The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ด้วยโปรแกรม AppSheet

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ด้วยโปรแกรม AppSheet

สร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ด้วยโปรแกรม AppSheet

รายงานผลปฎิบตั ิการ
สรา้ งระบบเก็บข้อมูลนกั เรียน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ

ดิจิทัล ด้วยโปรแกรม AppSheet
เสนอ

นายวิทูล เยอื่ งอย่าง

จดั ทำโดย
1. นางสาววรดา สิทธิปัญญา 6232040011
2. นางสาวเพชรดา คชรินทร์ 6232040020
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปีท่ี 2 กล่มุ 1

สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล
โครงการเลม่ น้ีเปน็ ส่วนหนงึ่ ในวชิ าโครงการ รหัสวชิ า (3204 - 8501)

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
วิทยาลัยเทคนิคระยอง



ชื่อโครงการ : สรา้ งระบบเกบ็ ขอ้ มูลนักเรยี น นกั ศึกษา
ด้วยโปรแกรม AppSheet
ช่อื ผจู้ ดั ทำ
: น.ส.วรดา สิทธปิ ัญญา
อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาโครงการ : น.ส.เพชรดา คชรนิ ทร์
ปีการศกึ ษา : นายอนริ ุตติ์ บวั ระพา

: 2563

บทคัดย่อ

ในการจัดทำโครงการในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน
นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ด้วยโปรแกรม AppSheet ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (2) เพ่ือ
สำรวจความพึงพอใจการใช้คิวอาร์โค้ดของนักเรียนนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยใช้
โปรแกรม AppSheet (3) เพื่อเผยแพร่ระบบเก็บข้อมูลให้กับอาจารย์ในสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดิจิทลั โดยการนำเสนอในรูปแบบควิ อารโ์ คด้ ดว้ ยโปรแกรม AppSheet

ในการจดั ทำไดท้ ำการศึกษาเก่ียวกบั สร้างระบบเกบ็ ข้อมูล ชื่อโครงการ สรา้ งระบบเก็บข้อมูล
นักเรียน นักศึกษา ด้วยโปรแกรม AppSheet หลังจากนั้นได้ทำการวางแผนการทำงานโดยใช้ความรู้
ที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้สร้างระบบเก็บข้อมูลแบบสอบถามเพื่อประเมินคุณภาพของการจัดทำ
โครงการ สรา้ งระบบเก็บขอ้ มลู นกั เรยี น นักศกึ ษา ดว้ ยโปรแกรม AppSheet

ผลการสำรวจความพึงพอใจจากแบบสอบถามจำนวน 222 ชุด สรุปผลการประเมินที่ได้จาก
การสำรวจมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.59) ดังนี้ เพศชายคิดเป็นร้อยละ 29.7
และเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 77 จากการวิเคราะห์ พบว่าผลประเมินที่ได้จากการสำรวจมีผลสัมฤทธิ์
อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านการทำงานของฟังก์ชั่นภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.59) ด้าน
การใชง้ านของโปรแกรมภาพรวมอยู่ในระดับมากทส่ี ดุ ( ̅ = 4.58) ดา้ นด้านประสิทธภิ าพภาพรวมอยู่
ในระดบั ดี ( ̅ = 4.59)



กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงการ สร้างระบบเก็บข้อมูล ชื่อโครงการ ระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ด้วย
โปรแกรม AppSheet โครงการฉบบั นี้ สำเร็จลุล่วงไปได้อยา่ งดีก็ด้วยความกรุณาอย่างดียิ่งของอาจารย์
อุทัย ศรีษะนอก หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ที่ให้การสนับสนุนในการจัดทำโครงการ
และแนะนำข้อคดิ เหน็ ตา่ ง ๆ จงึ ใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสงู ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณท่าน อาจารย์วิทูล เยื่องอย่าง ครูผู้สอนรายวิชาโครงการที่ปรึกษาด้าน
วิชาการและจัดทำโครงการให้คำแนะนำและข้อคิดต่าง ๆ ของการทำงานมาโดยตลอด

ขอขอบพระคุณท่าน อาจารย์อนิรตุ ต์ิ บวั ระพา ครูทปี่ รกึ ษาโครงการด้านการจดั ทำโครงการ
ให้คำแนะนำและข้อคิดต่าง ๆ ของการทำงานมาโดยตลอดในการจัดทำระบบเก็บข้อมูล ชื่อโครงการ
ระบบเกบ็ ข้อมลู นักเรียน นักศึกษา ดว้ ยโปรแกรม AppSheet จึงขอขอบคุณทุก ๆ ท่านทไี่ ด้สนับสนุน
พร้อมให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการในทุก ๆ ด้านและให้กำลังใจแก่ผู้จัดทำเสมอมากระท่งั
การศึกษาค้นคว้าโครงงานนี้สำเรจ็ ลุล่วงด้วยดีและ ความดีอันเกิดจากการศึกษาคน้ คว้าครั้งนี้ผู้จัดทำ
ขอมอบแด่บิดา มารดา ครู อาจารย์ และผ้มู ีพระคณุ ทกุ ทา่ น

ผู้จัดทำมีความซาบซึ้งในความกรุณาอันดียิ่งจากทุกท่านที่ได้กล่าวนามมา และขอกราบ
ขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้

คณะผจู้ ัดทำ

สารบัญ ค

เร่ือง หนา้
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบญั (ตอ่ ) ง
สารบัญตาราง จ
สารบญั ภาพ ฉ
สารบัญภาพ (ตอ่ ) ช
บทที่ 1 บทนำ
1
1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของโครงการ 1
1.2 วัตถปุ ระสงค์ 2
1.3 ขอบเขตของโครงการ 2
1.4 ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั 3
1.5 คำจำกดั ความของโครงการ
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฏีท่ีเก่ียวขอ้ ง 4
2.1 ระบบเก็บข้อมูล 7
2.2 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั 8
2.3 โปรแกรม AppSheet
บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนินโครงการ 23
3.1 การศึกษาข้อมูลเบ้ืองต้น 23
3.2 ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง 25
3.3 ขัน้ ตอนการดำเนินงาน 29
3.4 เคร่ืองมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 30
3.5 ข้นั ตอนการดำเนินการและเกบ็ รวบรวมข้อมลู 30
3.6 วเิ คราะห์ข้อมลู 31
3.7 สถติ ทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ โครงการ 32
4.1 ผลการดำเนนิ การ

สารบัญ (ต่อ) ง
เร่อื ง
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ หน้า
41
5.1 สรุปผลการดำเนินโครงการ 43
5.2 ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก ก แบบเสนอขออนุมัติโครงการ
ภาคผนวก ข ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน
ภาคผนวก ค คมู่ ือการใช้งาน
ภาคผนวก ง แบบสอบถามความพึงพอใจ

สารบัญตาราง จ

เรอ่ื ง หน้า
ตารางที่ 3.1 แสดงตัวอยา่ งทฤษฎีมอแกน 25
ตารางที่ 4.1 การวเิ คราะหข์ ้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 32
ตารางท่ี 4.2 การวเิ คราะห์ข้อมลู ของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 33
ตารางท่ี 4.3 การวิเคราะห์ข้อมลู ของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามระดบั การศึกษา 34
ตารางท่ี 4.4 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการสรา้ งระบบ 35
เกบ็ ข้อมลู นกั เรยี น นักศึกษาสาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ทิ ลั ด้านการทำงานของฟงั กช์ ั่น
ตารางที่ 4.5 การวิเคราะหข์ ้อมูลของผตู้ อบแบบสอบถามท่ีได้เขา้ รว่ มโครงการสร้างระบบ 36
เก็บข้อมลู นักเรียน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดิจทิ ลั ด้านการใช้งานของโปรแกรม
ตารางที่ 4.6 การวเิ คราะห์ข้อมลู ของผู้ตอบแบบสอบถามที่ไดเ้ ข้าร่วมโครงการสรา้ งระบบ 37
เก็บขอ้ มูลนักเรียน นักศึกษาสาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ิทลั ด้านประสทิ ธภิ าพ
ตารางท่ี 4.7 การสรุประดับความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม 39

สารบญั ภาพ ฉ

เรอื่ ง หน้า
ภาพท่ี 2.1 รูปสัญญาลักษณ์ ไอคอล โปรแกรม AppSheet 8
ภาพท่ี 2.2 หน้าจอแรกของโปรแกรม AppSheet 9
ภาพท่ี 2.3 หนา้ ต่างCreate a new app 9
ภาพที่ 2.4 หนา้ ตา่ งStart with your own data 9
ภาพท่ี 2.5 หน้าตา่ งStart with your own data 10
ภาพที่ 2.6 พ้ืนที่ทำงาน สำหรับสร้างชิ้นงานหรอื แก้ไขชิ้นงาน 10
ภาพที่ 2.7 หน้าตา่ งของ Table 10
ภาพที่ 2.8 หน้าต่างของ Columns 11
ภาพที่ 2.9 หน้าตา่ งของการแกไ้ ขขอ้ มูล 11
ภาพท่ี 2.10 หนา้ ตา่ งของการเร่ิมทำชิ้นงาน 12
ภาพท่ี 2.11 หนา้ ต่างของการเริ่มทำชน้ิ งาน 12
ภาพที่ 2.12 หน้าตา่ งของการทำชิน้ งาน 13
ภาพท่ี 2.13 หน้าตา่ ง Microsoft Excel 13
ภาพที่ 2.14 หน้าต่าง example 14
ภาพที่ 2.15 หนา้ ตา่ ง New virtual column 14
ภาพท่ี 2.16 หนา้ ตา่ ง Columns 14
ภาพท่ี 2.17 หน้าตา่ งการสรา้ ง Columns 15
ภาพท่ี 2.18 หน้าต่าง Columns 15
ภาพท่ี 2.19 หน้าต่าง Columns 16
ภาพที่ 2.20 หนา้ ตา่ ง example 16
ภาพที่ 2.21 หนา้ ตา่ งการทำงาน example 17
ภาพท่ี 2.22 หนา้ ตา่ ง Edit Columns definition 18
ภาพที่ 2.23 หนา้ ต่าง Edit Columns definition 19
ภาพที่ 2.24 หนา้ ต่าง Edit Columns definition 19
ภาพที่ 2.25 หน้าต่างการบันทึกข้อมูลลงในไฟล์ที่ใชเ้ กบ็ ข้อมลู 20
ภาพที่ 2.26 การดาวโ์ หลดแอพพลิเคชัน่ ทางโทรศัพท์ 21



สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้
21
เร่ือง 22
ภาพที่ 2.27 หนา้ ตา่ ง App Gallery 22
ภาพท่ี 2.28 หนา้ ตา่ งการทำงาน example 25
ภาพที่ 2.29 หน้าต่างการเชค็ ข้อมลู example 26
ภาพท่ี 3.1 แสดงผงั งานข้ันตอนการทำงาน 27
ภาพที่ 3.2 แสดงผงั งานขัน้ ตอนการทำงาน (ต่อ) 27
ภาพท่ี 3.3 หนา้ ตา่ ง Views 28
ภาพท่ี 3.4 หน้าต่าง Colmns 28
ภาพท่ี 3.5 หนา้ ต่าง Colmns 28
ภาพท่ี 3.6 หนา้ ตา่ ง Author 32
ภาพที่ 3.7 หนา้ ตา่ งแชร์ URL 33
ภาพท่ี 4.1 แผนภมู แิ สดงระดับเพศของผแู้ บบสอบถาม 34
ภาพที่ 4.2 แผนภูมิแสดงอายุของผตู้ อบแบบสอบถาม 36
ภาพที่ 4.3 แผนภมู แิ สดงระดับการศึกษาของผูต้ อบแบบสอบถาม 37
ภาพที่ 4.4 แสดงแผนภมู ิระดับความพึงพอใจด้านการออกแบบช้นิ งาน 38
ภาพท่ี 4.5 แสดงแผนภูมิระดับความพึงพอใจด้านดา้ นการใช้งานของโปรแกรม 40
ภาพท่ี 4.6 แสดงแผนภูมิระดับความพงึ พอใจด้านประสิทธิภาพ
ภาพท่ี 4.7 แสดงสถิตริ ะดบั ความพงึ พอใจของท่ีไดเ้ ขา้ ร่วมโครงการสรา้ งระบบ
เกบ็ ข้อมูลนกั เรยี น นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทลั ดว้ ยโปรแกรม AppSheet

บทที่ 1
บทนำ

บทที่ 1
บทนำ

1.1**ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ
ในปัจจุบันองค์กรส่วนใหญ่ให้ความสนใจกับระบบฐานข้อมูลเนื่องจากการใช้งานระบบ

ฐานขอ้ มลู มกี ารออกแบบฐานข้อมลู เพื่อให้มคี วามซ้ำซ้อนของข้อมลู น้อยท่ีสดุ เม่ือมีการปรับปรุงข้อมูลทำ
ให้ข้อมูลไมค่ รบถว้ นสมบรู ณ์และข้อมูลเกิดความขัดแย้งกัน อีกทงั้ ยงั ทำให้พ้นื ท่ีในการจดั เกบ็ ข้อมูลน้อยลง
และท่ผี ่านมาเนื่องจากสาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจิทัลยังไม่มีข้อมูลขา่ วสารเก่ียวกับนักเรียน นักศึกษา ทำ
ให้การเข้าถึงข้อมูลของนักเรียน นักศึกษา เป็นไปได้ยากทำให้การตรวจสอบขอ้ มูลของนักเรียน นักศึกษา
มีความลา่ ชา้ ไม่ทนั ต่อความต้องการในเวลาอันควรและทำให้ข้อมลู ไม่ครบถว้ นสมบูรณ์อาจก่อให้เกิดความ
ผดิ พลาดได้

จากปญั หาดงั กลา่ วจะเห็นไดว้ ่าสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ลั ยังไมม่ ีเทคโนโลยที ส่ี ามารถเก็บ
ข้อมูลของนักเรียน นักศึกษา และไม่มีความทันสมัยประกอบกับทำให้ไม่สามารถรู้เกี่ยวกับข้อมูล
รายละเอียดของนักเรียน นักศึกษาที่ชัดเจนได้ซึ่งจากเหตุผลดังกล่าวจึงมีแนวคิดในการจัดทำระบบเก็บ
ข้อมูลนกั เรยี น นกั ศึกษา เพ่ือเป็นการทำให้เข้าถงึ ข้อมลู ของนักเรียน นกั ศึกษามากย่ิงข้ึน โดยใช้โปรแกรม
AppSheet ซึ่งเป็นเทคโนโลยีในการสร้างระบบเก็บข้อมูลของนักเรียน นักศึกษาไว้ในแอพพลิเคชั่นใน
รูปแบบของคิวอาร์โค้ด มีการทำงานได้ง่าย ผู้ใช้งานเขา้ ใจได้อย่างรวดเร็วไม่ซับซ้อนสามารถกลับมาแก้ไข
หรอื ตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมูลทนี่ ำเข้าไปใช้งานได้อย่างสะดวก

ดงั นัน้ ผจู้ ัดทำจึงได้ทำโครงการสร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นกั ศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดิจิทัล ด้วยโปรแกรม AppSheet เพื่อสร้างระบบการเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษาในรูปแบบที่ทันสมัย
และเป็นประโยชน์ให้กับนักเรียน นักศึกษา ที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

1.2 วัตถุประสงคข์ องโครงการ
1.2.1**เพ่อื สร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ด้วยโปรแกรม

AppSheet ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด

2

1.2.2 เพื่อสำรวจความพึงพอใจการใช้คิวอาร์โค้ดของนักเรียนนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ
ดจิ ทิ ัล โดยใชโ้ ปรแกรม AppSheet

1.2.3 เพอ่ื เผยแพรร่ ะบบเกบ็ ขอ้ มูลให้กบั อาจารยใ์ นสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทัลโดยการนำเสนอ
ในรูปแบบคิวอาร์โค้ดดว้ ยโปรแกรม AppSheet

1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1**ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
1.3.1.1 ประชากร คือ นักเรียนนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีธุรกิจ

ดิจทิ ลั จำนวน 500 คน
1.3.1.2 กลุ่มตวั อยา่ ง คอื นกั เรยี นนกั ศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ และเทคโนโลยีธรุ กจิ

ดิจิทัล จำนวน 217 คน
1.3.2 ขอบเขตช้ินงาน
1.3.2.1 ด้านฮารด์ แวร์
1) คอมพิวเตอรพ์ กพา HP laptop Intel core I3 Inside
2) โทรศัพท์มอื ถือ
1.3.2.1 ด้านซอฟต์แวร์
1) ใชโ้ ปรแกรม AppSheet ในการสร้างควิ อารโ์ ค้ด
2) ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 10
1.3.3 เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ประมวลผล
แบบประเมินความพึงพอใจโครงการสร้างคิวอารโ์ ค้ดเกบ็ ข้อมูลนกั เรยี น นักศึกษา

สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ และเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ัล ดว้ ยโปรแกรม AppSheet

1.4 ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั
1.4.1 ไดร้ ะบบเกบ็ ข้อมูลนกั เรียน นักศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทัล ดว้ ยโปรแกรม

AppSheet ให้มีความทนั สมยั มากขนึ้
1.4.2 ได้อำนวยความสะดวกผ่านระบบเกบ็ ขอ้ มูลของนักเรยี น นักศึกษาสาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจ

ดจิ ทิ ลั ดว้ ยโปรแกรม AppSheet ใหค้ ณะอาจารยค์ รูผสู้ อน
1.4.3 ได้ความพึงพอใจในการใช้คิวอาร์โคด้ ของนักเรยี น นักศกึ ษาสาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ัล

ดว้ ยโปรแกรม AppSheet

3

1.5 คำจำกัดความของโครงการ
1.5.1 ระบบ หมายถึง เป็นกลุ่มขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อจุดประสงค์ในส่ิง

เดียวกัน ระบบอาจประกอบด้วยบุคลากร เครื่องมือ วัสดุ วิธีการ การจัดการ ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องมีระบบ
ในการจัดการเพอื่ ใหบ้ รรลุจดุ ประสงคเ์ ดียวกนั

1.5.2 เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล หมายถึง การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงประเภท
วิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล จะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ และเข้าร่วม
กิจกรรมเสรมิ หลักสูตรการเรียนการสอน ที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ เพื่อพัฒนาและ
สนับสนุนงานอาชีพมาประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในการแก้ไข
ปัญหาด้วยการวิเคราะห์ และออกแบบนวัตกรรมธุรกิจดิจิทัล และการปฏิบัติงานธุรกิจดิจิทัล บริหารจัดการ
ประสานงาน และประเมินผลการปฏิบัตงิ านอาชีพธุรกิจดจิ ทิ ัลด้วยตนเอง

1.5.3 โปรแกรม Appsheet หมายถึง Platform สำหรับการใช้สร้างแอพพลิเคชั่น โดยไม่จำเป็นต้อง
เขยี น Code สามารถสรา้ งและดไี ซนแ์ อพพลิเคช่ันบน Web.Service ของทาง AppSheet ซง่ึ ทำให้งา่ ยตอ่ การใช้
งานและประยุกตใ์ ช้งานไดห้ ลากหลาย โดยจะใช้ Google Form หรือ Excel

1.5.4 ผู้จัดทำ หมายถึง ผู้จัดทำโครงการนี้ คือ นางสาววรดา สิทธิปัญญา และ นางสาวเพชรดา
คชรนิ ทร์ นักเรียนระดับช้นั ปวส.2 กลุ่ม 1 สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ิทลั

1.5.5 ช้นิ งานโครงการ สรา้ งระบบนักเรยี นนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั ดว้ ยโปรแกรม
AppSheet สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจทิ ลั ทจี่ ัดทำขึ้นในรายวชิ าโครงการ รหสั วิชา 3204-8501
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา2563

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎที ี่เก่ยี วชอ้ ง

บทท่ี 2
เอกสารและทฤษฎีที่เก่ยี วขอ ง

การจัดทำโครงการสรา งระบบเกบ็ ขอมลู เร่อื ง ระบบเกบ็ ขอ มลู นักเรยี น นกั ศึกษา ดว ย
โปรแกรม AppSheet ครงั้ นี้ คณะผูจัดทำไดศึกษาเอกสารและทฤษฎีทเ่ี กี่ยวของตาง ๆ ดงั นี้

2.1 ระบบเกบ็ ขอมลู
2.2 หลักสูตรสาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ิทัล
2.3 โปรแกรม Appsheet

2.1 ระบบเก็บขอมลู
2.1.1 ความหมายของระบบเกบ็ ขอ มูล
ระบบ (System) เปนกลุมขององคประกอบตาง ๆ ที่ทำงานรวมกัน เพื่อจุดประสงค

