The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by E-BOOK MCUKK, 2021-03-03 01:49:42

เพื่อนคู่คิด มิตรคู่ครู

การออกแบบการเรียนรู้ ต้องวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท่ีสามารถนำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ โดยหน่วยการเรียนรู้ควรมีองค์ประกอบสำคัญ
คือ ๑) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ๒) มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๓) สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

๔) สาระการเรียนรู้ ท้งั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าม)ี ๕) สมรรถนะ

สำคญั ของผเู้ รียน ๖) คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๗) ชิ้นงาน/ภาระงาน ๘) การวดั และประเมินผล
๙) กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑๐) สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ และ ๑๑) เวลาเรยี น/จำนวนช่วั โมง

โดยรายการท่ี ๑)-๖) เป็นเป้าหมายการเรียนรู้ รายการ ๗)-๘) เป็นหลักฐาน


ของการเรยี นรู้ และรายการท่ี ๙)-๑๑) เป็นกจิ กรรมการเรยี นรู้ ซ่งึ มแี นวในการสรา้ ง ดังน
้ี
๑. ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้

การกำหนดช่ือของหน่วยการเรียนรู้ ต้องสะท้อนให้เห็นถึง สาระสำคัญหรือ
ประเด็นสำคัญในหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ ซ่ึงช่ือหน่วยการเรียนรู้ ควรมีลักษณะสำคัญ คือ มีความ
นา่ สนใจ โดยอาจเป็นประเด็นปญั หา ขอ้ คำถาม หรือข้อโต้แยง้ ทส่ี ำคัญ สอดคลอ้ งกบั ชีวติ ประจำวัน


และสังคมของผู้เรยี น และตอ้ งเหมาะสมกบั วยั ความสนใจและความสามารถของผูเ้ รียน

๒. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั

ในการจัดทำหน่วยการเรียนรู้น้ัน มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด ที่นำมาจัดทำเป็น
หน่วยการเรียนรู้ต้องมีความสอดคล้อง สัมพันธ์กันและนำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้
ประการสำคญั ผู้เรียนตอ้ งได้รับการพัฒนาครบถว้ นตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัดนน้ั ๆ

๓. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

ในการเขียนสาระสำคัญหรือความคิดรวบยอดจะได้มาจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์

แก่นความรู้ในสาระการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนจะได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐาน

การเรียนรู้/ตัวชี้วดั ซงึ่ วธิ เี ขยี นควรเขยี นให้สน้ั กระชบั ไดใ้ จความสมบูรณ์ครบถ้วน แนวการเขยี น
มหี ลักการง่ายๆ ในการเขยี น คอื ตอบคำถามวา่ เร่อื งท่ีจะเรียนรู้ เป็น อะไร (อย่าใช้คำวา่ “คอื ”
หรอื “หมายถึง” ซงึ่ จะกลายเป็นเน้อื หา) และหรอื มีความสำคัญอยา่ งไร (เรยี นแล้วจะไดอ้ ะไร)

๔. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ที่นำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้

ตามตวั ชีว้ ัด ประกอบดว้ ย สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางและสาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ (ถา้ ม)ี

๕. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน สามารถวิเคราะห์ได้จากสมรรถนะสำหรับผู้เรียน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และทักษะ/กระบวนการ

ตามธรรมชาติวิชาท่นี ำมาในการจัดกจิ กรรมการเรียนร้


เพอื่ นค่คู ดิ มิตรค่คู ร
ู 39
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ประวตั ศิ าสตร์

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

สามารถวิเคราะห์ได้จากคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปน็ ไปตามจดุ เน้นของเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา สถานศกึ ษา
และกลมุ่ สาระการเรยี นร
ู้
๗. ช้ินงาน/ภาระงาน

ชิ้นงาน/ภาระงานที่กำหนด ต้องสะท้อนถึงความสามารถของผู้เรียนจากการใช้
ความรแู้ ละทักษะทก่ี ำหนดไวใ้ นหน่วยการเรียนรทู้ ส่ี อดคล้องกบั ตวั ชีว้ ัด

ชิ้นงาน/ภาระงาน เป็นส่ิงที่ครูกำหนดหรือครูผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันกำหนดข้ึน
เพื่อให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน ต้องแสดงให้เห็นถึง
พัฒนาการในการเรียนรู้ของผู้เรียน และเป็นร่องรอยหลักฐานแสดงว่าผู้เรียนมีความรู้และทักษะ
ถึงมาตรฐานและตัวช้ีวัดที่กำหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน อาจเกิดข้ึนได้ใน
ระหว่างการจัดการเรียนการสอน และช้ินงาน/ภาระงานรวบยอดท่ีแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนได้นำ
ความรู้และทักษะท่ีไดจ้ ากการเรียนรู้ในหน่วยการเรยี นร้นู ้นั ออกมา

ตัวอย่างชน้ิ งาน

● รายงาน เรียงความ จดหมาย โคลงกลอน หนังสือเล่มเล็ก แผนภาพ



แผนผัง แผนภูมิ ภาพวาด กราฟ ตาราง งานประดิษฐ์ งานแสดงนิทรรศการ
หนุ่ จำลอง แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ

ตัวอยา่ งภาระงาน

● การพูดรายงานปากเปล่า การอภิปราย การอ่าน กล่าวรายงาน โต้วาที


รอ้ งเพลง เลน่ ดนตรี การเคลือ่ นไหวรา่ งกาย ฯลฯ

ตวั อยา่ งงานท่ผี สมผสานกนั ระหว่างชนิ้ งาน/ภาระงาน

● โครงงาน การทดลอง การสาธิต ละคร วีดทิ ศั น์ ฯลฯ

๘. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและการประเมินผล ควรกำหนดให้ครอบคลุมทั้งระหว่างการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้และเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนรู้ การกำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ตลอดจน
เกณฑ์การประเมิน ต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดท่ีกำหนดในหน่วยการเรียนรู้


ครูผู้สอนและผู้เรียนควรตกลงร่วมกันสร้างเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน หรือการปฏิบัติงาน
เพอื่ เปน็ แนวทางในการประเมินคุณภาพผเู้ รียน


40 เพือ่ นคู่คดิ มิตรคูค่ รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรูป้ ระวตั ิศาสตร


๙. กิจกรรมการเรยี นร ู้

กิจกรรมการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือที่สำคัญ การที่ผู้เรียนจะบรรลุเป้าหมายการเรียนร
ู้
หรือไม่ข้ึนอยู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จึงต้องจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมด้วยการนำเทคนิค


วิธีการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงจะนำผู้เรียนไปสู่การสร้างช้ินงาน/ภาระงาน และสอดแทรกด้วยการใช้
ทักษะ (สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน) กระบวนการตามธรรมชาติวิชา และคุณลักษณะ


ท่ีพึงประสงค์ ที่กำหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้ และประเด็นสำคัญในกิจกรรมการเรียนร
ู้
ตอ้ งมคี วามหลากหลายและยดึ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

๑๐. สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้

สื่อและแหล่งเรยี นรู้ คือ แหล่งทีจ่ ะช่วยส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้ ทำหนา้ ท่ี
ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก เพิ่มพูนทักษะประสบการณ์ กระตุ้นให้ผู้เรียนเป็น

ผู้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจนเกิดการพัฒนาด้านต่างๆ ท้ังด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ


และเจตคติหรือค่านยิ ม

๑๑. เวลาเรยี น/จำนวนชัว่ โมง

เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ จะต้องวิเคราะห์
ความเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จะต้องวิเคราะห์ความเหมาะสมกับการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับจำนวนมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ที่ปรากฏในหน่วยการเรียนรู้จาก
โครงสร้างรายวิชา




อยา่ งไร...จงึ จะเปน็ หนว่ ยการเรยี นร้ปู ระวตั ศิ าสตร์ที่ด


หน่วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท่ีผู้สอนสร้างข้ึน จะเป็นหน่วยการเรียนท่ีมีมาตรฐาน
และอิงมาตรฐานการเรียนรู้ ๑๐ มขี อ้ สังเกต ดังนี้

๑. มาตรฐานการเรียนรู้หรือตวั ช้ีวัดในหน่วยมีความเชอ่ื มโยงกนั

๒. มาตรฐานการเรียนรู้หรือตัวช้ีวัดกับช้ินงานหรือภาระงานของผู้เรียนมีความ
สอดคลอ้ งกนั

๓. มาตรฐานการเรียนรู้หรือตัวชี้วัดกับวิธีการประเมินและเกณฑ์การประเมินมีความ
สอดคล้องกัน

๔. มาตรฐานการเรยี นรหู้ รือตัวช้ีวัดกบั กิจกรรมการเรียนร้มู คี วามสอดคล้องกนั

๕. มาตรฐานการเรยี นรหู้ รือตัวชี้วดั กบั สอ่ื แหล่งการเรียนร้มู คี วามสอดคลอ้ งกัน

๖. ชิ้นงานหรือภาระงานของผู้เรียนกับวิธีการประเมินและเกณฑ์การประเมินมีความ
สอดคลอ้ งกัน


เพอื่ นคู่คิด มิตรคู่คร
ู 41
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์

๗. ช้ินงานหรอื ภาระงานของผ้เู รียนกบั กิจกรรมการเรียนรู้มีความสอดคลอ้ งกนั

๘. ชน้ิ งานหรือภาระงานของผเู้ รยี นกับสื่อ แหลง่ การเรียนรมู้ ีความสอดคล้องกัน

๙. กิจกรรมการเรียนรู้กบั ส่ือ แหลง่ การเรยี นรู้มคี วามสอดคลอ้ งกัน

๑๐. หนว่ ยการเรียนรสู้ ามารถนำไปจัดการเรียนรู้ให้กับผเู้ รียนได้จรงิ

จากผลการพิจารณาหน่วยการเรยี นรู้ประวตั ศิ าสตรท์ ีผ่ า่ นมา ได้ขอ้ คน้ พบต่างๆ ตามที่
คณะกรรมการพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ให้ข้อเสนอแนะในการพิจารณาในการจัดทำ

หนว่ ยการเรยี นรู้ ดงั นี้

๑) มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ไม่สอดคล้องกับวิธีสอน และเนื้อหาที่ใช้ในการจัด


กิจกรรมการเรียนร้

๒) เวลาเรยี น ทใ่ี ชจ้ ดั กิจกรรมนอ้ ยเกินไปสำหรับเน้อื หาทใี่ ช้สอน

๓) กจิ กรรมการเรียนการสอนสว่ นใหญ่ยังยดึ การอา่ นเอกสาร เช่น ใบความรู้ หนังสือ

อ่านเพิ่มเติมที่ครูทำให้แล้วตอบคำถาม ซ่ึงเน้นความรู้ ความจำ ความเข้าใจในเนื้อหา ควรม

ข้ันตอนการสอนทใ่ี ชว้ ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ และมีรายละเอียดของแต่ละขั้นตอน

๔) เอกสารที่ครูทำขาดการอ้างอิง ถ้ามีการอ้างอิงจะใช้เว็บไซต์เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งส่วนหนึ่ง


เปน็ ขอ้ มลู ทีค่ ลาดเคลอื่ นและยังไม่มกี ารใชเ้ อกสารชัน้ ต้น (ท้ังทเ่ี ปน็ นกั เรยี นระดับมธั ยมศึกษา)

๕) ข้อมูลท่ีครูใช้สอน ใช้ตั้งคำถาม ในเอกสารประกอบการสอน พบข้อมูลที่ล้าสมัย


มขี อ้ มูลที่ผดิ พลาด และครจู ะใช้ขอ้ มูลทค่ี วา้ ได้ท้ังหมด โดยไมม่ ีการตรวจสอบความถูกต้อง

๖) ครูยังเน้นหน่วยการเรียนรู้ที่มีแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน ซึ่งเน้นความรู้ความจำ


ข้อมูล ทำให้ขาดการเน้นทักษะกระบวนการ เช่น การคิดวิเคราะห์ การสรุป การตีความ และ

ทส่ี ำคญั ไมส่ ามารถสรา้ งเจตคตคิ ่านิยม

๗) ครูยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับโครงงาน เช่น ให้นักเรียนไปทัศนศึกษา และแบ่ง
กลุ่มค้นคว้าก็เรียกว่าโครงงาน การสำรวจภูมิปัญญาในท้องถิ่นแล้วกลับมาทำรายงาน ก็เรียกว่า
โครงงานสำรวจทอ้ งถนิ่

อย่างไรก็ตามในช่วงระยะเวลาท่ีผ่าน เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านท่ีเริ่มมีการใช้หลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ครผู ้สู อนประวตั ศิ าสตรต์ า่ งทบทวนประสบการณ์


การออกแบบการเรียนรู้เดิมเพ่ือปรับรูปแบบ และวิธีการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ท้ังน้ีหลักการ
ออกแบบการเรียนรู้ยังคงเดิม จะต่างตรงรายละเอียดบางส่วนเท่านั้น หากในแง่ของคุณภาพ


การออกแบบการเรียนรู้ก็ยังอยู่ในเส้นทางพัฒนากันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งครูผู้สอนจำเป็นต้องเรียนรู้
เก่ียวกบั มโนทศั น์สำคญั (Key Concept) ท่อี ย่ใู นตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้ รวมท้ังกระบวนการ
จัดการเรยี นรู้สำคัญของสาระประวัตศิ าสตร์


42 เพ่อื นคูค่ ดิ มติ รคูค่ รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ปู ระวัติศาสตร์

ตวั อยา่ งหนว่ ยการเรียนร
ู้



❖ หน่วยการเรียนร้ปู ระวตั ิศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา (ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑)

❖ หนว่ ยการเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น (ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑)

❖ หน่วยการเรียนรปู้ ระวัตศิ าสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔)

ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรียนรู้ระดบั ประถมศกึ ษา


โครงสรา้ งรายวชิ า
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

ชื่อ รายวิชา ส๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์

ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑

ห นท่ว่ี ย ช ่ือหนว่ ย ม าตตัวรชฐว้ี าดั น / ส า ระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
เวลา น้ำหนัก

๑ กาลเวลา ส ๔.๑ ป.๑/๑ การเรยี นรูเ้ กี่ยวกบั วัน เดือน ปี และการนับ (ชม.) คะแนน

ส ๔.๑ ป.๑/๒ ช่วงเวลาในระบบสรุ ยิ คติและจนั ทรคติ

ลำดับเหตกุ ารณข์ องตนเองและครอบครวั
๑๐

สามารถนำไปใชใ้ นการดำเนินชีวติ ประจำวนั

๑๔

๒ ครอบครัว ส ๔.๑ ป.๑/๓ การไดร้ ้จู ักตนเอง ครอบครัว การเปล่ยี นแปลง ๘
ของเรา ส ๔.๒ ป.๑/๑ ของสภาพแวดล้อมของสิ่งของ เครื่องใช
้ ๑๖

ส ๔.๒ ป.๑/๒ และการดำเนนิ ชีวติ และเหตุการณส์ ำคัญ
๓๐

ท้งั ในอดตี และปัจจุบนั รวมทั้งสาเหตุและ

ผลกระทบดงั กล่าวทำใหไ้ ดแ้ นวทางใน

๗๐

การแก้ปญั หาในการดำเนินชวี ิต
๓๐

๑๐๐

๓ รักถ่ินตน ส ๔.๓ ป.๑/๒ คณุ ค่าและประโยชน์ของแหลง่ วฒั นธรรม ๑๐
ส ๔.๓ ป.๑/๓ ในชุมชนกอ่ ให้เกิดความรักและภาคภูมิใจ

ในทอ้ งถ่นิ ตน


๔ รกั ภูมิใจ ส ๔.๓ ป.๑/๑ ความสำคญั ของสัญลกั ษณท์ ีส่ ำคัญของ ๑๓
ในชาติไทย ส ๔.๓ ป.๑/๓ ชาตไิ ทยเก่ยี วกบั ชาติ ศาสนา และ

พระมหากษตั รยิ ์ ซึง่ เป็นเอกลกั ษณท์ ำใหเ้ กิด
๓๘
ความรักและภาคภูมิใจในชาตไิ ทย

๔๐
รวมระหว่างป ี

ปลายภาค
รวม

44 เพ่ือนคคู่ ดิ มิตรคคู่ รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

(ตัวอยา่ ง)

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๓

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ รักถ่ินตน

กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

รายวิชา ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร ์ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง

ผู้สอน………………………………………โรงเรยี น……………………………………………….


มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภมู ใิ จ และธำรงความเปน็ ไทย

ตวั ชีว้ ัด

ส ๔.๓ ป.๑/๒ บอกสถานท่ีสำคญั ซ่ึงเปน็ แหล่งวัฒนธรรมในชมุ ชน

ส ๔.๓ ป.๑/๓ ระบสุ ิ่งท่ตี นรกั และภาคภมู ใิ จในท้องถนิ่

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

คุณค่าและประโยชน์ของแหล่งวัฒนธรรมในชุมชนก่อให้เกิดความรักและภาคภูมิใจ

ในท้องถนิ่

สาระการเรียนร้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

๑. ตัวอย่างของแหล่งวัฒนธรรมในชุมชนท่ใี กลต้ วั นกั เรียน เช่น วัด ตลาด พพิ ธิ ภัณฑ์
มสั ยิด โบสถ์ครสิ ต์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ

๒. คุณค่าและความสำคัญของแหล่งวัฒนธรรมในชุมชนในด้านต่างๆ เช่น เป็นแหล่ง
ทอ่ งเท่ียว เป็นแหลง่ เรยี นร
ู้
๓. ตัวอย่างสิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจในท้องถ่ิน เช่น ส่ิงของ สถานที่ ภาษาถ่ิน
ประเพณี และวฒั นธรรม ฯลฯ ทเี่ ป็นส่งิ ท่ีใกลต้ วั นกั เรยี น และเปน็ รปู ธรรมชดั เจน

๔. คณุ คา่ และประโยชน์ของส่ิงตา่ งๆ เหล่าน้ัน

สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน

แหล่งวัฒนธรรมในชุมชนท่ีใกล้ตัวนักเรียน เช่น วัด ตลาด พิพิธภัณฑ์ มัสยิด โบสถ์
คริสต์ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ


เพือ่ นคคู่ ดิ มิตรคคู่ ร
ู 45
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ปู ระวตั ศิ าสตร์

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น

๑. ความสามารถในการส่อื สาร

๒. ความสามารถในการคดิ

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

๑. มวี ินัย

๒. ใฝเ่ รียนร้

๓. รักความเปน็ ไทย

๔. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน

ช้ินงาน/ภาระงาน

๑. แผนผังความคิด

๒. เขียนเร่ืองประกอบภาพ

๓. การเลา่ เร่อื งหรือวาดภาพสง่ิ ทปี่ ระทับใจ

การวัดและประเมนิ ผล

๑. วธิ ีการ

๑.๑ ตรวจผลงาน

๑.๒ สงั เกต

๒. เคร่อื งมอื

๒.๑ แบบตรวจผลงาน

๒.๒ แบบสังเกต


46 เพ่ือนคู่คิด มติ รคคู่ รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรปู้ ระวตั ิศาสตร


๓. เกณฑ์การประเมิน

๓.๑ แผนผังความคดิ


ประ เด็นกา รประเมนิ
๓ ระดบั คณุ ภาพ




๑. การบอกสถานท่ีสำคญั สามารถบอกสถานทส่ี ำคญั
สามารถบอกสถานทสี่ ำคัญ สามารถบอกสถานทส่ี ำคัญ
ที่เปน็ แหล่งวฒั นธรรม
ในชุมชนของตนเองได้ ในชุมชนของตนเองได้
ในชุมชนของตนเองได้

มากกว่า ๕ ชอ่ื
๓-๕ ช่ือ
มากกวา่ ๑-๒ ชอ่ื


๒. ประโยชนแ์ ละคุณค่า บอกประโยชน์ของแหล่ง บอกประโยชนข์ องแหล่ง บอกประโยชนข์ องแหล่ง
ของแหลง่ วัฒนธรรม
วฒั นธรรมในชุมชนของ วัฒนธรรมในชมุ ชนของ วฒั นธรรมในชมุ ชนของ
ในชุมชน
ตนเองไดส้ อดคลอ้ งกบั ตนเองได้สอดคลอ้ งกับ ตนเองไดแ้ ตไ่ ม่สอดคล้อง
แหลง่ ทศ่ี ึกษาและ แหลง่ ท่ศี กึ ษาได้บา้ ง
กับแหล่งทศี่ ึกษา

ครอบคลมุ สมบรู ณ
์ แตไ่ มค่ รอบคลุมสมบูรณ


๓.๒ การวาดภาพประทบั ใจ


ประ เด็นกา รประเมนิ
๓ ระดบั คณุ ภาพ




วาดภาพประทับใจ
วาดภาพที่ประทบั ใจ

วาดภาพท่ปี ระทับใจและ วาดภาพทีป่ ระทบั ใจได้

เขยี นชอื่ เร่ืองท่สี อดคล้อง เขียนชอื่ เรื่องที่สอดคล้อง
กับภาพและเขียนข้อความ กับภาพ



ประทับใจของตนเองได้
ชัดเจน


๓.๓ การพูดนำเสนอ


ประ เดน็ กา รประเมิน
๓ ระดบั คุณภาพ




เล่าเร่อื ง
เลา่ เร่อื งไดเ้ หมาะสม

เล่าเร่อื งราวเกย่ี วกบั
ลำดบั เรื่องราววกวน


ไม่วกวน ตรงประเด็น

สถานท่ี สง่ิ ของทพี่ บเหน็ หรอื นำเสนอไม่ได้

เกย่ี วกับสถานท่ี สงิ่ ของ
และประทับใจได


ที่พบเหน็ และประทบั ใจ
แต่ไมช่ ดั เจน


เพือ่ นคู่คิด มติ รคูค่ ร
ู 47
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรูป้ ระวัติศาสตร


กจิ กรรมการเรียนรู้

ข้ันกระตุกกระตุ้นใหส้ นใจเรือ่ งทเ่ี รียน

๑. นักเรียนร่วมกิจกรรมทายภาพปริศนา “สถานท่ีสำคัญที่เป็นแหล่งวัฒนธรรม

ในชุมชน” เช่น ภาพวัด ภาพตลาด ภาพโบราณสถาน ภาพโบราณวัตถุ ฯลฯ โดยคำถาม


“อะไรเอ่ย”

ข้นั สร้างความตระหนักใหเ้ ห็นคุณคา่ และความสำคญั ของเรือ่ งทเี่ รียน

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาในประเด็น “ประสบการณ์เดิมเก่ียวกับสถานที่
สำคัญที่เป็นแหล่งวัฒนธรรม” พร้อมท้ังบอกความสำคัญจากภาพท่ีนักเรียนทายภาพปริศนา

โดยสรปุ ความสำคญั ของสถานท่นี นั้ ๆ เชน่

- ภาพทด่ี ู คอื ภาพอะไร

- นกั เรยี นเคยไปหรือไม่ และไปทำอะไร

- ในหมู่บา้ นของนักเรยี นมีสถานท่หี รือสิ่งนนั้ หรือไม่

๓. ครูสรุปให้เห็นความสำคัญของสถานที่ท่ีเป็นแหล่งวัฒนธรรม ประเพณี

หรือสิ่งของในประเด็นสนทนา จากนั้นครูสอบถามความสนใจของนักเรียนว่า อยากไปดูสิ่งใด


โดยใหน้ ักเรียนแสดงความคิดเหน็ และลงมติจดั ลำดับความสนใจมากที่สุดและรองลงมา

๔. แบง่ นกั เรยี นเปน็ กลุ่ม โดยให้กำหนดบทบาทหน้าท่ี และการเตรยี มตวั เพอ่ื ไปเรยี นร้


นอกโรงเรียน เกีย่ วกบั สถานท่สี ำคัญทเ่ี ปน็ แหลง่ วัฒนธรรมตามลำดบั ความสนใจมากที่สุดกอ่ น

ขนั้ ตรติ รองและวิเคราะหเ์ รอ่ื งราวท่เี กยี่ วขอ้ ง

๕. ครูและนักเรียนร่วมกันวางแผนศึกษาสถานท่ีสำคัญที่เป็นแหล่งวัฒนธรรม


ตามใบงานที่ ๑ : ชวนกนั คิด โดยมีข้ันตอน ดังนี

- ตงั้ ประเดน็ คำถามสง่ิ ที่อยากรู้

- กำหนดวิธีการศึกษาหาคำตอบในส่ิงท่ีอยากรู้ (สังเกต/สัมภาษณ์/วาดรูป)


ตามหวั ขอ้ ท่นี ักเรียนอยากรู้ (ใคร ทำอะไร ท่ีไหน เมอื่ ไร)

- กำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม วัน เดือน ปี ที่ไปศึกษาและเตรียม
คำถาม

ตวั อยา่ ง ประเดน็ คำถามเกยี่ วกับสิง่ ทีต่ ้องการรู้ ทน่ี กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ต้องเตรยี ม

- สง่ิ ท่พี บเปน็ อะไร หรือช่อื อะไร

- ตงั้ อยทู่ ่ไี หน

- ใครเป็นคนสร้าง

- สร้างตงั้ แตเ่ มื่อไร

- มคี วามสำคัญอยา่ งไร (มีประโยชนอ์ ะไรบ้าง)

- มเี รอ่ื งราวเหตกุ ารณ์เกีย่ วขอ้ ง อะไรเกิดข้นึ บ้าง

- เหตุการณ์ที่เกดิ ข้นึ มผี ลตอ่ คนในปัจจุบนั อยา่ งไร


48 เพื่อนคู่คิด มติ รคคู่ รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระวตั ิศาสตร


ขนั้ ตรวจสอบและตอบสนองการเรียนรู้

๖. ครูพานักเรียนแต่ละกลุ่มออกไปสำรวจ/ศึกษาแหล่งเรียนรู้ตามท่ีวางแผนไว้ และ
บนั ทกึ ลงในใบงานที่ ๒ : ร่วมกันทำ

๗. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันทบทวนประเดน็ ทไ่ี ด้ไปศึกษานอกสถานที่ ดังนี

- ชือ่ สถานทส่ี ำคัญทเี่ ป็นแหลง่ วฒั นธรรมทีไ่ ดไ้ ปศกึ ษามา

- มีความสำคญั อยา่ งไร (อดีต/ความสำคัญในปจั จบุ นั )

- สงิ่ ท่ปี ระทบั ใจ

ขั้นตลบคดิ นำสิ่งทไ่ี ด้เรยี นรู้มาสร้างสรรค์ประโยชน

๘. ใหน้ กั เรยี นนำความรทู้ ีไ่ ด้ จดั ทำชนิ้ งาน ดงั น้ี

- สรุปเป็นแผนผังความคิดในใบงานท่ี ๓ ผังความคิด และส่งตัวแทนนำเสนอ
หนา้ ชัน้

- วาดภาพท่ีนักเรียนประทับใจ และเขียนช่ือและข้อความท่ีประทับใจ

ในใบงานท่ี ๔

ส่อื และแหลง่ เรียนรู/้ ภมู ปิ ญั ญา

๑. ภาพสถานท่สี ำคัญในชุมชน

๒. แหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน/สถานท่ีสำคญั /แหล่งวฒั นธรรมในชมุ ชน

๓. ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น

๔. กจิ กรรมทายภาพปรศิ นา

๕. ใบงานที่ ๑-๔

๖. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียน


เพ่ือนคคู่ ิด มิตรคู่คร
ู 49
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ปู ระวตั ิศาสตร


กิจกรรม : ทายภาพปรศิ นาสถานที่สำคัญในชมุ ชน


ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๑๐-๑๕ นาท


วตั ถปุ ระสงค์

เพอื่ ให้นกั เรยี นรูจ้ ักสถานทส่ี ำคญั ท่เี ปน็ แหล่งวฒั นธรรมของชมุ ชน

สื่อ-อปุ กรณ

ภาพสถานท่ีสำคัญที่เป็นแหล่งวัฒนธรรมของชุมชน เช่น โบราณสถาน ตลาด

ศาสนสถาน (วัด มัสยิด โบสถ์)

วิธกี าร

๑. แบ่งนกั เรียนเป็นกล่มุ ๆ (ตามความเหมาะสม ตามจำนวนภาพท่คี รูเตรยี มมา)

๒. ครูติดภาพสถานท่ีสำคัญท่ีเป็นแหล่งวัฒนธรรมของชุมชนหน้าห้อง/บอร์ด


โดยควำ่ ภาพไว้

๓. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนเลือกภาพ ๑ ภาพ และเปิดภาพพร้อมท้ังให้นักเรียนบอกว่า
สถานท่ีในภาพคอื สถานท่ีใด (บอกชื่อสถานที่น้นั )

๔. สมาชิกในห้องช่วยกันเฉลยว่าสถานท่ีในภาพเป็นสถานท่ีใด กลุ่มใดบอกได้ถูกต้อง
ใหต้ บมือชมเชยและถ้ามีนกั เรียนทต่ี อบไม่ถกู ครู นักเรียนร่วมกนั เฉลยใหฟ้ ัง

๕. ปฏิบัติกจิ กรรมในข้อ ๓-๔ จนหมดภาพทคี่ รูเตรยี มมา

กจิ กรรมเพม่ิ เติม

ครูและนักเรียนร่วมกันเล่าประสบการณ์เดิมเกี่ยวกับภาพสถานท่ีสำคัญท่ีเป็นแหล่ง
วฒั นธรรมของชมุ ชนและการดแู ลรักษาสถานท่นี ้ันๆ


50 เพื่อนคคู่ ดิ มิตรคู่ครู

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ประวตั ิศาสตร


(ตัวอย่าง)


ใบงานที่ ๑


ชวนกันคิด

ส่ิงทหี่ นตู ้องทำ ให้นักเรียนวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับสถานท่ีสำคัญที่ไปเรียนรู้


และบนั ทึกลงในแบบที่กำหนดให



ตวั อย่าง วิธีการบันทกึ (กรณีศึกษาวัด)




วดั นี้ชอื่ สองิ่ะทไรี่อ
ยากร ู้

ทำอย่างไรจงึ จะร ู้ ผรู้ บั ผิดชอบ วนั เดือน ป

๑๕ พ.ค. ๕๓

- สังเกตดจู ากปา้ ยชือ่ วดั
ด.ช.ณรงค์ เรยี นด ี


- สอบถาม






(ตวั อยา่ ง)

แบบบนั ทกึ ของนกั เรยี น

สสทองั ำเบกอถตยาดา่ มูจง
าไรกจปงึ า้ จยะชรื่อู้ วัด




ด.ช.ณรผงรู้ คบั ์ ผเริดยี ชนอดบ ี

ส่งิ ท่ีอยากรู ้ - วนั เดือน ปี

วัดน้ีชอื่ อะไร
- ๑๕ พ.ค. ๕๓














สมาชกิ กลุม่ ที่…………….

๑. .........................................................................................................

๒. .........................................................................................................

๓. .........................................................................................................

๔. .........................................................................................................


