คําอธบิ าย บทท่ี 5
การทดสอบในอโุ มงคล ม
5.1 ขอบขา ยการใชง าน และ
5.2 การทดสอบ
การทดสอบในอุโมงคล ม (หรอื การทดสอบโดยใชข องไหลประเภทอื่น เชน นํ้า) ที่ใชเพ่ือการ
คํานวณแรงลมสําหรับออกแบบอาคารและโครงสราง แบงเปนชนิดตางๆ ได ดังแสดงใน
ตารางที่ อ.5-1 (ASCE 1999)
ตารางที่ อ.5-1 ชนิดของการทดสอบแบบจาํ ลองโครงสรางภายในอุโมงคล มและขอ มูลทไี่ ด
ชนิดของการทดสอบ ขอมูลท่ีได
ความดันลม ณ จุดตางๆของผนังโดยรอบของอาคาร ความดนั ลมภายนอกเฉลี่ยและความแปรปรวน ท่ี
( Local Pressure)
จุดตางๆรอบอาคาร สําหรับการออกแบบผนัง
ทดสอบการผันผวนของความดันที่จุดตางๆของ กระจก หรือสวนตบแตงภายนอก
โครงสรางเนื่องจากลมโดยใชแบบจําลองแข็งและ ผลของชองเปดท่ีมีตอความดันลมภายในของ
ติดต้ังหัววัดความดันจํานวนมาก (รูปท่ี อ.5.1 และ อ. อาคาร
5.2) คาความดันสุทธิท่ีกระทําตอสวนตางๆของผนัง
รอบอาคาร
แรงลมท่ีกระทําตอพื้นที่บางสวนหรือท้ังหมดของ คาเฉลี่ยและความแปรปรวนของแรงลมท่ีกระทํา
อาคาร(Area and Overall Wind Loads )
กบั พนื้ ที่สว นตา งๆของอาคารจากผลของท้ังความ
ทดสอบแรงลมทีก่ ระทาํ ตอ พื้นทสี่ วนตางๆของอาคาร ดันภายในและภายนอก
โดยใชแบบจําลองในการหาความดันและทําการ แรงลมทั้งหมดท่ีกระทํากับอาคาร สะพานชวง
วิเคราะหหาคาแรงลมเฉล่ียจากขอมูลความดันที่จุด ยาว หรือโครงสราง รวมถึงแรงท่ีกระทําในแตละ
ตา งๆในเวลาเดยี วกัน (รูปที่ อ.5.1)
รปู แบบการส่นั ไหวพืน้ ฐานทต่ี อ งการ
ขอมูลของความดันลมท่ีผนังภายนอกในหลายๆ
จุดของอาคารที่วัดไดในแตละชวงเวลาสามารถ
นําไปวิเคราะหคาแรงกระทําทางดานพลศาสตร
ในแตละรูปแบบการสั่นไหว เพ่ือนําไปประมาณ
138 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
คาผลตอบสนองตอ แรงลมของอาคาร รวมถึงการ
โกง ตัวดานขาง และอัตราเรง
High-Frequency Force Balance คาสัมประสิทธ์ิของหนวยแรงลม เพื่อนําไปใช
วัดแรงที่กระทําที่ฐานของแบบจําลองเพ่ือนําไป วเิ คราะหค า ผลตอบสนองสงู สุดของโครงสรา ง
ประมาณคาแรงและการตอบสนองท่ีเกิดข้ึนของ คาspectraของแรงลมที่กระทําเม่ือสามารถทราบ
โครงสรางจริงโดยแบบจําลองที่ใชตองสรางใหมี คาการตอบสนองแบบกําทอน (resonance)
ความถธี่ รรมชาติสูงเพ่อื ไมใหม ีผลของการตอบสนอง วธิ ี High-Frequency Force Balance มักนิยมใชใน
แบบกําทอน(resonance)ตอการแปรปรวนของลม การหาคาแรงที่กระทําสําหรับการโกงตัวดานขาง
ในชวงความถ่ที ่สี นใจ
และการบิดสําหรับรูปแบบการสั่นไหวพ้ืน ฐาน
ของอาคารสูง
สามารถนําแรงที่ไดจากการทดสอบนําไป
วิเคราะหหาผลตอบสนองของอาคารเชน การโกง
ตวั ดา นขา งและอตั ราเรง
Sectional Model Test คาแรงลมและการตอบสนองท้ังแบบเฉล่ียและ
ทดสอบแบบจําลองหนาตัดบางสวนของโครงสรางท่ี แบบพลศาสตร
ติดตั้งอยูบนสปริงซึ่งเปนการจําลองคุณสมบัติทาง คาสัมประสิทธิ์ของแรงท่ีเกิดจากการกระตุนของ
ดานพลศาสตรมักใชกับหนาตัดโครงสรางของ โครงส รางเองภาย ใ ตแรงล ม (aerodynamic
สะพานชวงยาว เชนสะพานขึง และสะพานแขวน derivatives) เพื่อใชในการวิเคราะหทางดาน aero
(รูปที่ อ.5.3)
-elastic
แบบจําลองยดื หยุน(Aeroelastic Model) ขอมูลของการตอบสนองของอาคารโดยคํานึงผล
ทดสอบแบบจําลองยืดหยุนโดยจําลองคุณสมบัติ ของการส่ันไหวรวมระหวางโครงสรางและลม
ทางดานพลศาสตร ใชกับอาคาร สะพาน และ (motion-dependent or aeroelastic forces) ซ่ึงไม
โครงสรางรูปแบบตางๆ (รูปที่ อ.5.4)
สามารถหาไดโ ดยการทดสอบแบบสถิต
คาแรงลมและการตอบสนองของโครงสรางทั้ง
แบบเฉล่ียและแบบพลศาสตรรวมทั้ง การโกงตัว
ดานขา ง การหมนุ และ อัตราเรง ของโครงสรา ง
การทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณควบคุม
ก า ร สั่ น ไ ห ว ข อ ง อ า ค า ร ท้ั ง ใ น แ บ บ แ อ ค ทิ ฟ
(active)และแบบพาสสฟิ (passive)
ผลกระทํารวมกันของแรงลมและแรงกระทําอน่ื ๆ
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 139
ระดับของแรงลมตอผูส ญั จร (Pedestrian Wind) ลักษณะการเคล่ือนท่ีและการไหลของลมรอบ
ทดสอบเพ่ือประเมินทิศทางและความรุนแรงของลม อาคารหรือโครงสราง
ท่ีมีผลตอผูท่ีสัญจรบริเวณรอบๆโครงสรางโดยใช ทิศทางและความรนุ แรงของลมจากผลของอาคาร
แบบจาํ ลองยอ สวนแบบสถติ
เพ่ือศึกษาผลกระทบตอสิ่งแวดลอมกอนการ
ดําเนินการโครงการ รวมถึงการปรับปรุงและแก
ไขผลกระทบท่เี กดิ จากอาคาร
ระดับคุณภาพของอากาศ (Air Quality) ลักษณะการแพรกระจายของกาซตางๆหรือ
ทดสอบเพ่ือประเมินการแพรกระจายของกาซ มลพษิ
ตางๆ หรือมลพิษท่ีแพรออกสูสิ่งแวดลอมของแหลง ผลกระทบการแพรกระจายจากผลของลมในภูมิ
อุตสาหกรรมรอบอาคารหรือที่สภาพภูมิประเทศ ประเทศตา งๆ
ตา งๆและคุณภาพของอากาศในเมืองใหญ
การจําลองสภาพภูมิประเทศ (Terrain and Topogra- ลักษณะการไหลของลมบริเวณภูมิประเทศแบบ
phic Test)
ตางๆรวมถึงการประเมินหาคาความขรุขระของ
การทดสอบแบบจําลองยอสวนขนาดเล็กของสภาพ พืน้ ที่
ภูมิประเทศแบบตางๆโดยใช flow visualization, hot- คาความสัมพันธของการไหลของลมที่ตําแหนง
wire anemometry หรอื ท้งั 2 แบบ
และความสูงตางๆเพื่อใชในการเทียบสอบขอมูล
ของสถานวี ัดอากาศ
การประเมินคาพลังงานศักยของลม ณ จุดที่ต้ัง
ของโครงการ
140 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
รปู ท่ี อ.5.1 แรงลมท่ผี ันผวนทก่ี ระทํากบั ผนังภายนอก โครงสรางรองและโครงสรางหลักของอาคารเต้ีย
(Davenport et al. 1978)
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 141
ก. แบบจาํ ลองยอสวนของอาคารและอาคารขางเคยี งในอุโมงคลม
ข. แบบจําลองแข็ง ท่ีตดิ ตั้งทอสง แรงดัน เพื่อวดั ความดันลมท่จี ดุ ตา งๆ ของผนังโดยรอบอาคาร
รปู ที่ อ.5.2 ตัวอยา งแบบจาํ ลองแข็งเพ่ือวัดความดนั ลมในอุโมงคลม (Boonyapinyo et al. 2006)
142 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
ก. แบบจาํ ลองหนาตัดสะพานบางสวนในอุโมงคล ม
ข. แบบจําลองหนา ตัดสะพานท่ตี ดิ ตง้ั อยูบ นสปริง เพื่อจาํ ลองคณุ สมบตั ทิ างดา นพลศาสตร
รปู ท่ี อ.5.3 ตวั อยางแบบจาํ ลองของสะพานแบบ Sectional model (วิโรจน บุญญภิญโญ และ กําธร
เจนศุภเสรี 2550)
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 143
รปู ท่ี อ.5.4 แบบจําลองยดื หยุนของอาคาร
144 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
บรรณานุกรม
1. AIJ (2004), Recommendation for Loads on Buildings, Architectural Institute of Japan.
2. ASCE (1999), Wind Tunnel Studies of Buildings and Structures, ASCE Manuals and Reports
on Engineering Practice. No.67, Task Committee on Wind Tunnel Testing of Buildings and
Structures, American Society of Civil Engineers, New York.
3. ASCE (2002), ASCE7-02: Minimum Design Load for Buildings and Other Structures,
American Society of Civil Engineers, New York.
4. ASCE (2005), ASCE7-05: Minimum Design Loads for Buildings and Other Structures,
American Society of Civil Engineers, New York.
5. Atkinson, G.D. (1971), Forecasters' Guide to Tropical Meteorology, Technical Report 240, Air
Weather Service (MAC), United States Air Force.
6. Australian Standard (2002), Minimum Design Loads on Structures: Part 2 Wind Loads,
Standards Australia, Sydney.
7. Boonyapinyo V., Poovarodom N., Janesupasaeree K. and Klaharn P. (2006), Wind Load Study
for Cladding Design of Central World Hotel by Wind Tunnel Test, Final Report, Civil
Engineering Department, Thammasat University, Thailand, Submitted to Kim Yoo Seng Co.,
Ltd.
8. Davenport, A.G. (1964), Note on the distribution of the largest value of a random function with
application to gust loading, Proceedings, Institution of Civil Engineers, Vol. 28, pp.187-196
9. Davenport, A.G. (1967), Gust loading factors, J. Struct. Div., ASCE, Vol. 93, No. 3, pp. 11-34
10. Davenport, A.G., Surry, D., and Stathopoulos, T. (1978), Wind Load on Low-Rise Building,
Final Report on Phase III, BLWT-SS4, University of Western Ontario, Canada
11. Durst, C.S. (1960), Wind Speed Over Short Periods of Time, Meteorol. Mag., Vol. 89, pp. 181-
186
12. Ellingwood B. R. and Takie P. B. (1999), Wind Load Statistics for Probability-Based Structural
Design, J. Structural Engineering, ASCE, Vol. 125, No. 4, pp. 453-463
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 145
13. Gu M. and Quan Y. (2004), Across-wind loads on typical tall buildings, Journal of Wind
Engineering and Industrial Aerodynamics, Vol. 92, pp. 1147-1165
14. ISO (1986), ISO2394 - General Principles on Reliability for Structures, Geneva, 18 pp.
15. ISO (1997), ISO4354 – Wind Actions on Structures, International Organization for
Standardization, Switzerland.
