The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

8.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายประชุม ปุ่มแก้ว, 2020-07-01 02:29:28

8.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.2

8.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.2

ไกท่ีบา นฉนั มนั ขนั ไดไพเราะดี โกง คอแลว ขันดังเสยี งล่ันธรณี
เอก เอก อี เอก โอก โอก อีโอก ..... หลา.....
ยามเดนิ เยอ้ื งยางมา สองตาวาวมองสาวคใู จ
เดินโดดเด่ยี วไป สุดเหงาใจจรงิ จะไกเอย

งูกนิ หาง

งูกนิ หาง เอย เอย เอย งูกินหาง
กินหัว กนิ ตัว กินกลาง (ซ้าํ )
กินหัว กนั หาง กนิ กลาง ตลอดตวั
ใหแ สดงทาทางประกอบ และใหแ ขง ขนั กัน เลอื กผูทาํ ไดด ีท่สี ดุ แลว ใหร างวลั

เกม

แขง มา
วธิ ีเลน
1. ใหลูกเสือเขาแถวตอนหมู
2. ใหลูกเสือ 2 คน เปนมา โดยใหคน 1 ยืนตรงเปนหัวมา คนที่ 2 กมหลังลงเอาศีรษะ
ดันหลงั คนยืน มือทง้ั สองขา งของคนท้งั สองจับกันแนน ใหค นที่ 3 หลังมา
3. เมอ่ื ไดย นิ สญั ญาณเรม่ิ ใหมาว่งิ พาคนขี่ไปสง ทเี่ สนชัย แลวว่ิงกลับไปรับคนในหมู ไป
สงใหม หมใู ดหมดกอนรีบนัง่ ลง หมใู ดเสร็จกอ นชนะ
มาและหัวมาจะเปลี่ยนคนข่ีไปแลวแทนกันก็ได เมื่อเห็นวามาเหน่ือย หรือจะเปล่ียน
ทุกเทย่ี ววง่ิ ก็ได

หา มเดนิ สามกา ว

วธิ ีเลน

ใหลูกเสือทุกคนยืนท่ัว ๆ สนาม หามเคล่ือนไหวจนกวาจะไดยินคําส่ัง เลือกผูเลนคนหนึ่ง
มาผูกตา ใหเคลื่อนไหวไปตามสนามพยายามจับผูเลน ถาผูเลนคนใดใกลจะถูกจับ หรือเห็นวาจะ
ถูกจับแนนอน มีสิทธิหนีได 3 กาว เม่ือกาวได 3 กาวแลว ไมมีสิทธิกาวตอไป ในกาวที่หนึ่งใหเอามือ
ซายแตะสะโพกตนเองเมื่อกาวท่ีสองใหเอามือขวาแตะ กาวท่ีสามเอามือกอดอกยืนนิ่ง และรอ
ความหวงั วา จะถกู จับเมื่อไหร ถา คนใดถูกจบั ใหค นนน้ั ผูกตาและเปน คนไลจบั คนอ่ืนตอไป

ใบความรู

การปฐมพยาบาล

96 คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

การปฐมพยาบาล คือ การใหความชว ยเหลอื ผปู วยฉุกเฉนิ หรือผทู ่ีไดร บั บาดเจ็บใน
ข้ันแรก กอนสงโรงพยาบาล หรือกอนจะถงึ มอื แพทย ทุกคนควรมคี วามรใู นการปฐมพยาบาล
เพ่ือท่ีจะใชเ วลาทุกวินาทใี หเปนประโยชนท ่ีสุดเพ่อื ชวยเหลือตวั เองและผอู นื่

การปฐมพยาบาลน้ัน ตองทําดวยความรวดเรว็ และถูกตอง ข้ันแรกตองระงบั ความต่ืนเตน ตกใจ
ต้งั สตใิ หด ี ไมว าคนที่คุณตอ งชว ยเหลือจะเปน คนในครอบครัว เพอ่ื น คนรัก หรือแมแ ตค นแปลกหนา

พยายามอยาใหคนมุง เพอ่ื ใหค นเจ็บไดร บั อากาศบริสทุ ธิ์ ปลอดโปรง มแี สงสวางเพยี งพอ และ
สะดวกในการปฐมพยาบาล โทรเรยี กรถพยาบาลกอน แลวรบี ตรวจดูคนเจ็บและปฐมพยาบาล
เบอ้ื งตน

กรณที ค่ี นเจบ็ ยงั มีสติ ควรแนะนาํ ตวั เอง สอบถามชื่อนามสกุลของคนเจ็บ และสอบถามอาการ
กรณีท่ีคนเจ็บหมดสติ ใหต รวจดวู า ยังหายใจหรือไม

อาการช็อค
อาการเรมิ่ แรกจะเหมอื นกับเปน ลม คือ มีอาการหนา มดื ตาลาย วิงเวียน มอื เทา ออนแรง
ออนเพลยี ใจหวิวๆ หรอื กลามเนื้อเกร็ง เปน ตะคริว ตวั ซดี หรือเขียวจนถงึ เขยี วคลาํ้ เหง่อื ออก
กระสับกระสา ย กระหายน้ํา คล่นื ไส อาเจียน ชพี จรเตน เร็วแตเ บา ความดันเลอื ดตก หายใจหอบ
อาการขัน้ รนุ แรง คือ ตามตัวเปนรอยจํา้ สดี ํา มา นตาขยาย หากช็อคอยนู านสมองจะขาดเลือดมาก
ทําใหห มดสตไิ ด
ผปู ว ยอาจมอี าการไมครบทกุ อยา งดังที่กลาวมา แลว แตค วามรุนแรงของอาการ อยา งไรก็
ตาม แมว า ผูปว ยจะไมแสดงอาการอะไรใหเหน็ แตห ากผปู ว ยไดรับบาดเจบ็ และเสยี เลอื ดมาก ควร
สงั เกตอาการและดูแลอยา งใกลช ดิ

สาเหตุ
อาการช็อคเกิดไดจ ากหลายสาเหตุ สาเหตสุ ําคัญสว นใหญเกิดจากการเสียเลือดมาก ถกู ไฟ
ไหม นาํ้ รอนลวก อยใู นทีท่ อ่ี ากาศรอ นจดั นานเกนิ ไป อาเจียนหรอื ทองเสยี อยา งรุนแรง ไฟฟา ช็อต
โรคหัวใจกําเรบิ ไดรับยาเกนิ ขนาดหรอื แพยา การสัมผสั สารพิษ และการตดิ เชือ้ อยางรุนแรง เปน ตน

การปฐมพยาบาล
เมอื่ ผปู ว ยช็อค ใหรีบนาํ สงโรงพยาบาลโดยเรว็ ทส่ี ุด ระหวา งนั้นใหป ฐมพยาบาลเพ่ือใหการ
ไหลเวยี นเลอื ดดขี ึ้น ดังน้ี
-ใหผ ูปว ยนอนราบ ไมตอ งใชห มอนหนนุ ศีรษะ เพอื่ ใหเ ลือดไปเลย้ี งสมองไดอยางเพียงพอ
และทําใหหวั ใจทาํ งานนอยลงดวย ควรยกเทา ใหส ูงขน้ึ แตไ มควรใหน อนศีรษะต่าํ เพราะจะทาํ ให
อวัยวะในชองทองดนั กะบังลมเขามาเบียดทอ่ี ก ทาํ ใหหายใจไมส ะดวก
-คลายเส้อื ผาผปู ว ยใหหลวม

คูมือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวติ ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 97

-หามเลอื ดกรณที ่ีมเี ลอื ดออก
-หากผูป วยอาเจียน ใหนอนตะแคงขาง
-หม ผา ใหค วามอบอนุ กับรา งกายผูปวย
-หากผูปว ยกระหายนํ้ามาก ใหห ยดนา้ํ ทีร่ ิมฝปากในปรมิ าณเล็กนอ ย และหยุดใหน้ําหาก
ผปู ว ยอาเจยี น ยกเวน ผปู ว ยท่ีไดร บั บาดเจบ็ ที่ทอ ง ควรงดใหน าํ้
ขอ ควรระวงั
- หากผปู วยมีอาการบาดเจ็บท่กี ระดูกสันหลัง หา มเคล่อื นยา ยผปู วย ควรโทรเรยี ก
รถพยาบาล ระหวา งน้นั ใหผ ูปวยนอนราบ ยกขาสงู
- หากผูปวยไดรับบาดเจ็บท่ีศรี ษะ อยา ยกขาผปู ว ยข้นึ และอยาใหอวัยวะใดอยสู ูงเกนิ ศีรษะ
- หากผูปวยไดรับบาดเจ็บทีใ่ บหนา ใหผปู วยนอนตะแคงขาง เพือ่ ปอ งกันไมใ หเ ลอื ดไหลเขา
ปากและจมูก เพราะจะทาํ ใหห ายใจลําบากหรอื หายใจไมออก
- หากผูป ว ยถูกสตั วม ีพษิ กัดตอย ใหแผลนัน้ อยูตาํ่ กวา ระดับของหวั ใจ

การปฐมพยาบาลบาดแผลทั่วไป
บาดแผลจากอบุ ัตเิ หตุมตี ั้งแตบาดแผลเล็กๆ นอยๆ ไปจนถงึ บาดแผลขนาดใหญท อ่ี าจลึกลงไปถงึ
กลา มเนอื้ เสน เอน็ หรือเสน เลือด ซึง่ อาจทําใหเ สียเลอื ดมากจนหมดสติและเสียชวี ติ ได วธิ กี ารปฐม
พยาบาลบาดแผลชนดิ ตา งๆ

ประเภทของบาดแผล แบงไดเ ปน บาดแผลเปดและบาดแผลปด
1.บาดแผลเปด คือบาดแผลทผี่ วิ หนงั ฉีกขาดจนเห็นเนื้อขางใน เชน
- แผลถลอกท่เี กิดจากการขีดขว น จะเหน็ รอยขดี ขวนตามผิวหนงั เปน แนวยาว อาจมเี ลือดซึม
ออกมาเล็กนอ ย
- แผลทเ่ี กดิ จากการเจาะ การแทง การกระแทก บาดแผลชนิดน้ีจะไมใหญมาก อาจเหน็ รอย
เพียงนดิ เดียว แตบางกรณีอาจจะช้าํ ในเพราะถูกกระแทกอยางรนุ แรง ทําใหเน้อื เย่ือภายในบอบช้ํา
มากก็เปน ได
- แผลถกู ของมีคมบาด เชน มดี เศษแกว บาดแผลอาจไมใ หญ แตบ างครั้งอาจมเี ลือดออกมาก
- แผลฉกี ขาดเนอื่ งจากวัตถมุ คี ม บาดแผลชนดิ นจี้ ะรายแรงกวา การถูกของมคี มธรรมดามาก
แผลอาจลกึ ลงไปถึงเน้ือเย่อื เสนเอน็ ทาํ ใหเสียเลอื ดมาก
- แผลฉกี ขาดของอวยั วะ เชน แขนขาขาดจากอบุ ตั ิเหตทุ างรถยนต ถูกสตั วด รุ า ยกดั หรอื ถกู ยิง
บาดแผลเหลา นจ้ี ะเสียเลอื ดมากและอาจทําใหเ สยี ชวี ติ ได

98 คูม ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

2.บาดแผลปด คือบาดแผล
ทไี่ มม รี อยแผลใหเห็นบนผวิ หนัง
ภายนอก อาจเหน็ เพียงแครอย
เขียวชํา้ แตบางกรณเี นื้อเย่อื
ภายในอาจถูกกระแทกอยา งแรง
ทําใหเลือดตกใน บางคร้ังอวัยวะ
ภายในไดรบั ความเสียหายมาก
เชน มามแตก ตบั แตก หรือเลอื ด
คง่ั ในสมอง ระยะแรกอาจไมแ สดง
อาการใดๆ แตเ มอ่ื เวลาผานไป
คนเจ็บอาจอาเจยี น เลือดออกปาก
หรือจมกู หนาวสนั่ ตวั ซดี เจบ็ ปวดรุนแรง หมดสติ และอาจเสยี ชีวติ เนอื่ งจากเสียเลอื ดมาก

การหามเลอื ด
บาดแผลนั้นลกึ แคไหน ใหส ังเกตวา แผลนนั้ มเี ลอื ดออกมากนอ ยเพยี งใด หากเลอื ดออกไมหยุด
หลังจากไดหา มเลอื ดอยางถกู วธิ ีแลว ใหถ อื วา เปนแผลใหญ แมจ ะเห็นวาแผลมขี นาดเล็กก็ตาม หาก
ปากแผลกวา งมากจะหายชา ควรเยบ็ แผลเพ่อื ปองกนั การอักเสบจากการตดิ เช้ือ หากเปน บาดแผลท่ี
ลึกถงึ เสน เอ็น กระดกู เสน เลือด ควรปฐมพยาบาลแลว รบี นาํ สง แพทย
การปฐมพยาบาลเบอื้ งตนสาํ หรับบาดแผลท่ีมีเลอื ดออกกค็ อื การหา มเลือด โดยหลีกเลยี่ งการ
สัมผัสกบั เลอื ดของคนเจบ็ โดยตรง แตหากหลีกเลี่ยงไมไ ดใ หรบี ลา งมอื ดว ยสบู รวมท้ังบรเิ วณทีเ่ ปอน
เลือดใหเ ร็วทส่ี ดุ เทา ทีจ่ ะทําได ไมควรถอดหรอื เปลย่ี นเส้อื ผาของคนเจบ็ แมวา จะเปอ นเลือดจนชุม
แลว เพราะอาจยงิ่ ทําใหเ ลือดออกมาก
หากสามารถทาํ ได ควรทาํ ความสะอาดแผลกอ นเพอื่ ปองกนั การตดิ เช้อื โดยลา งแผลดว ยนํา้
สะอาด แลวใชผากอ ซหรือผาสะอาดกดไวต รงบาดแผล ยกเวน เมื่อเกดิ บาดแผลทีด่ วงตา เพราะอาจมี
สิ่งแปลกปลอมทําใหด วงตาไดรบั บาดเจ็บมากขึน้ แลวใชผ า สะอาดพนั ปดแผลไว อยา ใหแ นน จนชา
หากไมมผี าพันแผล สามารถดัดแปลงส่งิ ของใกลตวั มาใชไ ด เชน ผา เชด็ หนา ชายเสอื้ ชายกระโปรง
หรือเนคไท
แผลทแ่ี ขนหรอื ขาใหย กสงู จะชวยใหเลอื ดไหลชา ลง ปกตเิ ลอื ดจะหยุดไหลภายในเวลาประมาณ
15 นาที หากเลอื ดไหลไมหยุด ใหก ดเสน เลอื ดแดงใหญท ่ีไปเลยี้ งแขนขา โดยกดบรเิ วณเหนอื
บาดแผล ถาเลอื ดออกท่ีแขนใหก ดแขนดานใน ชว งระหวา งขอ ศอกและหัวไหล ถาเลือดออกท่ขี า ให
กดที่หนา ขาบริเวณขาหนบี
การหามเลือดโดยการกดเสน เลือดแดงใหญค วรทาํ กต็ อ เมอื่ ใชว ธิ ีการหา มเลอื ดโดยการกด
บาดแผลหรือใชผาพันแผลแลวไมไ ดผ ล เพราะจะทาํ ใหอวยั วะที่ตาํ่ กวาจุดกดขาดเลอื ดไปเลย้ี ง หาก
กดนานๆ กลา มเน้อื อาจตายได จึงไมค วรกดเสนเลือดแดงใหญเกนิ กวา ครงั้ ละ 15 นาที
สาํ หรบั บาดแผลทศี่ ีรษะ ไมค วรใชน าํ้ ลา งแผล เพราะจะทาํ ใหป ด ขวางทางออกของแรงดัน

คูมอื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2 99

ภายใน และสมองอาจติดเชื้อโรคท่ีอยูใ นนํา้ ได หากมีเลอื ดไหลออกจากปาก จมกู หรอื หู อยา
พยายามหา มเลอื ด เพราะจะปดกั้นทางออกของแรงดันในสมองเชนกนั

การทาํ ความสะอาดบาดแผลเลก็ นอย
วิธีการปฐมพยาบาลบาดแผลเล็กนอ ย ทาํ ไดโดยลางมอื ใหสะอาดทุกคร้ังกอ นท่จี ะทําแผล ใชนา้ํ
สะอาดลา งแผล ใชส บูออ นๆ ลางผิวหนงั ทีอ่ ยรู อบๆ บาดแผล แลว ลา งดว ยนาํ้ สะอาดอีกคร้งั
หลีกเล่ยี งการกระทบบาดแผลโดยตรง ใชผ า กอ ซหรอื ผาสะอาดซบั แผลใหแหง แลวใสย าสําหรบั แผล
สด เชน โพวโิ ดนไอโอดีน ซึ่งจะชวยลดการติดเช้อื ได จากน้นั ปดแผลดว ยผา พันแผล

การปฐมพยาบาลบาดแผลฟกชาํ้ ไมม ีเลอื ดออก
บาดแผลฟกช้ําจะไมมีเลือดออกมาภายนอก แตเกดิ อาการบวม ผวิ เปลีย่ นสี และมรี อยชํา้ ซึ่งเกดิ
จากเสนเลือดบรเิ วณนนั้ แตกแตผวิ หนังไมฉ กี ขาด จงึ ทาํ ใหเ ลอื ดซึมอยใู ตผวิ หนัง ระยะแรกจะมีสแี ดง
แลว เปล่ยี นเปน สีมว งคล้าํ ในเวลาตอ มา
คนสว นใหญมกั ไมใ สใจกับแผลฟกชา้ํ แตค วามจรงิ แลว แผลฟกชาํ้ กม็ ีวธิ กี ารดแู ลท่ีถูกตอ ง
เชน กนั กอ นอนื่ ใหตรวจดวู า ไมมีบาดแผล หรอื อาการอืน่ ๆ หรือกระดูกหกั รว มดว ย ใหค นเจ็บนงั่ ใน
ทาทีส่ บาย แลวประคบแผลดว ยถงุ นา้ํ แขง็ หรือถุงนา้ํ เย็นเพื่อลดอาการบวม หากเปน แผลที่แขนใหใช
ผาสามเหลยี่ มคลอ งแขนใหอ ยูก ับท่ี หากเปน แผลทข่ี าใหนอนหนุนขาใหสูง หากเปนทีล่ าํ ตวั ใหนอน
ตะแคงหนนุ หมอนทีศ่ รี ษะและไหล

การปฏบิ ัตติ นเมอื่ เกดิ ภยั ธรรมชาตติ าง ๆ
ภัยจากธรรมชาติ เชน เฮอรรเิ คน ทอรน าโด แผน ดนิ ไหว คลนื่ ยกั ษส นึ ามิ นํา้ ทว ม ไฟปา พายุหมิ ะ
หรอื โรคระบาด เปนสิง่ ทมี่ นุษยเ ราตอ งเผชิญอยา งหลีกเลยี่ งไมได รวมทัง้ ภยั คกุ ครามจาก
ผกู อการรา ย เชน ระเบิดพลชี ีพ ตกึ ถลม อาวธุ เคมี อาวุธเชือ้ โรค หรอื อาวธุ นวิ เคลยี ร อาจเกดิ ขึน้ ได
ทุกขณะ โดยไมเ ลือกวนั เวลา สถานที่ ซ่งึ เมื่อเกดิ ขึ้นในแตล ะครั้งยงั ผลเสียหายตอ ชวี ิตทรพั ยสนิ เปน
จาํ นวนมากมายมหาศาลไมอาจประเมินคา ได

