Digital Technology) เพอ่ื พฒั นามงุ่ สู่ Thailand 4.0

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 6

เป้าหมาย
1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไคยอันมี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มที ัศนคตทิ ี่ถกู ตอ้ งต่อบา้ นเมือง มีหลักคดิ ท่ีถูกตอ้ ง และเป็นพลเมืองดขี องชาติ
มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณธ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซื่อสัตย์สุจริต
มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี นิ ยั รกั ษาศีลธรรม

2. ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษา และอื่นๆ
ไดร้ ับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ

3. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะ
ตามหลักสตู ร และคุณลกั ษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มีสขุ ภาวะท่เี หมาะสมตามวยั มีความสามารถในการ
พ่ึงพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมือง พลโลกท่ีดี (Global Citizen)
พรอ้ มกา้ วสู่สากล นำไปสกู่ ารสรา้ งความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

4. ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ใน
พื้นทห่ี า่ งไกลทรุ กันดาร ได้รับการศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถึง เท่าเทียม และมคี ุณภาพ

5. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้และจรรยาบรรณ ตา
มาตรฐานวชิ าชีพ

6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒ นาอย่างยั่งยืน (Sustainable
Development Goals : SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

7. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มีสมดุล
ในการบริหารจดั การเชิงบูรณาการ มกี ารกำกบั ติดตาม ประเมินผล มีระบบขอ้ มูลสารสนเทศท่ีมีประสทิ ธิภาพ
และการรายงานผลอยา่ งเป็นระบบ ใช้งานวจิ ยั เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในการขับเคลือ่ นคุณภาพการศกึ ษา
นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้กำหนดนโยบายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
โดยยึดหลักของการพัฒนาที่ย่ังยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต เป็น
แนวทางในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561- 2580) แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2565) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 และมุ่งสู่ Thailand
4.0 ดังนี้

นโยบายท่ี 1 ด้านการจัดการศึกษาเพอ่ื ความมน่ั คงของมนุษย์และของชาติ
นโยบายที่ 2 ดา้ นการจัดการศึกษาเพอ่ื เพ่มิ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
นโยบายที่ 3 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
นโยบายท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความ
เหลอื่ มลำ้ ทางการศกึ ษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 7

นโยบายที่ 5 ด้านการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม
นโยบายที่ 6 ดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา

5. การพฒั นาคุณภาพการศึกษาสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 1
วสิ ยั ทัศน์

เป็นผนู้ ำการจัดการมัธยมศึกษา สคู่ ณุ ภาพระดับมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย
พันธกจิ

1. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ

2. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันโดยพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นใหม้ ีความรู้
ทักษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ติ ทักษะวิชาชีพ คณุ ลกั ษณะในศตวรรษที่ 21

3. ส่งเสรมิ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ มืออาชีพ
4. สร้างโอกาส ความเสมอภาคลดความเหล่ือมล้ำให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง
ทวั่ ถงึ และเทา่ เทยี ม
5. ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
6. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด
การศกึ ษา
เปา้ หมาย
เพือ่ ให้การจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐานของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1 มีคุณภาพและ
มาตรฐานระดบั สากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย จงึ ไดก้ ำหนดเปา้ หมาย ดังนี้
1. ผู้เรยี นเปน็ พลเมืองดีที่มคี ณุ ภาพบนพืน้ ฐานความเปน็ ไทย
2. ผ้เู รยี นมีความสามารถในการแขง่ ขันระดับนานาชาติ
3. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพเพ่ือยกระดับสู่
คุณภาพระดับมาตรฐานสากล
4. ประชากรวยั เรียนทกุ คนได้รับการศึกษาตามสทิ ธิอย่างเทา่ เทียม และเสมอภาค
5. สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาและสถานศึกษามีคณุ ภาพตามเกณฑท์ ่ีกำหนด
6. สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนใน
การจัดการมัธยมศึกษาอยา่ งเข้มแข็งและยั่งยนื
นโยบาย
นโยบายที่ 1 จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง
นโยบายที่ 2 พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน
นโยบายที่ 3 พัฒนาผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 8

นโยบายที่ 4 สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความ เหล่ือม
ลำ้ ทางการศกึ ษา

นโยบายที่ 5 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ

6. มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. 2561 มีจำนวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รียน
1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรียน
1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผเู้ รียน

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
แต่ละมาตรฐานมีรายละเอยี ด ดังนี้
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน

1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สาร และการคดิ คำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความ

คิดเห็นและแก้ปัญหา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
5) มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
6) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีต่องานอาชีพ
1.2 คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผ้เู รียน
1) มีคุณลักษณะและคา่ นิยมที่ดตี ามที่สถานศึกษากำหนด
2) มีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย
3) ยอมรับทจ่ี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
4) มีสุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.1 มีเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน
2.2 มรี ะบบการบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเออ้ื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 9

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ

3.1 จดั การเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชีวติ
3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ที่เอื้อต่อการเรยี นรู้
3.3 มีการบริหารจดั การชั้นเรยี นเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น
3.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และให้ข้อมูลปอ้ นกลบั เพ่ือปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 10

บทท่ี 2
ข้อมูลพ้ืนฐานการศกึ ษาและการวเิ คราะหอ์ งค์กร

1. ขอ้ มลู ทัว่ ไป

ชอ่ื โรงเรียน โรงเรยี นวัดอินทาราม

ที่ต้ัง 258 ถนนเทอดไท แขวงบางยเี่ รอื เขตธนบุรี จังหวัดกรงุ เทพมหานคร รหสั ไปรษณยี ์ 10600

สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 1

โทรศพั ท์ 02-465-3310 โทรสาร 02-472-2771 E-mail: [email protected]

Website http://www.ir.ac.th/

เปิดสอน ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6

เน้อื ท่ี 3 ไร่ 300 ตารางวา

เขตพน้ื ที่บรกิ ารดังน้ี

เขตธนบรุ ี แขวงบางยี่เรือ แขวงบุคคโล แขวงตลาดพลู แขวงหิรญั รจู ี

แขวงวัดกัลยาณ์ แขวงดาวคะนอง แขวงสำเหร่

เขตคลองสาน แขวงคลองสาน แขวงสมเด็จเจ้าพระยา แขวงบางลำพลู ่าง

แขวงคลองตน้ ไทร

เขตบางคอแหลม แขวงบางคอแหลม แขวงวัดพระยาไกร

2. ประวัตโิ รงเรยี น
ในปี พ.ศ. 2505 ท่านเจ้าคุณวิเชียรมุนี (พัน จิรวรฑฒหาเถร) เจ้าอาวาสวัดอินทารามวรวิหาร

ได้มอบที่ดินบริเวณหน้าซึ่งอยู่ติดถนนเทอดไท มีเน้ือท่ีประมาณ 3 ไร่ 3 งาน ให้แก่กรมวิสามัญศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการดำเนนิ การก่อสรา้ งเป็นโรงเรยี นมธั ยมศึกษา

ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2506 กรมวิสามัญศึกษาได้แต่งต้ัง นายจรัล จิวาลักษณ์ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่
โรงเรยี นวัดปทุมคงคาให้มาดำรงตำแหน่งครใู หญ่โรงเรยี นวัดอินทาราม ในระยะแรก โรงเรียนวดั อินทาราม เปิด
สอนนักเรียนชั้น ม.ศ.1 จำนวน 3 ห้องมีนักเรียน 120 คนครู 8 คน โดยเปิดสอนคร้ังแรก เมื่อวันที่ 17
พฤษภาคม พ.ศ. 2506 และในเดือนกรกฎาคมโรงเรียนได้รับงบประมาณจากกรมวิสามัญศึกษาให้ก่อสร้าง
อาคารเรยี น 3 ชั้น (อาคาร 1) จำนวน 1 หลงั 12 หอ้ งเรยี น

ในปี พ.ศ. 2508 คุณหมอก้อน ขุนทองแก้ว และภรรยาได้บริจาคเงินสร้างอาคารเรยี น 3 ชั้น (อาคาร
2 หรอื อาคารคณุ หมอก้อนขนุ ทองแก้ว) จำนวน 1 หลัง 12 ห้องเรยี น

ในปี พ.ศ. 2512 โรงเรียนได้เปิดสอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.ศ. 4-5 ท้ังแผนก
วทิ ยาศาสตรแ์ ละแผนกศิลป์–ภาษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 11

ในปี พ.ศ. 2517 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากกรมสามัญศึกษา ให้ก่อสร้างอาคารเรียน 5 ชั้น
(อาคาร 3) ช้ันละ 5 ห้องเรียน และในปี พ.ศ. 2520 โรงเรียนได้รับงบประมาณให้สร้างเพิ่มเติม เป็นชั้นละ 6
ห้อง

ในปี พ.ศ. 2526 โรงเรียนได้จัดตั้งมูลนิธิการศึกษาโรงเรียนวัดอินทารามและสมาคมผู้ปกครองและครู
โรงเรียนวดั อนิ ทารามขึ้น

ในปี พ.ศ. 2528 โรงเรียนได้รับงบประมาณให้ก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ จำนวน 1 หลัง เป็น
อาคาร 3 ช้ัน (อาคาร 4) เปดิ ใช้เมอื่ วันท่ี 1 กนั ยายน พ.ศ. 2529

ในปี พ.ศ. 2535 โรงเรียนได้รับความอนุเคราะห์จากคุณสมศักด์ิหัตถกิจจำเริญสร้างพระพุทธรัตนาภิ
บาล พระพุทธรูปประจำโรงเรยี น นอกจากน้ี โรงเรยี นยงั ได้รบั การคัดเลือกจากกรมสามญั ศกึ ษาให้เป็นโรงเรยี น
ท่จี ดั กิจกรรมจริยธรรมดีเด่นประจำปกี ารศึกษา 2534

ในปี พ.ศ. 2539 นายดำรง เดชะศิริ ผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ปรับปรุงระบบโทรศัพท์ภายในโรงเรียน
และพัฒนาหอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หอ้ งสมดุ กาญจนาภิเษก และหอ้ งคอมพิวเตอร์

ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ.2541 โรงเรียนได้รับคัดเลือกจากกรมสามัญศึกษาให้เป็นโรงเรียน
มธั ยมศึกษาดีเด่นประจำปีการศึกษา 2540

ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2542 วัดอินทารามวรวิหารได้มอบพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช ซ่ึงประดิษฐานอยูใ่ นบริเวณวัดอินทารามให้มาประดิษฐานอยู่บริเวณสนามของโรงเรียน โดยโรงเรียน
ได้ทำพธิ ีประดษิ ฐาน เม่อื วันที่ 18 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2542 นอกจากน้ี โรงเรยี นยังไดจ้ ดั ตัง้ กองทนุ สมเดจ็ พระเจ้า
ตากสินมหาราชและได้มีการจัดสร้างห้องตากสินมหาราชานุสรณ์ แต่ไม่เสร็จ เพราะขาดงบประมาณต่อมาใน
เดือนกันยายน ปีเดียวกัน โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นสถานศึกษาท่ีมีผลงานด้านจริยธรรมศึกษาดีเด่น
ประจำปีการศึกษา 2542 ของกระทรวงศึกษาธิการ นอกจากน้ี ยังได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการสถานศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน โรงเรยี นวดั อนิ ทารามขน้ึ

ในปี พ.ศ. 2544 นายวรรณะ เกิดสมบัติ ผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ดำเนินการจัดสร้างต่อ จนห้องตาก
สินมหาราชานสุ รณ์เสรจ็ สมบรู ณ์ และได้ทำพธิ ีเปดิ เมือ่ วันท่ี 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2544

ในปี พ.ศ. 2546 นายธนวัฐ นาคนคร ผู้อำนวยการโรงเรียนได้ดำเนินการเทพ้ืนสนามใหม่ทาสีอาคาร
เรยี นใหม่ ทง้ั 4 หลงั สรา้ งเรือนพยาบาล และปรบั ปรงุ หอ้ งสุขาชาย-หญงิ ใหม่ทง้ั หมด

ในปี พ.ศ. 2547 โรงเรียนได้สร้างห้องประชุม (ห้องตากสิน) ห้องสำนักงานฝ่ายบริหารห้องสำนักงาน
ฝ่ายกจิ การนกั เรยี นและปรบั ปรุงหอ้ งเรยี นคอมพวิ เตอร์ท้งั 2 ห้อง

ในปี พ.ศ. 2548 โรงเรียนได้สร้างห้อง E-Classroom และห้อง E-Learning เพ่ือใช้เป็นแหล่งเรียนรู้
นอกห้องเรียนและติดตั้งระบบเครือข่าย (LAN) เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียน
การสอน

ในปี พ.ศ. 2549 ดร.สาธิต สันนะกิจ ผู้อำนวยการโรงเรียนได้ปรับปรุงห้องเรียน 333 และ 334 ให้
เปน็ หอ้ งเรียนพิเศษที่มสี ่ือการเรียนการสอนอย่างครบวงจร ทง้ั คอมพิวเตอรผ์ ู้สอน อินเตอร์เน็ต เครอื่ งฉายวัสดุ
ทบึ แสง และเครอื่ งโปรเจคเตอร์

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 12

ในปี พ.ศ. 2550 นายอำนวย พลชัย ผู้อำนวยการโรงเรียนได้พัฒนาห้องประชุมเล็กข้างห้องสมุดเพื่อ
ใช้เป็นห้องประชุมครูและต้ังช่ือว่า “ห้องราชาวดี” และปรับปรุงเวทีอเนกประสงค์ในโรงอาหาร เพื่อใช้เป็นท่ี
ประชมุ นักเรยี นและผ้ปู กครอง

ในปี พ.ศ. 2552 สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนวัดอินทาราม ได้ก่อสร้างหลังคาคลุมลาน
อเนกประสงค์และมอบให้กับโรงเรียน เพื่อใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของ
หน่วยงานตา่ งๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น

ในปี พ.ศ. 2553 นางอัมพร พสุธาดล ผู้อำนวยการโรงเรียนได้ปรับปรุงพื้นสนามของโรงเรียน โดย
ได้รับความอนุเคราะห์จาก ส.ส.วิลาศ จันทร์พิทักษ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้มีการพัฒนาโรงยิมให้เป็นห้อง
ประชุมอเนกประสงค์ และตงั้ ชอื่ วา่ “ห้องประชุมจนั ทร์พทิ กั ษ์”

วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2555 เกิดเพลิงไหม้ภายในโรงเรียน บริเวณอาคาร 1 ซ่ึงเป็นท่ีตั้งของห้อง
ผู้อำนวยการโรงเรียน สำนักงานกลุ่มบริหารงบประมาณ สำนักงานบริหารวิชาการ สำนักงานบริหารงาน
บคุ คล สำนกั งานบริหารงานทั่วไป หอ้ งประชุมตากสนิ และหอ้ งเรียน จำนวน 4 ห้อง ไดร้ ับความเสยี หาย

ในปี พ.ศ. 2555 นายธนติ ทองธญั ญะ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั อินทารามได้ปรับปรุงประตูรวั้ โรงเรยี น
บริเวณพ้ืนที่ว่างเปล่า ซึ่งถูกร้ือถอนจากอาคารไฟไหม้ เพ่ือให้นักเรียนได้ใช้เล่นกีฬา และในปี พ.ศ. 2556 ได้มี
การสร้างเรือนตากสินมหาราชานุสรณ์ ซึ่งเป็นอาคาร 2 ช้ัน โดยชั้นล่างเป็นห้องกลุ่มบริหารบุคคล (ฝ่าย
ปกครอง) และช้นั บนเปน็ หอ้ งตากสินมหาราชานุสรณ์

ในปี พ.ศ. 2558 นายบุญชู กล้าแข็ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดอินทารามได้ปรับปรุงห้องสุขานักเรียน
และได้สร้างอาคารเรยี น 4 ชน้ั เพือ่ เปน็ การจัดการเรยี นการสอนนกั เรียน

วันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ว่าที่ร้อยตรีอานนท์ สุขภาคกิจ ผู้อำนวยการเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศกึ ษา เขต 1 ไดเ้ ปดิ อาคาร 5 ซึ่งเปน็ อาคาร 5 ชั้น เพอื่ เปน็ การจดั การเรยี นการสอนนักเรียน

ในปี พ.ศ. 2560 สมาคมศิษยเ์ ก่าโรงเรียนวัดอนิ ทาราม ได้บริจาคห้อง Sound Lab เพื่อใช้จัดกิจกรรม
การเรียนการสอนและดำเนินกจิ กรรมตา่ งๆ

ในปี พ.ศ. 2561 นางธัญจริ า โชตพิ งศ์กุล ผู้อำนวยการโรงเรียนวดั อินทาราม ได้ปรับปรุงอาคาร 5 ชั้น
2 ให้เป็นสำนกั งาน เพื่อความสะดวกในการตดิ ต่อราชการ

ในปี พ.ศ. 2562 นางธัญจิรา โชติพงศ์กุล ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดอินทาราม ได้ปรับปรุงห้องประชุม
ราชาวดี อาคาร 5 ชัน้ 2 เพือ่ ใชจ้ ดั กจิ กรรมการประชุม และดำเนนิ กิจกรรมตา่ งๆ

ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 นางธัญจิรา โชติพงศ์กุล ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดอินทาราม ได้
ปรับปรุงห้องเรียน STEM จำนวน 3 ห้อง เพ่ือใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนห้องเรียนความเป็นเลิศ
ทางวชิ าการ

ปัจจุบัน โรงเรียนวัดอินทารามมีอาคารเรียน ทั้งหมด 4 หลัง มีครูและบุคลากรทางการศึกษา
จำนวน 81 คน มีนกั เรยี น 1,477 คน (10 พ.ย. 62)

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 13

ตราสญั ลกั ษณ์ประจำโรงเรยี น
เปน็ พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช ทรงม้าอยู่กึ่งกลางระหว่างช่อฟา้

สีและธงประจำโรงเรยี น
เปน็ ธงสีเขียว ขาว เหลือง (เป็นแถบสีเทา่ กัน)
สเี ขียว หมายถงึ ความร่นื รมย์ เมตตา เอื้อเฟ้ือ เผื่อแผ่
สขี าว หมายถงึ ความบรสิ ทุ ธิ์ ใจซอ่ื
สเี หลอื ง หมายถึง ความยดึ มัน่ ในหลักธรรมของพระพุทธองค์

ปรชั ญา
นตฺถิ ปัญญาสมา อาภา
แสงสวา่ งเสมอด้วยปญั ญาไม่มี

3. ข้อมูลอาคารสถานท่ี

รายการ จำนวน
อาคารเรียน 4 หลงั
อาคารประกอบ 1 หลัง
สว้ ม 2 หลงั
สนามอเนกประสงค์ 1 หลัง

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 14

4. ขอ้ มลู ครู บุคลากร และนักเรยี น

4.1 ขอ้ มลู ผู้บรหิ าร

ผบู้ ริหารช่อื นางธัญจิรา โชติพงศก์ ลุ

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวัดอินทาราม

วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสุด ค.อ.ม (เทคโนโลยเี ทคนิคศึกษา)

ไดด้ ำรงตำแหน่งทโ่ี รงเรียนนีตั้งแต่ วนั ท่ี 19 ตลุ าคม พ.ศ. 2561

รองผู้อำนวยการโรงเรยี น

1. นายอนนั ต์ เนตรมณี รองผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการและบรหิ ารงบประมาณ

วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ ค.ม. (การบริหารการศกึ ษา)

4.2 ทำเนยี บผบู้ ริหาร
ทำเนียบผู้บริหารโรงเรยี นวัดอนิ ทาราม

ที่ ชอ่ื – สกลุ ตำแหนง่ ปดี ำรงตำแหน่ง

1 นายจรลั จิวาลกั ษณ์ ครใู หญ่ พ.ศ. 2506 – 2521
ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2521 - 2524
2 นายจรัล จิวาลักษณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2524 – 2529
ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2529 – 2535
3 นายแดง สขุ กุล ผอู้ ำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2535 – 2538
ผู้อำนวยการโรงเรยี น พ.ศ. 2539 – 2540
4 นายเกษยี ณ ปราถนว์ ทิ ยา ผอู้ ำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2540 – 2543
ผู้อำนวยการโรงเรยี น พ.ศ. 2543 – 2545
5 นายถาวร อุดมสขุ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2545 – 2548
ผู้อำนวยการโรงเรยี น พ.ศ. 2548 – 2549
6 นายดำรง เดชะศริ ิ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2549 – 2552
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น พ.ศ. 2553 – 2555
7 นายมนู ฉมิ พิบลู ย์ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2555- 2557
ผู้อำนวยการโรงเรยี น พ.ศ. 2557- 2559
8 นายวรรณะ เกดิ สมบตั ิ
ผอู้ ำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2559 - 2561
9 นายธนวัฐ นาคนคร
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น พ.ศ. 2561-ปัจจุบนั
10 นายสาธิต สนั นะกิจ

11 นายอำนวย พลชยั

12 นางอมั พร พสธุ าดล

13 นายธนิต ทองธญั ญะ

14 นายบุญชู กลา้ แข็ง

15 นายชัยสทิ ธิ์ ดอนทว้ ม
(ไปช่วยราชการ สพม.1 พ.ศ. 2559-2561)

16 นางธญั จิรา โชติพงศ์กลุ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 15