เพือ่ นค่คู ดิ มิตรคูค่ ร
ู 51
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนร้ปู ระวัตศิ าสตร


(ตวั อย่าง)


ใบงานท่ี ๒


ร่วมกันทำ

สง่ิ ท่ีหนตู ้องทำ ให้นกั เรียนบันทึกส่งิ ทไี่ ดไ้ ปศึกษาเรียนรลู้ งในแบบทก่ี ำหนด



ตวั อยา่ ง วิธกี ารบันทึก (กรณศี ึกษาวัด)


สงิ่ ทอี่ ยากร ู้ คำตอบทไ่ี ด้

วดั นี้ชอ่ื อะไร
วดั ช่อื วัดโคกหม้อ (ตามชอ่ื วดั ทศ่ี ึกษา)

อยทู่ ี่ไหน
หมู่ท่ี ๓ ตำบลโพธ์ิเก้าต้น อำเภอเมือง

จงั หวัดลพบรุ ี


แบบบันทกึ สำหรับนกั เรียน


สงิ่ ที่อยากรู้ คำตอบทไ่ี ด


สมาชิกกล่มุ ท…ี่ ………….

๑. .........................................................................................................

๒. .........................................................................................................

๓. .........................................................................................................

๔. .........................................................................................................


52 เพือ่ นคู่คิด มติ รค่คู รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระวัตศิ าสตร์

(ตัวอย่าง)


ใบงานที่ ๓


ผงั ความคิด

สิ่งท่หี นตู ้องทำ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเป็นแผนผังความคิด และส่งตัวแทนนำเสนอ

หนา้ ช้ัน


ประโยชน/์ ความสำคัญในอดีต
ชื่อ
ประโยชน/์ ความสำคญั ในปจั จบุ นั

๑. ..........................................
..........................................
๑. ..........................................

๒. ..........................................
..........................................
๒. ..........................................

๓. ..........................................
๓. ..........................................

๔. ..........................................
๔. ..........................................


สงิ่ ทป่ี ระทับใจ

๑. ....................................................

๒. ....................................................

๓. ....................................................

๔. ....................................................


เพอ่ื นคู่คดิ มติ รคู่คร
ู 53
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

(ตัวอยา่ ง)


ใบงานที่ ๔


วาดภาพประทบั ใจ




สง่ิ ทห่ี นูต้องทำ ให้นักเรียนวาดภาพสถานที่ท่ีประทับใจจากการไปศึกษานอกสถานที่ เขียนชื่อสถานท่ีนั้น


และเขยี นข้อความประทับใจ


ช่อื ..........................................................................................

ความประทับใจ................................................................................................................................




54 เพอื่ นคคู่ ิด มิตรค่คู รู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร


(ตัวอยา่ ง)


แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี น


แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรยี น ชนั้ ป.๑ โรงเรียน………………………

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๓ เร่ือง รกั ถ่นิ ตน

คำช้แี จง ใหท้ ำเครอ่ื งหมายถูก ✓ ในช่องทตี่ รงกับความเปน็ จรงิ

๕ หมายถึง มากทส่ี ดุ ๔ หมายถึง มาก

๓ หมายถึง ปานกลาง ๒ หมายถงึ นอ้ ย

๑ หมายถงึ น้อยทีส่ ดุ


รายการประเมนิ

มีความตั้งใจในการทำงาน

ร่วม ักนวางแผนทำงานในกลุ่ม
รวม
ผ่าน/

และ ัรบผิดชอบงานที่ไ ้ดรับมอบหมาย
ไมผ่ า่ น

อดทนต่อ ัปญหาอุปสรรค ่ีทพบ

สนใจ ัซกถาม ่ชางสังเกต

และแสวงหาความ ้รู

ใ ้ชภาษาไทยได้เหมาะสมกับ ัวย


ชือ่ -สกลุ
๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๒๕


๑.

๒.

๓.

๔.

๕.


ฯลฯ


เกณฑก์ ารตดั สิน

นักเรียนได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไปถอื วา่ ผ่าน (๒๐ คะแนนข้ึนไป)


เพ่ือนคู่คดิ มติ รคคู่ ร
ู 55
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรูป้ ระวัติศาสตร


ตวั อยา่ งหนว่ ยการเรยี นรู้ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้


โครงสรา้ งรายวิชา
ภาคเรยี นที่ ๑

ชอื่ รายวชิ า ส๒๑๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ เวลา ๒๐ ชวั่ โมง

ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

ห นท่ว ี่ ย ชอ่ื หนว่ ย มาตตวั รชฐว้ี าดั น / สาร ะ สำคัญ/ความคิดรวบยอด
เวลา นำ้ หนกั

(ชม.) คะแนน

๑ ประวัติศาสตร ์ ส ๔.๑ เวลา ชว่ งเวลา และการเทียบ ๖
บนเสน้ แบง่ เวลา ม.๑/๑ ศักราชมีความสำคัญต่อการศึกษา
๒๕


ม.๑/๒ ประวตั ศิ าสตร

๒๐

๒ วธิ ีศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ ส ๔.๑ วธิ ีการทางประวัติศาสตรเ์ ป็น ๕
ม.๑/๓ กระบวนการศกึ ษาเร่ืองราวเก่ยี วกบั
๒๕

สังคมมนษุ ยแ์ ละเหตุการณใ์ นอดตี

อย่างเปน็ ระบบ
๑๐

๒๐

๓ พัฒนาการทาง ส ๔.๒ ปัจจัยทางภมู ศิ าสตรแ์ ละความเปน็ มา ๗ ๑๐๐

ประวัติศาสตรเ์ อเชยี ม.๑/๑ ทางประวัติศาสตร์ มคี วามสำคญั

ตะวันออกเฉียงใต ้ ม.๑/๒ ต่อความร่วมมอื และพัฒนาการ

ทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื ง

การปกครองของประเทศต่างๆ

ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้


สอบกลางภาค ๑
สอบปลายภาค ๑
รวมตลอดภาคเรยี น ๒๐

56 เพื่อนคคู่ ดิ มิตรคูค่ รู

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ประวัติศาสตร์

ช่ือ รายวชิ า ส๒๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ภาคเรยี นท่ี ๒

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ


ห นทว่ ่ี ย ช่อื หนว่ ย มาตตัวรชฐวี้ าดั น / สาร ะ สำคัญ/ความคดิ รวบยอด
เวลา นำ้ หนกั

(ชม.) คะแนน

๑ รัฐไทยในอดตี ส ๔.๑ การศกึ ษารฐั โบราณในดนิ แดนไทย ๕
ม.๑/๓ โดยใชว้ ธิ กี ารทางประวัติศาสตร
์ ๒๐

ส ๔.๓ ทำให้เกิดความเข้าใจเรอ่ื งราวทาง

ม.๑/๑ ประวตั ิศาสตร์สมยั ก่อนสุโขทยั
๓๐


๒ อาณาจกั รสโุ ขทัย ส ๔.๑ สโุ ขทยั เปน็ อาณาจกั รทม่ี ีพฒั นาการ ๗ ๒๐

ม.๑/๓ ในด้านต่างๆ ทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ วฒั นธรรม

ส ๔.๓ และภมู ปิ ัญญาไทย
๑๐

ม.๑/๒
๒๐

๑๐๐

๓ วัฒนธรรมและ ส ๔.๓ วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาของ ๖
ภมู ปิ ญั ญาไทย ม.๑/๓ อาณาจักรสโุ ขทยั เปน็ ความภาคภมู ใิ จ

สมัยสุโขทยั ของประเทศไทยจนถึงปัจจุบัน


สอบกลางภาค ๑

สอบปลายภาค ๑
รวมตลอดภาคเรียน ๒๐

เพ่ือนคูค่ ิด มิตรค่คู ร
ู 57
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้ปู ระวตั ศิ าสตร


(ตวั อย่าง)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ รฐั ไทยในอดตี

กลุม่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

รายวชิ า ส๒๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๕ ชั่วโมง

ผูส้ อน………………………………….......................……โรงเรียน……………........………………………………….


มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั

มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา มีความรัก


ความภมู ิใจ และธำรงความเปน็ ไทย

ตัวช้ีวดั

ส ๔.๓ ม.๑/๑ อธิบายเรื่องราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย


โดยสงั เขป

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

การศึกษาเรื่องรัฐโบราณ ในดินแดนไทยโดยใช้วิธีทางประวัติศาสตร์ ทำให้เกิดความ
เขา้ ใจเรอ่ื งราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทยั

สาระการเรยี นร้

สาระการเรียนร้แู กนกลาง

๑. ประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทยโดยสังเขปเก่ียวกับรัฐโบราณ

ในดินแดนไทย เชน่ ฟนู ัน ศรีวิชยั อาณาจกั รเขมรโบราณ ตามพรลงิ ค์ ทวาราวดี

๒. รัฐไทยในดินแดนไทยในช่วงก่อนพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ เช่น ละโว้ สุพรรณบุรี

หริภุญชัย นครศรีธรรมราช

๓. ความเปน็ มาของชนชาตไิ ทย

๔. อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มีต่อพัฒนาการของสังคมไทย


ในปจั จบุ นั

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

๑. ความสามารถในการสื่อสาร

๒. ความสามารถในการคิด

๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา


58 เพ่อื นคู่คิด มติ รคคู่ รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร


คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

๑. ใฝเ่ รียนรู

๒. มุ่งม่ันในการทำงาน


ชนิ้ งาน/ภาระงาน

๑. รายงาน

๒. ผังความคิด


การวัดและประเมนิ ผล

๑. ประเมนิ ผลงานกลุ่ม

๒. ประเมินรายบุคคล


เกณฑ์การประเมิน
ประเมนิ ผลงานกลุ่ม


ประเ ดน็ การป ระเมนิ
ด มี าก (๔) ดี (๓) ระด ับคุณภาพพ
อใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)


๑. การมสี ่วนร่วม
สมาชิกในกลุม่ ทุกคน ร่วมมือกันในการ รว่ มมือกนั ในการ ขาดความร่วมมอื


ในการทำงาน
ร่วมมอื ทำงาน
ทำงานเป็นส่วนใหญ่
ทำงานบางส่วน
ในการทำงาน


๒. การสืบคน้ ขอ้ มลู
ขอ้ มูลจากหลายแหล่ง ขอ้ มลู ถกู ตอ้ ง ชัดเจน ขอ้ มูลถูกต้อง ชดั เจน ข้อมูลไมต่ รงประเดน็



ถกู ตอ้ ง ชัดเจน
ตรงประเด็น
เป็นบางส่วน



ตรงประเดน็





๓. การจดั ทำรายงาน
มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีความคดิ สร้างสรรค์ ตกแตง่ สวยงาม ไมส่ รา้ งสรรค


ตกแตง่ สวยงาม ตกแตง่ สวยงาม
สะอาด

ตกแต่งไม่สวยงาม


สะอาด





๔. การนำเสนอ
รูปแบบนำเสนอ
รปู แบบนำเสนอ
รูปแบบไมน่ ่าสนใจ รปู แบบไมน่ ่าสนใจ
ผลงาน
ตรงประเดน็
น่าสนใจ

แต่ตรงประเดน็
และไมต่ รงประเด็น

และนา่ สนใจ
ตรงประเด็น

เปน็ ส่วนใหญ


เพ่ือนคู่คดิ มิตรคูค่ ร
ู 59
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร


แบบประเมนิ ผังความคดิ


ประเ ด็นการป ระเมนิ
ด มี าก (๔) ดี (๓) ระด ับคุณภาพพ
อใช้ (๒) ปรบั ปรงุ (๑)


๑. การลงขอ้ มูล
ขอ้ มลู ครบถว้ นตาม ขอ้ มูลครบถ้วนตาม ขอ้ มลู ไมค่ รบถ้วน ขอ้ มลู ไมค่ รบถว้ น

ประเด็นทก่ี ำหนด ประเดน็ ทีก่ ำหนด ตามประเด็น
และไมต่ รงตาม

และถูกต้อง
และถกู ต้อง
ที่กำหนดแต่ถกู ตอ้ ง
ประเดน็ ทีก่ ำหนด



เป็นส่วนใหญ่




๒. การใชภ้ าษา
ใช้ภาษาถกู ต้อง ใช้ภาษาถกู ต้อง ใชภ้ าษาถูกต้อง ใช้ภาษาถกู ตอ้ ง


ชัดเจนไมผ่ ิด ชดั เจนและ
ชดั เจนและ
ชดั เจนและ



ไวยากรณ์ทั้งหมด
ผิดไวยากรณ
์ ผดิ ไวยากรณ

ผดิ ไวยากรณ์



ไมเ่ กนิ ๒ แหง่
ไม่เกนิ ๔ แหง่
เกนิ ๔ แห่ง


๓. การเลอื กใช้
รปู แบบเหมาะสม รปู แบบเหมาะสม รปู แบบเหมาะสม รปู แบบไม่เหมาะสม
ผงั ความคิด

สอดคลอ้ งกบั เนือ้ หา สอดคล้องกบั เนอื้ หา สอดคลอ้ งกบั เนอื้ หา และไม่สอดคลอ้ งกบั

สาระนา่ สนใจ
สาระ
สาระเปน็ ส่วนใหญ่
เนอ้ื หาสาระ


๔. การนำเสนอ
ครบถว้ นตาม ครบถ้วนตาม ไมค่ รบถว้ นตาม ไมค่ รบถ้วนและ

ประเดน็ และตรงเวลา ประเด็นและไมต่ รง ประเด็นทีก่ ำหนด
ไมต่ รงตามเวลา

ทก่ี ำหนด
ตามเวลาทกี่ ำหนด
แต่ตรงเวลา




กจิ กรรมการเรียนรู

๑. ครูนำภาพโบราณสถาน (บ้านคูบัว พระปรางค์สามยอด ปราสาทพนมรุ้ง)

โบราณวัตถุ (พระพุทธรูปในช่วงเวลาก่อนสมัยสุโขทัย) มาให้นักเรียนดู แล้วสนทนาซักถามประเด็น

ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับภาพ อาทิ เปน็ ภาพอะไร อยูท่ ไ่ี หน สำคญั อยา่ งไร ฯลฯ

๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๗ กลุ่ม โดยคละนักเรียน ๓ ระดับ เก่ง กลาง อ่อน

(สัดส่วน ๑ : ๒ : ๑) โดยครจู ดั กจิ กรรม “ลายแทงแหล่งอารยธรรม” มีขน้ั ตอน ดงั นี้

- ครูแจกแผนที่ประเทศไทยแสดงที่ต้ัง “รัฐโบราณในดินแดนไทย” พร้อม
ลายแทงบอกใบ้แหล่งอารยธรรม ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มๆ ละ ๑ ชดุ โดยให้ตวั แทนกลุม่ ออกมารับ

- ให้สมาชกิ แตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกันตคี วามในลายแทง โดยให้ไดแ้ หล่งอารยธรรมของ
ตนเองจากขอ้ มูลในแผนท
ี่
- ให้แต่ละกลุ่มไปค้นหาสมบัติ (ใบความรู้และใบงาน) ตามที่ลายแทงระบุเป็น
หมายเลขท่ีตั้งรฐั โบราณ ทีค่ รูเตรียมไวห้ ลงั หอ้ งเรยี น ดงั น้ี


60 เพ่อื นคคู่ ิด มติ รค่คู รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์

หมายเลข ๑ อาณาจักรทวาราวดี

หมายเลข ๒ อาณาจักรละโว้

หมายเลข ๓ อาณาจกั รหรภิ ญุ ชัย

หมายเลข ๔ อาณาจักรเขมรโบราณ

หมายเลข ๕ อาณาจกั รศรีวิชยั

หมายเลข ๖ อาณาจกั รตามพรลงิ ค

หมายเลข ๗ อาณาจักรลา้ นนา

๓. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้และใบงาน โดยครูอธิบายเพิ่มเติมรายละเอียด

กิจกรรม ให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม จากแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ อาทิ ห้องสมุด, เว็บไซต์ ฯ
แล้วทำรายงานพร้อมเตรียมนำเสนอผลงาน โดยใช้วิธีนำเสนอที่นักเรียนถนัด เช่น PowerPoint
หรือนิทรรศการ