อยา งไรกด็ ี มีส่งิ หนง่ึ ท่พี วกเราทําไดเพ่ือผอนหนักใหเปนเบา น่นั คอื การเตรยี มรับมือกบั ภัยพบิ ตั ิไว
ลว งหนา กอ นเหตุการณจ ะเกดิ ขึน้ โดยทัว่ ไปแลว การเตรียมการรบั มือภยั ธรรมชาตแิ ละภัยจาก
ผูกอการรายจะไมแ ตกตา งกนั นกั เริม่ จาก

1. วางแผนสงิ่ ท่คี วรปฏบิ ตั เิ มอ่ื เกิดเหตุการณในแตละประเภท
 ศึกษาลักษณะ ขอควรปฏบิ ตั ิ และขอ หลีกเล่ยี ง ของภัยพิบตั แิ ตละประเภท ยกตัวอยางเชน เมื่อ

เกดิ ไฟปา ควรสวมหนากากกันควนั ไฟและอพยพไปในทิศเหนอื ลม หรอื เม่ือเกดิ ทอรนาโด ควร
อยหู างจากหนา ตางหรอื หนหี ลบลงไปหอ งใตด นิ เปนตน
 ใหความรแู ก เพอ่ื น ญาตพิ น่ี อง ครอบครัว

100 คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2

 เตรยี มพรอมประเมินสถานการณ เพ่ือตัดสนิ ใจทจี่ ะอพยพหรืออยูหลบภัยในทพี่ กั
 ในบางสถานการณ การอยูหลบภยั ในทพี่ ักจะปลอดภยั กวา เชน เมอื่ เกดิ ภายหุ ิมะหรอื อากาศ

ภายนอกเปนพิษ ใหพ ิจารณาเลอื กหอ งภายในตวั อาคารทมี่ นั่ คงแข็งแรง ปดมดิ ชิด มเี สบียง
เพยี งพอ
 ในกรณที ีต่ อ งอพยพ ใหก าํ หนดจุดนัดพบไวหลายแหง ทัง้ ในระยะใกลทีส่ ามารถเดนิ ไปได จนถงึ
ระยะไกลขา มรฐั โดยกาํ หนดไวใ นทกุ ทศิ ทาง คอื เหนือ ใต ตะวันออก และตะวนั ตก อน่งึ
สาํ หรับคนทม่ี รี ถยนต ควรเตมิ นาํ้ มนั ใหเ หลืออยางนอ ยคร่ึงถังอยเู สมอ
 วางแผนที่จะติดตอส่ือสารถงึ เพ่ือน ญาติพ่นี อง หรือครอบครัว เผอื่ ไวห ลายๆ รปู แบบ หาก
โทรศัพทบา นหรอื โทรศพั ทม ือถอื ใชก ารไมได กอ็ าจใชอเี มลแทน อน่งึ การติดตอขา มเมืองหรอื
รฐั อาจทําไดสะดวกกวาการติดตอ ในเมอื งที่พกั อยู เนอ่ื งจากเมอื งในตา งรัฐอาจไมไ ดรบั
ผลกระทบจากเหตกุ ารณ
 ควรวางแผนเผื่อไว กรณเี กดิ เหตุการณขณะทีอ่ ยูที่สถานศกึ ษาหรือทท่ี าํ งาน
 มน่ั ซกั ซอมและปรบั ปรุงแผนท่วี างไวอ ยูเสมอ

2. เตรยี มรวบรวมสงิ่ ของเคร่อื งใชท ่จี าํ เปน ในกรณีฉกุ เฉิน
 เอกสารสาํ คญั ประจําตัว เชน หนังสอื เดนิ ทาง ใบขับขี่ บตั รประกนั สขุ ภาพ และอน่ื ๆ ควรเกบ็ ไว

ในถงุ พลาสตกิ หรือแฟมท่กี ันนํ้าได
 อปุ กรณก รองอากาศ เชน หนา กากกนั แกส พษิ เชื้อโรค
 นา้ํ สะอาดสาํ หรับใชด มื่ อยางนอย 3 วัน
 อาหารแหง สําเรจ็ รูป เคร่อื งกระปอง ใหเพียงพอ อยางนอ ย 3 วัน
 เครอื่ งนุง หม เส้อื กันฝน เสอ้ื กนั หนาว ถุงมือ ถุงนอน
 ไฟฉายพรอ มถา นไฟฉายสาํ รอง
 วิทยุทใี่ ชถ านไฟฉาย
 เงนิ สด หรอื เชค็ เดนิ ทาง
 First Aid Kit - ผา พันแผล ยาฆาเชอื้ โรค ยารักษาโรคท่ัวไป ยาประจําตัว
 ไมข ีดไฟแบบกนั น้ํา
 เขม็ ทิศ
 นกหวีด สําหรับเปา เรียกความชว ยเหลอื
 รองเทา ทคี่ งทนและสวมใสสบาย
 กระดาษชําระ
 ถงุ ขยะพลาสติก สาํ หรับใสส ่งิ ปฏกิ ลู

คมู ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 101

3. ติดตามขา วสาร การเตอื นภยั หรอื การประกาศภาวะฉกุ เฉนิ ในเขตพ้นื ทที่ พี่ กั อาศยั อยูและ
ละแวกใกลเ คียง
 ควรรับฟง ขาวสาร ประกาศเตือน จากทางสือ่ วทิ ยุ โทรทศั น อินเตอรเ น็ท เปนประจาํ ทุกวัน

 พรอ มทจี่ ะปรบั ใชแผนทเี่ ตรยี มไว เขากบั สถานะการณท่เี กิดขน้ึ ไดอ ยา งเหมาะสม

 เม่ือเกดิ เหตกุ ารณข ้ึน ควรปฏิบัตติ ามคําแนะนําของเจาหนา ทีท่ อ งถิ่นหรอื เจา หนาท่รี ัฐอยา ง
เครงครัด

 และทสี่ าํ คญั ทสี่ ดุ มีสติ อดทน และตรกึ ตรองกอ น

เรื่องท่เี ปน ประโยชน

แมวกับสนุ ขั จง้ิ จอก

วันหนึ่งแมวไดพบกับสุนัขจ้ิงจอก ทั้งสองเปนเพื่อนกัน และแลกเปลี่ยนความเห็นในการ
ดํารงชีวิตอยางสันติ แมวบอกสุนัขจิ้งจอกวา "ฉันเบื่อหนายเหลือที่ตองคอยว่ิงหนีศัตรู" สุนัขจ้ิงจอก
ถามวา "ทําไมละ" แมวบอกวา "ถาฉันไมหนีพวกมันก็ฆาฉันตายนะซี" สุนัขจิ้งจอกก็บอกวา "ฉันไม
รสู กึ กังวลกับพวกมนั แมแ ตน อย ฉนั มีอบุ ายมากมายที่จะใชกับศัตรทู ีม่ าทํารา ยฉัน" ขณะท่ีมันเดินเขา
ไปในปาลึก มีนกหลายตัวอยูบนตนไม สงเสียงรองอยางมีความสุข สุนัขจิ้งจอกรองบอกแมววา "ฉัน
จะแสดงอุบายของฉันใหแกทานสักสองสามอยาง" แตกอนที่สุนัขจ้ิงจอกจะเริ่มแสดง เสือตัวหน่ึงเดิน
ผานมา แมวรีบว่ิงหนีขึ้นไปบนตนไม สุนัขจิ้งจอกไมรูจะใชอุบายอะไรในการหลบหนี ในท่ีสุดมันก็ถูก
เสอื จบั กนิ เปน อาหาร กอ นทีม่ ันจะใชอ ุบายทีม่ ีอยอู ยา งมากมาย

เรื่องน้สี อนใหรวู า รเู พียงอยา งเดียวแตขอใหร ูแ น

สงิ โตกับหนเู จาปญ ญา

ในปาใหญแหงหนึ่งมีสัตวหลายชนิดอาศัยอยูรวมกัน สัตวทั้งหลายตางอยูกันอยางมี
ความสุข วันหน่ึงสิงโตไดเขามาอยู มันมีนิสัยดุรายมาก ชอบจับสัตวอื่นกินเปนอาหาร มันชอบจับวัว
กวาง มาลาย กินเปนอาหารเมื่อเวลามันหิว สัตวทั้งหลายตางหวาดกลัวมาก เจาหมีซึ่งเปนตัวแทน
ของบรรดาสตั วไดรอ งตะโกนขอรองใหสิงโตไปอยูทอี่ น่ื สงิ โตโมโหมาก มันรอ งบอกวา

"ถาสัตวตัวใดสามารถเลานิทานที่ไมรูจบได ขาจะยอมไปอยูที่อ่ืน แตถาไมมีใครเลาได
ขากจ็ ะจับพวกเขากินไปเรื่อย ๆ ฮะ ฮะ…….."

สตั วท้งั หลายตา งจนปญ ญา และพากนั หวาดกลัววาจะถกู จบั กนิ ไมวนั ใดกว็ ันหน่ึง
ยังมีหนูตัวหนึ่งไดรับอาสาขึ้นวา "เอาละ ขามีวิธีแลว ขาจะไปเลานิทานไมรูจบใหสิงโต
ฟง " วาแลวมันก็ไปหาสิงโต สงิ โตคิดวาหนูคงเลา ไมไ ด แตห นูไดเริ่มเรอ่ื งวา

102 คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

"กาลคร้ังหน่ึงมีตากับยายออกไปทอดแหหาปลาในแมน้ํา ขณะท่ีทอดแหออกไป แหไป
ติดหินที่ใตนํ้า แหขาดเปนรูใหญ ตาจึงดํานํ้าลงไปดู ตาเห็นปลาตัวหน่ึงวายนํ้าลอดรูแหไป….." สิงโต
จึงขัดข้นึ วา "เทาน้เี องหรือ……….จบแลว หรอื ……"

หนูตอบวา "ยัง" แลวก็เลาตอ "ตาก็เห็นปลาตัวที่สองลอดรูแหไปอีก" สิงโตถามวา "จบ
หรือยัง" หนูตอบวา "ยัง" แลวก็เลา "ตาก็เห็นปลาตัวท่ีสามวายนํ้าลอดรูแหไปอีก" สิงโตก็ถามอีกวา
"จบหรือยัง" หนูก็ตอบวา "ยัง" แลวก็เลาตอไปวาเห็นตัวท่ีส่ี หา หก………. พอสิงโตถามหนูก็ตอบ
เร่ือยจนไปถึงรอ ยท่รี อย…พนั สิงโตจึงบอกวา

"เอาละ เอาละ ขา ยอมแพนทิ านของเจา แลว เพราะถาใหเลาตอเจาคงมีปลาตัวท่ีหมื่น ตัว
ที่แสน นิทานของเจาไมรูจบจริง ๆ และขาก็ตกลงวาจะไปอยูที่อ่ืน" แลวสิงโตก็จากไป สัตวทั้งหลาย
ตางดใี จและชื่นชมในความฉลาดของหนูเจาปญหาเปนอยางมาก
เรอื่ งนส้ี อนใหรูวา จงแกปญหาดว ยปญญา และอยา ตีตนไปกอนไข

คูม อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 2 103

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุน ใหญ(เครือ่ งหมายลูกเสือช้ันพเิ ศษ) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

หนวยที่ 6 บริการ เวลา 1 ช่ัวโมง
แผนการจัดกิจกรรมที่ 19 การรายงานการใหบริการ

1. จุดประสงคก ารเรียนรู

สามารถบอกความหมายของคาํ วา บรกิ าร ชุมชน พัฒนา และการพัฒนาชุมชนได
2. เน้อื หา

2.1 ความหมายของคาํ วา การบริการ ชุมชน พัฒนาและการพัฒนาชมุ ชน
2.2 ประโยชนท่ีลกู เสอื ไดรบั จากการใหบ รกิ าร
2.3 กิจกรรมทีล่ กู เสอื สามารถปฏบิ ตั ิไดใ นการใหบ รกิ ารชุมชน
2.4 กิจกรรมทีล่ กู เสอื สามารถปฏบิ ตั ิไดเ ก่ยี วกบั การพฒั นาชุมชน
2.5 กฎลกู เสอื ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการใหบริการ
3. สื่อการเรียนรู

3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 ใบความรเู รอื่ ง การใหบรกิ าร
3.3 ใบงาน เรอื่ ง บรกิ าร
3.4 เร่ืองท่เี ปนประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 พธิ เี ปดประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบน่ิงตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก ารเรยี นรู

1) ผกู าํ กับลูกเสือและลกู เสอื สนทนา และแลกเปลย่ี นประสบการณใ นการบรกิ ารใหค วาม
ชวยเหลือผูอ ืน่

2) ผูกํากับลกู เสอื แบงลกู เสอื ออกเปน 3 กลุม โดยการรวมหมลู ูกเสอื พรอ มแจกใบ
ความรู และใบงานใหกลุม ลกู เสอื ศึกษาคนควา ดงั นี้

กลุม ท่ี 1 เร่ืองความหมายของคาํ วา การบริการ ชมุ ชน พัฒนาและการพฒั นาชุมชน
และประโยชนท ่ลี กู เสือไดร บั จากการใหบริการ

กลุมที่ 2 เรื่อง กจิ กรรมทล่ี ูกเสอื สามารถปฏบิ ตั ไิ ดในการใหบ รกิ ารชุมชน
กลุม ท่ี 3 เรื่อง กจิ กรรมท่ลี ูกเสือสามารถปฏบิ ัติไดเ กี่ยวกบั การพฒั นาชมุ ชน
3) ผกู าํ กบั ลกู เสอื ใหล กู เสอื แตล ะกลุมนาํ เสนอผลงานท่ไี ดจากการศึกษาคนควา ในท่ี
ประชมุ ใหญ โดยผูก ํากบั ลูกเสือเพิ่มเติมในสวนที่ไมส มบรู ณ
4) ผูกํากับลูกเสือและลูกเสือรวมกันสรุปถึงองคความรูท่ีไดรับจากการศึกษาคนความา
ซึ่งตรงกบั คาํ ปฏญิ าณของลูกเสือขอ 2 “ขาจะชว ยเหลือผอู ืน่ ทุกเมอ่ื ”

104 คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2

5) ผกู ํากบั ลกู เสอื แจกใบงานใหห มูลูกเสอื ไปจดั ทําโครงการ/กิจกรรมการใหบริการแก
ชุมชน และดาํ เนินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม กาํ หนดเวลา ไมน อยกวา 10 ชั่วโมง ภายในเวลา 2 เดือน และ
เขยี นรายงานการใหบรกิ าร เพอ่ื นําเสนอตอไป

4.4 ผกู าํ กบั ลกู เสอื เลา เรอ่ื งท่ีเปนประโยชน
4.5 พธิ ปี ด ประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธง เลกิ )
5. การประเมินผล

5.1 สังเกตพฤตกิ รรมจากการทาํ งานกลมุ
5.2 ตรวจความสําเร็จจากใบงานทีม่ อบหมาย
5.3 สังเกตจากการมีสว นรวมในการอภิปราย

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 19

เพลง

กระตา ยนอย

ฉันเปน กระตา ยตัวนอยมหี างเดยี ว สองหยู าวสั่นกระดุก กระดกุ กระดกิ

กระโดดส่ีขาทําทากระตุก กระต๊ิก เพ่ือนที่รักของฉนั คอื เธอ

เกม

กระตา ย กระแต

วธิ เี ลน

1. แบงลูกเสือออกเปน 2 ฝาย จํานวนเทาๆ กัน ฝายหน่ึงเปนกระตาย อีกฝายหนึ่งเปน
กระแต ทั้งสองแถวยืนหา งกันประมาณ 2 เมตร

2. ใหท้ังสองฝายหันหนาเขาหากัน และทางดานหลังของแตละฝายจะมีเสนอีกเสนหน่ึงหาง
ออกไปประมาณ 6-10 เมตร เปนเสน ที่ปลอดภัย

3. ผูกํากับลูกเสือจะเปนคนขานช่ือ สมมติวา ขานวา “กระตาย” แถวท่ีเปนกระตายจะรีบวิ่ง
ไปแตะแถวกระแต ถาฝายหนไี ปถึงเสน ปลอดภัยกอน ฝา ยกระแตจะแตะไมได

4. ท้ังสองแถวกลับมาเขาแถวที่เดิม ผูกํากับลูกเสือจะเริ่มขานอีก สมมติวา ถาขานเปน
“กระแต” ฝายกระแตตองรบี วิ่งไปแตะฝายกระตา ยเชนเดียวกัน

5. ฝา ยใดเหลอื สมาชกิ มากกวาเปนฝา ย “ชนะ”

คูม ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ิต ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 2 105

ใบความรู

ลกู เสอื กับการบรกิ าร

ความหมายของการบริการ
- คาํ วา “บรกิ าร” หมายถงึ การชว ยเหลือหรือการบาํ เพ็ญประโยชนตอตนเองตอ ผูอ่นื และตอ

ชุมชนลกู เสือจะตองมคี วามเลอื่ มใสศรทั ธาในคาํ วา “บรกิ าร” และลงมือปฏิบตั ิเรือ่ งนีอ้ ยา งจริงจังดวย
ความเขา ใจและโดยมที กั ษะหรือความสามารถในการใหบริการนนั้ ดวยความช่ําชอง วอ งไว คอื ไวใจ
ไดห รอื เช่ือได

- ความเหน็ ของ บี.พ.ี เก่ยี วกับ “บริการ”
บ.ี พี. เห็นวา การศกึ ษาท่ีเดก็ ไดร บั จากทางบา น ทางโรงเรยี น ทางวัด และอื่น ๆ ยังมี

ชอ งโหวอยู 4 ประการ ซ่งึ การลกู เสอื มงุ หมายที่จะอดุ ชอ งโหวเหลา น้ันโดยเนนการฝกอบรมลกู เสือ
ในเร่ืองตอ ไปน้ี คือ

1) ลักษณะนสิ ยั และสตปิ ญญา
2) สขุ ภาพและทกั ษะ
3) การฝม อื และทกั ษะ
4) หนาทพี่ ลเมอื งและการบาํ เพญ็ ประโยชนตอ ผูอ นื่
การลกู เสอื มุงหมายทีจ่ ะฝกอบรมลูกเสือทง้ั ในทางรางกาย สติปญ ญา ศลี ธรรม จติ ใจและ
สงั คม เพ่อื ใหเปน พลเมอื งดี รจู ักหนาที่รับผิดชอบและบาํ เพญ็ ตนใหเปน ประโยชนแ กช ุมชน ตลอดจน
ประเทศชาติ
ตามคตขิ องลูกเสือพลเมืองดี คือบุคคลท่มี ีเกียรติเชื่อถือได มีระเบียบวนิ ยั สามารถบงั คับ
ใจตนเอง สามารถพง่ึ ตนเอง ทั้งเต็มใจและสามารถทีจ่ ะชวยเหลือชมุ ชนและบาํ เพญ็ ประโยชนต อ ผูอนื่
- ความมงุ หมายโดยเฉพาะของกิจการลูกเสอื
1) เพื่อใหลูกเสือไดเขารวมในขบวนการลูกเสือซึ่งมีผูใหญเปนผูช้ีแจง แนะนํา และทํา
หนาท่ีเปนที่ปรึกษา จะโดยใหลูกเสือในกองปกครองกันเอง ประกอบกิจกรรมตาง ๆและเรียนรูโดย
การกระทํา
2) เพ่อื ใหลูกเสอื ไดม ีโอกาสฝก ปฏิบัติการตามที่ตนถนดั
3) เพื่อใหลูกเสือไดฝกหัดรับผิดชอบตอตนเองและเพิ่มการฝกใหกวางขวางย่ิงข้ึน โดย
อาศยั ระบบหมู
4) เพื่อใหลูกเสือมีโอกาสแสดงสมรรถภาพของตนเองดว ยความพึงพอใจและความภาคภูมิใจ
โดยการใชร ะบบเครื่องหมายวิชาพเิ ศษ
5) เพ่ือใหล ูกเสอื รูจักอดทน นิยมชวี ิตกลางแจง และการบรกิ ารอยา งมชี วี ติ จติ ใจ โดยเฉพาะ
การบรกิ ารชุมชน
6) เพ่ือสง เสริมการแสวงหาอาชีพทีเ่ หมาะสม
- การบรกิ ารหรอื การบาํ เพญ็ ประโยชนของลกู เสอื ในเรอื่ งการบรกิ ารนมี้ ีจุดมุง หมายเพื่อให