ในสิง่ เดียวกนั ระบบอาจประกอบดวยบุคลากร เครอื่ งมือ วสั ดุ วิธกี าร การจัดการ ซึง่ ทั้งหมดนี้จะตอง
มีระบบในการจัดการเพื่อใหบรรลุจุดประสงคเดียวกัน คำวา "ระบบ" เปนคำที่มีการเกี่ยวของกับการ
ทำงานและหนวยงานและนิยมใชกันมาก เชน ระบบธุรกิจ (Business System) ระบบสารสนเทศ
(Management Information System) ระบบการเรียนการสอน (Instructional System) ระบบ
เครือขายคอมพิวเตอร (Computer Network System) เมื่อทำการศึกษาระบบใดระบบหนึ่ง
นักวิเคราะหระบบจะตองเขาใจการทำงานของระบบนั้นใหดี โดยการศึกษาวา ระบบทำอะไร ทำโดย
ใคร ทำเมื่อไร และทำอยางไร นักวิเคราะหระบบ (System Analyst หรือ SA) ซึ่งไดแก บุคคลที่มี
หนาที่วิเคราะหและออกแบบระบบจะตองเขาใจการทำงานของระบบนั้น ๆ วาเปนอยางไรและอะไร
คอื ความตอ งการของระบบ ไดมผี ทู ่ใี หค วามหมายและคำอธบิ าย ของคำวา ระบบไวหลายทานดวยกัน
เชน บานาธี ใหความหมายของระบบวาเปนการรวบรวมสิง่ ตาง ๆ ทั้งหลายที่มนุษยไดออกแบบ และ
คิดสรางสรรคขึ้นมา เพื่อจัดดำเนินการใหบรรลุผลตามเปาหมายที่วางไว ในการทำงานดวย
คอมพิวเตอร ถึงแมจ ะมเี ครื่องคอมพิวเตอรที่มีประสทิ ธิภาพดีแลว ยงั ตอ งมชี ุดคำส่ัง (Software) ที่
จะควบคุมการทำงานของเครื่องอีกดวยการทำงานโดยวิธีการจัดแฟมซ่ึงเรียกวิธนี ีว้ าระบบการจดั การ
กระทำแฟมขอมูล (file handing system) อาจใชโปรแกรมสำเร็จซึ่งทำหนาที่ในการเก็บรวบรวม
ขอมลู ใหเปนแฟมท่ีมีระเบยี บงายตอการใชงาน และชว ยทำใหผ ูใชประมวลผลขอมลู ตาง ๆ ตามความ
ตองการไดอยางรวดเร็ว โปรแกรมเหลานีจ้ ะใชระบบการจัดการฐานขอมูล หรือที่เรียกวา ดีบีเอ็มเอส
(Data Base Management System : DBMS)ระบบฐานขอ มูลเปน สงิ่ ทจ่ี ำเปนและเก่ยี วขอ งกับการ

5

ใชงานประจำวัน การตัดสินใจของผูบริหารจะกระทำไดรวดเร็ว ถามีขอมูลที่ถูกตองและเพียงพอ จึง
การใชคอมพิวเตอรชวยประมวลผลเพื่อใหไดส ารสนเทศดังกลาว แตการประมวลผลดวยคอมพิวเตอร
จำเปนตอ งมีหลกั การและวธิ ีการท่ที ำใหระบบมีระเบยี บแบบแผนท่ีดี การแบง ประเภทแฟม

2.1.2 ประเภทของระบบ
2.1.2.1 ระบบเปด (open system) คือ ระบบที่ตองอาศัยการติดตอสัมพันธกับบุคคล

องคการ หรือหนวยงานอื่น ๆ ในลักษณะเปนการแลกเปล่ียนผลประโยชนซึ่งกันและกัน ถือ
เปนการทำงานขององคก รท่ีมีปฏิกิรยิ าตอบสนองตอ สภาพแวดลอม มีการแลกเปลย่ี นขา วสาร
ขอมลู กบั สงิ่ แวดลอ มภายนอก

2.1.2.2 ระบบปด (close system) คือ ระบบที่ไมตองสนองตอสิ่งแวดลอมท่ี
เปล่ยี นแปลงไป หรอื เปน ระบบท่มี ีความสมบูรณภายในตัวเอง ไมพ ยายามผูกพันกับระบบอื่นใด และ
แยกตนเองออกจากสภาพแวดลอ มตา ง ๆ

2.1.3 ประโยชนข องระบบ
2.1.3.1 เชงิ ประสิทธภิ าพ (Efficiency)
1) ระบบสารสนเทศ ทำใหก ารปฏิบัติงานมีความรวดเรว็ มากข้ึน โดยใช

กระบวนการ
2) ประมวลผลขอมลู ซึง่ จะทำใหส ามารถเกบ็ รวบรวม ประมวลผลและปรบั ปรงุ

ขอ มูลใหทันสมยั ไดอ ยา งรวดเรว็ ลดเวลาการทำงานใหสนั้ ลง
3) ระบบสารสนเทศชว ยในการจัดเก็บขอ มูลท่ีมีขนาดใหญ หรือมีปริมาณมาก

และชวยทำใหก ารเขาถงึ ขอ มูล (access) ไดอยา งสะดวกรวดเร็ว
4) ระบบสารสนเทศชวยทำใหการติดตอสื่อสารเปนไปอยางรวดเร็ว การใช

เครือขา ยทางคอมพิวเตอรทำใหมีการตดิ ตอไดท ัว่ โลกภายในเวลาท่ีรวดเรว็ และกวา งขวาง ไมว าจะเปน
การติดตอระหวางเครื่องคอมพิวเตอรกับเครื่องคอมพิวเตอร และการติดตอสื่อสารดังกลาวจะทำให
ขอ มลู ทีเ่ ปนท้ังขอ ความ ภาพ เสยี ง และภาพเคลือ่ นไหวสามารถสงไดท ันที

5) ระบบสารสนเทศชว ยลดตนทุนและเพิม่ ผลผลติ การที่ระบบสารสนเทศชวย
ทำใหการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับขอมูลซึง่ มีปริมาณมากมีความสลบั ซับซอนใหดำเนินการไดโดยเรว็
หรือการชวยใหเกิดการตดิ ตอ สื่อสารไดอยางรวดเร็ว ทำใหเกดิ การประหยดั ตนทนุ การดำเนินการอยาง
มาก หรือนำมาวางแผนการผลติ ก็จะชวยเพม่ิ ผลผลติ ได

6) ระบบสารสนเทศชวยทำใหการประสานงานระหวา งฝายตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ
เปนไปไดดวยดี โดยเฉพาะหากระบบสารสนเทศนั้นออกแบบมา เพื่อเอื้ออำนวยใหหนวยงานทั้ง
ภายในและภายนอกที่อยูใ นระบบของซัพพลายท้ังหมด จะทำใหผูท ีม่ สี วนเก่ียวของทั้งหมด สามารถใช

6

ขอ มูลรวมกนั ได และทำใหการประสานงาน หรอื การทำความเขาใจเปนไปดว ยดียิ่งขน้ึ จากท่ีกลาวมา
ขางตน ถึงประโยชนของเกมท่ีนำมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผจู ัดทำ สรุปไดวาการสอน
คณิตศาสตรในระดับประถมศึกษาปท่ี 1 จำเปนตองมีเทคนิควิธีการสอนตาง ๆ รวมทั้งสรางแรงจูงใจ
ใหผูเลนอยากเรียนมีความสนใจในการเรียนเรียนดวยความสนุกสนาน ไมเบ่ือหนาย ซ่ึงจะกอใหเกิด
การเรียนรูดวยความเขาใจงายเปนการทบทวนเนื้อหาที่ไดเรียนไปแลว ฝกใหนักเรียนมีวินัยในตนเอง
รูจกั ทำงานรว มกบั ผูอื่นสง เสริมใหเปน คนดีมีน้ำใจ ทง้ั ยงั เปนการสรา งทัศนคติทดี่ ีในการเรียนไดอีกทาง
หน่งึ

2.1.3.2 เชงิ ประสทิ ธิผล (Effectiveness)
1) ระบบสารสนเทศชวยในสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศท่ี

ออกแบบสำหรับผูบริหาร เชน ระบบสารสนเทศที่ชวยในการสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision
support systems) หรือระบบสารสนเทศสำหรับผูบริหาร (Executive support systems) จะ
เอื้ออำนวยใหผูบริหารมีขอมูลในการประกอบการตัดสินใจไดดีขึ้นอันจะสงผลใหการดำเนินงาน
สามารถบรรลวุ ัตถุประสงคทว่ี างแผนไวไดอยางมปี ระสทิ ธิผล

2) ระบบสารสนเทศชวยในการเลือกผลิตสินคา/บริการที่เหมาะสมได ระบบ
สารสนเทศจะชว ยทำใหองคก ารทราบถึงขอมลู ทเ่ี กี่ยวของกับตนทนุ ราคาในตลาด รูปแบบของสินคา/
บริการที่มีอยู หรือชวยทำใหหนวยงานสามารถเลือกผลิตสินคา/บริการที่มีความเหมาะสมกับความ
เชยี่ วชาญ หรือทรพั ยากรทมี่ อี ยู

3) ระบบสารสนเทศชวยปรับปรุงคุณภาพของสินคาและบริการใหดีขึ้น ระบ
สารสนเทศทำใหการตดิ ตอระหวา งหนวยงานและลูกคาสามารถทำไดโดยถูกตองและรวดเร็ว ตรงตาม
ขอกำหนดหรือเปา หมายทว่ี างไว จงึ ชวยใหหนวยงานสามารถปรบั ปรุงคณุ ภาพของสินคา บรกิ ารใหตรง
กับความตอ งการของลกู คาไดอยางมีประสิทธผิ ล

4) ระบบสารสนเทศชวยทำใหเกิดความไดเปรียบในการแขงขัน
(Competitive Advantage) ปจจุบัน ระบบสารสนเทศไดมีการนำมาใชตลอดทั้งระบบซัพพลายเชน
(Supply Chain)เพ่ือสรา งความไดเปรยี บในการแขง ขันใหกบั องคกร ทำใหอ งคกรบรรลผุ ลตามแผนได

5) ระบบสารสนเทศชวยใหคุณภาพชีวิตการทำงานดีขึ้น ระบบสารสนเทศท่ี
ไดรบั การออกแบบออกมาอยา งดี จะชว ย ใหเ กิดความสมดุลระหวา งความตองการของมนุษยและการ
ใชเทคโนโลยีไดอยางคุมคาและเหมาะสมไวในการทำงานดวยคอมพิวเตอร ถึงแมจะมีเครื่อง
คอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพดีแลวยงั ตองมีชุดคำส่ัง (Software) ที่จะควบคุมการทำงานของเครื่อง
อีกดวยการทำงานโดยวธิ ีการจัดแฟมซ่งึ เรยี กวิธีนวี้ า ระบบการจัดการกระทำแฟม ขอมลู (file handing
system) อาจใชโปรแกรมสำเร็จซึ่งทำหนาที่ในการเก็บรวบรวมขอมูลใหเปนแฟมที่มีระเบียบงายตอ
การใชงาน และชวยทำใหผูใชประมวลผลขอมูลตาง ๆ ตามความตองการไดอยางรวดเร็ว โปรแกรม

7

เหลานี้จะใชระบบการจัดการฐานขอมูล หรือที่เรียกวา ดีบีเอ็มเอส (Data Base Management
System : DBMS)ระบบฐานขอมูลเปนสิ่งที่จำเปนและเกี่ยวของกับการใชงานประจำวัน การตัดสินใจ
ของผูบริหารจะกระทำไดรวดเร็ว ถามีขอมูลที่ถูกตองและเพียงพอ จึงมีการใชคอมพิวเตอรชวย
ประมวลผลเพื่อใหไดสารสนเทศดังกลาว แตการประมวลผลดวยคอมพิวเตอรจำเปนตองมีหลักการ
และวธิ กี ารท่ีทำใหระบบมีระเบยี บแบบแผนทด่ี ี การแบง ประเภทแฟม