หวั ข้อรายงาน

๑. ชอ่ื อาณาจกั รโบราณและความเปน็ มา

๒. ศูนย์กลางของอาณาจักรโบราณท่ีกลา่ วถงึ

๓. ช่วงเวลารงุ่ เรอื งของอาณาจักรโบราณน้นั โดยเทียบ

- พุทธศักราชหรือพทุ ธศตวรรษ

- ครสิ ตศ์ ักราชหรอื ครสิ ตศ์ ตวรรษ

- มหาศกั ราช

- จลุ ศกั ราช

๔. รอ่ งรอยทีแ่ สดงอารยธรรม ความเจรญิ รุ่งเรอื งในอดตี

- โบราณสถาน/โบราณวัตถ

- วฒั นธรรมประเพณี

๕. อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยท่ีมีต่อพัฒนาการของสังคมไทย
ในปจั จบุ นั

๔. ครูแจ้งกติกาการนำเสนอผลงานรายงานของแต่ละกลุ่ม โดยครูจะจับสลากชื่อ
แหล่งอารยธรรมใดขึ้นมาใหก้ ลุ่มนนั้ ออกมานำเสนอตามที่กลุ่มเตรยี มโดยใช้เวลา ๑๐-๑๕ นาที

๕. เมื่อแต่ละกลุ่มนำเสนอเสร็จแล้ว เปิดโอกาสให้นักเรียนคนอื่นซักถาม โดยครูจะ
คอยช่วยเหลือ (หากในกลุ่มตอบไม่ได้) และครูสรุปความรู้เพ่ิมเติมให้แต่ละกลุ่ม (ชั่วโมงละ


๔ กลมุ่ ) จนครบทงั้ ๘ กลุ่ม

๖. ครูทบทวนบทเรียนท่ีเรียนมาแล้วอีกครั้ง จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน
วิเคราะห์อิทธิพลของแหล่งอารยธรรมของตน (ท่ีกลุ่มได้ศึกษาค้นคว้ามาต้ังแต่ต้น) ท่ีมีผลกระทบ
ต่อประเทศไทยในปัจจบุ ันและคาดการณใ์ นอนาคตอยา่ งไร ในประเดน็ ต่อไปน้ี


เพอ่ื นคคู่ ิด มิตรคคู่ ร
ู 61
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ประวตั ิศาสตร


๑) ความเช่ือ/ศาสนา

๒) ศลิ ปวัฒนธรรม

๓) การเมืองการปกครอง

๔) ประเด็นอื่นๆ ทนี่ ักเรียนเพม่ิ เตมิ ตามความเหมาะสม

๗. ให้นักเรียนวิเคราะห์โดยใช้แผนภูมิความคิด ตามอิสระ และให้นักเรียนไปสืบค้น
ข้อมลู เพม่ิ เติมทีห่ อ้ งสมดุ โรงเรียน แล้วสรปุ ขอ้ มลู การวิเคราะห์ลงในกระดาษปรู๊ฟ

๘. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงาน แผนภูมิความคิด โดยการจับสลาก ใช้เวลา
ไมเ่ กนิ ๑๐ นาที ถ้าไม่ครบใหน้ ำเสนอช่วั โมงตอ่ ไป

๙. ให้นกั เรยี นกลมุ่ ที่เหลือนำเสนอต่อจนครบทกุ กล่มุ

๑๐. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบท้ายหน่วย จำนวน ๒๐ ข้อ โดยใช้เวลา ๒๐ นาที


เม่ือครบกำหนดแล้วใหท้ กุ คนส่งกระดาษคำตอบตอ่ คร

๑๑. นักเรียน ครรู ่วมกันสรปุ บทเรยี นโดยการอภปิ รายจากการเฉลยข้อสอบที่ทำไปแล้ว

สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้

สอ่ื

๑. ภาพโบราณสถาน โบราณวตั ถ

๒. แผนท่ีเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตโ้ บราณ แสดงทต่ี ั้งแหลง่ อารยธรรม

๓. ลายแทงแจง้ แหล่งอารยธรรม

๔. ใบความรู้แหลง่ อารยธรรม ๘ แหล่ง

๕. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้

๖. ใบงาน

แหลง่ เรียนร
ู้
๑. หอ้ งสมุด

๒. Website






62 เพอ่ื นคคู่ ิด มิตรค่คู รู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรปู้ ระวตั ิศาสตร


(ตัวอย่าง)


แผนที่ลายแทง


“แหลง่ อารยธรรมไทย”


เพือ่ นคู่คดิ มติ รคู่คร
ู 63
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูป้ ระวัติศาสตร


คำอธิบายลายแทง




ลายแทงทแี่ จง้ น้ี ดใู หด้ ี มีความนัย “ตัวเลข” ท่ซี ่อนไว้ คือทใี่ ห้ ไปค้นดู


อยู่ใกล้ ไมไ่ กลบา้ น ติดถน่ิ ฐาน เมืองแม่พมิ พ์ มงุ่ หน้าทิศประจิม เหน็ หลกั ล่มิ เพยี งหน่ึงเดยี ว








มงุ่ หน้าอยา่ ชา้ ชกั ที่หมายหลักทศิ อุดร ขา้ มเขาด่านสงิ ขร ทพี่ ูพอนสองต้นเรียง








เดนิ ทางทศิ อดุ ร เมืองวานร ทีม่ ากมาย มองเหน็ เดน่ แต่ไกล พระปรางคใ์ หญ่สามยอดยล








ต้องมุ่งทศิ อีสาน ดงกนั ดาร กว่าจะถงึ เลขหมายใหค้ ำนึง นบั ใหถ้ ึงส่นี ิ้วมอื








เดินทางทศิ ทกั ษิณ เข้าสู่ถน่ิ อสิ ลาม มัสยิดและอาราม ต้งั เดน่ งามห้าวัดเรียง








อยทู่ ศิ หรดี สญั ญาณมี ให้ระวงั มุ่งไปอยา่ งใจหวัง ภผู าต้งั หกยอดงาม








สดุ ดิน ถน่ิ อุดร อยา่ งพกั ผ่อน จงรบี ไป ขมุ ทรพั ย์ท่นี ับได้ ขนเอาไปเจ็ดเล่มเกวียน


64 เพ่ือนคคู่ ดิ มติ รคู่ครู

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ปู ระวตั ิศาสตร


ใบความรู้ ๑


“อาณาจกั รทวาราวด”ี


อาณาจักรทวาราวดี เป็นอาณาจักรท่ีมีความเจริญรุ่งเรือง ประมาณพุทธศตวรรษ

ที่ ๑๒-๑๖ (พุทธศกั ราช ๑๑๐๑-๑๕๙๙) โดยมศี ูนยก์ ลางอยูท่ ี่เมอื งนครปฐม มีอทิ ธิพลครอบคลุม
บริเวณภาคกลางของประเทศไทยและมีการแผ่อิทธิพลไปยังดินแดนใกล้เคียงในเขตภาคเหนือและ
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ พม่า ลาว เวียดนาม และตอนใตข้ องจีน





















ชนชาติด้ังเดิมของอาณาจักรทวาราวดี คือ ชนชาติมอญ เพราะมีการขุดพบจารึก
อกั ษรมอญในบรเิ วณนี้

หลักฐานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ คือ เหรียญเงินท่ีมีการจารึกภาษาสันสกฤต


อ่านได้ว่า ศรีทวาราวดีศวรปุณยะ แปลว่า บุญของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวาราวดี และสันนิษฐานว่า
แควน้ ทวาราวดี เปน็ ศนู ย์กลางพระพทุ ธศาสนา เพราะมีการขดุ พบพระพทุ ธรปู จำนวนมาก


เพ่อื นคคู่ ิด มติ รคู่คร
ู 65
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระวตั ิศาสตร์

(ตัวอยา่ ง)


ใบงาน


หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ อาณาจกั รโบราณ


ตัวชี้วัด

ส ๔.๓ ม.๑/๑ อธิบายเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย


โดยสังเขป

ตอนท่ี ๑

คำชแ้ี จง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้และค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้อื่นๆ

และสรุปทำรายงาน (งานกลมุ่ ) ตามประเด็นต่อไปน้


๑. ชื่อ อาณาจกั รโบราณและความเป็นมา

๒. ศนู ย์กลางของอาณาจกั รโบราณท่กี ลา่ วถึง

- ภมู ภิ าค/จงั หวัด/ประเทศ

๓. ช่วงเวลาร่งุ เรืองของอาณาจกั รโบราณนนั้

- พทุ ธศกั ราชหรือพทุ ธศตวรรษ

- คริสต์ศกั ราชหรือครสิ ต์ศตวรรษ

- มหาศกั ราช

- จุลศกั ราช

๔. ร่องรอยทแี่ สดงอารยธรรม ความเจริญร่งุ เรอื งในอดตี

- โบราณสถาน/โบราณวตั ถ

- วฒั นธรรมประเพณ

๕. อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยท่ีมีต่อพัฒนาการของสังคมไทย


ในปจั จบุ ัน

ตอนท่ี ๒

คำชีแ้ จง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม นำเสนอผลงานด้วยการรายงานหน้าชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบ/

วิธกี าร หรือสอ่ื ตามความถนดั /ความสนใจ อาท

- การใช้ PowerPoint

- การจดั นิทรรศการ ฯลฯ


66 เพ่อื นคู่คดิ มิตรค่คู รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร


ตวั อยา่ งหน่วยการเรยี นรูร้ ะดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย


โครงสร้างรายวชิ า


ช่อื รายวิชา ส๓๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง


ห นทว่ ่ี ย ชื่อหนว่ ย มาตตวั รชฐวี้ าดั น / สาร ะ สำคัญ/ความคิดรวบยอด
เวลา น้ำหนกั

(ชม.) คะแนน

๑ เวลาและยคุ สมยั ส ๔.๑ เวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร ์ ๔
ม.๔-๖/๑ ท่ีปรากฏในหลักฐานบอกถึง
๑๕

การเปลี่ยนแปลงของมนษุ ยชาต
ิ ๔
๑๑ ๑๕

๒ วิธีการทาง ส ๔.๑ การศึกษาประวัติศาสตร์ ๔๐

ประวัติศาสตร ์ ม.๔-๖/๒ โดยใช้ข้ันตอนวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร
์ ๑๙
๑ ๗๐

๓ คณุ ค่าโครงงาน ส ๔.๑ โครงงานประวัตศิ าสตร ์ ๒๐ ๓๐

ประวัติศาสตร์ ม.๔-๖/๑ เพื่อการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน
๑๐๐

ม.๔-๖/๒ อย่างมปี ระโยชนแ์ ละมคี ุณคา่


รวมระหว่างภาค

ปลายภาค

รวม

เพ่ือนคู่คดิ มติ รคู่คร
ู 67
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรูป้ ระวตั ศิ าสตร


ตัวอยา่ ง


โครงสรา้ งรายวชิ า


ชอ่ื รายวชิ า ส๓๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์
เวลา ๒๐ ชั่วโมง

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ

ห นท่วี ่ ย ชอ่ื หน่วย มาตตวั รชฐวี้ าัดน / สาร ะ สำคัญ/ความคิดรวบยอด
เวลา นำ้ หนัก

(ชม.) คะแนน


๑ ภาคภมู ิใจ ส ๔.๓ ประวัติศาสตร์ไทยมีความเป็นมา ๕ ๒๐

ประวัติศาสตร์ไทย ม.๔-๖/๑ ทยี่ าวนาน มคี วามสำคญั ทีบ่ รรพบรุ ษุ

สรา้ งไวค้ วรแก่ความภาคภมู ใิ จ
๓๐

ท่ีเกดิ เปน็ คนไทย

๒๐

๒ พระมหากษตั ริย์ ส ๔.๓ บทบาทของพระมหากษัตริยแ์ ละ ๙
นกั พฒั นา ม.๔-๖/๒ สถาบนั พระมหากษัตริย์มีความสำคญั
๗๐

ส ๔.๑ ในการพัฒนาชาติไทยด้านอืน่ ๆ
๓๐

ม.๔-๖/๑ เช่น การปอ้ งกนั เอกราชของชาติไทย
๑๐๐

การสร้างสรรคว์ ฒั นธรรม


๓ วัฒนธรรมสรา้ งสรรค์ ส ๔.๓ วฒั นธรรมตะวันตกและตะวันออก ๕
ม.๔-๖/๓ มีอิทธพิ ลต่อภูมิปญั ญาไทย

และวฒั นธรรมไทย มปี ัจจัยท่ีสง่ เสริม

สร้างสรรค์ภูมิปญั ญาไทย

และวฒั นธรรม


รวมระหว่างภาค ๑๙
ปลายภาค ๑
รวม ๒๐

68 เพ่อื นคู่คิด มิตรคู่ครู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ประวัติศาสตร์

ตัวอยา่ ง


โครงสรา้ งรายวิชา


ชื่อ รายวิชา ส๓๑๒๐๖ ประวตั ิศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕ จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต เวลา ๒๐ ชว่ั โมง


ห นทว่ ่ ี ย ช่อื หนว่ ย มาตตัวรชฐี้วาดั น / สาร ะ สำคญั /ความคดิ รวบยอด
เวลา นำ้ หนกั

(ชม.) คะแนน


๑ บุคคลสำคญั ส ๔.๓ ผลงานของบุคคลสำคญั ในอดตี ๑๖ ๔๐

ม.๔-๖/๔ ท้งั ชาวไทยและตา่ งประเทศท่มี ี

ส ๔.๑ ผลงานปรากฏในประวัติศาสตรไ์ ทย
๓๐

ม.๔-๖/๑ มีสว่ นรว่ มสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมและ

ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย
๗๐

๓๐

๒ วางแผนเพอื่ อนุรกั ษ ์ ส ๔.๓ การวางแผนกำหนดแนวทางในการ ๑๓ ๑๐๐

ภูมปิ ญั ญาไทย ม.๔-๖/๕ มสี ่วนร่วมการอนุรักษ์ภูมปิ ัญญาไทย

ส ๔.๑ และวฒั นธรรมไทย โดยเรยี นรเู้ ก่ียวกบั

ม.๔-๖/๑ สภาพแวดล้อมทม่ี ผี ลตอ่ การ

สรา้ งสรรค์ภมู ปิ ญั ญาไทย


และวฒั นธรรมไทย วิถีชีวติ ของคนไทย


ในสมยั ต่างๆ การสบื ทอด

และเปล่ียนแปลงของวัฒนธรรมไทย

แนวทางการอนรุ ักษ์มีสว่ นร่วม


ภมู ปิ ญั ญาวัฒนธรรมไทยอยา่ ง


สรา้ งสรรค์


รวมระหว่างภาค ๑๙
ปลายภาค ๑
รวม ๒๐

เพอ่ื นคู่คดิ มติ รคคู่ ร
ู 69
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร


ตวั อย่าง


โครงสร้างรายวชิ า


ชอ่ื รายวชิ า ส๓๒๑๐๘ ประวตั ศิ าสตร์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง


ห นท่ว่ ี ย ชอ่ื หนว่ ย มาตตวั รชฐี้วาัดน / สาร ะ สำคญั /ความคดิ รวบยอด
เวลา น้ำหนกั

(ชม.) คะแนน


๑ อารยธรรมโบราณ ส ๔.๒ อารยธรรมโบราณและการติดต่อ ๑๐ ๓๕

ม.๔-๖/๑ ระหว่างโลกตะวันออกและตะวันตก

ส ๔.๑ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การเปลย่ี นแปลง
๑๕

ม.๔-๖/๑ วัฒนธรรมโลกเพอื่ การเรยี นรู้ตาม
๑๐

ยุคสมยั และวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร

๑๐

๒ เหตุการณ์สำคญั ส ๔.๒ เหตุการณส์ ำคัญของโลกมอี ิทธิพลต่อ ๓
ของโลก ม.๔-๖ /๒ การเปลีย่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ
๗๐

การเมืองต่อโลกปัจจุบัน
๓๐

๑๐๐

๓ การขยายอาณานคิ ม ส ๔.๒ การขยายอาณานคิ มในยุค ๓
ม.๔-๖/๓ ประวัตศิ าสตร์ของประเทศยุโรป

ไปยังทวปี อเมริกา แอฟรกิ า และ

เอเชีย มีผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลง


ทางสงั คมของมนุษย์


๔ สงั คมโลกปัจจบุ นั ส ๔.๒ สงั คมโลกปจั จุบันมีความรว่ มมอื ๓
ม.๔-๖/๑ และความขัดแยง้ เหตกุ ารณต์ ่างๆ

ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ มีผลปรากฏ

ใหเ้ หน็ อยา่ งต่อเน่ือง


รวมระหว่างภาค ๑๙
ปลายภาค ๑
รวม ๒๐

70 เพื่อนคู่คิด มติ รค่คู รู

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระวตั ศิ าสตร์

(ตวั อยา่ ง)


หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ การพฒั นาสังคมและวัฒนธรรมไทย

กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

รายวิชา ส๓๑๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลา ๕ ช่วั โมง

ผูส้ อน………………………………….......................……โรงเรยี น……………........………………………………….


มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก



ความภมู ิใจ และธำรงความเปน็ ไทย

ตัวชวี้ ดั

ส ๔.๓ ม.๔/๑ วเิ คราะหป์ ระเด็นสำคัญของประวตั ศิ าสตรไ์ ทย

สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

ประวัติศาสตร์ไทย มีความเป็นมาที่ยาวนานมีความสำคัญท่ีบรรพบุรุษสร้างไว้ควรค่า
แกค่ วามภาคภูมิใจท่เี กดิ เป็นคนไทย

สาระการเรียนร
ู้
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

๑. ความร
ู้
๑.๑ สังคมกอ่ นการปฏิรปู

- สงั คมสมยั สโุ ขทัยและอยุธยา พ.ศ. ๑๗๙๒-๒๓๑๐

- สังคมสมัยรตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๙๔

๑.๒ สงั คมสมัยปฏิรูป

- การเปลีย่ นแปลงสังคมไทยสมยั รชั กาลที่ ๔

- การเปล่ียนแปลงสงั คมไทยสมัยรชั กาลที่ ๕

- สงั คมไทยหลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕

- นโยบายสรา้ งชาตขิ องจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. ๒๔๘๑-๒๔๘๓

- การเปล่ยี นแปลงสังคมไทยหลังสงครามโลกคร้งั ท่ี ๒-ปัจจบุ นั


เพอื่ นคคู่ ิด มติ รคู่คร
ู 71
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระวัตศิ าสตร


สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน

๑. ความสามารถในการสื่อสาร

๒. ความสามารถในการคิด

- ทักษะการคดิ วิเคราะห

- ทักษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ

- ทักษะการคิดแกป้ ญั หา

๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต

๔. กระบวนการกลมุ่

- กระบวนการปฏบิ ัติ

- กระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลย

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค

๑. มวี ินยั

๒. ใฝ่เรียนรู้

๓. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

๔. มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ

ชนิ้ งาน/ภาระงาน

๑. นทิ รรศการ การศกึ ษาผลงานจากศูนย์การเรยี นรู

๒. การอภปิ ราย เรอ่ื ง “ปัญหาวยั รุ่นไทยในปจั จุบัน”

การวัดและประเมนิ ผล

๑. การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน

๑.๑ ตรวจผลงาน

๑.๒ สงั เกต

๒. การประเมนิ ระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้

๒.๑ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่

๒.๒ การนำเสนอผลงาน

๒.๓ การทำแบบฝึกหดั


72 เพ่ือนคู่คดิ มติ รคคู่ รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูป้ ระวตั ศิ าสตร์

๓. เกณฑ์การประเมิน

๓.๑ นทิ รรศการ


ประ เด็นกา รประเมิน
๑ ระดับคุณภาพ




๑. เน้ือหาสาระ
ครอบคลุมเน้อื หาสาระ ครอบคลุมเนื้อหาสาระ มเี นอื้ หาสาระ



ครบถ้วนสมบรู ณท์ ุกศูนย์ เกือบทกุ ศนู ยก์ ารเรียนร

ู บางศนู ยก์ ารเรยี นร
ู้

การเรียนร้




๒. การเสนอ
มรี ูปแบบการนำเสนอ
การนำเสนอน่าสนใจ
การนำเสนอไม่นา่ สนใจ

นา่ สนใจ มคี วามสอดคล้อง

และเหมาะสม


๓.๒ การอภปิ ราย เรอ่ื ง ปัญหาวัยรุ่นไทยในปจั จบุ ัน


ประ เด็นกา รประเมนิ
๑ ระดบั คณุ ภาพ


๒ เนอ้ื หาสาระ

ไม่สมเหตุสมผล

๑. เนื้อหาสาระ
มีความเป็นเหตุเปน็ ผล มีความเป็นเหตุเป็นผล ไมม่ ีขอ้ มูลอา้ งอิง



ข้อมลู อ้างองิ น่าเชือ่ ถอื
ข้อมลู อ้างองิ นา่ เช่อื ถือ




ถูกตอ้ ง เหมาะสม



การพดู วกวน


และเป็นจรงิ

ไมต่ รงประเดน็


๒. การนำเสนอ
วิธีการพดู ไมว่ กวน
วธิ กี ารพูดชดั เจน

ตรงประเด็น ชัดเจน
หรอื ตรงประเดน็


กจิ กรรมการเรยี นรู้

ช่ัวโมงที่ ๑

๑. ผเู้ รียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนเพอ่ื ทดสอบประสบการณ์เดิมของนกั เรยี น

๒. ผู้เรียนดูภาพการแต่งกายสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า
เป็นการแต่งกายสมัยใด

๓. แจ้งจดุ ประสงค์การเรียนรู้

๓.๑ อธิบายสาเหตุการเปล่ียนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทยในช่วงสมัย


ตา่ งๆ ได

๓.๒ วิเคราะห์ผลกระทบจากการปฏิรูปสังคมและวัฒนธรรมไทยในช่วงสมัย
ตา่ งๆ ได้


เพื่อนคคู่ ดิ มิตรคู่คร
ู 73
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ปู ระวัตศิ าสตร


๔. นกั เรยี นศกึ ษาค้นคว้าเอกสาร เรื่อง สังคมไทยสมยั สโุ ขทัย-สมัยรัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้

๕. สมุ่ นักเรียน ๒-๓ คน ออกมาสรปุ เนอ้ื หาให้เพื่อนตามความเขา้ ใจของนักเรยี น

๖. ผู้สอนและผเู้ รยี นร่วมกนั สรุป เร่ือง สังคมไทยสมยั สุโขทยั -สมยั รัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้

ชวั่ โมงท่ี ๒

๑. ผู้เรียนดูภาพการแต่งกายสมัยรัชกาลที่ ๕ สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม

ให้ผเู้ รียนแสดงความคดิ เหน็ ว่าเปน็ การแตง่ กายสมยั ใด

๒. ผู้สอนสนทนากับนกั เรียนถึงวนั “ปยิ มหาราช” วา่ มีความสำคญั อยา่ งไร

๓. แบ่งผู้เรียนออกเป็น ๖ กลุ่ม ให้คละความสามารถของผู้เรียน โดยพิจารณาจาก

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในรายวิชาสงั คมศกึ ษาเพือ่ ศึกษาความรู้ เรื่อง สงั คมไทยรัชกาลที่ ๔ ถงึ ปัจจบุ นั

๔. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเลือกประธานและเลขานุการกลุ่มทุกคร้ังท่ีเปลี่ยนศูนย์การเรียนรู้


โดยใช้หลักประชาธิปไตย ประธานกลุ่มมารับคำชี้แจงการใช้ศูนย์การเรียนรู้ ให้เลขานุการกลุ่ม
อา่ นใหส้ มาชกิ ฟงั จนเข้าใจในการใช้ศูนย์การเรียน

๕. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเข้าศึกษาศูนย์การเรียนรู้ท่ีครูเตรียมไว้ และปฏิบัติตามคำสั่ง
อยา่ งเครง่ ครัด โดยหมนุ เวียนจากศูนย์ท่ี ๑-๔ ดังนี้

ศูนย์ที่ ๑ เร่อื ง การเปล่ียนแปลงสงั คมไทยสมัยรัชกาลท่ี ๔

ศูนย์ท่ี ๒ เรือ่ ง การปฏริ ปู สังคมไทยสมัยรัชกาลท่ี ๕

- การเลิกไพร่

- การเลกิ ทาส

ศูนย์ท่ี ๓ เร่ือง การปฏิรปู สังคมไทยสมยั รัชกาลท่ี ๕

- การปฏริ ปู การศึกษา

- การปรับปรงุ ด้านการยตุ ธิ รรม

ศนู ยท์ ่ี ๔ เร่ือง การเปลี่ยนแปลงค่านิยมสมัยรัชกาลท่ี ๕ และการเปลี่ยนแปลง


สังคมไทยสมัยราชกาลท่ี ๖

ศูนย์ที่ ๕ เร่ือง การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

พ.ศ. ๒๔๗๕-สมยั จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม

ศนู ยท์ ี่ ๖ เร่อื ง สงั คมไทยหลังสงครามโลกครงั้ ท่ี ๒-ปจั จบุ นั

๖. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเรียนรู้ร่วมกันด้วยการระดมความคิดจากสมาชิกภายในกลุ่ม
กำหนดเวลาในการเรียนศูนย์การเรียนละ ๑๕ นาที หากผู้เรียนกลุ่มใดศึกษาเสร็จก่อนเวลา


ทีก่ ำหนดให้ไปเข้าศูนย์สำรองเป็นการช่ัวคราวกอ่ น

๗. ในระหว่างที่ผู้เรียนเข้ากลุ่มทำกิจกรรมตามศูนย์การเรียนรู้ ผู้สอนให้คำปรึกษา
เมอ่ื ผ้เู รยี นมปี ญั หาหรอื ขอ้ สงสัย พรอ้ มใช้แบบสงั เกตการณท์ ำงานกลุ่ม เพ่อื ประเมินผลการทำงาน
เป็นกล่มุ ของผูเ้ รียน


74 เพ่ือนคคู่ ิด มติ รคูค่ รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ประวัตศิ าสตร


ชว่ั โมงที่ ๓

๑. ทบทวนกลุม่ ใดเขา้ ศูนยก์ ารเรยี นใดมาแลว้

๒. ผู้เรียนแตล่ ะกล่มุ เขา้ ศนู ยก์ ารเรยี นทีต่ นยงั ไมไ่ ด้ศึกษาค้นควา้ ทกุ ศูนยก์ ารเรยี น

๓. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเสนอผลงานกลุ่มละ ๑ ข้อ กลุ่มใดมีความคิดเห็นแตกต่าง


เสนอความคดิ เหน็ เพ่มิ เตมิ ได้

๔. ผู้สอนชมเชยและเสนอแนะเพมิ่ เติมในการเสนอผลงานกลุม่

๕. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำผลงานไปจัดนิทรรศการ เพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับ


กลุ่มอ่ืน จะทำให้เข้าใจบทเรียนมากข้ึน ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเร่ือง สังคมไทย


และวัฒนธรรมไทยหลงั การปฏริ ปู

๖. มอบหมายให้ผู้เรียนไปสัมภาษณ์วัยรุ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เก่ียวกับ
สาเหตุของปัญหาวัยรุ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู


ในโรงเรียน

ช่ัวโมงที่ ๔

๑. อาสาสมัครผู้เรียนออกมาอ่านข่าวปัญหาวัยรุ่น และให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น
ว่าเปน็ ข่าวเก่ียวกบั อะไร สาเหตเุ กดิ จากอะไร

๒. อาสาสมัครนักเรียน ๒-๓ คน นำผลการสัมภาษณ์ สาเหตุของปัญหาวัยรุ่นใน
จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ผูใ้ ดมีความคดิ เหน็ แตกต่าง เสนอความคดิ เห็นเพิ่มเตมิ ได้

๓. ผู้เรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ ๖ คน โดยคละเพศและความสามารถ ให้แต่ละกลุ่ม


เลือกประธานและเลขานุการ แตล่ ะกลุ่มให้สมาชิกนง่ั ในลักษณะทที่ กุ คนมองเห็นและรบั ฟงั กันไดด้ ี

๔. ให้แต่ละกล่มุ จดั กล่มุ ห่างกันพอสมควร เพอื่ ไม่ใหเ้ สยี งอภปิ รายรบกวนกลุม่ อื่น

๕. ให้แต่ละกลุ่มอภิปราย “ปัญหาวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน” เกี่ยวกับสาเหตุและวิธีการแก้ไข
โดยให้ประธานกลุ่มเป็นผู้ดำเนินการอภิปรายและควบคุมการอภิปราย เลขานุการเป็นผู้บันทึก


ให้สมาชิกมีโอกาสแสดงความคิดเห็นทุกคน ไม่ให้ผู้ใดผู้หน่ึงผูกขาดการอภิปราย ให้อภิปราย


ทลี ะประเดน็ ใชเ้ วลา ๒๐ นาที

๖. ผสู้ อนเป็นผู้ดูแลชว่ ยเหลอื ใหก้ ารอภิปรายดำเนินการไปดว้ ยความเรยี บร้อย

ชว่ั โมงท่ี ๕

๑. ทบทวนสอบถามการอภปิ รายของแต่ละกล่มุ

๒. สุ่มนักเรยี น ๒-๓ กลุ่ม นำเสนอผลงานอภิปรายเพอื่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั กลุ่มใด
มีความคดิ เห็นแตกตา่ ง เสนอความคิดเห็นเพิม่ เตมิ ได

๓. ผ้สู อนชมเชยและเสนอความคดิ เห็นเสรมิ จากความคิดเห็นของผู้เรียน

๔. ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุป เร่ือง ปัญหาวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน และวิธีการ

แก้ปัญหา (สรุปมุ่งเน้นให้เรยี นรูว้ ่าปัญหาวยั รุ่นเปน็ ผลกระทบท่เี กิดจากการเปล่ียนแปลงสงั คมไทย)


เพื่อนคู่คิด มิตรคคู่ ร
ู 75
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ประวัตศิ าสตร์

๕. มอบหมายใหผ้ เู้ รียนทำแบบฝึกหัด เรอื่ ง การพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมไทย

๖. ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง การพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมไทย

เพือ่ วดั การเปลย่ี นแปลงการเรียนรู้ของผเู้ รียน

สอื่ และแหลง่ เรยี นร/ู้ ภูมปิ ัญญา

๑. สือ่ การเรยี นร
ู้
๑.๑ ภาพการแตง่ กายสมัยสโุ ขทัย

๑.๒ ภาพการแต่งกายสมัยอยุธยา

๑.๓ ภาพการแตง่ กายสมัยรัชกาลท่ี ๕

๑.๔ ภาพการแตง่ กายสมัยจอมพล ป. พิบลู สงคราม

๑.๕ ขา่ วปัญหาวัยรุ่น

๑.๖ ศูนยก์ ารเรียนรู้

๒. แหลง่ เรยี นรู้

๒.๑ หอ้ งสมุดโรงเรียน

๒.๒ หอ้ งศนู ยป์ ระวตั ศิ าสตร์

๒.๓ หอ้ ง IT โรงเรยี น




76 เพื่อนค่คู ิด มิตรคูค่ รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร์

สว่ นที่ ๓


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู

ประวตั ิศาสตร์

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร์ เริม่ ตน้ ที่ผ้สู อน




พืน้ ฐานความรู้ ความเข้าใจทางดา้ นประวตั ิศาสตร์เป็นรากฐานความเขา้ ใจปญั หาตา่ งๆ
ที่เกิดข้ึนในยุคปัจจุบันที่นำไปสู่การวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล และก่อให้เกิดมาตรการใน