106 คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

ลูกเสอื ทกุ คนไดเ ขาใจความหมาย รวู ธิ กี ารในการบรกิ าร รหู ลกั ในการจัดกิจกรรมดานบรกิ าร และมี
ความเขาใจ สามารถปฏิบตั ดิ ว ยตนเองได การลูกเสอื ตองการผูเสียสละ ผูมีจติ ใจเปนลกู เสอื อยาง
แทจ ริง (Scouting Spirit) ไมเปน คนเห็นแกตวั ไมทําอะไรโดยหวังผลสวนตนเปน ทตี่ งั้ อยตู ลอดเวลา
ในเวลาเดยี วกันการเสียสละประโยชนแ ละความสุขสวนตัว เพื่อบริการตามความหมายของการ
ลกู เสอื นก้ี ต็ อ งใหคาํ นึงถึงสภาวะแวดลอ ม และสถานภาพของตนเองอยเู สมอ ๆ เพ่ือจะไดตระหนัก
ถึงขดี ความสามารถของตนเอง จะไดไมกอใหเ กดิ ความเดือดรอ นแกต นเองและครอบครัว
ประเภทหรอื ข้ันตอนในการบรกิ าร

1) บริการแกต นเองกอ น เปน การเตรยี มตวั เองใหพ รอ มเสยี กอ น เพราะถาหากเรายงั ไมพรอ ม
เราก็ไมอ าจจะไปใหบริการแกผ ูอ่ืนได หรือไดก็ไมดีเทา ทคี่ วร การบรกิ ารแกต นเองกอนน้นั เปนการ
ฝก ในเรื่องการบรกิ ารไปดว ย เพราะคาํ วา การบริการแกต นเองนัน้ หมายถงึ ตัวเรา ครอบครัวของเรา
ผบู ังคบั บญั ชา ผูใตบ งั คบั บญั ชา เพอ่ื นรว มงาน ญาตสิ นิทมติ รสหาย กลาวโดยสรุปไดวากอนท่เี รา
จะออกไปใหบรกิ ารแกผอู ่นื น้นั จาํ เปน ตอ งสรางความพรอมใหแ กตวั เองเสียกอน เพราะตราบใดทเ่ี รา
ยงั ตอ งขอความอุปการะ ตอ งอยภู ายใตการโอบอมุ คาํ้ ชขู องผอู ืน่ ตอ งขอใหผูอ่นื ชว ยเหลือเรา แสดงวา
เรายงั ไมพรอ ม ฉะนน้ั ลกู เสอื วิสามัญตองเตรยี มตวั ใหพรอมในทกุ ๆ ดาน ไมวาการเงนิ สุขภาพ
เวลาวาง สตปิ ญ ญา ฯลฯ

2) บรกิ ารแกหมูคณะและขบวนการลกู เสอื เมอ่ื เราฝกบรกิ ารตนเองแลว ตอไปก็ขยายการ
ใหบริการแกห มูคณะของเรากอน เปน การหาประสบการณห รือความชํานาญ ดว ยการบริการเปน
รายบคุ คล บรกิ ารแกกองลกู เสือของเราในการงานตา งๆ อันเปน สวนรวมและรวมไปถึงการใหบริการ
แกกองลกู เสอื อืน่ ซ่งึ ถอื เปนขบวนการของเรา ลกู เสือวสิ ามญั ทุกคนควรไดรบั การสง เสริมให
ชว ยเหลือการดําเนินกิจการของกองลูกเสอื สามญั หรือกองลูกเสือสาํ รอง ในทุกวิถที าง ท้งั น้ี เพ่ือจะ
ไดม ีประสบการณภ าคปฏบิ ตั ิในการฝกอบรมลูกเสอื ซึ่งจะชวยใหเ ขาเหมาะสมทจี่ ะเปนผูก าํ กับลกู เสือ
และเปน หวั หนา ครอบครวั ในอนาคต ลกู เสอื ควรไดรับมอบหมายความรับผดิ ชอบในงานทมี่ ีกําหนด
แนน อนในการชว ยเหลอื ผกู ํากบั ลูกเสอื ประเทศชาตติ อ งการอาสาสมคั รเปน จํานวนมาก เพอื่ ชว ยเหลือใน
เรือ่ งการศึกษา มเี รอ่ื งอืน่ ๆอีกมากมายนอกเหนือไปจากการอาน การเขียน และการคิดเลข ซ่งึ เปน
สงิ่ จําเปนท่เี ด็กสมัยนี้จะตองเรียนรูเ พ่อื จะไดป ระสบความสาํ เรจ็ ในชวี ติ การที่เวลาเรยี นมรี ะยะสนั้ และ
ครูกม็ ีจาํ นวนจํากดั ยอมทาํ ใหเด็กไมมโี อกาสไดเ รยี นรสู ง่ิ ตาง ๆเหลา นีด้ งั นั้น ความชว ยเหลอื ของชาย
หนมุ รนุ พีท่ ีเ่ ปนอาสาสมัครจงึ เปนส่ิงที่ประเทศชาตติ อ งการอยางย่ิง

ลูกเสือสามญั ผซู ่ึงใหความชว ยเหลือในการฝก อบรมหรือในการดําเนนิ งานของกองลกู เสือ
สามัญ หรอื กองลูกเสือสาํ รอง และโดยเฉพาะในการอยูคายพกั แรม นับไดวาเปนผูใ หบ ริการทม่ี คี ณุ คา
อยา งย่ิง ในเวลาเดยี วกนั งานนย้ี อ มนําความพอใจมาใหลูกเสอื เอง เพราะการฝกอบรมเด็กนัน้ จะได
เห็นเขาสนุกสนาน มลี ักษณะนิสยั ที่ดขี ึ้น ยอ มทําใหลกู เสอื วสิ ามัญรสู กึ วา ไดทําอะไรบางอยางท่ีคุมคา
การฝกอบรมแกร ุนนอ งนัน้ ลกู เสือสามัญรุนใหญจ ะตองทําตนใหเ ปน ตัวอยา งทด่ี ีเพ่อื ใหรนุ นองทําตาม
ดว ยการปฏบิ ตั ติ นใหเ ปนคนสนุกสนาน รา เริง เปนมติ รกับคนทุกคน ซื่อสตั ยส ุจรติ มกี ริ ยิ าสภุ าพ และ
ใชว าจาสภุ าพไมห ยาบโลน

คูมอื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวิต ช้นั มัธยมศึกษาปที่ 2 107

3) บรกิ ารแกช ุมชนเมือ่ ฝก บริการแกตนเอง แกข บวนการลูกเสอื แลว ก็สมควรท่ีจะไปบรกิ าร
แกชมุ ชนตามสติปญญา ประสบการณ และความสามารถ แนวคิดในการบริการแกชุมชน
คอื การชาํ ระหนแ้ี กชุมชนดว ยการรว มมอื กันเสียสละ รวมกนั เพอ่ื ดําเนนิ การจดั กิจกรรมอันเปน
สาธารณประโยชนเ ชน การพฒั นาอาคารสถานท่ี บานเมืองในชมุ ชนนนั้ การสรา งสาธารณสถานการ
จัดงานร่ืนเรงิ งานสงั คมเพ่อื ประโยชนข องสังคมนั้นๆ ซ่งึ จะทาํ ใหล กู เสือไดป ระสบการณจากชีวิตจรงิ
หลงั จากทเ่ี ขาพน วัยจากการเปน ลูกเสอื ตอไปเขาจะสามารถปรบั ตวั เขา กบั สังคมทเี่ ขาอาศัยอยไู ด
สามารถประกอบอาชพี ไดโ ดยปกตสิ ุข เพราะเขารจู กั เสยี สละเพ่ือบริการแกชมุ ชนทก่ี องลูกเสอื ต้ังอยู
เสียกอน แลวจงึ คอยๆ ขยายวงกวา งออกไปตามความสามารถการบริการแกชมุ ชนทาํ ไดดว ยการ
ใหบริการในเรอื่ งตา งๆ เชน ทาํ ความสะอาด ความชว ยเหลือผูประสบอุบัตเิ หตุ การควบคุมการจราจร
การดบั เพลิง เปนตน ท่สี าํ คญั อีกประการหนึ่งคอื การพฒั นาชมุ ชน
หลกั ของการใหบรกิ าร

1) เปน กจิ กรรมทจี่ าํ เปน เห็นความจาํ เปน ที่ตอ งใหบ รกิ ารคือตองดวู าจําเปน แกไ หนสาํ หรบั
เร่อื งนน้ั ที่จะตอ งไดร ับการบรหิ าร

2) ใหบ รกิ ารดว ยความสมคั รใจ เตม็ ใจท่จี ะใหบรกิ าร
3) ใหบ ริการอยา งมปี ระสิทธภิ าพ คือ มที ักษะในการบริการ เชน การปฐมพยาบาล เทคนคิ
ในการชวยชวี ติ ฯลฯ
4) ใหบ รกิ ารแกผ ูท ่ีตองการรับบรกิ าร เชน คนทก่ี าํ ลงั จมนํา้ หวงั จะไดค นชวย การพฒั นา
ชุมชน ใหบรกิ ารแกผทู ่ถี กู ทอดทิ้ง เชน คนชรา คนปวยและผูไมส ามารถชว ยตนเองได
5) บริการดวยความองอาจ ตงั้ ใจทาํ งานใหเ สรจ็ ดว ยความมัน่ ใจ ดวยความรับผดิ ชอบ โดย
ใชค วามรทู ม่ี ีอยใู หเกิดประโยชนอยางแทจริง อุทศิ เวลาใหแ กง านอยางจรงิ จังในขณะนั้นรจู ักแบง เวลา แบง
ลักษณะงาน มคี วามมมุ านะในการทาํ งานใหเ ปนผลสําเร็จตามเปาหมายทก่ี าํ หนดไวใหจ งได ยอมจะ
ไดร ับความสาํ เร็จเรียบรอยในการทํางาน จะทาํ ใหเรารสู ึกภูมิใจ
งานบรกิ าร ท่ลี กู เสือแตล ะคนหรือกองลกู เสือจะทําไดน นั้ มีหลายประการ เชน
- โครงการใชผ ักตบชวาทําปุยหมัก โครงการนีเ้ ปน โครงการที่ยิงนกสองตัวในเวลา
เดยี วกัน คือ เปนการกาํ จัดผกั ตบชวา และเปน การทาํ ปุย หมัก เพือ่ ใชประโยชนใ นการปลกู พืชผัก
ตา งๆ ใหไดผ ลดีย่ิงขึ้น โครงการนเ้ี สียคาใชจ ายนอ ย สอดคลองกับนโยบายของรฐั บาล และอยูใ นวสิ ัย
ทกี่ องลูกเสือวสิ ามัญจะทาํ ไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ
- โครงการใหบรกิ ารแกชมุ ชน เชน โครงการใหความปลอดภยั ในการจราจรหางานใหค น
พกิ ารทาํ จดั ทาํ สนามเด็กเลน สาํ หรบั เดก็ เยาวชน พิการ โครงการบริการแกผปู ระสบอบุ ตั เิ หตดุ ว ย
การพยายามศกึ ษาหาความรใู นเรื่องการปฐมพยาบาล เพอื่ จะไดชวยเหลือผปู ระสบอุบตั เิ หตุอยางมี
สมรรถภาพ การดบั เพลิงดวยการเขารบั การอบรมวชิ าบรรเทาสาธารณภัย ฯลฯ
- โครงการพัฒนาชุมชน โดยทาํ การสาํ รวจความตอ งการของทอ งถิน่ แลว วางแผนและลงมอื
ปฏิบตั ติ ามโครงการนัน้

108 คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2

- โครงการใหบรกิ ารแกกิจกรรมลกู เสอื เชน ปฏบิ ตั ิตามหนาทท่ี ไี่ ดรบั มอบหมายทาํ หนาที่

กรรมการของกองทําหนา ทพ่ี ่เี ลี้ยงชว ยดแู ลลกู เสอื และชวยเหลือในการฝกอบรมลูกเสอื ประเภท

อืน่ ๆ ในวชิ าทตี่ นถนดั เชน การผูกเง่อื นเชอื ก การปฐมพยาบาล แผนท่ีเขม็ ทศิ ระเบียบแถว เปนตน

การปฏบิ ตั ติ นตามคตพิ จนของลกู เสอื วสิ ามัญ

คติพจน “บริการ” น้ันเปนเสมือน “หวั ใจ” ของการลกู เสอื วิสามัญวา จะตอ งยดึ มั่นการ

เสยี สละดว ยการบริการ แตก ารบรกิ ารนีม้ ิไดห มายถงึ เปนผูรับใชหรือคนงานอยา งทีบ่ างทา น

เขาใจ การบริการในความหมายของการลูกเสอื วสิ ามัญน้ี เรามงุ ท่จี ะอบรมบม นิสยั และจิตใจใหไ ด

รจู ักเสยี สละ ไดร ูจ ักวิธหี าความรูและประสบการณ อนั จะเปนประโยชนต อไปในอนาคต และใน

ทีส่ ดุ ก็จะทาํ ใหส ามารถประกอบอาชพี โดยปกติสขุ ในสงั คม การบรกิ ารหมายถึงใหประกอบ

คณุ ประโยชนแ กมนษุ ยชาติ ดวยการถอื วาเปนเกียรตปิ ระวตั สิ งู สดุ แหง ชีวิตของเรา ในการที่รจู ัก

เสยี สละความสุขสวนตวั เพอ่ื บาํ เพ็ญประโยชนแกผ ูอนื่ ทั้งนี้ เพอื่ จุดมงุ หมายใหส ังคมสามารถดํารง

อยไู ดโดยปกติ เปน การสอนใหลูกเสือวสิ ามัญตง้ั ตนอยูในศลี ธรรมไมเ อารัดเอาเปรียบผทู ี่ยากจนหรือ

ดอยกวา นอกจากนนั้ การบริการแกผ ูอ ืน่ เปรียบเสมือนเปนการชําระหนี้ทีไ่ ดเกิดมาแลว อาศัยอยใู น

โลกน้ีกด็ วยความมงุ หวังจะใหทุกคนเขา ใจการใชชวี ติ อยูรว มกนั ในสงั คม มองเห็นความจําเปนของ

สงั คมวา ไมม ใี ครสามารถดํารงชวี ติ อยไู ดโดยลาํ พงั ทุกคนจําเปน ตองพงึ่ พาอาศยั กนั ไมวา ดา นอาหาร

การกิน ดา นเครื่องนงุ หม ท่ีอยอู าศยั ยารักษาโรค หรืออ่นื ๆ กต็ าม เราตางคนตางมีความถนดั

ในการงานอาชพี ของแตละคน แลว จงึ นําผลงานของตนไปแลกเปลี่ยนกัน ทงั้ นี้ เพ่ือความอยูรอด

ของทานและของสงั คม ฉะน้นั ทา นจงึ เปรียบเทียบการบริการหรอื การเสียสละนัน้ เสมอื นเปน การ

ชําระหน้ี ทีเ่ ราไดเ กิดมาและอาศยั อยใู นสงั คมน้ัน ๆ เพราะเราตอ งพึ่งผูอ่ืนอยูต ลอดเวลานบั แตเ ราเกิด

ลูกเสือเก่ียวขอ งกบั ชุมชนอยางไร

- กองลูกเสอื ตัง้ อยใู นชุมชน บุตรหลานของสมาชิกในชมุ ชนเปนลกู เสือในกองน้ัน

- กองลกู เสือเปน สวนหนึ่งของชมุ ชน เกยี่ วของกบั ชมุ ชนอยา งใกลช ดิ

- ถา กองลกู เสอื ทําประโยชนใ หแกช มุ ชนชุมชนน้ันจะยอมรบั นับถอื กองลกู เสือนนั้ และจะเขา

ชวยเหลือกิจการของกองลูกเสือนั้น

- กองลูกเสือมีความสัมพนั ธอันดกี บั หนวยงานที่มีอยูใ นชุมชนน้ัน ตลอดจนหนว ยงานอนื่ ที่

มิใชเปน หนว ยงานของรฐั โดยเฉพาะอยา งยิ่งจะตองมคี วามสัมพันธอ ันดีกับองคการเยาวชนอน่ื ดว ย

ความหมายของคําวา ชุมชน

ชมุ ชน หมายถงึ กลุมของประชาชนซ่ึงอาศยั อยรู วมกัน ภายในอาณาเขตอนั จาํ กัดมี

ขนบธรรมเนยี มประเพณี มคี วามเปนอยูคลายคลึงกนั และมีความสนใจรว มกันในการดํารงชวี ติ เรา

จึงเขาใจไดว า หมูบาน ตําบล อําเภอหรือจงั หวัดเปน ชุมชน ขอบเขตของหมูบา นหรอื ตาํ บลดงั กลาว

อาจถอื ไดว าเปนขอบเขตของชุมชนนั้น ๆ

นักวิชาการบางทานอาจกลาววา ชมุ ชน คือบุคคลทม่ี จี าํ นวนตงั้ แต 2 คนขึ้นไป ซ่ึงรวมอยู

ดวยกนั ในอาณาบริเวณแหง หนึ่ง บุคคลดังกลาวมีทงั้ หญิงและชาย มีหลายวยั และหลายอาชพี

คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 109

ประกอบดว ยบคุ คลทม่ี ฐี านะแตกตา งกัน เชน ร่ํารวย ปานกลางและยากจน บุคคลในชุมชนอาจ
แตกตา งกันในเรื่องของความรู ความประพฤติ ความขยนั หม่นั เพียรและการประกอบอาชีพ

ปญ หาของชมุ ชน
1. ปญ หาทางสงั คม การเปลย่ี นแปลงสงั คมทางดานวตั ถุ แนวความคดิ และสภาวะแวดลอม
เปลย่ี นไปตามกาลเวลา ซึ่งประชาชนสว นใหญป รบั ตัวตามไมทนั
2. ปญหาการบรหิ ารงานของทางราชการ ในรปู การบรหิ ารงานโดยกระทรวง ทบวง กรม
ตา ง ๆ ในสวนกลางเพื่อกระจายบริการของรัฐไปสูชนบท ยังขาดแคลนเจา หนา ท่ีซ่ึงจะไปรว ม
ปฏบิ ัตงิ านและเปนสื่อประสานกับประชาชน จงึ ทําใหบ ริการของรฐั ไมถ งึ มือประชาชนไดอ ยา ง
สะดวก และทั่วถึง และโดยบนั ทึกตามเจตนารมณ
3. ปญหาดา นประชาชน เราตองยอมรับวาประเทศไทยเปน ประเทศทกี่ าํ ลงั พัฒนา หรือยัง
ดอ ยพฒั นาจงึ มปี ญหาทีพ่ อจะกาํ หนดได 4 ประการ คอื

3.1 ปญหาความยากจน ซึ่งมีอยทู ่ัวไปทั้งในเมืองและชนบท หรืออาจคิดเปน 72.5%
ของประชากรทงั้ ประเทศ

