ผลการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เรื่อง การเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์พับกระดาษ ธนวัฒน์ สุระคาย นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย วิจัยในชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ผลการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เรื่อง การเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์พับกระดาษ ธนวัฒน์ สุระคาย นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย วิจัยในชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
หัวข้อวิจัยในชั้นเรียน ผลการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เรื่อง การเปรียบเทียบความสามารถด้าน มิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์พับกระดาษ ผู้วิจัย นายธนวัฒน์ สุระคาย สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ กัลยากร ภักดี ครูพี่เลี้ยง นางนวรัตน์ อ้วนแพง อาจารย์ประจ าหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีอนุมัติให้นับวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย .................................................................. หัวหน้าสาขาวิชา (ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรัญญา ศรีบัว) วันที่.......…เดือน…….…………พ.ศ…………… คณะกรรมการผู้ประเมินรายงานวิจัยในชั้นเรียน ..................................................................................ประธานคณะกรรมการ (อาจารย์กัลยกร ภักดี) ..................................................................................กรรมการ (นางนวรัตน์อ้วนแพง) ..................................................................................กรรมการ (นางสาวมัทนา ศรีสุข) ..................................................................................กรรมการ (นางสาวจันทราพร หว้านเครือ )
หัวข้อวิจัยในชั้นเรียน ผลการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เรื่อง การเปรียบเทียบความสามารถด้าน มิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์พับกระดาษ ผู้วิจัย นายธนวัฒน์ สุระคาย สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ กัลยากร ภักดี ครูพี่เลี้ยง นางนวรัตน์ อ้วนแพง บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการพับกระดาษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยเป็นเด็กปฐมวัยชาย-หญิง ที่มี อายุ 4- 5 ปี ซึ่งก าลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ของโรงเรียนไทยรัฐ วิทยา72 (เทศบาล8) จ านวน 15 คน โดยได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจง เด็กนักเรียนที่มีค่าเฉลี่ย ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ทั้ง 4 ด้านจากการท าแบบทดสอบอยู่ในระดับต่ า โดยมีค่าเฉลี่ย ( X ) 5.00 ถึง 7.73 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ แผนการจัดกิจกรรมการพับกระดาษ เพื่อส่งเสริม ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย จ านวน 24 แผน และแบบทดสอบ วัดความสามารถด้านมิติ สัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยจ านวน 40 ข้อ โดยมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง .40 - .80 ค่าอ านาจจ าแนกอยู่ ระหว่าง .20 - .80 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ t - test for dependent samples ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยหลังจากที่ได้รับการจัดกิจกรรม การพับกระดาษ มีความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ในทุกด้านสูงขึ้นอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
กิตติกรรมประกาศ การวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์พับกระดาษ ส าเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์อย่างดียิ่งจากโรงเรียนไทยรัฐวิทยา72 (เทศบาล8) ที่มีส่วนร่วมในการด าเนินงานวิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล ขอขอบพระคุณอาจารย์กัลยกร ภักดีคุณครูนวรัตน์อ้วนแพง คุณครูมัทนา ศรีสุข และคุณครู จันทราพร หว้านเครือ ที่ได้กรุณาพิจารณาตรวจและให้ค าแนะน าในการปรับปรุง แก้ไข เครื่องมือที่ใช้ใน การด าเนินการวิจัยในครั้งนี้อย่างดียิ่ง ขอขอบพระคุณผู้อ านวยการโรงเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา72 (เทศบาล8) ครูประจ าชั้นอนุบาล 2/2 และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูชั้นปีที่ 5 ที่ได้ช่วยกรุณาเก็บรวบรวมข้อมูล ขอขอบคุณนักเรียนชั้นอนุบาลในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา72 (เทศบาล8) ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างและให้ ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งในการศึกษาในครั้งนี้ คุณค่าและประโยชน์อันพึงจะได้รับจากงานวิจัยเล่มนี้ ผู้วิจัยขอมอบแด่บุพการีและผู้มีพระคุณทุก ท่านที่อบรมเลี้ยงดูและให้โอกาสในการศึกษาและเป็นแบบอย่างของความใฝ่รู้และพากเพียร ซึ่งผู้วิจัยได้ ใช้เป็นเครื่องเตือนสติในความอดทนต่ออุปสรรคทั้งปวง อีกทั้งพระคุณคณาจารย์ทุกท่าน ทั้งในอดีตและ ปัจจุบันที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ ท าให้ผู้วิจัยได้รับประสบการณ์อันทรงคุณค่ายิ่ง ธนวัฒน์ สุระคาย
สารบัญ หน้า กิตติประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง บทที่ 1. บทน า ความเป็นมาและความส าคัญ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตการวิจัย สมมติฐานการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ กรอบแนวคิดในการวิจัย 2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 การประเมินพัฒนาการ เอกสารงานที่เกี่ยวข้องกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย ความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ความส าคัญของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ทฤษฎีพัฒนาการเกี่ยวกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ การส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย การวัดและประเมินความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการพับกระดาษ
ประวัติความเป็นมาของการพับกระดาษ สารบัญ (ต่อ) หน้า ขั้นพัฒนาการในการพับกระดาษ เทคนิคและวิธีการสอนการพับกระดาษ คุณค่าและประโยชน์ของการพับกระดาษ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยในประเทศ งานวิจัยต่างประเทศ วิธีด าเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การสร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การสร้างแผนการจัดกิจกรรมการพับกระดาษ การสร้างแบบทดสอบด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย แบบแผนการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูล 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรม การพับกระดาษโดยรวม ผลการเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรม การพับกระดาษเป็นรายด้าน 5. สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย
อภิปรายผล สารบัญ (ต่อ) หน้า ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ภาคผนวก ข การประเมินคุณภาพของเครื่องมือ ภาพผนวก ค ภาพประกอบการจัดกิจกรรม ประวัติผู้วิจัย
สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ภาพที่2 สัญลักษณ์ส าคัญที่ใช้ในการพับกระดาษ
สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 คุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ 3-5 ปี ตารางที่ 2 การจัดกิจกรรมการพับกระดาษ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ของเด็กปฐมวัย ตารางที่3 แบบแผนการทดลอง ตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ยความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการ จัดกิจกรรมการพับกระดาษโดยรวม ตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ยความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการ จัดกิจกรรมการพับกระดาษเป็นรายด้าน
บทที่ 1 บทน า ความเป็นมาและความส าคัญ เด็กปฐมวัยเป็นวัยแห่งการเริ่มต้นของชีวิต ซึ่งอยู่ในช่วงอายุระหว่างแรกเกิดจนถึง 6 ปีถือได้ว่า เป็นช่วงวัยที่มีความส าคัญมาก เนื่องจากเด็กในวัยนี้เป็นวัยแห่งการเรียนรู้ มีความอยากรู้อยากเห็น ประสบการณ์ที่มีความหลากหลาย รวมถึงการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในด้านต่างๆ นั้น ควรมีการ ส่งเสริมพัฒนาการให้ครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ดังที่ กุลยา ตันติผลาชีวะ (2551) ได้กล่าวไว้ว่า เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่ชอบจดจ า ชอบเลียนแบบ สนใจอยากรู้อยากเห็น เป็นวัยของ การเรียนรู้และเป็นวัยที่สมองเติบโตอย่างรวดเร็ว เด็กจึงสามารถรับรู้สิ่งต่างๆ ในวัยนี้ได้มากที่สุด อีกทั้ง เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาพัฒนาอย่างเต็มที่ มี ธรรมชาติและลักษณะที่ต้องการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ในขณะเดียวกันนั้น เด็กต้องการการส่งเสริมอย่างถูกต้อง เหมาะสม (กุลยา ตันติผลาชีวะ, 2551) ซึ่งการส่งเสริมการเรียนรู้และรวมไปถึงการจัดการศึกษาให้เด็ก ปฐมวัยนั้น ควรอยู่บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ที่มีการสนองต่อ ธรรมชาติ และพัฒนาการของเด็กแต่ละคนตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคม วัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย, 2546) การส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมส าหรับเด็กนั้นเป็นสิ่งที่มีความจ าเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากจะช่วย เป็นการปูรากฐานชีวิตของเด็กในวัยต่อๆ ไป พัฒนาการด้านสติปัญญาเป็นพัฒนาการด้านหนึ่งที่ มีความ ส าคัญและจะมีการพัฒนาอย่างสูงสุดเมื่ออยู่ในระดับปฐมวัย สติปัญญาของเด็กเมื่ออายุ 1 ปีจะพัฒนา ร้อยละ 20 เมื่ออายุ 4 ปี จะพัฒนาร้อยละ 50 ขึ้นไป และเมื่ออายุ 6 ปี พัฒนาการด้านสติปัญญาจะ พัฒนาขึ้นเป็นร้อยละ 75 ซึ่งพัฒนาการทางสติปัญญาที่ได้เกิดในช่วงปฐมวัยนี้จะเป็นรากฐานให้แก่ พัฒนาการด้านสติปัญญาในระดับต่อไป ความฉลาดด้านร่างกาย และการเข้าใจธรรมชาติก็ว่าส าคัญแล้ว ส าหรับการเรียนรู้ของเด็ก แต่วัยนี้มีอีกสิ่งหนึ่งที่ควรต้องปลูกฝังให้กับเด็ก นั่นก็คือการเสริมสร้างความ ฉลาดด้านมิติสัมพันธ์ เพื่อให้พวกเขามีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ซึ่งเป็นเรื่องที่ช่วยสนับสนุน
ภาวะทางอารมณ์ของลูกน้อยได้อย่างดี“มิติสัมพันธ์” คือ การรับรู้ต าแหน่งของสิ่งต่างๆ เมื่อเทียบกับจุด ใดจุดหนึ่งผ่านประสาทสัมผัสทางการมองเห็น เช่น ถ้าใช้ตัวเด็กเป็นหลัก สิ่งที่อยู่รอบตัวเด็กก็จะมี ต าแหน่ง เช่น หน้า หลัง บน ล่าง ซ้าย ขวา เป็นต้น เป็นความสามารถในการสร้างภาพในสมอง ความสามารถในการจินตนาการสร้างภาพต่างๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน เช่น สถาปนิกสร้างภาพตึก หรือ เมืองขึ้นจากจินตนาการ ความสามารถในการอ่านแผนที่ แผนภูมิความสามารถในด้านจินตนาการ สร้างสรรค์ฯลฯ มิติสัมพันธ์จะเป็นการเรียนรู้ผ่านการมองเห็นหรือใช้ภาพ การพัฒนาความสามารถด้านนี้ เพื่อให้เด็กๆ สามารถเชื่อมโยงภาพภายในจิตใจ และสามารถถ่ายทอดออกมาให้ผู้อื่นรับรู้ได้อย่างเป็น รูปธรรม ความสามารถด้านนี้จะพบได้บ่อยในกลุ่มศิลปินที่วาดภาพ หรือผู้ที่ชอบสื่อสารด้วยภาพ การ ส่งเสริมความฉลาดด้านมิติสัมพันธ์สามารถส่งเสริมผ่านกิจกรรมที่หลากหลายได้ คือ ถ้าเป็นเด็กเล็ก พยายามให้เด็กได้เห็นวัตถุต่างๆ ในหลายรูปแบบ หลายสีหลายขนาด เช่น โมบายล์ของเล่นที่มีสีสัน คอย กระตุ้นชี้ชวนให้เด็กๆ สังเกตสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวใน เรื่องที่พวกเขาสนใจหรือท าอยู่ พร้อมทั้งพูดเล่าให้ เด็กฟัง เพื่อให้เด็กเชื่อมโยงสิ่งที่เห็น ส าหรับเด็กโตอาจถามค าถามเด็กที่เกี่ยวข้องกับเรื่องมิติสัมพันธ์ เช่น เวลาไปซื้อของ “ของชิ้นนี้จะใส่ในถุงใบนี้ได้หรือไม่” การผูกเชือกรองเท้า เป็นต้น ส่วนการเล่นการต่อ บล็อกไม้ การต่อจิ๊กซอว์ การวาดภาพ การเล่นเกมอ่านแผนที่ และการถ่ายภาพถือได้ว่าเป็นการเล่นที่ช่วย ส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ได้เช่นกัน ในปัจจุบันการจัดการศึกษาปฐมวัย ในช่วงกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์บางโรงเรียนไม่ให้ ความส าคัญของการให้เด็กท ากิจกรรมศิลปะ เนื่องจากให้ความส าคัญของการให้เด็กเรียนหนังสือ อ่าน เขียน ท่องจ า หรือบางโรงเรียนที่จัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ครูผู้จัดก็จัดกิจกรรมที่ซ้ าๆ กันทุกวัน เช่น ให้วาดภาพตามแบบครู ระบายสีตามกรอบ วาดภาพสีน้ า จะเห็นได้ว่าในหลายโรงเรียนการจัดกิจกรรม ศิลปะไม่มีความหลากหลาย ดังนั้นผู้วิจัยจึงเห็นว่าการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์การพับกระดาษจะเป็น กิจกรรมหนึ่ง ที่มีความน่าสนใจและมีความหลากหลายในการจัดกิจกรรมศิลปะให้กับเด็กปฐมวัย ที่ช่วย ส่งเสริมและพัฒนาความสามารถทางด้านมิติสัมพันธ์ ซึ่งเป็นความสามารถอีกด้านหนึ่งที่มีความส าคัญและ ความจ าเป็นในชีวิตประจ าวันของเด็กปฐมวัยเป็นอย่างยิ่ง ที่ครูปฐมวัยและผู้ที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริมให้เด็ก มีความสามารถทางด้านมิติสัมพันธ์ตั้งแต่วัยเด็ก เพื่อเป็นรากฐานที่ดีในการพัฒนาความสามารถด้านอื่นอีก ต่อไป จากการศึกษาพบว่า กิจกรรมการพับกระดาษ หรือภาษาญี่ปุ่นที่เรียกว่า ออริกามิ(ORIGAMI) เป็นการน าเอากระดาษแผ่นเดียวมาพับให้เกิดรูปร่างต่างๆ โดยกระดาษที่ใช้พับนั้นมีหลาย ขนาด หลายสี หาง่าย และราคาไม่แพง เช่น กระดาษสีกระดาษหนังสือพิมพ์หรือกระดาษเหลือใช้ตามนิตยสาร เป็น