16. Kareem A. (1985), Lateral-torsional motion of tall buildings to wind loads, J. Struct. Eng.,
ASCE Vol. 111 No. 11, pp. 2479-2496
17. Kareem, A. and Zhou, Y. (2003), Gust Loading Factor-Past, Present and Future, Journal of
Wind Engineering and Industrial Aerodynamics, Vol. 91, pp. 1301-1328
18. Letchford C.W. (2001), Wind Loads on Rectangular Signboards and Hoardings, Journal of
Wind Engineering and Industrial Aerodynamics, Vol. 89, pp. 135-151.
19. Lukkunaprasit, P., Pheinsusom, P., and Euasiriwam, N., (1995), Wind Loading for Tall
Building Design in Thailand, Proc. of 2nd National Convension on Civil Engineering,
Chiangmai, Thailand, pp. 51-61(in Thai).
20. Melbourne, W.H. (1975), Probability Distributions of Response of BHP House to Wind Action
and Model Comparisons, Journal of Industrial Aerodynamics, Vol. 1, pp. 167-175
21. Mikitiuk, M., Surry, D., Lukkunaprasit, P., and Euasiriwan, N. (1995), Probability Based Wind
Loadings for the Design of Transmission Structures, Part A-A Study of The Wind Climate for
Thailand, Joint Research Report by Boundary Layer Wind Tunnel Laboratory, University of
West Ontario and Chulalongkorn University, Thailand, CU/CE/EVR 1995.001.
22. NBCC (2005), National Building Code of Canada, Canadian Commission on Building and Fire
Codes, National Research Council of Canada, Ottawa, Canada.
23. Palutikof, J.P., Brabson, B.B., and Adcock, S.T. (1999), A Review of Methods to Calculate
Extreme Wind Speeds, Meteorol. Appl. Vol. 6, pp.119-132.
24. Plante, R.J. and Guard, C.P.(1990), 1989 Annual Tropical Cyclone Report, U.S. Naval
Oceanography Command Center, Joint Typhoon Warning Center.
146 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
25. Poemsantitham K. (2005), Interference Effects from Adjacent Structures on Wind-included
Forces in Large Billboards, M. Eng. Thesis No. ST-05-5, Asian Institute of Technology,
Thailand.
26. Poovarodom, N., Warnitchai, P., Petcharoen, C., Yinghan, P. and Jantasod, M. (2004), Dynamic
Characteristics of Non-Seismically Designed Reinforced Concrete Buildings with Soft Soil
Condition in Bangkok, Proc. of the 13th World Conference on Earthquake Engineering,
Vancouver BC, Canada. Paper No. 1264, Oxford: Pergamon.
27. Satake, N., Suda, K., Arakawa, T., Sasaki, A. and Tamura, Y. (2003), Damping Evaluation
Using Full-Scale Data of Buildings in Japan, J. Struct. Eng., ASCE Vol. 129 No. 4, pp. 470-
477.
28. Simiu E., Scanlan R. H. (1996), Wind Effects on Structures, 3rd Edition, Wiley, New York.
29. Sintuwong S. (2004), Wind Tunnel Model Test of Large Rectangular Billboards, M. Eng.
Thesis No. ST-04-1, Asian Institute of Technology, Thailand.
30. Warnitchai P. and Sinthuwong S. (2006), Wind Tunnel Model Tests of Large Billboard
Structures, Proceedings of EASCE-10, Bangkok, Thailand.
31. Zhou, Y., Kijewski, T., and Kareem, A. (2002), Along-wind load effects on tall buildings:
comparative study of major International codes and standards, J. Struct. Eng., ASCE, Vol.
128(6), pp. 788-796.
32. Zhou, Y., Kijewski, T., and Kareem, A. (2003), Aerodynamic loads on tall buildings:
Interactive database, J. Struct. Eng., ASCE, Vol. 129 (3), pp. 394-404.
33. ธีรวัฒน ธีรสุขสกุล (2548), การทดสอบในอุโมงคลมสําหรับปายโฆษณาที่มีผลของอาคาร
ขา งเคียง, วทิ ยานิพนธคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร
34. นคร ภูวโรดม, เปนหน่ึง วานิชชัย และ วิโรจน บุญญภิญโญ (2550),การคํานวณแรงลมสถิต
เทียบเทาและการตอบสนองโดยวิธีการอยางละเอียดสําหรับอาคารสูง เพื่อการปรับปรุงมาตรฐาน
การออกแบบอาคารตานทานแรงลม, เอกสารประกอบการประชมุ วชิ าการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ
ครั้งท่ี 12, พษิ ณุโลก, บทความ STR-098
35. นคร ภูวโรดม, มานะ จันทะสด และ เปนหน่ึง วานิชชัย (2548) คุณสมบัติเชิงพลศาสตรของ
อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในกรุงเทพมหานคร วิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนา ปท่ี 16 ฉบับท่ี
2
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 147
36. นเรศ ลิมสัมพันธเจริญ, เปนหนึ่ง วานิชชัย, วิโรจน บุญญภิญโญ และ นคร ภูวโรดม (2550),
ความเร็วลมอางอิงในการออกแบบอาคารสําหรับประเทศไทย, เอกสารประกอบการประชุม
วิชาการวศิ วกรรมโยธาแหงชาติ คร้งั ท่ี 12, พิษณุโลก, บทความ STR-097
37. ปราณี วองวิทวสั (2532), พายุหมุนเขตรอนท่ีเขาสูประเทศไทย, เอกสารวิชาการเลขท่ี 551.166.4-
01-2532 . กรมอตุ นุ ิยมวิทยา
38. ว.ส.ท. (2546), E.I.T.1018-46 - มาตรฐานการคํานวณแรงลมสําหรับการออกแบบอาคาร, สมาคม
วิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
39. วิโรจน บุญญภิญโญ และ กําธร เจนศุภเสรี (2550), การวิเคราะหและออกแบบอากาศพลศาสตร
ของสะพานขึง/ แขวน โดยเคเบิล ดวยการทดสอบในอุโมงคลม, รายงานประจําปท่ี 1, ทุนเพิ่มขีด
ความสามารถดานการวิจัยของอาจารยรุนกลางในสถาบันอุดมศึกษา เสนอสํานักงานกองทุน
สนบั สนุนการวจิ ัย และสํานักงานคณะกรรมการอุดมศกึ ษา
40. วิโรจน บุญญภิญโญ, ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์, สมชาย ชูชีพสกุล, เปนหนึ่ง วานิชชัย, นคร ภู
วโรดม, สุกติ ย เทพมงั กร, นเรศ ลมิ สัมพันธเจริญ และ สุทัศน ลีลาทวีวัฒน (2550 ก), งานวิจัยยอย
ท่ี 1 เร่ืองแผนที่ความเร็วลมอางอิงสําหรับการออกแบบอาคารของประเทศไทย โครงการการ
วิเคราะหหนวยแรงลมที่เกิดขึ้นในสวนตางๆของอาคาร ตามสภาพแวดลอมเพ่ือปรับปรุง
กฎกระทรวงฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2527) เสนอสํานักควบคุมและตรวจสอบอาคาร กรมโยธาธิการและ
ผงั เมือง
41. วิโรจน บุญญภิญโญ, ปณิธาน ลักคุณะประสิทธ์ิ, สมชาย ชูชีพสกุล, เปนหนึ่ง วานิชชัย, นคร ภู
วโรดม, สกุ ติ ย เทพมังกร, นเรศ ลิมสัมพนั ธเ จริญ และ สุทัศน ลีลาทวีวัฒน (2550 ข), งานวิจัยยอย
ท่ี 3 เรื่องการทดสอบแบบจําลองในอุโมงคลมเพ่ือหาคาสัมประสิทธ์ิของหนวยแรงลมโดยวิธีวัด
ความดันลม โครงการการวิเคราะหหนวยแรงลมท่ีเกิดข้ึนในสวนตางๆของอาคาร ตาม
สภาพแวดลอ มเพื่อปรับปรุงกฎกระทรวงฉบบั ที่ 6 (พ.ศ. 2527) เสนอสํานักควบคุมและตรวจสอบ
อาคาร กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง
42. วโิ รจน บุญญภญิ โญ, เปนหนง่ึ วานชิ ชยั , นคร ภวู โรดม, นเรศ ลิมสมั พันธเจริญ, สุกิตย เทพมังกร,
ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์, สมชาย ชูชีพสกุล และ สุทัศน ลีลาทวีวัฒน (2550 ค), การพัฒนา
มาตรฐานการคํานวณแรงลม สําหรับการออกแบบอาคารของประเทศไทย ฉบับใหม, เอกสาร
ประกอบการประชุมวิชาการวศิ วกรรมโยธาแหงชาติ ครง้ั ท่ี 12, พษิ ณโุ ลก, บทความ STR-075
43. วารสารอุตุนยิ มวิทยา (2549), ฉบบั ที่ 1, กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา หนา 4-8.