3.2 ปญ หาความไมรู ขาดความรทู างการเกษตรแผนใหมเชน การใชปยุ บํารุงดนิ การ
ปลกู พืชหมุนเวยี น การใชพ ชื พนั ธุท่มี คี ณุ ภาพ ความไมรหู นงั สือ ตลอดจนความหลงใหลเชอื่ ถอื ใน
สง่ิ ทงี่ มงายไรเหตผุ ล ฯลฯ

3.3 ปญหาโรคภัยไขเ จบ็ เม่ือประชากรมีโรคภยั ไขเจบ็ เปน อุปสรรคตอการพัฒนา
ทุกดา น

3.4 ปญ หาความสงบเรยี บรอ ยประชากรท้งั ในเมอื งและชนบทยังขาดความอนุ ใจใน
ดา นความปลอดภยั ทัง้ ชวี ิตและทรัพยสนิ จึงเปน อปุ สรรคในการพฒั นาหนา ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบของ
ลูกเสอื วสิ ามญั ท่ีมีตอชมุ ชน ทาํ ไดโ ดยการชว ยเหลือชมุ ชน บรกิ ารชุมชนและพฒั นาชมุ ชน

ลูกเสือมบี ทบาทในการชวยเหลอื ชุมชน
- ตามวตั ถุประสงคห รอื อุดมการณข องลูกเสอื ลูกเสอื จะชว ยสรา งสรรคสังคมชมุ ชนทตี่ นอยู

ใหดขี น้ึ และมีความสงบสขุ
- ลูกเสืออาจชว ยเหลือสงั คมหรือชมุ ชนเก่ียวกับเรือ่ งเด็กหรือคนพกิ าร
- ลูกเสอื อาจเขาไปเกยี่ วขอ งกับชุมชนโดยการ
- ใหบ รกิ ารชุมชน เชน ชวยในการรกั ษาความสะอาด ชวยควบคมุ การจราจร ชว ย

บรรเทา- สาธารณภัย ฯลฯ
- ชวยในการพัฒนาชุมชน เชน โครงการบํารงุ พนั ธปุ ลา ฯลฯ

การบรกิ ารชุมชน คอื การทีล่ ูกเสอื เขาไปชว ยเหลอื ชมุ ชนในโอกาสตา งๆ เปนครง้ั คราวเชน
การบาํ เพ็ญประโยชนดวยการทําความสะอาดถนนหนทาง วัดวาอาราม โรงพยาบาล ตลาดสด

110 คูม อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 2

คูคลอง แมน้าํ ฯลฯ โดยชมุ ชนมิไดขอรองและเขา มารว มมอื ในการบริการแตเ ปน การปฏบิ ัตขิ อง
ลูกเสือดว ยความศรัทธา อาสาสมัครตามอุดมคติ และเพอื่ การโฆษณาเผยแพรก จิ การลกู เสอื เขาสู
ประชาชน

การพัฒนาชุมชน
คําวา พฒั นาชมุ ชนนั้น เปนคําสองคาํ ผสมกันอยู คือ “พัฒนา” และ “ชุมชน”
คําวา “พัฒนา” มผี ใู หความหมายไวว า “คือการเปล่ยี นแปลงใหด ีข้นึ ”หมายถึง สง่ิ ใดคนใดหรอื
กจิ กรรมใด ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง และเปลย่ี นแปลงไปในทางทด่ี ีขน้ึ เชน เด็กเปลยี่ นจากคลานเปน
ยืนไดหรอื เดินได บานสกปรกเปลย่ี นเปน บานสะอาด ทางเดินเทาเปล่ียนเปน ถนน ดังนีเ้ ปนตน
คาํ วา “ชมุ ชน”ก็หมายถงึ “กลุมของประชาชนซง่ึ อาศัยอยรู วมกัน”
รวมทง้ั สองคาํ เขาดว ยกนั เปน “พฒั นาชมุ ชน” ก็หมายถงึ การเปลยี่ นแปลงชมุ ชนหรือหมูบาน
ตาํ บลใหด ขี ้นึ นน่ั คือ การเปลีย่ นแปลงคน สง่ิ แวดลอ มตวั คนเชน บา นถนนเสอ้ื ผาปจ จยั 4การทํามา
หากินความเปน อยู
จดุ มงุ หมายของงานพัฒนา
1. มุงท่ีจะแปรเปลี่ยนทศั นคติของประชาชนจากสภาวะ หรอื สถานการณเกา แกล า สมัยให
ทันสมยั มคี วามคดิ กาวหนา
2. มงุ ทีจ่ ะใหป ระชาชนมีความสาํ นกึ ในการท่ตี นเปน สมาชิกของชมุ ชน
3. มงุ ท่จี ะใหป ระชาชนมีความรบั ผดิ ชอบ
4. มงุ ที่จะใหป ระชาชนรจู ักชวยตนเองไดตลอดไป
หลักเกณฑก ารพัฒนาชมุ ชน
1. ปลูกฝงความเชอ่ื มนั่ ในการชวยเหลือตนเองและการทาํ งานรวมกัน
2. ยึดการมีสวนรว มของประชาชน
3. ใชท รพั ยากรในทองถิน่ ใหม ากที่สดุ
4. รฐั บาลใหค วามสนับสนนุ ทางดา นวิชาการและวสั ดุ

ลูกเสือกับการพัฒนาชมุ ชน
ในปจ จุบนั สาํ นักงานลูกเสอื โลก และสมาคมลูกเสอื ของประเทศตางๆ ไดใ หค วามสนใจ
สนบั สนุนสง เสริมในเร่อื งนีเ้ ปนพเิ ศษ เพราะไดคํานึงถงึ ความสาํ คญั ของกจิ การลกู เสือโดยเฉพาะตัว
ลกู เสอื ซ่ึงเปน สว นหนึ่งของชมุ ชน จะชว ยเหลอื ตอชมุ ชนซึง่ ตนอาศยั อยไู ดเ ปนอยางดียิง่ และในการ
ประชุมสมัชชาลูกเสอื โลก คร้ังที่ 28 ระหวา งวนั ท่ี 10-14 สิงหาคม 2524 ณ เมืองดาการ ประเทศ
เซเนกลั อาฟริกา ก็ไดเนน เรือ่ งน้ไี วเ ปน อยางมาก สําหรับประเทศไทยกไ็ ดด ําเนินการในเร่อื งน้ีอยู
แลวโดยไดแตง ต้ังคณะอนุกรรมการลูกเสอื พัฒนาชมุ ชนขึ้น และแตงต้ัง นายชลอ ธรรมศริ ิ ผูต รวจ
ราชการประจาํ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี (ขณะนน้ั ) เปนผูตรวจการลูกเสือฝายพฒั นาชมุ ชน พรอ มทงั้ ได
จัดทาํ หลกั สตู รลกู เสือพฒั นาชมุ ชน เพ่ือทําการอบรมใหล กู เสือไดเรยี นรทู จ่ี ะดาํ เนนิ การเขา ชว ยเหลือ
ในการพฒั นาชุมชนตอ ไป

คูมอื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ิต ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 111

การอนรุ ักษ
การอนุรกั ษสง่ิ แวดลอม เปนบทบาทของลูกเสือวสิ ามญั ทุกคนอกี ประการหน่ึง
สิ่งแวดลอมทอ่ี ยูร อบตวั เรามคี ุณประโยชนตอการดํารงชวี ติ ในสังคมเปน อยา งดี ถา มนุษยไม
รจู กั ปรบั ปรุงอนรุ กั ษส ิ่งแวดลอ มทอี่ ยรู อบตวั เราใหอยใู นสภาพทดี่ ี หรอื ไมร ูจ กั ใชทรัพยากรและ
สง่ิ แวดลอ มใหถกู วธิ ีแลว จะกอ ใหเกดิ การเสยี หายตามมาภายหลังหลายประการ ไดแก ส่งิ แวดลอ ม
เปน พษิ ซ่ึงเปน การบอนทาํ ลายชีวติ มนษุ ย สัตว พชื เปน ตน

การอนรุ ักษดนิ
1. ไมควรปลกู พืชชนดิ เดยี วซํา้ ๆซาก ๆ ในท่เี ดมิ ยอมจะทาํ ใหดนิ เสอ่ื มคุณภาพไดผ ลผลติ
นอย
2. ใสป ุย หรอื ปลูกพชื สลบั และหมุนเวียน
3. ปลูกพืชคลุมดินหรือหญา เพือ่ ปอ งกันการกัดเซาะพังทลายใหน อ ยลง
4. ลดการทําลายหญา ท่ีปกคลมุ
5. ระงบั การระบายนํ้าออกและลดการใชน ้ําทดี่ ดู ซึมจากดนิ ฯลฯ

การอนรุ ักษนํา้
1. ใหก ารศกึ ษาแกป ระชาชนใหเขา ใจถึงประโยชนใ นการปองกนั รักษาแหลง นา้ํ ใหส ะอาด
และโทษท่ีเกดิ จากแหลงนํ้า
2. สนับสนนุ ใหมกี ารคนควาวิจัย หาสิง่ ใหมท ีเ่ หมาะสมในการคนควาหาสารเคมีทีจ่ ะมาแทน
สารพิษอนั ตรายตาง ๆ เชน ด.ี ดี.ที. หรือยาฆา แมลง
3. ไมท ง้ิ ขยะและปฏิกลู ลงในแมน ํา้ ลาํ คลอง
4. จัดระบบการกาํ จัดนาํ้ โสโครกจากครัวเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมใหมีประสทิ ธภิ าพ
จึงปลอยลงสแู มนาํ้
5. รัฐบาลจะตอ งกาํ หนดนโยบายและวางแผนในการปอ งกัน และแกไขปญ หาน้าํ เนาให
แนนอนและมปี ระสิทธภิ าพ

การอนรุ กั ษสตั วปา
พระราชบญั ญตั ิสงวนและคมุ ครองสัตวป า พ.ศ. 2503 ไดใหคาํ นิยามศพั ทในพระราชบัญญตั ิ
ไวดังน้ี
สัตวป า ไมห มายรวมถงึ แมลงและไขของแมลง
สตั วสงวน หมายความถงึ สตั วท ่ีหายาก
สัตวป า คุม ครอง หมายความถงึ สตั วป า คมุ ครองประเภท 1 และสตั วป า คุมครองประเภท 2
สัตวป าคุมครองประเภทที่ 1 หมายความถึงสตั วป าซงึ่ โดยปกติไมใ ชเ นือ้ เปนอาหาร หรอื ไม
ลา เพอื่ การกฬี า หรือสัตวป า ทที่ ําลายศตั รพู ืช หรอื กําจัดสิ่งปฏิกูล หรือสตั วป า ทค่ี วรสงวนไวป ระดับ
ความงามตามธรรมชาติ หรอื สงวนไวม ิใหล ดจาํ นวนลง ทงั้ นตี้ ามทร่ี ะบใุ นกฎกระทรวง

112 คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 2

สัตวป าคมุ ครองประเภทที่ 2 หมายความถึงสตั วซ ึ่งตามปกตคิ นใชเ น้อื เปน อาหาร หรือลา
เพือ่ การกีฬาตามท่ีระบไุ วในกฎกระทรวง

ลา หมายถึงยิง ดัก จบั หรือฆา สัตว หรอื ทาํ อนั ตรายดว ยประการใดแกส ตั ว และหมายความ
ตลอดถึงการไล การตอน การเรยี กและการลอ เพือ่ การกระทาํ ดงั กลาวแลวดว ย

เนอื้ หมายความถงึ เนื้อของสัตวไ มว าจะไดป ง ยา ง รมหรอื ตากแหง หรอื ทาํ อยา งอน่ื เพอื่
ไมใ หเนาเปอ ย และไมว า จะอยูในรางของสตั วน น้ั หรือชาํ แหละแลว

พระราชบญั ญตั ิน้ีไดก ําหนดขอ ความทล่ี กู เสอื ควรทราบมดี ังน้ี
1. นอกจากพนกั งานเจาหนาท่ี หรอื เจาพนักงานอื่นใดซึ่งตองเขาไปปฏบิ ตั ิการตามหนา ที่
หา มมิใหผ ใู ดเขา ไปในเขตรกั ษาพนั ธุส ตั วป า เวนแตจะไดรบั อนญุ าตจากพนักงานเจาหนา ที่
2. ในเขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า หามมิใหผูใดเขา ไปครอบครองยึดถอื ที่ดิน หรือตดั โคน แผว
ถาง เผา ทําลายตน ไม หรอื พฤษชาตอิ น่ื หรือขดุ แร ดนิ หิน สัตว หรือเปลย่ี นแปลงทางนา้ํ หรอื
ทําใหแ มน ํ้าในลาํ นา้ํ ลาํ หว ย หนอง บึง ทวมทนหรือเหือดแหง หรอื เปนพษิ ตอสัตวป า
3. หามมิใหผใู ดลา สตั ว ไมวาจะเปนสตั วป า สงวน หรือสัตวปา คมุ ครอง หรือมีใชห รอื เกบ็
หรือทาํ อันตรายแกไ ขในรังของสตั วป า ซ่งึ หามมใิ หลา สัตวน ้ันในบริเวณวดั หรอื ในบรเิ วณสถานทซ่ี ่งึ
จดั ไวเพอ่ื ประชาชนใหเปน ท่ีประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา
4. ผูใดซอนเรน ชว ยจําหนา ย ชว ยพาเอาไปเสยี ซ้อื รับจาํ นําหรอื รบั ไว ประการใด ซ้อื
สัตวป าหรอื เนอื้ ของสัตวปา อันไดม าโดยกระทาํ ความผิดตามพระราชบญั ญตั ินี้ ตอ งระวางโทษ
จาํ คุกไมเกนิ 1 เดือน
ความจําเปนในการอนุรกั ษธ รรมชาติ
ความสําคัญของธรรมชาติและส่งิ แวดลอมทอ่ี ยูรอบตวั เรา มีคณุ ประโยชนต อ การดํารงชวี ติ
ในสังคมอยา งยง่ิ ถา มนษุ ยไ มรูจกั ใชทรพั ยากรและสิ่งแวดลอ มใหถ กู วิธแี ลว จะกอ ใหเ กิดการเสยี หาย
ตามมาหลายประการ ไดแ ก สง่ิ แวดลอมเปน พิษ ซงึ่ เปน การบอ นทําลายชวี ติ ของมนุษย พชื และ
สตั วอ ่ืน ๆ ไดแก การขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาติ เชน ดิน นา้ํ ปา ไม แรธาตุ สัตวป า และ
แหลงเสริมสรา ง นนั ทนาการ
การอนุรกั ษสถานท่ีสําคญั ทางประวตั ิศาสตร
โบราณสถาน หมายความวา อสงั หาริมทรัพย ซง่ึ โดยอายหุ รือโดยลักษณะแหงการกอ สรา ง
หรอื โดยหลักฐาน เกี่ยวกบั ประวตั ิของอสังหาริมทรัพยน ้ันเปนประโยชนใ นทางศลิ ปะประวัตศิ าสตร
หรือโบราณคดี
โบราณวตั ถุ หมายความวา สงั หาริมทรัพยเ ปน ของโบราณ ไมวาจะเปนสง่ิ ประดษิ ฐหรอื
เปนส่งิ ท่ีเกดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ หรอื เปนสวนหน่ึงสวนใดของโบราณสถาน ซากมนษุ ยหรือซากสัตว
ซ่ึงโดยอายุ หรอื โดยลักษณะการประดิษฐ หรือโดยหลักฐานเกยี่ วกบั ประวตั ขิ องสงั หารมิ ทรัพยน้ัน
เปนประโยชนใ นทางศิลปะ ประวตั ศิ าสตรห รอื โบราณคดี
ศลิ ปวัตถุ หมายความวา สง่ิ ท่ีทาํ ดวยฝมอื และเปนส่งิ ที่นิยมกันวา มคี ุณคา ในทางศลิ ปะ
พระราชบัญญตั นิ ี้ มีสาระสาํ คญั ดังนี้

คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 113

1. หา มมใิ หผ ใู ดทําการคาโบราณวัตถุ หรือศลิ ปวตั ถุ หรือแสดงโบราณวัตถุ หรือศลิ ปวตั ถใุ ห
บุคคลชม โดยเรยี กเก็บคา ชมเปน ปกตธิ รุ ะ เวน แตจ ะไดรบั ใบอนุญาตจากอธบิ ดี

2. ผไู ดร บั ใบอนุญาตใหทาํ การคาโบราณวัตถหุ รือศลิ ปวตั ถุ แสดงโบราณวัตถหุ รอื ศลิ ปวตั ถุ
ใหบุคคลชม ตอ งแสดงใบอนญุ าตน้ันไว ณ ทเ่ี ห็นไดงา ยในสถานการคา หรือสถานการแสดงของตน
และตอ งมีบัญชแี สดงรายการโบราณวัตถุ และศลิ ปวัตถทุ อ่ี ยใู นครอบครองของตนตามแบบทอี่ ธิบดี
กาํ หนดใหถ กู ตอ งตามความเปนจริง และรกั ษาบญั ชีนน้ั ไวใ นสถานการคา หรอื สถานแสดง
โบราณวัตถุหรือศิลปวตั ถุนนั้

3. หา มมิใหผใู ดสงหรอื นาํ โบราณวตั ถหุ รอื ศิลปวตั ถุ ไมวา โบราณวัตถุหรือศิลปวตั ถนุ ัน้ จะ
เปนโบราณวตั ถหุ รอื ศลิ ปวตั ถุท่ีไดข ึ้นทะเบยี นแลว หรอื ไม ออกนอกราชอาณาจกั ร เวนแตจ ะไดร บั
ใบอนญุ าตจากอธบิ ดี

4. โบราณวตั ถุหรือศลิ ปวตั ถุทซ่ี อน หรือฝง หรือทอดทิง้ อยู ณ ที่ใด โดยพฤติการณซ ึง่ ไมม ี
ผูใดสามารถอางเปน เจาของ ไมว า ทซ่ี อน หรือฝง หรือทอดทง้ิ ไว จะอยูใ นกรรมสิทธิ์หรอื ครอบครอง
ของบุคคลใดหรือไม ใหต กเปนทรัพยส ินของแผน ดิน ผเู ก็บไดตอ งสง มอบแกพนักงานเจาหนาท่ี หรอื
พนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตํารวจ ตามประมวลวธิ พี จิ ารณาความอาญา แลว มสี ทิ ธไิ ดร ับรางวัลหนึ่ง
ในสามแหงคาของทรพั ยสนิ นั้น

5. ผใู ดเก็บไดโบราณวตั ถหุ รอื ศลิ ปวตั ถทุ ีซ่ อน หรือฝงไว หรอื ทอดท้ิงอยู ณ ที่ใด ๆ โดย
พฤติการณซง่ึ ไมมีผูใ ดสามารถอางวา เปนเจาของได และเบียดบงั เอาโบราณวัตถุหรือศลิ ปวัตถนุ ้ัน
เปนของตน หรอื ของผอู ่นื ตอ งโทษจําคกุ ไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสพ่ี ันบาท หรือทัง้ จําทง้ั ปรับ

6. ผใู ดทาํ ใหเ สยี หาย ทําลาย หรือทาํ ใหเ ส่ือมคา หรอื ทําใหไรป ระโยชน ซง่ึ โบราณวัตถุ
ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเกนิ หนง่ึ ปหรอื ปรับไมเกินสองพนั บาท หรอื ทง้ั ปรับทงั้ จาํ

การอนุรักษศิลปะและวฒั นธรรมไทย
ศิลปวัฒนธรรมไทยเปนสญั ลกั ษณแสดงถึงความเปนไทย เปน หนาท่ีของคนไทยทกุ คนตอ ง