กิจกรรมที่ช่วยฝึกให้เด็กมีสมาธิมีสติปัญญา รวมไปถึงความละเอียดลออ ประณีต บรรจง อาศัยการท างาน ประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อตา มือ นิ้วมือ จากนั้นจึงพับกระดาษเป็นลักษณะต่างๆ ตามล าดับที่ ส าคัญกิจกรรม การพับกระดาษเป็นกิจกรรมที่มีอยู่ในทุกประเทศ แต่การพับกระดาษไม่ใช่เป็นการพับ เพื่อให้ได้ตัวสัตว์หรือสิ่งของที่ต้องการพับเท่านั้น เมื่อพับกระดาษเสร็จแล้วควรมีการน าสิ่งที่พับนั้นมาใช้ ต่อยอดให้เกิดการเรียนรู้ส าหรับเด็กปฐมวัยได้เช่น เมื่อพับแล้วน าไปจัดกิจกรรมการวาดต่อเติม การปั้น การร้อย เป็นต้น และการพับกระดาษนั้นขึ้นอยู่กับว่าครูสอน ในระดับใด เพราะสิ่งที่จะพับนั้นมีระดับ ความยากง่ายต่างกัน กิจกรรมการพับกระดาษไม่เพียงแต่เป็น กิจกรรมที่ช่วยพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก เท่านั้น แต่ยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมจินตนาการ ความคิด สร้างสรรค์ส าหรับเด็ก ในขั้นตอนการพับ กระดาษผู้พับจะได้ใช้ทักษะการสังเกต การเรียงล าดับขั้นตอนการพับสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของ รูปร่างกระดาษในหลายมิติ ผู้วิจัยเห็นว่ากิจกรรมการพับกระดาษเป็นกิจกรรมที่มีความน่าสนใจ สามารถน าไปต่อยอด การ เรียนรู้ของเด็กปฐมวัยได้ อีกทั้งความสามารถทางด้านมิติสัมพันธ์ถือได้ว่าเป็นทักษะที่ควรพัฒนา มาตั้งแต่ ในระดับปฐมวัย เนื่องจากเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินชีวิตประจ าวันของมนุษย์ และเพื่อเป็นการ ส่งเสริมความสามารถทางด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย ผู้วิจัยจึงน ากิจกรรมการพับกระดาษมาใช้ในการ พัฒนาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์การพับกระดาษ ขอบเขตการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุ 4–5 ปี ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาล ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 72 (เทศบาล 8 ) จ านวน 2 ห้องเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย คือ เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุ 4–5 ปี ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาล ปีที่ 2/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 72 (เทศบาล 8 ) ได้มาจากการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เพื่อน ามาคัดเลือกนักเรียนที่มีคะแนนความสามารถด้าน มิติสัมพันธ์ระดับต่ า จ านวน 15 คน จากนักเรียนจ านวน 24 คน สมมติฐานการวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการพับกระดาษมีความสามารถด้านมิติสัมพันธ์หลัง การ ทดลองสูงกว่าการทดลอง นิยามศัพท์เฉพาะ เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชาย-หญิง อายุ 4–5 ปี ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาล ปีที่ 2/2 ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 72 (เทศบาล 8 ) กิจกรรมการพับกระดาษ หมายถึง กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยการจัดกิจกรรมการพับ กระดาษ โดยเด็กนักเรียนจะได้พับกระดาษออกมาเป็นรูปแบบต่างๆ จากนั้นจะน ากระดาษที่พับมาต่อ ยอดผลงานในรูปแบบต่างๆ คือ การวาดภาพต่อเติม การฉีกตัดแปะ โดยมีการสอดแทรกความรู้ด้านมิติ สัมพันธ์ให้กับเด็กนักเรียน ซึ่งรูปแบบการจัดกิจกรรมการพับกระดาษมีขั้นตอนการด าเนิน กิจกรรม ดังนี้ ขั้นน า คือ ขั้นการให้ความรู้เด็กก่อนเข้าสู่กิจกรรมการพับกระดาษ ซึ่งความรู้ที่เด็กได้รับเป็น ความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เด็กจะได้พับกระดาษผ่าน การเล่านิทาน การแสดงท่าทางประกอบเพลง และการ สนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ ขั้นด าเนินกิจกรรม คือ ขั้นการสอนให้เด็กพับกระดาษเป็นรูปต่างๆ ตามแผนการจัดกิจกรรม ใน การสอนพับกระดาษครูจะมีการสาธิตขั้นตอนการพับให้เด็กสังเกต จากนั้นจะเป็น การสอนเด็กพับ กระดาษ โดยมีการแทรกความรู้เกี่ยวกับมิติสัมพันธ์ในระหว่างการพับกระดาษ ขั้นสรุป คือ ขั้นการพัฒนาผลงานให้เด็กน าผลงานการพับกระดาษที่เสร็จเรียบร้อย มาต่อเติม พัฒนาชิ้นงานการพับกระดาษในรูปแบบต่างๆ คือ การวาดภาพต่อเติม การฉีกตัดแปะ โดยมีการแทรก ความรู้เกี่ยวกับมิติสัมพันธ์ในระหว่างการท ากิจกรรมเดี่ยวและกลุ่ม พร้อมทั้งมีการน าเสนอผลงาน ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยในการรับรู้ผ่านการใช้ ประสาทสัมผัส การมองเห็นภาพ ความสามารถในการจ าแนกเกี่ยวกับรูปทรง รูปร่าง ขนาด ระยะ ต าแหน่ง ทิศทาง พื้นผิว ปริมาตร การแยกวัตถุออกจากกัน การประกอบวัตถุเข้าด้วยกัน ความสัมพันธ์ ของวัตถุ ความสัมพันธ์ของต าแหน่ง รวมถึงการคงที่และการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุ โดยในการวิจัย ในครั้งนี้ได้ศึกษาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์อยู่ 4 ด้าน คือ 1. ด้านความเหมือนความต่าง หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยที่แสดงออกหรือบอกได้ว่า วัตถุใดมีความเหมือนหรือแตกต่างกัน ในด้านของขนาด รูปร่าง และรายละเอียด 2. ด้านการต่อเข้าด้วยกัน หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยที่แสดงออกหรือบอกได้ว่า เมื่อ มีการน าชิ้นส่วนต่างๆ ของภาพที่ก าหนดให้มาต่อเข้าด้วยกัน และจะเกิดเป็นภาพสมบูรณ์ที่ถูกต้อง 3. ด้านการแยกออกจากกัน หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัย โดยสามารถแสดงหรือ บอก ได้ว่า จากภาพที่สมบูรณ์ที่ก าหนดให้เมื่อน ามาแยกเป็นภาพย่อย แล้วภาพใดเป็นส่วนของภาพที่สมบูรณ์
4. ด้านความสัมพันธ์ของต าแหน่งของสิ่งต่างๆ หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัย โดย สามารถแสดงออกหรือบอกได้ว่า สิ่งต่างๆ ที่เห็นอยู่ในต าแหน่งใด เช่น ข้างหน้า ข้างหลัง ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน และข้างนอก ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการพับกระดาษ สามารถ วัดได้โดยการใช้แบบทดสอบด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เด็กปฐมวัยโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 72 (เทศบาล 8 ) มีความสามารถทางด้าน มิติสัมพันธ์เพิ่ม มากขึ้น 2. ได้รูปแบบการจัดกิจกรรมการพับกระดาษ เพื่อน าไปใช้ในการพัฒนาความสามารถด้านมิติ สัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย 3. บุคลากรทางการศึกษา และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยสามารถน าความรู้ด้านการจัด กิจกรรมการพับกระดาษ ไปใช้ในการพัฒนาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย และประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยด้านอื่นๆ เช่น ทักษะการเข้าสังคม การส่งเสริมการคิด อย่างมีเหตุผล การ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เป็นต้น กรอบแนวคิดในการวิจัย ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เรื่อง การพับกระดาษ ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ จ าแนกเป็น 4 ด้าน 1. ด้านความเหมือนความต่าง 2. ด้านการต่อเข้าด้วยกัน 3. ด้านการแยกออกจากกัน 4. ด้านความสัมพันธ์ของต าแหน่งของสิ่งต่างๆ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การด าเนินงานวิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์พับกระดาษ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยดังต่อไปนี้ 1. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย 2.1 ความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ 2.2 ความส าคัญของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ 2.3 ทฤษฎีพัฒนาการของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ 2.4 การส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย 2.5 การวัดและประเมินความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการพับกระดาษ 3.1 ประวัติความเป็นมาของการพับกระดาษ 3.2 ขั้นพัฒนาการในการพับกระดาษ 3.3 แนวทางในการสอนพับกระดาษ 3.4 คุณค่าและประโยชน์ของการพับกระดาษ 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4.1 งานวิจัยในประเทศ 4.2 งานวิจัยต่างประเทศ
1. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 กระทรวงศึกษาธิการ (2546: 31-43) หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยส าหรับเด็กอายุ 3–5 ปีเป็นการ จัดการศึกษาในลักษณะของการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตามวัยและความสามารถของแต่ละบุคคล หลักการในการจัดหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดู และส่งเสริมพัฒนาการ ตลอดจนการเรียนรู้อย่าง เหมาะสมโดยผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูและการให้การศึกษา เพื่อให้เด็กแต่ละคนได้มี โอกาสพัฒนาตนเองตามล าดับขั้นตอนของพัฒนาการอย่างสมดุลเต็มตามศักยภาพ และบรรลุตามปรัชญา การจัดการศึกษาปฐมวัย โดยก าหนดหลักการดังนี้ 1. จัดการศึกษาให้ครอบคลุมเด็กทุกประเภท 2. พัฒนาเด็กโดยยึดหลักการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ โดย ค านึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล และวิถีชีวิตของเด็กตามบริบทของชุมชนสังคมและวัฒนธรรม 3. พัฒนาเด็กโดยองค์รวมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านการเล่น และ กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย 4. จัดประสบการณ์ที่ให้เด็กสามารถด ารงชีวิตประจ าวันได้อย่างมีคุณภาพ และมีความสุข 5. พัฒนาเด็กโดยความร่วมมือระหว่าง ครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก จุดมุ่งหมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยส าหรับเด็กอายุ 3–5 ปี มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงก าหนด จุดหมายซึ่งถือเป็นมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนี้ 1. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยที่ดี 2. กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว และประสานสัมพันธ์กัน 3. มีสุขภาพจิตดี และมีความสุข 4. มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม 5. ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการออกก าลังกาย 6. ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวัย 7. รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย 8. อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
9. ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย 10. มีความสามารถในการคิดและการแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย 11. มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 12. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีทักษะในการแสวงความรู้ คุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ 3-5 ปี ที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 มีดังนี้ คุณลักษณะตามวัยเป็นความสามารถตามวัยหรือพัฒนาการตามธรรมชาติเมื่อเด็กมีอายุถึงวัย นั้นๆ ผู้สอนจ าเป็นต้องท าความเข้าใจคุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ 3-5 ปี เพื่อน าไปพิจารณาจัด ประสบการณ์ให้เด็กแต่ละวัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ขณะเดียวกันจะต้องสังเกตเด็กแต่ละคนซึ่งมีความ แตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อน าข้อมูลไปช่วยในการพัฒนาเด็กให้เต็มความสามารถและศักยภาพ พัฒนา เด็กในแต่ละช่วงอายุ อาจเร็วหรือช้ากว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ และพัฒนาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ถ้าสังเกต พบว่าเด็กไม่มีความก้าวหน้าอย่างชัดเจนต้องพาเด็กไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือแพทย์เพื่อช่วยเหลือและ แก้ไขได้ทันท่วงที คุณลักษณะตามวัยที่ส าคัญของเด็กอายุ 3-5 ปี มีดังนี้ ตารางที่ 1 คุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ 3-5 ปี พัฒนาด้านร่างกาย พัฒนาการ ด้านอารมณ์ - จิตใจ พัฒนาการ ด้านสังคม พัฒนาการ ด้านสติปัญญา เด็กอายุ 3 ปี - กระโดดขึ้นลงอยู่กับ ที่ได้ - รับลูกบอลด้วยมือ และล าตัวได้ - เดินขึ้นลงบันไดสลับ เท้าได้ - แสดงอารมณ์ตาม ความรู้สึก - ชอบที่จะท าให้ผู้ใหญ่ พอใจและได้ค าชม - กลัวการพลัดพราก จากผู้เลี้ยงดูใกล้ชิด - รับประทานอาหารได้ ด้วยตนเอง - เล่นของเล่นแบบ คู่ขนาน (เล่นของเล่น ชนิดเดียวกัน แต่ต่าง คน ต่างเล่น) - ส ารวจสิ่งต่างๆ ที่ เหมือนกัน และต่างกัน ได้ - บอกชื่อของตนเองได้ - ขอความช่วยเหลือ เมื่อมีปัญหา
