The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by E-BOOK MCUKK, 2021-03-03 01:49:42

เพื่อนคู่คิด มิตรคู่ครู

สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ไขปัญหา กล้าเผชิญ
สถานการณ์ ได้มีส่วนร่วม และได้ร่วมมือพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน อันเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกัน
การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ควรเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ที่เรียกว่า “วิธีการ


ทางประวัติศาสตร์” (Historical method) ซึ่งเป็นวิธีการท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตรและเหมาะสม
กับการพัฒนาผู้เรียนในยุคโลกาภิวัตน์ เพราะเด็กจะได้ฝึกฝนที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง เร่ิมด้วย

การรู้จักรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานท่ีมีอยู่ในท้องถิ่นที่หลากหลาย ได้ฝึกทักษะแยกแยะข้อเท็จจริง

ได้อยา่ งมเี หตุผล อันเป็นทักษะที่จำเป็นในการดำรงชวี ติ ในโลกยุคขอ้ มลู ข่าวสาร

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical method)


ซ่ึงสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้กำหนดการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการทาง
ประวัตศิ าสตร์ (Historical method) เปน็ ๕ ขั้นตอน ดงั น้ี




ข้ันตอนวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์



๕. นำเสนอผลงาน ๑. กำหนดหวั ขอ้ ประเด็น





๔. ตคี วาม/สงั เคราะห ์ ๒. รวบรวมขอ้ มูล







๓. วิเคราะห/์ ประเมนิ คณุ คา่



ภาพประกอบ ข้ันตอนวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร


การจัดการเรียนรู้โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical method) สำหรับ
นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา ควรคำนงึ ดังน้

๑. การกำหนดหัวข้อท่ีจะศึกษา ครูควรกำหนดหัวข้อ ให้ผู้เรียนเลือกศึกษาหัวข้อ

ท่ีกำหนด ควรเป็นหัวข้อเล็กๆ เป็นเรื่องท่ีใกล้ตัว เหมาะสมกับระดับความรู้ ความสามารถ


ของผูเ้ รยี น

๒. การรวบรวมข้อมลู ควรจะเป็นการศึกษาจากหลักฐานง่ายๆ ควรแนะนำถงึ วิธกี าร
การสอบถาม การเล่าเร่ือง การระบุหลักฐาน แหล่งข้อมูล การแยกแยะประเภทหลักฐาน


ครูควรแนะนำ เตรียมเอกสารและสื่อท่ีเกี่ยวข้องไว้ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าตามความเหมาะสม
กบั ระดับความรู้ ความสามารถของผเู้ รียน


เพื่อนคู่คิด มติ รค่คู ร
ู 139
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูป้ ระวัติศาสตร์

๓. การวิเคราะห์/ประเมินคุณค่า ควรให้ผู้เรียนได้รวบรวม เรียบเรียง หรือลำดับ
เหตุการณ์เร่ืองท่ีจะศึกษา ตามหลักฐานที่หลากหลาย จากหลักฐานง่ายๆ เหมาะสมกับระดับ
ความรู้ ความสามารถของผเู้ รยี น ควรใหค้ ำแนะนำ ชีแ้ นะ ในขณะท่ีนกั เรียนศึกษา

๔. การตีความ/สังเคราะห์ ควรให้ผู้เรียนได้ตีความจากหลักฐานท่ีศึกษาท่ีม


ความขัดแยง้ กัน ไม่สอดคลอ้ งกนั ผเู้ รียนตัดสินวา่ จะเลือกสงิ่ ใด ด้วยเหตผุ ลอะไร ควรใหค้ ำแนะนำ
ช้แี นะ ในขณะที่นกั เรยี นศกึ ษา

๕. การนำเสนอผลงาน ควรคำนึงถึงความสามารถของผู้เรียน อาจเป็นการเล่าเร่ือง
ลำดับเหตุการณท์ เ่ี กิดขึน้ การแสดงผงั ความคดิ ภาพวาด เป็นต้น

การสืบค้นเร่ืองราวในท้องถ่ินโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical method)
สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา ไม่มีความจำเป็นท่ีจะต้องเรียนรู้ทุกขั้นตอนในคร้ังเดียว

ทั้งไม่ต้องสอนความหมาย ความสำคัญ ตามรูปแบบที่น่าเบ่ือหน่ายสำหรับนักเรียน แต่สามารถ


ท่ีจะจัดกิจกรรมเพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ละข้ันตามลำดับ ข้ึนอยู่กับความเหมาะสม

กบั ชนั้ เรียน วัยของผเู้ รียน ดงั นี้

ป.๑ : สอบถามและเลา่ เรื่องประวตั คิ วามเป็นมาของตนเองและครอบครัว

ป.๒ : ใชห้ ลกั ฐานทีเ่ กย่ี วข้องกับตนเองและครอบครัวลำดบั เหตกุ ารณ์ทีเ่ กิดขึน้

ป.๓ : ระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรียนและชุมชน และลำดับ


เหตุการณส์ ำคัญทเ่ี กิดข้ัน

ป.๔ : แยกแยะประเภทหลักฐานทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาความเป็นมาของท้องถนิ่

ป.๕ : สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย รวบรวม


ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และแยกแยะความแตกต่างระหว่างความจริง


กบั ขอ้ เทจ็ จริงเกีย่ วกบั เรอื่ งราวในทอ้ งถ่ิน

ป.๖ : อธิบายความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ (อย่างง่ายๆ) และ


นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานท่ีหลากหลายในการทำความเข้าใจเร่ืองราว

ในอดีต

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน กำหนดในระดับ

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เรื่อง เมอื งฟ้าแดดสงยาง ดังน
้ี
๑. กระตนุ้ ให้นกั เรยี นสนใจ เข้าใจเกยี่ วกบั พ้ืนฐาน เรอื่ ง เมอื งฟา้ แดดสงยาง ดงั น้ี

๑.๑ แนะนำเกี่ยวกับเรื่อง เมืองฟ้าแดดสงยาง โดยเลือกใช้สื่อ VCD หรือ

ภาพเก่ียวข้องกับเมอื งฟ้าแดดสงยาง

๑.๒ แนะนำหนังสือท่ีกล่าวถึง เร่ือง เมืองฟ้าแดดสงยาง เช่น หนังสือ


พระราชวงศ์จักรีกับ ๒๐๐ ปี กาฬสินธุ์ หนังสือตำนานนางฟ้าหยาด หนังสืออ่านเพ่ิมเติม


จังหวัดกาฬสินธุ์ของเรา หนังสือวัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา
จงั หวดั กาฬสนิ ธ
์ุ

140 เพอื่ นค่คู ดิ มติ รคู่ครู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ประวตั ศิ าสตร์

๒. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ละ ๕-๖ คน ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเลือกเรื่อง


ท่ีกลุ่มตนเองสนใจ ตามท่ีครูกำหนดให้เป็นเร่ืองย่อยเล็กๆ เช่น ใบเสมา พระธาตุยาคู พระพิมพ์
เมืองฟ้าแดดสงยาง ลักษณะเมอื งฟา้ แดดสงยาง บุญประเพณี

๓. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มกำหนดประเด็นที่จะศึกษา หากจะศึกษาเกี่ยวกับพระธาตุยาคู

กำหนดหวั ขอ้ เช่น รปู ทรง ขนาด ลักษณะ ความเปน็ มา ความสำคญั เพื่อเป็นแนวทางการศึกษา

๔. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐาน เพ่ือเรียบเรียงเป็นเร่ืองราว
ตามหัวขอ้ ทก่ี ำหนด

๕. ใหผ้ เู้ รียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันตคี วามและสงั เคราะหเ์ พอ่ื ค้นหาขอ้ เท็จจริง เมือ่ พบว่า
ข้อมูล หลักฐานมีความขัดแย้งกัน ไม่สอดคล้องกัน ให้ผู้เรียนตัดสินว่าจะเลือกสิ่งใด ด้วยเหตุผล
อะไร