ชวยกันอนรุ ักษ เพราะเปนสง่ิ ที่จะกอใหเ กิดความภาคภมู ิใจในฐานะท่เี ปนชาติเกา แก มศี ิลปะ
วฒั นธรรมของเราซงึ่ แตกตา งจากชาตอิ ่ืน ๆ อันไดแ ก

- ดนตรีไทย เพลงไทย การละคร การฟอ นราํ ไทย
- งานศิลปกรรมไทย เชน ภาพปลายไทย งานปน การหาเคร่อื งเขิน เครอื่ งถมลงยา การ
แกะสลกั ไม การจกั สาน การทอ การชา งโลหะ เครอื่ งปน ดนิ เผา
- ศิลปะทางอกั ษรศาสตร
- สถาปตยกรรมไทย
- งานประเพณไี ทยของภาคตาง ๆ

ในฐานะทีเ่ ราเปน ชนรนุ หลัง มีหนา ท่ตี อ งรกั ษามรดกทางวฒั นธรรมไทยทีบ่ รรพชน
ไดสรางไว ใหค งอยูตลอดไป

114 คมู ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

เร่อื งท่เี ปนประโยชน

กระตายปากบั กบ
กระตายปาฝูงหน่ึงไมอยากมีชีวิตอยู พวกมันคิดวาตัวเองเปนสัตวท่ีออนแอและข้ีขลาดซ่ึง
ไมรูจะทําอะไรนอกเหนือจากการวิ่งหนีเทานั้น พวกมันจึงตกลงใจจะไปกระโดดน้ําในที่มืดๆ ใหตาย
ไปเสยี
เม่ือกระตายฝูงน้ันเดินเขาไปใกลฝงแมนํ้า ฝูงกบตางพากันตกใจพากันกระโดดลงไปใน
โคลน เม่ือเปนเชนนี้ กระตายก็หยุดชะงัก และมีความกลาหาญพอท่ีจะพูดวา “พวกเราจงกลับกัน
เถอะ เราไมต อ งการตายกนั แลว เพราะยังมีสตั วชนดิ อ่ืนที่ออนแอกวา พวกเราอกี ”
เรื่องนสี้ อนใหรวู า จงอยา ออนแอ ยังมคี นทอี่ อ นแอกวา เรา

คมู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 115

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื สามัญรุน ใหญ(เครอ่ื งหมายลูกเสอื ชัน้ พเิ ศษ) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 2

หนว ยที่ 6 บรกิ าร

แผนการจัดกจิ กรรมที่ 20 บญั ชชี วี ติ เวลา 2 ช่ัวโมง

1. จุดประสงคก ารเรียนรู

มโี อกาสทบทวนการดาํ เนินชวี ติ ทีผ่ า นมา อนั จะนาํ ไปสกู ารปรับปรงุ และพฒั นาตนเองใหเปน
ประโยชนตอสังคม
2.เน้ือหา

การท่ีคนเราไดม โี อกาสวเิ คราะหแ ละทบทวนการดาํ เนนิ ชวี ติ ของตนเองในบรรยากาสที่
เหมาะสม จนทาํ ใหไ ดเ หน็ สงิ่ ที่ควรปรบั ปรุงและพัฒนาเพื่อประโยชนในการดําเนนิ ชวี ิตอยูในสงั คม
อยางมคี วามสขุ
3. สือ่ การเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ใบงาน
3.3 เรอื่ งทีเ่ ปน ประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 กิจกรรมครงั้ ที่ 1

1) พธิ ีเปดประชุมกอง (ชกั ธง สวดมนต สงบนง่ิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคการเรียนรู

(1) ผูกํากับลูกเสือสนทนาเก่ียวกับความสัมพันธในชุมชนวัยรุนมักชอบแยกตัวและมี
ความสัมพนั ธกบั คนในชุมชนนอยลง

(2) หมูลูกเสือนั่งลอมวง ผูกํากับลูกเสือใหแตละคนหลับตา นึกทบทวนการดําเนิน
ชวี ิตของตนเองใน 1 เดอื นที่ผานมา 2 เรื่อง ตอ ไปน้ี แลว เขียนลงในตารางที่ 1 ในใบงาน

- ส่งิ ดีๆ ทชี่ ุมชนหรือสงั คมทาํ ใหฉนั แมเ พยี งเล็กนอย
- สง่ิ แยๆ ท่ีฉนั ทํากบั ชุมชนและสงั คมโดยไมไดตง้ั ใจ
(3) ลกู เสอื แตละคนวิเคราะหส ิ่งทีต่ นเองเขียนลงในตาราง แลวประเมนิ ตนเองวา ควร
จะปรบั ปรงุ ตัวอยางไร เพ่อื ตอบแทนชมุ ชนสทอ่ี ยอู าศัย เขียนลงตารางที่ 2 ในใบงาน
(4) ลูกเสือแตละคนผลัดกันเลาผลการทบทวนท้ัง 2 เร่ือง คือการประเมินตนเองและ
คิดวา จะปรบั ปรุงตนเองอยา งไร แลกเปล่ยี นกับสมาชกิ ในหมู
(5) รวมกอง ผกู ํากับลูกเสอื นาํ อภปิ รายประเดน็ ตอ ไปน้ี
- ไดคนพบอะไรบางที่นําไปสูการปรับปรุง / เปล่ียนแปลงตนเองเพื่อชุมชน และให
หมลู ูกเสือเลอื กเร่ืองท่เี หมาะสมท่สี ุดเตรยี มจัดกิจกรรมในสัปดาหตอไป

116 คูมือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 2

4) ผูก าํ กบั ลูกเสือเลาเร่อื งท่ีเปน ประโยชน
5) พิธปี ด ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจ ชักธง เลกิ )
4.2 กจิ กรรมครัง้ ที่ 2
1) พธิ ีเปดประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก ารเรยี นรู

(1) ผูก าํ กบั ลูกเสอื ทบทวนกับลูกเสอื วา แตล ะหมูเลือกเรอื่ งใดเพอื่ จัดกิจกรรมในคร้ังน้ี
(2) ใหลูกเสือนํากิจกรรม 1 กิจกรรมของเพ่ือนในหมูมาวางแผนรวมกันเพ่ือจะทํา
ประโยชนตอ ชุมชน เชน ลูกเสือบางคนอาจเห็นวาตนเองมีส่ิงแยๆ ตอชุมชน คือชอบท้ิงขยะ ลูกเสือก็
ชวยกันคิดกิจกรรรมที่จะชวยทําความสะอาดชุมชน หรือ กิจกรรมท่ีจะชวยใหชุมชนสะอาดอยาง
ยงั่ ยืน เปน ตน
(3) ลกู เสือแตล ะหมูนําเสนอผลง านของหมู
(4) ผกู าํ กับลกู เสอื และลูกเสอื รวมกนั สรปุ
4) ผูก าํ กบั ลูกเสือเลาเรอ่ื งทเี่ ปนประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจ ชกั ธง เลิก)
5. การประเมินผล
สงั เกตการมสี วนรว มทํากิจกรรม การแสดงออก และการแลกเปลีย่ นในหมเู พอื่ น
6. องคประกอบทักษะชวี ติ จากกจิ กรรม
คือ ความคดิ วิเคราะห ความคิดสรางสรรค ความตระหนักรูในตนเองความรับผิดชอบตอ
ตนเองและสงั คม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 10
เพลง

เพลงปรบมือ 5 คร้งั

ปรบมอื 5 ครัง้ (( 1 2 3 4 5 ) ปรบใหด งั ย่ิงกวาน้ี ( 1 2 3 4 5 )
กระโดดขางหนา 5 ที ( 1 2 3 4 5 ) แลว กลบั เขา ทเี่ หมอื นเดมิ ( 1 2 3 4 5 )
กระโดดไปทางซาย ( 1 2 3 4 5 ) แลวยา ยมาทางขวา ( 1 2 3 4 5 )
สา ยสะโพกไปมา ( 1 2 3 4 5 ) หัวเราะ ฮา ฮา ใหดัง ๆ ( 1 2 3 4 5 )

คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 2 117

ใบงาน

ตารางที่ 1

ส่งิ ดี ๆ ทช่ี มุ ชนหรือสงั คม ทาํ ใหฉนั สงิ่ แย ๆ ทีฉ่ นั ทํากับชมุ ชนหรือสังคม
แมเพยี งเล็กนอ ย แมโดยไมตง้ั ใจ

1. 1.

2. 2.

3. 3.

ตารางท่ี 2

สิ่งท่ีฉนั คดิ จะปรบั ปรุงตนเองเพ่อื ชุมชนหรอื สงั คม
1.
2.
3.
4.

118 คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2

เรื่องท่เี ปน ประโยชน

คนหาปลากับพราน

วันหน่ึงคนหาปลาเดินสวนกับนายพรานเเละเห็นวานายพราน มีเน้ือสัตวมากมายจึงถามวา
"ทานพรานปา ขา ขอเอาปลาเเลกกบั เนือ้ สัตวบางไดห รือไม" นายพรานเห็นคนหาปลามีปลาหลายตัวก็
นึกอยากจะลองกนิ เน้อื ปลา

วันตอๆ มาคนหาปลากับพรานก็นัดพบเพื่อเเลกเปลี่ยนอาหารกัน ทุกวันจนกระทั่งวันหนึ่ง
คนหาปลาก็เอยขึ้นวา"ทานยังอยากจะเเลกเนื้อกับปลาอยูหรือไม"นายพรานก็ตอบวาตนเร่ิมเบ่ือปลา
เเละอยากกินเนอ้ื ดังเดิมเเลวทง้ั สองจงึ ตกลงเลิกเเลกเปล่ียนอาหารกันอีกตอ ไป

เรือ่ งนส้ี อนใหร วู า คนเรามักอยากลมิ้ ลองของใหม เเตไมน านกต็ องเหน็ คา ของ ของเกา

สุนัขชวั่

สุนัขตัวหนึ่งมีนิสัยชอบขโมยและกัดใครตอใครท่ีมันพบเห็นอยูเสมอ เพราะฉะน้ันเจาของจึง
เอากระดงิ่ แขวนไวท ีค่ อ เพอื่ เตอื นใหคนรวู า มันเขา ไปใกลผ ใู ด

แตสุนัขตัวนั้นกลับมีความนิยมชมชอบในกระด่ิงที่เจาของแขวนคอมัน มันเดินไปตามถนน
หนทางดวยความภาคภูมิใจในเสียงกระด่ิงท่ีคอของมัน จนกระทั่งสุนัขแกตัวเมียตัวหนึ่งพูดวา “เจา
หนุมซึ่งหาความดีอะไรไมได ทําไมเจาแสดงกิริยาทาทีเชนน้ัน กระด่ิงนั้นไมใชเครื่องงหมายแหงคุณ
งามความดีของเจาเลย แตเ ปนเครอ่ื งหมายของความเลวทรามของเจา ตา งหาก”

เรื่องน้สี อนใหรูว า คนช่วั ยอ มไมเ คยมองเหน็ ความผิดของตนเอง

คูม ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวติ ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 2 119

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสอื สามญั รุน ใหญ(เครอ่ื งหมายลูกเสือชัน้ พเิ ศษ) ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 2

หนวยที่ 6 บริการ เวลา 2 ชว่ั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 21 ปูมชวี ติ ปราชญชาวบาน

1. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

รแู ละเขา ใจปมู ชวี ิตของปราชญชาวบานท่คี ดิ คน บุกเบกิ ภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ เปนตัวอยางที่ดี
และทาํ ประโยชนแกสว นรวม
2. เน้อื หา

การเรยี นรจู ากปูมชีวิตของปราชญชาวบา น
3. สื่อการเรยี นรู

3.1 แผนภูมเิ พลง, เกม
3.2 เรอ่ื งที่เปน ประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 กิจกรรมคร้ังท่ี 1

1) พธิ ีเปดประชุมกอง (ชักธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู

(1) ผูกํากับลูกเสือมอบหมายใหหมูลูกเสือศึกษา /คนควา ทําปูมชีวิตของปราชญ
ชาวบานท่คี ดิ คน บุกเบิก ภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ เปน ตวั อยางท่ีดี และทาํ ประโยชนแ กสวนรวม หมู
ละ 1 คน วามีวิถีชีวิตอยางไร คิดคน บุกเบิกในเร่ืองอะไร ตองผานความยากลําบากอะไรมา
บา ง ภมู ิปญญานน้ั เปน ประโยชนอ ยางไร แลว มานําเสนอในกองลูกเสอื ครง้ั ตอ ไป

(2) หมูลูกเสือวางแผน แบง งาน และกาํ หนดผูรับผิดชอบไปดาํ เนนิ การ
4) ผูกํากับลกู เสือเลา เร่ืองทเี่ ปนประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจ ชกั ธงลง เลกิ )
4.2 กจิ กรรมครง้ั ท่ี 2

1) พธิ ีเปดประชุมกอง (ชกั ธง สวดมนต สงบนง่ิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจุดประสงคก ารเรียนรู

(1) ลกู เสือรายงานทีละหมจู นครบ
(2) ผูกาํ กบั ลกู เสือ นําอภปิ รายสรุป ขอ คดิ ทไ่ี ดแ ละส่ิงทไ่ี ดเ รยี นรจู ากปูมชีวิตของ
ปราชญช าวบา นทีละคนจนครบทกุ คน
4) ผูกาํ กับลกู เสือเลาเรอ่ื งท่ีเปน ประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธง เลิก)

120 คูมอื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวิต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2

5. การประเมินผล
สังเกต ความเอาใจใสตอการทาํ กจิ กรรม การรายงาน และการแสดงความคิดเห็นในหมแู ละ

กองลกู เสอื

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 21

เพลง

เรามาสนุกกนั

ชะชะชา …………. ประกอบทาทาง
มาเถิดเรามามารวมรองเพลงกันพวกเราทัง้ นั้นลุกขนึ้ พลันทนั ที
แลวเรามาหนั หนามาหากนั ยกมือไหวก นั แลว ตบมือสามที (เอา 1..2..3)
เสรจ็ พลันแลว กห็ ันกลับมาสนุกหนกั หนาแลวสา ยเอว 5 ที (เอา 1..2…3..4..5)

เกม

พรมวิเศษ
วธิ เี ลน
1. ลูกเสอื แตล ะหมมู ีจาํ นวนเทากนั ขึน้ ไปยนื บนผา ยางของแตละหมูท ่เี ตรียมไว ขนาด 2 x 2
เมตร ท่ีจดุ เรม่ิ ตน
2. เม่ือไดยินสัญญาณเรมิ่ เลน ใหแตล ะหมูเคลื่อนยา ยตัวเองและผา ยางทย่ี ืนเหยยี บไวไ ปยงั
จุดทกี่ าํ หนด โดยไมใ หต ัวออกจากผืนผา
3. หมูใ ดถงึ เสนชยั กอ นเปน ฝา ยชนะ

เรือ่ งท่เี ปน ประโยชน

การเปลย่ี นชอ่ื ประเทศจาก "สยาม" เปน "ไทย"

ป พ.ศ. 2482จอมพล ป. พบิ ลู สงครามเปน นายกรฐั มนตรี มีนโยบายสรางชาตโิ ดยอาศัยเชื้อ
ชาตไิ ทยเปนหลกั คดิ เปล่ียนนามประเทศจาก "สยาม" เปน "ไทย" โดยยดึ หลกั วา ประเทศสวนใหญ
มักต้งั ชอ่ื ประเทศตามเชื้อชาติของตนโดยเรม่ิ ประกาศใชเปน รฐั นยิ มกอน แลว จงึ ประกาศใช
รฐั ธรรมนูญแกไขเพิ่มเตมิ นามประเทศในภายหลัง โดยใหเ หตผุ ลความไมสะดวกในการใชค ําวา
"สยาม" ดงั นี้
(1) คนไทยมสี ัญชาตแิ ละบงั คับไมตรงกนั กลาวคือคนไทยทุกคนในเวลาน้มี ีสญั ชาตไิ ทยแตอ ยูใน
บังคับสยาม
(2) ชือ่ ภาษา ชื่อคน กับช่อื ประเทศไมตรงกนั กลา วคอื เปนประเทศสยาม แตค นพน้ื เมอื งพูด
ภาษาไทยเปน อาณาจกั รสยาม แตพลเมอื งเปน คนไทย

คมู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 2 121

(3) การทเ่ี อาคาํ วา "สยาม" กลบั มาใชเ ปน นามประเทศน้นั เปน การฝนใจคนไทยโดยท่วั ไปดังนนั้ คํา
วาสยามจึงมแี ตในภาษาหนงั สือ แตใชพ ูดกนั วา "เมอื งไทย" เปน สว นมาก

การเปลีย่ นชื่อประเทศสยามเปน ประเทศไทยแลว จะมผี ลดังน้ี
(1) ไดชื่อประเทศทตี่ รงตามชอ่ื เชอ้ื ชาติของพลเมือง
(2) ชนชาติไทยจะมสี ัญชาตแิ ละอยใู นบังคบั อนั เดียวกัน
(3) ชอ่ื ประเทศ ชอ่ื ภาษาพนื้ เมอื ง ชอื่ รฐั บาลกบั ชื่อประชาชน จะเปน "ไทย" เหมอื นกันหมด
(4) ทําใหพ ลเมอื งรักประเทศเพมิ่ มากขน้ึ และมจี ติ ใจเขม แขง็ รสู ึกระลึกถงึ ความเปน ไทยมากข้ึน
(5) กอใหเ กดิ ความสามัคคแี ละเกี่ยวพนั อยางสนทิ สนม ระหวางชาวไทยท่ีอยูในประเทศไทย และชาว
ไทยท่กี ระจัดกระจายในประเทศอ่ืน ๆ มากยิ่งข้นึ จึงเปนอนั วา "ประเทศสยาม"กก็ ลายเปน เพียง
ตาํ นานนบั จากน้นั

เร่ืองนีส้ อนใหรวู า การเปลย่ี นแปลงอยา งมเี หตผุ ลสมควร ควรไดร ับการยอมรบั

สาํ นวนไทย ตัดหางปลอยวดั
“ตัดหางปลอยวัด”เปนสํานวนหมายถึง ตัดขาดไมเก่ียวของไมเอาเปนธุระอีกตอไปเชนเด็ก
คนน้ีถูกพอแมตัดหางปลอยวัดเพราะประพฤติตัวเกกมะเหรกเกเรไมเชื่อฟงคําส่ังสอนของผูใหญ
สํานวนน้ีมีท่ีมาจากการตัดหางไกแลวนําไปปลอยเพ่ือสะเดาะเคราะหหรือแกเคราะหในสมัย
โบราณมีหลักฐานในกฎมนเทียรบาลวา เม่ือเกิดส่ิงท่ีเปนอัปมงคลเชนมีวิวาทตบตีกันถึงเลือดตกใน
พระราชวังตองทําพิธีสะเดาะเคราะหโดยเอาไกไปปลอยนอกเมือง เพ่ือนําเสนียดจัญไรไปใหพน
ในสมัยรชั กาลที๔่ มปี ระกาศกลา วถงึ การนําไกไ ปปลอยท่ีวดั เพื่อสะเดาะเคราะหสันนิษฐานวา
ไกท ี่จะนาํ ไปปลอ ยทว่ี ัดจะตัดหางเพื่อเปนเคร่ืองหมายวา เปน ไกท ี่ปลอยเพ่อื การสะเดาะเคราะหดว ย

เร่อื งนสี้ อนใหรูวา การเชื่อส่ิงใด หากไมกอใหเ กิดความเสยี หายไมท าํ ใหใ ครเดอื นรอน แตจะทาํ ให
ผูเช่ือสบายใจก็สามารถทาํ ให

122 คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ติ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 2

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญ(เครอ่ื งหมายลูกเสอื ชน้ั พิเศษ) ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2