2.2 สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจทิ ลั
2.2.1 ความหมายของสาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ิทลั
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล เปนสาขาวิชาที่สอดคลองกับยุคสมัยในปจจุบันโลก

กำลังเปลี่ยนแปลงเขาสูยุคเศรษฐกิจดิจิทัล หรือเปนยุคที่มีการนำระบบตาง ๆ เขามาสนับสนุนการ
ดำเนินงานทางธุรกจิ อยาง Social และเทคโนโลยีตาง ๆ กลายเปนเครื่องมอื สำคญั ในการเขาถึงกลุม
ลูกคา ตอบโจทยความตองการ และเปดโอกาสใหมๆไดเปนอยางดี พรอมทั้งหลายคนนาจะเคยไดยนิ
คำวา Digital business เปนการนำเอาเทคโนโลยีตาง ๆ เขามาพัฒนาเพื่อเพิ่มความสะดวกสบายให
ทั้งผูประกอบการและผูบริโภคในการเลือกซื้อสินคา หรือบริการตาง ๆ ซึ่งมีจุดหมายหลักคือการเพิ่ม
ยอดขาย เพมิ่ รายไดน่นั เอง เชน การนำเว็บไซตออนไลนมาชว ยในการเขา ถึงผูบริโภคยุคใหมท่ีชอบใช
โลกอินเตอรเน็ต การสรางชองทางขายผานสื่อ Social media ตาง ๆ เชน Facebook Instagram
และการทำโฆษณารวมไปถึงการสั่งซื้อและจัดสงสินคาในแบบ online เปนตน ดังนั้น Digital
Business ก็คือการเปลี่ยนแปลงธุรกิจที่มีอยูในรูปแบบเดิม ๆ ใหเปนธุรกิจแบบใหมโดยที่มีการใช
เทคโนโลยีตาง ๆ เขามาชวยปรับเปลี่ยนโครงสรางในสวนของการเปลี่ยนแปลงธุรกิจใหไปสู Digital
Business สามารถสรางชองทางใน social media เพื่อนำธุรกิจจาก offline ไปสู online platform
ไดไมย ากเลย ปรับเปลย่ี นโครงสรางทางธรุ กจิ ใหมีความทนั สมยั มากขน้ึ เหมาะกบั ผูบ รโิ ภคในยุคใหมข้ึน
ไปอีก เชนการ ทำการตลาดยุคดิจิตอล ใหผูบริโภคมีพลังในการเลือกซื้อสินคา หรือบริการ มีขอมูล
เกี่ยวกับสินคาหรือบริการใหรับรูไดครบรอบดาน สรางความนาเชื่อถือในแบรนดใหมากยิ่งขึ้น เพ่ิม
มูลคาดวยการสรางภาพลกั ษณทด่ี ที ่ีทำใหผ ูบริโภครูสกึ ไดรับการยกระดบั เม่ือใชส ินคา หรือบรกิ ารนน้ั ๆ
หากมีการพัฒนาสินคาและบริการใหมีความคิดที่ใหเกิดความแตกตาง มคี วามคดิ สรางสรรค ไมซ้ำใคร
ตรงนี้แหละที่จะทำใหสินคา หรือบริการมีความเปน Innovation มากยิ่งขึ้น ทำใหตอบสนองตอควา
ตองการของผูบริโภคทีต่ องการอะไรใหมๆ ที่มีประโยชนกับชีวิตไดมากย่ิงขึ้น และการสรางสิ่งอำนวย
ความสะดวกตา ง ๆ ทมี่ ีความรวดเรว็ วองไวใหก บั ผูบรโิ ภคมากยง่ิ ข้ึนอยา ง เชน ชอ งทางการสัง่ ซื้อ การ
จัดสง หรือการรับสินคา การชำระเงิน ทุกสงิ่ ที่อยา งเหลา นี้ตองมีความสะดวก ใชง านงา ย และรวดเร็ว
เพือ่ ใหล ูกคาเกดิ ความพงึ พอใจใหมากทีส่ ดุ เทคโนโลยีการส่อื สารเขามามีบทบาทในชวี ิตประจำวันของ
ผูคนมากขึ้น จึงทำใหผูที่จบดานนี้ เติบโตไดหลายแนวทางในวงการเทคโนโลยี อีกทั้งยังเสริมสราง
ทกั ษะพ้นื ฐานในการใชค อมพวิ เตอร ทงั้ ซอฟตแวรแ ละฮารดแวร ตลอดจนถงึ โปรแกรมสำเร็จรูปตาง ๆ

8

ที่มีการพัฒนาอยูตลอด เพิ่มศักยภาพของผูเรียนสาขานี้ใหสามารถตอยอดวิชาที่เกี่ยวของกับ
เทคโนโลยีไดหลากหลายอาชีพที่รองรับเจาหนาท่ีคอมพิวเตอร เจาหนาที่วิเคราะหขอมูล
โปรแกรมเมอร เจาหนาที่จัดการสารสนเทศ พนักงานบริษัท เจาหนาที่จัดการฝายคอมพิวเตอร เว็บ
มาสเตอร และสามารถทำงานในภาคราชการ หรอื รัฐวสิ าหกจิ ตลอดจนประกอบธุรกจิ สว นตวั
2.3 โปรแกรม AppSheet

ภาพท่ี 2.1 รูปสัญญาลักษณ ไอคอล โปรแกรม AppSheet
AppSheet: คือ Platform สำหรับการใชสรางแอพพลิเคชั่น โดยไมจำเปนตองเขียน Code
สามารถสรางและดีไซนแอพพลิเคชั่นบน Web.Service ของทาง AppSheet ซึ่งงายตอการใชงาน
และประยกุ ตใชงานไดห ลากหลาย โดยจะใช Google Form หรือ Excel ที่เรารจู กั กันเปน อยางดี หรือ
มองเสมือนวาเปนการเพิ่มประสิทธิภาพการใชงานของ Excelใหเปนดังเสมือนแอพลิเคชั่นตามท่ี
ออกแบบไดตามใจ
2.3.1 การเปด ใชง านของโปรแกรม AppSheet

2.3.1.1 Login กอนโดยเขาไปท่ี Website ของตวั Appsheet เพอ่ื จดั การสรา ง App
2.3.1.2 เมื่อกดที่ Login จะมีใหเลือกวาจะให Login โดยใชอะไร ในตัวอยางนี้จะ
เลอื กใชเ ปน ของ Google
2.3.2 สว นประกอบของโปรแกรมAppSheet
2.3.2.1 เมื่อ Login เขามาแลวเราจะเริ่มทำการสรา ง Application ของเราโดยจะสราง
เองทัง้ หมดเลยกไ็ ดหรือจะเอา Application ที่ระบบหรอื คนอืน่ ทำไวมาแกไ ขก็ได

9

ภาพที่ 2.2 หนาจอแรกของโปรแกรม AppSheet

ภาพที่ 2.3 หนา ตางCreate a new app
2.3.2.2 เมอ่ื กด Make a new app จะมีหนาตา งข้ึนมาใหเ ลือก
2.3.2.3 Start with your own data : สรางเองใหมท ้งั หมด
2.3.2.4 Start with an idea : แสดงตวั อยาง application ตามความตอ งการ
2.3.2.5 Start with a simple app : copy simple application ของทาง Appsheet

ภาพท่ี 2.4 หนาตา งStart with your own data
2.3.2.5 เมื่อเลือก Start with your own data แลวจะเขามาที่หนานี้เพื่อตั้งชื่อและ
เลือกประเภทใหกบั Application แลวคลิก Next step : choose your data เพอ่ื เลอื กทีเ่ ก็บขอ มูล

10

ภาพท่ี 2.5 หนาตางStart with your own data
2.3.2.6 เมื่อ Next step : choose your data แลวจะสามารถเลือกที่เก็บขอมูลไดโดย
จะดงึ ขอมลู จาก Google Drive ของ Gmail ที่ใช login กบั Appsheet โดยในตวั อยางนี้จะเกบ็ ขอมูล
ไวท่ีไฟล example.xlsx

ภาพที่ 2.6 พื้นท่ที ำงาน สำหรบั สรางช้ินงานหรือแกไขชิน้ งาน
2.3.2.7 โดยในไฟลที่จะใชเก็บขอมูลนั้นจะตองไมเปนไฟลที่วางเปลาเพราะถาไฟลวาง
เปลาจะเกดิ error ได ดงั นนั้ เราจะสรา งตารางไวร อกอน

ภาพที่ 2.7 หนาตางของ Table

11
2.3.2.8 ในกรณีที่ไฟลที่ใชเ กบ็ ขอ มูลมี Table กบั Columns ไวกอ นแลว ทาง Appsheet
จะสรางขึ้นมาใหเองโดยอัตโนมัติดังภาพตัวอยางโดยขอมูลชื่อ Table และ Columns จะเหมือนกัน
กบั ทเ่ี ราต้งั ไวในไฟลท่ใี ชเ ก็บขอมลู

ภาพที่ 2.8 หนา ตา งของ Columns
2.3.2.9 ในกรณีที่เราจะเพิ่ม Table และ Columns สามารถกดเพิ่มในตัว Appsheet
ไดเ ลยแตวา ถา เพ่มิ ใน Appsheet กต็ อ งเพ่ิมในไฟลท่ีใชเกบ็ ขอมลู ดว ย ถา เพม่ิ Table และ Columns
จะตอ งใหข อ มลู เหมอื นกนั ทงั้ หมดทั้งชอื่ Table และ ชอื่ Columns ถา ไมเ หมือนกันจะเกดิ Error ได

ภาพที่ 2.9 หนา ตา งของการแกไขขอมูล
2.3.2.10 ถาตองการแกไ ขทอ่ี ยูของท่ีเกบ็ ขอมูลเพียงเลื่อน Scroll mouse ลงมากจ็ ะเจอ
กบั การจัดการกบั ที่เก็บขอ มลู โดยเราสามารถแกทีเ่ กบ็ ขอมลู ได
2.3.2.11 Source Path ไฟลท่ีเก็บขอมูล
2.3.2.12 Worksheet Name/Qualifier เลือกชที ท่ีอยูในไฟลท ีใ่ ชเ ก็บขอมูล

12

ภาพที่ 2.10 หนา ตางของการเริม่ ทำช้นิ งาน
2.3.2.13 การเพิ่ม Table และ Columns ใน Appsheet
2.3.3 วธิ สี รางชนิ้ งานของโปรแกรม AppSheet