๖. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้ที่ค้นพบ นำเสนอผลงานตามความสามารถ


ของผู้เรียน และความเหมาะของเนื้อหา เช่น นำเสนอปากเปล่า เล่าเร่ือง ภาพวาด ผังความคิด
คุณค่าของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นการให้ผู้เรียน

ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เกิดความสนใจ อยากรู้ อยากเรียน ส่งผลให้ได้รับการพัฒนาทักษะ

ด้านการวางแผนการทำงาน การกำหนดประเด็น การตัดสินใจ การวิเคราะห์ สังเคราะห์

ตีความ ประเมินค่า การแสดงความคิดเห็น การทำงานกลุ่ม การแสดงออก การนำเสนอ

และทักษะการคิดได้เป็นอย่างดี ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง ได้รับการพัฒนาบุคลิกภาพผ่าน


การทำงานอย่างเป็นระบบ ได้ฝึกฝนคุณธรรมและจริยธรรมในการดำเนินชีวิต มีเจตคติที่ดีต่อ

การเรียนรูเ้ ร่อื งราวต่างๆ เขา้ ใจสงั คมท้องถ่ินเพิม่ ข้นึ มีความผกู พนั กบั ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ เกดิ ความรกั


และภูมิใจในท้องถิ่นและประเทศชาติ และมีทักษะชีวิต รู้เท่าทันโลกในยุคโลกาภิวัตน์ จะเห็นว่า

วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ง่ายๆ แต่ผลที่เกิดกับผู้เรียนอย่างหลากหลาย
ย่อมจะส่งผลต่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ได้อย่างมีคุณค่า ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณค่า
ผู้ทมี่ ีความสำคัญทีส่ ดุ คอื “คร”ู


พระธาตุยาคู เมอื งฟ้าแดดสงยาง
141
อำเภอกมลาไสย จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ


เพอื่ นคู่คดิ มิตรคคู่ ร

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระวัตศิ าสตร์

รายการอ้างองิ


คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, สำนักงาน. ๒๕๕๑. ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย : กรงุ เทพมหานคร.


คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, สำนักงาน. ๒๕๕๑. หลักสูตรแกนกลางการศึกษา


ข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย :
กรุงเทพมหานคร.


ชัยวัฒน์ สุทธรักษ์. ๒๕๕๓. สอนประวัติศาสตร์ให้เด็กมีความสุข สนุกคิด. พิมพ์ครั้งที่ ๓.

สหมติ รพริ้นตงิ้ แอนดพ์ ลบั ลิชช่ิง : นนทบรุ ี.


นิธิ เอยี วศรวงศ์ และอาคม พัฒิยะ. หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ในประเทศไทย ตรงตามหลกั สูตร
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พ.ศ. ๒๕๒๔. บรรณกจิ : กรุงเทพมหานคร.


วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนัก. ๒๕๕๓. แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร

แกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตร


แหง่ ประเทศไทย : กรงุ เทพมหานคร.


วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนัก. ๒๕๕๓. แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. โรงพิมพ

ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย : กรุงเทพมหานคร.


วิชาการ, กรม. ๒๕๔๒. คมู่ ือการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนประวัตศิ าสตร์ : ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
จะเรยี นจะสอนกนั อยา่ งไร. โรงพิมพ์การศาสนา : กรงุ เทพมหานคร.


วินัย พงศ์ศรีเพียร. ๒๕๕๒. วันวาร กาลเวลา แลนานาศักราช. พิมพ์คร้ังที่ ๒. ศักดิโสภา

การพมิ พ์ : กรงุ เทพมหานคร.


142 เพ่ือนคคู่ ิด มิตรคคู่ รู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูป้ ระวตั ิศาสตร


ภาคผนวก




๑. เอกสารเก่ียวกับนโยบายการสอนวิชาประวตั ิศาสตร

๒. ตัวช้ีวัดสาระประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ


วฒั นธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๓. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/สาระการเรียนร
ู้

กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม : สาระประวตั ศิ าสตร์

๔. โครงสร้างเวลาเรยี นประวตั ิศาสตร

๕. ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

๖. บรรณนทิ ศั นเ์ อกสารสำคัญสำหรบั ครผู สู้ อนประวตั ศิ าสตร


เอกสารเก่ียวกับนโยบายการสอนวิชาประวัตศิ าสตร


ท่ี ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๘๑๐ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐


๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๒


เร่อื ง ชี้แจงแนวปฏบิ ัตทิ สี่ อดคล้องกับนโยบายการจัดการเรียนการสอนประวตั ิศาสตร

เรียน ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาทุกเขต/ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา

อา้ งถึง หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๓๐ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๒ เรื่อง การดำเนินการ


ตามโครงการประชุมสัมมนาเชงิ ปฏิบัติการ เรอื่ ง การเรยี นรปู้ ระวัติศาสตร

ตามหนังสือที่อ้างถึง ให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์เป็นวิชาเฉพาะ
อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง จึงมีข้อคำถามเก่ียวกับเร่ืองน้ีตลอดเวลา เพ่ือให้มีความชัดเจน


ในการปฏิบตั ิ สพฐ. ขอเรียนชแี้ จงรายละเอยี ด ดังน
้ี
๑. ปรับโครงสร้างเวลาเรียนหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ดงั น้

ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖) เพ่ิมเวลาเรียนสาระพ้ืนฐาน


ในกล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม จาก ๘๐ ชั่วโมงตอ่ ปี เปน็ ๑๒๐ ชวั่ โมงตอ่ ปี


โดยกำหนดให้เรียนสาระประวัติศาสตร์ ๔๐ ช่ัวโมงต่อปี และเรียนสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม สาระเศรษฐศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์

๘๐ ช่ัวโมงต่อปี ปรับเวลาเรียนรวม (พื้นฐาน) จาก ๘๐๐ ช่ัวโมงต่อปี เป็น ๘๔๐ ช่ัวโมงต่อปี

และปรับเวลาเรียนรายวิชา/กิจกรรมท่ีสถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมตามความพร้อมและจุดเน้นจาก

๘๐ ชวั่ โมงต่อปี เป็นปลี ะไมเ่ กนิ ๔๐ ชว่ั โมงต่อปี

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๓) เพิ่มเวลาเรียนสาระพ้ืนฐาน

ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จาก ๑๒๐ ชั่วโมงต่อปี (๓ หน่วยกิต)

เปน็ ๑๖๐ ช่ัวโมงต่อปี (๔ หน่วยกิต) โดยกำหนดใหเ้ รยี นสาระประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ชั่วโมงต่อปี (๑ หนว่ ยกิต)
และเรยี นสาระศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม สาระหน้าทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนินชวี ิตในสังคม


สาระเศรษฐศาสตรแ์ ละสาระภูมิศาสตร์ ๑๒๐ ชัว่ โมงต่อปี (๓ หน่วยกิต) ปรบั เวลาเรียนรวม (พืน้ ฐาน)
จาก ๘๔๐ ชั่วโมงต่อปี (๒๑ หน่วยกิต) เป็น ๘๘๐ ชั่วโมงต่อปี (๒๒ หน่วยกิต) และปรับรายวิชา/
กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้นจาก ๒๔๐ ช่ัวโมงต่อปี เป็นปีละไม่เกิน
๒๐๐ ชั่วโมงต่อป


144 เพือ่ นค่คู ิด มติ รค่คู รู

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖) เพิม่ เวลาเรียนสาระพ้ืนฐาน
ในกลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จาก ๒๔๐ ชั่วโมง ตลอด ๓ ปี (๖ หนว่ ยกติ )
เป็น ๓๒๐ ชั่วโมง ตลอด ๓ ปี (๘ หน่วยกิต) โดยกำหนดให้เรียนสาระประวัติศาสตร์ ๘๐ ชั่วโมง