ตารางที่ 1 (ต่อ) พัฒนาด้านร่างกาย พัฒนาการ ด้านอารมณ์ - จิตใจ พัฒนาการ ด้านสังคม พัฒนาการ ด้านสติปัญญา - เขียนรูปวงกลมตาม แบบได้ - ใช้กรรไกรมือเดียวได้ น้อยลง - เล่นสมมติได้ - รู้จักการรอคอย - สนทนาโต้ตอบ/เล่า เรื่องด้วยประโยคสั้นๆ ได้ - สนใจนิทาน และ เรื่องราวต่างๆ - ร้องเพลง ท่อง ค า กลอน ค าคล้องจอง ง่ายๆ และแสดงท่าทาง เลียนแบบได้ - รู้จักค าถาม “อะไร” - สร้างผลงานตาม ความคิดของตนเอง อย่างง่ายๆ - อยากรู้อยากเห็น ทุก อย่างรอบตัว เด็กอายุ 4 ปี - กระโดดขาเดียวอยู่ กับที่ได้ - รับลูกบอลด้วยมือทั้ง สอง - เดินขึ้นลงบันไดสลับ เท้าได้ - เขียนรูปสี่เหลี่ยมตาม - แสดงออกทาง อารมณ์ได้เหมาะสม กับบางสถานการณ์ - เริ่มรู้จักชื่นชม ความสามารถ และ ผลงานของตนเอง และ ผู้อื่น - ชอบท้าทายผู้ใหญ่ - แต่งตัวได้ด้วยตนเอง ไปห้องส้วม ได้เอง - เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ - รอคอยตามล าดับ ก่อนหลัง - แบ่งปันของให้คนอื่น - เก็บของเล่นเข้าที่ได้ - จ าแนกสิ่งต่างๆ ด้วย ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้ - บอกชื่อและนามสกุล ของตนเองได้ - พยายามแก้ปัญหา ด้วยตนเองหลังจากได้ รับค าชี้แนะ
ตารางที่ 1 (ต่อ) พัฒนาด้านร่างกาย พัฒนาการ ด้านอารมณ์ - จิตใจ พัฒนาการ ด้านสังคม พัฒนาการ ด้านสติปัญญา แบบได้ - ตัดกระดาษเป็ น เส้นตรงได้ -กระฉบักระเฉงไม่ ตอ้งอยเู่ฉย - ต้องการให้มีคนฟัง สนใจ - สนทนาโตต้อบ/ เล่า เรื่องเป็นประโยคอยา่ง ต่อเนื่อง - สร้างผลงานตาม ความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียด เพิ่มข้ึน –รู้จกัใชค้า ถามวา่ ท าไม เด็กอายุ 5 ปี - กระโดดขาเดียวไป ข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง ได้ - รับลูกบอลที่กระดอน ขึ้นจากพื้นได้ด้วยมือ ทั้งสอง - เดินขึ้นลง บันไดสลับ เท้าได้อย่าง คล่องแคล่ว - เขียนรูปสามเหลี่ยม ตามแบบได้ - ตัดกระดาษแนวเส้น โค้งที่ก าหนด - แสดงอารมณ์ได้ สอดคล้องกับ สถานการณ์อย่าง เหมาะสม - ชื่นชมความสามารถ และผลงานของตนเอง และผู้อื่น - ยึดตนเองเป็น ศูนย์กลางน้อยลง - ปฏิบัติกิจวัตร ประจ าวันด้วยตนเอง - เล่นหรือท างานโดย มี จุดมุ่งหมายร่วมกับ ผู้อื่นได้ - พบผู้ใหญ่ รู้จักไหว้ หรือท าความเคารพ - รู้จักขอบคุณ เมื่อรับ ของจากผู้ใหญ่ - รับผิดชอบงานที่ ได้รับมอบหมาย - บอกความแตกต่าง ของ กลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง และจัด หมวดหมู่สิ่งของได้ - บอกชื่อ - นามสกุล และอายุ ของตนเองได้ - พยายามหาวิธี แก้ปัญหา ด้วยตนเอง - สนทนาโต้ตอบ/เล่า เป็น เรื่องเป็นราวได้ - สร้างผลงานตาม ความ คิดเห็นของ
ตารางที่ 1 (ต่อ) ระยะเวลาเรียน ใช้เวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก 1-3 ปีการศึกษา โดยประมาณ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอายุของ เด็กที่เริ่มเข้าสถานศึกษาหรือสถาบันพัฒนาเด็กปฐมวัย สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ที่ใช้เป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้กับเด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ทั้ง ด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งจ าเป็นต่อการพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งนี้ สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการ และคุณลักษณะหรือ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ส าหรับเด็กอายุ 3-5 ปี จะเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับตัวเด็ก บุคคลและสถานที่ที่ แวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่างๆ รอบตัว ที่เด็กมีโอกาสได้ใกล้ชิดหรือมีปฏิสัมพันธ์ใน ชีวิตประจ าวัน และเป็นสิ่งที่เด็กสนใจ จะไม่เน้นเนื้อหา การท่องจ า ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับทักษะหรือ กระบวนการ จ าเป็นต้องบูรณาการทักษะที่ส าคัญและจ าเป็นส าหรับเด็ก เช่น ทักษะ การเคลื่อนไหว ทักษะทางสังคม ทักษะการคิด ทักษะการใช้ภาษา คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์เป็นต้น ขณะเดียวกัน ควรปลูกฝังให้เด็กเกิดเจตคติที่ดี มีค่านิยมที่พึงประสงค์ เช่น ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น รักการ เรียนรู้รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับวัย เป็นต้น ผู้สอนหรือผู้จัดการศึกษา อาจน าสาระการเรียนรู้มาจัดในลักษณะหน่วยการสอนแบบบูรณาการ หรือเลือกใช้วิธีการที่สอดคล้องกับปรัชญา และหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย สาระการเรียนรู้ก าหนดเป็น 2 ส่วน ดังนี้ พัฒนาด้านร่างกาย พัฒนาการ ด้านอารมณ์ - จิตใจ พัฒนาการ ด้านสังคม พัฒนาการ ด้านสติปัญญา - ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ติดกระดุม ผูก เชือกรองเท้า ฯลฯ ตนเอง โดยรายละเอียด เพิ่มขึ้น และแปลกใหม่ – รู้จักใช้ค าถาม “ท าไม” “อย่างไร” - เริ่มเข้าใจในสิ่งที่เป็น นามธรรม - นับปากเปล่าได้ถึง 20
1. ประสบการณ์ส าคัญ ประสบการณ์ส าคัญเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่งส าหรับการพัฒนาเด็ก ทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ช่วยให้เด็กเกิดทักษะที่ส าคัญส าหรับการสร้างองค์ความรู้ โดยให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ สิ่งของ บุคคลต่างๆ ที่อยู่รอบตัว รวมทั้งปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรมไป พร้อมกันด้วย ประสบการณ์ส าคัญ มีดังนี้ 1.1 ประสบการณ์ส าคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ได้แก่ 1.1.1 การทรงตัว และการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อใหญ่ - การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ - การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ - การเล่นเครื่องเล่นสนาม 1.1.2 การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก - การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส - การเขียนภาพและการเล่นกับสี - การปั้นและประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยดินเหนียว ดินน้ ามัน แท่งไม้ เศษวัสดุ ฯลฯ - การต่อของ บรรจุ เท และแยกชิ้นส่วน 1.1.3 การรักษาสุขภาพ - การปฏิบัติตามสุขภาพอนามัย 1.1.4 การรักษาความปลอดภัย - การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นในกิจวัตรประจ าวัน 1.2 ประสบการณ์ส าคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ได้แก่ 1.2.1 ดนตรี - การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี - การเล่นเครื่องเล่นดนตรีง่ายๆ เช่น เครื่องดนตรีประเภทเคาะ ฯลฯ 1.2.2 สุนทรียภาพ - การชื่นชม และสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม - การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับเรื่องตลก ข าขัน และเรื่องราว/เหตุการณ์ที่ สนุกสนานต่างๆ 1.2.3 การเล่น - การเล่นอิสระ - การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็นกลุ่ม
- การเล่นในห้องเรียน และนอกห้องเรียน 1.2.4 คุณธรรม จริยธรรม - การปฏิบัติตามหลักศาสนาที่นับถือ 1.3 ประสบการณ์ส าคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม ได้แก่ - การเรียนรู้ทางสังคม - การปฏิบัติกิจวัตรประจ าวันของตนเอง - การเล่นและการท างานร่วมกับผู้อื่น - การวางแผน ตัดสินใจเลือก และลงมือปฏิบัติ - การมีโอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความต้องการของตนเอง และผู้อื่น - การแก้ปัญหาในการเล่น - การปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัยอยู่และความเป็นไทย 1.4 ประสบการณ์ส าคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ได้แก่ 1.4.1 การคิด - การรู้จักสิ่งต่างๆ ด้วยการมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส และดมกลิ่น - การเลียนแบบการกระท าและเสียงต่างๆ - การเชื่อมโยงภาพ ภาพถ่าย และรูปแบบต่างๆ กับสิ่งของหรือสถานที่จริง - การรับรู้และแสดงความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และผลงาน - การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อ วัสดุต่างๆ 1.4.2 การใช้ภาษา - การแสดงความรู้สึกด้วยค าพูด - การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง - การอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ - การฟังเรื่องราวนิทาน ค าคล้องจอง ค ากลอน - การเขียนในหลายรูปแบบผ่านประสบการณ์ที่สื่อความหมายต่อเด็ก เขียนภาพ เขียน ขีดเขี่ย เขียนคล้ายตัวอักษร เขียนเหมือนสัญลักษณ์ เขียนชื่อตน - การอ่านในหลายรูปแบบ ผ่านประสบการณ์ที่สื่อความหมายต่อเด็ก อ่านภาพหรือ สัญลักษณ์จากหนังสือนิทาน/เรื่องราวที่สนใจ
2. สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กน ามาเป็นสื่อการจัดกิจกรรม ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ไม่เน้นการท่องจ าเนื้อหา ผู้สอนสามารถก าหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ และ ความสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ส าคัญที่ระบุไว้ข้างต้น ทั้งนี้อาจยืดหยุ่นเนื้อหา ได้ โดยค านึงถึงประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมในชีวิตของเด็ก สาระที่เด็กอายุ 3- 5 ปี ควรเรียนรู้ มีดังนี้ 2.1 เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรรู้จักชื่อ นามสกุล รูปร่าง หน้าตา รู้จักอวัยวะ ต่างๆ วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด ปลอดภัย การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ เรียนรู้ที่จะเล่น และท าสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียวหรือกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และมารยาทที่ดี 2.2 เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรได้มีโอกาส รู้จักและ รับรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้อง หรือมี โอกาสใกล้ชิด และมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจ าวัน 2.3 ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรจะได้เรียนรู้สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต รวมทั้งความ เปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน ฯลฯ 2.4 สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรได้รู้จักสี ขนาด รูปร่าง รูปทรง น้ าหนัก ผิวสัมผัสของ สิ่งต่างๆ รอบตัว สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจ าวัน 2. หลักการจัดประสบการณ์ 2.1 จัดประสบการณ์เล่นและการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างต่อเนื่อง 2.2 เน้นเด็กเป็นส าคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคล และบริบทของสังคมที่เด็กอาศัยอยู่ 2.3 จัดให้เด็กได้รับการพัฒนาโดยให้ความส าคัญทั้งกับกระบวนการและผลผลิต 2.4 จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของ การจัดประสบการณ์ 2.5 ให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก 3. แนวทางการจัดประสบการณ์ 3.1 จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการ คือ เหมาะกับอายุวุฒิภาวะ และระดับพัฒนาการ เพื่อให้เด็กทุกคนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ
3.2 จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของเด็กวัยนี้ คือ เด็กได้ลง มือ กระท า เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้เคลื่อนไหว ส ารวจ เล่น สังเกต สืบค้น ทดลอง และคิด แก้ปัญญาด้วยตนเอง 3.3 จัดประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการ คือ บูรณาการทั้งทักษะ และสาระการเรียนรู้ 3.4 จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่มคิด วางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระท า และน าเสนอ ความคิด โดยผู้สอนเป็นผู้สนับสนุนอ านวยความสะดวกและเรียนรู้ร่วมกับเด็ก 3.5 จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่น กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อบอุ่นมีความสุขและเรียนรู้การท ากิจกรรมแบบร่วมมือใน ลักษณะต่างๆ กัน 3.6 จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อ และแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย และ อยู่ในวิถีชีวิตของเด็ก 3.7 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจ าวัน ตลอดจน สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 3.8 จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้า และแผนที่เกิดขึ้นใน สภาพจริง โดยไม่ได้คาดการณ์ไว้ 3.9 ให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์ ทั้งการวางแผน การ สนับสนุนสื่อการสอนการเข้าร่วมกิจกรรม และการประเมินพัฒนาการ 3.10 จัดท าสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการ และการเรียนรู้ของ เด็กเป็นรายบุคคล น ามาไตร่ตรองและใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็ก และการวิจัยในชั้น เรียน 4. การจัดกิจกรรมประจ าวัน กิจกรรมส าหรับเด็กอายุ 3-5 ปี สามารถน ามาจัดกิจกรรมประจ าวัน ได้หลายรูปแบบ เป็นการช่วยให้ผู้สอน และเด็กทราบว่าแต่ละวันจะท ากิจกรรมอะไร เมื่อใด และอย่างไร การจัดกิจกรรมประจ าวันมีหลักการและขอบข่ายของกิจกรรมประจ าวัน ดังนี้ 4.1 หลักการจัดกิจกรรมประจ าวัน 4.1.1 ก าหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กใน แต่ละวัน 4.1.2 กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิด ทั้งในกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่อง นานเกินกว่า 20 นาที