4.3 ข้อมูลครแู ละบุคลากรของโรงเรียน

วุฒกิ ารศึกษา วทิ ยฐานะ
จำนวน จำนวน
กลมุ่ /กลุ่มสาระ ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก ครู
ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญงิ รวม คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4 ผชู้ ่วย รวม

1. ผูบ้ รหิ าร - -11 - - 2 - 1 1 - - 2

2. ภาษาไทย 2511 - - 9 7 1 - - 1 9

3. วิทยาศาสตรแ์ ละ 1 8 3 3 - - 15 7 5 - - 3 15

เทคโนโลยี

4. ภาษาต่างประเทศ 2 10 - 1 - - 13 6 2 - - 5 13

5. สังคมศกึ ษา 7 3 1 3 - - 14 5 4 - - 5 14

6. คณติ ศาสตร์ 2 6 - 2 - - 10 5 4 - - 1 10

7. สขุ ศึกษาและ 2 - 1 3 - - 6 4 - 2 - - 6

พลศกึ ษา

8. การงานอาชีพ 2 2 - - - - 4 1 1 - - 2 4

9. ศลิ ปะ -3-1 - - 4 2 - 1 - 1 4

10. แนะแนว ---1 - - 1 - 1 - - - 1

รวม 18 37 7 16 - - 78 37 19 4 - 18 78

ข้อมลู ณ วนั ที่ 28 พฤศจิกายน 2562

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 16

16 ผู้บริหาร
14 ภาษาไทย
12 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ภาษาตา่ งประเทศ
10 สังคมศึกษา
8 คณติ ศาสตร์
6 สขุ ศึกษาและพลศึกษา

การงานอาชีพ
4

ศลิ ปะ
2 แนะแนว
0

แผนภูมแิ สดงจำนวนขา้ ราชการครูแยกตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

23% 48% คศ.1
0% คศ.2
คศ.3
5% ค.ศ.4
24% ครูผชู้ ่วย

แผนภมู วิ งกลมแสดงจำนวนข้อราชการครูแยกตามวิทยฐานะ

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 17

4.4 ขอ้ มลู บคุ ลากร ลกู จ้างชั่วคราว ลกู จ้างประจำ

กลมุ่ /กลุ่มสาระ/งาน ม.3 ม.6 หรือ วุฒกิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาตรี จำนวน
หรือต่ำกวา่ เทียบเทา่ ปรญิ ญาโท รวม
1. ครอู ัตราจ้าง+ ชาย หญิง ชาย หญงิ ปวส. ชาย หญิง
พนักงานราชการ -- -- 12 ชาย หญงิ
2. ครูชาวต่างชาติ ชาย หญงิ --3
3. เจ้าหนา้ ท่ี -- -- --
สำนักงาน -- --
4. พนักงานทำความ - -11- - 2
สะอาด -2 -- - -12- - 3
5. ยามรักษาการ
6. พนกั งานขับรถ -1 -- -1---- 3
7. นักการภารโรง 1- --
8. ชา่ งไฟฟ้า – 1- -- ------1
ประปา 1- -- ------1
9. ลกู จ้างประจำ ------1
-- 21 ------1
รวม 33 21
1----- 4
1 1 3 5 - - 19

ขอ้ มูล ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2562

21% 16% ครอู ตั ราจา้ ง+พนกั งานราชการ
ครชู าวตา่ งชาติ
5% 11% เจ้าหน้าท่สี านักงาน
16% พนักงานทาความสะอาด
5% ยามรกั ษาการ
พนักงานขับรถ
5% นักการภารโรง
5% ช่างไฟฟ้า-ประปา
ลูกจา้ งประจา
16%

แผนภมู วิ งกลมแสดงบุคลากร ลูกจ้างช่ัวคราว ลกู จา้ งประจำ

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 18

4.5 จำนวนนักเรียน จำนวนห้องเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2562

ระดับชั้น เพศ รวม หอ้ งเรยี น
ชาย หญงิ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 162 108 270 9
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 162 152 314 9
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 180 166 346 9
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 76 118 194 8
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 98 92 190 7
ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 63 100 163 7
741 736 1,477 49
รวม
ข้อมลู ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2562

1600 ชาย
1400 หญงิ
1200 รวม
1000
800
600
400
200

0
ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 ม. 5 ม. 6 รวม

ภาพแสดงจำนวนนักเรียนปกี ารศกึ ษา 2562

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 19

4.6 ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรทู้ ุกระดับช้ัน ม.1-ม.6 ปกี ารศึกษา 2561

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 จำนวน รอ้ ยละ

กล่มุ สาระการ จำนวน จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรยี นรู้ นักเรียน นกั เรยี น
เรยี นรู้
คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ทไ่ี ด้ ท่ไี ด้
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ ระดบั 3 ระดับ 3
วทิ ยาศาสตร์
ขนึ้ ไป ข้ึนไป

313 25 16 37 92 61 45 24 19 88 28.12

313 28 64 40 39 41 45 29 23 97 31.00

313 39 53 41 48 40 30 20 42 92 29.39

สังคมศกึ ษา 313 15 81 43 27 28 27 27 53 107 34.19
ศาสนา
และวฒั นธรรม 313 11 2 6 20 35 82 76 75 233 74.44
สขุ ศกึ ษาและ 313 22 1 - 2 13 26 55 194 275 87.86
พลศึกษา

ศิลปะ

การงานอาชพี และ 313 24 60 11 23 14 58 18 96 170 54.31
เทคโนโลยี
ภาษาตา่ งประเทศ 313 43 73 33 46 27 41 22 28 91 29.07

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ทกุ ระดบั ชัน้ ม.1

250
200
150
100
50

0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 20

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 จำนวน ร้อยละ

กลุม่ สาระการ จำนวน จำนวนนกั เรยี นที่มีผลการเรียนรู้ นักเรยี น นักเรียน

เรยี นรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ทไี่ ด้ ท่ีได้

ระดับ 3 ระดบั 3

ข้ึนไป ข้ึนไป

ภาษาไทย 330 71 70 35 43 32 34 19 18 71 22.05

คณิตศาสตร์ 330 40 119 53 44 27 22 13 12 47 14.24

วทิ ยาศาสตร์ 330 29 49 23 41 34 49 59 43 151 46.18

สังคมศกึ ษา 330 22 21 21 24 44 37 74 87 198 60.00

ศาสนา

และวัฒนธรรม

สุขศกึ ษาและ 330 19 5 1 14 29 39 59 164 262 79.40
พลศกึ ษา

ศลิ ปะ 330 16 1 2 6 22 62 102 119 283 85.76

การงานอาชพี และ 330 4 - 1 43 35 80 53 104 237 74.06

เทคโนโลยี

ภาษาต่างประเทศ 330 57 27 16 10 19 59 105 31 195 60.19

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ทกุ ระดับชั้น ม.2

180
160
140
120
100
80
60
40
20

0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 21

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จำนวน ร้อยละ

กล่มุ สาระการ จำนวน จำนวนนักเรียนที่มผี ลการเรยี นรู้ นกั เรยี น นักเรียน

เรยี นรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ท่ีได้ ท่ีได้

ระดับ 3 ระดบั 3

ขึ้นไป ข้นึ ไป

ภาษาไทย 276 22 53 31 49 32 38 11 33 82 30.48

คณิตศาสตร์ 276 51 59 36 39 41 27 12 11 50 18.18

วทิ ยาศาสตร์ 276 33 51 19 43 45 41 24 20 85 30.80

สงั คมศึกษา

ศาสนา 276 7 7 15 32 70 66 36 32 134 50.57

และวัฒนธรรม

สุขศึกษาและ 276 22 7 7 17 16 47 51 109 207 75.00
พลศึกษา

ศิลปะ 276 16 5 8 11 18 36 26 151 213 78.60

การงานอาชพี และ 276 3 - - 28 23 98 42 67 207 79.31
เทคโนโลยี

ภาษาตา่ งประเทศ 276 45 61 29 37 32 23 21 24 68 25.00

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ กุ ระดับช้ัน ม.3

160
140
120
100
80
60
40
20

0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 22

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน ร้อยละ

กลุม่ สาระการ จำนวน จำนวนนกั เรียนทมี่ ีผลการเรียนรู้ นักเรียน นักเรยี น

เรยี นรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ท่ีได้ ท่ไี ด้

ระดบั 3 ระดบั 3

ขึ้นไป ข้ึนไป

ภาษาไทย 180 5 1 11 18 29 38 35 36 109 63.01

คณิตศาสตร์ 180 25 22 31 26 24 14 12 25 51 28.49

วิทยาศาสตร์ 123 20 12 12 23 9 16 13 18 47 38.21

สงั คมศกึ ษา

ศาสนา 180 11 1 4 28 18 33 20 63 116 65.17

และวฒั นธรรม

สขุ ศึกษาและ 180 16 11 25 49 25 33 12 9 54 30.00
พลศกึ ษา

ศิลปะ 180 12 - - 8 23 46 35 56 137 76.11

การงานอาชพี และ 180 19 15 9 16 30 39 29 20 88 49.72
เทคโนโลยี

ภาษาตา่ งประเทศ 180 26 18 22 22 17 22 23 25 70 40.00

ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 8 กล่มุ สาระการเรียนรทู้ กุ ระดับชั้น ม.4

70
60
50
40
30
20
10
0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 23

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 จำนวน รอ้ ยละ

กลมุ่ สาระการ จำนวน จำนวนนกั เรียนท่มี ีผลการเรยี นรู้ นกั เรยี น นักเรียน

เรียนรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ทไี่ ด้ ท่ไี ด้

ระดบั 3 ระดบั 3

ข้นึ ไป ขน้ึ ไป

ภาษาไทย 167 9 5 6 18 2 42 20 65 127 76.05

คณิตศาสตร์ 167 35 28 11 27 20 17 13 16 46 27.55

วิทยาศาสตร์ 119 8 3 5 7 12 18 21 45 84 70.59

สังคมศึกษา

ศาสนา 152 25 26 16 21 17 13 12 7 32 23.36

และวฒั นธรรม

สุขศกึ ษาและ 167 7 2 - 3 12 34 33 76 143 85.63
พลศึกษา

ศลิ ปะ 167 11 8 4 17 14 30 29 54 113 67.66

การงานอาชีพและ 152 11 16 3 21 12 20 8 59 87 58.00
เทคโนโลยี

ภาษาตา่ งประเทศ 167 16 10 11 15 31 13 27 40 80 49.08

ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 8 กลุม่ สาระการเรียนรทู้ กุ ระดับชนั้ ม.5

80
70
60
50
40
30
20
10
0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 24