ตลอด ๓ ปี (๒ หน่วยกติ ) และเรียนสาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม สาระหนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรม

และการดำเนินชีวิตในสังคม สาระเศรษฐศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ ๒๔๐ ชั่วโมง ตลอด ๓ ปี

(๖ หน่วยกิต) ปรับเวลาเรียนรวม (พื้นฐาน) จาก ๑,๕๖๐ ช่ัวโมง ตลอด ๓ ปี (๓๙ หน่วยกิต)

เป็น ๑,๖๔๐ ชั่วโมง ตลอด ๓ ปี (๔๑ หน่วยกิต) และปรบั รายวิชา/กจิ กรรมท่สี ถานศึกษาจัดเพิม่ เตมิ

ตามความพร้อมและจดุ เนน้ จากไมน่ ้อยกวา่ ๑,๖๘๐ ชัว่ โมง ตลอด ๓ ปี เปน็ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑,๖๐๐ ชว่ั โมง

ตลอด ๓ ปี

๒. ปรับเกณฑ์การจบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นและระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ดงั นี

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ปรับเกณฑ์การจบการศึกษา รายวิชาพื้นฐาน จากเดิม

๖๓ หน่วยกิต เปน็ ๖๖ หน่วยกติ และรายวชิ าเพ่มิ เตมิ จากเดิมไมน่ ้อยกวา่ ๑๔ หนว่ ยกิต เปน็ ไมน่ ้อยกว่า
๑๑ หนว่ ยกิต

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปรับเกณฑ์การจบการศึกษา รายวิชาพื้นฐานจากเดิม

๓๙ หน่วยกิต เป็น ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเตมิ จากเดมิ ไม่นอ้ ยกว่า ๓๘ หน่วยกติ เปน็ ไม่นอ้ ยกว่า
๓๖ หนว่ ยกติ

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นไปตามแนวปฏิบัต


ดังกล่าว ท้ังน้ี สพฐ. กำลังดำเนินการจัดทำคำสั่ง สพฐ. เร่ือง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน


และเกณฑก์ ารจบการศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑



ขอแสดงความนับถอื





(คณุ หญงิ กษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา)

เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน





สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

กลมุ่ พฒั นาหลกั สูตร

โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๗๖, ๕๗๗๘

โทรสาร ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๗๒


เพือ่ นคูค่ ดิ มิตรคูค่ ร
ู 145
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนร้ปู ระวตั ศิ าสตร์

คำส่งั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

ที่ ๖๘๓/๒๕๕๒

เร่ือง การปรับปรุงโครงสรา้ งเวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศกึ ษาตามหลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑



อนุสนธิคำส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๒๙๓/๒๕๕๑ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลาง


การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ลงวนั ท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑

กระทรวงศึกษาธิการเห็นสมควรปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศึกษา


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการท่ีต้องการเน้นการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ จึงให้มีการปรับปรุงโครงสร้าง


เวลาเรียน และเกณฑ์การจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ท่แี นบ



ทง้ั น้ี ตง้ั แตบ่ ดั นเี้ ป็นต้นไป



สัง่ ณ วันท่ี ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒





(คณุ หญิงกษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา)

เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน


146 เพ่ือนคู่คดิ มติ รคคู่ รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ประวัติศาสตร


โครงสร้างเวลาเรยี น (แนบท้ายคำสง่ั สพฐ. ที่ ๖๘๓/๒๕๕๒ ลงวันท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒)


หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดงั น
้ี

เวลาเรยี น



กล ุม่ สกาิจระกกรารรมเ รียนร ู้ ป.๑ ป. ๒ร ะดปบั .ป๓ร ะถป ม.ศ๔ ึก ษาป .๕ ป.๖ ระมด.๑บั มัธยมมศ.๒กึ ษ าตอมน.๓ต น้
ระดบั มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

ม.๔-๖


● กล่มุ สาระการเรยี นร
ู้

ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐

(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)


คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐

(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)


วทิ ยาศาสตร ์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐

(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)


สงั คมศึกษา ศาสนา ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๓๒๐

และวฒั นธรรม (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) (๘ นก.)


❍ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐

(๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.) (๒ นก.)


❍ ศาสนา ศีลธรรม

จริยธรรม


❍ หน้าท่พี ลเมอื ง
๒๔๐

วฒั นธรรม และ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๖ นก.)

การดำเนนิ ชีวติ ในสังคม (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

❍ เศรษฐศาสตร


❍ ภมู ิศาสตร์


สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐

(๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.)


ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐

(๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.)


การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐

(๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.)


ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐

(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)


รวมเวลาเรียน ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๑,๖๔๐

(พื้นฐาน) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๔๑ นก.)


● กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐


● รายวิชา/กจิ กรรมท

่ี ไม่นอ้ ยกวา่


สถานศึกษาจดั เพ่ิมเติม ปีละไมเ่ กิน ๔๐ ช่ัวโมง ปลี ะไม่เกนิ ๒๐๐ ช่ัวโมง ๑,๖๐๐ ชวั่ โมง

ตามความพรอ้ มและจดุ เน้น

รวม ๓ ป

รวมเวลาเรียนท้งั หมด ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชัว่ โมง/ป ี ไมเ่ กนิ ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง/ปี ไมน่ อ้ ยกวา่

๓,๖๐๐ ชว่ั โมง


เพอ่ื นคคู่ ิด มิตรคูค่ ร
ู 147
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรปู้ ระวัตศิ าสตร


เกณฑ์การจบการศึกษา (แนบท้ายคำส่ัง สพฐ. ที่ ๖๘๓/๒๕๕๒ ลงวนั ที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒)


เกณฑ์การจบการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑

๑. เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็น
รายวิชาพ้ืนฐาน ๖๖ หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมตามทสี่ ถานศึกษากำหนด

(๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็น
รายวิชาพน้ื ฐาน ๖๖ หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพมิ่ เติม ไมน่ ้อยกว่า ๑๑ หนว่ ยกิต

(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ


ผา่ น เกณฑ์การประเมินตามที่สถานศกึ ษากำหนด

(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ

การประเมินตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด

(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ

การประเมินตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด

๒. เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

(๑) ผู้เรียนเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานและเพิม่ เติม ไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็น
รายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวชิ าเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด

(๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็น
รายวชิ าพนื้ ฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเติม ไมน่ อ้ ยกว่า ๓๖ หน่วย

(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ


ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามท่สี ถานศึกษากำหนด

(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ

การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด

(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ


การประเมินตามทส่ี ถานศึกษากำหนด


148 เพอื่ นคู่คิด มติ รค่คู รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระวตั ิศาสตร


ด่วนทสี่ ดุ


ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๙๔๐ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐


๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๒


เร่ือง ช้ีแจงแนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับนโยบายการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ สำหรับสถานศึกษา

ทใ่ี ชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔


เรยี น ผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาทกุ เขต


อา้ งถงึ หนังสอื สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๘๑๐ ลงวนั ที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๒


ตามหนังสือท่ีอ้างถึงสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ออกแนวปฏิบัติเพื่อให

สอดคล้องกับนโยบายการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ที่กำหนดให้สถานศึกษา

จัดให้ผู้เรียนทุกคน ได้เรียนวิชาประวัติศาสตร์เป็นรายวิชาพื้นฐานสัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง ตามหลักสูตร


แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ แล้วน้ัน เนื่องจากในปีการศึกษา ๒๕๕๒-๒๕๕๔


ยังมีสถานศึกษาท่ีใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ดังน้ันเพ่ือให้สถานศึกษาดังกล่าว


มีแนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับนโยบายในการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ สพฐ. ขอเรียนช้ีแจง


แนวปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศึกษาทใี่ ชห้ ลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๔ ดงั น้