44. สุวรรณสาม ศรีวิเชียร (2546), แรงลมสําหรับออกแบบปายโฆษณา, วิทยานิพนธคณะ
วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร
148 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
สวนที่ 3
ตวั อยางการคํานวณแรงลมและการตอบสนอง
ตัวอยางการคํานวณแรงลมและการตอบสนอง ไมไดเปนสวนหนึ่งของมาตรฐาน แตมี
วตั ถุประสงคเพอ่ื เปน ขอ มูลเพม่ิ เตมิ เพือ่ ใหผูใชม คี วามเขาใจในการใชมาตรฐานไดด ยี ่ิงข้นึ
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 149
ตวั อยางการคํานวณสําหรับอาคารเตี้ย โดยวธิ ีการอยางงาย
ตวั อยา งท่ี 1 การคํานวณแรงลมสําหรับออกแบบโครงสรางหลักและโครงสรางรองของอาคารเตี้ย
ลักษณะโดยท่ัวไปและขนาดขององคอาคารสาํ หรับโครงสรางหลักและโครงสรางรอง
ในการตานทานแรงลมของอาคารตัวอยางมีดงั ตอไปน้ี
รปู ที่ ต.1.1 ลกั ษณะของอาคารตัวอยาง
- อาคารตัวอยางน้ีตั้งอยูในสภาพภูมิประเทศแบบโลง และตองออกแบบใหรับแรงลมที่เกิดจาก
ความเร็วลมอางองิ 25 เมตรตอ วินาที
- ดา นทีข่ นานกับสันหลงั คา มีความยาว 60 เมตร
- ดา นท่ตี ง้ั ฉากกบั สันหลังคา มคี วามยาว 60 เมตร
- ความชันของหลังคามีคา 1:11.5 (θ = 5.0o)
- ความสงู ของชายคา (eave height) เทากบั 6 เมตรเหนอื พน้ื ดิน
- ความสงู เฉลีย่ ของหลังคา เทากับ 7.31 เมตร
(หมายเหตุ: ในมาตรฐานฯ กําหนดไววา ในกรณีที่คา θ < 7-10o อาจจะเลือกใชความสูงของ
ชายคา (eave height) แทนความสูงเฉล่ียของหลังคาในการคํานวณได แตสําหรับ
กรณขี องตัวอยา งน้ี ใชคาความสงู เฉลย่ี ของหลังคาในการคํานวณ เนื่องจากอาคารมี
ความกวางมาก)
- อาคารมีประตู หนาตาง และชองเปดเพ่ือระบายอากาศ รวมทั้งหมดคิดเปนสัดสวนเทากับ 5%
ของพ้ืนผิวทั้งหมดของอาคาร ประตูและหนาตางมีขนาดใหญและไมสามารถตานทานพายุได
และชอ งเปด มลี กั ษณะกระจายอยางไมส มํ่าเสมอ (non-uniformly distributed) โดยรอบอาคาร
150 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
- โครงสรา งตานแรงลมของอาคาร มีลักษณะดงั ตอไปน้ี
- ระยะหา งระหวางโครงขอแขง็ แตล ะตัว เทา กับ 7.5 เมตร
- ความยาวของโครงเคราของผนังอาคาร (girt) และ แปของหลังคา (purlin) ซ่ึง
เช่อื มตอ ระหวางโครงขอ แข็ง มีคาเทากบั 7.5 เมตร
- ระยะหางของโครงครา วของผนงั (girt spacing) เทา กับ 2 เมตร
- ระยะหางของแปหลงั คา (purlin spacing) เทา กบั 1.5 เมตร
- โครงสรา งของหลงั คา มลี กั ษณะดังตอไปน้ี
- แผนเหลก็ มุงหลงั คา (roof cladding panel) มคี วามกวา งเทา กับ 60 เซนตเิ มตร
- ระยะหางของตัวยึดแผนเหล็กมุงหลังคาบนแป (roof fastener spacing ) เทากับ 30
เซนตเิ มตร
- ผนงั อาคาร มีลักษณะดังตอไปน้ี
- ขนาดของแผนเหล็กมุงผนัง (façade wall) มีความกวางเทากับ 60 เซนติเมตร และ
มคี วามยาวเทากบั 600 เซนติเมตร
- ระยะหางของตัวยึดแผนเหล็กมุงผนังบนโครงเครา (façade wall fastener spacing)
เทา กับ 30 เซนติเมตร
วธิ ที ํา
1. หนวยแรงลมอา งอิงเนื่องจากความเรว็ ลม (q) สามารถคาํ นวณไดจ ากสมการ
q = 1 ρV 2 = 1 ×1.25 × 252 = 390.6 นวิ ตนั /ม.2
22
2. คา ประกอบเนอ่ื งจากสภาพภมู ิประเทศ (Ce )
ความสูงอางอิงของอาคารเตี้ย (low-rise building) สําหรับการคํานวณคาประกอบเนื่องจาก
สภาพภูมิประเทศ คือ ความสูงเฉล่ียของหลังคาเหนือพ้ืนดิน แตตองไมนอยกวา 6 เมตร ใน
กรณีนคี้ วามสงู เฉลย่ี ของอาคารเทา กบั 6 +15tan 5Ο = 7.31 เมตร ดงั นัน้ คา ประกอบเนื่องจาก
สภาพภูมปิ ระเทศ (Ce ) จะมีคา เทา กับ
Ce = ⎛⎜ z ⎟⎞0.2 = ⎜⎛ 7.31⎞⎟0.2 = 0.94 ≥ 0.9 ใชได
⎝10 ⎠ ⎝ 10 ⎠
3. คาประกอบเนื่องจากผลการกระโชกลม และคาสัมประสิทธิ์หนวยแรงลมที่กระทําภายใน
อาคาร ( Cgi C pi )
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 151
สําหรับอาคารตามตัวอยางนี้ เมื่อพิจารณาตามขอกําหนดที่เกี่ยวกับหนวยแรงลมภายในอาคาร
แลว จะพบวา อาคารดังกลาวนจ้ี ดั อยใู นกรณที ่ี 3 (ดูหัวขอที่ 2.6 ในมาตรฐานฯ) เนื่องจากมีชอง
เปดคิดเปนสัดสวนมากกวา 0.1% ของพื้นท่ีท้ังหมด มีประตูและหนาตางขนาดใหญ และไม
สามารถตานทานพายุได และลักษณะของชองเปด กระจายอยางไมสมํ่าเสมอรอบอาคาร
ดงั น้ันจงึ ใชตอ งเลอื กใชคา C pi = ± 0.7 และ Cgi = 2.0 สาํ หรับการคํานวณหาคาหนว ย
แรงลมภายในอาคาร ตามสมการ pi = IwqCeCgiC pi โดยที่ Iw = 1
ดังน้นั หนว ยแรงลมภายในอาคาร จะมีคาเทา กบั
pi = I wqCeCgiC pi = 1× 390.6 × 0.94 × 2 × (±0.7) = ±514.0 นิวตนั /ม.2
คาหนวยแรงลมภายในอาคารซ่งึ มีท้งั คาบวกและลบทีค่ าํ นวณไดน้ี จะถกู นาํ ไปรวมกบั คา หนวย
แรงลมภายนอกอาคารเพ่อื คํานวณหาคาหนวยแรงลมสทุ ธสิ าํ หรับการออกแบบในหัวขอ ตอ ไป
4. การคํานวณคาหนวยแรงลมสุทธิ
4.1 การคํานวณคา หนว ยแรงลม สําหรบั การออกแบบโครงสรางหลกั ของอาคาร
ความกวาง y ของพืน้ ทข่ี อบของอาคาร มีขั้นตอนในการคาํ นวณดังตอ ไปน้ี
ระยะ y = คา ที่มากกวาระหวา ง 6 เมตร และ 2z โดยที่
ระยะ z = คา ท่ีนอยกวาระหวาง 10% ของความกวางดานที่แคบท่ีสุดของอาคาร และ 40%
ของความสูง (แตตองไมนอยกวา 4% ของดานท่ีแคบท่ีสุด และไมนอยกวา 1
เมตร)
= คา ทน่ี อ ยกวา ระหวาง 10 × 60 = 6.0 เมตร และ 40 × 6.0 = 2.4 เมตร
100 100
∴ z = 2.4 เมตร (ซึ่งเทากับ 4 × 60 = 2.4 เมตร และไมน อ ยกวา 1 เมตร)
100
ระยะ y = คา ท่มี ากกวา ระหวาง 6 เมตร และ 2z
= คาท่มี ากกวาระหวาง 6 เมตร และ 2 × 2.4 = 4.8 เมตร
ดงั น้นั y = 6 เมตร
152 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
กรณีที่ 1: ทิศทางลมโดยท่ัวไปอยใู นแนวตง้ั ฉากกบั สันหลังคา
รปู ท่ี ต.1.2 การแบงโซนบนพ้ืนผิวกําแพงและหลังคาของอาคารตัวอยาง สําหรับการคํานวณหนวย
แรงลมภายนอกอาคาร เมอื่ ทิศทางลมโดยท่วั ไปอยูในแนวตง้ั ฉากกับสนั หลงั คา
คาสัมประสิทธิ์ CgCp สําหรับการคํานวณหาหนวยแรงลมภายนอกอาคาร สําหรับแรงลม
กระทําตามกรณีท่ี 1 (ทิศทางลมโดยท่ัวไปอยูในแนวตั้งฉากกับสันหลังคา) สามารถเลือกใชได
จากตารางในรูป ข.1 ในมาตรฐานฯ ซึ่งเพ่ือความสะดวกจึงไดนํามาสรุปไวในรูปที่ ต.1.2 และ
ตารางที่ ต.1-1
ตารางท่ี ต.1-1 คาสัมประสทิ ธ์ิ CgCp สําหรบั แรงลมกระทําตามกรณที ่ี 1
มมุ ของหลังคา 1 พืน้ ทผ่ี ิวของอาคาร
1E 2 2E 3 3E 4 4E
0-5o 0.75 1.15 -1.3 -2.0 -0.7 -1.0 -0.55 -0.8
ในกรณีของอาคารตัวอยางนี้ เนื่องจากอัตราสวน B / H = 10 ซ่ึงมากกวา 5 ดังนั้นคา
สัมประสิทธ์ิที่เปนลบสําหรับพ้ืนผิว 2 และ 2E สามารถใชไดกับพ้ืนท่ีท่ีกวาง 2.5H ซ่ึงเทากับ
15 เมตร จากขอบของอาคารดานตนลม สําหรับพ้ืนที่สวนท่ีเหลือบนพื้นผิว 2 และ 2E สามารถ
ลดคา ลงโดยใชคาเทากบั สมั ประสิทธิ์สําหรับพ้ืนผิว 3 และ 3E ตามลําดบั
หนวยแรงลมสุทธิ ( pnet ) เปนการรวมกันแบบเวคเตอรระหวางหนวยแรงลมภายนอกอาคาร
และหนว ยแรงลมภายในอาคารตามสมการ pnet = p + pi โดยท่ี
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 153
p = IW qCeCgCp คอื คา หนว ยแรงลมท่ีกระทําภายนอกอาคาร
pi = IW qCeCgiCpi คือคาหนวยแรงลมที่กระทําภายในอาคาร ซ่ึงมีทั้งคาบวกและลบตามที่
คํานวณไวแลว ในหัวขอท่ผี า นมา
ในกรณขี องอาคารตวั อยา ง คา p และ pi มีคาเทากับ
p = I wqCeCgC p = 1× 390.6 × 0.94 × CgC p = 367.2 × CgC p มีหนวยเปนนิวตัน/ม.2 เมื่อ
แทนคา CgCp ตามตาราง ต.1-1 แลว จะไดคาหนวยแรงลมภายนอกอาคารท่ีกระทําในโซน
ตา งๆ ดังแสดงในตารางท่ี ต.1-2
ตารางท่ี ต.1-2 คาหนวยแรงลมภายนอกและหนว ยแรงลมสุทธิ สําหรับกรณที ่ี 1
พน้ื ผิวอาคาร หนว ยแรงลมภายนอก หนวยแรงลมสุทธิ (นิวตนั ตอ ตารางเมตร)