การแก้ปัญหาอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ปัญหาสำคญั ในการเรยี นประวตั ิศาสตร์คือ ผูเ้ รียนไมเ่ ห็นความ
สำคัญของวิชาประวัติศาสตร์ วิธีการสอนและวัดผลแบบท่องจำไม่ท้าทายหรือกระตุ้นให้คิด


ทำให้ผู้เรียนเบ่ือหน่าย รวมถึงบริบทการศึกษาที่เปลี่ยนไป ผู้เรียนไม่สนใจเรียนประวัติศาสตร์
เน่ืองจากไม่ใช่วิชาที่สามารถนำไปประกอบอาชีพท่ีได้ผลตอบแทนสูง ประกอบกับในมุมมองของ
ครูผู้สอน การเรียนการสอนประวัติศาสตร์มีข้อจำกัดหลายประการ ประวัติศาสตร์เป็นนามธรรม
เป็นอดีตท่ีหลงเหลือเพียงร่องรอยการเล่าขานท่ีพิสูจน์ไม่ได้ เป็นบทเรียนในอดีตที่ไม่น่าสนใจ
เพราะต้องเคย่ี วเขญ็ ใหเ้ ด็กอา่ นขอ้ มลู มากมาย ใหท้ ำรายงาน และสอนใหส้ นกุ ยาก

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท่ีมีประสิทธิภาพ น่าจะเร่ิมต้นท่ีผู้สอน
ตระหนักในความสำคัญของตนเองท่ีมีต่อประเทศชาติ และความสำคัญของประวัติศาสตร


ทั้งในแง่บทเรียนจากอดีต ศาสตร์ท่ีจำเป็นสำหรับการจัดการข้อมูลในยุคโลกาภิวัตน์ และศาสตร์
ของการสืบค้นและทำความเข้าใจสังคมมนุษย์ในปัจจุบัน คุณค่าดังกล่าวจะนำไปสู่ความต้ังใจ


ท่ีจะปรับเทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีไม่น่าเบ่ือหน่าย ผู้เรียนได


ปรับเปล่ียนท่าทีมาเป็นส่วนหน่ึงของชุมชน สนใจในเอกลักษณ์ท้องถ่ิน และสำนึกในความเป็นชาติ


ที่มีศาสนาเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ ก่อให้เกิดวัฒนธรรมไทยท่ีนานาประเทศยกย่อง

ทั้งขนบประเพณี ศิลปกรรม มารยาท ความเอื้อเฟื้อ ความเมตตา และพระมหากษัตริย์ไทย


จากอดีตถึงปัจจุบัน ท่ีเป็นผู้นำก่อร่างสร้างเมืองในดินแดนที่อุดมสมบูรณ์เป็นครัวของโลก

เป็นประเทศทม่ี ีความเจรญิ รงุ่ เรอื งเปน็ เอกราชสบื มาถึงปจั จบุ ันนี

ทั้งน้ีผู้สอนต้องศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และคำอธิบายรายวิชาให้เข้าใจ
ชัดเจน (สอนอะไร สอนเรื่องน้ีไปทำไม) เม่ือผู้สอนเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการสอน


โดยไม่ลืมเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่หลักสูตร


คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นในตัวผู้เรียน รวมทั้งตรวจสอบความรอบรู้ของตนเองในเรื่องที่จะสอน

เกี่ยวกับมโนทัศน์ (Concept) เนื้อหาสาระและแหล่งเรียนรู้ ก่อนเลือกแนวทางการเรียนรู้


ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรและความต้องการ และความสนใจของผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ประวัติศาสตร์ที่ดีจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของ

การเรียนประวัติศาสตร์ ได้เรียนรู้ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย สามารถ
ดำรงชวี ติ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

ทิศทางของการสอนประวัติศาสตร์ในปัจจุบัน ไม่ใช่การสอนเรื่องราวในอดีต หรือ
เหตุการณ์ในอดีตอย่างเดียว แต่ต้องเชื่อมโยงประวัติศาสตร์กับการคิดวิเคราะห์ การคิดโดยใช้

78 เพอื่ นค่คู ดิ มติ รคูค่ รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรปู้ ระวัตศิ าสตร์

ข้อมูลพ้ืนฐานท่ีเป็นข้อเท็จจริงในอดีต คิดวิพากษ์วิจารณ์อย่างมีเหตุผลและคิดตัดสินใจอย่าง

มวี จิ ารณญาณ โดยโยงเขา้ กบั ปัญหาปัจจุบัน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ ให้ความสำคัญกับการศึกษาแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนสังเกต
สำรวจจากสถานท่ีจริง และได้สอบถาม ฟัง อ่านจากผู้รู้ เพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกเป็นส่วนหน่ึงของ

เร่ืองราวซึ่งจะสร้างแรงบันดาลใจและความเข้าใจให้กับผู้เรียนได้มากขึ้น อีกเป้าหมายหนึ่งใน

การพัฒนาวิธกี ารสอนประวัตศิ าสตร์ คือ การสอนใหร้ ้จู กั ตงั้ คำถามและหาคำตอบด้วยตนเองซ่งึ นำไปส


การค้นคว้าจากสถานที่จริง ท้ังการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เช่น ห้องสมุด พิพิธภัณฑ


ในท้องถ่ิน รวมทั้งการสัมภาษณ์ผู้รู้ในชุมชน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน องค์ความรู้ที่ได้จะมาจาก
ความเข้าใจ ไม่ใช่การท่องจำ ผู้สอนต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ความรู้เป็นผู้กระตุกกระตุ้น

ให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เกิดประเด็นคำถาม ใช้คำถามท่ีท้าทายสร้างความตระหนักให้ผู้เรียน


เห็นว่า สิง่ ท่ีเรียนรู้เป็นสงิ่ ที่ช่วยให้ตนเป็นมนษุ ยท์ สี่ มบรู ณ์ ฝกึ ให้คดิ ตรติ รอง เมื่อได้รับข้อมลู ต่างๆ
ที่สามารถหาได้จากแหล่งต่างๆ ครูต้องเปลี่ยนบทบาทตนเองโดยตระหนักว่าครูไม่ใช่ผู้รู้ทุกเรื่อง
หรือนักเรียนจะต้องรับฟังข้อมูลความรู้จากครูฝ่ายเดียว แต่ครูต้องชี้แนะ จัดบรรยากาศและ
กิจกรรมท่ีเอื้อให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองด้วยวิธีการต่างๆ โดยให้นักเรียน


ได้คิดวิเคราะห์ ตรวจสอบข้อมูลจากแหล่งความรู้ท่ีหลากหลาย เพ่ือคิดพิจารณาว่าข้อมูลความร


ทไ่ี ด้รับนา่ เชอื่ ถือมากนอ้ ยเพียงใด

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์มีมากมายหลายวิธี เช่น การจัดค่าย
ประวัติศาสตร์ โครงงานประวัติศาสตร์ ทัศนศึกษา บทบาทสมมุติ การใช้ time line ช่วยใน

การคิดวิเคราะห์ การสอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น การสอนเหล่าน้ีผู้สอนสามารถ

เลือกให้เหมาะสมกับเนื้อหา ระดับ และวัยของผู้เรียน แต่หัวใจสำคัญของการเรียนการสอน
ประวัติศาสตร์แบบใหม่ คือ การฝึกให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ตีความ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือ
ของข้อมูลหลักฐานอย่างรอบด้านและระมัดระวัง เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงก่อนจะนำข้อมูลมาสรุป

เรียบเรียงในรูปแบบที่น่าสนใจ และมีเหตุผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ทำให


ผู้เรียนเรียนรู้อย่างเพลิดเพลิน กระตุ้นให้อยากเรียนรู้ต่อเน่ือง ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น
เปน็ สว่ นหนึ่งของสงั คม และเกิดความรสู้ กึ ร่วมกับความเป็นชาต


เพ่ือนคคู่ ิด มติ รคู่คร
ู 79
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรปู้ ระวัติศาสตร


เรียนรแู้ นวใหม่ในค่ายประวตั ศิ าสตร




กิจกรรมการเข้าค่ายพักแรม ถือเป็นกิจกรรมท่ีสร้างสีสันให้กับนักเรียนมากที่สุด
กิจกรรมหน่ึงสำหรับนักเรียน เพราะได้เดินทางออกจากบ้าน และได้พบปะผู้คนมากมาย


ได้ทำกิจกรรมต่างๆ ที่สร้างความเพลิดเพลินและความรู้ ค่ายที่จัดขึ้นในปัจจุบันมีจุดประสงค


ในการจัดที่ต่างกัน เช่น ค่ายวิทยาศาสตร์ ค่ายพุทธศาสนา ค่ายสิ่งแวดล้อม เป็นต้น โดยท


คา่ ยเหล่านม้ี งุ่ สรา้ งความรแู้ ละทกั ษะทจ่ี ำเปน็ เปน็ หลัก

ค่ายประวัติศาสตร์ เป็นหน่ึงกิจกรรมการเรียนรู้แบบใหม่ที่มิเพียงจะสร้างความ
เพลดิ เพลนิ และได้เรยี นรู้สิ่งใหมๆ่ เท่าน้นั แตย่ งั เป็นการปลูกฝงั ความรู้ ความรัก และความเข้าใจ
ในท้องถิ่นของตน ให้ผู้ร่วมค่ายได้มีจิตสำนึกรัก เข้าใจประวัติและความเป็นมาของเรื่องราวต่างๆ
ท่ีอยู่รอบตัวของตน รวมท้ังได้รับประสบการณ์จริงด้วยกิจกรรมท่ีหลากหลาย สร้างแรงบันดาลใจ
กระตุน้ การเรยี นรเู้ ชงิ บวก สนุก ประทับใจ ไดค้ วามรู้ ภาคภูมิใจในผลงานตนเอง ไดฝ้ กึ ฝนทักษะ
การทำงานเปน็ ทีมและการแกไ้ ขปญั หาด้วยตนเอง

แนวทางการจดั ค่ายประวตั ศิ าสตร์

ในการเตรียมค่ายมีกิจกรรมท่ีจะต้องดำเนินการหลายประการ ผู้จัดค่ายจะต้อง

จัดลำดับความสำคัญก่อนหลังแล้วกำหนดปฏิทินการทำงานเพื่อกำหนดเวลาที่เหมาะสมใน

การจดั ค่าย ประกอบดว้ ย

๑. เป้าหมายของการจัดค่าย ควรเกิดประโยชน์และเป็นไปได้จริง เกิดแนวคิดใหม่ๆ
ทผ่ี ูเ้ รียนสนใจ สอดคล้องเช่ือมโยงกับสถานการณ์และแนวโนม้ การเปลี่ยนในสงั คมปัจจุบัน

๒. วัตถุประสงค์ของค่าย ควรได้ความรู้ เกิดความตระหนัก และได้ลงมือปฏิบัติ
ความรู้ที่จะถ่ายทอดให้ผู้เรียนต้องมีความเหมาะสม ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป ได้รับประสบการณ์ตรง

ครอบคลุมความคดิ รวบยอด คุณลักษณะอันประสงค์ และทักษะกระบวนการที่ตอ้ งการฝกึ ฝน

๓. ระยะเวลาในการจัดค่าย ต้องสมดุลกับเนื้อหา กิจกรรมสอดคล้องกับการเรียนรู้
และพัฒนาการของสมาชิกค่าย ระยะเวลาการจัดค่ายยังข้ึนอยู่กับกลุ่มเป้าหมายท่ีมีพัฒนาการ
และช่วงความสนใจแตกต่างกัน ช่วงเวลาที่เหมาะสมจะทำให้สมาชิกค่ายไม่เบ่ือ อีกทั้งเปิดรับ

และเรียนรูไ้ ด้อย่างเตม็ ศักยภาพ

๔. การสร้างบรรยากาศภายในค่าย ต้องให้เกิดความอบอุ่นเป็นมิตร ปลอดภัย

มีความเป็นประชาธิปไตย และการร่วมมือกัน หลีกเลี่ยงการแข่งขันหรือการเอาชนะ เพราะค่าย


มีจุดประสงค์สำคัญในการกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ และพัฒนาสมาชิกค่ายให้เต็มศักยภาพของ
แต่ละบุคคลให้มากที่สุด การสร้างบรรยากาศภายในค่าย เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้และ
พัฒนาการ มีส่วนส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความสัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมค่าย
ส่งผลโดยตรงต่อความประทับใจโดยรวมตอ่ กจิ กรรมทง้ั หลายในคา่ ย


80 เพ่ือนค่คู ิด มติ รคูค่ รู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ปู ระวตั ศิ าสตร


ค่ายที่ดีช่วยนักเรียนแต่ละคนและทุกคนได้เรียนรู้เพิ่มเติมตามความสามารถ
และศักยภาพของตนเอง กิจกรรมในระหว่างการจัดค่ายควรนำไปสู่การบรรล

เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของคา่ ยท่สี ร้างสรรค์ สนกุ สอดแทรกสาระสั้นๆ การจดั
ตารางกิจกรรม เน้ือหาควรจัดจากง่ายไปหายาก เหมาะสมกับวัยและการเรียนรู้

ของสมาชิกค่าย สภาพแวดล้อมเหมาะสม กจิ กรรมท่ีจัดข้ึนมที ั้งกิจกรรมเชิงวิชาการ
และนันทนาการเพราะเป็นส่ือสำคัญสำหรับการพัฒนาผู้เรียน มีกิจกรรมที่สามารถ
เลือกได้ เช่น กิจกรรมงานฝีมือและหัตถกรรม เกมกีฬา การเต้นรำ การฟ้อนรำ

การอ่าน การพูด การเขียน การศึกษานอกสถานที่ การบริการสังคม อาสาสมัคร

ในกจิ กรรมสาธารณะ กจิ กรรมเขา้ จังหวะ ฯลฯ



วัตถปุ ระสงคใ์ นการเลือกกิจกรรมเขา้ ค่าย สามารถแบง่ ออกเป็น ๓ กิจกรรมใหญ่ๆ คือ

๑. กิจกรรมเพื่อกลุ่มสัมพันธ์ (การละลายพฤติกรรม) เป็นการสร้างความต่ืนตัว

ใหพ้ ร้อมการเรยี นรู้ (นันทนาการ อนุ่ เครอ่ื ง)

๒. กิจกรรมเพ่ือการเรียนรู้เน้ือหาหลัก ผ่านกระบวนการท่ีสร้างสรรค์ ควรมีความ
หลากหลาย เหมาะสมกับวัยของสมาชิกค่ายเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของค่ายนั้นๆ เช่น
กระบวนการกลุ่ม การระดมความคิดเห็น การประชุมปรึกษาหารือ การแลกเปลี่ยน การจัดฐาน
เรียนรู้ในการเรียนรู้ในสถานที่จริง การสังเกตการณ์ การสืบค้นความรู้ด้วยตนเอง กิจกรรมค่าย


ที่มีการจัดเรื่องกระบวนการเรียนรู้อย่างมีขั้นตอน จะสามารถพัฒนาสมาชิกค่ายได้อย่าง


มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้สมาชิกค่ายสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปสร้าง

องคค์ วามรใู้ หมแ่ ละประยุกตใ์ ช้ในการดำรงชวี ติ ประจำวันได้

๓. กิจกรรมเสริมคุณลักษณะสร้างสรรค์และพฤติกรรมที่ดีด้านต่างๆ สอดแทรก


ในระหว่างการใช้ชีวิตในค่าย ได้แก่ ทักษะการเป็นผู้นำ ผู้ตาม การทำงานเป็นทีม ทักษะชีวิต


คุณธรรม การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ การปะทะสังสรรค์ การมีส่วนร่วมกับชุมชน และ