หนวยที่ 6 บริการ เวลา 1 ชัว่ โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 22 เสยี หายเพราะอะไร

1. จุดประสงคการเรียนรู

มจี ิตสํานกึ ในการรกั และหวงแหนสาธารณสมบตั ิของชุมชนชาติ
2. เนื้อหา

การสํารวจสอดแนม ความเสียหายของสาธารณสมบัติวาเกิดจากสาเหตุใด เพื่อหาทาง
ปอ งกัน แกไข การแสดงออกถึงความรกั และหวงแหนสาธารณสมบัติของชุมชน ชาติ ลูกเสือสามารถ
ทาํ ไดโ ดยการรว มมือกนั รบั ผิดชอบ ดแู ล และสง เสรมิ การใชป ระโยชน
3. สื่อการเรยี นรู

3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 เร่อื งเลาท่เี ปน ประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 พิธีเปดประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคก ารเรยี นรู

1) ผูกํากบั ลูกเสอื สนทนาเรื่องสาธารณสมบัตใิ นชมุ ชนของลกู เสอื มีอะไรบา ง ปจ จบุ นั มี
สภาพอยา งไร

2) ลูกเสอื นําเสนอชอ่ื สถานท่ี สภาพของสาธารณสมบตั ใิ นชุมชนของตนเอง
3) ผกู ํากบั ลกู เสอื และลกู เสอื รว มกนั เลือกสาธารณสมบตั ิในแตล ะชุมชน หมูละ 1 แหง
เชน วัด หอกระจายขา ว ทอ่ี านหนงั สอื พิมพหมบู า น หองสมดุ สถานทท่ี อ งเท่ียว ประปา อนามัย
สวนสาธารณะ ฯลฯ เพ่อื วางแผนในการปฏบิ ตั งิ านในการชวยกนั ดแู ลรกั ษา
4) ผูก ํากบั ลูกเสือและลกู เสอื รว มกนั สรา งแบบสาํ รวจขอมลู สาธารณะสมบตั ติ ามทห่ี มลู กู เสือ
เลือกหัวขอ

- ชอื่ สถานที่ ทีต่ งั้
- สภาพทเ่ี ปน อยปู จจบุ ัน
- ผดู แู ล หนว ยงานที่รบั ผิดชอบ
- ขอ เสนอแนะในการดแู ล/ ปรบั ปรุง/การสง เสริมเพือ่ ใหเ กดิ การใชป ระโยชน
5) ผูกาํ กับลูกเสอื มอบหมายใหล กู เสือแตล ะหมูจ ัดทาํ แผนการจดั กจิ กรรมปฏิบัติงาน
ภายในระยะเวลา 1 เดอื นเพ่อื ทาํ กจิ กรรมตามรายการตอไปนี้
- รายการการดแู ล รกั ษา ปรบั ปรงุ สง เสรมิ การใชประโยชน
- การประสานงานกบั ผดู ูแล ผรู ับผดิ ชอบสถานท่ี
- กําหนดวันเวลาปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

คมู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 2 123

- ประชาสมั พนั ธก ารปฏิบตั กิ จิ กรรม
- ลงมือปฏิบตั งิ านตามแผน
- สรปุ ผลรายงาน
4.4 ผูก าํ กับลกู เสอื เลา เรอื่ งที่เปน ประโยชน
4.5 พิธปี ด ประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธง เลกิ )
หมายเหตุ–ผูกาํ กับลกู เสือนดั หมายลกู เสอื ออกสาํ รวจขอมลู ตามแบบสาํ รวจและรายงานในชว่ั โมงตอ ไป

5. การประเมินผล
สงั เกตจากการปฏิบตั ิงานตามโครงการดูแลสาธารณสมบัติของโรงเรียน/ชุมชนอยางนอ ย 1

โครงการ
6. องคประกอบทกั ษะชวี ติ สาํ คัญทเ่ี กดิ จากกจิ กรรม

คอื ความคิดวเิ คราะห ความคิดสรา งสรรคและเกดิ ความตระหนกั ถึงความสําคญั ในการรกั
และหวงแหนสาธารณสมบตั ิของชมุ ชนและของชาติ ความรับผิดชอบตอสว นรวม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 22

เพลง

อยุธยาเมืองเกา

อยุธยาเมอื งเกาของเราแตก อนจติ ใจอาวรณมาเลาสูกันฟง
อยุธยาแตกอ นนย้ี งั เปนดงั เมอื งทองของพีน่ อ งเผา พงศไทย
เดี๋ยวนี้ซิเปนเมืองเกาชาวไทยแสนเศรา ถกู ขา ศกึ รกุ ราน
ชาวไทยทุกคนหัวใจราวรานขา ศกึ เผาผลาญแหลกราญวอดวาย
เราชนช้นั หลงั มองแลวเศรา ใจอนสุ รณเ ตือนใหชาวไทยจงมน่ั
สมัครสานรวมใจสามัคคีคงจะไมมใี ครกลา ราวีชาตไิ ทย

ใตรม ธงไทย

ใตรมธงไทยรม เยน็ เหมือนด่ังอยูในรมโพธ์ริ มไทรทมี่ ีกง่ิ ใบแนนหนา
ชาตไิ ทยใหญห ลวงแตกกระจดั กระจายถูกแบงแยกยา ยไปอยูหลายสาขา
เชิญพวกพองพีน่ อ งมาพรอ มกันเชิญอยใู ตรม ธงไทย
เลอื ดเนื้อเผา ไทยนค้ี วรจะมสี มานฉนั ท
เหมอื นนองพ่ีเลอื ดเนือ้ เรามสี ายเดียวเกย่ี วพนั
ใตร มธงไทยรม เหมือนดงั โพธไ์ิ ทรใตรมธงไทยเย็นเหมอื นใตแสงจันทร

124 คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

เร่อื งท่เี ปน ประโยชน

ลกู สาวกบั พอ

พอ คนหนึ่งไปเย่ยี มลูกสาวคนโตที่เเตงงานกับชาวสวน "ลกู สบายดหี รือไม ตอ งการอะไรหรือ
เปลา"พอ ถามอยางหวงใย ลกู สาวคนโตจึงตอบวา "สบายดีจะพอ ลกู ไมเคยตอ งการอะไรอีกนอกจาก
อยาก ใหฝนตกมามากๆ พืชผลในสวนจะไดง อกงามดี"

เม่ือไปเยี่ยมลกู สาวคนเล็ก พอกถ็ ามเชนเดียวกันกบั ทถี่ ามลูกสาวคนโตลกู สาวคนเลก็ ซึง่ เปน
เมยี ชา งปน หมอ กต็ อบวา "ลูกสบายดจี ะ พอ เเตตองการอยา งเดียวคอื อยากใหฝ นไมตกเลย ถา มีเเดด
จา หมอดนิ ที่ตากไวก็จะเเหงเรว็ จะ พอ "

เร่ืองนี้สอนใหรูว า คนเรามกั ตองการเเตสิง่ ท่ีเปนผลประโยชนเเกต น

ไหวพรบิ

วันหนึ่งเบนจามินไปเลนเรือใบกับเพื่อน ซ่ึงเพ่ือนของเบนรูดีวาเบนมีความชํานาญในการถือ
ใบเรือไดดีกวาตน แตเพื่อนจะอวดเบนวาตัวก็เกง จึงไดถือใบเรือเสียเอง พอแลนเรือเลนกันไปได
สักครูใหญ เบนก็มองเห็นเมฆดําทะมึนอยูทางดานตะวันออกเฉียงใต เบนรูทันทีวานั่นหมายถึงอะไร
เบนรองบอกเพอื่ นซงึ่ แลน เรือใบไมถ ูกวา

“พายกุ าํ ลงั มา ดเู มฆนัน่ ซิ ! เราตองกลับแลว ”
เพื่อนของเบนมองดูกอนเมฆแลวพยายามกลับเรือ แตก็ทําไมสําเร็จ ลมพัดจัด ใบกินลมอู
เรือแลน ปราดไปบนพื้นนา้ํ แลน หา งออกไปจากฝง ทกุ ที
“ใหกันถอื ใบแทนแกเถอะเพือ่ น” เบนเอย
“ไมเ อา กันบังคับเรอื ลําน้ีได” เพ่อื นของเบนตอบ
เมฆดําทะมึนมากเขา ลมแรงเขา เรือย่ิงแลนเร็ว หันหัวออกมาสูมหาสมุทรท่ีกําลังเปนบา
ตอนนี้เบนก็รูวาควรจะทําอยางไร ไมมีประโยชนแลวท่ีจะมัวพูดกับเพ่ือนที่โงเขลา เพราะถาชาไปน่ัน
หมายถึงการจมนํ้าตาย เบนเดินไปหาเพ่ือนอยางเงียบๆ แลวใชกําปนท่ีแข็งแกรงชกพรวดเขาให
ยังผลใหเพื่อนของเขาลมฮวบลงบนพื้นเรือ และกวาจะลุกข้ึนไดเบนก็เอาเชือกผูกเทาเขาไว แลว
ตอจากน้ันเบนก็คอยระวังเรือไมใหลม ตองคอยหันดูใบเรือและหันหัวเรือใหถูกตองตามลมดวยความ
ชํานาญ ในท่ีสุดก็มองเห็นฝงและข้ึนฝงไดตามความปรารถนา พอถึงฝงเบนก็แกเชือกเพื่อน ฝาย
เพื่อนเม่ือเปนอิสระและเพ่ิงสํานึกผิด ก็ตรงเขาขอบใจเบนเปนการใหญท่ีไดชวยชีวิตเขาใหรอดพน
จากอันตรายมาไดอยา งหวดุ หวดิ

เรือ่ งนีส้ อนใหรวู า การไมร ูจักประมาณตนเอง อาจนําความเสยี หายมาสูต นและผูอืน่ ได

คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทกั ษะชีวติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 125

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รนุ ใหญ(เครอื่ งหมายลูกเสอื ชัน้ พิเศษ) ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 2

หนวยที่ 6 บรกิ าร เวลา 2 ชัว่ โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 23 โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ

1. จุดประสงคการเรยี นรู

เกิดความสาํ นกึ ในพระมหากรณุ าธิคุณของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั ท่ีมตี อ
พสกนิกรชาวไทย ในโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ
2. เนอื้ หา

โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริ ท่ที รงมีพระวริ ยิ ะอุตสาหะ ตลอดการครองราชย
กวา 60 ป เพอื่ ปวงชนชาวไทย
3. สื่อการเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ใบความรู เรอ่ื ง “โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาํ ร”ิ
3.3 เร่ืองทเ่ี ปนประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 กจิ กรรมครงั้ ท่ี 1

1) พิธเี ปด ประชุมกอง (ชกั ธงขึ้น สวดมนต สงบน่งิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจุดประสงคก ารเรียนรู

(1) ผกู าํ กบั ลกู เสือนําสนทนาดวยคาํ ถาม
- โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ คืออะไร
- ทราบไหมวา จาํ นวนโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดําริ ในปจจบุ ันมี
ประมาณกี่โครงการ

(2) ผูกํากับลูกเสือแจกใบความรูเรื่อง “โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ” และ
มอบหมายงานใหลูกเสือแตละหมู รวมกันสืบคนขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการอัน
เน่ืองมาจากพระราชดําริ ท่ีมีความสําคัญตอประชาชนหมูมาก และหมูลูกเสือมีความสนใจ
หมูละ 1 โครงการ (ไมซํ้ากัน) สงตัวแทนนําเสนอในกองลูกเสือคร้ังตอไป ใหเวลารายงานหมู
ละไมเกิน 8 นาที โดยจะมีการตัดสินวาหมูใดนําเสนอขอมูลท่ีเขาใจไดดี และใชส่ือได
นาสนใจทีส่ ดุ

(3) หมูล กู เสอื วางแผน แบง งาน และมอบหมายสมาชกิ ชวยกนั ดําเนนิ การ โดยตกลง
กับหมูอ ื่นไมใ หหัวขอซาํ้ กนั

4) ผูกํากับลกู เสอื เลาเร่ืองทเ่ี ปน ประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชกั ธง เลกิ )

126 คูมอื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

4.2 กจิ กรรมครัง้ ท่ี 2

1) พธิ เี ปดประชุมกอง (ชักธง สวดมนต สงบน่งิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคการเรยี นรู

(1) ลกู เสอื แตล ะหมรู ายงาน ผูก ํากบั ลกู เสอื และลกู เสือหมอู ื่นรวมกนั ซักถาม เพ่ือ
ความเขาใจ จนครบทกุ หมู

(2) ผูกํากับลูกเสือนําอภิปราย และสรุป ในประเด็น “ ขอคิดท่ีไดจากกิจกรรม และ
การนําไปใชใ นชีวติ ประจาํ วนั ”

(3) ผูกํากับลูกเสือเพ่ิมเติมดังน้ี “ในหลวงทรงเปนองคพระประมุขของลูกเสือไทย
และพระนามของพระองคนั้นอยูในรายชื่อของลูกเสือท่ีเปนบุคคลสําคัญของโลก ทรงเปน
แบบอยางของการยึดมั่นในคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ที่ลูกเสือควรจดจํา และนําเปน
แบบอยา งในการปฏิบตั ิตน”

4) ผกู าํ กับลูกเสอื เลาเร่ืองทีเ่ ปน ประโยชน
5) พิธีปด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชักธง เลิก)
5. การประเมินผล

สงั เกตการมีสว นรว มในการทํากจิ กรรม การแสดงออก และการใหความคิดเหน็ ในหมู และใน
กองลูกเสือ

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 23

เพลง

สดดุ ีมหาราชา

ขอเดชะองคพ ระประมขุ ภมู พิ ล ม่ิงขวัญ ปวงชนประชาชาตไิ ทย

มหาราช ขตั ิยะ ภูวไนย ดุจรม โพธ์ริ ม ไทรของปวงประชา

ขอเดชะองคส มเด็จพระราชินี คูบ ุญ บารมี จักรีเกรกิ ฟา

องคส มเดจ็ พระเจาอยูหัวมหาราชา ขา พระพุทธเจา ขอสดุดี

อาองคพระสยมบรมราชนั ยขวัญหลา เปลง บญุ ญาสมสงา บารมี

ผองขา พระพทุ ธเจา นอมเกลาขออญั ชลุ ี สดุดีมหาราชา สดดุ มี หาราชินี

คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 127

สยามานสุ ติ

หากสยามยังอยูยั้ง ยืนยง
เราก็เหมอื นอยูคง ชพี ดวย
หากสยามพนิ าศลง ไทยอยู ไดฤา
เราก็เหมือนมอดมวย หมดสิ้นสกุลไทย
แดนไทย
ใครรานใครรกุ ดาว ขาดดิ้น
ไทยรบจนสดุ ใจ ยอมสละ สิน้ แฮ
เสียเนอื้ เลือดหล่งั ไหล ชอ่ื กอ งเกียรตงิ าม
เสยี ชพี ไปเสยี ชอื่

ใบความรู

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ความเปน มา
ในระยะตนแหงการเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยสิริราชสมบัติน้ันกิจการดานการแพทยของไทยยังไม
เจริญกา วหนาเทา ท่คี วรและการบริการสาธารณสขุ ในชนบทยงั มไิ ดแ พรห ลายเชน ในปจจุบัน
พระราชกรณียกิจชวงแรกเริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2493- 2505จึงเปนพระราชดําริดานการแพทย
และงานสังคมสงเคราะหเปนสวนใหญ และเปนการชวยเหลือบรรเทาปญหาเฉพาะหนาไมมีลักษณะ
เปน โครงการเตม็ รูปแบบอยา งปจจุบัน ตัวอยา ง เชน
ป พ.ศ. 2496 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯพระราชทานพระราชทรัพย จํานวน 500,000 บาท
เพื่อใชสรางอาคาร “มหิดลวงศานุสรณ” ในบริเวณสถานเสาวภา สําหรับใชในกิจการทางดาน
วิทยาศาสตรและ ผลติ วัคซนี บี ซี จี ปอ งกนั วณั โรคซง่ึ เปน ปญ หารายแรงในเวลานนั้
ทรงริเร่ิมสรางภาพยนตร ท่รี ูจ ักกันในนามวา “ภาพยนตรสวนพระองค” จัดฉายเพ่ือหารายได
จากผูบริจาคโดยเสด็จพระราชกุศล นํามาชวยเหลือพสกนิกรดานตาง ๆเชน สรางตึกวชิราลงกรณ
สภากาชาดไทย อาคารทางการแพทยโ รงพยาบาลภมู ิพลอดลุ ยเดช เปน ตน
เม่ืออหิวาตกโรคระบาดอยางรุนแรงในเมืองไทย และตองใช “น้ําเกลือ” เปนจํานวนมาก
ในขณะนั้นการใหน้ําเกลือแกผูปวยมีคาใชจายสูงมากเพราะตองส่ังจากตางประเทศ และนํ้าเกลือที่
ผลิตไดในประเทศก็ยังขาดคุณภาพ จนกลาวกันวา “ใสใครไปก็ช็อค” จึงไดพระราชทานพระราชดําริ
ใหมีการศึกษาวิจัยและคนหาวิธีสรางเครื่องกล่ันน้ําเกลือใชเอง จนมีคุณภาพทัดเทียมกับตางประเทศ
และเปนทีย่ อมรับกนั จนถึงปจจุบนั นี้
โครงการแพทยหลวงพระราชทาน “เรือเวชพาหน” เปนหนวยแพทยเคล่ือนท่ีรักษาราษฎรที่ต้ัง
บา นเรอื นอยูตามลําน้าํ โดยพระราชทานพระราชทรพั ยสวนพระองคใ นการดาํ เนนิ การมาจนทกุ วันน้ี
พระราชจริยวัตรเชนนี้ไดขยายปรัชญาการสังคมสงเคราะหของประเทศไทยออกไปใน
วงกวาง และฝงลึกในจิตใจคนไทยในเรื่องการชวยเหลือซึ่งกันและกัน จะเห็นไดจากยามท่ีมีสาธารณ
ภยั เกิดขน้ึ คนไทยท้ังหลายจะชว ยเหลือกันบริจาคโดยมิตอ งรองขอแตอ ยางใด

128 คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2

ดวยความหวงใยในทุกขสุขของอาณาประชาราษฎร พระองคไดเสด็จพระราชดําเนินไปเยี่ยม
เยียนประชาชนตามพื้นที่ตางๆ ท่ัวประเทศ โดยเฉพาะในพื้นท่ีชนบทยากจน เสด็จประทับอยูใน
ภูมิภาคตางๆ มากกวาในพระราชวังท่ีกรุงเทพฯ ท้ังนี้เพื่อทรงคนหาขอมูลท่ีแทจริงจากประชาชน
เจาหนาที่ของรัฐประจําพื้นท่ี และทรงสังเกตการณ สํารวจสภาพทางภูมิศาสตรไปพรอมๆกันดวย
ท้ังน้ีเพื่อทรงรวบรวมขอมูลไวเปนแนวทางท่ีจะพระราชทานพระราชดําริในการดําเนินงานโครงการ
อันเน่อื งมาจากพระราชดาํ ริตอ ไป

พระราชดําริอันเปนโครงการชวยเหลือประชาชนเร่ิมขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2494 ทรงพระกรุณา
โปรดเกลา ฯ ใหกรมประมงนําพนั ธปุ ลาหมอเทศจากปนัง ซึ่งไดม าจากผูเช่ยี วชาญดานการประมงของ
องคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ เขาไปเลี้ยงในสระนํ้าพระที่นั่งอัมพรสถาน จากน้ัน
ในวันท่ี 7 พฤศจิกายน 2496 จึงพระราชทานพันธุปลาหมอเทศนี้แกกํานันและผูใหญบานทั่วประเทศ
นําไปเผยแพรข ยายพันธแุ กราษฎรในหมบู านของตน เพ่อื จะไดม อี าหารโปรตนี เพม่ิ ขน้ึ