(แบง ตามโซน) (นิวตนั ตอตารางเมตร) หนวยแรงดันภายในเปน บวก หนว ยแรงดนั ภายในเปนลบ
1 275 -239 789
1E 422 -92 936
2 -477 -991 37
2E -734 -1248 -220
3 -257 -771 257
3E -367 -881 147
4 -202 -716 312
4E -294 -808 220
หมายเหตุ : คา หนว ยแรงลมภายในทใ่ี ชใ นการคํานวณเทา กับ ± 514.0 นวิ ตนั ตอ ตารางเมตร
154 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
ก. หนว ยแรงลมภายนอก ข. หนวยแรงลมภายในเปน บวก
ค. หนว ยแรงลมสุทธิ
รปู ที่ ต.1.3 คาหนวยแรงลมสุทธิ (นิวตัน/ม.2) ที่กระทํากับพื้นผิวโซนตางๆ ของอาคารตัวอยาง เม่ือ
ทิศทางลมโดยทั่วไปอยูในแนวตั้งฉากกับสันหลังคา และหนวยแรงลมภายในมีคาเปน
บวก
หมายเหตุ : แรงลมสุทธิมีทั้งคาบวกและลบ ซึ่งหมายถึง หนวยแรงลมที่กระทําต้ังฉากพุงเขาหา
พืน้ ผวิ และพุง ออกจากพน้ื ผวิ อาคารตามลําดับ
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 155
ก. หนว ยแรงลมภายนอก ข. หนว ยแรงลมภายในเปน ลบ
ค. หนวยแรงลมสุทธิ
รปู ที่ ต.1.4 คาหนวยแรงลมสุทธิ (นิวตัน/ม.2) ที่กระทํากับพื้นผิวโซนตางๆ ของอาคารตัวอยาง เมื่อ
ทิศทางลมโดยทัว่ ไปอยูในแนวตง้ั ฉากกับสนั หลงั คา และหนว ยแรงลมภายในมคี าเปนลบ
คาสัมประสิทธ์ิ CgCp สําหรับการคํานวณหาหนวยแรงลมภายนอกอาคาร สําหรับแรงลม
กระทําตามกรณีที่ 2 (ทิศทางลมโดยทั่วไปอยูในแนวขนานกับสันหลังคา) สามารถพิจารณาได
จากตารางในรูป ข.1 ในมาตรฐานฯ ซึ่งไดนํามาสรุปไวในรูปที่ ต.1.5 และตารางท่ี ต.1-3 เพ่ือ
ความสะดวก
ตารางที่ ต.1-3 คา สมั ประสิทธ์ิ CgCp สําหรบั แรงลมกระทําตามกรณที ่ี 2
มุมของหลังคา 1 1E 2 2E พืน้ ทีผ่ วิ ของอาคาร 5E 6 6E
3 3E 4 4E 5
0-90 -0.85 -0.9 -1.3 -2.0 -0.7 -1.0 -0.85 -0.9 0.75 1.15 -0.55 -0.8
156 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
กรณที ่ี 2: ทศิ ทางลมโดยท่วั ไปอยใู นแนวขนานกับสันหลังคา
รูปท่ี ต.1.5 การแบงโซนบนพ้ืนผิวกําแพงและหลังคาของอาคารตัวอยาง สําหรับการคํานวณหนวย
แรงลมภายนอกอาคาร เมือ่ ทิศทางลมโดยทั่วไปอยูในแนวขนานกับสนั หลังคา
เชนเดียวกันกับแรงลมกระทํากรณีท่ี 1 ท่ีไดคํานวณไปแลวนั้น หนวยแรงลมสุทธิสําหรับแรงลม
กระทํากรณีที่ 2 สามารถคํานวณไดโ ดยใชส มการ pnet = p + pi
ซึ่งในกรณขี องอาคารตวั อยา งนี้
p = I wqCeCgC p = 1× 390.6 × 0.94 × CgC p = 367.2 × CgC p มีหนวยเปนนิวตัน/ม.2 เม่ือ
แทนคา CgCp ตามตารางที่ ต.1-3 แลว จะไดคาหนวยแรงลมภายนอกอาคารที่กระทําในโซน
ตา งๆ ดงั แสดงในตารางที่ ต.1-4
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 157
ตารางท่ี ต.1-4 คา หนว ยแรงลมภายนอกและหนว ยแรงลมสุทธิ สาํ หรบั กรณที ่ี 2
พืน้ ผิวอาคาร หนว ยแรงลมภายนอก หนวยแรงลมสุทธิ (นิวตันตอ ตารางเมตร)
(แบงตามโซน) (นวิ ตนั ตอ ตารางเมตร) หนว ยแรงลมภายในเปน หนวยแรงลมภายในเปน
บวก ลบ
1 -312 -826 202
1E -330 -844 184
2 -477 -991 37
2E -734 -1248 -220
3 -257 -771 257
3E -367 -881 147
4 -312 -826 202
4E -330 -844 184
5 275 -239 789
5E 422 -92 936
6 -202 -716 312
6E -294 -808 220
หมายเหตุ : คา หนวยแรงลมภายในทใี่ ชใ นการคํานวณเทา กบั ± 514.0 นวิ ตนั ตอ ตารางเมตร
158 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
รปู ที่ ต.1.6 คาหนวยแรงลมสุทธิ (นิวตัน/ม.2) ท่ีกระทํากับพ้ืนผิวโซนตางๆ ของอาคารตัวอยาง เม่ือ
ทิศทางลมโดยท่ัวไปอยูในแนวขนานกับสันหลังคา และหนวยแรงลมภายในมีคาเปน
บวก
รปู ที่ ต.1.7 คาหนวยแรงลมสุทธิ (นิวตัน/ม.2) ท่ีกระทํากับพื้นผิวโซนตางๆ ของอาคารตัวอยาง เมื่อ
ทิศทางลมโดยท่ัวไปอยูในแนวขนานกับสันหลังคา และหนวยแรงลมภายในมีคาเปน
ลบ
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 159
4.2 การคาํ นวณหนว ยแรงลมสาํ หรบั การออกแบบผนงั อาคาร หลังคา และช้นิ สว นของ
โครงสรางรอง
- การคํานวณหนวยแรงลมสําหรับการออกแบบชิ้นสวนโครงสรางรองของผนังและ
หลงั คา จะตองเลอื กคาสัมประสิทธ์ิ CpCg ท่ีเหมาะสมมาใช เน่ืองจากคาสัมประสิทธ์ิ
ดังกลาวแปรผันกับพื้นท่ีรับลมขององคอาคารที่ออกแบบ (design tributary area)
ดังนั้นในเบ้ืองตนตองทําการคํานวณหาพ้ืนท่ีรับลมสําหรับองคอาคารประเภทตางๆ
เสียกอน
สาํ หรบั การออกแบบช้ินสว นโครงสรา งรองของผนัง ซึ่งไดแ ก
โครงครา วผนัง
พื้นที่รบั ลมของโครงเครา ผนัง = 7.5 เมตร x 2 เมตร = 15 ตารางเมตร
แผนเหลก็ มุงผนัง
พ้นื ทีร่ บั ลมของแผน เหลก็ มุงผนัง = 2 เมตร x 0.6 เมตร = 1.2 ตารางเมตร
ตวั ยดึ แผนเหล็กมุงผนงั บนโครงเครา
พน้ื ทร่ี ับลมของตวั ยดึ แผนเหลก็ มุงผนงั บนโครงเครา = 2 เมตร x 0.3 เมตร
= 0.6 ตารางเมตร
จากรูป ข. 2 ในมาตรฐานฯ จะไดวา คา CpCg สําหรับการออกแบบช้ินสวน
โครงสรางรองของผนังแสดงไวในรูปของกราฟ ซึ่งแปรผันตามพ้ืนท่ีรับลม และเมื่อ
พิจารณาพ้ืนท่ีรับลมตามที่คํานวณไวขางตนแลว จะไดคา CpCg ดังแสดงในตารางที่
ต.1-5
ตารางท่ี ต.1-5 คาสัมประสิทธิ์ สาํ หรบั การคํานวณแรงลมเพ่ือออกแบบโครงสรา งของผนังอาคาร
ช้ินสว นโครงสรางรอง C p C *
g
Zone e Zone w
โครงเคราผนัง (Girt) +1.45 -1.70 +1.45 -1.60
แผนเหล็กมงุ ผนงั (Wall panel) +1.73 -2.07 +1.73 -1.77
ตวั ยดึ แผน เหลก็ มงุ ผนังบนโครง เครา +1.75 -2.10 +1.75 -1.80
(Wall panel fastener)
* คา สมั ประสิทธิ์ CpCg ดงั กลาวเปน คา โดยประมาณจากกราฟ
160 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
คาแรงลมสทุ ธิ สําหรับการออกแบบชิ้นสวนโครงสรางรองของผนงั สามารถคํานวณ
ไดจากสมการ pnet = p + pi
สาํ หรับการคาํ นวณแรงลมทก่ี ระทาํ กบั โครงเครา ผนงั ท่ีอยใู นโซน e จะไดคาหนว ย
แรงลมภายนอกอาคารมีคาเทา กับ
p = I wqCeCgC p = 1× 390.6 × 0.94 ×1.45 = 532 นวิ ตัน/ม.2 และ
p = I wqCeCgC p = 1× 390.6 × 0.94 × (−1.70) = −624 นวิ ตนั /ม.2
สวนคา แรงลมภายในอาคารมคี า เทา กับ pi = IwqCeCgiC pi = ±514.0 นิวตนั /ม.2
เมือ่ พิจารณาผลรวมแบบเวคเตอรข องหนว ยแรงลมภายนอกและภายในอาคารแลว จะ
พบวา
คาหนว ยแรงลมท่เี ปน บวกมคี า มากที่สดุ เทา กบั 532 + 514 = 1046 นวิ ตนั /ม.2
คา หนวยแรงลมทเี่ ปน ลบมีคามากท่ีสุดเทา กบั − 624 − 514 = −1138 นิวตนั /ม.2 ซ่งึ
เปน คาท่จี ะนํามาใชเพ่อื การออกแบบตอไป
จากแนวทางการคํานวณตามตัวอยางการคํานวณขางตน สามารถหาคาหนวยแรงลม
สําหรับการออกแบบชิ้นสวนโครงสรางรองของผนัง ประเภทอื่นไดดังสรุปไวใน
ตารางท่ี ต.1-6
ตารางท่ี ต.1-6 หนวยแรงลมสทุ ธิสําหรบั ออกแบบโครงสรา งผนงั อาคาร
ช้นิ สว นโครงสรางรอง หนวยแรงลมสุทธิ (นิวตนั ตอ ตาราง
เมตร)
โครงเครา ผนงั (Girt)
แผนเหลก็ มุงผนัง (Wall panel) Zone e Zone w
ตัวยดึ แผนเหลก็ มุงผนงั บนโครงเครา +1046 -1138 +1046 -1011
+1148 -1273 +1148 -1163
(Wall panel fastener) +1156 -1284 +1156 -1174
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 161
- การคํานวณหนวยแรงลมสําหรับการออกแบบช้ินสวนโครงสรางรองของหลังคา
ผูออกแบบจําเปนที่จะตองเลือกใชคาสัมประสิทธิ์ CpCg ท่ีเหมาะสมเชนเดียวกันกับ
กรณีของผนังอาคาร เน่ืองจากคาสัมประสิทธิ์แปรผันกับพื้นที่รับลมขององคอาคารที่
ออกแบบ (design tributary area) ดังน้ันในเบ้ืองตนตองทําการคํานวณหาพ้ืนท่ีรับลม
สําหรับองคอาคารประเภทตา งๆ เสียกอน
สาํ หรบั การออกแบบชนิ้ สว นโครงสรางรองของหลงั คา ซง่ึ ไดแก
แป
พน้ื ทรี่ บั ลมของแป = 7.5 เมตร x 1.5 เมตร = 11.25 ตารางเมตร