4.1.3 กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เช่น การเล่นตามมุม การเล่นกลางแจ้ง ฯลฯ ใช้เวลาประมาณ 40 - 60 นาที 4.1.4 กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใช้ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่ เด็ก เป็นผู้ริเริมและผู้สอนเป็นผู้ริเริ่ม และกิจกรรมที่ใช้ก าลังและไม่ใช่ก าลังจัดให้ครบทุก ประเภท ทั้งนี้กิจกรรมที่ต้องออกก าลังกายควรจัดสลับกับกิจกรรมที่ไม่ต้องออกก าลังกาย เพื่อเด็กจะได้ไม่ เหนื่อยเกินไป 4.2 ขอบข่ายของกิจกรรมประจ าวัน การเลือกกิจกรรมที่จะน ามาจัดในแต่ละวัน ต้องให้ ครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้ 4.2.1 การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ใหญ่ การเคลื่อนไหว และความคล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่างๆ จึงควรจัดกิจกรรมโดยให้เด็กได้เล่น อิสระกลางแจ้ง เล่นเครื่องเล่นสนาม เคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะดนตรี 4.2.2 การพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเล็ก การ สานสัมพันธ์ระหว่างมือและตา จึงควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสัมผัส เล่น เกมต่อภาพ ฝึกช่วยเหลือตนเองในการแต่งกาย หยิบจับช้อนซ้อม ใช้อุปกรณ์ศิลปะ เช่น สีเทียน กรรไกร พู่กัน ดินเหนียว ฯลฯ 4.2.3 การพัฒนาอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เด็กมีความรู้สึกที่ ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มีวินัยในตนเอง รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย และศาสนาที่นับถือ จึงควรจัดกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเล่นให้เด็กมีโอกาสสัมผัส ตัดสินใจเลือก ได้รับการตอบสนอง ตามความต้องการ ได้ฝึกปฏิบัติโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ตลอดเวลาที่โอกาสเอื้ออ านวย 4.2.4 การพัฒนาสังคมนิสัย เพื่อให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอย่างเหมาะสม และ อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการท ากิจวัตรประจ าวัน มีนิสัย รักการ ท างาน รู้จักระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น จึงควรจัดให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตร ประจ าวันอย่างสม่ าเสมอ เช่น รับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ท าความสะอาด ร่างกาย เล่นและท างานร่วมกับผู้อื่น ปฏิบัติตามกติกาข้อตกลงของส่วนรวม เก็บของเข้าที่เมื่อเล่น หรือท างานเสร็จ ฯลฯ 4.2.5 การพัฒนาการคิด เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความคิดรวบยอด สังเกต จ าแนก เปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ เรียงล าดับเหตุการณ์ ปัญหา จึงควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้สนทนา
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทดลอง ศึกษานอกสถานที่ ประกอบอาหาร หรือจัดให้เด็กได้เล่นเกมการศึกษาที่เหมาะสมกับวัย อย่างหลากหลาย ฝึกการแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวัน และในการท ากิจกรรมทั้งที่เป็นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ หรือรายบุคคล 4.2.6 การพัฒนาภาษา เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึก ความ นึกคิด ความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ ที่เด็กมีประสบการณ์ จึงควรจัดกิจกรรมทางภาษาที่ มีความ หลากหลายในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กรักการอ่าน และบุคลากรที่ แวดล้อมต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษา ทั้งนี้ต้องค านึงถึงหลักการจัด กิจกรรมทางภาษาที่ เหมาะสมกับเด็กเป็นส าคัญ 4.2.7 การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความริเริ่ม สร้างสรรค์ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึก และเห็นความสวยงามของสิ่งต่างๆ รอบตัว โดยใช้ กิจกรรมศิลปะและดนตรีเป็นสื่อ ใช้การเคลื่อนไหวและจังหวะ ตามจินตนาการ ให้ประดิษฐ์สิ่ง ต่างๆ อย่างอิสระตามความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของเด็ก เล่นบทบาทสมมติในมุมเล่นต่างๆ เล่นน้ า เล่นทราย เล่นก่อสร้างสิ่งต่างๆ เช่น แท่งไม้ รูปทรง ต่าง ๆ ฯลฯ การประเมินพัฒนาการ การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ 3 - 5 ปี เป็นการประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของ กิจกรรมปกติ ที่จัดให้เด็กในแต่ละวัน ทั้งนี้ให้มุ่งน าข้อมูลการประเมินมาพิจารณาปรับปรุง วางแผนการ จัดกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมให้เด็กแต่ละคน ได้รับการพัฒนาตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การประเมิน พัฒนาการควรยึด หลัก ดังนี้ 1. ประเมินพัฒนาการของเด็กครบทุกด้าน 2. ประเมินรายบุคคลอย่างสม่ าเสมอ ต่อเนื่องตลอดปี 3. สภาพการประเมินควรมีลักษณะเช่นเดียวกับการปฏิบัติกิจกรรมประจ าวัน 4. ประเมินอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน เลือกใช้เครื่องมือและจดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน 5. ประเมินตามสภาพจริงด้วยวิธีการหลากหลายเหมาะสมกับเด็ก รวมทั้งใช้แหล่งข้อมูล หลายๆ ด้าน ไม่ควรใช้การทดสอบ ส าหรับวิธีการประเมินที่เหมาะสมและควรใช้กับเด็กอายุ 3-5 ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึก พฤติกรรม การสนทนา การสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล จากผลงานเด็กที่เก็บอย่างมีระบบ
2. เอกสารงานที่เกี่ยวข้องกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย 2.1 ความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์เป็นทักษะความสามารถด้านหนึ่งที่เด็กควรได้รับการจัด ประสบการณ์ ซึ่งได้มีผู้ให้ความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ไว้ ดังนี้ ล้วน สายยศ (2543: 22 - 23 ) ให้ความหมายของความสามารถด้านนิติสัมพันธ์ไว้ว่า หมายถึง ความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการจินตนาการ คือ ขนาดและมิติต่างๆ ตลอดจนทรวง ทรงที่มีรูปร่าง ลักษณะแตกต่างกัน ทั้งอยู่ในระนาบเดียวกันและหลายระนาบและยังคลุมได้ถึง การมองภาพต่างๆ ที่ เคลื่อนไหว ซ้อนทับกันหรือซ่อนอยู่ภายใน ตลอดจนถึงการแยกภาพประกอบ ภาพ รวมถึงความสามารถ ในการจ าแนกต าแหน่งที่อยู่ เช่น บน ล่าง ซ้าย ขวา และระยะทางใกล้หรือไกล พัชรี กัลยา (2551: 22) ให้ความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถ ในการสังเกต เข้าใจ จ าแนก การจินตนาการในเรื่องขนาด รูปร่าง ทรวดทรง ต าแหน่ง ทิศทางของวัตถุ และลักษณะของวัตถุที่มีความสัมพันธ์ ทั้งในวัตถุคงที่ วัตถุเคลื่อนที่หรือลักษณะวัตถุ เมื่อมีการเปลี่ยน มุมมองวัตถุนั้น เพ็ญวิไล ผาสุขมูล (2552:6) ให้ความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ว่า ความสามารถ ด้านมิติสัมพันธ์ คือความสามารถทางสมองของบุคคลในการมองเห็น การเข้าใจ การจ าแนก การ จินตนาการที่เกี่ยวกับมิติต่างๆ รวมถึงพื้นที่ รูปร่าง ขนาด ระยะทาง ทิศทางของวัตถุ ในลักษณะที่มีขนาด และทิศทางเดิมหรือเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะต่างๆ นพรัตน์ นามบุญมี (2556: 20) ให้ความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ว่า ความสามารถ ด้านมิติสัมพันธ์เป็นความสามารถในการรับรู้ และสร้างมโนภาพให้เกิดจินตนาการ การรับรู้ภาพที่มองเห็น ในโลกได้อย่างถูกต้อง และความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของภาพที่เคลื่อนไหว ซับซ้อนกัน หรือซ่อนอยู่ ภายในภาพ การแยกภาพ และการประกอบภาพอันได้แก่ ขนาด รูปร่าง และ รูปทรง ต าแหน่ง ทิศทาง สี สัณฐาน พื้นผิว ปริมาตร สามารถน าประสบการณ์จากการเห็นมาสร้างเกี่ยวกับมิติต่างๆ ได้ เบญจา สนธยานาวิน (2556: 37) ให้ความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ว่า เป็น ความสามารถในการมองเห็น รับรู้ภาพ ความสัมพันธ์ของพื้นที่ วัตถุ ภาพ เข้าใจต าแหน่งของสิ่งต่างๆ เมื่อ เทียบกับต าแหน่งหรือจุดอ้างอิงจุดใดจุดหนึ่ง เชื่อมโยงการมองเห็น พื้นที่ ขนาด ระยะทาง การอ้างอิง จากตัวเอง หน้าหลัง บน ล่าง ซ้าย ขวา บุคคลที่มีทักษะด้านมิติสัมพันธ์จะมีความสามารถ ในการมองเห็น ความสัมพันธ์ของมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ ที่ว่าง และเวลา และสามารถวาดมโน ภาพ ของความเชื่อมโยงให้เกิดขึ้นในใจและถ่ายทอดออกมาให้คนอื่นรับรู้เป็นรูปธรรม
สิรินทร์ โกมลสุทธิ์ (2556: 8) ให้ความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ว่า เป็น ความสามารถทางมิติสัมพันธ์คือ ความสามารถทางสมองของแต่ละบุคคลต่อการมองเห็นของวัตถุขณะ เคลื่อนที่และคงอยู่ และรับรู้ถึงความสัมพันธ์ของมิติต่างๆ รวมทั้งการแยกภาพ และประกอบ ภาพ ได้แก่ ขนาด รูปร่าง ระยะทาง ต าแหน่ง เป็นต้น จากความหมายของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์สรุปได้ว่า ความสามารถของเด็กปฐมวัยใน การ รับรู้ผ่านการใช้ประสาทสัมผัส การมองเห็นภาพ ความสามารถในการจ าแนก เกี่ย วกับรูปทรง รูปร่าง ขนาด ระยะ ต าแหน่ง ทิศทาง พื้นผิว ปริมาตร การแยกวัตถุออกจากกัน การประกอบวัตถุเข้า ด้วยกัน ความสัมพันธ์ของวัตถุ ความสัมพันธ์ของต าแหน่ง รวมถึงการคงที่ และการเปลี่ยนแปลง รูปร่างของวัตถุ 2.2 ความส าคัญของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ นักการศึกษาทั้งชาวต่างประเทศและชาวไทยได้ให้ความส าคัญของความสามารถทางมิติสัมพันธ์ ไว้หลายท่าน ดังนี้ วรรณวิภา สุทธเกียรติ (2542: 3) ได้ให้ความส าคัญของความสามารถทางมิติสัมพันธ์ไว้ว่า เป็น องค์ประกอบอย่างหนึ่งที่ส าคัญของความสามารถของสมองของมนุษย์ เนื่องด้วยความสามารถด้านนี้ เป็น พื้นฐานของการเรียนรู้และความสามารถด้านอื่นๆ มากมาย สภาครูคณิตศาสตร์แห่งชาติ(National Council of Teachers of Mathematics : NCTM) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้วางมาตรฐานการเรียน คณิตศาสตร์ในระดับโรงเรียน โดยเฉพาะการเรียนการสอนวิชาเรขาคณิต ควรเน้นให้นักเรียนมีพัฒนา ความคิดด้านมิติสัมพันธ์(Spatial Sense) เป็นส าคัญ วรัญญา ศรีบัว (2553: 8) ได้ให้ความส าคัญของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ไว้ว่าเป็น ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์เป็นปัจจัยส าคัญในการด าเนินชีวิตของเด็กในสภาพแวดล้อมรอบตัว ส่งผลให้ เกิดความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา จินตนาการ การคิดรวบยอดเกี่ยวกับการใช้พื้นที่ การออกแบบ ความสามารถในการสร้าง เป็นพื้นฐานในการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ทักษะการอ่าน และเรียนรู้ถึงการ เปลี่ยนแปลง แก้วตา ริวเชี่ยวโชติ (2555: 10) ได้ให้ความส าคัญของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์เป็น ความสามารถทางสมองซีกขวาที่ท าให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในการเรียนรู้ การใช้ความคิดรวบยอด สามารถคิดจินตนาการและนึกถึงภาพของส่วนประกอบเมื่อแยกออกจากกันได้ และสามารถที่จะมองเห็น เค้าโครงหรือโครงสร้าง เมื่อเอาส่วนต่างๆอมาประกอบหรือรวมเข้าด้วยกัน ความสามารถด้านนี้มีคุณค่าใน วิชาเรขาคณิต วาดเขียน งานศิลปะ งานฝีมือต่างๆที่ต้องอาศัยการคิดจินตนาการ ความสามารถด้านมิติ สัมพันธ์ยังมีความส าคัญในการด ารงชีวิตอย่างมาก เนื่องด้วยสิ่งทั้งปวง หรือวัตถุใดๆ มิได้มีความถาวร ตลอดไป มีความเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่เกิดขึ้น ท า
ให้บุคคลสามารถด าเนินชีวิตได้ด้วยดี ดังนั้นความสามารถด้านมิติสัมพันธ์จึงจ าเป็น ที่ต้องได้รับการพัฒนา และส่งเสริมตั้งแต่ในวัยเด็ก เนื่องจากความสามารถด้านนี้เป็นรากฐานส าคัญที่จะน าไปสู่การเรียนรู้และ การพัฒนาความสามารถด้านต่างๆ ในขั้นสูงต่อไป จากความส าคัญของความสามารถด้านมิติสัมพันธ์สรุปได้ว่า ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์เป็น ทักษะที่มีความส าคัญกับมนุษย์ เพราะเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้และความสามารถด้านอื่นๆ เช่น เรขาคณิต และส่งผลให้เกิดความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา จินตนาการ การคิดรวบยอด เกี่ยวกับ การใช้พื้นที่การออกแบบ สามารถคิดจินตนาการและนึกถึงภาพของส่วนประกอบเมื่อแยก ออกจากกัน และเมื่อน ามาประกอบหรือรวมเข้าด้วยกันได้ 2.3 ทฤษฎีพัฒนาการเกี่ยวกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ผู้ศึกษาทฤษฎีพัฒนาการเกี่ยวกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ไว้ดังนี้ นภเนตร ธรรมบวร (2544: 50) กล่าวถึงพัฒนาการความคิดของเด็กที่เกี่ยวข้องกับการมอง วัตถุ ในอีกลักษณะหนึ่งที่สอดคล้องกับแนวความคิดของเพียเจท์ และอินเฮลเดอร์ว่า สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 ระดับ 1. ระดับพื้นฐาน (Functional System) อายุประมาณ 1.3 - 2.6 ปี เป็นระดับความคิดที่เด็ก ส ารวจคุณสมบัติของวัตถุแต่ละประเภท และเริ่มที่จะจัดประเภทของวัตถุนั้นๆ ตามการใช้ โดยเด็กเริ่ม เข้าใจถึงรูปร่างและขนาดวัตถุว่า มีความสัมพันธ์กับการที่ตนใช้วัตถุนั้น ในชีวิตประจ าวัน จึงท าให้เด็ก เข้าใจถึงการเกี่ยวโยงกันระหว่างวัตถุ ในแง่ของสิ่งที่พบเห็นประจ าวัน และแง่ของต าแหน่ง เช่น คุกกี้ใน เหยือก ชามบนโต๊ะ ดังนั้นประสบการณ์ในการมอง จึงท าให้เกิดการคาดคะเนเป้าหมายของการมองนั้น เด็กที่มีวาสนาในระดับนี้ จึงสามารถที่จะใช้เหตุผล และตัดสินต าแหน่งของวัตถุใดวัตถุ หนึ่ง โดยอาศัยอีก วัตถุหนึ่งเป็นเกณฑ์ได้ แม้ว่าโดยมากเด็กจะคิดถึงต าแหน่งของวัตถุในแง่ของการใช้วัตถุนั้น แต่ ประสบการณ์ทางสายตาจะท าให้เด็กได้หัดคาดคะเนสายตา “การมองวัตถุ” ซึ่งเด็ก พิจารณาเรื่อง คุณสมบัติของวัตถุเป็นส าคัญ จะท าให้เด็กค่อยๆ เข้าใจเส้นน าสายตา (Line – of - Sight) ซึ่งเป็นพื้นฐาน ส าคัญในการคาดคะเนเส้นน าสายตา และเป้าสายตาเป็นพื้นฐานที่จ าเป็นในระบบมิติสัมพันธ์ ซึ่งต้อง พิจารณาเส้นน าสายตาหลายๆ เส้นในระบบนี้ ประสบการณ์ของเด็กกับคุณสมบัติ รูปร่าง ขนาดของวัตถุ ท าให้เด็กรู้จักส่วนต่างๆ ของวัตถุ ซึ่งจะท าให้เด็กสามารถเข้าใจเรื่อง สิ่งที่อยู่ใกล้เคียงกันได้ ซึ่งอยู่ในระบบ ที่เด็กจะเรียนรู้ต่อไป 2. ระดับการวางต าแหน่ง (Proximal System) อายุประมาณ 2.6 - 3.6 ปี ในระดับนี้เด็กเริ่ม คิดถึงต าแหน่งของวัตถุในลักษณะที่เป็นอิสระจากคุณสมบัติในการใช้งานของวัตถุนั้น แต่พยายามเข้าใจใน เรื่องต าแหน่งของวัตถุ โดยดูความสัมพันธ์กับสิ่งที่อยู่ใกล้เป็นหลัก นอกจากนี้การที่เด็กรู้จัก ส่วนต่างๆ ของ