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 จำนวน ร้อยละ

กลมุ่ สาระการ จำนวน จำนวนนักเรียนทม่ี ผี ลการเรียนรู้ นักเรยี น นักเรยี น

เรียนรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ทีไ่ ด้ ท่ไี ด้

ระดบั 3 ระดบั 3

ข้ึนไป ขึน้ ไป

ภาษาไทย 192 30 6 12 32 22 23 23 44 90 46.88

คณติ ศาสตร์ 97 16 19 10 18 12 4 10 8 22 22.68

วิทยาศาสตร์ 127 21 22 11 25 14 9 4 21 34 26.77

สงั คมศกึ ษา

ศาสนา 168 14 12 10 11 14 13 26 69 108 59.52

และวัฒนธรรม

สขุ ศึกษาและ 192 7 24 8 14 10 31 22 76 129 67.19
พลศกึ ษา

ศิลปะ 192 17 33 13 13 9 8 6 88 102 54.55

การงานอาชพี และ 168 9 10 1 9 4 17 4 113 134 80.24
เทคโนโลยี

ภาษาตา่ งประเทศ 192 31 24 14 21 12 31 25 30 86 45.74

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรทู้ ุกระดับช้นั ม.6

120
100
80
60
40
20

0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 25

4.7 ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2560-2561
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

ปี ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนน
การศกึ ษา โรงเรยี น ประเทศ โรงเรยี น ประเทศ โรงเรียน ประเทศ โรงเรยี น ประเทศ เฉลย่ี รวม 5

วชิ า

2560 43.09 48.29 27.18 30.45 21.72 26.30 28.93 32.28 30.23

2561 48.09 54.42 27.10 29.45 25.21 30.04 31.81 36.10 33.05

เพ่มิ ขึ้น/ +5.00 +6.13 -0.08 -1.00 +3.49 +3.74 +2.88 +3.82 +2.82
ลดลง

60 2560
50 2561
40
30 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
20
10
0

ภาษาไทย

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 26

ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6

ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คะแนน

ปี เฉลี่ย

การศกึ ษา โรงเรยี น ประเทศ โรงเรยี น ประเทศ โรงเรียน ประเทศ โรงเรียน ประเทศ โรงเรยี น ประเทศ รวม 5
วิชา

2560 47.29 49.25 31.95 34.70 23.33 28.31 17.73 24.53 25.45 29.37 29.15

2561 45.91 47.31 33.12 35.16 27.78 31.41 24.71 30.72 27.33 30.51 31.77

เพิม่ ขึน้ / -1.38 -1.94 +1.17 +0.46 +4.45 +3.10 +6.98 +6.19 +1.88 +1.14 +2.62
ลดลง

50 2560
45 2561
40
35 สงั คมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
30
25
20
15
10
5
0

ภาษาไทย

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 27

5. สภาพชมุ ชนและส่งิ แวดล้อม
สภาพชมุ ชนรอบบริเวณโรงเรียนจะเปน็ ชุมชนเมืองเขตช้ันใน มปี ระชากรประมาณ 22,910 คน

โดยบรเิ วณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียนจะมชี ุมชนต้งั อยู่ 15 ชุมชน ดงั นี้

ท่ี แขวงบางตลาดพลู ประชากรในชุมชน (คน)

1 ชมุ ชนวัดใหมย่ ายนุ้ย 487
2 ชมุ ชนสามคั คีธรรม 417
3 ชมุ ชนวัดบางสะแกใน 393
4 ชมุ ชนปากคลองบางสะแก 505
5 ชมุ ชนวดั กนั ตทาราราม 1,960
6 ชมุ ชนข้างสถานรี ถไฟวงเวียนใหญ่ 2,263
7 ชุมชนโรงเจ 1 2,200
8 ชุมชนโรงเจ 2 1,149
9 ชุมชนตากสนิ สมั พนั ธ์ 4,307
10 ชมุ ชนวัดอนิ ทาราม 1,526
11 ชมุ ชนตรอกเทวดา 1,200
12 ชุมชนหลังศนู ยจ์ นั ทรฉ์ ิมไพบูลย์ 626
13 ชุมชนสวนพลู 4,108
14 ชมุ ชนพฒั นาบา้ นล่าง 769
15 ชุมชนปู่ศุข 1,000
ท่มี า : เขตธนบุรี (ข้อมูล 30 กนั ยายน 2561)

อาชีพหลักของชุมชน คือ อาชีพค้าขาย รับจ้าง และอุตสาหกรรมในครวั เรือน เนื่องจากในชมุ ชนมีคนไทย
เชอ้ื สายจีนอาศยั อยู่คอ่ นข้างมาก ประชากรสว่ นใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี /ศิลปวัฒนธรรมท้องถน่ิ ที่เป็น
ที่รจู้ ักโดยท่ัวไป คือ อาชีพการทำขลุ่ยบ้านลาววดั บางไส้ไก่ การทำขนมกุยฉ่ายตลาดพลู และบะหมี่กรอบสมัย
ร.5 (จีนหลี)

6. เกยี่ วกับผูป้ กครอง

- ส่วนมากจบการศกึ ษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

- ประกอบอาชพี รบั จา้ ง รอ้ ยละ 78.80

- นบั ถอื ศาสนา พุทธ ร้อยละ 95.00

- ฐานะทางเศรษฐกจิ / รายไดโ้ ดยเฉลี่ย ต่อครอบครัว ตอ่ ปี 88,000 บาท

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 28

7. โอกาสและข้อจำกดั ของโรงเรยี น
โรงเรียนตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีของวัดอินทารามวรวิหารมพี ื้นที่จำกัดค่อนข้างคับแคบ คือ มีเน้ือท่ี 3 ไร่ 3 งาน

ไม่สามารถขยายพ้ืนที่ออกไปได้อีก ทำให้มีข้อจำกัดในการจัดช้ันเรียน แต่มีความสะดวกในการเดินทาง
เนอื่ งจากทตี่ ั้งอยู่ติดริมถนน และโรงเรยี นก็ได้รบั การสนับสนนุ จากพระครูสวุ ิมลธรรมโสภติ เจ้าอาวาสวัดอินทา
รามวรวิหารเป็นอยา่ งดียิ่ง นอกจากน้ัน วัดอินทารามวรวิหารยงั เป็นวัดท่ีสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชทรงมา
ผนวชและจำพรรษาทีว่ ดั แห่งน้ี จงึ ทำใหโ้ รงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ทางประวตั ศิ าสตรท์ ่ีสำคญั ในสมัยกรงุ ธนบุรี และ
มีโบราณสถานทเ่ี กยี่ วกับพระองค์มากมาย ทำให้เปน็ แหล่งเรยี นรภู้ ายนอกทส่ี ำคญั ของนักเรยี น

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 29

8. โครงสร้างการบรหิ ารของโรงเรยี นวดั อินทาราม
โรงเรียนวัดอินทารามแบ่งโครงสร้างการบริหารงาน เป็น 4 กลุ่มบริหาร ได้แก่ กลุ่มบริหารวิชาการ

กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่มบริหารทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร/
เทคนคิ การบริหารแบบการพฒั นาตามกระบวนการ PDCA

แผนภมู ิการบริหารโรงเรียนวดั อินทาราม คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั อนิ ทาราม

สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรยี นวัดอนิ ทาราม มูลนิธิการศกึ ษาโรงเรียนวดั อินทาราม
สมาคมศษิ ย์เก่าโรงเรียนวัดอินทาราม คณะกรรมการเครือข่ายผปู้ กครอง

กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล กลุม่ บรหิ ารท่วั ไป
(รองผ้อู ำนวยกาโรงเรียน) (รองผู้อำนวยการโรงเรียน) (รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน) (รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน)

- งานบริหารกลุ่มสาระการเรยี นรู้ - งานระดมทรพั ยากรและ - งานบุคคล - งานธรุ การ
- งานพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา การลงทุนเพือ่ การศึกษา - งานทะเบยี นประวัติและ - งานประสานงาน
- งานวัดผล ประเมนิ ผลและ - งานบรหิ ารการเงิน บำเหนจ็ ความรบั ผดิ ชอบ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
เทยี บโอนผลการเรียนรู้ - งานบรหิ ารบญั ชี - งานวนิ ยั และรักษาวินัย ขัน้ พนื้ ฐาน
- งานวจิ ัยพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา - งานบริหารพัสดแุ ละสินทรัพย์ - งานพฒั นาบุคลากรและ - งานประสานงานสมาคม
- งานพัฒนาส่อื นวัตกรรมและ - การจัดทำข้อตกลงการ เสริมสรา้ งประสิทธิภาพ ผ้ปู กครองและครโู รงเรียน
เทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปฏบิ ตั ิราชการ การปฏบิ ตั ริ าชการ วดั อนิ ทาราม
- งานพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ - งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ - งานสง่ เสริมกิจการนกั เรยี น - งานอาคารสถานท่ี
- งานนเิ ทศทางการศกึ ษา - งานตรวจสอบภายใน - งานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื - ยานพาหนะและบรกิ าร
- งานแนะแนวทางการศึกษา - งานจดั ระบบควบคมุ ภาย นักเรยี นและเครือข่าย สาธารณะ
- งานประสานงาน สง่ เสรมิ และ ในหนว่ ยงาน ผูป้ กครอง - งานโภชนาการ
สนบั สนุนงานวิชาการแก่ - งานสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรม - งานอนามยั โรงเรียน
- งานแผนงาน - งานส่งเสรมิ ประชาธิปไตย - งานสวัสดกิ าร
ครอบครวั ชมุ นุม องค์กร - งานระดับชน้ั และครูท่ีปรึกษา - งานวิทยุสอื่ สาร
หนว่ ยงานและสถาบนั อน่ื ที่ - งานป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา - งานโสตทัศนศึกษา
จัดการศึกษา สิ่งเสพตดิ เอดส์ และอบายมขุ - งานประชาสมั พันธ์
- งานการรับนักเรียน - งานวนิ ยั และความประพฤติ - งานสิง่ แวดลอ้ ม
- งานทะเบยี นนักเรียนและ นกั เรยี น
จัดทำสำมะโนนักเรียน - งานประสานและพฒั นา
- งานพัฒนาระบบเครอื ข่าย เครือข่ายการศกึ ษา
ข้อมูลสารสนเทศ - งานสมั พนั ธ์ชมุ ชน
- งานห้องสมุด - งานรักษาความปลอดภัย
- งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพ
- งานการศกึ ษาพเิ ศษ
- งานสง่ เสริมและประสานงาน
การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ
และตามอัธยาศยั

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 30

9. การวเิ คราะหป์ ัจจัยภายในและภายนอก (SWOT องคก์ ร)

โรงเรียนวัดอินทาราม ได้จัดประชุมระดมความคิดและร่วมกันวิเคราะห์จดุ อ่อน จุดแข็ง อุปสรรคและ
โอกาสในการพัฒนาโรงเรียน โดยมีผลการวิเคราะห์และได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์และกลยุทธ์
ในการพัฒนาโรงเรียนและคณุ ภาพการศกึ ษาดังนี้
9.1 การกำหนดสภาพนำ้ หนักของสภาพแวดลอ้ มภายในองค์กร