แผน เหลก็ มงุ หลังคา
พ้ืนท่รี บั ลมของแผนเหล็กมงุ หลงั คา = 1.5 เมตร x 0.6 เมตร = 0.9 ตารางเมตร
ตวั ยดึ แผน เหลก็ มงุ หลงั คาบนแป
พน้ื ทรี่ ับลมของตวั ยดึ แผน เหลก็ มุงหลงั คาบนแป = 1.5 เมตร x 0.3 เมตร
= 0.45 ตารางเมตร
จากรูปข. 3 ในมาตรฐานฯ จะไดวา คา CpCg สําหรับการออกแบบชิ้นสวน
โครงสรางรองของหลงั คาแสดงไวในรปู ของกราฟ ซึ่งแปรผนั ตามพ้นื ที่รับลม และ
เม่ือพิจารณาพื้นที่รับลมตามที่คํานวณไวขางตนแลว จะไดคา CpCg ดังแสดงใน
ตารางที่ ต.1-7
ตารางที่ ต.1-7 คาสัมประสทิ ธิ์ สาํ หรับการคํานวณแรงลมเพอื่ ออกแบบโครงสรา งของผนังอาคาร
ชิ้นสวนโครงสรางรอง Zone s CpCg Zone c
+0.30 -2.00
Zone r +0.50 -5.38
แป (Purlin) +0.30 -2.00 +0.30 -1.50 +0.50 -5.38
แผน เหลก็ มงุ หลังคา +0.50 -2.50 +0.50 -1.85
(Roof panel)
ตัวยดึ แผน เหลก็ มงุ หลังคาบน +0.50 -2.50 +0.50 -1.85
แป (Roof panel fastener)
* คาสัมประสิทธิ์ CpCg ดังกลาวเปน คาโดยประมาณจากกราฟ
162 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
คา แรงลมสทุ ธิ สาํ หรับการออกแบบช้ินสวนโครงสรา งรองของหลงั คา สามารถ
คํานวณไดจากสมการ pnet = p + pi
สําหรับการคํานวณแรงลมทกี่ ระทาํ กับแปรของหลงั คาท่ีอยใู นโซน s จะไดคา
หนวยแรงลมภายนอกอาคารมคี า เทา กบั
p = I wqCeCgC p = 1× 390.6 × 0.94 × 0.30 = 110 นิวตนั /ม.2 และ
p = I wqCeCgC p = 1× 390.6 × 0.94 × (−2.00) = −734 นวิ ตัน/ม.2
สว นคาแรงลมภายในอาคารมคี าเทากับ pi = IwqCeCgiCpi = ±514.0 นิวตัน/ม.2
เมอื่ พจิ ารณาผลรวมแบบเวคเตอรของหนว ยแรงลมภายนอกและภายในอาคารแลว
จะพบวา
คา หนว ยแรงลมท่เี ปนบวกมคี า มากทสี่ ุดเทา กบั 110 + 514 = 624 นิวตนั /ม.2
คาหนวยแรงลมท่เี ปนลบมีคามากท่สี ุดเทา กบั − 734 − 514 = −1248 นิวตนั /ม.2
ซงึ่ เปน คาทจ่ี ะนํามาใชเ พอ่ื การออกแบบตอ ไป
จากแนวทางการคํานวณตามตัวอยางการคํานวณขางตน สามารถหาคาหนวย
แรงลมสําหรบั การออกแบบชิ้นสว นโครงสรางรองของผนัง ประเภทอื่นไดดังสรุป
ไวในตารางท่ี ต.1-8
ตารางที่ ต.1-8 หนว ยแรงลมสทุ ธิสําหรับออกแบบโครงสรา งหลังคาของอาคาร
ชน้ิ สว นโครงสรางรอง หนวยแรงลมสุทธิ (นิวตนั ตอ ตารางเมตร)
Zone s Zone r Zone c
แป (Purlin) +624 -1248 +624 -1034 +624 -1247
แผน เหลก็ มุงหลงั คา +697 -1431 +697 -1192 +697 -2488
(Roof panel)
ตวั ยดึ แผนเหลก็ มงุ หลงั คาบน +697 -1431 +697 -1192 +697 -2488
แป (Roof panel fastener)
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 163
ตัวอยางการคํานวณของอาคารสงู ปานกลาง โดยวธิ ีการอยา งงา ย
ตัวอยางที่ 2 ใหคํานวณหนวยแรงลมสําหรับออกแบบโครงสรางหลักของอาคารพักอาศัยที่มีขนาด
30x45 เมตร และสงู 80 เมตร ในกรณีดงั ตอ ไปนี้
ก. ความเร็วลมอางอิงตามที่กําหนดในมาตรฐานเทากับ 27 ม./วินาที และอาคารต้ังอยู
บริเวณสภาพภูมิประเทศแบบโลง
ข. ใหท าํ ตารางหนวยแรงลมสถติ เทียบเทาสําหรบั ออกแบบโครงสรา งหลกั ของอาคาร
สําหรบั ความเร็วลมอา งอิงตามที่กําหนดในมาตรฐานเทากับ 25, 27, 29 และ 30 ม./
วินาที และสภาพภมู ปิ ระเทศแบบ A และ B
รปู ที่ ต.2.1 ขนาดของอาคาร
วธิ ีทํา
การคํานวณหนวยแรงลมสําหรับการออกแบบโครงสรางหลักตานทานแรงลม ของอาคาร
สูงไมเกิน 80 เมตร และมีความสูงไมเกิน 3 เทาของความกวางประสิทธิผลที่นอยที่สุด สามารถใช
วิธีการคํานวณอยางงายในการออกแบบตามมาตรฐาน การคํานวณคาหนวยแรงลมโดยวิธีการอยาง
งาย เมื่อลมกระทําในทิศทาง xx และ yy จะใหผลลัพธเหมือนกัน ในตัวอยางน้ี จะแสดงเมื่อลม
กระทําในทิศทาง yy
164 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
ก. ความเร็วลมอา งอิงเทากับ 27 ม./วนิ าที และอาคารตง้ั อยบู รเิ วณสภาพภูมปิ ระเทศแบบโลง
พจิ ารณาลมกระทาํ ในทิศทาง yy
ความเรว็ ลมอา งอิง (V ) สาํ หรับการออกแบบทีส่ ภาวะจาํ กัดดานกาํ ลงั = 27 ม./วินาที
หนว ยแรงลมอา งอิงเน่ืองจากความเรว็ ลม
q = 1 ρV 2 = 1 ×1.25× 272 = 455.625 นวิ ตัน/ม.2
22
สําหรับอาคารพักอาศัย อยูในประเภทความสําคัญปกติ ดังนั้น คาประกอบความสําคัญของ
แรงลม (Iw ) = 1
อาคารตั้งอยูบริเวณสภาพภูมิประเทศแบบโลง ดังน้ัน ใชคาประกอบเน่ืองจากสภาพภูมิ
ประเทศ (Ce ) แบบ A
Ce ดา นตนลม = ⎜⎛ z ⎞⎟0.2 = 0.63z0.2 ดงั แสดงในตารางที่ ต.2-1
⎝10 ⎠
Ce ดา นทายลม = ⎛⎜ H / 2 ⎟⎞0.2 = ⎛⎜ 40 ⎞⎟0.2 = 1.32 (คดิ ท่คี วามสูง H/2)
⎝ 10 ⎠
⎝ 10 ⎠
ตารางที่ ต.2-1 คา ประกอบเนอื่ งจากสภาพภูมปิ ระเทศ (Ce )
ความสูงจากพื้นดิน (เมตร) คา ประกอบเน่ืองจากสภาพภมู ปิ ระเทศ (Ce )
0 – 10 1.00
10 – 20 1.15
20 – 30 1.25
30 – 40 1.32
40 – 60 1.43
60 – 80 1.52
คาประกอบเนือ่ งจากผลการกระโชกของลม (Cg ) สําหรับออกแบบโครงสรางหลักโดยวิธีการ
อยา งงาย = 2
คา สัมประสทิ ธ์ขิ องหนว ยแรงลม = 0.8
Cp ดานตน ลม = -0.5
Cp ดา นทา ยลม
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 165
หนวยแรงลมสถิตเทยี บเทาที่กระทาํ กบั อาคารดานตน ลม
=p I wqCeCg C p = 1×455.625×0.63×Z0.2×2×0.8
= 459.272 Z0.2 ดงั แสดงในตารางที่ ต.2-2 และรูปท่ี ต.2.2
หนว ยแรงลมสถติ เทยี บเทา ท่ีกระทาํ กบั อาคารดานทายลม
=p I wqCeCg C p = 1×455.625×1.32×2×(-0.5)
= -601.20 นวิ ตนั /ม.2 ดงั แสดงในตารางท่ี ต.2-2 และรปู ที่ ต.2.2
ตารางที่ ต.2-2 หนว ยแรงลมสถติ เทยี บเทา ดา นตน ลม ทา ยลม และรวมหนวยแรงลม
ความสงู จากพ้นื ดิน หนวยแรงลมดานตนลม หนว ยแรงลมดานทายลม รวมหนวยแรงลมดาน
(เมตร) (นวิ ตนั /ม.2) (นวิ ตัน/ม.2) ตนลมและทายลม
(นวิ ตัน/ม.2)
0 – 10 729 - 601 1330
10 – 20 837 - 601 1439
20 – 30 908 - 601 1509
30 – 40 962 - 601 1563
40 – 60 1043 - 601 1644
60 – 80 1105 - 601 1706
1105 นวิ ตนั /ม.2 - 601 นวิ ตนั /ม.2
80 ม.
30 ม.
รปู ท่ี ต.2.2 หนวยแรงลมสถติ เทียบเทาดานตน ลมและทา ยลม
166 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
ข. ตารางหนว ยแรงลมสถิตเทยี บเทา สาํ หรับออกแบบโครงสรางหลักของอาคาร
ใชวิธีการคํานวณแบบเดียวกับ ก. จะไดหนวยแรงลมสถิตเทียบเทาสําหรับออกแบบ
โครงสรางหลักตานทานแรงลม สําหรับอาคารรูปทรงส่ีเหล่ียม และประเภทของอาคารที่มี
ความสําคัญปกติ แสดงในตารางที่ ต.2-3 ถึง ต.2-6 สําหรับความเร็วลมอางอิง ตามท่ีกําหนดใน
มาตรฐาน เทา กับ 25, 27, 29 และ 30 ม./วินาที ตามลําดบั
ตารางท่ี ต.2-3 หนว ยแรงลมสถิตเทียบเทาสําหรับออกแบบโครงสรางหลักตานทานแรงลม สําหรับ
อาคารรูปทรงสเ่ี หลยี่ ม สาํ หรบั ความเรว็ ลมอา งอิง 25 ม./วินาที
ความสูงจากพน้ื ดนิ , เมตร หนว ยแรงลม, นิวตัน/ม.2 (กก./ม.2)
สภาพภมู ิประเทศแบบ A
0 - 10 1140 (115)
10 - 20 1235 (125)
20 - 40 1340 (135)
40 - 60 1410 (145)
60 - 80 1465 (150)
ตารางที่ ต.2-4 หนว ยแรงลมสถิตเทียบเทาสําหรับออกแบบโครงสรางหลักตานทานแรงลม สําหรับ
อาคารรูปทรงสเ่ี หล่ยี ม สําหรับความเรว็ ลมอา งอิง 27 ม./วินาที
ความสงู จากพนื้ ดิน, เมตร หนว ยแรงลม, นิวตนั /ม.2 (กก./ม.2)
0 - 10 สภาพภมู ิประเทศแบบ A สภาพภมู ิประเทศแบบ B
10 - 20
20 - 40 1330 (135) 965 (100)
40 - 60
60 - 80 1440 (145) 1055 (110)
1565 (160) 1190 (120)
1645 (170) 1285 (130)
1705 (175) 1360 (140)
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 167
ตารางท่ี ต.2-5 หนวยแรงลมสถิตเทียบเทาสําหรับออกแบบโครงสรางหลักตานทานแรงลม สําหรับ
อาคารรปู ทรงส่ีเหลีย่ ม สาํ หรบั ความเรว็ ลมอางองิ 29 ม./วินาที