ภาพท่ี 2.11 หนา ตา งของการเร่ิมทำชิ้นงาน
2.3.3.1 อนั ดับแรกกดที่ Add New Table
2.3.3.2 พอกดเสรจ็ แลวก็จะมีใหเลือกวาจะเลือกเกบ็ ขอมูลไวท่ีเดิมหรือไมถาตองการจะ
เปล่ยี นทีเ่ กบ็ ขอ มลู ใหเ ลอื ก New Data Source
2.3.3.3 ในตัวอยางนี้จะเก็บขอมูลไวที่ไฟลเดิมจะเลือกที่ Google เมื่อเลือกแลวก็จะมา
ใหเลอื กไฟลทีเ่ ก็บอีกทีนงึ เราก็จะเลือกไฟลเดมิ

13

ภาพที่ 2.12 หนา ตา งของการทำชน้ิ งาน
2.3.3.4 หลังจากน้ันเลือกไฟลท่ีตองการบนั ทึกขอมูลแลวเลือก Sheet ที่ตองการจะเกบ็
ขอมูลจากนั้นก็จะมีการใหกำหนดสิทธิ์สำหรับผูใชมีกำหนดเสร็จแลวก็กด Add This Table เพื่อทำ
การสราง Table
2.3.3.5 หากมี Error ก็เพราะวาใน Table ที่พึ่งสรางนี้ไมมี Columns เราตองสรางไว
กอ นอยาปลอ ยให Table มนั วาง

ภาพที่ 2.13 หนาตา ง Microsoft Excel
2.3.3.6 ทำการเพม่ิ Columns ใหก บั Sheet2 เพ่อื ไมให Table มันวา งเมอ่ื ทำเสร็จแลว
Error จะหายไป
2.3.3.7 ช่อื Table สามารถเปล่ยี นไดแตช ่ือ Columns ถาจะเปลย่ี นตองเปลี่ยนทั้งสองท่ี
คือที่ Appsheet และไฟลท เ่ี ก็บขอ มลู ใหเ หมอื นกันเสร็จแลว กด Regenerate

14

ภาพท่ี 2.14 หนา ตา ง example
2.3.3.8 ตอไปจะเปนการเพิ่ม Columns โดยอันดับแรกใหเลือก Table ที่ตองการจะ
เพิม่ Columns จากนั้นกดท่ี Virtual Columns เพือ่ เปนการสราง

ภาพท่ี 2.15 หนาตาง New virtual column
2.3.3.9 จากน้ันต้ังช่อื Columns หลงั จากนน้ั กด OK เพ่ือยืนยันการสรา ง

ภาพท่ี 2.16 หนาตาง Columns
2.3.3.10 จากนั้นมนั จะ Error เพราะวาในไฟลที่ใชเ ก็บขอมูลไมม ี Columns นั้นอยูตอง
ไปสรา ง Columns ทม่ี ชี ือ่ เดียวกนั ในไฟลที่ใชเ ก็บขอมลู

15

ภาพท่ี 2.17 หนา ตา งการสราง Columns
2.3.3.11 ทำการสราง Columns ที่มีชื่อเดียวกันกับ Columns ที่พึ่งสรางไปเมื่อสักครู
โดยไปสรางที่ Sheet1 เพราะวา Table example นั้นลิ้งคกับ Sheet1 อยูโดยสามารถเช็คไดที่
STORAGE
2.3.3.12 เมื่อสราง Columns เสร็จแลวทำการกด Regenerate ตองกดทุกครั้งที่มีการ
สรา งหรือเปลี่ยนแปลง Table
2.3.3.13 ตอไปเปนการสราง Columns อีกวิธีหนึ่งคือสรางในไฟลที่ใชเก็บขอมูลกอน
แลว คอยมา Regenerate ในตัวของ Appsheet ซงึ่ วธิ ีนี้จะสะดวกและงายกวา วิธีทีแ่ ลว
2.3.3.14 อนั ดบั แรกสรางColumns รอไวทS่ี heet2 จากนั้นเขา ไปท่ี Appsheet

ภาพที่ 2.18 หนา ตา ง Columns
2.3.3.15 พอเขา ไปทAี่ ppsheet จะพบวามัน Error เพราะวา เราไมไ ดก ด Regenerate
2.3.3.17 เมื่อทำการกด Regenerate แลว Error จะหายไป Columns ที่เราสรางไวก็
จะมาโดยอตั โนมัตแิ ละสามารถใชงานไดโดยปกติ

16

ภาพที่ 2.19 หนา ตาง Columns
2.3.3.18 ตอไปจะเปนการกำหนดสิทธิ์ใหกับผูใช จากในภาพจะไมสามารถเพิ่มหรือลบ
ขอมูลไดเลยเราจะทำการใหส ิทธ์ิกบั ผูใชโ ดยเลือกไดเลย
2.3.3.19 Updates สามารถแกไขขอ มลู ได
2.3.3.20 Adds สามารถเพ่มิ ขอ มูลได
2.3.3.21 Deletes สามารถลบขอ มลู ได
2.3.3.22 Read-Only อนญุ าตใิ หดขู อ มลู ไดอ ยา งเดยี วไมส ามารถแกไ ข เพ่มิ หรอื ลบได
2.3.3.23 เมื่อทำการใหสิทธิเรียบรอยแลวตัว Application ดานขวามือจะมีปุมให
สามารถเพิม่ ขอมูลได

ภาพท่ี 2.20 หนาตา ง example
2.3.3.24 โดยเมื่อกดปุมเพิม่ ขอมลู แลวก็จะมีหนา ฟอรมข้ึนมาใหกรอกขอมลู โดยขอมูลที่
จะใหกรอกนั้นจะเหมือนกันกับ Columns ถาขอมูลใน Columns เปนอยางไรขอมูลที่จะกรอกใน
ฟอรม ก็จะเปน อยา งน้ัน
2.3.3.25 ตอไปนี้เราจะมาทำความรูจักเกียวกับ Type ตางๆของ Columns กันกอนวา
แตล ะ Type เปน อยางไรและใชส ำหรบั ทำอะไรโดยจะยกตวั อยาง Type เบือ้ งตนดังนี้

17

ภาพท่ี 2.21 หนา ตา งการทำงาน example
2.3.3.26 โดยแตละ Columns Type นั้นจะมีรูปแบบในการกรอกขอมูลไมเหมือนกันข้ี
นอยูกบั Type ที่เลือก เชน Columns Type Date กจ็ ะมปี ฏทิ นิ ขึ้นมาใหเลือกวัน
2.3.3.27 Address เมื่อเรากรอกขอมูลเขาไประบบจะทำการหาสถานที่ใหตรงกับขอมลู
ทีกรอก
2.3.3.28 Color ใชในการกำหนดสใี หก ับขอมลู เชน ขอมูลดี สเี ขยี ว , ขอ มลู เสีย สีแดง
2.3.3.29 Date จะเปน การกรอกและกำหนดวันท่ี
2.3.3.30 DateTime จะเปนการกำหนดวันที่และบันทกึ เวลา ณ ขนาดน้ัน
2.3.3.31 Decimal จะเปนการกรอกขอ มลู แบบทศนยิ ม
2.3.3.32 Drawing จะเปน การกรอกขอ มลู โดยการวาดรปู หรือบนั ทกึ รูปภาพ
2.3.3.33 Duration จะเปน การกรอกระยะเวลา
2.3.3.34 Email จะเปน การกรอกอีเมล
2.3.3.35 Enum จะเปนการเลือกกรอกขอมูลแบบ Dropdownlist โดยสามารถเพ่ิม
ตัวเลอื กขณะกรอกขอ มูลไดหรือเพม่ิ จากการตั้งคา ที่ Columns กไ็ ด
2.3.3.36 EnumList จะเหมือนกับ Enum เลยแตวาตองเพิ่มตัวเลือกจากการตั้งคา
Columns กอ น
2.3.3.37 File จะเปนการกรอกขอมูลโดยการเพิ่มไฟลโดยใชไฟลภายในเครื่องที่ใช
Application
2.3.3.38 Image จะเปนการกรอกขอมูลโดยการถายรูปภาพหรือเลือกรูปภาพภายใน
เคร่ืองที่ใช Application
2.3.3.39 LatLong การกรอกขอมลู โดยอาศัยละติจดู และลองจิจูด
2.3.3.40 Longtext การกรอกขอ มลู แบบตัวอกั ษรและตวั เลข
2.3.3.41 Number การกรอกขอมูลแบบตัวเลข
2.3.3.42 Percent การกรอกขอ มลู แบบเปอรเซน็ ต

18

2.3.3.43 Phone การกรอกขอมูลแบบตวั เลขซึ่กสามารถกดโทรตามเบอรทก่ี รอกไวไ ด
2.3.3.44 Price การกรอกขอมูลแบบตัวเลขและมีสกุลเงินตอทายสามารถเลือกไดโดย
การต้งั คาที่ Columns
2.3.3.45 Progress การกรอกขอมูลแบบ Dropdownlist โดยขอมูลที่กรอกนั้นเมื่อ
กรอกมาแลวหนาสแดงผลจะเปน ลักษณะของกราฟวงกลม เชน เมื่อเลือก Full ก็จะไดกราฟวงกลมท่ี
เตม็ วง
2.3.3.46 Ref เปนการดึงเอาขอมูลจาก Columns ของ Table อื่นมาแสดงใหเลือก
กรอกขอมลู ในลักษณะแบบ Dropdownlist โดยตองตง้ั คาให Columns ทตี่ อ งการจะดึงขอมูลมานั้น
เปน key

ภาพที่ 2.22 หนาตาง Edit Columns definition
2.3.3.47 โดยอนั ดับแรกกดทร่ี ูปดนิ สอเพ่ือทำการตั้งคาตวั ของ Columns Type จากน้ัน
เลอื กเปน Ref แลว เลือก Table หรือ Columns ทต่ี องการจะเอาขอ มูลมาแสดง
2.3.3.48 จากนน้ั ใหไปติ๊ก Columns ทีต่ องการจะดงึ ขอ มูลไปแสดงเปน Key
2.3.3.49 Signature การกรอกขอมูลแบบลายเซ็นตโดยตอนกรอกจะมีกรอบมาใหและ
จะเซฟเก็บไวเปนไฟลร ปู ภาพ
2.3.3.50 Time จะเปนการเซฟเวลา ณ ขนาดตอนกรอกขอ มูล
2.3.3.51 Url กรอกขอ มลู โดยการนำเอา Link หรอื Url ของเวป็ ไซตท่ีตองการ
2.3.3.52 Yes/No การกรอกขอมูลโดยเลอื กระหวาง Yes หรอื No ถา เลือก Yes จะเก็บ
ขอมูลงไฟลขอมลู วา TRUE แตถ า เปน No จะเก็บขอ มลู งไฟลขอมูลวา FALSE