ประเด็นสำคัญ ค่าเฉล่ียคะแนนจรงิ
1. ดา้ นโครงสรา้ งและนโยบาย (Structure = S1) 0.07
2. ดา้ นผลผลิตและการบรกิ าร (Service and Products = S2) 0.07
3. ด้านบคุ ลากร (Man = M1) -0.04
4. ด้านประสิทธทิ างการเงนิ (Money = M2) 0.09
5. ดา้ นวสั ดุ และอปุ กรณ์ (Materials = M3) 0.02
6. ด้านการบรหิ ารจัดการ (Mannagement = M4) 0.15
สรุปการประเมนิ สถานภาพปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายใน (2S4M) 0.37

9.2 การกำหนดสภาพนำ้ หนักของสภาพแวดลอ้ มภายนอกองคก์ ร

ประเด็นสำคัญ คา่ เฉล่ยี คะแนนจริง
1. ด้านสังคม-วัฒนธรรม (Social = S) 0.08
2. ดา้ นเทคโนโลยี (Technology = T) -0.13
3. ดา้ นเศรษฐกจิ (Economic = E) 0.81
4. ด้านการเมืองและกฎหมาย (Politic = P) -0.07
สรุปการประเมนิ สถานภาพปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายนอก (STEP) 0.70

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 31

9.3 สรปุ ผลแสดงการวเิ คราะห์สภาพภายในองค์กร

ประเด็นสำคัญ น้ำหนักคะแนน ค่าคะแนน คะแนนจรงิ สรปุ ผลการ
จุดแข็ง จุดออ่ น จดุ แขง็ จดุ ออ่ น วิเคราะห์
1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย (S1) 0.20 3.75 3.38 0.75 0.68
3.60 3.33 1.01 0.93 0.07
2. ดา้ นผลผลิตและการบรกิ าร (S2) 0.28 3.63 3.88 0.51 0.54 0.07
3.80 3.05 0.46 0.37 -0.04
3. ดา้ นบุคลากร (M1) 0.14 3.46 3.23 0.35 0.32 0.09
3.80 2.89 0.61 0.46 0.02
4. ด้านประสิทธทิ างการเงนิ (M2) 0.12 3.68 3.30 0.15

5. ดา้ นวัสดุ และอุปกรณ์ (M3) 0.10 0.19 0.37

6. ดา้ นการบริหารจัดการ (M4) 0.16

สรปุ ปัจจยั ภายใน

เฉล่ียปจั จัยภายใน

9.4 สรปุ ผลแสดงการวิเคราะหส์ ภาพภายนอกองค์กร

ประเด็นตัวชว้ี ัด นำ้ หนกั คะแนน ค่าคะแนน คะแนนจรงิ สรุปผลการ
โอกาส อุปสรรค โอกาส อปุ สรรค วเิ คราะห์
1.31 1.22
1. ดา้ นสงั คม-วฒั นธรรม (S) 0.34 3.85 3.60 0.53 0.66 0.08
0.99 0.19 -0.13
2. ด้านเทคโนโลยี (T) 0.22 2.43 3.00 0.44 0.51 0.81
3.28 2.58 -0.07
3. ด้านเศรษฐกจิ (E) 0.31 3.20 0.60
0.35 0.70
4. ด้านการเมอื งและกฎหมาย (P) 0.13 3.40 3.92

คา่ เฉลี่ยคะแนนจริงประเมินสภาพปจั จยั สภาพแวดล้อมภายนอก (STEP)

สรุปการประเมนิ สถานภาพปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายนอก (STEP)

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 32
กราฟแสดงสถานภาพของโรงเรยี นวัดอนิ ทาราม
จากการวิเคราะหส์ ภาพองค์กรจากปัจจยั ภายนอกและปัจจัยภายใน

อธบิ ายผลจากกราฟ
ผลจากการวิเคราะห์องค์กร จะเห็นว่า จุดไข่แดงพร้อมลูกศรจะปรากฎอยุ่ทางด้านจุดแข็งและ

อุปสรรค ซึ่งถือว่าเป็น STAR หรือ ดาวรุ่ง แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนมีสมรรถนะภายในท่ีเข้มแข็งและได้รับ
โอกาสสนบั สนนุ จากภายนอก ควรมีการขยายและส่งเสริมสิ่งที่เขม้ แข็งใหม้ ีการพัฒนาต่อไป

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 33

สรุปผลการประเมนิ สถานภาพของโรงเรยี นวดั อนิ ทาราม
➢ จดุ แข็ง

1. โรงเรยี นมกี ารกำหนดนโยบายได้ชดั เจน โดยการมสี ว่ นร่วมของบุคลากรทุกฝา่ ย
2. โรงเรยี นมกี ารปฏบิ ตั ิสอดคล้องกบั นโยบายของโรงเรียน
3. โครงสร้างการบริหารงานของโรงเรยี นมคี วามชัดเจน ครอบคลมุ การทำงานของบคุ ลากรในโรงเรยี น
ทัง้ ในระยะสนั้ และระยะยาว
4. มีการกำหนดวิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ และเปา้ หมาย ดำเนินงานชดั เจน ส่งผลให้สามารถนำเป็นทศิ ทางใน
การจดั การศกึ ษาได้อย่างถกู ต้อง
5. มีการจดั การเรยี นการสอนและจดั กิจกรรมเสริมทางด้านความรู้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สุขภาพ
พลานามยั และจติ สาธารณะตามความถนดั ความสามารถและความสนใจของนักเรียน
6. มีการวางแผนการบริหารงาน ชดั เจน เป็นระบบ และดำเนินงานตามแผน โดยมหี ลกั ฐานในการ
มอบหมายงาน
➢ โอกาส
1. การคมนาคมสะดวก
2. มีแหลง่ เรียนรแู้ ละสถานประกอบการใกล้โรงเรยี นมภี ูมปิ ัญญาท้องถ่ิน
3. ชมุ ชนเห็นความสำคัญ และมีส่วนร่วมในการพฒั นาการจัดการศึกษา
4. มีสาธารณูปโภคเพยี งพอ
5. การทำบนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมอื ระหวา่ งโรงเรยี นกบั องค์กรภายนอก
➢ อุปสรรค
1. ชมุ ชนมสี ภาพเศรษฐกิจไม่คอ่ ยดี
2. มแี หล่งอบายมุข
3. ผู้ปกครองบางสว่ นให้ความร่วมมอื กบั ทางโรงเรยี นยงั ไม่มากเท่าที่ควร
4. พื้นที่ของโรงเรียนไม่เอื้ออำนวยตอ่ การจดั กจิ กรรมบางกจิ กรรม
➢ จุดออ่ น
1. นกั เรียนบางส่วนยังขาดความกระตือรือรน้ ขาดทักษะของการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
2. การผลิตส่ือและเทคโนโลยยี งั ผลติ ได้นอ้ ย
3. ปญั หาการติด 0 ร มส ของนักเรียน

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 34

บทที่ 3
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา

1. วิสยั ทัศน์ (VISION)
จดั การศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษาสู่สากลบนพื้นฐานความเป็นไทย ตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. พันธกิจ (MISSION)
1. พฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ ีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาส่มู าตรฐานสากล
2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีดีงาม บนพืน้ ฐานความเป็นไทย
3. ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นสบื สานศลิ ปวัฒนธรรมไทย อนุรักษ์สิง่ แวดล้อม และดำเนินชวี ิตตามหลกั ปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. สง่ เสรมิ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหเ้ ปน็ มอื อาชพี
5. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใช้เทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นรู้ และการบริหารจัดการศึกษาอยา่ งเป็น

ระบบ

3. เป้าประสงค์ (GOAL)
ด้านผู้เรียน
1. ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขน้ึ รอ้ ยละ 3
2. ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และคดิ แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างสร้างสรรค์
3. ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทด่ี งี าม บนพนื้ ฐานความเป็นไทย
4. ผู้เรียนสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเองอย่าง

สร้างสรรค์
6. ผูเ้ รยี นมสี ุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคมทด่ี ี
7. ผู้เรยี นยอมรับทจี่ ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างหลากหลาย และรับฟงั ความคดิ เห็นของผูอ้ ่ืน

ดา้ นครู
1. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเป็นมอื อาชีพในการจดั การเรียนการสอน
2. ครไู ดร้ บั การยกยอ่ งตามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณครู

ดา้ นผู้บรหิ าร
1. สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมีความรูท้ างด้านวชิ าการ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์
2. ส่งเสรมิ สมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพอย่างมืออาชีพ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 35

3. บรหิ ารจดั การศกึ ษาอย่างมปี ระสิทธิภาพตามระบบคุณภาพ OBECQA
4. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ และจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนการสอน และการใช้เทคโนโลยีอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ด้านชมุ ชน
1. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลนักเรียน การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม การใช้แหล่งการเรียนรู้ สืบสาน
วฒั นธรรมประเพณีและภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ
2. โรงเรียนเปน็ แหล่งความรูแ้ ละนำความรสู้ ูช่ มุ ชนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

4. เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา (Uniqueness)
รักษว์ ฒั นธรรม ก้าวล้ำสูส่ ากล

5. อัตลักษณ์ของสถานศกึ ษา (Identity)
สภุ าพชน คนตลาดพลู
- แต่งกายสุภาพ
- มารยาทงาม
-วาจาดี
-ขยนั หมั่นเพียร

6. เป้าหมายความสำเร็จ
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นร้อยละ 3 มีความสามารถในการคิดอย่างมี

วิจารณญาณ และคิดแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือ
พฒั นาตนเองอยา่ งสรา้ งสรรค์

2. เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม บนพื้นฐานความเป็นไทย สืบสาน
ศลิ ปวัฒนธรรมไทย อนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อม และดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีสุขภาวะทาง
รา่ งกาย และจติ สงั คมทด่ี ี อยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างหลากหลาย และรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่นื

3. เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และจัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนการสอน ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล
นักเรียน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การใช้แหล่งการเรียนรู้ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
และโรงเรยี นเปน็ แหล่งความรู้และนำความรสู้ ชู่ มุ ชนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

4. เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นมืออาชีพในการจัดการเรียนการสอน ได้รับการยกย่อง
ตามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณครู

5. มกี ารใช้เทคโนโลยีอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
6. มกี ารสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมคี วามรทู้ างด้านวชิ าการ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มที่พึงประสงค์
7. มีระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาอย่างมีประสิทธภิ าพตามระบบคุณภาพ OBECQA

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 36

7. ตวั ชวี้ ัดความสำเรจ็
1. ร้อยละ 85 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ
2. ร้อยละ 85 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย

แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแก้ปญั หา
3. รอ้ ยละ 85 ของนกั เรยี นมคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
4. รอ้ ยละ 85 ของนกั เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
5. ร้อยละ 62 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา
6. รอ้ ยละ 85 ของนกั เรยี นมีความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ีด่ ตี ่องานอาชพี
7. ครูจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน

ชีวิตไดใ้ นระดับดเี ลิศ
8. ครใู ชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ี่เอ้ือต่อการเรียนรู้ในระดบั ดีเลศิ
9. ครมู กี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชงิ บวกในระดบั ยอดเยีย่ ม
10. ครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนในระดับยอด

เยีย่ ม
11. ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ใน

ระดับยอดเยี่ยม
12. รอ้ ยละ 92 ของนักเรียนมคี ุณลักษณะและค่านยิ มทีด่ ีตามท่ีสถานศึกษากำหนด
13. รอ้ ยละ 92 ของนกั เรยี นมคี วามภูมใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย
14. ร้อยละ 92 ของนักเรยี นยอมรบั ที่จะอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
15. รอ้ ยละ 92 ของนกั เรยี นมีสขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม
16. มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนการสอนอย่างมี

คุณภาพอยใู่ นระดบั ดเี ลิศ
17. มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพของนักเรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา อยู่

ในระดบั ดเี ลศิ
18. มีการพฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี อยู่ในระดับยอดเย่ียม
19. ครูจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน

ชีวติ ไดใ้ นระดบั ดเี ลิศ
20. ครใู ชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู ่เี ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ในระดับดเี ลิศ
21. ครมู ีการบริหารจัดการช้นั เรยี นเชิงบวกในระดับยอดเย่ยี ม
22. ครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนในระดับยอด

เย่ียม
23. ครูมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ใน

ระดบั ยอดเยยี่ ม

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 37

24. มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้อยู่ใน
ระดับดี

25. มีเป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชัดเจนอย่ใู นระดบั ยอดเยยี่ ม
26. มีระบบการบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาอยูใ่ นระดบั ดีเลศิ
27. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเปา้ หมายอยใู่ นระดับยอดเยยี่ ม

8. กลยุทธ์ ยทุ ธศาสตร์ และโครงการ
1. กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวัดและการประเมินผล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม
มาตรฐานการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานสมู่ าตรฐานสากล

1.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1.1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญส่มู าตรฐานสากล

1) โครงการพัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการเรียนร้สู ูม่ าตรฐานสากล
2) โครงการพัฒนาศกั ยภาพ และยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
1.2 ยุทธศาสตร์ท่ี 1.2 พัฒนาการวัดและการประเมินผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลายเหมาะสมกับ
ศกั ยภาพของผู้เรยี น
1) โครงการพฒั นาหลกั สูตรและกระบวนการเรยี นรู้สู่มาตรฐานสากล
2) โครงการพฒั นาศักยภาพ และยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
1.3 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1.3 ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นทกุ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งู ข้นึ ร้อยละ 3
1) โครงการพัฒนาศกั ยภาพ และยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
1.4 ยุทธศาสตร์ท่ี 1.4 ส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ คิด
สรา้ งสรรค์ และสามารถแกป้ ัญหาได้ดว้ ยตนเอง
1) โครงการพัฒนาศักยภาพ และยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
2) โครงการเสริมสร้างบคุ คลแหง่ การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
1.5 ยุทธศาสตร์ที่ 1.5 ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ออกแบบ สร้างสรรค์นวัตกรรม
นำเสนอ เผยแพรผ่ ลงาน และแลกเปลยี่ นเรยี นรไู้ ด้
1) โครงการพฒั นาศักยภาพ และยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
2) โครงการเสรมิ สร้างบคุ คลแหง่ การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
1.6 ยุทธศาสตร์ท่ี 1.6 ส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถ ความถนัด และความ
สนใจในอาชพี สุจรติ
1) โครงการพฒั นาศกั ยภาพ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2) โครงการเสริมสร้างบคุ คลแห่งการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 38

1.7 ยุทธศาสตร์ที่ 1.7 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถในการอ่าน เขียน การแสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง และมีนิสัยรักการอา่ น

1) โครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอ่าน
2. กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมหลัก 12
ประการ บนพ้ืนฐานความเปน็ ไทย

2.1 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2.1 สง่ เสริมให้ผเู้ รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน และค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ

1) โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ บนพ้ืนฐานความเป็นไทย
และค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ

2) โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ
3) โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน
2.2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2.2 ปลูกฝังให้ผู้เรียนรักและภูมิใจในความเป็นไทย อนรุ ักษ์ สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ไทย และอยูร่ ่วมกนั บนความหลากหลายทางวฒั นธรรม
1) โครงการสืบสานภมู ิปัญญาไทย และอนุรกั ษศ์ ิลปวฒั นธรรมไทย
2) โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
2.3 ยุทธศาสตร์ท่ี 2.3 สนับสนุนการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการ
พฒั นาการศกึ ษา
1) โครงการสืบสานภมู ปิ ญั ญาไทย และอนุรักษศ์ ลิ ปวัฒนธรรมไทย
2) โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรคู้ วามหลากหลายทางวฒั นธรรม
3. กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา จัดบรรยากาศสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดลอ้ ม และดำเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3.1 ยุทธศาสตร์ที่ 3.1 พัฒนาอาคารสถานท่ีสิง่ แวดล้อม ส่ิงอำนวยความสะดวก แหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อ
การเรียนรู้ และบริการชุมชน
1) โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ี ส่ิงแวดล้อม ใหเ้ ปน็ สังคมแห่งการเรยี นรู้
3.2 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3.2 ส่งเสริมการใชพ้ ลังงานอย่างคุ้มค่า อนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อม บรหิ ารจัดการขยะ และ
ลดใชถ้ ุงพลาสติกในสถานศกึ ษา
1) โครงการร้รู ักษ์ส่ิงแวดล้อม
3.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3.3 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
1) โครงการสง่ เสริมการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. กลยทุ ธท์ ่ี 4 สง่ เสรมิ พัฒนาสมรรถนะของครใู นการจดั การศึกษาให้มีคุณภาพ สู่ความเป็นครมู ืออาชีพ
4.1 ยุทธศาสตร์ที่ 4.1 ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ประพฤติปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม
จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 39

1) โครงการส่งเสริม พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพอย่างมือ
อาชีพ

4.2 ยุทธศาสตร์ที่ 4.2 ส่งเสริมให้ครูมีแผนพัฒนาตนเอง วิจัยในช้ันเรียน การใช้และสร้างนวัตกรรม
สอื่ เทคโนโลยใี นการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน

1) โครงการส่งเสริม พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพอย่างมือ
อาชพี

4.3 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4.3 พัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานโดยใช้ระบบการนิเทศประเมินผลอย่างเป็น
รูปธรรม

1) โครงการส่งเสริม พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพอย่างมือ
อาชีพ

4.4 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4.4 เสริมสรา้ งขวัญและกำลงั ใจใหแ้ ก่ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
1) โครงการเสรมิ สรา้ งขวัญและกำลังใจให้แก่ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

5. กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาส่ือ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางการศึกษา และระบบบริหารการจัดการศึกษาอย่างมี
ประสิทธิภาพโดยใชห้ ลกั การมสี ว่ นร่วม

5.1 ยุทธศาสตร์ที่ 5.1 พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต ที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ และ
การบริหารจดั การ

1) โครงการพัฒนาระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ พือ่ การเรยี นรู้ และการบรหิ ารจดั การ
5.2 ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 พัฒนาระบบบริหารและจัดการศกึ ษาด้วยระบบคุณภาพ

1) โครงการพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาด้วยระบบคุณภาพโดยใชห้ ลักการมีส่วนรว่ ม
5.3 ยุทธศาสตร์ท่ี 5.3 ส่งเสริม สนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน เครือข่าย และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดการศึกษา

1) โครงการพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาดว้ ยระบบคุณภาพโดยใช้หลักการมสี ่วนรว่ ม

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 40

แผนกลยทุ ธโ์ รงเรยี นวัดอนิ ทารามระยะ 3 ปี
(2563 – 2565)
กลยทุ ธ์สถานศึกษา

กลยทุ ธท์ ่ี 1 พัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การวดั และการประเมนิ ผล
และกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานสู่

มาตรฐานสากล

กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์ และคา่ นิยมหลัก 12 ประการ บนพื้นฐานความเปน็ ไทย

กลยทุ ธท์ ่ี 3 พฒั นาแหลง่ เรียนร้ภู ายในสถานศึกษา จดั บรรยากาศสรา้ ง
เสรมิ คุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม และดำเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง

กลยทุ ธ์ที่ 4 ส่งเสริม พัฒนาสมรรถนะของครูในการจัดการศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพ
สูค่ วามเป็นครมู ืออาชีพ

กลยทุ ธท์ ี่ 5 พัฒนาสอื่ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางการศกึ ษา และระบบบรหิ าร
การจดั การศึกษาอย่างมีประสทิ ธภิ าพโดยใชห้ ลกั การมีสว่ นรว่ ม

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 41

ความเชื่อมโยงของวสิ ัยทศั น์ – พันธกจิ – กลยุทธ์ – ยุทธศาสตร์ – โครงการ และกิจกรรม

วิสยั ทศั น์ : จัดการศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาสู่สากลบนพน้ื ฐานความเป็นไทย
พนั ธกิจ : ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ขอ้ 1 พฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาส่มู าตรฐานสากล

กลยทุ ธ์ ยทุ ธศาสตร์ โครงการ กิจกรรม
กลยทุ ธ์ที่ 1 พฒั นา
หลกั สูตรสถานศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ี่ 1.1 1. โครงการพฒั นา 1. กิจกรรมพฒั นาหลักสตู รและ
การวัดและการ
ประเมนิ ผล และ พัฒนาหลกั สตู ร หลักสตู รและ กระบวนการเรยี นรู้
กระบวนการจัดการ สถานศกึ ษาและ 2. กิจกรรมการจัดการเรยี นการสอน
เรยี นรู้ตามมาตรฐาน
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานสู่ กระบวนการจัดการ กระบวนการเรยี นรู้สู่ ทวิภาคี
มาตรฐานสากล
เรียนรทู้ ่เี นน้ ผู้เรยี นเป็น มาตรฐานสากล 3. กจิ กรรมห้องเรยี นความเป็นเลิศทาง
กลยทุ ธ์ที่ 1 พฒั นา สำคญั สมู่ าตรฐานสากล วิชาการ
หลกั สตู รสถานศึกษา
การวัดและการ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1.2 4. กิจกรรมการวัดและประเมินผล
ประเมินผล และ
กระบวนการจัดการ พฒั นาการวดั และการ การเรียนรู้โดย Application และ
เรยี นรตู้ ามมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานสู่ ประเมินผลดว้ ยวิธกี าร โปรแกรมคอมพิวเตอร์
มาตรฐานสากล
ที่หลากหลายเหมาะสม 5. กิจกรรมขับเคล่ือนโรงเรยี น