ความสงู จากพนื้ ดนิ , เมตร หนวยแรงลม, นวิ ตัน/ม.2 (กก./ม.2)
0 - 10 สภาพภูมปิ ระเทศแบบ A สภาพภูมิประเทศแบบ B
10 - 20
20 - 40 1535 (155) 1115 (115)
40 - 60
60 - 80 1660 (170) 1215 (125)
1805 (185) 1375 (140)
1900 (195) 1480 (150)
1970 (200) 1570 (160)
ตารางท่ี ต.2-6 หนวยแรงลมสถิตเทียบเทาสําหรับออกแบบโครงสรางหลักตานทานแรงลม สําหรับ
อาคารรูปทรงสี่เหล่ยี ม สําหรับความเรว็ ลมอา งองิ 30 ม./วินาที
ความสงู จากพนื้ ดิน, เมตร หนวยแรงลม, นิวตนั /ม.2 (กก./ม.2)
0 - 10 สภาพภูมิประเทศแบบ A สภาพภูมิประเทศแบบ B
10 - 20
20 - 40 1640 (165) 1195 (120)
40 - 60
60 - 80 1775 (180) 1300 (135)
1930 (195) 1470 (150)
2030 (205) 1585 (160)
2105 (215) 1680 (170)
168 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
หมายเหตุ
1. หนวยแรงลมสถิตเทียบเทาไดรวมหนวยแรงลมดานตนลม และทายลมมากระทําที่ดาน
ตน ลม
2. สามารถนําตารางท่ี ต.2-3 ถึง ต.2-6 มาใชสําหรับออกแบบหนวยแรงลมสถิตเทียบเทา
สําหรับอาคารสูงปานกลางท่ีมีความสูงไมเกิน 80 ม. และมีความสูงไมเกิน 3 เทาของ
ความกวางประสิทธิผลท่ีนอยที่สุดได โดยใหคาท่ีปลอดภัย เน่ืองจากแรงลมดานทายลม
คิดท่ีความสูง 80/2 = 40 ม. ท้ังน้ี อาคารดังกลาว ตองมีความสูงมากกวาความกวาง ตาม
รปู ท่ี ข.9 ในมาตรฐาน
3. ในกรณีที่ประเภทความสําคัญของอาคารแตกตางไปจากท่ีกําหนด ใหใชคาประกอบ
ความสาํ คญั ของแรงลมไปคูณคา ท่ีไดจากตารางท่ี ต.2-3 ถึง ต.2-6
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 169
ตวั อยา งการคํานวณของอาคารสงู
ตัวอยา งท่ี 3 ใหคํานวณแรงลมเพื่อการออกแบบและผลตอบสนอง สําหรับอาคารที่มีขนาด 30×45
เมตร สูง 180 เมตร ตั้งอยูในสภาพภูมิประเทศแบบชานเมือง (แบบ B) โดยมีความเร็ว
ลมอางอิง (เปนคาความเร็วลมเฉล่ียในชวงเวลา 1 ชั่วโมง ที่ความสูง 10 เมตรจาก
พื้นดิน ในสภาพภูมิประเทศโลง สําหรับคาบเวลากลับ 50 ป) เทากับ 25 เมตร/วินาที
และมคี ุณสมบตั ิของอาคารดงั ตอไปน้ี
• ความถีธ่ รรมชาติของอาคารสาํ หรับรปู แบบการสัน่ ไหวพ้ืนฐานในทิศทาง yy = 0.25 รอบ/วินาที
• ความถี่ธรรมชาตขิ องอาคารสาํ หรบั รปู แบบการสั่นไหวพื้นฐานในทิศทาง xx = 0.20 รอบ/วนิ าที
• ความถี่ธรรมชาติของอาคารสําหรับรูปแบบการสั่นไหวพ้ืนฐานในทิศทางบิด = 0.30 รอบ/
วินาที
• อตั ราสวนความหนว งสาํ หรับในแตละทศิ ทาง (βD , βW , βT ) มคี าเทากบั 0.015
• ความหนาแนน เฉลี่ยของมวลอาคาร (ρB ) = 200 กโิ ลกรมั ตอ ลูกบาศกเมตร
y
x 45 เมตร
30 เมตร
รปู ที่ ต.3.1 แปลนอาคาร
170 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
วิธที าํ
เนื่องจากอาคารเปนอาคารสูง เกิน 80 เมตรตามหัวขอ 3.1 (ก) จึงตองใชการคํานวณแรงลมและการ
ตอบสนองในทิศทางลมโดยวิธีการอยางละเอียดในบทท่ี 3 และเนื่องจากอาคารมีคา อัตราสวน
H = 180 = 4.9 แ ล ะ D W = 45 30 = 1.5 ( ห รื อ D W = 30 45 = 0.667 เ มื่ อ
WD 30 × 45
พิจารณาลมในอีกทิศทาง) ตามหัวขอ 4.1 (ก) และ (ข) จึงใชการคํานวณแรงลมและการตอบสนอง
ในทิศตง้ั ฉากกบั ทศิ ทางลมและโมเมนตบดิ โดยวิธีการในบทที่ 4
อาคารนี้จัดอยูในประเภทอาคารที่มีความสําคัญปกติ ดังน้ัน คาประกอบความสําคัญของแรงลม
(Iw ) สําหรับสภาวะจํากัดดานกําลัง (การคํานวณแรงลมสําหรับการออกแบบ) ใชเทากับ 1.0 และ
สําหรบั สภาวะจาํ กดั ดา นการใชง าน (การคํานวณการตอบสนองของอาคาร) ใชเ ทา กับ 0.75
อาคารมีรูปตัดเปนส่ีเหล่ียมผืนผา ดังน้ันจึงพิจารณากรณีท่ีลมกระทําในทิศทาง xx และ yy เพื่อ
คาํ นวณแรงลมและผลตอบสนองในทิศทางลมและในทิศตั้งฉากกับทิศทางลม และคํานวณโมเมนต
บดิ
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 171
ก. ลมกระทาํ ในทศิ ทาง yy
ความกวา งของอาคารในทิศทางตง้ั ฉากกับลม (W ) = 30 เมตร
ความลึกของอาคารในทศิ ทางขนานกบั ลม (D) = 45 เมตร
ความถธี่ รรมชาติของอาคารสําหรับรูปแบบการส่ันไหวพ้ืนฐานในทศิ ทางลม (nD )
= 0.25 รอบ/วินาที
ความถี่ธรรมชาติของอาคารสําหรับรูปแบบการส่ันไหวพื้นฐานในทิศต้ังฉากกับทิศทางลม
(nW )
= 0.20 รอบ/วนิ าที
ความถี่ธรรมชาตขิ องอาคารสาํ หรบั รปู แบบการส่นั ไหวพน้ื ฐานในทิศทางบดิ (nT )
= 0.30 รอบ/วนิ าที
ก.1 แรงลมและการตอบสนองในทิศทางลม
ขนั้ ตอนที่ 1 คํานวณพารามิเตอรท ี่ใช
• คาประกอบเนอื่ งจากสภาพภูมปิ ระเทศท่ีระดับยอดอาคาร (CeH ) (จากสมการท่ี 3-2)
CeH = 0.5⎛⎜ z ⎟⎞0.5 = 0.5⎛⎜ 180 ⎟⎞0.5 = 1.88
⎝12.7 ⎠ ⎝12.7 ⎠
• ความเร็วลมเฉล่ยี ท่รี ะดบั ยอดอาคาร (VH )
VH = V CeH = 25 1.88 = 34.30 เมตร/วนิ าที
• อตั ราสว นความกวางตอ ความสงู ของอาคาร (W H ) = 30 180 = 0.167
• จาํ นวนคลืน่ ตอ เมตร (เพือ่ ใชคํานวณคา F ) (nD VH ) = 0.0073
• ความถ่ธี รรมชาตลิ ดรูป (เพือ่ ใชค าํ นวณคา s ) (nD H VH ) = 1.312
172 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
ขนั้ ตอนท่ี 2 คํานวณคา อตั ราสว น σ μ
• คา สัมประสทิ ธิ์ท่มี ีคา แปรเปล่ียนไปตามความขรุขระของสภาพภมู ิประเทศ (K )
= 0.10 สําหรับภมู ปิ ระเทศแบบ B
• คาประกอบการตอบสนองแบบกึ่งสถิตตอการแปรปรวนของลม (B)หาคาไดจากรูปท่ี 3.1
หรือจากสมการ (3-6) = 0.62
• ตัวคูณลดเน่ืองจากขนาดของอาคาร (s) หาคา ไดจากรปู ที่ 3.2 หรอื จากสมการ (3-7) = 0.073
• อัตราสว นพลงั งานของการแปรปรวนของลม ณ ความถี่ธรรมชาติของอาคาร (F ) หาคาไดจาก
รูปท่ี 3.3 หรอื จากสมการ (3-8) = 0.23
• อตั ราสวนความหนวง (βD ) = 0.015
จากสมการ (3-5)
σ = K (B + sF )
μ CeH βD
= 0.10 ⎜⎛ 0.62 + 0.073× 0.23 ⎞⎟
1.88 ⎝ 0.015 ⎠
= 0.304
ขั้นตอนท่ี 3 คํานวณคา ความถ่ีเฉลย่ี ของการตอบสนองของโครงสรา ง (v)
จากสมการ(3-11)
v = nD sF
sF + β D B
= 0.25 0.073× 0.23
0.073× 0.23 + 0.015 × 0.62
= 0.200 รอบตอวนิ าที
ข้ันตอนท่ี 4 คาํ นวณคาประกอบเชงิ สถิตเิ พอื่ ปรบั แกคา รากกําลงั สองใหเปนคา สูงสดุ (gP ) หาคา
ไดจ ากรูปที่ 3.4 หรอื จากสมการ (3-9) = 3.79
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 173
ข้ันตอนท่ี 5 คาํ นวณคา ประกอบเนอื่ งจากผลการกระโชกของลม (Cg ) จากสมการ (3-4)
Cg = 1 + g p (σ μ )
= 1 + 3.79(0.304)
= 2.15
ขน้ั ตอนที่ 6 คาํ นวณหนว ยแรงลมสถิตเทียบเทาทกี่ ระทํากบั อาคาร
• หนวยแรงลมอางอิงเนอ่ื งจากความเร็วลม (q) หาคา ไดจ ากสมการท่ี (2-4)
q = 1 ρV 2 = 1 ×1.25 × 252 = 390.6 นวิ ตัน/ตร.ม.
22
• คาประกอบเนือ่ งจากสภาพภูมิประเทศ (Ce )
Ce ดา นตน ลม ตามความสงู จากพ้นื z
Ce (z) = 0.5(z 12.7)0.5 = 0.14z 0.5
(โดยคา Ce (z) มีคา ในชวง 0.5 ≤ Ce (z) ≤ 2.5 )
Ce ดา นทายลม (มีคา คงที่และคดิ ทีค่ วามสงู H 2 = 90 เมตร)
Ce = 0.5(90 12.7)0.5 = 1.33
• คาสัมประสทิ ธิ์ของหนวยแรงลมทก่ี ระทําภายนอกอาคาร (Cp )
Cp ดา นตนลม = +0.8 (แรงดัน มีทศิ เขา หาพื้นผิว ดรู ูปที่ ข.9)
Cp ดา นทายลม = −0.5 (แรงดูด มที ศิ พุงออกจากพน้ื ผวิ ดรู ปู ที่ ข.9)
• หนวยแรงลมสถิตเทยี บเทา ทีก่ ระทํากบั อาคาร(p)หาคาไดจากสมการที่ (2-2)
ดา นตน ลม p = I wqCeCgC p
= 1.0 × 390.6 × 0.14z 0.5 × 2.15 × 0.8
= 94.1× z0.5 นิวตนั /ตร.ม.
174 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
หนว ยแรงลมดา นตนลมทย่ี อดอาคาร (H )
p(H ) = 94.1×1800.5 = 1262 นวิ ตัน/ตร.ม.
ดา นทา ยลม p = I wqCeCgC p
= 1.0 × 390.6 ×1.33× 2.15 × (− 0.5)
= −558 นิวตัน/ตร.ม.
1262 นิวตนั /ตร.ม. 558 นิวตัน/ตร.ม.