๑. ชว่ งชน้ั ที่ ๑-๓ (ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถึงช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓) ให้สถานศึกษาจัดการเรยี นการสอน


สาระประวัติศาสตร์เป็นรายวิชาพื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นการเฉพาะ
สปั ดาห์ละ ๑ ชั่วโมง

๒. ชว่ งชน้ั ที่ ๔ (ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔-๖) ให้สถานศกึ ษาจดั การเรียนการสอนสาระประวัติศาสตร์ ดงั น
้ี
- ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนสาระประวัติศาสตร

เป็นรายวิชาพื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง

จำนวน ๒ หน่วยกติ ภายใน ๓ ปี

- ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๕-๖ ให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนสาระประวัติศาสตร์เป็น
รายวิชาพน้ื ฐานในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สปั ดาห์ละ ๑ ชั่วโมง ทกุ ภาคเรียน

ในกรณีท่ีสถานศึกษาจัดให้เรียนสาระประวัติศาสตร์ครบทุกมาตรฐานการเรียนรู้ตามท่ีกำหนดไว้


ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ในช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๕ แล้ว อาจไม่ต้อง


จัดให้เรียนรายวชิ าประวัติศาสตรใ์ นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ อกี ก็ได้


จงึ เรียนมาเพื่อทราบและแจง้ สถานศกึ ษาในสังกัดทราบและถือปฏบิ ัต


ขอแสดงความนบั ถอื





(นายวนิ ัย รอดจ่าย)

รองเลขาธิการ รักษาราชการแทน

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

กล่มุ พัฒนาหลกั สตู ร

โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๗๖, ๕๗๗๘ โทรสาร ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๗๒


เพ่ือนคูค่ ดิ มติ รคู่คร
ู 149
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ประวัติศาสตร์

ตวั ช้วี ดั สาระประวัติศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑




ตวั ชว้ี ัดระบุสงิ่ ท่ผี ู้เรยี นพึงรู้และปฏบิ ตั ิได้ รวมทั้งคณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี นในแต่ละระดับช้ัน
ซ่ึงสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรมนำไปใช้ใน

การกำหนดเน้ือหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับ


การวัดประเมินผลเพ่ือตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ในส่วนของตัวชี้วัดของสาระประวัติศาสตร์


กล่มุ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ไดก้ ำหนดไว้ ดงั น
ี้

ระดับประถมศึกษา



ช้ัน กมาารตเรรฐียานนร
ู้
ตวั ชว้ี ดั รวมตัวช้วี ัด รวมทงั้ ช้นั


ส ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ๓


ป.๑ ส ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ๒ ๘


ส ๔.๓ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ๓


ส ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ๒


ป.๒ ส ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ๒ ๖


ส ๔.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ๒


ส ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ๒


ป.๓ ส ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ๓ ๘


ส ๔.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ๓


ส ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ๓


ป.๔ ส ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ๒ ๘


ส ๔.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ๓


ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ๓


ป.๕ ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ๒ ๙


ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ๔


ส ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ๒


ป.๖ ส ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ๒ ๘


ส ๔.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ ๔


รวม ๔๗


150 เพือ่ นคูค่ ิด มิตรคู่ครู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรปู้ ระวัติศาสตร


ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้



ชัน้ กมาารตเรรฐียานนร

ู ตัวชี้วดั รวมตัวชวี้ ัด รวมท้งั ชั้น


ส ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ ๓


ม.๑ ส ๔.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ๒ ๘


ส ๔.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ ๓


ส ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ ๓


ม.๒ ส ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒ ๒ ๘


ส ๔.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ ๓


ส ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ๒


ม.๓ ส ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ๒ ๘


ส ๔.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ ๔


รวม ๒๔


ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย



ช้นั กมาารตเรรฐียานนร
ู้
ตวั ชว้ี ัด รวมตัวชี้วัด รวมท้ังชั้น


ส ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒ ๒
๑๑

ม.๔-๖ ส ๔.๒ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔ ๔
ส ๔.๓ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ๕

ม.๔-๖/๕


เพื่อนค่คู ิด มติ รคคู่ ร
ู 151
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ประวตั ศิ าสตร์

การวิเคราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหว่างมาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชี้วดั /สาระการเรยี นร
ู้

กลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : สาระประวัตศิ าสตร์


ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็น
ระบบ


ตวั ชี้วัด ผ้เู รียนรอู้ ะไร ผูเ้ รยี นทำอะไรได

๑. บอกวนั เดือน ปี และการนับ
เวลามคี วามสำคญั ตอ่ การบันทกึ
ใช้ปฏทิ นิ แสดงวัน เดือน ปี

ชว่ งเวลาตามปฏิทินที่ใช
้ ทางประวตั ิศาสตร

กบั เหตุการณ์สำคัญในชีวติ

ในชวี ิตประจำวนั



๒. เรียงลำดับเหตุการณ์

เหตุการณท์ ่ีมคี วามสำคญั ควรจดจำ ๑. ใชค้ ำทีแ่ สดงชว่ งเวลา วนั น ้ี

ในชีวิตประจำวนั ตามวนั
ตามวัน เวลาที่เกิดขึ้น
เด๋ยี วน้ี ปนี ี้ ตอนเช้า ตอนกลางวัน

เวลาที่เกิดขน้ึ


ตอนเยน็ บอกเล่าเหตุการณ



ในชวี ิต



๒. ใช้วัน เดอื น ปี เรียงลำดบั


เหตุการณ์ในชวี ิต

๓. บอกประวตั คิ วามเป็นมา

ของตนเองและครอบครัว
การสบื ค้นขอ้ มลู มคี วามสำคัญต่อ ๑. ตง้ั ประเด็นคำถามตวั บุคคล


โดยสอบถามผเู้ กยี่ วข้อง
การเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์
หลกั ฐานทเี่ ก่ียวขอ้ ง ออกแบบ

เกบ็ ขอ้ มูล


๒. สืบค้นขอ้ มูลทางประวตั คิ วาม
เป็นมาของตนเองและครอบครวั


มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกิดขึ้น


ตัวช้ีวัด ผูเ้ รียนรอู้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได้


๑. บอกความเปลย่ี นแปลงของ ความเปล่ยี นแปลงของ
๑. บอกสง่ิ ทีเ่ ปล่ียนแปลงจาก

สภาพแวดลอ้ มส่งิ ของ เครื่องใช้ สภาพแวดลอ้ มและการดำเนนิ ชวี ติ
สมัยของพอ่ แม่ ปูย่ า่ ตายาย

หรอื การดำเนินชีวติ ของตนเอง สมยั ของตนเองกับสมัยของพอ่ แม่ กบั สมยั ของปัจจบุ นั

กบั สมยั ของพ่อแม่ ปยู่ ่า ตายาย
ปยู่ า่ ตายาย
๒. บอกสาเหตุที่ทำให้เกิด


การเปลยี่ นแปลง

๓. บอกผลของการเปลีย่ นแปลง


ทม่ี ีต่อการดำเนนิ ชวี ิตในปัจจุบนั


152 เพ่ือนคูค่ ดิ มิตรค่คู รู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร


ตัวชว้ี ัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรยี นทำอะไรได

๑. บอกเหตกุ ารณ์สำคญั ท่เี กิดขนึ้

๒. บอกเหตกุ ารณ์ทเี่ กดิ ข้นึ ในอดีต
เหตุการณใ์ นอดีตสง่ ผลต่อ

ท่ีมีผลกระทบตอ่ ตนเอง

การดำเนินชีวติ ของตนเอง
ในครอบครัว เช่น การย้ายบา้ น
ในปจั จุบัน
ในปัจจบุ ัน
ย้ายโรงเรียน การสูญเสยี บคุ คล
ในครอบครวั