19

ภาพที่ 2.23 หนา ตา ง Edit Columns definition
2.3.3.53 โดยเมื่อทราบ Columns Type เบื้องตนแลวก็สามารถเลือกใชไดตามความ
ตองการของงานไดเ ลย นอกจากน้ีการตงั้ คา Columns นัน้ ยังมีการกำหนดสิทธิเ์ พิม่ เตมิ อีกดวย
2.3.3.54 KEY ถาเลือกให Columns ไหนใหเปน KEY ในการกรอกขอมูลลงใน
Columns นั้นจะไมสามรถกรอกขอมูลที่มีอยูแลวหรือซ้ำกันได เชน ในกรณีที่เราตองการให
Columns นั้นใชเ ก็บรหัสของสนิ คา เพราะฉะนั้นขอมูลไมค วรจะซ้ำกนั
2.3.3.55 READ-ONLY ถาเลือกให Columns ไหนใหเปน READ-ONLY ในการกรอก
ขอมูลลงใน Columns นั้นจะไมสามรถกรอกขอมูลไดจะดูขอมูลไดอยางเดียวแตวาขอมูลจะยังถูก
บนั ทึกลง Columns อยเู ชน ในกรณีที่ Columns ไมจำเปนตอ งแกไขใหบนั ทึกไดเลยก็ต้งั เปน READ-
ONLY เพอ่ื ไมต องตองการใหแกไข
2.3.3.56 HIDDEN ถาเลือกให Columns ไหนใหเปน HIDDEN Columns นั้นจะไม
แสดงในการกรอกขอมลู ใชใ นการซอ นขอมูลทไ่ี มต องการใหกรอกขอมลู
2.3.3.57 REQUIRED ถาเลือกใหColumns ไหนใหเปน REQUIRED Columns นั้น
จะตองกรอกขอมูลลงไปถาไมกรอกขอมูลจะไมสามารถเซฟหรือบันทึกขอมลู ทง้ั หมดได เชน ขอมูลนั้น
เปน ขอมูลทีจ่ ำเปนตองกรอกกต็ งั้ ใหเ ปน REQUIRED ก็จะไมส ามารถขามได

ภาพท่ี 2.24 หนาตาง Edit Columns definition
2.3.3.58 โดยเมื่อทราบ Columns Type เบื้องตนแลวก็สามารถเลือกใชไดตามความ
ตอ งการของงานไดเลย นอกจากนีก้ ารตงั้ คา Columns นั้นยังมีการกำหนดสทิ ธิเ์ พ่ิมเตมิ

20

2.3.3.59 KEY ถาเลือกให Columns ไหนใหเปน KEY ในการกรอกขอมูลลงใน
Columns นั้นจะไมสามรถกรอกขอมูลที่มีอยูแลวหรือซ้ำกันได เชน ในกรณีที่เราตองการให
Columns น้นั ใชเ กบ็ รหสั ของสนิ คา เพราะฉะน้นั ขอ มูลไมค วรจะซ้ำกนั

2.3.3.60 READ-ONLY ถาเลือกให Columns ไหนใหเปน READ-ONLY ในการกรอก
ขอมูลลงใน Columns นั้นจะไมสามรถกรอกขอมูลไดจะดูขอมูลไดอยางเดียวแตวาขอมูลจะยังถูก
บนั ทกึ ลง Columns อยเู ชน ในกรณีที่ Columns ไมจ ำเปน ตองแกไขใหบนั ทึกไดเลยก็ตง้ั เปน READ-
ONLY เพือ่ ไมตอ งตอ งการใหแกไข

2.3.3.61 HIDDEN ถาเลือกให Columns ไหนใหเปน HIDDEN Columns นั้นจะไม
แสดงในการกรอกขอมูลใชใ นการซอ นขอมูลทีไ่ มตองการใหกรอกขอมูล

2.3.3.62 REQUIRED ถาเลือกใหColumns ไหนใหเปน REQUIRED Columns นั้น
จะตอ งกรอกขอมูลลงไปถาไมกรอกขอมูลจะไมสามารถเซฟหรือบันทึกขอ มลู ท้ังหมดได เชน ขอมูลน้ัน
เปน ขอ มลู ที่จำเปนตองกรอกก็ต้ังใหเปน REQUIRED ก็จะไมสามารถขามได

2.3.4 การบันทกึ ขอมูลลงในไฟลทีใ่ ชเ ก็บขอมูลของโปรแกรม AppSheet

ภาพที่ 2.25 หนา ตางการบันทกึ ขอมูลลงในไฟลท่ีใชเกบ็ ขอมูล
2.3.4.1 โดยวิธีแรกนั้นจะเปนการบันทึกในเว็ปไซตของ Appsheet ที่เราใชตั้งคาตัว
Application ไดเ ลยโดยทำการกดปุม เพิม่ ขอมูลและเพิ่มขอมูลไดเลย
2.3.4.2 เมื่อกดปุมเพิ่มขอมูลแลวจะมีแบบฟอรมขึ้นมาดังภาพโดยการกรอกขอมูลของ
แตละ Columns จะเปน ไปตาม Columns ที่ไดตั้งไว

21

ภาพที่ 2.26 การดาวโ หลดแอพพลิเคช่ันทางโทรศพั ท
2.3.4.3 สวนอีกวิธีหนึ่งคือบันทึกขอมูลโดยใชโทรศัพท อันดับแรกตองไปโหลด
Application ท่มี ีช่ือวา AppSheet มากอ นโดยโดยมีทั้ง Android และ Ios
2.3.4.4 เมื่อติดตั้ง AppSheet เสร็จแลวใหทำการ Login โดยใช G-mail เดียวกันกับที่
ใชใ นเว็ปไซต AppSheet

ภาพท่ี 2.27 หนาตา ง App Gallery
2.3.4.5 เม่อื ทำการ Login เขามาแลว จะเจอกับหนา App Gallery ซง่ึ จะมี Application
ทงั้ หมดท่ีเราทำเอาไวใ น

22

ภาพท่ี 2.28 หนาตางการทำงาน example
2.3.4.6 เมื่อทำการ Login เขา มาแลวจะเจอกับหนา App Gallery ซง่ึ จะมี Application
ทั้งหมดทเ่ี ราทำเอาไว
2.3.4.7 กดเขามาที่ Application ที่เราเลือกคือ Example เมื่อเขามาแลวก็สามารถกด
เพม่ิ ขอมูลไดเลยเหมอื นกับทที่ ำในเวป็ ไซตเ ลยแตแ บบนจี้ ะสะดวกกวา
2.3.4.8 ทำการเพม่ิ ขอ มลู ลงไปในไฟลท ีเ่ ก็บขอมูล
2.3.4.9 เมื่อทำการบันทึกขอมูลเสร็จแลวขอมูลในไฟลเก็บขอมูลจะมาแสดงที่หนาแรก
ซง่ึ เราสามารถกำหนดไดว า จะใหแสดงอะไรบาง
2.3.4.10 ทุกครั้งที่มีการเพิ่ม ลบ หรือเปลี่ยนแปลงอะไรตองก็ตามแตใหทำการ Sync
ทกุ ครั้งเพ่อื เปนการ Update ขอ มลู ใหตรงกนั

ภาพท่ี 2.29 หนาตางการเช็คขอมูล example
2.3.4.11 ตอไปเมื่อเราตองการเซ็คขอมูลที่ทำการเพิ่มเขาไปสามารถเช็คไดโดยเขาไปท่ี
Google Drive ของ Gmail ทใ่ี ช Login กับ Appsheet
2.3.4.12 เมื่อเขาดูไฟลที่เก็บขอมูลแลวขอมูลที่เราเพิ่มไปบันทึกเขามาก็ถือวา
Application ใชงานไดแลว

บทท่ี 3
วธิ ีการดำเนนิ งาน

บทท่ี 3
วิธีการดำเนนิ งานโครงการ

การดำเนินโครงการ “สร้างระบบเก็บข้อมูล ช่ือโครงการ ระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา
ดว้ ยโปรแกรม AppSheet” มีรายละเอยี ดในการดำเนินงานโครงการ ดังนี้

3.1 การศึกษาข้อมลู เบ้อื งตน้
3.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
3.3 ขั้นตอนการดำเนินงาน
3.4 เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
3.5 ข้นั ตอนการดำเนนิ การและเก็บรวบรวมข้อมลู
3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
3.7 สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู

3.1 การศึกษาขอ้ มูลเบอื้ งต้น
3.1.1 ศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสารตำราและสอื่ ต่าง ๆ
3.1.2 ศึกษาการสรา้ งระบบเกบ็ ข้อมลู นกั เรยี น นกั ศึกษา ด้วยโปรแกรม AppSheet
3.1.3 ศึกษาการทำงานของโปรแกรม AppSheet
3.1.4 คณะผ้จู ัดทำรว่ มกันออกแบบสอบถาม โดยใช้ความรู้จากการศึกษาค้นควา้ เร่ือง การสร้าง

ระบบเก็บขอ้ มลู นกั เรียน นกั ศกึ ษา ดว้ ยโปรแกรม AppSheet
3.1.5 สำรวจกลมุ่ เป้าหมาย และจัดทำโครงการร่างแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อการสร้าง

ระบบเก็บข้อมลู นกั เรียน นกั ศึกษา ด้วยโปรแกรม AppSheet

3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
3.2.1 ประชากร

การศึกษาคร้ังน้ีประชากรท่ีใช้ในการจัดทำโครงการ “สร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ด้วย
โปรแกรม AppSheet ” ไดแ้ ก่ นักเรยี น นักศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ทิ ัล จำนวน 500 คน

3.2.2 กลุ่มตวั อยา่ ง
การศึกษาคร้ังนี้ประชากรท่ีใช้ในการจัดทำโครงการ “สร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ด้วย
โปรแกรม AppSheet” ได้แก่ นกั เรยี น นักศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ลั จำนวน 217 คน

24

3.2.3 วิธกี ารกำหนดขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง
วิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างมีด้วยกันหลากหลายวิธีในท่ีนี้จะเสนอการ

กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากการกำหนดเกณฑ์ การใช้สูตรคำนวณและการใช้ตารางสำเร็จรปู ซ่ึง
แตล่ ะวธิ สี ามารถอธบิ ายไดต้ อ่ ไปน้ี

3.2.3.1 การกำหนดเกณฑ์
ในกรณีนี้ผู้วิจัยต้องทราบจำนวนประชากรท่ีแน่นอนก่อนแล้วใช้เกณฑ์โดย

กำหนดเปน็ รอ้ ยละของประชากรในการพิจารณา ดังนี้
ถา้ ขนาดประชากรเปน็ หลกั ร้อย ควรใชก้ ลุ่มตัวอยา่ งอยา่ งน้อย 25%
ถา้ ขนาดประชากรเปน็ หลกั พัน ควรใชก้ ลุ่มตวั อยา่ งอย่างน้อย 10%
ถ้าขนาดประชากรเปน็ หลกั หมืน่ ควรใช้กลุม่ ตัวอยา่ งอยา่ งนอ้ ย 5%
ถา้ ขนาดประชากรเปน็ หลกั แสน ควรใช้กลมุ่ ตวั อยา่ งอย่างนอ้ ย 1%