การอยู่รว่ มกับผอู้ ืน่ อยา่ งเป็นสุข เช่น การนำเสนอผลงานนิทรรศการ ควรคำนึงถงึ การแลกเปลีย่ น


เรียนรู้และการสอื่ สารกับผอู้ ่ืนด้วย

๔. กิจกรรมสรุป สะท้อนการเรียนรู้และประเมินผล การสรุปกิจกรรมสามารถทำได้
หลายวิธี เช่น การอภิปราย การวาดรูป สรุปกิจกรรมร่วมกัน ต้องสะท้อนตัวกิจกรรมและ


ให้ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การสะท้อนการเรียนรู้ของตนเองควรให้
สมาชิกค่ายทุกคนมีส่วนร่วมในการพูด และรับฟังความคิดเห็น ตลอดจนแลกเปล่ียนข้อคิด


ท่ีได้จากกิจกรรม เขียนบันทึก สร้างชิ้นงานร่วมกัน ออกแบบกิจกรรมร่วมกันในช่วงก่อนปิดค่าย

เพื่อนคคู่ ิด มิตรคู่คร
ู 81
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

ควรมีเวลาทบทวนสิ่งท่ีได้เรียนรู้ของตนเอง มีการเปล่ียนแปลงมากน้อยเพียงใด การประเมินผล
แบ่งเป็นประเมินผลก่อนเริ่มกิจกรรม ระหว่างดำเนินการ และเมื่อสิ้นสุดค่าย มีทั้งการประเมิน
ตนเองและการประเมินการจัดค่าย จะเห็นได้ว่า “การจัดค่ายประวัติศาสตร์ ไม่ได้ยาก


อยา่ งทีค่ ดิ ”

ในที่น้ี จะได้เสนอตัวอย่างค่ายประวัติศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นท่ี จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี เพ่อื เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมรูปแบบน้ใี นจงั หวัดอื่นๆ ต่อไป

เมื่อเร่ิมต้นมีความคิดที่จะจัดค่ายประวัติศาสตร์ ครูผู้จัดต้องตระหนักก่อนว่าบทบาท
หน้าท่ีและกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในค่ายน้ันแตกต่างไป เมื่อพิจารณาว่าจังหวัดสุพรรณบุรีมีความพร้อม


ในการจัดค่ายเรียนรู้แล้ว คำถามสำคัญคือ จังหวัดสุพรรณบุรีมีความสำคัญอย่างไรในฐานะ

เมืองประวัติศาสตร์ และจะกำหนดประเด็นย่อยของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของเมืองสุพรรณบุรี
ไว้อยา่ งไร เช่น

● เมอื งสพุ รรณบรุ ใี นตำนาน เรื่องเลา่

● เรอ่ื งเมอื งสพุ รรณบุรใี นเอกสารประวตั ศิ าสตร์

● กลมุ่ ชาติพันธุ์ในเมอื งสพุ รรณบรุ ี

● ศลิ ปกรรมเมืองสุพรรณบรุ

● ความเปล่ยี นแปลงของเมอื งสุพรรณบุรี ตลาดริมนำ้ สพุ รรณ



สำหรับผู้ท่ียังไม่เคยจัดค่ายมาก่อน คงต้องเร่ิมจากการสร้างพื้นฐานความรู้เก่ียวกับ
แหลง่ เรียนรูป้ ระวัติศาสตร์ โดยประมวลเอกสาร หนังสอื ซดี ี วดี ิทศั น์ รูปภาพ ผรู้ ู้ สถานท่ีสำคญั
ตลอดจนสิ่งของเคร่ืองใช้ท่ีเก่ียวข้องไว้ก่อน เพ่ือเป็นฐานข้อมูลท่ีผู้ร่วมดำเนินการจัดค่าย

ต้องศึกษาค้นคว้า ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องเขียน เคร่ืองมือในการสร้างผลงาน

ควรมีให้พร้อมเพ่ือใช้ในการเตรียมการนำเสนอ เนื้อหาหนังสือ บทความต่างๆ น้ี กลุ่มผู้จัดควรหารือ

พิจารณาก่อนว่ามีเอกสารอะไร สำคัญอย่างไร และเหมาะสมหรือไม่ โดยจัดหมวดหมู่เอกสาร


ไวก้ อ่ น เชน่

๑. กลมุ่ เอกสารตำนานมขุ ปาฐะ เช่น ตำนานพระเจ้าอู่ทอง ตำนานศาลหลกั เมือง

๒. กลุ่มเอกสารลายลกั ษณ์อักษร เชน่ พระราชพงศาวดารฉบับตา่ งๆ ทีเ่ ก่ียวกับสพุ รรณบรุ ี

๓. หนงั สอื นำเท่ียวเมอื งสพุ รรณ หนังสอื เก่ียวกบั ศลิ ปกรรมวดั ตา่ งๆ ฯลฯ

๔. ส่ือเทคโนโลยีอืน่ ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง รวมท้ังรูปภาพทแี่ สดงอดตี ของสุพรรณบุร

สถานที่จัดค่าย ควรพิจารณาก่อนว่ามีความสะดวก ปลอดภัย มีรั้วรอบขอบชิด

และมีสถานท่ีหรืออุปกรณ์พร้อมในการจัดกิจกรรมฐานกลุ่มย่อยได้ ฐานกิจกรรมต่างๆ ท่ีสามารถ
กำหนดข้ึนได้ง่าย วิทยากรประจำกิจกรรมในค่ายที่มีความเช่ียวชาญถือว่ามีความจำเป็นมาก
สำหรับการดำเนินกิจกรรม ซ่ึงควรมีการประชุมปรึกษาหารือกับเพื่อนร่วมงาน หาความรู้จาก


82 เพือ่ นค่คู ิด มิตรค่คู รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระวตั ิศาสตร


ผู้ท่ีเคยมีประสบการณ์จัดค่ายประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะรวบรวมปัญหาและอุปสรรคท่ีเคยเกิดขึ้น
เพือ่ เตรียมการปอ้ งกันไว้ก่อน

ฐานกิจกรรมที่จัดควรเป็นอย่างไร และเก่ียวข้องกับประเด็นทางประวัติศาสตร์
อยา่ งไร

๑. ฐานเล่าเร่ือง เป็นการจัดกิจกรรมเพ่ือให้เกิดทักษะการอ่านจับใจความ นำสู่


การเลา่ เร่ืองเพ่ือสือ่ สารใหค้ นอ่นื เขา้ ใจตอ่ ๆ กนั โดยผู้จัดกจิ กรรมแบง่ กล่มุ ให้นักเรียนท่ีมาเข้าคา่ ย
แต่ละกลุ่มเลือกตัวแทน ๑ คน อ่านเร่ืองเล่าสั้นๆ ท่ีเกี่ยวกับพระเจ้าอู่ทอง และให้เล่าเร่ือง


ให้สมาชิกกลุ่ม ๑ คนฟังแล้วให้เล่าต่อๆ กัน เป็นการเล่าคนต่อคน จากนั้นให้คนสุดท้ายของ

กลุ่มมาเล่าเร่ืองนั้นให้เพ่ือนๆ ฟัง โดยเน้นให้เล่าให้น่าสนใจ (ผู้เล่ากลุ่มอื่นถูกเก็บตัวไว้ก่อน จนกว่า

จะเล่าแล้ว) เม่ือนักเรียนได้ฟังเร่ืองเดียวกันจากเพ่ือนหลายๆ คน ก็จะเห็นว่าเนื้อหาเดียวกัน

ถูกดัดแปลงไป ทักษะกระบวนการนี้เป็นการฝึกให้ผู้ร่วมค่ายได้เห็นว่าตำนานเร่ืองเล่าแบบ


มุขปาฐะน้ันเป็นเรื่องเล่าจากปากต่อปาก และอาจเกิดความผิดเพี้ยนของเนื้อหาได้ ฉะน้ันการใช้
ข้อมูลท่ีนำมาจากตำนานมุขปาฐะ และเร่ืองเล่าท่ีมีในท้องถ่ินน้ันต้องคิดพิจารณาอย่างรอบคอบ
เพราะไมส่ ามารถตรวจสอบความถกู ต้องจากผรู้ เู้ รอื่ งจรงิ ในอดตี ได้

๒. ฐานแผนท่ี เป็นฐานฝึกนักเรียนให้รู้จักกำหนดท่ีต้ัง อาณาเขต ขอบเขตของเมือง
หรือสถานที่ ตามเร่ืองราวท่ีได้เรียนรู้จากเอกสารทางประวัติศาสตร์ท่ีบอกเล่าเรื่องราวในอดีตของ
จังหวัดสุพรรณบุรี เช่น การใช้แผนที่เมืองสุพรรณบุรีที่แสดงกายภาพปัจจุบันมาเป็นต้นแบบ

ให้นักเรียนลงรายละเอียดเมืองสุพรรณในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ โดยลงรายละเอียดตามประเด็น


ท่ีกำหนดตามเอกสารทางประวัติศาสตร์ ใช้ทักษะการวาดภาพเข้ามาช่วย ผู้เข้าค่ายอาจสำรวจ
พื้นท่ี หรือใช้สถานที่ใกล้เคียงให้เป็นประโยชน์ในการทำแผนที่ รวมทั้งการใช้เอกสารประกอบ

การศกึ ษาอืน่ ๆ เพ่ิมเตมิ เพอื่ แสดงให้เหน็ วา่ เมืองสุพรรณบรุ ใี นอดีตเป็นอย่างไร (ทีส่ ำคัญกิจกรรมน
ี้

ผู้ดำเนินการต้องตรวจสอบโดยทำด้วยตนเองก่อน และข้อความในเอกสารทางประวัติศาสตร์


ควรปรบั ให้เหมาะสมกบั ผเู้ รียนโดยใหม้ ีความซับซ้อนพอใหน้ กั เรยี นไดต้ ีความบ้าง)

๓. ฐานสร้างสรรคผ์ ลงานที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การวาดภาพ การปะติดเศษวสั ดุ
การป้ันดิน เป็นฐานที่ฝึกให้นักเรียนได้สะท้อนคุณค่าที่เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ตนเองได้เรียนร้


และประทับใจออกมาเป็นผลงาน (โดยผู้ดำเนินการเลือกภูมิปัญญาที่เหมาะสมท่ีจะสร้างผลงาน
และมีวิทยากรท่ีชำนาญเฉพาะด้าน เช่น พระพุทธรูป เจดีย์ เคร่ืองปั้นดินเผา) เพื่อถ่ายทอด

ความงดงามส่งิ ที่พบเหน็ ไดส้ มั ผัส จากการไดไ้ ปชมหรอื ฟังการบรรยายเร่ืองราวทางประวตั ิศาสตร

๔. ฐานวิพากษ์หลักฐาน เป็นฐานฝึกให้ผู้เรียนได้จักการนำหลักฐานข้อมูล

มาประกอบการอภิปรายในการสรุปองค์ความรู้ ซ่ึงเป็นการฝึกให้ผู้เรียนเป็นคนช่างสังเกต แยกแยะ


ข้อมูลและหลักฐาน ฝึกฝนการตีความจากข้อมูล การลงข้อสรุปอย่างมีเหตุมีผล ครูฝึก


อาจจะจัดให้ผู้เรียนได้ทำการวิพากษ์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เช่น ศิลาจารึก พระราช
พงศาวดาร ภาพวาดจติ รกรรมฝาผนัง สถาปตั ยกรรม เปน็ ต้น


เพือ่ นคู่คิด มิตรคูค่ ร
ู 83
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรูป้ ระวัตศิ าสตร


๕. ฐานสืบค้น เป็นฐานที่มุ่งฝึกให้ผู้เรียนได้แสวงหาความจริงของเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร์โดยผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ซ่ึงผู้เรียนต้องกำหนดประเด็นใน


การสืบค้นไว้ก่อน เช่น ร้านค้าในตลาดเมืองสุพรรณบุรี สินค้าในตลาด อาชีพในชุมชน ประวัติ
เมอื งสพุ รรณบุรี วัดสำคัญ กลมุ่ ชาตพิ ันธุใ์ นเมืองสุพรรณบุรี ศิลปกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
เป็นต้น ผู้เข้าค่ายจะได้ใช้ทักษะท่ีได้เรียนรู้ในการสืบค้นจากวิธีการทางประวัติศาสตร์ท่ีหลากหลาย
เช่น การสืบค้นเอกสาร การศึกษาจากสถานท่ีจริง การสัมภาษณ์ การสำรวจ ฯลฯ ท่ีสำคัญ


คอื ประเด็นในการสืบคน้ ต้องเปน็ ประเด็นเล็กๆ ท่ีเหมาะกบั การสบื คน้ ในระยะเวลาส้นั ๆ

๖. ฐานนำเสนอ เป็นฐานฝึกการนำเสนอสิ่งท่ีผู้เรียนได้ค้นพบจากการศึกษา ค้นคว้า
และปฏิบัติ ในการเข้าค่ายประวัติศาสตร์เพื่อให้ผู้ชมหรือผู้ฟังได้รับรู้ข้อมูลใหม่ๆ ครูผู้ฝึกอาจจะมี
ตัวอย่างในการนำเสนอหลากรูปแบบ เช่น นิทรรศการ ละครส้ัน บทบาทสมมุติ เพลงพ้ืนบ้าน
เป็นตน้

ฐานกิจกรรมต่างๆ เช่นน้ี ผู้จัดค่ายต้องเลือกให้เหมาะสมกับพ้ืนท่ี โดยจะต้องกำหนด
ใบงานหรือใบกิจกรรมล่วงหน้า อาจเชิญวิทยากร/นักปราชญ์ ตลอดจนผู้อาวุโสของชุมชน


ให้เข้ามามีส่วนร่วมในฐานให้ความรู้ต่างๆ เพิ่มข้ึน เช่น เจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานกรมศิลปากร


ในพ้ืนที่ให้ความรู้เกี่ยวกับศิลปะ นิมนต์พระภิกษุที่มีความรู้อธิบายสิ่งต่างๆ ในวัดและประโยชน์
ใช้สอยของอาคารเหล่านั้น เชิญผู้อาวุโสของชุมชนเล่าเรื่องราวความเปล่ียนแปลงของตลาดเมือง
สุพรรณบุรี เป็นต้น นอกจากนี้ผู้จัดค่ายต้องร่วมสังเกตการณ์เพื่อประเมินผลการจัดค่ายว่า
นักเรียนท่ีเข้าค่ายมีทัศนคติและได้รับความรู้ ความเข้าใจอย่างไร สามารถจัดทำพาสปอร์ตค่าย
(Camp Passport) ให้นักเรียนบันทึกส่ิงท่ีพบเห็น บันทึกรายละเอียดของเพ่ือน ตลอดจนบันทึก
ความร้สู กึ ของผู้เขา้ คา่ ยในฐานตา่ งๆ ได

คุณค่าของคา่ ยประวตั ิศาสตร์

คุณค่าท่ีได้รับจากกิจกรรมค่ายประวัติศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน

ให้มีความรู้และทักษะกระบวนการเรียนรู้ การอยู่ร่วมกัน การทำงานช่วยเหลือเก้ือกูลกัน

ได้ประสบการณ์จรงิ เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความภาคภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ สรา้ งจติ สำนกึ คา่ นิยมที่ดี
รวมทั้งการเป็นผู้นำ เป็นทีมงานท่ีดี ทำงานอย่างเป็นระบบ เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้

ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง มีส่วนร่วมมือในการปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานท่ีมีคุณค่า
ต่อตนเองและผู้อื่น รวมท้ังการเรียนรู้ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข


ค่ายประวัติศาสตร์มิได้หมายความว่าจะต้องนำนักเรียนเข้ามาอยู่ในพ้ืนท่ีใดพื้นที่หนึ่ง และม