วัตถุ ท าให้เด็กเริ่มใช้ส่วนต่างๆ ของวัตถุนั้นๆ ในการอ้างอิง เช่น ลิงชอบนั่งอยู่ข้างรถบรรทุกไม่ชอบอยู่ ข้างหน้า หรือข้างหลังของรถบรรทุก นั่นคือ เด็กสามารถที่จะพิจารณาถึงวัตถุที่ใช้ในการอ้างอิงนั้น มากกว่า 1 ส่วน ตัวอย่างเช่น รถที่แล่นเป็นขบวน 3 คัน รถคันกลางจะอยู่ข้างหลังของรถคันแรก และจะ อยู่ข้างหน้าของรถคันที่ 3 ซึ่งความเข้าใจของเด็กจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมือมีความสามารถในเรื่องความใกล้กัน ของวัตถุ เมื่อเด็กพัฒนาต่อไปในระบบนี้เด็กจะเรียนรู้เกี่ยวกับการเรียงล าดับ ซึ่งเป็นพื้นฐานส าหรับระบบ ต่อไปด้วย 3. ระดับการวางทิศทาง (Projective Space) อายุประมาณ 3.6- 6 ปีขึ้นไปจาก ประสบการณ์ใน การมองในระดับพื้นฐาน (Functional System) ท าให้เด็กได้รับการพัฒนาความรู้ จึงเกิดจากการมองสิ่ง ต่างๆ รอบตัว ซึ่งท าให้ท้ายที่สุดเด็กรู้จักจินตนาการเส้นน าสายตาและสามารถคาดคะเนได้ว่าการมองใน ทิศทางใดจะเห็นวัตถุอะไรบ้าง เช่น ในการมองจากจุด C ไปจุด E จุด D จะ เป็นจุดที่อยู่บนเส้นน าสายตา นั้นด้วย ในแต่ละระดับดังกล่าวเด็กจะพัฒนาการรับรู้เกี่ยวกับต าแหน่งในลักษณะใหม่ๆ โดยผ่านการมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเป็นส าคัญ ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ (Piaget) เพียเจท์ได้สรุปพัฒนาการทางสติปัญญา ของมนุษย์เป็น 4 ระยะ คือ (สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. 2550: 57) 1. ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (Sensorymotor ) อายุแรกเกิด - 2 ปี เด็กเรียนรู้โดย การใช้ประสาทสัมผัส เช่น ปาก หู ตา สิ่งแวดล้อมรอบตัว 2. ขั้นความคิดก่อนเกิดปฏิบัติการ (Intuitive or Preoperaional) อายุตั้งแต่ 2 - 6 ปี เด็กจะ เรียนรู้ภาษาพูด สัญลักษณ์ เครื่องหมาย ท่าทางในการสื่อความหมาย รู้จักสิ่งที่เป็นตัวแทน (Representation) โครงสร้างสติปัญญาแบบง่ายๆ สามารถหาเหตุผลอ้างอิงได้ มีความเชื่อในความคิด ของตนเองอย่างมาก ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง (Egocentric) เลียนแบบพฤติกรรมผู้ใหญ่ 3. ขั้นการคิดแบบรูปธรรม (Concrete - Operational) อายุตั้งแต่ 7- 11 ปี เด็กจะมีการ รับรู้ รูปธรรมได้ดี ใช้เหตุผล สร้างกฎเกณฑ์ เห็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ เป็นนามธรรม 4. ขั้นปฏิบัติความคิดทางนามธรรม (Formal Operationals) อายุตั้งแต่ 11-16 ปี ขั้นนี้เด็กจะ รู้จักการคิดหาเหตุผล มีระบบ คาดคะเน ตั้งสมมติฐาน แก้ปัญหา พัฒนาสติปัญญาอย่างสมบูรณ์มี ความคิดเท่าผู้ใหญ่ จากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ มีทั้งหมด 4 ขั้น โดยส าหรับเด็กปฐมวัยจะอยู่ใน ขั้นที่ 1 และ 2 คือ ขั้นที่ 1 ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (Sensorymotor ) อายุแรก เกิด - 2 ปี เด็กเรียนรู้โดยการใช้ประสาทสัมผัส เช่น ปาก หู ตา สิ่งแวดล้อมรอบตัว และขั้นที่ 2 ขั้นความคิดก่อนเกิด ปฏิบัติการ (Intuitive or Preoperaional) อายุตั้งแต่ 2 - 6 ปี เด็กจะเรียนรู้ภาษาพูด สัญลักษณ์
เครื่องหมาย ท่าทางในการสื่อความหมาย รู้จักสิ่งที่เป็นตัวแทน (Representation) โครงสร้างสติปัญญา แบบง่ายๆ สามารถหาเหตุผลอ้างอิงได้ มีความเชื่อในความคิดของตนเองอย่างมาก ยึดตัวเองเป็น ศูนย์กลาง (Egocentric) เลียนแบบพฤติกรรมผู้ใหญ่ ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ (2551: 28-30) ได้กล่าวถึง ทฤษฎีพหุปัญญา ตามแนวคิดของโฮเวิร์ด การ์ด เนอร์ (Howard Gardner) โดยจ าแนกความสามารถทางปัญญาของมนุษย์ออกเป็น 8 ด้าน มีดังนี้ 1. ด้านดนตรี และจังหวะ เป็นความสามารถในการมีประสาทความรู้สึกไว เกี่ยวกับเสียงดนตรี จังหวะท านอง สามารถแยกแยะความแตกต่างของเสียง การออกเสียงต่างๆ ใช้เสียงได้ดีจ าเพลง และ ดนตรีได้ ร้องเพลงถูกท านอง จังหวะและกลมกลืน สามารถเล่นดนตรีประพันธ์เพลง 2. ด้านกีฬาร่างกาย เป็นความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกาย และประสานงานของร่างกาย เคลื่อนไหวในท่าที่ร่างกายซับซ้อน ในท่าที่ละเอียดหรือยากๆ ได้ 3. ด้านตัวเลข และเหตุผล เป็นความสามารถในการคิด วินิจฉัย การวางแบบแผน จ านวน และ เหตุผล สามารถวิเคราะห์เหตุผลที่ซ้ าซ้อน มีความสามารถสูงในการใช้ตัวเลข จดจ าและท างาน เกี่ยวกับ ตัวเลขได้ดี มีความคิดเชิงเหตุผลและนามธรรมได้ดี เล่นคอมพิวเตอร์ เล่นเกมที่ยุ่งยาก ซับซ้อน และ ยุทธวิธียากๆ ได้ดี คิดได้เร็ว หาค าตอบได้ไว ชอบและสามารถแก้ปัญหา มีความสามารถ ในการคิด วิจารณญาณ คิดเป็นเหตุเป็นผล และเข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ได้ดี 4. ด้านมิติสัมพันธ์และศิลปะ เป็นความสามารถในการมองเห็นพื้นที่ได้ดี สามารถมอง กะ ระยะใกล้ไกลได้แม่นย า สามารถปรับปรุงพื้นที่ต่างๆ มีความไวต่อเส้น แสง สี รูปร่าง รูปทรง รับรู้จาก ภาพได้ดี คิดเป็นภาพ 3 มิติ และเปลี่ยนเป็นการรับรู้ การสร้างสิ่งต่างๆ การจิตนาการและภาพ ท าสิ่งของ เครื่องใช้ หรืองานประดิษฐ์ได้ดี 5. ด้านภาษา เป็นความสามารถในการไวต่อเสียงของค า โครงสร้างความหมายและองค์ประกอบ ของภาษา สามารถใช้ภาษา เข้าใจความหมายของภาษาที่ยากๆ แสดงออกทางภาษา ได้ไว ใช้ค าต่างๆ ได้ ดี มีวาทศิลป์ มีความสามารถในการเจรจาต่อรอง โน้มน้าว เขียนผลงานทาง วิชาการ งานเขียนต่างๆ อ่าน ได้ดี เขียนพูดได้คล่อง กระชับสื่อความหมายได้ชัดเจน ใช้ภาษา ส านวนศัพท์สูงๆ แปลกๆ มาใช้ในการพูด การเขียน จ าค าได้มาก 6. ด้านสังคม และมนุษยสัมพันธ์ เป็นความสามารถในการเข้าใจความคิด ความรู้สึก และความ ต้องการของผู้อื่น ไวในการสังเกตใบหน้าท่าทางของผู้อื่น มีความสามารถในการโน้มน้าวจูงใจ และมี อิทธิพลต่อคนอื่นได้ง่าย และได้ดี เป็นกันเอง ขี้สงสาร เอื้ออาทรต่อคนอื่น มักจะโดดเด่นหรือ เป็นขวัญใจ และผู้น าในหมู่เพื่อน
7. ด้านการคิดและการรู้ตน เป็นความสามารถในการไตร่ตรอง ครุ่นคิด ชอบท างานคนเดียว และ ศึกษาด้วยตนเอง ชอบอยู่ตามล าพัง มีสัญชาตญาณหยั่งรู้ ฝันหวานมีความเข้าใจและรู้ตนเอง รู้จุดอ่อน จุด แข็งของตนเอง มีการวางแผนอย่างดีที่จะไปสู่เป้าหมายของตนเอง สามารถสะท้อน ควบคุมความคิด ความรู้สึกและการจัดระบบความคิดได้ สามารถคิดค านวณ คิดวิเคราะห์ คิดเกี่ยวกับ ระบบจ านวน และ แก้ปัญหาได้ดี 8. ด้านธรรมชาติ และสิ่งรอบตัว เป็นความสามารถในการรัก ชอบ และหลงใหลในธรรมชาติเช่น ดิน หิน แร่ พืช สัตว์ ก้อนเมฆ ท้องฟ้า ดวงดาว สายลม แสงแดด หาดทราย ภูเขา รู้และสามารถ เข้า ใจความแตกต่างของพืช สัตว์ ปลูกพืช สัตว์เลี้ยง เพาะ แพร่ ขยายพันธ์พืชสัตว์ได้ดี ชอบท าสวน ท า การเกษตร 2.4 การส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย การส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ เป็นทักษะความสามารถด้านหนึ่งที่เด็กปฐมวัยควร ได้รับการพัฒนา ซึ่งการส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์นั้นมีหลากหลายแนวทาง โดยได้มีผู้กล่าวถึง การส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยไว้ ดังนี้ บรูเนอร์ (Bruner, 1969) ซึ่งมีแนวคิดสอดคล้องกับเพียเจต์กล่าวว่า ในการที่จะน า เนื้อหาใดมา สอนนั้นควรจะได้พิจารณาดูว่าในขณะนั้นเด็กมีการพัฒนาการอยู่ในระดับใด มีความสามารถเพียงใด เพื่อที่จะได้ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนโดยใช้วิธีที่เหมาะสม โดยบรูเนอร์เชื่อว่า ครูสามารถที่จะสอนวิชาใดๆ ก็ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้วิธีการที่เหมาะสมให้กับเด็กคนใดคนหนึ่งใน ระดับอายุใดก็ได้ นอกจากนี้บรูเนอร์ยังเน้นความส าคัญของโครงสร้างในการสอน คือ 1. การท าความเข้าใจสิ่งที่เป็นพื้นฐานหรือโครงสร้างจะช่วยให้เข้าใจสิ่งที่เรียนได้ดีขึ้น 2. การจัดสิ่งที่เรียนให้เป็นระบบระเบียบจะช่วยให้จ าสิ่งที่เรียนได้นาน 3. ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์หรือมโนทัศน์พื้นฐานจะน าไปสู่การถ่ายโยงความรู้การจัด โครงสร้างจะช่วยให้การเรียนรู้เป็นไปตามล าดับขั้นของเนื้อหาวิชาและต่อเนื่องกันโดยไม่มีช่องว่าง ระหว่างความรู้พื้นฐานกับความรู้ขั้นสูง วรรณวิภา สุทธเกียรติ (2542 : 3) กล่าวว่าถึง การพัฒนาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ว่าควร เน้นให้นักเรียนได้ค้นพบความสัมพันธ์ด้วยกระบวนการ การประดิษฐ์ การวาด การวัด การมองเห็น การ เปรียบเทียบ การแปลง และการจ าแนกรูปเรขาคณิตที่เน้นกิจกรรมในลักษณะการ ส ารวจ การตั้งข้อคาด เดา การสืบเสาะเพื่อตรวจสอบข้อคาดเดา สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต (2544 : 237 - 238) เสนอแนะการจัดการเรียนการสอนตาม แนวคิด ของเพียเจท์ไว้ว่า กิจกรรมที่ครูจัดขึ้นนั้นจะต้องให้เด็กได้มีส่วนในการท า เพราะจะท าให้เด็กมีโอกาสที่จะมี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการช่วยพัฒนาโครงสร้างทางสติปัญญา โดยเฉพาะความสามารถด้าน กระบวนการย้อนกลับ การเชื่อมโยง การรวมกันและการแยกแยะ เป็นต้น สิ่งที่ครูควรค านึงถึงในการ จัดการเรียนการสอน มีดังต่อไปนี้ 1. การวิเคราะห์เนื้อหาทางวิชาการที่จะให้เด็ก ซึ่งนอกจากจะต้องอาศัยจากขั้นตอนการพัฒนา ทางสติปัญญา ตามแนวคิดของเพียเจท์แล้ว ครูยังต้องมีทักษะการรับรู้ต่อเด็ก ดังนี้ 1.1 รู้ถึงระดับความรู้ของเด็ก 1.2 รู้ถึงทักษะที่เด็กมีอยู่ 1.3 รู้ถึงกระบวนการความคิด เหตุและผลที่เด็กมีอยู่ 2. การจัดระเบียบของเนื้อหาจากง่ายไปหายาก เพื่อที่จะสามารถน าไปใช้กับกิจกรรม การเรียน การสอนได้ 3. การสังเกตดูว่า เด็กนั้นท ากิจกรรมที่ให้ได้ถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ ซึ่งการสอนในชั้นเรียนนั้น ครู จะต้องให้เด็กท ากิจกรรมต่างๆ มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ อีกทั้งจะต้องช่วยให้เด็กเกิดการกระท าไปสู่ กิจกรรมที่เป็นปฏิบัติการทางสมอง ซึ่งสามารถท าได้โดยการค่อยๆ ลดสิ่งที่ช่วยภายนอกออกไป จากนั้นจึง เริ่มเปลี่ยนเป็นความคิดหรือการคาดหวัง ซึ่งต่อมาเด็กก็จะคิดได้อย่างอิสระในสภาพแวดล้อมทั่วไป วิธีนี้ จะช่วยให้เด็กสามารถถ่ายโยงระหว่างกิจกรรมที่กระท าไปสู่ความนึกคิดภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น กระทรวงศึกษาธิการ (2546 : 83 - 84) ได้เสนอแนวทางการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริม ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ไว้ดังนี้ 1. ใช้ค าถาม ค าสั่ง กระตุ้นให้เด็กบอก แสดงต าแหน่ง ระยะ ทิศทางในสถานการณ์ต่างๆ 2. ให้เด็กเล่นเกมการศึกษา 3. ให้เด็กเล่นเครื่องเล่น เช่น บล็อก ตัวต่อสร้างสรรค์ ฯลฯ 4. ให้เด็กท ากิจกรรมศิลปะ เช่น การวาดภาพ การพับ การสาน ฯลฯ 5. ให้เด็กเล่นเกมกลางแจ้ง เช่น เกมกระรอกเข้าโพรง รีรีข้าวสาร ฯลฯ 6. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบต่างๆ ตามค าสั่ง และข้อตกลง 7. จัดกิจกรรมส ารวจและน ามาวาดภาพ ท าแผนผังหรือประดิษฐ์โมเดล จ าลองต าแหน่ง สถานที่ ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับการต่อชิ้นส่วนภาพเข้าด้วยกันและแยกออกมีแนว ทางการจัดประสบการณ์ ดังนี้ 1. ให้เด็กได้ดูภาพที่สมบูรณ์ของภาพตัดต่อก่อนลงมือปฏิบัติ 2. ให้เด็กได้มีโอกาสเล่นเกมภาพตัดต่อ เกมลอตโต อย่างสม่ าเสมอ ฯลฯ
ดังที่กล่าวมาสรุปได้ว่า การส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ในเด็กปฐมวัยนั้น ควร จัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ วิธีการเรียนรู้และเหมาะสมกับพัฒนาของเด็ก โดยให้ เด็กมีส่วนร่วมลงมือกระท า มีปฏิสัมพันธ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้เด็กจดบันทึกการเรียนรู้โดยให้เด็กวาด ภาพประกอบ เป็นต้น แกรนด์ และ มอร์โรว (Grande; & Morrow. 1995 : 1-3) กล่าวว่า การพัฒนาส่งเสริม และ ฝึกฝน เพื่อให้เกิดความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ การรับรู้เชิงมิติสัมพันธ์เป็นความสามารถในการ จินตนาการเกี่ยวกับลักษณะรูปร่างของวัตถุ เมื่อเกิดการเคลื่อนที่ การแทนที่ของวัตถุ ซึ่งความรู้สึก เชิงมิติ สัมพันธ์ (Spatial Sense) จะน าไปสู่ความสามารถเหล่านั้นได้ โดยในระดับ Granes K-6 ความสามารถ ด้านมิติสัมพันธ์สามารถส่งเสริมได้โดย 1. ความสัมพันธ์ในการมองวัตถุกับการเคลื่อนไหว (Eye – motor Coordination) หมายถึง ความสามารถในการประมวลภาพด้วยสายตาจากความสัมพันธ์ระยะทาง และต าแหน่งของ วัตถุ 2. การรับรู้ภาพและพื้นหลังภาพ (Figure – ground Perception) หมายถึง ความสามารถใน การจ าแนกให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะที่ชัดเจนของภาพวัตถุ โดยไม่ค านึงถึงลักษณะ แวดล้อมและภาพ กระตุ้นอย่างอื่น 3. การรับรู้ความคงรูปของวัตถุ (Perceptual Constancy) หมายถึง ความสามารถ ในการบอก ลักษณะเดิมของวัตถุ เมื่อมีการหมุนการพลิกวัตถุ หรือการเปลี่ยนแปลงขนาดของวัตถุนั้น 4. การรับรู้ต าแหน่งของวัตถุที่สัมพันธ์กับพื้นที่ (Position-in-space Perception) หมายถึง ความสามารถในการบอกความสัมพันธ์ของวัตถุโดยรอบกับตัวเอง และอธิบายต าแหน่งที่รับรู้โดยสามารถ เขียนหรือบอกหรือแสดงว่า วัตถุอยู่ซ้าย ขวา หน้า หลัง บน ล่าง ใกล้ ไกล 5. การรับรู้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ (Perception of Spatial Relationships) หมายถึง ความสามารถในการมองเห็นวัตถุสองสิ่งหรือมากกว่า ที่มีความเกี่ยวพันธ์กัน โดยตัววัตถุเองหรือโดยวัตถุ อื่นในด้านการพลิกแพลงตัววัตถุและความสัมพันธ์อื่นๆ 6. การจ าภาพความเหมือนและความแตกต่างของวัตถุ (Visual Discrimination) หมายถึง ความสามารถในการท าให้เห็นถึงความแตกต่าง และความเหมือนระหว่างวัตถุ 7. การจดจ าภาพเสมือนของวัตถุ (Visual Memory) หมายถึง ความสามารถในการ ใช้วิธีการ แก้ปัญหา จดจ าและเรียกใช้ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับต าแหน่งกับเวลา และสามารถค้นหาวัตถุได้ อย่างถูกต้องรวดเร็ว