๒. บอกผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้น

จากเหตกุ ารณ์ในอดีตของ

ในครอบครัว


มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย


ตัวช้วี ดั ผู้เรยี นรอู้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได้

๑. บอกความหมายและความสำคัญ
๑. อธิบายความหมายและ
รักและภาคภมู ิใจในความเปน็

ความสำคัญของสัญลกั ษณส์ ำคญั คนไทย

ของสญั ลักษณส์ ำคญั

ของชาตไิ ทยและปฏบิ ัตติ น


ของชาตไิ ทย

ได้ถกู ต้อง



๒. ปฏบิ ตั ิตนไดถ้ ูกตอ้ งต่อสญั ลักษณ์



สำคญั ของชาติไทย


รกั ภาคภมู ิใจ และหวงแหน ๑. บอกลกั ษณะแหล่งวัฒนธรรม


๒. บอกสถานท่สี ำคัญ ซึ่งเปน็
วัฒนธรรมในชุมชน
ในชมุ ชน

แหล่งวัฒนธรรมในชมุ ชน


๒. เชือ่ มโยงจากส่งิ ของจากแหล่ง




วัฒนธรรมส่กู ารดำเนินชีวติ ของ


คนในชมุ ชน

เลอื กและแสดงวิธีการอนุรักษ์สง่ิ ท


๓. ระบสุ ่งิ ที่ตนรักและภาคภมู ใิ จ
รกั และภาคภูมใิ จในความเปน็
ผ้เู รยี นรกั และประทับใจในชมุ ชน

ในทอ้ งถน่ิ
ท้องถ่นิ



เพื่อนคู่คดิ มติ รคคู่ ร
ู 153
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็น
ระบบ


ตัวช้ีวดั ผ้เู รียนรู้อะไร ผูเ้ รยี นทำอะไรได

๑. บอกเวลาทีเ่ ปน็ อดตี ปจั จบุ ัน
๑. ใชค้ ำระบเุ วลาที่แสดงเหตุการณ์ ช่วงเวลาของอดีต ปจั จุบัน และ
ในอดีต ปัจจบุ ัน และอนาคต
อนาคตมผี ลตอ่ การดำเนินชวี ติ
และอนาคต




๒. ระบุวนั สำคญั ท่ปี รากฏในปฏิทนิ







ท่แี สดงเหตกุ ารณ์สำคญั ในอดีต
และปัจจบุ นั

๒. ลำดบั เหตุการณท์ เ่ี กิดขน้ึ ใน หลกั ฐานทเี่ ก่ียวขอ้ งมคี วามสำคญั ๑. ระบหุ ลกั ฐานและเหตุการณ


ครอบครัวหรือในชีวติ ของตนเอง ต่อการเรยี นร้เู หตกุ ารณ์ในอดตี
ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในครอบครัวในอดตี
โดยใช้หลักฐานที่เกยี่ วขอ้ ง
ปจั จบุ ัน และอนาคต ทท่ี ำให้
เข้าใจการเปล่ียนแปลงชีวติ

ในแตช่ ว่ งเวลา

๒. ระดมความคิด สรา้ ง และนำเสนอ
time line ในการลำดับ
เหตุการณ์ท่ีเกดิ ข้ึนกับตนเอง
และครอบครัวในแตล่ ะชว่ งเวลา


มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบทเ่ี กิดข้นึ


ตวั ช้วี ัด ผเู้ รียนร้อู ะไร ผู้เรียนทำอะไรได

๑. สืบค้นถงึ การเปลยี่ นแปลงใน

ชมุ ชนเปลี่ยนไปวิถชี ีวิตเปลี่ยนตาม
๑. สืบค้นการเปล่ยี นแปลงใน

วถิ ชี ีวิตประจำวนั ของคน


วิถีชวี ิตประจำวันของคนในชุมชน
ในชุมชน ของตนจากอดีต

ของตนจากอดตี ถงึ ปัจจบุ นั

ถงึ ปัจจุบัน



๒. ระบสุ าเหตุของการเปลย่ี นแปลง


วิถชี ีวติ ของคนในชุมชน

๒. อธิบายผลกระทบของ

การเปลย่ี นแปลงที่มีตอ่ วถิ ีชีวติ ชุมชนเปลย่ี นไปวิถชี ีวติ เปลย่ี นตาม
วเิ คราะห์ผลกระทบของ

ของคนในชุมชน
การเปลย่ี นแปลงทม่ี ตี อ่ วถิ ชี ีวิต

ของคนในชุมชน





154 เพือ่ นคู่คดิ มติ รคคู่ รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้ปู ระวัตศิ าสตร์

มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภูมใิ จ และธำรงความเปน็ ไทย


ตัวชวี้ ัด ผ้เู รยี นรู้อะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้

๑. บอกลกั ษณะของบุคคลทีท่ ำ
๑. ระบุบุคคลท่ที ำประโยชนต์ อ่
คนดีของทอ้ งถน่ิ เป็นบุคคลท่ที ำ
ท้องถิ่นหรือประเทศชาต
ิ ประโยชนต์ อ่ แผน่ ดนิ ประเทศชาติ ประโยชนต์ ่อท้องถน่ิ



สมควรไดร้ ับการยกย่อง
๒. อธบิ ายคุณประโยชนแ์ ละ




ผลงานของบคุ คลในทอ้ งถิ่น

๒. ยกตวั อย่างวัฒนธรรม ประเพณี วัฒนธรรม ประเพณี
๑. บอกลกั ษณะของวฒั นธรรม
และภมู ิปัญญาไทยที่ภาคภูมใิ จ และภมู ิปัญญาไทย เปน็ สิง่ ท
่ี
และควรอนรุ กั ษไ์ ว
้ ทรงคณุ ค่าควรแกค่ วามภาคภูมิใจ ประเพณี และภมู ปิ ญั ญาไทย


และควรอนรุ กั ษ์ไว
้ ทค่ี วรอนุรกั ษ์

๒. เลือกวธิ กี ารดูแล รักษา
วฒั นธรรม ประเพณ


และภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน


ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์



สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็น
ระบบ


ตัวชวี้ ดั ผเู้ รียนรอู้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได้

๑. ระบคุ วามหมายและทมี่ าของ
๑. เทียบศักราชท่ีสำคัญตามปฏทิ ิน ชีวติ ประจำวนั สมั พันธก์ บั ศักราช


ที่ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน


ศกั ราชทป่ี รากฏในปฏิทิน





๒. ใช้ศักราชในการบนั ทกึ เหตกุ ารณ์






สำคญั ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับตนเองและ
ครอบครัว

๒. แสดงลำดบั เหตุการณ์สำคญั
วิธีการ หลักฐาน แหล่งข้อมลู
๑. สบื คน้ ข้อมูลโดยการตัง้ ประเด็น
ของโรงเรยี นและชมุ ชนโดยระบ
ุ มีความสำคัญตอ่ การเรียนรู้ ตัวบคุ คล หลกั ฐานทเี่ ก่ียวขอ้ ง
หลกั ฐานและแหล่งขอ้ มลู

ประวตั ศิ าสตร
์ วิธกี ารเก็บขอ้ มูล เช่น รปู ภาพ
ท่เี กยี่ วข้อง
แผนผงั โรงเรยี น แผนท่ี


ชมุ ชน ห้องสมดุ โรงเรียน

แหลง่ โบราณคดปี ระวัตศิ าสตร์
ในท้องถนิ่ ได้

๒. แสดงลำดับเหตกุ ารณ์สำคญั

ของโรงเรียนและชมุ ชนโดยระบ


หลกั ฐานแหล่งข้อมูลที่เกีย่ วข้อง


เพอ่ื นคคู่ ดิ มิตรคู่คร
ู 155
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระวตั ิศาสตร


มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบทีเ่ กดิ ขึน้


ตวั ชีว้ ัด ผู้เรียนรูอ้ ะไร ผ้เู รียนทำอะไรได้


๑. ระบปุ จั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่
พฒั นาการของชุมชนข้ึนอยกู่ ับ ๑. อธิบายสภาพทางภมู ศิ าสตร์