3.2.3.2 การใช้ตารางสำเรจ็ รูป
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางสำเร็จรูปมีอยู่หลายประ เภท

ข้ึนอยูก่ ับ ความต้องการของผวู้ ิจัยตารางสำเร็จรูปที่นยิ มใช้กนั ในงานวิจยั เชิงสำรวจไดแ้ ก่ ตารางสำเร็จ
ของทาโร ยามาเนแ่ ละตารางสำเรจ็ รปู ของเครจซแ่ี ละเมอร์แกน เป็นตน้

1) ตารางสำเร็จรูปของเครจซ่ีและมอร์แกนสำหรับตารางของเครจซี่และมอร์
แกน (Krejcie & Morgan)ตารางนี้ใชใ้ นการประมาณคา่ สัดส่วนของประชากรเชน่ เดยี วกนั

และกำหนดให้สัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากร เท่ากับ 0.5 ระดับความคลาดเคลื่อนที่
ยอมรับได้ 5% และระดับความเชื่อมั่น 95% สามารถคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างกับประชากร
ท่ีมขี นาดเล็กได้ต้ังแต่ 10 ขึ้นไป

2) ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งของเครซแี่ ละมอร์แกน

25

ตารางที่ 3.1 แสดงตัวอย่างทฤษฎมี อแกน
3.3 ขัน้ ตอนการดำเนินงาน

3.3.1 การออกแบบผงั งาน

เรมิ่ ตน้

ประชุมกับสมาชิกในกล่มุ เพ่ือศึกษาหัวข้อเร่ือง
ทสี่ นใจในการทำโครงการ

นำเสนอข้อโครงการ ไมผ่ า่ น
ต่ออาจารยท์ ปี่ รกึ ษา

1
ภาพท่ี 3.1 แสดงผงั งานข้ันตอนการทำงาน

26

1

วางการจัดทำโครงการ โดยเขียนแบบร่างโครงการ

ทำการออกแบบการสรา้ งระบบเก็บข้อมลู นักเรยี น
นักศกึ ษา ดว้ ยโปรแกรม AppSheet

ทำการทดลองการใชง้ าน ไมผ่ ่าน
โปรแกรม

ผา่ น

ออกแบบแบบประเมินความพึงพอใจในการทดสอบ
สร้างระบบเก็บข้อมลู นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ด้วย
โปรแกรม AppSheet

สรุปผลและจดั ทำรูปเลม่ โครงการ

เสรจ็ สิ้น
ภาพที่ 3.2 แสดงผงั งานข้ันตอนการทำงาน (ต่อ)

27
3.3.2 ขั้นตอนการสร้างชน้ิ งาน

3.3.2.1 ดำเนินการเปิด Google Drive แล้วใส่ข้อมูลของเพ่ือท่ีจะลงิ คไ์ ปยังโปรแกรม
AppSheet

ภาพที่ 3.3 หนา้ ตา่ ง Views
3.3.2.2 ทำการ Loginเข้า Gmail แล้วเข้าไปยังหน้าViews เพื่อทำการเพิ่มข้อมูลโดย
การคลิกไปทเี่ ครื่องหมายบวก

ภาพท่ี 3.4 หน้าต่าง Colmns
3.3.2.3 คลกิ ไปท่ี Colmns แลว้ คลิกไปยงั inage เพือ่ นำรปู ท่ีเตรยี มไว้มาทำหน้าโปรแกรม
ท่จี ะสรา้ ง

28

ภาพท่ี 3.5 หนา้ ต่าง Colmns
3.3.2.4 เอารูปที่เตรียมไวม้ าใส่แลว้ กด Save

ภาพท่ี 3.6 หน้าตา่ ง Author
3.3.2.5 กดไปยัง Student แล้วคลิกเครื่องหมายบวกแล้วกดไปเพิ่มข้อมูลตามคอลัมน์
จากน้ันกด Save

ภาพที่ 3.7 หน้าต่างแชร์ URL
3.3.2.6 กดไปยงั หน้า Users แล้วคดั ลอกลงิ ค์ไปใหแ้ ก่ผทู้ ่ีจะเข้าใชง้ านของแอพ

29

3.4 เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3.4.1 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาเคร่ืองมือเชิงปริมาณ (Quamtitative Research) เป็น

แบบสอบถามทผ่ี ู้จัดทำโครงการสร้างข้นึ จำนวน 1 ฉบับ โดยยึดตามวัตถุประสงคแ์ ละกรอบแนวคิดใน
การทำโครงการแบง่ ออกเป็น 3 ตอน คือ

ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ
อายุ ระดับช้ัน ของผตู้ อบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามการจัดทำการสร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา
ด้วยโปรแกรม AppSheet มีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)
แบง่ เป็น 5 ระดบั

5 หมายถึง ความพึงพอใจมากทสี่ ดุ
4 หมายถงึ ความพึงพอใจมาก
3 หมายถึง ความพงึ พอใจปานกลาง
2 หมายถึง ความพึงพอใจน้อย
1 หมายถึง ความพึงพอใจน้อยทส่ี ดุ
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะการจัดทำโครงการสร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา
ด้วยโปรแกรม AppSheet
3.4.2 การสรา้ งเครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีดงั น้ี
1) กำหนดโครงการสร้างและขอบข่ายเน้ือหาสาระของแบบสอบถามโดยกำหนดเนื้อหา
สาระที่นำมาสรา้ งแบบสอบถามให้เห็นขอบเขตของคำถามท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และครอบคลุม
เรือ่ งที่จะศกึ ษาโดยคา้ แนะนำจากครูท่ีปรกึ ษาโครงรา่ งการจัดทำโครงการ
2) ศึกษาแนวทางทฤษฎีหลักการสร้างแบบสอบถามจากเอกสารตำราบทความทาง
วิชาการ
3) ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) สร้าง
แบบสอบถามฉบับร่างโดยเขียนข้อความที่สอดคล้องกับตัวแปรที่ศึกษาให้ครบถ้วนตามโครงการสร้าง
5 ระดบั คอื ระดบั มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย และน้อยทส่ี ดุ
4) ดำเนินการสร้างแบบสอบถามข้ันมาให้ครอบคลุมกับการจัดทำโครงการสร้างระบบ
เก็บข้อมูลนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ดว้ ยโปรแกรม AppSheet
5) ตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามเบื้องต้นโดยให้อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการและ
ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบพิจารณาเพื่อความเที่ยงตรงของเนื้อหาและความถูกต้องในสำนวนภาษาท่ีใช้
เพื่อให้คำถามครอบคลมุ และสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของโครงการแล้วปรับปรุงแกไ้ ขตามคำแนะนำ
นา่ มาจดั ทำแบบสอบถามฉบับสมบูรณเ์ พ่ือนำไปใช้ต่อของอาจารย์ทีป่ รกึ ษาโครงการ

30

6) จัดทำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ตามคำแนะนำของอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการนำมา
จัดทำแบบสอบถามฉบบั สมบูรณ์เพ่อื นำใชต้ อ่ ไป

3.5 ข้ันตอนการดำเนินการและเก็บรวบรวมขอ้ มลู
3.5.1 การวางแผนของโครงการ
1) สรุปหวั ขอ้ โครงการ
2) ศกึ ษาเน้ือหาทเ่ี ก่ียวขอ้ งในการจัดทำโครงการตอ้ งการปัจจัยใดบ้างในการนำมา

จัดทำโครงการต้องการปัจจัยใดบา้ งในการดำเนินโครงการ
3.5.2 เสนอโครงการ
จดั ทำเสนอเร่อื งโครงการ
3.5.3 การดำเนินงานในโครงการจดั ทำโครงการให้ได้ใจความเนื้อหา 5 บทสามารถสรปุ ได้ดงั นี้
บทที่ 1 บทนำโดยเน้ือหาเกี่ยวกับความเป็นมาวัตถุประสงค์ขอบเขตและประโยชน์ท่ี

คาดวา่ จะไดร้ ับ
บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องการสร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษา

ด้วยโปรแกรม AppSheet
บทที่ 3 วิธีการดำเนินโครงการโดยเนอ้ื หาเก่ยี วกับขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน
บทที่ 4 การวิเคราะหข์ ้อมลู และขอ้ เสนอแนะโดยเนอ้ื หาเกีย่ วกบั การสรุปผลการ

ประเมินผลของวตั ถปุ ระสงคเ์ คร่ืองมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
บทที่ 5 สรุปผลการอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

3.5.4 จัดทำชน้ิ งานเป็นรูปเลม่
ศกึ ษาข้อมลู เกี่ยวกับฟังกช์ ันการคำนวณ.

3.6 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เพ่ือสำรวจความพึงพอใจของ

นักเรียน นักศกึ ษาสาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทลั กลมุ่ ตวั อยา่ งต่อโครงการมีขนั้ ตอนดังต่อไปนี้
3.6.1 สร้างแบบสอบถาม ซ่ึงมมี าตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดบั ดงั น้ี
5 หมายถงึ มากทส่ี ุด
4 หมายถึง มาก
3 หมายถงึ ปานกลาง
2 หมายถงึ น้อย
1 หมายถงึ นอ้ ยทส่ี ดุ

31

3.6.2 เกณฑ์การประเมนิ คา่ ความพงึ พอใจ กำหนดค่าคะแนนออกเป็น 5 ระดบั ดงั นี้

คา่ เฉลี่ย ความหมาย

4.50 – 5.00 หมายถงึ มคี วามคิดเห็นอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ

3.50 – 4.49 หมายถึง มคี วามคดิ เห็นอยใู่ นระดับมาก

2.50 – 3.49 หมายถึง มีความคดิ เหน็ อยใู่ นระดับปานกลาง

1.50 – 2.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดบั น้อย

0.00 – 1.49 หมายถงึ มีความคิดเห็นอยู่ในระดบั น้อยทีส่ ุด

3.7 สถิติทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ในการจดั ทำโครงการสร้างระบบเก็บขอ้ มลู นักเรียน นกั ศกึ ษา ด้วยโปรแกรม AppSheet

2 สถติ ิที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู แบง่ ออกได้ ดงั นี้
3.7.1 คา่ สถติ ิรอ้ ยละ (Percentage) มสี ตู รดงั นี้

สูตร ค่ารอ้ ยละ
เมือ่ กำหนดให้ จำนวนหรือความถ่ีที่ต้องการหาคา่ รอ้ ยละ
P แทน จำนวนขอ้ มลู ทง้ั หมด
f แทน
n แทน
3.7.2 การหาคา่ เฉล่ยี ( )

สูตร =
เมือ่ กำหนดให้

แทน คะแนนเฉลี่ย
แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนน
แทน จำนวนคะแนนในข้อมลู นัน้
3.7.3 การหาค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D. Standard Deviation)

สูตร ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง
ผลรวมยกกำลงั สองของคะแนนทกุ จำนวน
เมอ่ื กำหนดให้ ผลรวมคะแนนทุกจำนวนยกกำลังสอง
S.D. คือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามท้งั หมด