180 เมตร
45 เมตร
รปู ท่ี ต.3.2 แรงลมสถิตเทยี บเทา ดา นตน ลมและทา ยลม เมอ่ื ลมกระทําในทิศทาง yy
ข้ันตอนที่ 7 คํานวณการโกงตัวดานขางสูงสุดในทิศทางแนวราบ ณ ยอดอาคาร (Δ) หาคาได
จากสมการที่ (3-12) ใชสัมประสิทธิ์ Iw เทากับ 0.75 ใชสัมประสิทธิ์ α สําหรับสภาพภูมิ
ประเทศแบบ B เทากับ 0.5 และใชสัมประสิทธิ์ Cp ท่ีเปนผลรวมของแรงลมดานหนาและ
ดานหลงั ของอาคารเทา กับ 0.8+(-0.5)=1.3
Δ = 3⎛⎜⎜⎝ H2 ⎠⎞⎟⎟I wqCeH Cg C p
2+α
4π 2 nD2 Dρ B H 2
3⎜⎛⎝⎜ 180 2 ⎞⎠⎟⎟ × 0.75 × 390.6 ×1.88 × 2.15 ×1.3
2 + 0.5
=
4π 2 × 0.252 × 45 × 200 ×1802
= 0.0832 เมตร
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 175
ข้นั ตอนท่ี 8 คํานวณอตั ราเรงสูงสุดในแนวราบที่ยอดอาคารในทิศทางลม (aD ) หาคาไดจากสมการ
ที่ (3-13)
aD = 4π 2nD2 g p KsF ⋅ Δ
CeH β D Cg
= 4π 2 × 0.252 × 3.79 × 0.10 × 0.073× 0.23 × 0.0832
1.88 × 0.015 2.15
= 0.0883 เมตร/วนิ าท2ี
ก.2 แรงลมและการตอบสนองในทศิ ตงั้ ฉากกับทศิ ทางลม
ขั้นตอนที่ 1 คํานวณพารามเิ ตอรท ่ีใช
• อัตราสวน D W = 45 30 = 1.5
• ความเร็วลมเฉล่ียท่รี ะดบั ยอดอาคาร (VH )
VH = V CeH = 25 1.88 = 34.30 เมตร/วินาที
• อัตราสวน VH = 34.3 = 4.67 < 10 ใชการคาํ นวณในบทที่ 4
nW WD 0.20 × 30 × 45
• หนวยแรงลมอางอิงเน่ืองจากความเร็วลมที่ระดับความสูงยอดอาคาร (qH ) หาคาไดจากสมการ
ที่ (4-2) qH = 1 ρVH2 = 1 ×1.25 × 34.32 = 735.3 นวิ ตัน/ตร.ม.
2 2
ขนั้ ตอนท่ี 2 คาํ นวณคาสัมประสทิ ธิ์ความผนั ผวนของโมเมนตพลกิ คว่ําในทิศต้ังฉากกับทิศทางลม
(C ' ) หาคาไดจากรูปที่ 4.1 หรอื สมการที่ (4-3)
L
C ' = 0.0082(D W )3 − 0.071(D W )2 + 0.22(D W)
L
= 0.0082(1.5)3 − 0.071(1.5)2 + 0.22(1.5)
= 0.198
ขั้นตอนที่ 3 คํานวณคาประกอบเชิงสถิติเพ่ือปรับคารากกําลังสองเฉล่ียใหเปนคาสูงสุด สําหรับการ
ส่นั ไหวของอาคารในทิศตง้ั ฉากกับทิศทางลม หาคา ไดจากสมการท่ี (4-4)
176 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
gL = 2 loge (3600nW ) + 0.577
2 loge (3600nW )
= 2 loge (3600 × 0.20) + 0.577
2 loge (3600 × 0.20)
= 3.79
ขั้นตอนท่ี 4 คาํ นวณคา สเปกตรัมของแรงลมในทิศทางตง้ั ฉากกบั ทศิ ทางลม (FL )
สําหรับ D W = 1.5 และ nW WD = 0.20 × 30 × 45 = 0.21 คา FL หาไดจ ากรูปท่ี 4.3 หรือ
VH 34.3
การคาํ นวณดงั นี้
• สาํ หรับ D W = 1.5 < 3.0 คาํ นวณ FL จากสมการท่ี (4-5) เพยี งหน่งึ พจน
• คํานวณ β1
β1 = 2.4(D W )4 − (D W )4 + 2.3(D W )2 9.5(D W )− 0.15 + 0.12 )
9.2(D W )3 + 18(D W )2 +
(D W
= 2.4(1.5)4 − (1.5)4 + 2.3(1.5)2 9.5(1.5) − 0.15 + 0.12
9.2(1.5)3 + 18(1.5)2 +
(1.5)
= 0.367
• คํานวณ λ1
( )λ1 0.89
1 + 0.38(D W )2 nW W
= VH
0.12
( )= 1 + 0.38(1.5)2 0.89 0.20 × 30
0.12 34.3
= 2.526
• คาํ นวณ FL สาํ หรบั N = 1 และ κ1 = 0.85
( )( )FL β1 × λ12
= 4κ1 1 + 0.6β1 1 − λ12 2 + 4β12λ12
π
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 177
( )= 4 × 0.85 × (1 + 0.6 × 0.367)× 0.367 × 2.526 2
π 1 − 2.5262 2 + 4 × 0.3672 × 2.5262
= 0.0955
ขั้นตอนที่ 5 คํานวณคาประกอบการตอบสนองแบบกําทอนตอการแปรปรวนของลมในทิศทางต้ัง
ฉากกับทิศทางลม หาคาไดจ ากสมการท่ี (4-5)
RL = πFL = π × 0.0955 = 5.00
4βW 4 × 0.015
ขั้นตอนท่ี 6 คํานวณแรงลมสถิตเทียบเทาที่กระทํากับอาคารในทิศตั้งฉากกับทิศทางลม ที่ความสูง
z จากพื้นดนิ หาคา ไดจ ากสมการท่ี (4-1)
PL = 3I w qH C ' A z gL 1+ RL
L H
= 3×1.0 × 735.3× 0.198 × (30 ×1) × z × 3.79 × 1 + 5.00
180
= 676 × z นวิ ตัน ตอความสงู 1 เมตร
หรอื พจิ ารณาเปน หนวยแรงลมท่กี ระทําตอ พน้ื ผิวดา นตั้งฉากกับทิศทางลม (ดาน D = 45 เมตร)
pL = 676 × z = 15.0 × z นิวตนั /ตร.ม.
45
หนว ยแรงลมที่ยอดอาคาร (H ) pL = 15.0 ×180 = 2703 นวิ ตนั /ตร.ม.
178 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
2703 นิวตนั /ตร.ม.
180 เมตร
30 เมตร
รูปท่ี ต.3.3 แรงลมสถติ เทียบเทาในทศิ ต้งั ฉากกบั แนวลม เมื่อลมกระทําในทศิ ทาง yy
ข้ันตอนที่ 7 คํานวณอัตราเรงสูงสุดในแนวราบในทิศตั้งฉากกับทิศทางลม (aw ) ท่ียอดอาคาร
(z = H ) หาคา ไดจ ากสมการท่ี (4-11)
aw = 3I w qH C ' g L W z RL
L H
(ρ BWD )
= 3× 0.75 × 735.3× 0.198 × 3.79 × 30 × 180 × 5.00
200 × 30 × 45 180
= 0.308 เมตร/วินาท2ี
สําหรับในกรณีนี้ การคํานวณอัตราเรงสูงสุดสามารถใชความเร็วลมท่ีคาบเวลากลับ 10 ป สําหรับ
คํานวณตัวแปรในสมการสําหรับ aw ไดโดยตรง และไมตองใชคา Iw ในสภาวะจํากัดดานการใช
งาน โดยที่ ความเรว็ ลมทค่ี าบเวลากลับ 10 ป คาํ นวณไดโ ดยใชคา ประกอบจากตารางที่ อ.2-1 ดงั น้ี
V10 = 0.81× 25 = 20.25 เมตร/วนิ าที
จากน้ัน ทําการคํานวณตัวแปรสําหรับการคํานวณ aw โดยใชคาความเร็วลมเทากับ 20.25 เมตร/
วินาที ทําใหไดคาตัวแปรท่ีเปลี่ยนแปลงเปนคือ qH = 482.4 นิวตัน/ตร.ม. และ RL = 3.03
จากนั้น คา aw สามารถคาํ นวณไดใ หมค ือ (ควรสังเกตวา ไมตองใช Iw ในการคาํ นวณ)
aw = 3× 482.4 × 0.198 × 3.79 × 30 × 180 × 3.03 = 0.210 เมตร/วนิ าท2ี
200 × 30 × 45 180
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 179
ก.3 โมเมนตบ ดิ
ขั้นตอนที่ 1 คํานวณพารามเิ ตอรท ่ีใช
• อตั ราสว น VH = 34.3 = 3.11 < 10 ใชการคํานวณในบทท่ี 4
nT WD 0.30 × 30 × 45
ขั้นตอนท่ี 2 คํานวณคาสัมประสิทธ์ิความผันผวนของโมเมนตบิด (CT' ) หาคาไดจากรูปท่ี 4.5 หรือ
สมการที่ (4-13)
{ }CT' = 0.0066 + 0.015(D W )2 0.78
{ }= 0.0066 + 0.015(1.5)2 0.78 = 0.0818
ข้ันตอนที่ 3 คํานวณคาประกอบเชิงสถิติเพื่อปรับคารากกําลังสองเฉลี่ยใหเปนคาสูงสุด สําหรับการ
ส่นั ไหวของอาคารในแนวบิด หาคาไดจากสมการที่ (4-14)
gT = 2 loge (3600nT ) + 0.577
2 loge (3600nT )
= 2 loge (3600 × 0.30) + 0.577
2 loge (3600 × 0.30)
= 3.89
ขนั้ ตอนท่ี 4 คาํ นวณคา สเปกตรัมของแรงลมในแนวบิดของอาคาร (FT )
สําหรับ D W = 1.5 และ nT WD = 0.30 × 30 × 45 = 0.32 คา FT หาไดจากรูปท่ี 4.7 หรือ
VH 34.3
การคาํ นวณดังน้ี
• คํานวณ VT* = VH = 3.11
nT WD
• สําหรับ VT* ≤ 4.5จากสมการ (4-18) และ (4-19)
KT = (D − 1.1(D W ) + 0.97 3.3 + 0.17
W )2 + 0.85(D
W)+
180 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
= −1.1(1.5) + 0.97 + 0.17 = 0.0704
(1.5)2 + 0.85(1.5) + 3.3
λT = (D W (D W ) + 3.6 ) + 9.1 + 0.14 ) + 0.14
)2 − 5.1(D W
(D W
= (1.5) + 3.6 + 9.1 + 0.14 + 0.14 = 1.612
(1.5)2 − 5.1(1.5)
(1.5)
• คาํ นวณ FT จากสมการ (4-16) โดยท่ี L = 45 เมตร
( ) ( )FT 2 VT* 2λT 2
0.14 K T D W 2 + D2
= L2W 3
π
( )= 0.14 × (0.0704)2 × ( )3.11 2×1.612 × 45 × 302 + 452 2
π 452 × 303
= 0.0603
ข้นั ตอนท่ี 5 คํานวณคาประกอบการตอบสนองแบบกําทอนตอ การแปรปรวนของลมในแนวบิดของ
อาคาร (RT )หาคา ไดจ ากสมการที่ (4-15)
RT = πFT
4βT
= π × 0.0603 = 3.16
4 × 0.015
ขั้นตอนที่ 6 คํานวณโมเมนตบิดสถิตเทียบเทาเน่ืองจากลมที่กระทํากับอาคาร ที่ความสูง z จาก
พ้ืนดิน หาคา ไดจ ากสมการที่ (4-12)
MT = 1.8I wqH CT' AW z gT 1 + RT