การตั้งถิน่ ฐานและพฒั นาการ ปัจจัยการตง้ั ถน่ิ ฐาน
ทางสังคมเป็นปจั จัยสำคัญตอ่
ของชุมชน



การตั้งถิ่นฐานของชมุ ชน








๒. ระบปุ จั จยั ท่มี ีอิทธพิ ลต่อ



การตงั้ ถิ่นฐานของชุมชน

และพฒั นาการของชุมชน


๒. สรปุ ลกั ษณะทีส่ ำคัญของ
วฒั นธรรมคอื เอกลักษณ์ของชุมชน
บอกลักษณะของขนบธรรมเนยี ม
ขนบธรรมเนยี มประเพณี

ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
และวัฒนธรรมของชุมชน


ท่ีเกิดจากปัจจัยทางภมู ิศาสตร์และ


ปจั จัยทางสงั คม


๓. เปรียบเทียบความเหมือน
วัฒนธรรมคอื เอกลกั ษณข์ องชมุ ชน
ระบุความเหมอื นความต่าง

ความต่างทางวฒั นธรรม
ทางวัฒนธรรมของชมุ ชนตนเอง

ของชมุ ชนตนเองกับชมุ ชนอ่นื ๆ
กบั ชมุ ชนใกล้เคยี งได้ เชน่ อาหาร
ภาษา การแต่งกาย


มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภมู ใิ จ และธำรงความเปน็ ไทย


ตัวชว้ี ัด ผูเ้ รยี นรูอ้ ะไร ผเู้ รียนทำอะไรได

๑. ระบุพระนามและพระราช-
การเรยี นรู้พระราชกรณียกจิ
๑. ระบพุ ระนามพระมหากษัตริย


กรณียกจิ โดยสงั เขปของ
ของพระมหากษัตริยไ์ ทยกบั
ทีส่ ถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั
พระมหากษตั ริย์ไทยท่ีเปน็
การสรา้ งชาตไิ ทยในอดีตกอ่ ใหเ้ กิด อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสนิ ทร

ผสู้ ถาปนาอาณาจักรไทย

ความภาคภูมใิ จและเหน็ คณุ คา่
๒. อธิบายพระราชกรณยี กิจของ

ของความเป็นชาตไิ ทย

พระมหากษัตริยท์ ่ีสถาปนา


อาณาจักรสโุ ขทยั อยธุ ยา ธนบุรี


และรตั นโกสินทร์โดยสงั เขป

๒. อธบิ ายพระราชประวัติและ

พระราชกรณยี กจิ ของ
พระราชกรณยี กจิ ของ
๑. เล่าพระราชประวัตแิ ละ

พระมหากษตั รยิ ์ในรชั กาล พระมหากษตั ริยใ์ นรัชกาลปจั จบุ นั พระราชกรณยี กจิ ของพระบาท-
ปัจจบุ นั โดยสงั เขป
กอ่ ให้เกดิ คณุ ประโยชนต์ อ่ คนในชาติ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมพิ ลอดุลยเดช

การแสดงออกถงึ ความรัก
และสมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ิ์

ความกตญั ญตู ่อพระองคท์ ่าน
๒. ยกตวั อย่างพระราชกรณยี กจิ

เปน็ ส่งิ ทีท่ กุ คนต้องถอื ปฏิบัต
ิ ที่สำคัญท่เี ด็กภาคภมู ใิ จ


156 เพื่อนคู่คิด มติ รค่คู รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

ตวั ช้วี ัด ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ผูเ้ รยี นทำอะไรได

ระบุวรี กรรมของบรรพบุรุษไทย

๓. เลา่ วรี กรรมของบรรพบุรษุ ไทย

วีรกรรมการป้องกันชาตขิ อง
ท่มี ีส่วนปกป้องประเทศชาติ เชน่
ที่มสี ว่ นปกป้องประเทศชาต
ิ วีระบรุ ษุ
ทา้ วเทพสตรี ทา้ วศรีสุนทร

ชาวบา้ นบางระจนั พระยาพิชัย



ดาบหัก พระนเรศวรมหาราช

และพระเจา้ ตากสินมหาราช


ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็น
ระบบ


ตวั ชี้วัด ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ผ้เู รียนทำอะไรได


๑. นบั ชว่ ง เวลา เป็นทศวรรษ
ช่วงเวลามีความสำคัญตอ่ การบันทึก ๑. บอกความหมายและนบั ชว่ งเวลา
ศตวรรษ และสหัสวรรษ
ทางประวตั ศิ าสตร
์ เปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ




และสหสั วรรษได




๒. ใชท้ ศวรรษ ศตวรรษ และ



สหสั วรรษทป่ี รากฏในหนงั สอื พมิ พ


๒. อธิบายยุคสมยั ในการศกึ ษา ชว่ งเวลามีความสำคัญต่อการบนั ทกึ ๑. บอกเกณฑ์การแบง่ ยุคสมัย

ประวตั ขิ องมนุษยชาติ
ทางประวัติศาสตร

ในทางประวัติศาสตรข์ อง
โดยสังเขป



มนษุ ยชาตไิ ด



๒. บอกเกณฑ์การแบ่งช่วงสมัย



ในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ไทย


๓. แยกแยะประเภทหลกั ฐานท่ีใช
้ หลกั ฐานเป็นตวั บง่ ชเ้ี หตุการณ
์ ๑. ระบุประเภทของหลักฐาน


ในการศึกษาความเป็นมาของ ทางประวัตศิ าสตร
์ ทางประวตั ิศาสตร์

ท้องถ่ิน

๒. วิเคราะหไ์ ด้วา่ หลกั ฐานช้ันตน้
และหลักฐานชั้นรอง มีความ
สำคัญอย่างไรในการศกึ ษาข้อมูล
ทางประวตั ศิ าสตร์





เพอื่ นคู่คิด มิตรค่คู ร
ู 157
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบท่เี กดิ ขนึ้


ตวั ชีว้ ดั ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้

ระบปุ ัจจัยและลกั ษณะการตั้ง

๑. อธบิ ายการตั้งหลกั แหลง่
หลกั ฐานเป็นขอ้ มลู บ่งบอก หลักแหลง่ และพฒั นาการของมนุษย


และพฒั นาการของมนษุ ย

พัฒนาการของมนุษยชาต

ยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์และ

ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์และ

ยคุ ประวตั ศิ าสตร์ได

ยุคประวตั ศิ าสตรโ์ ดยสงั เขป

ยกตัวอยา่ งหลักฐานทาง
ประวัตศิ าสตรท์ ่ีพบในทอ้ งถิน่ ที่
๒. ยกตัวอย่างหลักฐานทาง หลักฐานเป็นข้อมลู บ่งบอก แสดงพฒั นาการของมนษุ ยชาต

ประวัตศิ าสตรท์ ่ีพบในท้องถน่ิ ท่ี พัฒนาการของมนษุ ยชาติ

แสดงพัฒนาการของมนษุ ยชาต


มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภมู ิใจ และธำรงความเปน็ ไทย


ตวั ชว้ี ดั ผเู้ รยี นรู้อะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้

๑. เล่าประวัตคิ วามเป็นมาของ

๑. อธบิ ายพฒั นาการของอาณาจกั ร อาณาจกั รสโุ ขทัย

สุโขทัยโดยสงั เขป


ชาตไิ ทยในสมัยสโุ ขทยั ได้




๒. วเิ คราะห์การพฒั นาการ







ทางการเมืองการปกครอง

และเศรษฐกิจในสมัยสโุ ขทยั

๒. บอกประวตั แิ ละผลงานของ อาณาจกั รสุโขทยั
๑. ระบชุ ่ือบคุ คลสำคญั


บุคคลสำคญั สมัยสุโขทยั

ในสมัยสุโขทยั




๒. อธิบายเกีย่ วกบั ประวัต





และวิเคราะหผ์ ลงานทเ่ี ป็น



คุณประโยชน์ตอ่ สังคม

๑. ระบภุ ูมปิ ัญญาไทยในสมยั สุโขทัย

๓. อธบิ ายภมู ปิ ัญญาไทยทส่ี ำคัญ อาณาจกั รสุโขทยั
๒. วิเคราะหค์ ุณค่าของภมู ิปญั ญา