โครงการพระราชดํารทิ ี่นับวา เปนโครงการพฒั นาชนบทโครงการแรก เกิดขึ้นในป พ.ศ. 2495
โดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานรถบลูโดเซอร ใหหนวย
ตํารวจตระเวนชายแดนคายนเรศวร ไปสรางถนนเขาไปยังบานหวยมงคล ตําบลหินเหล็กไฟ
(ปจจุบันคือ ตําบลทับใต) อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิรีขันธ เพ่ือใหราษฎรสามารถสัญจรไปมา
และนําผลผลิตออกมาจําหนายยังชุมชนภายนอกไดสะดวกขึ้น จากนั้นในป พ.ศ. 2496 ได
พระราชทานพระราชดําริใหสรางอางเก็บนํ้าเขาเตา อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิรีขันธ เพื่อ
บรรเทาความแหงแลง เดือดรอนของราษฎรและสรางเสร็จใชประโยชนไดในป พ.ศ. 2506 นับเปน
โครงการพระราชดาํ ริทางดานชลประทานแหงแรกของพระองค

ประเภทและสาขา ของโครงการในพระราชดําริ
โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริมีอยูมากมายหลายสาขา หลายประเภท ในระยะแรก มี
ช่อื เรยี กแตกตา งกนั ไป ดงั นค้ี ือ
1. โครงการตามพระราชประสงค
โครงการซ่ึงทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเปนการสวนพระองค ทรงศึกษาหารือกับผูเชี่ยวชาญ
ทรงแสวงหาวิธีการทดลองปฏิบัติ ทรงพัฒนาและสงเสริมแกไขดัดแปลงวิธีการเปนระยะเวลาหนึ่ง
เพื่อดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซ่ึงตองทรงใชพระราชทรัพยสวนพระองคใน
การดําเนินการทดลองจนกวาจะเกิดผลดี ตอมาเม่ือทรงแนพระทัยวาโครงการน้ันๆ ไดผลดี เปน
ประโยชนแกป ระชาชนอยา งแทจรงิ จึงโปรดเกลา ฯใหรัฐบาลเขามารับงานตอภายหลัง
2. โครงการหลวง
พระองคทรงเจาะจงดําเนินการพัฒนาและบํารุงรักษาตนน้ําลําธารในบริเวณปาเขาใน
ภาคเหนอื เพ่อื บรรเทาอทุ กภยั ในท่ลี ุมภาคกลาง ดวยเหตผุ ลท่ีพื้นทเ่ี หลา นี้เปน เขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยใหอยูดีกินดี ใหเลิกการปลูกฝน เลิกการตัดไมทําลายปา ทําไร
เล่ือยลอย และเลิกการคา ไมเถอื่ น ของเถอ่ื น อาวธุ ยทุ โธปกรณนอกกฎหมาย ทรงพัฒนาชวยเหลือให
ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณคาสูง ขนสงงาย ปลูกพืชไร และเล้ียงสัตวไวเพื่อบริโภค รวมคุณคาผลผลิต

คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 129

แลวใหไดคุณคาแทนการปลูกฝน ท้ังๆท่ีงานของโครงการนี้กินเวลายาวนานกวาจะเกิดผลได ตองใช
เวลานานนับสิบป การดําเนินงานจะยากลําบากสักเพียงใดมิไดทรงทอถอย การพัฒนาคอยๆไดผลดี
ขึ้นเรอื่ ย ๆ ชาวเขาชาวดอยจงึ มีความจงรักภักดี เรยี กพระองควา “พอหลวง” และเรียกสมเด็จพระนาง
เจาฯ พระบรมราชินีนาถวา “แมหลวง” โครงการของทั้งสองพระองคจึงเรียกวา “โครงการหลวง”

3. โครงการในพระบรมราชานุเคราะห
โครงการท่ีพระองคไดพระราชทานขอเสนอแนะและแนวทางพระราชดําริใหเอกชนไป
ดําเนินการ ดว ยกาํ ลังเงิน กําลังปญญา และกําลังแรงงาน พรอมทั้งการติดตามผลงานใหตอเน่ืองโดย
ภาคเอกชน เชน โครงการพฒั นาหมบู านสหกรณเนนิ ดนิ แดง อําเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ
ซึ่งสโมสรโรตารีแหงประเทศไทยเปนผูจัดและดําเนินงานตามพระราชดําริ โครงการพจนานุกรม
โครงการสารานกุ รมไทยสาํ หรับเยาวชน เปนตน
4. โครงการตามพระราชดําริ
โครงการประเภทน้เี ปนโครงการท่ที รงวางแผนพฒั นา ทรงเสนอแนะใหร ัฐบาลรวมดาํ เนินการตาม
แนวพระราชดาํ ริ โดยพระองคเ สด็จฯ รว มทรงงานกับหนวยงานของรัฐบาล ซึ่งมที งั้ ฝายพลเรอื น ตํารวจ
ทหาร โครงการตามพระราชดําริน้ใี นปจ จุบนั เรียกวา “โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ร”ิ มกี ระจาย
อยทู ัว่ ทกุ ภมู ิภาคของประเทศไทย ปจจุบนั มีลกั ษณะทเี่ ปน โครงการพัฒนาดานตางๆ ทีด่ าํ เนินการเสร็จ
สนิ้ ภายในระยะเวลาสัน้ และระยะเวลายาวทม่ี ากกวา 5 ป ขณะเดียวกนั ก็มลี ักษณะทเ่ี ปนงานดานวชิ าการ
เชน โครงการเพื่อการศกึ ษาคนควา ทดลอง หรือโครงการทีม่ ีลักษณะเปน งานวิจยั เปน ตน
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริมีสวนสําคัญ ในการเสริมแผนงานโครงการตางๆ ตาม
นโยบายของรัฐบาล ผลของโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดํารินอกจากจะทําใหประชาชนมีความ
เปนอยูที่ดีขึ้นแลว ยังกอใหเกิดประโยชนตอประเทศชาติ ทั้งทางดานเศรษฐกิจและความม่ันคงเปน
สวนรวมดวย ดังน้ันเพื่อการดําเนินงานที่สอดคลองและสนับสนุนซึ่งกันและกัน และเปนประโยชน
สูงสุดบรรลุผลตามแนวพระราชดําริที่ไดพระราชทานไว รัฐบาลจึงไดต้ังหนวยงานช่ือวา “สํานักงาน
คณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ (กปร.) ” เปนสวนราชการ
มีฐานะเปนกรม อยูในสายการบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี สํานักงาน กปร. มีอํานาจหนาท่ี
ดงั ตอ ไปนี้
1) ตามเสด็จเพ่ือรับและประมวลพระราชดําริ สํารวจ ศึกษา วิเคราะห และจัดทําแผนงาน
หรือโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ รวมท้ังพิจารณาและเสนอแนะเก่ียวกับการจัดสรรเงิน
งบประมาณเพ่อื ดําเนินงานตามโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดําริ
2) ประสานงานกับสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนทั้งในประเทศและตางประเทศ ท่ี
เกย่ี วของกบั การดาํ เนนิ งานตามโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ
3) ติดตามและประเมินผลการดําเนนิ งานตามโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ
4) ปฏิบัติงานเลขานุการของคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาํ ริ

130 คมู อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

5) ปฏิบัติงานดานวิชาการ การจัดระบบสารสนเทศและการประชาสัมพันธเผยแพรที่

เกี่ยวขอ งกบั โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดําริ

6) ปฏิบัติหนาท่ีอื่นตามท่ีไดรับพระราชกระแส หรือตามท่ีคณะกรรมการพิเศษเพ่ือ

ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริมอบหมาย หรือตามท่ีระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี

วาดว ยโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริกําหนดใหเ ปนอาํ นาจหนาท่ีของสํานักงาน คณะกรรมการ

พเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ

7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการ

พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือตามที่นายกรัฐมนตรี หรือ

คณะรฐั มนตรมี อบหมาย

ปจจุบันโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ แบงออกเปน 8 ประเภท โดยกระจายอยูทุก

ภูมภิ าคทว่ั ประเทศ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริท่ีอยูในความรับผิดชอบของสํานักงาน กปร.

ต้ังแตปงบประมาณ 2525-2551 มีจํานวน 4,404 โครงการ /กิจกรรม แยกตามประเภท และรายภาค

ไดดังตารางตอ ไปนี้

ประเภทโครงการ จาํ นวนโครงการ / กจิ กรรม

1. การพัฒนาแหลงน้าํ 1,579 โครงการ / กิจกรรม

2. การเกษตร 536 โครงการ / กิจกรรม

3. สิง่ แวดลอม 1,039 โครงการ / กจิ กรรม

4. สงเสรมิ อาชีพ 343 โครงการ / กิจกรรม

5. สาธารณสขุ 49 โครงการ / กิจกรรม

6. คมนาคม 115 โครงการ / กจิ กรรม

7. สวสั ดิการสังคม 166 โครงการ / กจิ กรรม

8. โครงการสําคัญ และอนื่ ๆ 577 โครงการ / กิจกรรม

ภาค จาํ นวนโครงการ / กจิ กรรม

กลาง 1,024 โครงการ / กจิ กรรม
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 929 โครงการ / กจิ กรรม
เหนือ 1,221 โครงการ / กจิ กรรม
ใต 807 โครงการ / กิจกรรม
ไมร ะบภุ าค 343 โครงการ / กิจกรรม
งบบริหาร 80 โครงการ / กิจกรรม
รวม 4,404 โครงการ / กิจกรรม

ตัวอยา งโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ

1.โครงการหลวง 2.โครงการเศษรฐกจิ ชชุ นบนพื้นทสี่ ูง

คูมอื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 131

3.โครงการเกย่ี วกบั การปลกู ขา ว 4.โครงการศิลปาชีพพิเศษ

5.โครงการสรางบา นเลก็ ในปาใหญ 6.โครงการ สงเสรมิ การปลกู หมอ นเลี้ยงไหม

7.โครงการพืชสมนุ ไพร 8.โครงการปลูก พชื /ผลไม

9.โครงการสง เสรมิ การเล้ยี งสตั ว

10.โครงการสงเสริมการเกษตรเพ่อื อาหารกลางวนั

11.โครงการตามพระราชดํารหิ มูบานสหกรณ

12. ศูนยพ ฒั นาเดก็ เล็ก

13.โครงการการพฒั นาและรณรงคการใชห ญา แฝกอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ

เรอ่ื งทีเ่ ปนประโยชน

ความหมายของคําวา สปร ติ
Derek Anthony Redmond เปนนักว่ิงเจาของสถิติในการว่ิง 400 เมตรของสหราชอาณาจักร
และไดเหรียญทองจากการแขงขัน 4x400 เมตรจากการแขงขัน World Championships, European
Championships และ Commonwealth Games จากสหราชอาณาจักรตอนนี้เขาแขวนรองเทาแลว
แตเหตุการณท่ีทําใหผูคนท้ังโลกจดจําเขาคือ Olympics Games ท่ี Barcelona ในป 1992
เขาคือหน่ึงในตัวเต็งในการแขงขันครั้งนี้หลังจากรอคอยมา 4 ป เหตุการณท่ีไมคาดคิดก็เกิดข้ึน
เอ็นรอยหวายของเขาเกิดมีปญหา เขาทรุดตัวลงและรองไหหลังจากนั้นไมก่ีวินาทีเขาตัดสินใจลุกขึ้น
และวิ่งตอเม่ือระยะทางเหลือประมาณ 100 เมตร คุณพอของเคาก็มาชวยประคองเขาเสนชัย
สี่ปแหงการรอคอย ความฝนของเคาจบลงดวยน้ําตาและความเสียใจแต spirit ที่ยิ่งใหญของ
เคาไดรับการปรบมือ หรือ Standing Ovation ของผูชมทั้งสนามและคนท้ังโลกก็ไดเขาใจความหมาย
ของคําวา spirit มากขน้ึ โลกไดจดจาํ เขาไปอกี นานแสนนานในฐานะ "ผูช นะ" ตวั จริง

เรอื่ งน้ีสอนใหรวู า ชยั ชนะ อาจนาํ มาทั้งความสขุ และความทุกข

เตา กับนกอนิ ทรี

นานมาแลวยงั มีเตาตวั หน่งึ ชอบแหงนหนามองดูนกนานาชนิดท่กี ําลงั บนิ ไปมาบนทองฟา
ดว ยความอิจฉา มันนึกอยากจะบนิ ไดเชน นั้นบาง ขณะทม่ี ันกําลงั เดนิ ครนุ คดิ หาวธิ ที ี่จะบินไดอ ยูน น้ั
มนั ก็เห็นนกอินทรตี วั หนึ่งบนิ มาเกาะท่ีกอนหินไมหางจากมันนกั เตารีบคลานเขา ไปหาทนั ที “ทา น
นกอนิ ทรีทานจะชวยใหข าบนิ ไดอยางทา นไดห รือไม” เตาถาม “ทานจะบนิ ไดอ ยางไร ในเม่ือทาน
ไมม ีปก” นกอินทรีบอก “แตถ า ทา นชว ยขา ขาตองบินไดอยา งแนนอน เพยี งแตท า นพาขาข้นึ ไป
บนทอ งฟา เทา น้นั แลวขา ก็จะบินของขา เอง” เตา พูด ในตอนแรกนกอนิ ทรปี ฏเิ สธ แตเตากเ็ ฝา
ออ นวอนจนนกอินทรีใจออน มนั จึงใชอุงเล็บทงั้ สองยกตัวเตา บินขนึ้ ไปบนทอ งฟา “พอขาปลอยทา น
ทา นก็บินเลยนะ” นกอนิ ทรีบอกแลวก็ปลอยตวั เตาลงมา แตแ ทนที่จะบิน รา งของเตา กลบั รวงหลน
ลงมาจากทอ งฟา ลงมากระแทกกับกอนหินเตม็ แรง ขาดใจตายทนั ที

เรอื่ งน้ีสอนใหร วู า จะทําอะไรควรรูจกั ประมาณตน

132 คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 2

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื สามญั รนุ ใหญ (เครอ่ื งหมายลกู เสือชนั้ พเิ ศษ) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

หนวยที่ 7 ประเมินผล เวลา 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 24 การประเมนิ ผล

1. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

1.1 เพอ่ื ใหล ูกเสือเขา ใจการประเมินผลเพอ่ื การตดั สินผลการผา น ไมผานกจิ กรรม
1.2 เพ่ือใหล กู เสือสามารถรับการประเมนิ พฤตกิ รรมทักษะชวี ิตท่ลี กู เสือไดรับการพฒั นา
1.3 เพือ่ เตรยี มความพรอ มรบั การประเมนิ ตามวธิ ีการของผูกํากับลกู เสอื กองลูกเสอื
2. เนื้อหา

2.1 เกณฑก ารตัดสนิ กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นตามหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551
2.2 การประเมินพฤติกรรมทักษะชวี ติ
3. ส่อื การเรียนรู

3.1 Flow Chart การประเมนิ เพือ่ ตัดสินผลการเลอื่ นชน้ั ของลูกเสอื และจบการศึกษา
3.2 การประเมินทักษะชวี ติ ของลกู เสอื รายบุคคลหรอื รายหมูลกู เสือ
3.3 ใบความรู
4. กิจกรรม

4.1 ผกู ํากับลกู เสืออธบิ ายหลักเกณฑ วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรียนรตู ามทหี่ ลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 กําหนดเพื่อตัดสินการจบการศกึ ษา

4.2 ผกู าํ กับลกู เสืออธบิ ายถงึ พฤติกรรมของลูกเสือทไี่ ดรับการเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ผาน
กิจกรรมลกู เสอื

4.3 ลกู เสือประเมนิ ความพรอ มของตนเองเพื่อรับการประเมนิ และวางแผนพฒั นาตนเองใน
สว นที่ไมม ัน่ ใจ

4.4 ผูกํากับลกู เสือและลกู เสือกําหนดขอ ตกลงรว มกันถึงชวงเวลาการประเมิน
4.5 ผกู าํ กบั ลกู เสือนัดหมายและดาํ เนินการประเมิน
5. การประเมินผล

5.1 สงั เกตจากผลการประเมินตนเองของลูกเสือ
5.2 สังเกตความมน่ั ใจและการยืนยันความพรอ มของลูกเสอื

คมู อื การจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 133

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 24

1. การประเมนิ ผลตามเกณฑข องหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551
Flow Chartกระบวนการประเมินผลลูกเสือ

ลกู เสือเรียนรจู ากกจิ กรรม เกณฑการประเมนิ
ลูกเสอื เสริมสรา งทักษะชวี ติ 1. เวลาเขา รวมกิจกรรม
2. การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
ผกู ํากบั ประเมนิ ผลเรยี นของ 3. ผลงาน / ช้ินงาน
ลูกเสอื ท่ีรว มกิจกรรม 4. พฤตกิ รรม/คณุ ลกั ษณะ
ของลูกเสือ
ผลการประเมนิ
ผาน ไมผาน - ซอมเสริม
- พัฒนาซาํ้
ตดั สินผลการเรยี นรูผ า นเกณฑ
ผาน

รบั เคร่ืองหมายชนั้ ลูกเสือ
ตามประเภทลกู เสอื

134 คมู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

แบบประเมนิ ตนเองของลูกเสือ
ชอื่ ..........................................................ประเภทลกู เสือ...........................ช้นั ................................

เกณฑท ่ี การประเมนิ ตนเอง ขอคดิ เห็น
การพัฒนา
ที่ รายการทร่ี บั การประเมิน สถานศึกษา ครบ/ ไมครบ/

กาํ หนด ผาน ไมผา น

1 1. เขา รวมกจิ กรรมลูกเสอื ไมน อ ยกวา

1.1 รว มกิจกรรมการฝก อบรม 24ช่วั โมง/ ป

1.2 รว มกิจกรรมวนั สาํ คญั

- วันสถาปนาลกู เสือ 1 ครัง้ / ป

- วนั ถวายราชสดดุ ี 1 ครง้ั / ป

- วันพอ แหงชาติ 1 ครง้ั / ป

- วนั แมแหงชาติ 1 คร้งั / ป

- วนั ตา นยาเสพติด 1 คร้ัง/ ป

- กจิ กรรมบําเพ็ญประโยชนอ ื่นๆ 8คร้งั / ป

- กจิ กรรมวัฒนธรรม/ ประเพณี 4คร้งั / ป

1.3 เดินทางไกล/ อยูคา ยพกั แรม 1 ครงั้ / ป

2 2. มีผลงาน/ ชิน้ งานจากการเรยี นรู

กิจกรรมลูกเสอื ไมน อยกวา

2.1 ผลงานการบริการ 6รายการ/ ป

2.2 ชิ้นงาน/ งานท่ีคดิ สรางสรรค 2รายการ/ ป

2.3 อน่ื ๆ เชน รายงานฯ 2รายการ/ ป

3 3. มีความพรอ มเขา รับการทดสอบเพื่อ

เล่อื นชน้ั และรบั เครื่องหมายวิชาพเิ ศษ

ลูกเสอื วิสามญั

3.1.............................................

3.2.............................................

3.3.............................................

3.4.............................................

3.5.............................................