กบั ศักยภาพของผู้เรียน มาตรฐานสากล

6. กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้

7. กิจกรรมคา่ ยคณติ ศาสตรเ์ พอื่ พัฒนา

ศกั ยภาพฯ ม.ต้น

8. We can write, I can read

9. แก้ปัญหานกั เรยี น ตดิ 0, ร, มส

ยุทธศาสตรท์ ี่ 1.3 2. โครงการพัฒนา 10. กิจกรรมวันสุนทรภ่สู วู่ นั ภาษาไทย

ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ศักยภาพ และ แหง่ ชาติ

ทางการเรยี นทุกกลุ่ม ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ 11. กจิ กรรมส่งเสรมิ ศกั ยภาพนกั เรียน
สาระการเรียนรูส้ ูงข้ึน ทางการเรียน ด้านภาษาไทย
รอ้ ยละ 3
12. กิจกรรมยกระดับผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนภาษาไทย

13. กิจกรรมยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ

ทางการเรยี นคณิตศาสตร์

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 42

กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ โครงการ กจิ กรรม
กลยทุ ธ์ท่ี 1 พฒั นา ยุทธศาสตรท์ ี่ 1.3 2. โครงการพัฒนา 14. กิจกรรมพฒั นาศักยภาพทาง
หลักสูตรสถานศกึ ษา ยกระดับผลสัมฤทธิ์
การวดั และการ ทางการเรียนทุกกลุ่ม ศักยภาพ และ คณิตศาสตร์
ประเมินผล และ สาระการเรยี นรู้สูงขึ้น ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ 15. กจิ กรรมสปั ดาห์คณิตศาสตร์
กระบวนการจดั การ รอ้ ยละ 3 ทางการเรยี น (ต่อ) 16. กิจกรรมสปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์และ
เรยี นรูต้ ามมาตรฐาน
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานสู่ เทคโนโลยีแหง่ ชาติ
มาตรฐานสากล 17. กิจกรรมพฒั นาศักยภาพทาง

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยขี อง
นกั เรียน
18. กจิ กรรมนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย
19. กจิ กรรมยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นวิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี
20. กจิ กรรมนทิ รรศการอาชีพ
สรา้ งสรรคก์ ้าวทนั เทคโนโลยี
21. กจิ กรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นการงานอาชีพฯ
22. กิจกรรมค่ายพฒั นาทกั ษะทางภาษา
และเรียนร้วู ัฒนธรรมฝร่ังเศส
23. กิจกรรมทดสอบวัดระดับความรู้
ภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ัน
มธั ยมศกึ ษาช้นั ปที ี่ 3และ 6
24. กจิ กรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียน : Mission Incredible
25. กจิ กรรม อย.น้อย
26. กจิ กรรมพฒั นาศักยภาพของผูเ้ รียน
วิชาสงั คมและทักษะทางวชิ าการ
27. กจิ กรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี นสังคมศกึ ษาฯ
28. กจิ กรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นเกยี่ วกับผลการเรยี น
GAT, PAT, O-NET

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 43

กลยทุ ธ์ ยุทธศาสตร์ โครงการ กจิ กรรม
กลยุทธท์ ่ี 1 พฒั นา ยุทธศาสตร์ท่ี 1.3 2. โครงการพฒั นา 29. กจิ กรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
หลักสูตรสถานศกึ ษา ยกระดับผลสัมฤทธิ์
การวดั และการ ทางการเรียนทกุ กลุ่ม ศักยภาพ และ ทางการเรยี นสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ประเมนิ ผล และ สาระการเรยี นรูส้ งู ขึ้น ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ 30. กจิ กรรมยกระดับผลสมั ฤทธิ์
กระบวนการจดั การ ร้อยละ 3 ทางการเรียน (ต่อ)
เรียนรตู้ ามมาตรฐาน ทางการเรยี นศลิ ปะ
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานสู่ 31. กจิ กรรมพฒั นาศักยภาพนักเรยี น
มาตรฐานสากล
กลมุ่ สาระฯสุขศึกษาและพลศกึ ษา
32. กจิ กรรมนวตั กร
33. กจิ กรรมการจดั การเรียนการสอน

นาฏศลิ ป์
34. กจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอน

ทัศนศลิ ป์
35. กจิ กรรมการจดั การเรียนการสอน

ดนตรีสากล
36. กจิ กรรมการจัดการเรียนการสอน

ดนตรีไทย
37. กจิ กรรมการจดั ซือ้ วสั ดุอุปกรณ์

เครอื่ งครัว

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 44

กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ โครงการ กจิ กรรม
กลยทุ ธท์ ่ี 1 พฒั นา
หลกั สตู รสถานศกึ ษา ยุทธศาสตร์ท่ี 1.4 3. โครงการเสรมิ สรา้ ง 38. กิจกรรมงานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น
การวัดและการ
ประเมินผล และ สง่ เสรมิ ศักยภาพผู้เรียน บุคคลแห่งการเรยี นรู้ 39. กจิ กรรมค่ายลกู เสอื เนตรนารี
กระบวนการจดั การ ใหเ้ กดิ กระบวนการคิด
เรยี นรูต้ ามมาตรฐาน วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ในศตวรรษท่ี 21 ยวุ กาชาด
การศกึ ษาข้ันพื้นฐานสู่ คิดสรา้ งสรรค์ และ
มาตรฐานสากล สามารถแก้ปัญหาได้ 40. กจิ กรรมอินทารามวิชาการ
ด้วยตนเอง
Open House
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1.5
41. กจิ กรรมค่ายบรู ณาการม.ปลาย

42. กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพนักเรยี น

เพอ่ื การสอบ HSK

43. กจิ กรรมเตรียมความพร้อม

สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นใช้ ก่อนสอบPAT 7.4 ภาษาจีน

เทคโนโลยีในการเรียนรู้ 44. กิจกรรมการแขง่ ขันภายใน
ออกแบบ สรา้ งสรรค์ อนิ ทารามเกมส์
นวัตกรรม นำเสนอ
เผยแพร่ผลงาน และ 45. กิจกรรมแขง่ ขันทกั ษะภาษา
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ได้ ตา่ งประเทศ

ยุทธศาสตรท์ ่ี 1.6 46. กิจกรรมการแขง่ ขันกจิ กรรม
สภานกั เรียน

ส่งเสริม สนับสนนุ

ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้ตาม

ความสามารถ ความ

ถนดั และความสนใจใน

อาชีพสุจริต

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 45

กลยทุ ธ์ ยทุ ธศาสตร์ โครงการ กจิ กรรม
กลยทุ ธ์ที่ 1 พัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 1.7 4. โครงการส่งเสริม 47. กิจกรรมเขยี นคล่องครรลองไทย
หลักสูตรสถานศกึ ษา ส่งเสรมิ ผเู้ รยี นให้มี 48. กิจกรรมพัฒนานกั เรยี นอ่าน-เขียน
การวัดและการ ความสามารถในการ นสิ ยั รกั การอา่ น
ประเมินผล และ อา่ น เขียน การ ไมค่ ลอ่ ง
กระบวนการจัดการ แสวงหาความรูด้ ว้ ย 49. กิจกรรมหยดุ ทุกอยา่ ง วางทกุ งาน
เรยี นร้ตู ามมาตรฐาน ตนเอง และมนี สิ ัยรกั
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานสู่ การอ่าน อา่ นทกุ คน
มาตรฐานสากล 50. กจิ กรรมสัปดาห์ห้องสมุดรวมใจ

กลยุทธท์ ่ี 1 รวมท้ังสนิ้ 7 ยทุ ธศาสตร์ 4 โครงการ วันภาษาไทยแหง่ ชาตสิ ง่ เสรมิ นิสัย
รักการอา่ น
51. กจิ กรรมร่วมสร้างชมุ ชนให้เข้มแข็ง
รว่ มแรงกันสง่ เสริมการอา่ น
52. กิจกรรมห้องสมุดเคลอ่ื นท่ี
53. กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะคำศพั ท์
คำคมภาษาไทย
54. กิจกรรมค่ายรักการอ่าน

54 กจิ กรรม

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 46

วสิ ัยทศั น์ : จดั การศึกษาอยา่ งมีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาส่สู ากลบนพ้นื ฐานความเปน็ ไทย
พันธกจิ : ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ขอ้ ที่ 2 สง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมทด่ี ีงาม บนพนื้ ฐานความเป็นไทย

ขอ้ ที่ 3 สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมไทย อนุรักษส์ ่ิงแวดล้อม และดำเนนิ ชีวิตตาม

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กลยทุ ธ์ ยุทธศาสตร์ โครงการ กจิ กรรม

กลยทุ ธ์ท่ี 2 ส่งเสริมให้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2.1 5. โครงการส่งเสรมิ 55. กจิ กรรมตักบาตรวิถีพุทธ

ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม 56. กิจกรรมค่ายคุณธรรม ม.1, ม.4

จริยธรรม คุณลกั ษณะ คุณธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึง 57. กิจกรรมบรรพชาสามเณร

อันพึงประสงค์ และ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ บนพน้ื ฐาน เฉลิมพระเกียรติ

คา่ นิยมหลัก 12 ประสงค์ตามหลักสตู ร ความเป็นไทย และ 58. กจิ กรรมโรงเรยี นรกั ษาศีล 5