คือ
คอื
คอื

บทท่ี 4
วเิ คราะห์ขอ้ มลู

บทที่4
ผลการดำเนนิ โครงการ

ตารางที่ 4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถามที่ได้เข้าร่วมโครงการสร้าง
ระบบเกบ็ ข้อมลู นักเรยี น นักศกึ ษาสาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจิทัล ด้วยโปรแกรม AppSheet

ลำดบั ที่ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ
1 หญงิ 156 70.3
2 ชาย 66 29.7

รวมท้ังส้ิน 222 100

จากตารางที่ 4.1 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ คิดเป็น
รอ้ ยละของผเู้ ข้ารว่ มโครงการสร้างระบบเกบ็ ข้อมลู นักเรียน นกั ศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
ด้วยโปรแกรม AppSheet และส่งแบบสอบถามกลับคืน ดังนี้ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 29.7 ของ
ประชากรทัง้ หมด และเพศหญิง คิดเปน็ ร้อยละ 70.3 ของประชากรท้งั หมด

แผนภูมิแสดงระดบั เพศของผ้แู บบสอบถาม ชาย
หญงิ
29.70%

70.30%

ภาพที่ 4.1 แผนภูมิแสดงระดับเพศของผแู้ บบสอบถาม

33

ตารางที่ 4.2 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถามที่ได้เข้าร่วมโครงการสร้าง
ระบบเกบ็ ขอ้ มูลนักเรียน นักศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทัล ดว้ ยโปรแกรม AppSheet

ลำดับที่ อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ
1 16 – 18 49 22.1
2 19 - 21 171 77
3 22 ปขี น้ึ ไป 2 0.9

รวมทั้งสน้ิ 222 100

จากตารางที่ 4.2 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ คิดเป็น
ร้อยละของผเู้ ข้ารว่ มโครงการสร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรยี น นักศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
ด้วยโปรแกรม AppSheet และส่งแบบสอบถามกลับคืน ดังนี้ อายุ 16 - 18 ปี คิดเป็นร้อยละ 22.1
ของประชากรทั้งหมด อายุ 19 - 21 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 77 ของประชากรท้ังหมด และอายุ 22 ปีขึ้นไป
คิดเป็นรอ้ ยละ 0.9 ของประชากรทงั้ หมด

แผนภูมแิ สดงอายผุ ูต้ อบแบบสอบถาม

22 ปขี ึ้นไป 16-18 ปี
19-21 ปี 1% 19-21 ปี
22% 22 ปขี น้ึ ไป

16-18 ปี
77%

ภาพที่ 4.2 แผนภูมิแสดงอายุของผตู้ อบแบบสอบถาม

34

ตารางที่ 4.3 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถามที่ได้เข้าร่วมโครงการสร้าง

ระบบเกบ็ ข้อมลู นักเรยี น นกั ศึกษาสาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ิทลั ดว้ ยโปรแกรม AppSheet

ลำดับท่ี ระดับการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ

1 ระดับชั้น ปวช. 177 79.7

2 ระดับชั้น ปวส. 45 20.3

รวมทัง้ สิน้ 222 100

จากตารางที่ 4.3 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามระดับ
การศึกษา คิดเป็นร้อยละของผู้ที่เข้าร่วมโครงการสร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษาสาขาวิชา
เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ด้วยโปรแกรม AppSheet และส่งแบบประเมินกลับคืน ดังนี้ ระดับชั้น ปวช.
คิดเป็นร้อยละ79.7 ของประชากรทั้งหมด และระดับชั้นปวส. คิดเป็นร้อยละ 20.3 ของประชากร
ทั้งหมด

แผนภมู ิแสดงระดบั การศึกษาของผู้ตอบ
แบบสอบถาม

ปวส
20% ปวช

80%

ปวช ปวส
ภาพท่ี 4.3 แผนภูมแิ สดงระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม

35

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจในการร่วมโครงการ
ตารางที่ 4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถามที่ได้เข้าร่วมโครงการสร้าง
ระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ด้วยโปรแกรม AppSheet ด้านการ
ทำงานของฟังกช์ ่นั

เร่อื งการประเมิน ความพงึ

x̅ S. D. พอใจ

1.1 โปรแกรมมีความรวดเร็วในการประมวลผลต่อการใช้ 4.62 0.63 มากทส่ี ดุ

งาน

1.2 ขอ้ มลู ที่จดั เตรยี มง่ายและเหมาะสมตอ่ การใชง้ าน 4.57 0.64 มากทสี่ ดุ

1.3 การใชค้ ำส่งั ต่าง ๆมีความสะดวกและเหมาะสมต่อการ 4.59 0.66 มากที่สุด

ใช้งาน

คา่ เฉลย่ี รวม 4.59 0.66 มากที่สดุ

จากตารางที่ 4.4 พบว่าการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของผู้ตอบแบบสอบถามที่ได้เข้ารว่ มโครงการสร้าง
ระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ด้วยโปรแกรม AppSheet ด้านการ
ทำงานของฟงั ก์ชั่น ของการสร้างแอพเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ

(x̅ = 4.59) เมอ่ื พิจารณารายข้อพบว่า ดา้ นการออกแบบชิ้นงาน มีความคิดเหน็ ระดบั มากท่ีสดุ จำนวน 3

ข้อตามลำดับ ได้แก่ โปรแกรมมีความรวดเร็วในการประมวลผลต่อการใช้งาน(x̅ = 4.62) ข้อมูลที่

จัดเตรียมง่ายและเหมาะสมต่อการใช้งาน (x̅ = 4.57) การใช้คำสั่งต่าง ๆมีความสะดวกและ

เหมาะสมตอ่ การใช้งาน

(x̅ = 4.59)

36

แผนภูมิความพึงพอใจด้านการออกแบบช้ินงาน

4.62 4.57 4.59 คา่ เฉลีย่
คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน
0.63 0.64 0.66
1.1 1.2 1.3

ภาพที่ 4.4 แสดงแผนภูมริ ะดับความพึงพอใจด้านการออกแบบชิน้ งาน

ตารางที่ 4.5 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ได้เข้าร่วม
โครงการสร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ด้วยโปรแกรม
AppSheet ด้านการใช้งานของโปรแกรม

เร่ืองการประเมิน ความพึง

x̅ S. D. พอใจ

2.1 ความสะดวกในการเขา้ ใชง้ านของโปรแกรม 4.59 0.65 มากทส่ี ุด

2.2 โปรแกรมมีการจัดวางรูปแบบของหน้าจอได้อย่าง 4.55 0.65 มากทสี่ ุด

เหมาะสม

2.3 โปรแกรมทส่ี รา้ งมีความครอบคลมุ ตอ่ การใช้งานจริง 4.59 0.64 มากท่ีสดุ

ค่าเฉลี่ยรวม 4.58 0.64 มากท่สี ดุ

จากตารางที่ 4.5 พบว่าการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของผูต้ อบแบบสอบถามที่ได้เข้ารว่ มโครงการสร้าง
ระบบเก็บข้อมลู นักเรียน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดิจทิ ัล ด้วยโปรแกรม AppSheet ด้านการใช้

งานของโปรแกรมในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.58) เมื่อพิจารณารายขอ้ พบว่า ด้านการใช้งาน

ของโปรแกรม มีความคิดเห็นระดับมาก จำนวน 3 ข้อตามลำดับ ได้แก่ ความสะดวกในการเข้าใช้งานของ

โปรแกรม (x̅ = 4.59) โปรแกรมมีการจัดวางรูปแบบของหน้าจอได้อย่างเหมาะสม (x̅ = 4.55) และ

โปรแกรมทีส่ รา้ งมีความครอบคลุมต่อการใช้งานจรงิ (x̅ = 4.59)

37

แผนภมู ิความพึงพอใจดา้ นการใชง้ านของโปรแกรม

4.59 4.55 4.59 0.64 ค่าเฉลี่ย
ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน
0.65 0.65

2.1 2.2 2.3

ภาพท่ี 4.5 แสดงแผนภมู ิระดับความพึงพอใจด้านด้านการใชง้ านของโปรแกรม

ตารางที่ 4.6 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ได้เข้าร่วม
โครงการสร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ด้วยโปรแกรม
AppSheet ด้านประสิทธภิ าพ

เรอ่ื งการประเมิน ความพงึ

x̅ S. D. พอใจ

3.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทัลสามารถนำโปรแกรม 4.59 0.63 มากท่ีสดุ
ไปใช้ประโยชน์ได้

3.2 ไดร้ บั ขอ้ มูลของนกั เรียน นักศกึ ษาสาขาวิชา 4.59 0.67 มากทสี่ ุด
เทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทลั

3.3 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ิทัลได้รับความพึงพอใจ 4.57 0.67 มากที่สุด

ในการใช้งานของโปรแกรม

คา่ เฉล่ียรวม 4.59 0.66 มากทส่ี ดุ

จากตารางที่ 4.6 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามที่ได้เข้าร่วมโครงการ
สร้างระบบเก็บข้อมูลนักเรียน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ด้วยโปรแกรม AppSheet ด้าน

ประสิทธิภาพในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.59) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าด้านประสิทธิภาพ

มีความคดิ เหน็ ระดบั มาก จำนวน 3 ข้อตามลำดบั ได้แก่ สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทลั สามารถนำ

38

โปรแกรมไปใช้ประโยชน์ได้ (x̅ = 4.59) ได้รับข้อมูลของนักเรยี น นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกจิ
ดิจิทัล (x̅ = 4.59) และสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลได้รับความพึงพอใจในการใช้งานของ
โปรแกรม (x̅ = 4.57)

แผนภมู ิความพงึ พอใจด้านประสิทธภิ าพ

4.59 4.59 4.57

ค่าเฉล่ีย
คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน

0.63 0.67 0.67

3.1 3.2 3.3

ภาพท่ี 4.6 แสดงแผนภมู ิระดับความพงึ พอใจดา้ นประสทิ ธิภาพ

ตารางท่ี 4.7 แสดงสรุประดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสร้างระบบเก็บข้อมูล
นักเรยี น นักศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจิทัล ด้วยโปรแกรม AppSheet

เร่ืองการประเมนิ N Mini Maxi Mean Std. แปลผล
mum mum Descriptive

1. ดา้ นการทำงานของฟงั ก์ชั่น 1 5 4.62 0.63 มากที่สุด
1.1 โปรแกรมมีความรวดเร็ว 222 2 5 4.57 0.64 มากท่สี ุด
2 5 4.59 0.66 มากท่ีสดุ
ในการประมวลผลต่อการใชง้ าน

1.2 ขอ้ มูลทจ่ี ัดเตรยี มง่ายและ 222
เหมาะสมตอ่ การใชง้ าน

1.3 การใช้คำสัง่ ตา่ ง ๆมีความ 222
สะดวกและเหมาะสมต่อการใช้

งาน


Click to View FlipBook Version