H
= 1.8 ×1.0 × 735.3× 0.0818 × (30 ×1) × 30 × z × 3.89 × 1 + 3.16
180
= 4295× z นิวตัน-เมตร ตอความสงู 1 เมตร
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 181
จากน้ันนําแรงลมในทิศทางลม แรงลมในทิศตั้งฉากกับทิศทางลม และโมเมนตบิด ไปรวมผลใน
ลกั ษณะตามหัวขอ 4.5
ข. ลมกระทาํ ในทิศทาง xx
ความกวางของอาคารในทิศทางตั้งฉากกับลม (W ) = 45 เมตร
ความลกึ ของอาคารในทิศทางขนานกับลม (D) = 30 เมตร
ความถธ่ี รรมชาตขิ องอาคารสาํ หรับรูปแบบการสัน่ ไหวพืน้ ฐานในทศิ ทางลม (nD )
= 0.20 รอบ/วนิ าที
ความถี่ธรรมชาติของอาคารสําหรับรูปแบบการส่ันไหวพื้นฐานในทิศต้ังฉากกับทิศทางลม
(nW )
= 0.25 รอบ/วนิ าที
ความถ่ีธรรมชาติของอาคารสําหรับรูปแบบการสน่ั ไหวพ้ืนฐานในทศิ ทางบดิ (nT )
= 0.30 รอบ/วนิ าที
ข.1 แรงลมและการตอบสนองในทศิ ทางลม
ขน้ั ตอนท่ี 1 คํานวณพารามเิ ตอรทีใ่ ช
• คาประกอบเน่ืองจากสภาพภูมิประเทศที่ระดบั ยอดอาคาร (CeH ) (จากสมการที่ 3-2)
CeH = 0.5⎜⎛ z ⎞⎟0.5 = 0.5⎛⎜ 180 ⎟⎞0.5 = 1.88
⎝12.7 ⎠ ⎝12.7 ⎠
• ความเร็วลมเฉลยี่ ทรี่ ะดับยอดอาคาร (VH )
VH = V CeH = 25 1.88 = 34.3 เมตร/วินาที
• อตั ราสว นความกวางตอความสงู ของอาคาร (W H ) = 45 180 = 0.25
• จํานวนคล่ืนตอเมตร (เพือ่ ใชคํานวณคา F ) (nD VH ) = 0.0058
182 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
• ความถ่ีธรรมชาตลิ ดรูป (เพ่ือใชค าํ นวณคา s ) (nD H VH ) = 1.049
ข้นั ตอนท่ี 2 คํานวณคาอัตราสวน σ μ
• คา สัมประสทิ ธิท์ มี่ คี าแปรเปล่ียนไปตามความขรขุ ระของสภาพภูมิประเทศ (K )
= 0.10 สําหรับภูมปิ ระเทศแบบ B
• คาประกอบการตอบสนองแบบก่ึงสถิตตอการแปรปรวนของลม (B)หาคาไดจากรูปที่ 3.1
หรอื จากสมการ (3-6) = 0.56
• ตัวคูณลดเนื่องจากขนาดของอาคาร (s) หาคา ไดจากรูปที่ 3.2 หรือจากสมการ (3-7) = 0.076
• อตั ราสว นพลังงานของการแปรปรวนของลม ณ ความถ่ีธรรมชาติของอาคาร (F ) หาคาไดจาก
รปู ท่ี 3.3 หรือ จากสมการ (3-8) = 0.263
• อตั ราสวนความหนวง (βD ) = 0.015
จากสมการ (3-5)
σ = K (B + sF )
μ CeH βD
= 0.10 ⎛⎜ 0.56 + 0.076 × 0.263 ⎞⎟
1.88 ⎝ 0.015 ⎠
= 0.317
ขั้นตอนที่ 3 คํานวณคา ความถี่เฉลี่ยของการตอบสนองของโครงสรา ง (v)
จากสมการ(3-11)
v = nD sF
sF + β D B
= 0.20 0.076 × 0.263
0.076 × 0.26 + 0.015 × 0.56
= 0.168 รอบตอ วนิ าที
ข้นั ตอนท่ี 4 คาํ นวณคาประกอบเชิงสถิติเพ่ือปรบั แกคา รากกาํ ลงั สองใหเปนคาสูงสดุ (gP ) หาคาได
จากรูปที่ 3.4 หรือจากสมการ (3-9) = 3.74
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 183
ข้ันตอนท่ี 5 คํานวณคา ประกอบเน่ืองจากผลการกระโชกของลม (Cg ) จากสมการ (3-4)
Cg = 1 + g p (σ μ )
= 1 + 3.74(0.317)
= 2.19
ขน้ั ตอนที่ 6 คํานวณหนว ยแรงลมสถติ เทยี บเทาท่ีกระทํากับอาคาร
• หนว ยแรงลมอางอิงเนอื่ งจากความเร็วลม (q) หาคาไดจ ากสมการท่ี (2-4)
q = 1 ρV 2 = 1 ×1.25 × 252 = 390.6 นิวตนั /ตร.ม.
22
• คา ประกอบเนื่องจากสภาพภูมปิ ระเทศ (Ce )
Ce ดานตนลม ตามความสูงจากพืน้ z
Ce (z) = 0.5(z 12.7)0.5 = 0.14z 0.5
(โดยคา Ce (z) มคี า ในชว ง 0.5 ≤ Ce (z) ≤ 2.5 )
Ce ดานทายลม (มีคา คงทแ่ี ละคิดท่ีความสงู H 2 = 90 เมตร)
Ce = 0.5(90 12.7)0.5 = 1.33
• คา สมั ประสทิ ธ์ขิ องหนวยแรงลมทีก่ ระทาํ ภายนอกอาคาร (Cp )
Cp ดานตน ลม = +0.8 (แรงดนั มีทิศเขาหาพื้นผิว ดรู ปู ท่ี ข.9)
Cp ดา นทา ยลม = −0.5 (แรงดูด มีทิศพงุ ออกจากพื้นผิว ดรู ปู ที่ ข.9)
• หนวยแรงลมสถติ เทียบเทาท่กี ระทํากับอาคาร(p)หาคาไดจากสมการท่ี (2-2)
ดานตน ลม p = I wqCeCg C p
= 1.0 × 390.6 × 0.14z 0.5 × 2.19 × 0.8
= 95.8× z0.5 นิวตัน/ตร.ม.
หนวยแรงลมดานตนลมทยี่ อดอาคาร (H )
p(H ) = 95.8 ×1800.5 = 1285 นวิ ตัน/ตร.ม.
184 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
ดานทายลม p = I wqCeCgC p
= 1.0 × 390.6 ×1.33× 2.19 × (− 0.5)
= −569 นวิ ตนั /ตร.ม.
1285 นิวตัน/ตร.ม. 569 นิวตัน/ตร.ม.
180 เมตร
30 เมตร
รปู ที่ ต.3.4 แรงลมสถิตเทียบเทาดานตน ลมและทา ยลม เมอ่ื ลมกระทาํ ในทิศทาง xx
ข้ันตอนที่ 7 คํานวณการโกงตัวดานขางสูงสุดในทิศทางแนวราบ ณ ยอดอาคาร (Δ) หาคาได
จากสมการที่ (3-12) ใชสัมประสิทธิ์ Iw เทากับ 0.75 ใชสัมประสิทธิ์ α สําหรับสภาพภูมิ
ประเทศแบบ B เทากับ 0.5 และใชสัมประสิทธ์ิ Cp ท่ีเปนผลรวมของแรงลมดานหนาและ
ดานหลังของอาคารเทา กับ 0.8+(-0.5)=1.3
Δ = 3⎜⎝⎜⎛ H2 ⎟⎞⎟⎠I wqCeH Cg C p
2+α
4π 2 n 2 Dρ H 2
D
B
3⎜⎝⎛⎜ 180 2 ⎞⎟⎟⎠ × 0.75 × 390.6 ×1.88 × 2.19 ×1.3
2 + 0.5
=
4π 2 × 0.202 × 30 × 200 ×1802
= 0.199 เมตร
ขัน้ ตอนท่ี 8 คาํ นวณอตั ราเรงสูงสุดในแนวราบท่ียอดอาคารในทิศทางลม (aD ) หาคาไดจากสมการ
ที่ (3-13)
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 185
aD = 4π 2nD2 g p KsF ⋅ Δ
CeH β D Cg
= 4π 2 × 0.202 × 3.74 × 0.10 × 0.076 × 0.26 × 0.199
1.88 × 0.015 2.19
= 0.142 เมตร/วนิ าท2ี
ข.2 แรงลมและการตอบสนองในทศิ ต้งั ฉากกับทิศทางลม
ขัน้ ตอนที่ 1 คํานวณพารามิเตอรที่ใช
• อัตราสวน D W = 30 45 = 0.667
• ความเร็วลมเฉล่ยี ทร่ี ะดับยอดอาคาร (VH )
VH = V CeH = 25 1.88 = 34.30 เมตร/วินาที
• อตั ราสว น VH = 34.3 = 3.73 < 10 ใชก ารคํานวณในบทที่ 4
nW WD 0.25 × 45 × 30
• หนวยแรงลมอางอิงเน่ืองจากความเร็วลมท่ีระดับความสูงยอดอาคาร (qH ) หาคาไดจากสมการ
ที่ (4-2) qH = 1 ρVH2 = 1 ×1.25 × 34.32 = 735.3 นิวตัน/ตร.ม.
2 2
ข้นั ตอนท่ี 2 คํานวณคา สัมประสิทธคิ์ วามผันผวนของโมเมนตพ ลิกคว่ําในทิศตั้งฉากกับทิศทางลม
(C ' ) หาคาไดจากรปู ท่ี 4.1 หรอื สมการที่ (4-3)
L
C ' = 0.0082(D W )3 − 0.071(D W )2 + 0.22(D W)
L
= 0.0082(0.667)3 − 0.071(0.667)2 + 0.22(0.667)
= 0.117
ข้ันตอนที่ 3 คํานวณคาประกอบเชิงสถิติเพ่ือปรับคารากกําลังสองเฉล่ียใหเปนคาสูงสุด สําหรับการ
สนั่ ไหวของอาคารในทิศตัง้ ฉากกบั ทศิ ทางลม หาคาไดจากสมการท่ี (4-4)
gL = 2 loge (3600nW ) + 0.577
2 loge (3600nW )
186 มยผ.1311-50 มาตรฐานการคํานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร
= 2 loge (3600 × 0.25) + 0.577
2 loge (3600 × 0.25)
= 3.84
ขน้ั ตอนท่ี 4 คํานวณคาสเปกตรัมของแรงลมในทศิ ทางตัง้ ฉากกบั ทิศทางลม (FL )
สําหรับ D W = 0.667 และ nW WD = 0.25 × 45 × 30 = 0.27 คา FL หาไดจากรูปท่ี 4.2
VH 34.3
หรือการคาํ นวณดังนี้
• สาํ หรับ D W = 0.667 < 3.0 คาํ นวณ FL จากสมการท่ี (4-5) เพียงหน่งึ พจน
• คาํ นวณ β1
β1 = 2.4(D W )4 − (D W )4 + 2.3(D W )2 9.5(D W )− 0.15 + 0.12 )
9.2(D W )3 + 18(D W )2 +
(D W
= 2.4(0.667)4 − (0.667)4 + 2.3(0.667)2 9.5(0.667) − 0.15 + 0.12
9.2(0.667)3 + 18(0.667)2 +
(0.667)
= 0.282
• คาํ นวณ λ1
( )λ1 0.89
1 + 0.38(D W )2 nW W
= VH
0.12
( )= 1 + 0.38(0.667)2 0.89 0.25 × 45
0.12 34.3
= 3.14
• คํานวณ FL สําหรับ N = 1 และ κ1 = 0.85
( )( )FL λ12
= 4κ1 1 + 0.6β1 β1 × 1 − λ12 2 + 4β12λ12
π
มยผ.1311-50 มาตรฐานการคาํ นวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร 187