ประการ บนพื้นฐาน แกนกลางการศึกษาข้นั ค่านยิ มหลักของคน 59. กจิ กรรมปฏิญาณตนเป็น

ความเป็นไทย พ้นื ฐาน และค่านิยม ไทย 12 ประการ พทุ ธมามกะ

หลกั ของคนไทย 12 60. กจิ กรรมสอบธรรมศึกษาช้ันตรี

ประการ ช้ันโท ชน้ั เอก

61. กจิ กรรมการขบั เคลือ่ นโรงเรยี น

คุณธรรม

62. กจิ กรรมสร้างกล้าใหแ้ กร่ง

63. กิจกรรมวันคลา้ ยวันเฉลิม

พระชนมพรรษาพระบาทสมเดจ็

พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ล

อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

วนั ชาตแิ ละวันพอ่ แห่งชาติ

64. กจิ กรรมวนั เฉลิมพระชนมพรรษา

สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ

พระบรมราชนิ ีนาถและวนั แม่

65. กจิ กรรมวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา

สมเด็จพระราชนิ ี

66. กจิ กรรมวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั

67. กิจกรรมวนั สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ

68. กิจกรรมลกู อ.ร.ของหายได้คนื

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 47

กลยทุ ธ์ ยทุ ธศาสตร์ โครงการ กจิ กรรม
กลยทุ ธท์ ่ี 2 สง่ เสรมิ ให้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2.1 5. โครงการสง่ เสรมิ 69. กิจกรรมคนดศี รีอ.ร.
ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมี 70. กจิ กรรมวนั สถาปนาโรงเรียน
จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะ คุณธรรม จรยิ ธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 71. กจิ กรรมห้องเรียนพสิ ุทธิ์
อนั พงึ ประสงค์ และ คณุ ลกั ษณะอันพึง คณุ ลกั ษณะอันพึง 72. กิจกรรมพธิ ีบชู าครู
คา่ นิยมหลัก 12 ประสงคต์ ามหลักสตู ร ประสงค์ บนพนื้ ฐาน 73. กิจกรรมวนั สง่ เสรมิ ประชาธิปไตย
ประการ บนพ้ืนฐาน แกนกลางการศึกษาขัน้ ความเปน็ ไทย และ 74. กจิ กรรมส่งเสริมวินัยนกั เรียน
ความเป็นไทย พ้ืนฐาน และค่านยิ ม ค่านยิ มหลักของคน 75. กจิ กรรมน้องไหว้พ่ี พร่ี ับไหว้นอ้ ง
หลกั ของคนไทย 12 ไทย 12 ประการ 76. กิจกรรมวนั มอบงานสภานกั เรยี น
ประการ (ต่อ) 77. กิจกรรมวันคล้ายวนั สถาปนา

6. โครงการสถานศึกษา ยวุ กาชาด
สีขาว ปลอดยาเสพ 78. กิจกรรมพิธีสวนสนามและ
ติด และอบายมุข
กล่าวคำปฏิญาณ
7. โครงการพฒั นา 79. กจิ กรรมปัจฉิมนเิ ทศ ม.3 และ ม.6
ระบบดูแลชว่ ยเหลือ 80. กจิ กรรมพิธีถวายราชสดดุ ี
นกั เรยี น
พระมหาธีรราชเจา้
81. กจิ กรรมห้องเรยี นสขี าว
82. กิจกรรมวันงดสบู บุหร่ีโลก
83. กิจกรรมลกู อ.ร. ตา้ นยาเสพตดิ
84. กิจกรรมวนั เอดสโ์ ลก
85. กจิ กรรมลกู เสือตา้ นยาเสพตดิ
86. กิจกรรมฟุตซอลอนิ ทารามคัพ
87. กิจกรรมค่ายพฒั นาและ

สานสมั พันธผ์ นู้ ำนักเรียน
88. กิจกรรม Teach for you
89. กิจกรรม IR Kid DAY
90. กิจกรรมการเย่ยี มบ้านนักเรยี น
91. กจิ กรรมประชุมผู้ปกครองชัน้ เรียน

(Classroom Meeting)
92. กิจกรรมคัดกรองนกั เรยี น

(SDQ, EQ)
93. กจิ กรรมสานสายใยครอบครัว
94. กิจกรรมมอบทุนการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 48

กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ โครงการ กิจกรรม

กลยุทธ์ที่ 2 สง่ เสรมิ ให้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2.1 7. โครงการพัฒนา 95. กจิ กรรมนมเสริมเพิ่มสูง

ผู้เรียนมีคณุ ธรรม สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียนมี ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื 96. กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพ

จริยธรรม คุณลักษณะ คุณธรรม จรยิ ธรรม นักเรยี น (ตอ่ ) 97. กจิ กรรมพชิ ิตไขมนั

อนั พงึ ประสงค์ และ คณุ ลกั ษณะอนั พึง 98. กิจกรรมเตรียมความพร้อม

ค่านยิ มหลกั 12 ประสงคต์ ามหลักสูตร สูม่ หาวทิ ยาลัย

ประการ บนพื้นฐาน แกนกลางการศึกษาข้ัน 99. กจิ กรรมเสรมิ สร้างสขุ ภาพ

ความเป็นไทย พืน้ ฐาน และค่านิยม 100. กิจกรรมนักเรยี นเรียนร่วม

หลกั ของคนไทย 12 101. สดชืน่ กอ่ นขน้ึ เรยี น

ประการ 102. ตรวจสุขภาพนักเรียนระดบั ช้นั

มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – 6

103. ประกนั อบุ ตั เิ หตุ 2563

กลยทุ ธ์ท่ี 2 สง่ เสรมิ ให้ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2.2 8. โครงการสืบสาน 104. กจิ กรรมวนั ลอยกระทง

ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม ปลกู ฝังใหผ้ ู้เรยี นรักและ ภมู ิปญั ญาไทย และ 105. กิจกรรมหล่อเทียนและแห่เทียน

จริยธรรม คุณลักษณะ ภมู ใิ จในความเป็นไทย อนุรักษ์ จำนำพรรษา

อนั พึงประสงค์ และ อนุรักษ์ สบื สาน ศลิ ปวฒั นธรรมไทย 106. กิจกรรมเทศนม์ หาชาติ

ค่านยิ มหลกั 12 ศลิ ปวัฒนธรรมไทย 107. กจิ กรรมวนั วสิ าขบชู า

ประการ บนพื้นฐาน และอย่รู ว่ มกันบนความ 108. กจิ กรรมวนั มาฆบชู า

ความเป็นไทย หลากหลายทาง 109. กจิ กรรมวนั อาสาฬหบชู า

วฒั นธรรม 110. กจิ กรรมวนั ไหว้ครู

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2.3 111. กิจกรรมการอนรุ ักษ์กีฬาไทย

สนบั สนุนการนำภมู ิ 112. กิจกรรมวันอำลาผู้สำเรจ็

ปัญญาท้องถน่ิ ปราชญ์ การศกึ ษา ม.3 และ ม.6

ชาวบ้านเข้ามามีส่วน 9. โครงการสง่ เสรมิ การ 113. กิจกรรมวนั ตรษุ จนี

ร่วมในการพัฒนา เรียนรคู้ วาม 114. กิจกรรมวนั คริสต์มาส

การศึกษา หลากหลายทาง 115. กจิ กรรมเรียนร้วู ฒั นธรรมจีนดว้ ย

วัฒนธรรม ตนเองผ่านการชมนทิ รรศการ

116. กจิ กรรมวันชาตฝิ ร่ังเศส

117. กจิ กรรมอาเซยี นนิทรรศน์

118. กิจกรรมภาษา Plaza

กลยทุ ธท์ ี่ 2 รวมท้ังสิน้ 3 ยุทธศาสตร์ 5 โครงการ 65 กิจกรรม

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2563 – 2565 49

วสิ ัยทศั น์ : จดั การศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาส่สู ากลบนพ้ืนฐานความเป็นไทย
พนั ธกจิ : ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ข้อท่ี 3 ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนสบื สานศลิ ปวฒั นธรรมไทย อนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อม และดำเนินชวี ติ ตาม

หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ โครงการ กิจกรรม
กลยทุ ธ์ท่ี 3 พัฒนา ยทุ ธศาสตร์ที่ 3.1 10. โครงการพัฒนา 119. กจิ กรรมมองสักนดิ ชีวิตเปล่ยี น
แหลง่ เรียนรู้ภายใน พัฒนาอาคารสถานที่ 120. กจิ กรรมปรับปรุงห้องพักครู
สถานศึกษา จดั สิ่งแวดล้อม ส่งิ อำนวย อาคารสถานที่
บรรยากาศสรา้ งเสรมิ ความสะดวก แหล่ง สง่ิ แวดล้อม ใหเ้ ป็น กลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์
คุณภาพชีวติ ท่เี ป็นมิตร เรยี นร้ทู ่ีเอื้อตอ่ การ สังคมแห่งการเรยี นรู้ 121. กจิ กรรมการปรับปรุงพัฒนา
กับสง่ิ แวดล้อม และ เรยี นรู้ และบริการ
ดำเนนิ ชีวิตตามหลัก ชมุ ชน หอ้ งเก็บส่ือสุขศกึ ษา
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง

กลยทุ ธ์ท่ี 3 พัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 3.2 11. โครงการร้รู กั ษ์ 122. กจิ กรรมคา่ ยภูมิ ภักดิ์ รักษป์ ่า
แหลง่ เรียนรู้ภายใน ส่งเสริมการใช้พลังงาน สง่ิ แวดลอ้ ม 123. กิจกรรมสร้างวินยั หอ่ ผ้าอนามยั
สถานศกึ ษา จัด อยา่ งคุ้มค่า อนุรักษ์
บรรยากาศสรา้ งเสรมิ สงิ่ แวดล้อม บรหิ าร ด้วยกระดาษ Reuse
คณุ ภาพชีวติ ทเี่ ปน็ มติ ร จดั การขยะ และลดใช้ 124. กจิ กรรมโรงเรยี นปลอดขยะ
กับสิง่ แวดลอ้ ม และ ถงุ พลาสติกใน
ดำเนินชีวิตตามหลัก สถานศกึ ษา (Zero Waste School)
ปรัชญาของเศรษฐกิจ 125. กจิ กรรม Green Spark
พอเพียง
จดุ ประกายสีเขยี ว
126. กิจกรรมอินทารามร่วมใจ

ลดใชพ้ ลงั งาน
127. กิจกรรม IR รวมใจลดใช้

ถุงพลาสติก
128. กจิ กรรมวนั สิ่งแวดล้อม
129. กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 – 2565 50

กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ โครงการ กจิ กรรม
กลยทุ ธ์ท่ี 3 พฒั นา ยุทธศาสตรท์ ่ี 3.3 12. โครงการส่งเสริม 130. กจิ กรรมเรียนรูส้ ูว่ ิถีพอเพยี ง
แหล่งเรียนรู้ภายใน ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนมี 131. กิจกรรมธนาคารโรงเรียน
สถานศกึ ษา จัด ทกั ษะในการดำเนิน การเรียนรู้ตามหลัก 132. กิจกรรมอบรมครูเสริมสร้างความรู้
บรรยากาศสร้างเสรมิ ชีวิตตามหลักปรัชญา ปรัชญาของ
คุณภาพชีวิตทีเ่ ป็นมิตร ของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง สูห่ ้องเรยี น
กบั สิ่งแวดล้อม และ 133. กิจกรรมอบรมนักเรยี นแกนนำสู่
ดำเนนิ ชวี ติ ตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจ สถานศกึ ษาพอเพียง
พอเพยี ง 134. กิจกรรมออมวนั ละนิด

พิชิตวันละบาท

กลยทุ ธ์ท่ี 3 รวมท้ังสนิ้ 3 ยทุ ธศาสตร์ 3 โครงการ 17 กจิ กรรม


Click to View FlipBook Version