ผา นและพรอ ม

คูม ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 135

สรุป  ฉนั ม่ันใจวา ผา น  ฉนั มีความพรอมใหป ระเมนิ  ฉนั ยงั ไมพ รอม

สรุปผลการประเมินตนเอง  
1. ดานทกั ษะลกู เสอื



มนั่ ใจมากวาจะ พรอ มแลว ไมแนใจ ตองขอความ งุนงง
ผา นการประเมิน ชวยเหลือจาก ไมเ ขาใจ
ผกู ํากับลูกเสอื

 มั่นใจมาก พรอมรับการประเมนิ เคร่ืองหมายวชิ าพิเศษ
 พรอมรบั การประเมนิ
ไมแ นใ จ
 ยงั ตองพฒั นา/ ซอมเสรมิ บางเรอ่ื ง
ตองการความชวยเหลอื จากผูกาํ กบั ลกู เสอื

ลงชื่อ.......................................................ผูประเมนิ

136 คูม ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทกั ษะชีวติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมทักษะชวี ิตของลูกเสือสาํ หรับผกู าํ กบั ลูกเสอื

คําชีแ้ จง ใหผ ตู อบทําแบบประเมนิ ทุกขอ โดยแตละขอใหท ําเคร่อื งหมาย/ ลงในชองทตี่ รงกับความ
เปน จริง

2.1 พฤติกรรมลกู เสือสาํ รองทค่ี าดหวัง

รายการประเมนิ ใช ไมใ ช

1. ลูกเสอื มที กั ษะในการสังเกตและจดจาํ
2. ลูกเสอื สามารถพง่ึ ตนเองและดแู ลตนเองได
3. ลกู เสอื สาํ รองปฏบิ ตั ิกิจกรรมบาํ เพญ็ ประโยชนรักษาส่ิงแวดลอ ม
และอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาติ
4. ลูกเสอื ไมมปี ญ หาทนั ตสุขภาพและไมเ จบ็ ปว ยดว ยโรคติดตอ
ตามฤดูกาล
5. ลกู เสือรจู ักรกั ษาสขุ ภาพและปฏเิ สธส่ิงเสพตดิ
6. ลูกเสือรูจกั แกป ญหาเฉพาะหนา หรือใหการชว ยเหลอื / แจง เหตุเม่ือประสบเหตุ
วกิ ฤต
7. ลกู เสอื มีสว นสูงและนาํ้ หนกั ตามเกณฑม าตรฐาน
8. ลูกเสอื มที ักษะในการสอ่ื สารไดถกู กาลเทศะและไมก า วราวรนุ แรง

สรปุ แบบการประเมินตนเอง

 

ฉันมที ักษะชวี ติ ฉันจะมีทกั ษะชวี ติ ฉนั ตองพฒั นาตนเองอกี มาก

ถา แกไขปรับปรงุ พฤติกรรม

คูม อื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 137

2.2 พฤตกิ รรมลูกเสอื สามญั ท่ีคาดหวงั

รายการประเมนิ ใช ไมใช

1. ลูกเสอื มีทักษะในการปฏบิ ัติกิจกรรมกลางแจง
2. ลูกเสอื รว มกจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชน
3. ลูกเสอื ชวยตนเองและครอบครวั ได
4. ลกู เสือไมม ปี ญ หาทันตสขุ ภาพ ไมดื่มน้ําอดั ลมขนมกรบุ กรอบ
ไมรบั ประทานขนมหวานเปนประจาํ
5. ลูกเสอื รูจกั ใชเวลาวางใหเ ปน ประโยชนแ ละไมติดเกม
6. ลูกเสือประพฤตติ นเหมาะสมกบั เพศและวยั มที กั ษะการสรา ง
สัมพนั ธภาพและการสอื่ สารไมกาวรา วรุนแรง
7. ลกู เสอื แสดงออกถึงความซ่ือสัตย รูจกั แกปญหา หรือใหความ
ชวยเหลอื ผอู ่นื

8. ลูกเสอื มนี ้าํ หนักและสว นสูงตามเกณฑม าตรฐาน

สรปุ แบบการประเมินตนเอง



มีทักษะชวี ติ จะมีทักษะชวี ติ ตองพัฒนาตนเอง ไมแนใ จชีวิต
พรอ มเผชิญ แกไ ขปรบั ปรงุ อีกมาก (มีปญ หาแลว )
อยา งรอดปลอดภัย
พฤติกรรม (เสีย่ งนะเน่ีย)

เร่อื งท่ีฉันจะตองปรับปรุง

1)..................................................................................................................................................
2)..................................................................................................................................................
3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

138 คูม ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 2

2.3 พฤตกิ รรมลูกเสือสามญั รุนใหญท คี่ าดหวัง

รายการประเมนิ 12
1. ลูกเสอื พฒั นาตนเองใหมีทกั ษะในการทาํ กิจกรรมลูกเสือ

ตามความสนใจและไดร บั เครื่องหมายวชิ าพิเศษ
2. ลูกเสอื ทาํ กิจกรรมบําเพญ็ ประโยชนตอ ครอบครัว

สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม

3. ลูกเสอื ใชเ วลาวางท่ีเปนประโยชนทํากิจกรรม อนุรักษส งเสรมิ จารีตประเพณี
ศิลปวฒั นธรรมไทย

4. ลกู เสือรูเทา ทันสอ่ื โฆษณาและรจู ักใชป ระโยชนจ าก Internet

5. ลูกเสือเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมหรอื ปรบั ปรุงและพฒั นาตนเองได
เหมาะสมกบั เพศวัยไมก า วรา วรนุ แรง
6. ลกู เสอื ทํากจิ กรรมหรือโครงการประหยัดพลงั งาน/ทรพั ยากร

7. ลกู เสอื มีการออม หรือทําบัญชีรายรับ รายจายอยางตอ เน่ือง
8. ลกู เสอื ไมเ คยประสบอบุ ตั ิเหตุจากการใชย านพาหนะ

สรปุ แบบการประเมนิ ตนเอง



มีทกั ษะชวี ติ จะมีทักษะชวี ติ ตองพฒั นาตนเอง ไมแ นใจชวี ิต
พรอ มเผชิญ แกไขปรบั ปรงุ อกี มาก (มปี ญ หาแลว)
อยางรอดปลอดภยั
พฤติกรรม (เส่ยี งนะเนี่ย)

เรื่องที่ฉนั จะตองปรับปรุง

1)..................................................................................................................................................
2)..................................................................................................................................................
3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

คูม อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 139

2.4 ฤติกรรมลูกเสือวิสามญั ท่คี าดหวงั

รายการประเมิน ใช ไมใ ช
1. ลูกเสือทาํ กจิ กรรม/โครงการ ตามความถนดั และความสนใจ
2. ลูกเสอื บริการผอู ่นื ชว ยเหลือชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

3. ลกู เสือรจู กั วิธปี อ งกันความเสีย่ งทางเพศ
4. ลกู เสอื ใชเวลากบั สอ่ื ไอทไี ดอ ยา งเหมาะสม
5. ลกู เสือตระหนักถงึ พิษภัยและหลีกเลี่ยงจากสง่ิ ยาเสพติด
6. ลูกเสอื มีคา นยิ มสขุ ภาพ ดา นอาหาร และความงามที่เหมาะสม

7. ลกู เสือทํางานหารายไดระหวา งเรยี น

8. ลูกเสอื ไมมพี ฤตกิ รรมกา วราวและไมกอ เหตุรนุ แรง

สรปุ แบบการประเมนิ ตนเอง



มที กั ษะชวี ติ จะมีทกั ษะชวี ติ ตอ งพฒั นาตนเอง ไมแนใ จชีวิต
พรอ มเผชญิ แกไ ขปรับปรงุ อกี มาก (มปี ญหาแลว)
อยางรอดปลอดภัย
พฤติกรรม (เส่ยี งนะเนยี่ )

เร่อื งท่ฉี นั จะตอ งปรับปรุง

1)..................................................................................................................................................
2)..................................................................................................................................................
3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

140 คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2

ใบความรู

*การประเมินกิจกรรมลูกเสอื

1. การประเมนิ ผลการเรยี นรูตามแนวทางหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กําหนดใหกิจกรรมลูกเสือเปนกิจกรรมท่ีมุงปลูกฝง

ระเบียบวินัยและกฎเกณฑเพ่ือการอยูรวมกัน รูจักการเสียสละ บําเพ็ญประโยชนแกสังคมและ
ดําเนินวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ตลอดจนมีทักษะชีวิตเปนภูมิคุมกันปญหาสังคมตามชวงวัย
ของลูกเสือ

การจัดกิจกรรมลูกเสือยังตองเปนไปตามขอบังคับของสํานักงานลูกเสือแหงชาติและ
สอดคลองกบั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานอกี ดว ย

แนวทางการประเมินผลกจิ กรรมลกู เสอื
กิจกรรมลูกเสือเปนกิจกรรมนักเรียนที่ลูกเสือทุกคนตองเขารวมกิจกรรมลูกเสือ 40 ช่ัวโมง
ตอปก ารศึกษาในระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
การประเมินการจัดกิจกรรมลูกเสือตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมีประเด็น/ส่ิง
ที่ตอ งประเมินดงั น้ี
1. เวลาในการเขารวมกิจกรรม ผูเ รยี นตอ งมเี วลาเขา รวมกจิ กรรมตามทีส่ ถานศกึ ษากําหนด
2. การเรียนรูผานกิจกรรมหรือการปฏิบัติกิจกรรมอยางตอเนื่อง มุงเนนการพัฒนาศักยภาพ
ของตนและการทํางานกลมุ
3. ผลงาน / ชิ้นงาน / พฤติกรรม / คุณลักษณะของผูเรียน ท่ีปรากฏจากการเรียนรูหรือการ
เปล่ียนแปลงตนเอง

*การประเมนิ ผลอาจเขยี นแยกการประเมนิ ผลแตล ะกิจกรรม หรอื เขยี นรวมในภาพรวมของกิจกรรมลกู เสอื ก็ได

เอกสารอางองิ กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551.กรงุ เทพมหานคร :
โรงพิมพชมุ นมุ สหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กดั . 2551

คูม ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวิต ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 141

แนวทางการประเมนิ ผลการเรียนรกู จิ กรรมลกู เสอื
แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือ

จัดกจิ กรรมลูกเสือ เกณฑก ารประเมิน
ตามคมู อื การจดั กิจการลูกเสือที่ 1. เวลาเขารว มกจิ กรรม
2. การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
เสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ 3. ผลงาน / ช้ินงาน
4. พฤติกรรม/คุณลักษณะ
ประเมินผลการเรียนรู ของลูกเสอื

ผลการประเมนิ ไมผ าน
ซอ มเสรมิ
ผาน
ผาน
สรุปผลการประเมิน/
ตัดสนิ ผลการเรียนรู

รายงาน / สารสนเทศ

จดั พธิ ีประดบั เคร่อื งหมายลูกเสอื
ตามประเภทลกู เสือ

การประเมินกจิ กรรมลูกเสือ มี 2 แนวทาง คือ
1. การประเมินกจิ กรรมลกู เสือรายกจิ กรรมมีแนวปฏิบตั ิดังนี้
1.1 ตรวจสอบเวลาเขารวมกิจกรรมของลูกเสือใหเปนไปตามเกณฑท่ีสถานศึกษา

กาํ หนด
1.2 ประเมินกิจกรรมการเรียนรูจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ช้ินงาน /

คุณลักษณะของผูเรียนตามเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนดดวยวิธีการที่หลากหลาย เนนการมีสวนรวม
ในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม

142 คูมือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

1.3 ลูกเสือท่ีมีเวลาการเขารวมกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ช้ินงาน /
คุณลักษณะตามเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนดเปนผูผานการประเมินรายกิจกรรมและนําผลการ
ประเมินไปบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน

1.4 ลูกเสือที่มีผลการประเมินไมผานในเกณฑเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะตามที่สถานศึกษากําหนด ผูกํากับลูกเสือตองดําเนินการ
ซอมเสริมและประเมินจนผาน ท้ังนี้ควรดําเนินการใหเสร็จส้ินในปการศึกษาน้ัน ๆ ยกเวนมีเหตุ
สดุ วสิ ยั ใหอยูใ นดุลพนิ ิจของสถานศกึ ษา

2. การประเมนิ กิจกรรมลูกเสอื เพอ่ื การตดั สนิ ใจ
การประเมินกิจกรรมลูกเสือเพ่ือตัดสินควรไดรับเคร่ืองหมายและเล่ือนระดับทาง

ลูกเสือและจบการศึกษาเปนการประเมินการผานกิจกรรมลูกเสือเปนรายป / รายภาค / เพ่ือสรุปผล
การผา นในแตละกิจกรรม สรุปผลรวมเพื่อสรปุ ผลการผา นในแตละกจิ กรรม สรปุ ผลรวมเพอ่ื เล่ือนชนั้
ระดับลูกเสือและประมวลผลรวมในปสุดทายเพ่ือการจบแตละระดับการศึกษา โดยการดําเนินการ
ดังกลาวมแี นวทางปฏบิ ัติ ดงั น้ี

2.1 กําหนดใหมีผูรับผิดชอบในการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการเขารวมกิจกรรม
ลูกเสือของลูกเสอื ทกุ คนตลอดระดับการศกึ ษา

2.2 ผูรับผิดชอบสรุปและตัดสินใจผลการรวมกิจกรรมลูกเสือของลูกเสือเปน
รายบุคคล รายหมู ตามเกณฑท ่ีสถานศึกษากาํ หนด
เกณฑก ารตดั สนิ

1. กําหนดเกณฑการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกําหนดไว
2 ระดับ คือผาน และ ไมผ า น

2. เกณฑก ารตดั สินผลการประเมินรายกจิ กรรม
ผา น หมายถึง ลูกเสอื มีเวลาเขารว มกจิ กรรมครบตามเกณฑ ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน

/ ช้นิ งาน / คุณลกั ษณะตามเกณฑท ่ีสถานศึกษากําหนด
ไมผาน หมายถึง ลูกเสือมีเวลาเขารวมกิจกรรมไมครบตามเกณฑ ไมผานการปฏิบัติ

กิจกรรมหรอื มีผลงาน / ชนิ้ งาน / คณุ ลักษณะไมเ ปนไปตามเกณฑท ีส่ ถานศึกษากําหนด
3. เกณฑการตดั สนิ ผลการประเมินกจิ กรรมลูกเสือรายป / รายภาค
ผาน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผาน” ในกิจกรรมสําคัญตามหลักสูตร

ลูกเสือแตล ะประเภทกาํ หนด รวมถึงหลกั สูตรลกู เสอื ทักษะชีวิต
ไมผาน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ไมผาน” ในกิจกรรมสําคัญท่ีหลักสูตร

ลกู เสือแตล ะประเภทกาํ หนดและลกู เสือทกั ษะชวี ิต
4. เกณฑการตดั สินผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือเพื่อจบหลักสูตรลูกเสือแตละประเภทเปน

รายชน้ั ป
ผาน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผาน” ทุกช้ันปในระดับการศึกษานั้น
ไมผ าน หมายถงึ ลกู เสือมผี ลการประเมินระดบั “ไมผ าน” บางชัน้ ปใ นระดบั การศึกษาน้นั

คูมอื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชีวติ ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 2 143

2. การประเมนิ พฤตกิ รรมทกั ษะชวี ิตและคุณลักษณะทางลูกเสอื
2.1 ความสามารถทคี่ าดหวังใหเ กดิ ข้นึ กบั ลูกเสือโดยรวม คือ
1) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห
2) ความสามารถในการคิดสรา งสรรค
3) ความสามารถในการเหน็ ใจผูอืน่
4) เห็นคณุ คาตนเอง
5) รับผิดชอบตอสงั คม
6) ความสามารถในการสอื่ สารเพ่ือสรางสมั พันธภาพ
7) ความสามารถในการตดั สินใจ
8) ความสามารถในการจัดการแกไขปญหา
9) ความสามารถในการจดั การกบั อารมณ
10) ความสามารถในการจัดการกับความเครียด
2.2 พฤติกรรมที่คาดหวังใหเกดิ ข้นึ กบั ลกู เสือโดยรวม คอื
1) ลูกเสือสํารอง
(1) มีทักษะในการสังเกตและจดจาํ
(2) พ่ึงตนเอง ดูแลตนเองได
(3) รูจักรักษาสิ่งแวดลอ ม
(4) ไมเจ็บปว ยดวยโรคตดิ ตอตามฤดูกาล
(5) ปฏิเสธส่งิ เสพติดทกุ ชนดิ
(6) พดู จาส่อื สารเชงิ บวก ไมก าวรา วรนุ แรง
(7) แกปญหาเฉพาะหนา ได
(8) ใหค วามชว ยเหลอื เพ่อื นในภาวะวิกฤติ
2) ลูกเสือสามญั
(1) มีทักษะในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลางแจง
(2) รว มกิจกรรมบาํ เพญ็ ประโยชนด วยจติ อาสา
(3) พง่ึ ตนเองและชว ยเหลอื ครอบครัว
(4) ไมด ม่ื นํ้าอัดลม
(5) ไมร บั ประทานขนมหวานและขนมกรบุ กรอบ
(6) ใชเวลาวางใหเปน ประโยชน
(7) รูจกั พูดเชงิ บวก ไมพ ดู กาวราวรุนแรง
(8) มคี วามซือ่ สตั ย ไมโกหก
(9) รูจักแกปญหาดว ยสันตวิ ิธี
(10) มนี าํ้ หนกั สวนสูงตามเกณฑม าตรฐาน

144 คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 2

3) ลูกเสือสามัญรุนใหญ
(1) มีทักษะในการทาํ กจิ กรรมตามความสนใจ
(2) มจี ติ อาสาทําประโยชน/ ไมก อ ความเดือดรอน ใหก ับครอบครวั

สถานศกึ ษา ชุมชน สงั คม
(3) ใชเ วลาวา งใหเปน ประโยชน
(4) รวมกจิ กรรมสง เสรมิ อนรุ ักษป ระเพณี ศิลปวฒั นธรรมไทย
(5) มที กั ษะการคิดวเิ คราะห การยับยงั้ ไมเปนทาสของสอ่ื โฆษณา
(6) มที กั ษะการใชป ระโยชนจาก Internet
(7) มีผลงาน/ โครงการการประหยดั พลงั งาน/ ทรพั ยากร
(8) มีการออมหรอื ทาํ บญั ชีรายรับ รายจา ยของตนเองอยางตอเนื่อง
(9) มที กั ษะการหลกี เลยี่ ง ลอดพนและไมเ กิดอุบัติเหตุจากการใช

ยานพาหนะ
(10) ไมเก่ยี วของกับสิ่งเสพติดทกุ ประเภท

4) ลกู เสอื วิสามญั
(1) มผี ลงาน/ โครงการเฉพาะท่ีเปน ประโยชนตอ ตวั เอง/ สังคม
(2) มจี ติ อาสาและบริการ
(3) รวู ธิ ีปอ งกนั / และหลกี เลยี่ งความเส่ยี งทางเพศ
(4) ใชเ วลากบั ส่ือ IT อยางเหมาะสม ไมเ กิดความเสยี หายตอวิถชี วี ติ ปกติ

ของตนเอง
(5) ไมเก่ยี วขอ งกับส่ิงเสพตดิ
(6) มคี า นยิ มดานสุขภาพอยางเหมาะสม ไมเ กดิ ผลเสยี ตามมา
(7) มคี านิยมดานการรับประทานอาหารทเ่ี หมาะสม ไมเกดิ ผลเสยี หาย

ตามมา
(8) มคี า นยิ มดานความงามที่เหมาะสมไมเกดิ ผลเสยี หายตามมา
(9) ไมมพี ฤตกิ รรมกา วราวและกอ เหตุรุนแรง

อางอิงจากผลลัพธก ารจัดกจิ กรรมลูกเสอื คูม อื Bench Marking

คูมอื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 145


Click to View FlipBook Version