การจัดกิจกรรม “ติดท่ี” เพียงอย่างเดียว หรือจำเป็นต้องแบ่งเป็นฐานกิจกรรม หากแต่กิจกรรม


ท่ีสามารถกำหนดข้ึนในค่ายนั้น สามารถปฏิบัติได้อย่างหลากหลายและข้ึนอยู่กับพื้นที่นั้นๆ


ค่ายประวัติศาสตร์จึงมิเพียงเป็นกิจกรรมที่จะสร้างความสามัคคีในหมู่คณะหรือเพ่ือฝึกปฏิบัติเรื่องใด

84 เพ่อื นคูค่ ดิ มติ รคคู่ รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์

เรื่องหนึ่งโดยเฉพาะเท่าน้ัน แต่เนื้อหาสาระของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะเป็นสิ่งท่ีกระตุ้น


ให้นักเรียนที่มาเข้าค่ายมีความสนุกสนานและเห็นคุณค่าประวัติศาสตร์ว่าเป็นเรื่องใกล้ตัว


และสามารถนำไปปรบั ใชไ้ ด้ในทุกสถานการณ

ผลที่เป็นรูปธรรมของการจัดค่ายท่ีจังหวัดสุพรรณบุรีน้ัน คือ รับรู้ว่าเอกสารทาง
ประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับสุพรรณบุรีมีเป็นจำนวนมาก จำเป็นต้องเลือกใช้โดยต้องวิเคราะห์และ
ประเมินค่าของเอกสารก่อน ยง่ิ ไปกว่าน้นั การรบั ฟงั และได้ฝกึ ปฏบิ ัติจรงิ เชน่ ออกสำรวจเสน้ ทาง
สัมภาษณ์ผู้อาวุโส ก็ทำให้นักเรียนมีความเพลิดเพลินและได้เห็นสภาพสังคมจริงที่อาจจะม


ความเหมือน หรือต่างจากสังคมที่นักเรียนอาศัยอยู่ สมุดพาสปอร์ตค่ายจะเป็นผลงานที่เป็นรูปธรรม

ของนักเรยี นในการเก็บความรู้และความทรงจำไปพรอ้ มๆ กัน




เพื่อนคคู่ ดิ มติ รคูค่ ร
ู 85
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรปู้ ระวัตศิ าสตร์

ประสบการณก์ ารสอนประวัติศาสตร์จากการศึกษาสถานทจี่ รงิ




ประวัติศาสตร์เป็นสาระหนึ่งของกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ เน้ือหาวิชาประวัติศาสตร์
สามารถนำมาพัฒนาการคดิ ท้งั การคดิ วิเคราะห์ คดิ ประเมนิ คา่ คดิ ใครค่ รวญ ตลอดจนการสรา้ ง
องค์ความรู้ของนักเรียน และท่ีสำคัญวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาท่ีช่วยพัฒนาความภาคภูมิใจ

ในความเป็นชาติ ซ่ึงครูผู้สอนประวัติศาสตร์นับว่ามีความสำคัญที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เกิด
คุณลักษณะดังกล่าวข้างต้น แต่การจะทำเช่นนี้ได้ครูผู้สอนต้องหมั่นศึกษาค้นคว้าเอกสารเร่ืองราว
ทางประวัตศิ าสตร์ ตดิ ตามขอ้ มลู ใหม่ๆ ทม่ี คี น้ พบและเผยแพร่ รวบรวมเอกสารประกอบการสอน
ส่ือการเรียนการสอน แหล่งข้อมูล การฝึกฝนทักษะวิธีการทางประวัติศาสตร์ด้วยการสืบค้น

เรื่องราวในท้องถิ่นท่ีสนใจด้วยตนเอง และที่สำคัญคือ หาความรู้ท่ีเป็นแนวทางการจัดกิจกรรม

การเรยี นการสอนประวัตศิ าสตร์หลายๆ รูปแบบ ทัง้ นี้เพ่อื ใหน้ กั เรยี นไมร่ ู้สกึ เบื่อหนา่ ย และเห็นวา่
ไม่ใช่วิชาท่องจำ แต่เป็นวิชาฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์จากข้อมูลหลักฐานท่ีสืบค้นได้ ฝึกการวิพากษ

วจิ ารณ์โดยอา้ งองิ เหตุผล ตลอดจนการนำเสนอใหน้ ่าสนใจ

ข้าพเจ้าในฐานะครูผู้สอนในกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ คนหน่ึง จึงอยากบอกเล่า และ
แลกเปล่ียนประสบการณ์การสอนประวัติศาสตร์กับเพื่อนครูทั่วประเทศ ดังเรื่องท่ีข้าพเจ้าจะเล่า
ต่อไปน้ี

“ที่โรงเรียนของข้าพเจ้า มีครูท่านหน่ึงชื่อ ครูภัทรวดี คงไทย เป็นครูท่ีมีนิสัยใฝ่รู้


ใฝ่เรียน และมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ทำการสอนเนื้อหาประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัยมา

เป็นเวลาหลายปี ข้าพเจ้าและครูภัทรวดีมักจะสนทนาและพูดคุยกันอยู่เสมอในเรื่องเก่ียวกับ


การเรียนการสอน ครูภัทรวดีได้เสนอกิจกรรมการศึกษานอกสถานที่จังหวัดสุโขทัย เพื่อให้นักเรียน


ได้ศึกษาจากสถานท่ีจริง และเกิดเจตคติที่ดีต่อวิชาประวัติศาสตร์ กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
โครงการพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งข้าพเจ้าและคณะครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ เห็นด้วยกับ
กิจกรรมดงั กล่าว”


ขั้นตอนกระบวนการในการจัดกิจกรรม เริ่มต้นด้วย

ครูภัทรวดีทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้


ตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้ แล้วร่วมกับนักเรียนวางแผน

จัดนิทรรศการเก่ียวกับสุโขทัยในแง่มุมต่างๆ เช่น ท่ีตั้งทาง
ภูมศิ าสตรข์ องอาณาจักรสุโขทยั การเมืองการปกครอง สังคม
เศรษฐกิจ วัฒนธรรม หลังจากนั้นให้นักเรียนในแต่ละห้อง
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ หมุนเวียนกันเข้าศึกษา
นิทรรศการ จดบันทึกย่อส่ิงที่ได้ศึกษาจากนิทรรศการ ทั้งนี้
เพื่อเป็นการให้นักเรียนได้รับความรู้พื้นฐานเรื่องราวของ

86 เพ่อื นคู่คดิ มติ รคู่ครู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร


สุโขทัยก่อนที่จะศึกษาจากสถานท่ีจริง ในการจัดนิทรรศการนี้ครูภัทรวดีได้ขอความช่วยเหลือจาก
ครูศิลปะ ในการตกแต่งตัวหนังสือ บรรยากาศ องค์ประกอบอ่ืนๆ เพ่ือให้ได้บรรยากาศแบบย้อนยุค
ทำให้เป็นท่ีสนใจของนักเรียน มีการนำประเด็นมาซักถามในชั้นเรียนว่านักเรียนได้อะไรบ้าง

จากการศึกษานิทรรศการ สังเกตการตอบของนักเรียน และพูดถึงการเตรียมตัวเพื่อศึกษา


นอกสถานท่ีจังหวัดสุโขทัย ในเร่ืองการสังเกต การซักถาม การบันทึกเร่ืองท่ีดูหรือฟัง

การมีวินัยในขณะเดินทาง มารยาทในการศึกษานอกสถานท่ี และในการน้ีได้มีการบูรณาการ
กับกลุ่มสาระวิชาอ่ืนๆ ด้วยการประชุมร่วมกันของครูที่สอนในระดับเดียวกันในระดับช้ัน ม.๑

ทส่ี อนตา่ งกลุม่ สาระ โดยใหก้ ลุ่มสาระสังคมศกึ ษาฯ เปน็ แกน


๓. นกั เรยี นหมนุ เวยี น
ตวั อยา่ ง กจิ กรรมสรปุ ความรูจ้ ากการชมนิทรรศการ

เข้าศกึ ษานทิ รรศการ ๑. เรอื่ งที่ศึกษา................................................................................

จดบนั ทึกสิ่งท่ีศึกษา
๒. สรุปความร้ทู ่ีไดจ้ ากการศกึ ษา....................................................

ตอบขอ้ ซกั ถามครู

๓. ขอ้ สงสัย/สง่ิ ทสี่ นใจ/หรือสิ่งทอ่ี ยากรูเ้ พิ่มเตมิ .............................

ในชั้นเรียน
...................................................................................................

...................................................................................................



๔. พูดคุยตกลงกบั นักเรียน ประเดน็ การพดู คยุ

- การแต่งกาย ความระมัดระวงั ระหว่างการเดนิ ทาง

เร่อื งการเตรยี มตัวใน - มารยาทในการพูด/ฟงั การสงั เกต การซกั ถาม การจดบนั ทึก

การศกึ ษานอกสถานท่
ี - การตรงตอ่ เวลา


ครูภัทรวดีจึงได้ตั้งหัวเรื่องและร่วมอภิปรายกับครูในระดับช้ันเดียวกัน ในที่สุด


ที่ประชุมได้สรุปหัวเร่ืองว่า “สุโขทัยมรดกโลก” แต่ละกลุ่มสาระได้รับมอบหมายให้คิดกิจกรรม


ท่ีสอดคล้องกับหัวเรื่อง ต่อมาจึงนำกิจกรรมมาพิจารณา วิพากษ์วิจารณ์ เพ่ือไม่ให้กิจกรรม


มากเกินไปจนทำให้นักเรียนรู้สึกเบ่ือหน่าย กลุ่มสาระสังคมฯ นำมาจัดพิมพ์ในรูปของแบบบันทึก
กิจกรรมเพ่ือมอบให้กับนักเรียนทำในขณะศึกษานอกสถานที่ ในส่วนของกลุ่มสาระสังคมฯ

ได้กำหนดกิจกรรมให้นักเรียนได้บันทึกโดยสรุปความรู้จากสิ่งที่นักเรียนได้เข้าชม ส่ิงที่ประทับใจ

หรือความรู้สึกท่ีมีต่อสถานที่ท่ีเข้าชมพร้อมเหตุผล บันทึกการสังเกต การสรุปคำบรรยาย


การซักถาม และการตอบคำถามว่าจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์โบราณสถานโบราณวัตถุอย่างไร
การทำกจิ กรรมนอกสถานที่นี้ ใชบ้ รกิ ารรถทัวร์ปรับอากาศและมีมคั คเุ ทศกป์ ระจำรถ ซึ่งส่วนใหญ่
จะเปน็ เด็กหน่มุ สาว และมีความรู้สามารถจัดกิจกรรมบนรถทำใหน้ กั เรยี นสนกุ สนาน การบรรยาย
ประกอบสถานที่เข้าชม ตลอดจนควบคุมนักเรียนขณะท่ีนำชมสถานที่ต่างๆ ทางประวัติศาสตร์
ของจังหวัดสุโขทัย และเน่ืองจากมีนักเรียนจำนวนมาก การเข้าชมสถานที่ต่างๆ จึงต้องมี


การวางแผนหมนุ เวยี นการใช้แหลง่ เรียนรู้ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ


เพอื่ นค่คู ิด มิตรคู่คร
ู 87
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ประวตั ศิ าสตร


การเข้าชมเพื่อไม่ให้แออัด เช่น การเข้าชมพิพิธภัณฑ์ การควบคุมนักเรียนให้อยู่ในกลุ่ม


อย่างมีระเบียบ และฟังบรรยายประกอบของวิทยากรจากพิพิธภัณฑ์ ครูผู้ควบคุมจึงต้อง

คอยดูแล แต่จากการสังเกตท่ีผ่านมาครูได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้นักเรียนค่อนข้างมีวินัย


ในการศึกษานอกสถานท่ี และในขณะท่ีนักเรียนศึกษาสถานท่ีต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ของ
สุโขทัย นักเรียนจะมีการบันทึกส่ิงที่สังเกต ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม บันทึกการฟังคำบรรยาย

การซักถามวทิ ยากรลงในแบบบนั ทึกกิจกรรม เขียนตอบข้อคำถามและกจิ กรรมของสาระอ่ืนๆ
นักเรียนบางคนอาจทำแบบบันทึกกิจกรรมไม่ครบ ก็ให้โอกาสมาทำต่อท่ีบ้านหรือโรงเรียน
และส่งครูผู้สอน


ตวั อย่าง แบบบนั ทึกกิจกรรม
ตวั อยา่ ง แบบบันทกึ กิจกรรม


๑. ชื่อสถานท่ี................................
๑. ใหน้ ักเรียนดูผังที่ตั้งของอาณาจกั รสุโขทยั

๒. สรปุ คำบรรยาย........................
แล้วเขยี นชอ่ื วัดตา่ งๆ ท่ตี ั้งในผังดังกลา่ ว

๓. ข้อซักถาม/การตอบปัญหา......


................................................


๔. ขอ้ สงั เกต.................................


๕. ความรู้สกึ /สิง่ ทีป่ ระทบั ใจ........
๒. เปรยี บเทียบจำนวนวัดในผงั กับชมุ ชนของ
................................................

นกั เรยี นวา่ ต่างกนั อยา่ งไร

ฯลฯ
ทำไมถงึ เปน็ เช่นนน้ั ..........................................


หลังจากกลับจากการศึกษานอกสถานท่ี ครูภัทรวดีได้เลือกแบบบันทึกกิจกรรมของ
นักเรียนมาสนทนาพูดคุยในประเด็น สิ่งท่ีนักเรียนสังเกตเห็นจากการเข้าชมมีอะไรบ้าง


ข้อคิดเห็นของนักเรียน การสรุปการฟังบรรยาย การซักถาม การตอบข้อคำถาม และยกย่อง
ชมเชยผลงานของนักเรียน ในกิจกรรมนี้ให้ครูกลุ่มสาระอ่ืนๆ ช่วยให้ข้อสังเกตในส่วนของ

แบบบันทึกกิจกรรมที่ได้ร่วมกับกลุ่มสาระสังคมฯ จัดทำ ต่อมาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย

เร่ืองที่สนใจ เม่ือนักเรียนเสนอหัวเรื่องท่ีสนใจ ครูภัทรวดีจะถามว่า “ทำไมถึงสนใจ รู้อะไร
เก่ียวกับเรื่องที่สนใจบ้าง คิดว่าจะไปค้นคว้าเพ่ิมเติมได้จากท่ีไหน” ในท่ีน้ีครูภัทรวดีได้แนะนำ
เอกสารที่นักเรียนจะค้นควา้ เพิ่มเติมทั้งจากหอ้ งศนู ย์สงั คมศึกษาฯ หอ้ งสมดุ โรงเรียน และหอสมดุ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง รวมทั้งพูดคุยซักถามผู้รู้จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ซึ่งกลุ่ม
สาระสังคมศึกษาฯ เป็นเครือข่ายและร่วมมือกับแหล่งเรียนรู้ดังกล่าวในการจัดกิจกรรมการใช้
แหล่งเรยี นร้จู ากพิพิธภัณฑ์ และในการค้นควา้ นน้ั ต้องตอบคำถามใหไ้ ด้ว่า ใคร ทำอะไร ทไี่ หน
เมื่อไร ทำไม อย่างไร นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูล อ้างอิงแหล่งที่มา วางแผน


นำเสนอรายงานผลการศึกษาค้นคว้า เมื่อนักเรียนนำเสนอแล้วครูภัทรวดีได้ซักถามสิ่งที่นักเรียน
ได้ค้นควา้ วา่ มแี หล่งท่ีมาจากที่ใด ขอ้ มูลทนี่ ำเสนอนา่ เชือ่ ถือได้หรือไม่ ในการนำเสนอรายงานน้ี

88 เพื่อนค่คู ดิ มติ รคู่ครู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรูป้ ระวตั ิศาสตร


Click to View FlipBook Version