กระทรวงศึกษาธิการ (2551:105) ได้กล่าวถึงแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริม ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ในสาระที่ 3 เรขาคณิต ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ดังนี้ สาระส าคัญทางคณิตศาสตร์ : สาระเรขาคณิตในระดับปฐมวัยมีสาระส าคัญทางคณิตศาสตร์ ดังนี้ 1. ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ข้างหน้า ข้างหลัง ระหว่าง ข้างซ้าย ข้างขวา ใกล้ ไกล เป็น ค าที่ใช้บอกต าแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของสิ่งต่างๆ 2. การจ าแนกทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้วิธีพิจารณา รูปร่าง 3. การจ าแนกรูปสี่เหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม รูปวงกลม ใช้วิธีพิจารณารูปร่าง และขอบ ของรูป แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้: สาระที่ 3 1. การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้สึกเชิงปริภูมิ โดยฝึกทักษะการรับรู้เกี่ยวกับต าแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง โดยใช้ตัวเด็กเองเป็นจุดอ้างอิง ให้สังเกต พิจารณา และบอกได้ว่าสิ่งของอยู่ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ข้างหน้า ข้างหลัง ระหว่าง ใกล้ ไกล โดยจัดกิจกรรมให้เด็ก - สังเกตสิ่งต่างๆ รอบตัวที่อยู่ในห้องเรียน หรือในสนามเด็กเล่น - บอก หรืออธิบายสิ่งของที่อยู่ในต าแหน่งต่างๆ - หยิบสิ่งของต่างๆ ไปวางตามต าแหน่งที่ครูหรือเพื่อนบอก - วาดภาพโดยก าหนดสิ่งของในต าแหน่งต่างๆ ตามที่ต้องการ - เล่นเกม “นักสืบ” ค้นหาสิ่งของต่างๆ ที่ถูกซ่อนไว้ในต าแหน่งต่างๆ - เล่นเกม “เขาวงกต” เพื่อเดินตามเส้นทางไปสู่จุดมุ่งหมายที่ก าหนด ส าหรับค าว่าข้างซ้าย ข้างขวา เด็กๆ มักจะสับสนจ าไม่ได้ ครูอาจสนทนาเกี่ยวกับการใช้มือ ทั้ง สองข้าง ท ากิจกรรมต่างๆ หรือให้ร้องเพลงประกอบท่าทางข้างซ้าย - ข้างขวา ยกมือข้างซ้าย ยก ยก ยกมือข้างขวา ยก ยก เรามาสนุกเฮฮา ยกมือข้างขวา ยกมือข้างซ้าย แพง ชินพงศ์ (2553: 26-28) กล่าวถึงการส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ตามแนวคิดของ โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ที่บ่งชี้แนวทางการส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ เป็นเรื่องที่เป็นประโยชน์ใน ชีวิตและเป็นสิ่งที่ฝึกฝนกันได้ พัฒนาให้เพิ่มขึ้นได้ด้วยการจัดกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ 1. การเล่นบล็อก ตัวต่อ และภาพตัดต่อ จะช่วยให้เด็กๆ คุ้นเคยกับการเรียนรู้เกี่ยวกับพื้นที่ การ จัดวาง การกะระยะ สร้างสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดจากความคิด เด็กๆ จะเรียนรู้เกี่ยวกับรูปทรง ความพอเหมาะ
พอดี ด้วยการประกอบภาพจากส่วนย่อยๆ โดยสังเกตจากสี รูปร่าง ลักษณะ ชิ้นที่จะมาต่อต้องพอเหมาะ กับช่องว่างจิ๊กซอว์หรือภาพตัดต่อ และต้องเลือกจ านวนชิ้นให้เหมาะกับวัย 2. งานปั้น งานประดิษฐ์ งานปั้นตามจินตนาการอย่างอิสระ ปั้นจากสิ่งของที่เป็นของจริง ของ เล่น ถ่ายทอดจากสิ่งที่คิด สิ่งที่เห็น ได้อย่างละเอียด นอกจากงานปั้น วัสดุเหลือใช้ ประเภทต่างๆ เช่น แกนกระดาษทิชชู กระดุม กล่องขนาดต่างๆ กระดาษห่อของขวัญ ไหมพรม หลอด ฯลฯ มาออกแบบ สร้างสรรค์ผลงาน นอกจากจะพัฒนาความคิดสร้างสรรค์แล้ว สิ่งส าคัญที่ได้อีกทางหนึ่ง คือการพัฒนาใน เรื่องของมิติสัมพันธ์การจัดวางการใช้พื้นที่ 3. งานศิลปะที่เชื่อมโยงระหว่างสองมิติกับสามมิติ เด็กได้วาดภาพจากสิ่งที่สร้างขึ้น ไม่ว่าจะเป็น งานปั้น งานประดิษฐ์ หรือผลงานการสร้างบล็อกตัวต่อซึ่งเป็นงานสามมิติเท่ากับเป็นการฝึกให้เด็ก เชื่อมโยงจากสิ่งของที่เป็นสามมิติสู่ภาพวาดที่เป็นสองมิติ เช่น เดียวกับการให้วาดภาพจากของ จริงที่เห็น คล้ายกับการสเก็ตซ์ภาพที่ผู้ใหญ่ท ากัน วาดภาพสิ่งที่คิดก่อนจากนั้นก็ชวนมาท างานปั้นจาก สิ่งที่วาดเป็น การเชื่อมโยงจากภาพที่เป็นสองมิติมาสู่งานปั้นที่เป็นสามมิติ 4. การวาดภาพจากมุมมองที่ต่างกัน เด็กมีประสบการณ์จากการมองที่ต่างกัน เด็กมีประสบการณ์ จากการมองในทิศทางต่างกัน เช่น การมองจากด้านบนลง มองจากด้านล่างย้อนขึ้นไป มองจากด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้าง เด็กจะพบว่าสิ่งที่มองนั้นแตกต่างกันไป การวาดภาพตามสิ่งที่เห็นจากมุมมองต่างๆ จะ เรียนรู้ว่าแม้เป็นของสิ่งเดียวกัน แต่เมื่อมองต่างมุมมองกันก็จะเห็นต่างกัน 6. การท าแผนที่แผนผังโดยใช้กิจกรรมเดิน (Walk Rally) กิจกรรมการชี้ชวนให้ดูสิ่งต่างๆ โดย การเดินฝึกให้ดูป้ายสัญลักษณ์ต่างๆ ที่แสดงถึงทิศทางด้วย เช่น ป้ายตรงไป เลี้ยวซ้าย เลี้ยง ขวา วนกลับ เป็นต้น แล้วน ามาเล่นเป็นเกม ฐานเกมกิจกรรมหาสมบัติ หรือของที่ซ่อนไว้ในบ้าน หรือในโรงเรียน โดยให้ สังเกตจากป้ายสัญลักษณ์ที่ติดเอาไว้ 7. กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมนี้สอนในเรื่องของมิติสัมพันธ์ได้เป็นอย่างดี การใช้ เพลงและให้เด็กได้เคลื่อนไหว โดยใช้พื้นที่ให้ทั่วห้อง ใช้การเคลื่อนไปทางซ้าย –ขวา หน้า – หลัง อาศัย การออกค าสั่งและให้เด็กท ากิจกรรม อาจให้เด็กๆ เคลื่อนไหว โดยการมีอุปกรณ์ประกอบด้วย เช่น ริบบิ้น ผ้าโปร่ง เป็นต้น เด็กจะได้เรียนรู้กับการจัดตัวเองกับพื้นที่ทั้งในแนวระนาบและแนวดิ่ง การรักษาระยะ ห่างระหว่างตัวเองกับผู้อื่นขณะที่เคลื่อนไหว 8. กิจกรรมเกมการศึกษา การเล่นที่พัฒนาด้านมิติสัมพันธ์ ได้แก่ การเล่นเกมการศึกษาที่ เกี่ยวข้องกับการใช้เหตุผล ที่เกี่ยวเนื่องกับการหาความสัมพันธ์ของพื้นที่การหาความสัมพันธ์ของสีรูปทรง สิ่งของกับทิศทางต่างๆ จะเห็นได้ว่าสามารถส่งเสริมให้เด็กมีทักษะด้ามมิติสัมพันธ์ที่มีความส าคัญต่อชีวิต
ในปัจจุบันและภายภาคหน้า และส่งผลถึงความสามารถ ความถนัด และทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพในอนาคต อีกด้วย อมรา หวังสวัสดิ์ปรีชา (2554:37) กล่าวถึงการส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ควรส่งเสริม ให้เด็กได้พัฒนาตั้งแต่เด็กโดยการจัดสิ่งแวดล้อม และกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย เน้นการจัดกิจกรรมที่เด็ก ได้มีโอกาสในการค้นพบความสัมพันธ์ด้วยตนเอง ด้วยกระบวนการประดิษฐ์การวาด การวัด การมองเห็น การเปรียบเทียบ การแปลง การจ าแนกรูปเรขาคณิต และการคิดอย่างอิสระ กิจกรรมที่จัดให้ควรเป็น กิจกรรมที่เด็กได้ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เมื่อผู้เรียนได้ท ากิจกรรม เช่นนี้ อย่างสม่ าเสมอ ท าให้ ผู้วิจัยได้รับการพัฒนาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์และช่วยพัฒนาโครงสร้างทางสติปัญญา โดยเฉพาะ ความสามารถด้านกระบวนการย้อนกลับ การเชื่อมโยง การรวมกันและการแยกแยะ การรับรู้เชิงมิติ สัมพันธ์เป็นความสามารถในจินตนาการ เกี่ยวกับลักษณะ รูปร่างของวัตถุเมื่อเกิดการเคลื่อนที่ การแทนที่ ของวัตถุ ความสามารถในการท าให้เห็นความแตกต่าง และความเหมือนระหว่างวัตถุ ซึ่งความรู้สึกเชิงมิติ สัมพันธ์นี้จะน าไปสู่การเรียนรู้ในด้านอื่นๆ ต่อไป นพรัตน์ นามบุญมี (2556 : 29) กล่าวถึงการส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย ว่าความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ควรส่งเสริมให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตั้งแต่วัยเด็ก โดยการจัดสิ่งแวดล้อมและ กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย เน้นการจัดกิจกรรมที่เด็กได้มีโอกาสในการค้นพบใช้ค าถาม ค าสั่งกระตุ้นท าให้ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความสามารถในด้านมิติสัมพันธ์การรับรู้เชิงมิติสัมพันธ์เป็นความสามารถในการ จินตนาการเกี่ยวกับลักษณะรูปร่าง โดยผ่านการประดิษฐ์ การวาด การวัด การมองเห็นการเปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลง การจ าแนกรูปเรขาคณิต และการคิดอย่าง อิสระ การท าความเข้าใจสิ่งที่เป็นพื้นฐาน หรือโครงสร้างจะช่วยให้เข้าใจสิ่งที่เรียนได้ดีขึ้น โดยเด็กได้ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เมื่อผู้เรียนได้ท า กิจกรรมเช่นนี้อย่างสม่ าเสมอ ซึ่งต่อมาเด็กก็จะคิดได้อย่างอิสระในสภาพแวดล้อมทั่วไป วิธีนี้จะช่วยให้เด็ก สามารถถ่ายโยงระหว่างกิจกรรมที่กระท าไปสู่ความนึกคิดภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จากแนวทางการส่งเสริมความสามารถด้านมิติสัมพันธ์สรุปได้ว่าควรมีการจัดล าดับเนื้อหาการ เรียนอย่างเป็นระบบ โดยให้เด็กเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ จ าแนก แยกแยะสิ่งต่างๆ มีการใช้ค าถามในการ กระตุ้นให้เด็กได้คิดหาค าตอบ ฝึกให้เด็กได้สังเกตสิ่งที่อยู่รอบตัว เพื่อเชื่อมโยงในเรื่องของต าแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง และสอนในเรื่องมิติสัมพันธ์ผ่านกิจกรรมต่างๆ คือ ศิลปะ การเล่นตัวต่อ เกมการศึกษา โดยการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องและเหมาะสมกับวัยของเด็ก
2.5 การวัดและประเมินความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย การวัดและประเมินความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย สามารถวัดความสามารถของ เด็กได้หลายด้าน โดยได้มีผู้ที่กล่าวถึงการวัดและประเมินความสามารถ ด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย ไว้ ดังนี้ สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2545 : 113) การวัดความสามารถทางด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย ด้านการเข้าใจต าแหน่ง ระยะทาง ทิศทาง โดยแบ่งตามช่วงอายุ ได้ดังนี้ 1. อายุ 3 ปี สามารถบอก/แสดงต าแหน่งด้านใน และด้านนอกได้ 2. อายุ 4 ปี สามารถบอก/แสดงต าแหน่งด้านบน ด้านล่าง สามารถบอก/แสดง ทิศทาง เข้าออก ได้ 3. อายุ 5 ปี สามารถบอก/แสดงต าแหน่งด้านหน้า ด้านหลัง สามารถบอก/ระยะใกล้ไกล สามารถบอก/แสดงทิศทาง ทางตรง ทางอ้อมได้ ถนนสายวรรณกรรมของนายขวัญ (2560 : 67 ) กล่าวว่า ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์รูปภาพ เป็นการวัดความสามารถด้านการมองเห็น และเข้าใจเกี่ยวกับมิติต่างๆ อันได้แก่ ขนาด รูปร่าง ระยะทาง ทิศทาง ทรวดทรง พื้นที่ ปริมาตร มุ่งให้ผู้ที่ตอบเปรียบเทียบสิ่งต่างๆ ในด้านการมองเห็น ทรวดทรง การ หาความสัมพันธ์ การหาทิศทาง การคาดคะเนระยะทาง แบ่งรูปแบบการวัดได้ ดังนี้ 1. แบบซ้อนภาพ โจทย์จะก าหนดภาพทั้งสองภาพแล้วถามว่าเอาภาพทั้งสองภาพ ซ้อนทับกันให้ สนิทจะได้ภาพอะไรในการซ้อนภาพนี้ไม่นิยมเปลี่ยนทิศทางหรือหมุนภาพ 2. แบบซ่อนภาพ ข้อสอบจะให้ภาพที่ก าหนดให้ว่าซ่อนอยู่ในภาพใด แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 2.1 แบบซ่อนเดี่ยว โจทย์จะก าหนดภาพมาให้ภาพเดียวแล้วหารูปที่ซ่อนอยู่จาก ตัวเลือก 2.2 แบบซ่อนคงที่ โจทย์จะก าหนดภาพมาให้ 4 ถึง 5 ภาพแล้วหาภาพที่น าภาพทั้งสี่ ห้าภาพ นั้นมาซ้อนกัน แบบนี้จะมีความยากมากกว่าแบบซ่อนเดี่ยว 3. หมุนภาพ โจทย์ก าหนดภาพมาให้ แล้วสร้างเงื่อนไขว่าถ้าหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือ ทวนเข็ม นาฬิกาจะได้ภาพใด 4. แบบทดสอบแยกภาพ จะก าหนดภาพให้ 1 ภาพแล้วให้ผู้ตอบแยกภาพตามเส้นประที่ ก าหนดให้ ว่าได้ภาพย่อยอะไรบ้าง 5. แบบทดสอบประกอบภาพ จะคล้ายกับการแยกภาพจะต่างกันตรงที่ก าหนดให้ทางซ้ายมือจะ ไม่สมบูรณ์ แล้วให้หาส่วนที่ขาดหายไป ภาพเหล่านี้มักจะเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้าและวงกลม 6. การนับลูกบาศก์ เกิดจากการน าเอาลูกบาศก์มาวางซ้อนทับกันโดยให้เห็นบางส่วน แล้วให้ ผู้ตอบนับลูกบาศก์ที่วางซ้อนกันทั้งหมดว่ามีจ านวนเท่าไหร่
7. ทดสอบแบบตัดกระดาษ จะมีภาพที่สมบูรณ์มาให้ 1 ภาพแล้วผู้ตอบจะจินตนาการว่า ถ้าเอา ภาพนั้นขึ้นมาพับกลางและตัดภาพ ตามที่ก าหนดให้เมื่อคลี่ภาพออกจะมีลักษณะเป็นอย่างไร 8. แบบทดสอบพับกล่อง โจทย์จะก าหนดภาพเป็นแบบระนาบมิติเดียว แล้วให้ผู้ตอบจินตนาการ ว่า ถ้าพับเป็นกล่อง 3 มิติแล้วจะได้เหมือนภาพใด แนวทางการประเมิน สังเกตการณ์บอก/แสดง ต าแหน่ง ระยะ ทิศทาง ใน นอก ใกล้ไกล ทางตรง ทางอ้อม ขณะปฏิบัติกิจกรรม เช่น 1. การเคลื่อนที่ตามค าสั่งหรือข้อตกลง 2. การเข้าแถว 3. การเก็บสิ่งของเครื่องใช้ ของเล่น 4. การเล่นเกมการศึกษา 5. การสนทนาตอบค าถามจากสิ่งที่พบเห็น การวัดและประเมินผลด้านมิติสัมพันธ์ เป็นการวัดความสามารถด้านการมองเห็น และเข้าใจ เกี่ยวกับมิติต่างๆ ประกอบด้วย ขนาด รูปร่าง ระยะทาง ทิศทาง ทรวดทรง พื้นที่ ปริมาตร มุ่งให้ผู้ที่ตอบ เปรียบเทียบสิ่งต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แก้วตา ริวเชี่ยวโชติ (2555: 38) กล่าวถึงการสร้างแบบทดสอบเชิงปฏิบัติการการวัด ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ส าหรับเด็กปฐมวัย อายุ 3 - 4 ปี จ านวน 24 ข้อ แบ่งเป็น 3 เรื่อง คือ 1. ความสัมพันธ์ของความยาว และระยะทาง จ านวน 8 ข้อ 2. ความสัมพันธ์ของต าแหน่งที่ตั้ง จ านวน 7 ข้อ 3. ความสัมพันธ์ของทิศทาง จ านวน 9 ข้อ ส่วนการประเมินมีกระบวนการหลากหลาย ซึ่งรวมถึง วิธีการ และเครื่องมือที่ใช้ เช่น แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก พฤติกรรม แบบทดสอบเชิงสถานการณ์ จากการศึกษาค้นคว้า จากงานวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการวัด ประเมิน ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ส าหรับเด็กปฐมวัยเป็นแบบทดสอบวัดความสามารถ ซึ่งมีรูปแบบต่างๆ กัน เช่น แบบทดสอบเชิงปฏิบัติการ แบบทดสอบวัดความสามารถด้านมิติสัมพันธ์แบบ ปฏิบัติจริง 4 ด้าน คือ ด้านการต่อเข้า การแยกออก ด้านความเหมือน ความแตกต่าง ด้านต าแหน่ง ของวัตถุ และทิศทางของ วัตถุ โดยมีแนวทางการประเมิน ดังนี้ 1. การน าชิ้นส่วนต่างๆ ของภาพที่ก าหนดให้มาต่อเข้าด้วยกันเกิดเป็นภาพที่สมบูรณ์ได้ 2. การบอกความเหมือน ความแตกต่างในด้านขนาด รูปร่าง รูปทรง 3. การบอกต าแหน่งของวัตถุ ข้างหน้า – ข้างหลัง ข้างบน-ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ระหว่าง 4. การบอกทิศทางของวัตถุ ทางตรง ทางอ้อม ทางซ้าย ทางขวา
5. การสนทนา ถาม ตอบ ก่อน ระหว่าง และหลังปฏิบัติกิจกรรมเป็นกลุ่ม หรือรายบุคคลเพื่อ ประเมินความสามารถในการเรียนรู้ การแสดงความคิดเห็นที่ได้รับจากการไปทัศนศึกษา 6. การรวบรวมแผนที่แสดงออกด้วยภาพ วาดภาพ ออกแบบผลงานที่บอกต าแหน่งที่ตั้งของวัตถุ จากการมองเห็น การเปรียบเทียบจากสถานที่ในแง่มุมต่างๆ เห็นความส าคัญของพื้นที่ จากการวัดและประเมินความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยสรุปได้ว่า ควรมีการวัดและ ประเมินผลความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ให้สอดคล้องกับช่วงอายุของเด็ก โดยผู้ประเมินจะวัดในเรื่องของ ความสามารถในการจ าแนก เกี่ยวกับรูปทรง รูปร่าง ขนาด ระยะ ต าแหน่ง ทิศทาง พื้นผิว ปริมาตร การ แยกวัตถุออกจากกัน การประกอบวัตถุเข้าด้วยกัน ความสัมพันธ์ของวัตถุความสัมพันธ์ของต าแหน่ง รวมถึงการคงที่ และการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุ โดยการวัดและประเมินผลนั้น สามารถวัดได้โดยการ ใช้แบบทดสอบ แบบสังเกต และแบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก พฤติกรรม และแบบทดสอบเชิงสถานการณ์ 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการพับกระดาษ 3.1 ประวัติความเป็นมาของการพับกระดาษ “ออริกามิ” เป็นภาษาญี่ปุ่น ซึ่งแปลตรงตัวว่า “การพับกระดาษ” ได้มีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ และน าเอามาใช้เป็นภาษาแรก ต่อมาก็ได้มีการแปลเป็นภาษาอื่นๆ อีก แต่ก็ยังคงให้เกียรติต่อต้นฉบับที่สืบ ทอดมาจากวัฒนธรรมประเพณีอันเก่าแก่ของญี่ปุ่นในเรื่องการพับกระดาษ ชาวจีนได้คิดประดิษฐ์กระดาษขึ้นมาใช้ก่อนคริสตกาล และได้มีการเดาว่าชาวจีนเป็นชาติแรก ที่ พับกระดาษ แต่ทราบกันดีว่าในศตวรรษที่ 12 กระดาษได้ถูกน ามาใช้อย่างแพร่หลายในการพับกระดาษ เป็นห่อของขวัญในช่วงเทศกาลทะสุมิ ส าหรับเก็บสินค้าที่ใช้ในตัวเรือน เช่น สมุนไพร และส าหรับห่อ ของขวัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งของขวัญที่เป็นดอกไม้ ซึ่งดอกไม้แต่ละชนิดก็จะมีวิธีการห่อที่พิเศษแตกต่างกัน ออกไป ทุกวันนี้ชาวญี่ปุ่นมักจะผูกติดของที่ระลึกเล็กๆ ซึ่งพับจากกระดาษ เรียกว่า “โนชิ” ไปกับห่อ ของขวัญด้วย นั่นแสดงให้เห็นว่าประเพณีการพับกระดาษนี้ยังคงสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากการพับกระดาษให้เป็นรูปสัตว์ นก และดอกไม้แล้ว ตามหลักฐานที่ได้มีการบันทึกเอาไว้ เกี่ยวกับการพับกระดาษตามขนบธรรมเนียมญี่ปุ่นปรากฏในหนังสือ 2 เล่ม คือ “เซนบาซูรูออริการตะ” และ “ชูชินกูระ ออริกาตะ” ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1797 ในหนังสือเล่มแรกกล่าวถึงการพับกระดาษที่ต่อเนื่องเป็น กลุ่มจากแบบรากฐานเดียว และการพับนกกระเรียนในหนังสือเล่มที่2 แสดงการพับกระดาษซึ่งเป็นที่นิยม ตามล าดับตัวอักษรในการพับตุ๊กตานั้นมีลักษณะค่อนข้างเหมือนกับการพับเป็นรูปสุภาพบุรุษและสุภาพ สตรีชาวญี่ปุ่นของโรเบิร์ต ฮาร์บิน การพับกระดาษในหนังสือทั้ง 2 เล่ม ดังกล่าวมีการพับที่หลากหลาย มากกว่าการพับกระดาษที่เด็กๆ ทั่วโลกคุ้นเคย และแสดงศิลปะเก่าแก่ในการพับกระดาษของญี่ปุ่น ก่อนปี
ค.ศ. 1800 ตุ๊กตากระดาษตัวเล็กๆ ปรากฏให้เห็นอีกครั้งในหนังสือ “กาน โน มาโดะ” ซึ่งเป็นสารานุกรม ที่เขียนด้วยลายมือ เชื่อกันว่าอยู่ในช่วงศตวรรษที่19 หนังสือเล่มนี้บรรจุข้อมูลเกี่ยวกับการพับกระดาษ ตามขนบธรรมเนียมประเพณี การพับรูปสัตว์และแมลงอย่างประณีต ซึ่งมีรายละเอียดมากในการตัด กระดาษ และไม่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน การพับกระดาษแบบญี่ปุ่น “ออริกามิ” แนวใหม่ไม่ได้สืบทอดโดยตรงมาจากแบบโบราณของ “กาน โน มาโดะ” และเป็นแบบฉบับของตนเอง ซึ่งอยู่บนแก่นแท้ของการพัฒนาแนวใหม่ของศิลปะการ พับของเล่นด้วยกระดาษได้แพร่หลายจากญี่ปุ่นไปสู่ยุโรป ประมาณปี ค.ศ.1880 โดยนักแสดงมายากลบน เวที รวมทั้งนักการศึกษาชาวญี่ปุ่น ก็มีส่วนร่วมด้วยการพับนกกระเรียน(นก กางปีก) แพร่หลายเร็วมากใน หมู่คณะละครส าหรับเด็ก การพับการะดาษของยุโรปส่วนใหญ่จะท าเป็นรูปหมวก กล่อง เรือ และกระปุก ใส่เกลือ เรือแฝด (การพับประกบคู่) นักปรัชญาชาวสเปน มิเกล เดอ อวนนูโม (1864-1936) สนใจของเล่นส าหรับเด็ก รวมทั้งการพับ กระดาษ และยังหลงไหลในเสน่ห์ของ “ปาจาริต้า” ซึ่งหมายถึง “นกน้อย” ต่อมาจากการจับโน่นผสมนี่ ของเขาโดยเริ่มจากพื้นฐานการพับนก เขาสามารถคิดค้นวิธีการพับนกและสัตว์แบบต่างๆ มาเป็นนก หลายๆ ชนิด ซึ่งท ากันอย่างกว้างขวางจนท าให้การพับกระดาษสามารถขยายวงกว้างออกไป การค้นพบที่ ส าคัญก็ คือ พับย้อนปิดด้านข้างของปีกนกแบบพื้นฐาน ซึ่งเคยใช้เป็นเทคนิคในการพับนกพิราบของ “โยชิ ซาวา” ส าหรับกลุ่มผู้ติดตามงานแนวของอวนนูโม การพับรูป แขกมัวร์สวดมนต์ คือ ตัวอย่างผลงานของ พวกเขา ประเพณีชาวสเปนได้แพร่หลายมายังอเมริกาใต้งานชั้นเยี่ยมได้แก่งานของ ดร. โซลอร์ซาโน ซาก รีโด และลูกศิษย์ของเขา ล่าสุด ลิเกีย มอนโตยา จากอาร์เจนตินา ซึ่งเป็นเจ้าของแบบจ าลองที่ท าให้เข้าใจ ง่ายนั่นก็ คือ นกเขตทรอปิค ในเขตญี่ปุ่น อิซาโอะ ฮอนด้า ได้จัดการรวบรวมการพับกระดาษแนวดั้งเดิมตามประเพณีแบบออ ริกามิ และเริ่มมีหนังสือใหม่ๆ ปรากฏสู่สายตามวลชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือของมิชิโอะ อูชิยามาและ ลูกชายของเขา โกโช อูชิยามา ต่อมาก็มีผลงานที่เป็นอิสระอย่างแท้จริง จากงานของอวนนูโม โดยผลงาน ของ อากิรา โยซิซาวา ซึ่งได้ค้นพบวิธีท านกแบบพื้นฐานได้คล้ายคลึงกัน งานของเขาได้รับการพิมพ์โดย อิซาโอะ ฮอนด้า ในปี ค.ศ.1944 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โยชิซาวา ได้เริ่มพิมพ์หนังสือของเขาเองรวมทั้งบทความมากมาย และ การพับกระดาษแบบญี่ปุ่นก็ได้เข้าสู่ยุคการสร้างสรรค์ยุคใหม่ ความช่างประดิษฐ์และเจ้าความคิดของออกิ รา โยชิซาวา สัมพันธ์กับความสามารถในการท าให้แบบจ าลองดูมีชีวิตชีวาเหมือนจริง และเขาก็เริ่มมี อิทธิพลครอบง าศิลปะแขนงนี้ในญี่ปุ่น
ก่อนเกิดสงคราม การพับกระดาษในหมู่ประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ จ ากัดแต่เพียงการพับ กระดาษส าหรับเด็กเท่านั้นแต่ในปี ค.ศ. 1950 ได้มีการพยายามของบุคคล 3 คน คือ เกอร์ซัน เลคแมน และลิเลียน ออฟเมนเฮมเมอร์ จากสหรัฐอเมริกา และโรเบิร์ต ฮาร์บินจากสหราชอาณาจักร ท าให้งานพับ กระดาษพัฒนาขึ้น น่าแปลกที่ไม่มีใครอ้างสิทธิเป็นเจ้าของความคิดนี้เเกอร์ซัน เลคแมน ด าเนินรอยตาม แบบดั้งเดิมทั้งของอากิรา โยชิซาวา และลิเกีย มอนโตยา ส่วนลิเลียน ออฟเมนเฮมเมอร์ ได้เผยแพร่การ พับกระดาษ “ออริกามิ” (การพับกระดาษแบบญี่ปุ่น) และก่อตั้งศูนย์การพับกระดาษแบบญี่ปุ่น ใน นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เธอเก็บผลงานการพับกระดาษเอาไว้มากมาย และมีผลงานหนังสือทั้งในภาษา สเปนและญี่ปุ่น ส าหรับ โรเบิร์ต ฮาร์บิน ได้ริเริ่มจัดแสดงการพับกระดาษ แพร่ภาพทางโทรทัศน์ครั้งแรกในปี 1955 และในปี 1956 เขาได้พิมพ์หนังสือที่ยอดเยี่ยมเล่มหนึ่งชื่อว่า “กระดาษมหัศจรรย์” (Paper Magic) ซึ่งได้สรุปเกี่ยวกับศิลปะแขนงนี้ และกลายเป็นต ารามาตรฐานในฉบับภาษาอังกฤษ งานของทั้ง 3 คนนี้ ได้รับความสนใจในหมู่ผู้ที่สนใจงานพับกระดาษเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว และยังก่อให้เกิดนักพับกระดาษผู้ สร้างสรรค์งานใหม่ๆ มากขึ้น เช่น ในสหรัฐอเมริกาก็มี เฟรด โรม, นีล อีเลียต, โรเบิร์ต นีลล์, จอร์ช โรชส์ และ แจ็ค สกิลแมน ซึ่งได้คิดเทคนิคใหม่ๆ และพื้นฐานการพับกระดาษ ท าให้การพับกระดาษเปิดกว้าง มากขึ้นแบบไม่นึกฝันแม้แต่ในญี่ปุ่น การพับนกขั้นพื้นฐานและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การพับปลาและกบเป็น รากฐานที่คงอยู่ของการพับกระดาษ แต่ในไม่ช้าก็ได้มีการเพิ่มขั้นตอนที่ยุ่งยากมากมาย ก่อนที่จะมีการ คิดค้นวิธีการพับใหม่ๆ ขึ้นมานั้น มีการพับกล่อง “แบบธรรมดา” ของ ดร. เอ็มมานูเอล มูเอร์ จาก สวิตเซอร์แลนด์ และได้พัฒนามาเป็น “กล่องมีรอยจีบ” ของ นีล อีเลียต ในอังกฤษอิทธิพลจากงานของ โรเบิร์ต ฮาร์บิน การพับกระดาษ ได้แพร่หลายเป็นที่นิยม จนได้มี การต่อตั้ง British Origami Society (สมาคมพับกระดาษแบบญี่ปุ่นในอังกฤษ) ในปี ค.ศ. 1967 สมาคม พัฒนาไปอย่างช้าๆ แต่จ านวนสมาชิกได้มีเพิ่มมากขึ้น และในปี 1968 ได้มีการพิมพ์หนังสือ British Origami ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นหนังสือชั้นน าของโลก ในปี 1970 สมาคมมีการขยายวงกว้างออกไป สมาชิกได้คิดค้นแบบจ าลองที่เป็นทั้งศิลปะ หลาย สไตล์ เป็นทั้งเครื่องมือในการสร้างความหลากหลายมากมาย การพับนกและกบขั้นพื้นฐานถูกละทิ้งไป โดยพวกนักพับกระดาษรุ่นใหม่ เทคนิคพื้นฐานได้รับการพัฒนาใหม่เป็นพิเศษ ซึ่งเหมาะที่จะใช้เป็นแบบใน การพับต่อไป เทคนิคตะวันตกสมัยใหม่ ได้ถูกน ากลับไปใช้ในญี่ปุ่นอีกครั้ง ชาวญี่ปุ่นยุคใหม่จะผสมผสาน ความรู้จากตะวันตกและความละเอียดอ่อนของศิลปะแนวตะวันออกเข้าด้วยกัน โดโกวเตะ นากา โนะ และ โยชิไฮ โมโมตานิ เป็นนักพับกระดาษชาวญี่ปุ่นแนวใหม่ชาวญี่ปุ่นอีกคน คือ ซูโซ ฟูจิโมโต ได้ค้นพบ
แนวเรขาคณิตในการน ามาใช้ในการพับกระดาษ ช่วยขยายวงกว้างในการพับกระดาษได้มากขึ้น ท าให้การ ประดิษฐ์คิดค านวณง่ายขึ้น ในปี ค.ศ. 1980 พื้นฐานการผสมผสานของ นากาโนะ ก็ได้รับการพัฒนาขึ้นในสหรัฐอเมริกาโดย จอห์น มอนโทรล, โรเบิร์ต แลงก์, สตีเฟน เวส และปีเตอร์ เอนเจล และในญี่ปุุน โดยจุน เมกาวา ท าให้ผู้ที่ สนใจสามารถพับกระดาษได้ง่ายขึ้นโดยอัตโนมัติและการพับเป็นรูปต่างๆ โดยไม่ต้องตัดกระดาษเป็น สี่เหลี่ยมจัตุรัสก็ไม่มีข้อจ ากัดอีกต่อไป จอห์น เอส. สมิท ได้คิดค้นการพับกระดาษแนวใหม่เป็นศิลปะบริสุทธิ์ (Pure Land) โดยใช้การ พับแบบง่ายๆ น าเอาการพับแบบภูเขาและหุบเขามาใช้และพยายามหาวิธีพับง่ายๆ เพื่อให้เด็กและคน พิการสามารถท าได้ การพับกระดาษไม่ใช่เรื่องยุ่งยาก ซับซ้อน แต่ก็ยังคงความสวยงามและมีเสน่ห์ ในปี 1980 ได้เริ่มมีการพับกระดาษแนวต่างๆ “Modular Origami” เป็นการใช้เกณฑ์สเกลวัด ในการพับกระดาษ โดยเชื่อมโยงการวัดขนาดแต่ละหน่วย เพื่อท าแบบจ าลองให้เป็นจริง ซึ่งเป็นที่นิยมมาก ตัวอย่าง เช่นงานของ โทโมโกะ ฟูเซ จากญี่ปุ่น การประชุมนานาชาติศิลปศาสตร์และเทคโนโลยีสาขาการ พับกระดาษแบบญี่ปุ่น จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในอิตาลีเมื่อปี ค.ศ.1989 เป็น ศูนย์รวมนักวิทยาศาสตร์ นัก คณิตศาสตร์ที่สนใจศึกษาค้นคว้าการพับกระดาษในแนวเรขาคณิต ทั้งยังน าเอาความรู้และคุณค่าของ ศิลปะการพับกระดาษ เป็นอุปกรณ์ทางอายุรแพทย์ เพื่อช่วยผู้ด้อยความสามารถ ผู้พิการ และการศึกษา ของเด็ก ซึ่งไม่ใช่แค่การพับเป็นแบบฝึกหัดเท่านั้น แต่เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ในทางเรขาคณิต และในด้าน วัฒนธรรมประเพณี ดังเช่น เฟรดเดอริค โฟรเบล (1782-1852) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนอนุบาลได้น ามาใช้ นอกจากนี้ยังช่วยในทางนามธรรม แม้ว่าจะมองไม่เห็นเด่นชัด ได้แก่ การพัฒนาการในเรื่องภาษาและช่วย ในการรวบรวมสมาธิ และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สิ่งที่ให้ความสุขที่สุดเกี่ยวกับการพับกระดาษก็คือ การเติบโตอย่างจริงจังขยายวงกว้างออกไป มี การเคลื่อนไหวและมีนักพับกระดาษเพิ่มขึ้นมากมาย ในอเมริกาเหนือและใต้สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมัน และประเทศอื่นๆ ทั้งในการติดต่อสัมพันธ์กันตามปกติทั่วๆ ไป และการเดินทางไปเยี่ยม เยียนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในสังคมอื่นๆ การค้นพบใหม่ๆ ได้มีการเอื้อเฟื้อแลกเปลี่ยน และแบ่งปัน ความรู้กัน การจัดนิทรรศการได้รับความร่วมมือและส่งเสริมจากทั่วโลก มีการจัดตั้งกลุ่มร่วมในยุโรป ตะวันออกและนักพับกระดาษจากประเทศรัสเซียเคยมาเยือนอังกฤษ เมื่อเราฝึกพับกระดาษแบบญี่ปุ่น (ออริกามิ) เรามักจะระลึกถึง โรเบิร์ต ฮาร์บิน เจ้าแห่งมายากล บนเวที ผู้ซึ่งสามารถท าให้ผู้คนหลงไหล และตรึงใจผู้คนจากกระดาษสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งเขาตัดสินใจจะ เปิดเผยความลับให้โลกได้รู้แม้ว่าจะเป็นเคล็ดลับในการค้นพบของเขาก็ตาม เขามีความสุขที่จะได้เห็น ความก้าวหน้าของ “กระดาษมหัศจรรย์” ที่จะขยายวงกว้างแพร่หลายไปทั่วโลกด้วยความรู้สึกจากก้นบึ้ง
จิตใจของ โรเบิร์ต ฮาร์บิน เขาปรารถนาที่จะให้งานพับกระดาษ (ออริกามิ) แบบญี่ปุ่นที่เขารักเป็นสื่อสร้าง สันติภาพ และมิตรภาพอันดีระหว่างคนทุกคน (พุ่มสุวรรณ, 2551) 3.2 ขั้นพัฒนาการในการพับกระดาษ การสอนเด็กพับกระดาษ ควรมีการค านึงถึงพัฒนาการของเด็กว่าเด็กแต่ละช่วงอายุมีความ สามารถในการพับอยู่ในระดับใด ดังที่กุลยา ตันติผลาชีวะ (2547:103) ได้กล่าวถึงขั้นพัฒนาการในการ พับกระดาษของเด็กที่มีระดับอายุต่างกันไว้ ดังนี้ เด็กอายุ 3- 4 ปี รู้จักพับกระดาษแล้ว หัดพับตามรอยครึ่ง 4 ส่วนได้ และสามารถพับกระดาษ แล้วรีดได้เรียนร้อย เพราะเด็กเริ่มใช้หิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้คล่อง เด็กอายุ 4 - 5 ปีจะพับกระดาษซ้อนกัน 3 ทบได้ ใช้นิ้วรีดรอบพับได้ พับกระดาษ เป็นรูปร่าง อย่างง่ายได้ เช่น จรวด เด็กอายุ 5 - 6 ปี จะพับกระดาษรูปต่างๆ ซึ่งมีรูปร่าง และรายละเอียดได้ กุลยา ตันติผลาชีวะ (2551:40) ได้กล่าวถึง ขั้นพัฒนาการในการพับกระดาษไว้ว่า เด็กอายุ 4-6 ขวบ สามารถพับกระดาษได้ ดังนี้ 4 ขวบ พับง่ายๆ ได้แต่ไม่ซับซ้อน 5 ขวบ พับตามรอยได้ สามารถท าเป็นรูปร่างได้ 6 ขวบ พับเป็นรูปร่างได้ถูกต้อง 3.3 แนวทางในการสอนพับกระดาษ การสอนเด็กพับกระดาษ ผู้สอนพับจะต้องทราบถึงแนวทาง และหลักในการพับกระดาษ โดยได้มี ผู้ที่ให้แนวทางในการพับกระดาษไว้ ดังนี้ ม. พุ่มสุวรรณ (2543:9-12, แปล) ได้กล่าวถึงหัวใจของการพับกระดาษไว้ ดังนี้ 1. การดูตัวอย่าง และสังเกตค าอธิบาย ซึ่งเขียนไว้ตามส่วนต่างๆ 2. การพับกระดาษต้องท าด้วยความสุขุมรอบคอบ ประณีต และบรรจง ถ้าไม่รอบคอบแล้วระวัง ผลงานจะออกมาเสียหาย ฉีกชาด และไม่สวยได้ 3. ศึกษาแผนภาพ แต่ละส่วนซึ่งแสดงวิธีการพับแบบสมบูรณ์ จากนั้นวางกระดาษให้อยู่ตรง ด้านหน้า แล้วเริ่มพับตั้งแต่เริ่มต้น 4. เมื่อพับกระดาษ ต้องรีดกระดาษให้เรียบตรงแนวโดยใช้หลังนิ้วหัวแม่มือ การรีดกระดาษที่ เป็นรอยคมชัดจะท าให้การพับกระดาษง่ายขึ้น และจะเป็นแนวทางให้การพับกระดาษขั้นต่อไป 5. มีการรีดกระดาษให้เป็นรอยก่อนเป็นเรื่องส าคัญมาก เพื่อว่าทุกอย่างจะได้ลงตัวถูก ต าแหน่ง
6. ก่อนที่จะพับย้อนกลับ ต้องมีการรีดกระดาษให้เป็นรอยไว้ก่อน โดยการพับส่วนหน้าก่อนที่จะ กางกระดาษและพับ 7. ส่วนมากจะใช้กระดาษที่มีสีด้านเดียว จะต้องเป็นกระดาษที่แข็งแรง บาง และสีเหมาะสม แต่ ถ้าไม่สามารถหากระดาษส าหรับพับกระดาษแบบญี่ปุ่นได้โดยเฉพาะ ก็สามารถใช้กระดาษอะไรก็ได้ 8. ถ้าก าหนดว่าใช้กระดาษสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้แน่ใจว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจริงๆ ถ้า ก าหนดให้ เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ก็ให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าจริงๆ 9. เมื่อพับขั้นพื้นฐานได้ อาจจะมีการประดิษฐ์งานต่างๆ ตามรูปแบบที่คิดขึ้นมาเอง 10. ดูการกดทับกระดาษให้แบนเรียบ มันได้ถูกก าหนดไว้เพราะจะต้องเริ่มท า จากส่วนที่ก าหนด เพื่อให้ด้านข้างที่เป็นรอยโป้งแบนลง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นได้โดยอัตโนมัติ 11. ลองศึกษาการพับกลีบดอกไม้ การพับหูกระต่าย และการพับขั้นพื้นฐานแบบต่างๆ และ พยายามจ าว่าท าอย่างไร เมื่อติดขัดให้ย้อนกลับไปดูที่ต้นฉบับ 12. ลองสังเกตและท าซ้ าๆ พับอย่างระมัดระวัง เรียบร้อย และสวยงาม พิมพา จันทาแล้ว (2547: 23) กล่าวถึงหัวใจของการพับกระดาษ ดังนี้ 1. กระดาษต้องเป็นไปตามที่ก าหนดว่าใช้กระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า 2. กระดาษควรเป็นกระดาษสองหน้า จะได้แบ่งแยกเป็นด้านหน้า ด้านหลัง ไม่หนา หรือบาง จนเกินไป 3. ศึกษาสัญลักษณ์ และขั้นตอนในการพับอย่างละเอียด 4. เริ่มต้นจากรูปแบบที่ง่ายๆ ก่อน ไม่ควรมีมากกว่า 10 ขั้นตอน 5. ท าตามล าดับขั้นตอนที่ก าหนดให้โดยไม่ข้ามขั้นตอน 6. รอยพับต้องคมขัด เพื่อจะได้เป็นแนวทางในการพับขั้นต่อไป 7. ต้องมีความสุขุม รอบคอบ ระมัดระวัง และประณีต กุลยา ตันติผลาชีวะ (2551:58-59) ได้กล่าวถึงหลักในการสอนพับกระดาษ และแนวทางการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการพับกระดาษ สามารถท าให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และส่งผลต่อ พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ดังนี้ 1. ครูควรฝึกพับทักษะการพับกระดาษให้เกิดความช านาญ 2. ขณะที่สอนครูควรที่จะพับไปพร้อมกับเด็กทีละขั้นตอนอย่าสาธิต ทั้งนี้เนื่องจากเด็กยังจ า ขั้นตอนการพับไม่ได้จึงต้องท าไปพร้อมๆ กัน 3. ถ้าเด็กมีปัญหาระหว่างการพับ ครูต้องให้ความช่วยเหลือแต่ไม่ควรพับให้เด็ก 4. ครูควรให้เวลาในการพับส าหรับเด็ก เพราะมือเด็กยังไม่คล่อง
5. ผลงานที่เด็กท าออกมานั้นเด็กบางคนอาจท าไม่สวย แต่ให้ถือว่าเด็กท าส าเร็จ ควรน าผลงาน เด็กมาเปรียบเทียบกัน 6. ครูชื่นชมผลงานเด็กทุกครั้งอย่างสม่ าเสมอ และเด็กทุกคนต้องมีโอกาสได้พูดน าเสนอผลงาน โดยขนาดของกระดาษที่มีความเหมาะสมส าหรับเด็กปฐมวัยที่น ามาใช้ในการพับนั้นควรมี ลักษณะ ดังนี้ 1. กระดาษสี่เหลี่ยมจัตุรัส ควรมีขนาด 15 ×15 เซนติเมตร 2. กระดาษสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 15 ×24 เซนติเมตร 3. กระดาษที่สามารถใช้ได้เลย คือ กระดาษ A 4 กระดาษหนังสือพิมพ์ 4. กระดาษที่ใช้ไม่ควรแข็งเกินไปซึ่งไม่ควรเกิน 80 แกรม กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการพับกระดาษ 4 ขั้นตอน ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของเด็กตามแนวคิดของ กุลยา ตันติผลาชีวะ ดังนี้ ขั้นที่ 1 สร้างมโนทัศน์ เป็นขั้นของการวางพื้นฐานความรู้ โดยครูให้ความรู้แก่เด็กเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนเป็นเบื้องต้น ก่อน เพื่อวางกรอบแนวคิดและมโนทัศน์ในเรื่องที่เรียน ตัวอย่าง เช่น เด็กจะท ากิจกรรมการเรียนรู้การพับ กระดาษ เรื่อง ปลา เด็กจะต้องพับปลา และท ากิจกรรมปลาว่าเป็นสัตว์น้ ามีครีบ และต้องอาศัยอยู่ในน้ า กับสัตว์เล็กๆ และกินพืชเป็นอาหาร การสร้างมโนทัศน์เป็นการกระตุ้นให้เด็ก อยากเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ขั้นที่ 2 พับกระดาษ เป็นขั้นของการพับสิ่งที่เรียน เช่น ถ้าเรียนเรื่องปลาต้องพับปลา เรียนนกให้พับนก โดยการพับนั้น จะต้องดูในเรื่องของรูปแบบการพับกระดาษที่มีความยากง่าย เหมาะสมกับอายุของเด็ก เพื่อเด็กจะได้สนุก กับการพับ ขั้นที่ 3 พัฒนาผลงาน เป็นขั้นการน าผลงานพับกระดาษมาจัดแสดงในรูปแบบต่างๆ ตามลักษณะผลงาน โดยการจัดเป็น กลุ่มเล็กๆ 4 – 6 คน เพื่อสร้างผลงานที่ตอกย้ าสาระการเรียนรู้ตามมโนทัศน์ขั้นที่ 1 เช่น การจัดที่อยู่ของ สัตว์ การตกแต่งผลงาน การท าเครื่องแขวน เป็นต้น ขั้นที่ 4 น าเสนอ และสรุปการเรียนรู้ เป็นขั้นที่เด็กต้องน าผลงานกลุ่มมาน าเสนอหน้าชั้นเรียน โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการน าเสนอ ด้วยการเล่นหรือตอบค าถามปลายเปิด Paper love (2553: 10-11) ได้กล่าวถึงวิธีการพับกระดาษให้สนุก และมีความสุข และหัวใจ ของการพับระดาษ จะต้องประกอบไปด้วยสิ่งดังต่อไปนี้
1. กระดาษ และอุปกรณ์ส าหรับตัดกระดาษ 2. ความตั้งใจฝึกฝน 3. ความอดทน มีสมาธิ 4. ความคิดสร้างสรรค์ 5. หัวใจที่รักการพับกระดาษ สัญลักษณ์ส าคัญที่ใช้ในการพับกระดาษ มีดังนี้ ………………. จุดไข่ปลา หมายถึง การพับกระดาษด้านล่างทบขึ้นบนกระดาษ ด้านบน หรือเรียกว่า การพับแบบหุบเข้า ---------------- เส้นประ หมายถึง การพับกระดาษด้านบนทบลงด้านล่าง หรือเรียกว่า การพับแบบภูเขา __________ เส้นทึบ หมายถึง รอยพับกระดาษ ที่สังเกตได้เมื่อคลี่กระดาษออก พื้นที่สีขาว หมายถึง กระดาษด้านหน้า พื้นที่สีเทา หมายถึง กระดาษด้านหลัง ลูกศร หมายถึง การบอกทิศทางการพับ ภาพที่2 สัญลักษณ์ส าคัญที่ใช้ในการพับกระดาษ สุรีพร กัลปรี (2558: 20 - 22) ได้กล่าวถึง แนวทางในการสอนพับกระดาษ โดยให้ค าแนะน าใน การใช้กระดาษ ดังนี้ 1. ศิลปะการพับกระดาษแต่ละแบบ จะเป็นกระดาษสี่เหลี่ยม กระดาษวงกลมหรือกระดาษ เส้นก็ ตาม สมควรใช้กระดาษรูปทรงเดียวกันตลอด 2. กระดาษที่ใช้พับไม่จ าเป็นต้องเป็นกระดาษที่มีราคาแพง อาจใช้กระดาษขาวโรเนียมธรรมดา หรือกระดาษหนังสือพิมพ์ เมื่อเด็กพับเสร็จแล้วจึงให้ระบายสี ตกแต่งให้สวยงามถ้ามีกระดาษ ห่อของขวัญ ที่เหลือจากการใช้ก็สามารถน ามาพับได้ และจะได้รูปที่มีสีสันสวยงามมากเหมือนกระดาษสีที่มีราคาแพง
จะเห็นว่ากระดาษที่ใช้ในการพับกระดาษไม่จ าเป็นต้องมีราคาแพงเราสามารถใช้เศษวัสดุที่เหลือ ใช้มาพับแล้วประดิษฐ์ให้สวยงามได้ด้วยความคิดของเราเอง ท าให้เราเกิดความคิดสร้างสรรค์และ จินตนาการ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ การรับรู้ นอกจากนี้กิจกรรมการพับกระดาษยังเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริม ความคิดของเด็กอีกด้วย 3.3 เทคนิคและวิธีการสอนการพับกระดาษ เทคนิคการสอนในการพับกระดาษนั้นขึ้นอยู่กับผู้สอนแต่ละคนว่าจะสามารถดัดแปลงหรือ เพิ่มเติม เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพของเด็กแต่ละคน 1. การสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของกล้ามเนื้อมือและการประชาสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา และ ในการสอนครูควรเอาใจใส่ แนะน าเด็กให้ตรงจุด นั่นคือ ควรแนะน าเด็กเป็นขั้นๆ ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 การพับกระดาษสี่เหลี่ยมจัตุรัสเป็นรูปสามเหลี่ยม ควรและแนะน าเด็กเป็นขั้นๆ ดังนี้ 1. ขณะพับกระดาษให้เป็นรูปสามเหลี่ยม ตาควรจ้อง มุมแหลมของกระดาษสี่เหลี่ยมทั้ง สองข้าง ตลอดจนริมกระดาษของด้านต่อด้านที่พับมาพบกันทับกันพอดีหรือไม่ เมื่อยังไม่พอดีต้องขยับให้ พอดีกัน 2. แบมือข้างซ้าย แล้วกดลงบนกระดาษ ตรงเลยที่พับไม่ให้กระดาษเคลื่อนที่ 3. ใช้ปลายนิ้วหัวแม่มือข้างขวารีดกระดาษที่มือซ้าย ตรงเลยที่พับ ถ้ารีดมากเท่าไร จะได้ รอยพับคมเท่านั้น จากวิธีการพับกระดาษดังกล่าว จะเห็นว่าถ้าครูไม่แนะน าวิธีพับโดยให้เพ่งสายตามองดู กระดาษตามข้อ 1. ใช้แรงกดและรีดกระดาษตามข้อ 2. และ 3 แล้วประโยชน์ที่ได้รับจากการพับกระดาษ เพื่อส่งเสริมกล้ามเนื้อมือให้แข็งแรง และเพื่อส่งเสริมการประสานสัมพันธ์กันระหว่างมือกับสายตา ก็จะ ได้ผลไม่เต็มที่ ตัวอย่างที่ 2 การตัดกระดาษวงกลมด้วยกรรไกร ควรแนะน าเด็กตามขั้นตอนดังนี้ 1. เขียนวงกลมด้วยวงเวียนหรือแบบพิมพ์วงกลม 2. ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามเส้นรอยของวงกลมโดยส่งสายตาไปที่เส้นรอบวงกลม และ กรรไกร 2. การสอนเพื่อส่งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง ในขั้นแรกที่เด็กเริ่มหัดพับ ครูควรสอนวิธีการพับแบบง่ายๆ ให้เหมาะสมกับวัย เด็ก ทุก คนสามารถท าได้ การสอนอาจด าเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 2.1 ครูสาธิตวิธีการเป็นขั้นๆ ทีละตอนช้าๆ แล้วให้เด็กพับตามในแต่ละขั้นตอนนั้น 2.2 ครูให้ค าชมเมื่อเด็กท าถูกต้องค าชมของครูเป็นแรงเสริมให้เด็กภูมิใจและเกิด
ความเชื่อมั่นว่าตนสามารถท าได้ถูกและท าได้ดี จะมีก าลังใจพับในขั้นต่อๆ ไปด้วยความมั่นใจใน ความสามารถของตน 2.3 เพื่อให้เด็กภูมิใจในความสามารถในผลงานของตนเองยิ่งขึ้น ควรแนะน าให้เด็ก น า ผลงานของตนเองไปติดโชว์ป้ายนิเทศหน้าห้องเรียน หรือให้น ากลับบ้านเพื่ออวดคุณพ่อคุณแม่ 3.4 คุณค่าและประโยชน์ของการพับกระดาษ คุณค่าและประโยชน์ของการพับกระดาษที่พอจะศึกษาค้นคว้าได้ มีดังนี้ 1. ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน 2. ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด ซึ่งมีผลต่อพัฒนาการด้านอารมณ์ 3. ช่วยพัฒนากล้ามเนื้อมือให้แข็งแรง 4. ช่วยฝึกในด้านความสัมพันธ์ระหว่างมือกับสายตาในเด็กก่อนวัยเรียน 5. ช่วยส่งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง 6. ช่วยเสริมสร้างความริเริ่มสร้างสรรค์ 7. ช่วยส่งเสริมให้เป็นคนรักสวยรักงามมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย (ศรีวรรณ มากชู และช านาญ สุขชาญไชย, 2524 : 45 - 47) การพับกระดาษเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถส่งเสริมพัฒนาการความสามารถใน การใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็กให้แข็งแรง ในการที่จะพัฒนาความสามารถของเด็กนั้นเราจ าเป็นต้องทราบถึงคุณค่าและ ประโยชน์ของกิจกรรมที่จัดให้เด็ก เช่น กิจกรรมการพับกระดาษ ซึ่งในการแสดงออกนั้นเป็นการฝึกการ ท างานด้านกิจกรรมการพับกระดาษโดยเฉพาะเป็นการท างานร่วมกันระหว่างมือกับสายตาให้ประสาน สัมพันธ์กันเพื่อเป็นพื้นฐานในการเขียนต่อไป กุลยา ตันติผลาชีวะ (2551:53 - 54) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการพับกระดาษ ดังนี้ 1. สร้างสมาธิที่แน่วแน่ในการสร้างผลงานด้วยการล าดับข้อมูลการพับอย่างเป็นระบบ และมี ขั้นตอน 2. พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก การใช้มือ ตา ประสานกันในขณะเดียวกันประสานสมองด้วย 3. สร้างความเพลิดเพลินและความภาคภูมิใจในความส าเร็จของงาน การพับกระดาษเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์ส าหรับเด็กปฐมวัยได้ ถ้าปรับให้การพับนั้นอยู่ในระดับ ความสามารถของเด็ก เมื่อเด็กพับกระดาษแล้ว อย่าหยุดที่ได้ผลการพับ ครูควรน ามาสานต่อ เป็น ข้อความรู้ เน้นการเรียนที่ต่อเนื่อง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้มีถึง 2 ต่อ เด็กรู้จักการใช้เวลาว่างในการที่จะพัฒนาตน กับเด็กได้เรียนรู้สาระตามหลักสูตรโดยเฉพาะโลกของเรา ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น การ