สมยั สุโขทยั ท่ีน่าภาคภูมใิ จ
ในสมยั สุโขทยั

และควรค่าแกก่ ารอนุรกั ษ



158 เพอ่ื นค่คู ดิ มติ รคู่ครู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระวัติศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

สามารถใช้วิธกี ารทางประวัติศาสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่างๆ อยา่ งเปน็ ระบบ


ตวั ชีว้ ัด ผูเ้ รียนรอู้ ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้


๑. สืบคน้ ความเป็นมาของทอ้ งถ่นิ วิธีการทางประวัติศาสตร์เปน็ วธิ
ี ๑. ตง้ั ประเดน็ เลือกตัวบุคคล

โดยใช้หลกั ฐานทห่ี ลากหลาย
การเรียนรอู้ ารยธรรม วถิ ีชีวติ ของ หลักฐาน แหล่งข้อมูล



คนในอดีตโดยอาศยั การศึกษา
ที่หลากหลายในท้องถิน่



หลกั ฐาน วธิ ีการ และแหล่งขอ้ มูล

ทางประวัติศาสตร
์ ๒. สบื ค้นความเป็นมาของท้องถิ่น
โดยใช้หลกั ฐานทีห่ ลากหลาย


๒. รวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ตา่ งๆ วิธีการทางประวัติศาสตรเ์ ป็นวิธกี าร ๑. รจู้ กั แหล่งขอ้ มูลหลักฐาน


เพ่ือตอบคำถามทาง เรียนรอู้ ารยธรรม วถิ ีชวี ิตของคน
ทางประวัตศิ าสตร์ในทอ้ งถ่นิ

ประวัติศาสตรอ์ ยา่ งมีเหตุผล
ในอดตี โดยอาศยั การศกึ ษาหลกั ฐาน ๒. รวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ต่างๆ



วิธีการ และแหลง่ ข้อมูล
เพ่อื ตอบคำถามทาง

ทางประวตั ศิ าสตร
์ ประวัตศิ าสตรไ์ ด้


๓. อธบิ ายความแตกตา่ งระหวา่ ง วิธีการทางประวัตศิ าสตร์เป็นวิธกี าร ๑. ระบขุ อ้ มลู หลักฐาน

ความจรงิ กับข้อเท็จจริงเก่ียวกับ เรียนรอู้ ารยธรรม วถิ ีชีวติ ของคน
ทางประวัตศิ าสตร์ทแี่ สดง

เรอ่ื งราวในทอ้ งถ่ิน
ในอดตี โดยอาศัยการศึกษาหลักฐาน ความจรงิ กบั ขอ้ เท็จจรงิ ได

วิธกี าร และแหล่งข้อมูล
๒. ให้เหตุผลกบั ขอ้ มูล


ทางประวัตศิ าสตร์
ทางประวัตศิ าสตร์ที่พบเหน็

๓. เล่า/เขียนเร่ืองเก่ยี วกับ

ความเปน็ มาของท้องถ่ินได


มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ


และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ


และสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบทีเ่ กิดข้ึน


ตัวช้วี ดั ผเู้ รยี นร้อู ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได


๑. อธิบายอทิ ธิพลของอารยธรรม การเผยแผ่อารยธรรมอนิ เดียและจีน ๑. บอกลกั ษณะของอารยธรรม
อนิ เดยี และจนี ท่ีมีต่อไทย
ส่งผลต่อสงั คม วัฒนธรรมไทย
อนิ เดยี และจีน

และเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้
และเอเชียตะวันออกเฉยี งใต

๒. การเขา้ มาของอารยธรรมอินเดยี
โดยสังเขป



และจนี สปู่ ระเทศไทยและ



เอเชียตะวันออกเฉยี งใต




๒. อธิบายอิทธิพลของอารยธรรม



อนิ เดียและจีนทม่ี ตี อ่ ไทย และ


เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตโ้ ดยสังเขป


๒. อภิปรายอิทธพิ ลของวัฒนธรรม การเผยแผ่วฒั นธรรมตะวนั ตก
อธิบายอิทธิพลของวฒั นธรรม

ตา่ งชาตทิ ม่ี ีตอ่ สงั คมไทยปัจจุบัน ส่งผลต่อสงั คมไทยปจั จุบัน
ตะวันตกและตะวันออกทีม่ ตี อ่

โดยสังเขป
สงั คมไทยปัจจบุ ัน


เพอ่ื นค่คู ิด มติ รคู่คร
ู 159
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระวตั ิศาสตร


มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภมู ใิ จ และธำรงความเป็นไทย


ตัวช้วี ดั ผเู้ รยี นรู้อะไร ผ้เู รียนทำอะไรได้

๑. เลา่ เร่อื งเกยี่ วกับพฒั นาการของ
๑. อธิบายพฒั นาการของ อาณาจักรอยุธยาและธนบรุ

อาณาจักรอยธุ ยาและธนบรุ


อาณาจักรอยธุ ยาและธนบุรี

โดยสังเขป


๒. เปรียบเทยี บความแตกต่างของ






การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยา
กบั ธนบรุ

๒. อธิบายปัจจัยที่สง่ เสรมิ
อาณาจักรอยธุ ยาและธนบรุ
ี วเิ คราะหป์ จั จยั ที่ส่งเสรมิ

ความเจรญิ ร่งุ เรืองทางเศรษฐกจิ

ความเจรญิ รุ่งเรอื งทางเศรษฐกจิ

และการปกครองของอาณาจักร

และการปกครองของอาณาจักร


อยุธยา

อยธุ ยา

๑. อธิบายเกีย่ วกับผลงานสำคญั
๓. บอกประวัติและผลงาน
คนดีศรอี ยุธยาและธนบุร

ของพระมหากษตั รยิ ใ์ น
ของบคุ คลสำคัญสมัยอยุธยา

อาณาจกั รอยธุ ยาและธนบรุ ไี ด้

และธนบรุ ที ีน่ ่าภาคภมู ใิ จ



๒. วเิ คราะหผ์ ลงานของ



พระมหากษัตรยิ ์ในสมยั อยธุ ยา




ท่ีสง่ ผลตอ่ สงั คมไทยปัจจุบนั



๑. ระบุภมู ปิ ญั ญาไทยท่ีสำคญั สมยั
อยุธยาและธนบรุ ีท่นี ่าภาคภมู ิใจ
๔. อธิบายภูมิปัญญาไทยทีส่ ำคญั อนรุ กั ษ์ภูมปิ ัญญาสมยั อยธุ ยา
และควรค่าแกก่ ารอนุรักษไ์ ว

สมยั อยธุ ยาและธนบุรีที่นา่
และธนบุรี
๒. อธบิ ายถงึ วิธกี ารอนรุ ักษ


ภาคภมู ิใจและควรคา่ แก
่ ภูมิปญั ญาทม่ี คี ุณค่า

การอนรุ ักษไ์ ว้
ทางประวัตศิ าสตร์




160 เพ่ือนคู่คดิ มติ รคู่ครู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ปู ระวัติศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใชว้ ธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์มาวิเคราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่างๆ อย่างเป็นระบบ


ตัวชว้ี ัด
ผู้เรียนรอู้ ะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้


๑. อธบิ ายความสำคัญของวธิ กี าร วธิ ีการทางประวัติศาสตร์
๑. ตง้ั ประเด็น เลอื กตัวบุคคล

ทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา เปน็ วิธีการเรยี นรู้อารยธรรม วิถีชีวิต
หลกั ฐาน แหล่งขอ้ มลู

เรื่องราวทางประวัติศาสตร
์ ของคนในอดตี โดยอาศัยการศกึ ษา ทีห่ ลากหลายในทอ้ งถ่นิ

อยา่ งง่ายๆ

หลกั ฐาน วธิ ีการ และแหล่งขอ้ มลู ๒. อธบิ ายและใช้วธิ กี ารทาง

ทางประวัติศาสตร์
ประวัตศิ าสตรใ์ นการศึกษา



เรือ่ งราวทางประวัติศาสตร์




อยา่ งงา่ ยๆ ของทอ้ งถิน่ ได


๒. นำเสนอขอ้ มูลจากหลกั ฐานท่ี วิธีการทางประวตั ิศาสตรเ์ ป็น
๑. ยกตวั อย่างหลักฐานท่เี หมาะสม
หลากหลายในการทำความเขา้ ใจ วิธกี ารเรียนร้อู ารยธรรม วถิ ชี ีวติ
ที่จะนำมาศึกษาเหตุการณ


เรอื่ งราวสำคัญในอดตี
ของคนในอดีต โดยอาศัยการศึกษา ในประวตั ิศาสตร

หลกั ฐาน วธิ ีการ และแหล่งข้อมูล ๒. นำเสนอขอ้ มูลและวธิ กี ารทไ่ี ด้
ทางประวัติศาสตร์
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ได


๓. จำแนกขอ้ เท็จจรงิ และความจรงิ

จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ได้



มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบที่เกดิ ขนึ้


ตัวชี้วัด
ผเู้ รียนรอู้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได


๑. อธบิ ายสภาพสงั คม เศรษฐกิจ สภาพสงั คม เศรษฐกิจ และ อธบิ ายสภาพสังคม เศรษฐกจิ และ
และการเมืองของประเทศ
การเมอื งของประเทศเพื่อนบา้ น
การเมอื งของประเทศเพ่ือนบ้าน

เพื่อนบ้านในปจั จบุ นั

ในปัจจุบนั


๒. บอกความสมั พนั ธ์ของ

กลมุ่ ประชาคมอาเซยี น
๑. อธิบายขอ้ ตกลงของกล่มุ อาเซียน

กลุ่มอาเซียนโดยสังเขป
เปน็ การรวมตัวเพื่อร่วมมอื กนั
๒. เปรยี บเทยี บความเป็นมาของ
ด้านเศรษฐกิจ สงั คม และการเมอื ง
ประเทศไทยกับกลุม่ อาเซียน




เพอ่ื นคู่คดิ มติ รค่คู ร
ู 161
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูป้ ระวัติศาสตร


มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย


ตวั ชี้วัด ผู้เรยี นรอู้ ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้

๑. อธบิ ายเก่ยี วกบั พฒั นาการของ
๑. อธบิ ายพัฒนาการของไทย
สมัยรัตนโกสนิ ทร

สมยั รัตนโกสนิ ทรโ์ ดยสงั เขป


สมยั รัตนโกสนิ ทร์ได




๒. วิเคราะห์จดุ เด่นของการพัฒนา



สมัยรัตนโกสินทร

๒. อธิบายปัจจยั ที่ส่งเสรมิ
สมัยรัตนโกสินทร

วเิ คราะห์ปัจจยั ที่สง่ เสรมิ

ความเจรญิ รงุ่ เรืองทางเศรษฐกิจ
ความเจริญรงุ่ เรืองทางเศรษฐกิจ
และการปกครองของไทย


และ การปกครองของอาณาจักร
สมยั รัตนโกสินทร์

อยธุ ยา

๑. อธิบายเกี่ยวกับพระกรณียกจิ
๓. ยกตัวอยา่ งผลงานของ

คนดีศรีรตั นโกสินทร

บุคคลสำคัญดา้ นตา่ งๆ

ของพระมหากษตั ริย์ในสมัย
สมยั รตั นโกสินทร


รตั นโกสินทรไ์ ด้



๒. วเิ คราะหพ์ ระราชกรณียกจิ



ของพระมหากษตั ริย์ในสมยั




รตั นโกสินทร์ท่ีส่งผลต่อ



สงั คมไทยปจั จบุ ัน

๑. ระบภุ ูมิปญั ญาไทยทสี่ ำคญั

๔. อธบิ ายภมู ปิ ัญญาไทยทสี่ ำคญั อนุรกั ษภ์ มู ิปัญญาไทย
สมยั รตั นโกสนิ ทรท์ ี่น่าภาคภูมิใจ
สมยั รตั นโกสินทร์ทนี่ า่ ภาคภมู ิใจ สมยั รัตนโกสนิ ทร
์ และควรคา่ แก่การอนรุ ักษไ์ ว้

และควรค่าแกก่ ารอนรุ กั ษ์ไว้
๒. อธิบายถงึ วิธีการอนรุ ักษ

ภูมิปัญญาท่มี คี ุณค่า

ทางประวตั ิศาสตร




162 เพอื่ นคคู่ ิด มิตรคู่ครู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระวตั ิศาสตร


ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์


สามารถใชว้ ธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตุการณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ


ตัวชวี้ ัด ผู้เรยี นรูอ้ ะไร ผเู้ รียนทำอะไรได

๑. วเิ คราะห์ความสำคญั ของเวลา


เวลามีความสำคัญต่อการแบง่ ยุค ๑. อธบิ ายความสำคญั ของเวลา

ในการศกึ ษาประวตั ิศาสตร

ทางประวัติศาสตร
์ และช่วงเวลาในการศกึ ษา




ประวัตศิ าสตร์








๒. อธิบายความสำคญั ของอดตี




ทส่ี ่งผลตอ่ พัฒนาการในปัจจบุ นั



และอนาคต




๒. เทยี บศักราชตามระบบตา่ งๆ
๓. ยกตวั อยา่ งของชว่ งเวลา

ทีใ่ ชศ้ กึ ษาประวัตศิ าสตร

และยคุ สมยั ท่ปี รากฏชื่อต่างๆ





การศกึ ษาประวัติศาสตรไ์ ทย
๑. บอกท่มี าของศกั ราช รวมทัง้

๓. นำวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร

เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจชัดเจน
วิธกี ารเทียบศักราชตา่ งๆ

มาใชศ้ กึ ษาเหตกุ ารณ

ตอ้ งมคี วามรู้ระบบการเทียบศักราช
๒. ยกตวั อยา่ งของศักราชทใ่ี ช

ทางประวัติศาสตร

ในเอกสารทางประวตั ศิ าสตร


วิธีการทางประวตั ิศาสตร์เป็น
๑. อธิบายความหมายและ


วิธีการเรียนรู้ของคน เหตกุ ารณ

ความสำคญั ของประวตั ศิ าสตร

ในอดีต ต้องอาศัยหลักฐานช้ันต้น ๒. อธิบายวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์
ชั้นรอง และวธิ กี ารอยา่ งมีเหตผุ ล
ได้ถกู ต้อง


๓. ยกตัวอยา่ งหลักฐานทาง
ประวัตศิ าสตร์ ท้ังหลกั ฐานชน้ั ต้น
และหลกั ฐานช้ันรอง





เพ่ือนคู่คดิ มิตรคู่คร
ู 163
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนร้ปู ระวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบที่เกิดขนึ้


ตวั ช้วี ัด
ผ้เู รียนรอู้ ะไร ผูเ้ รยี นทำอะไรได้


๑. อธบิ ายพัฒนาการทางสังคม ภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต
้ ๑. อธบิ ายปจั จัยทางภูมิศาสตร

เศรษฐกิจ และการเมืองของ
ที่มีผลต่อพฒั นาการในภมู ภิ าค
ประเทศต่างๆ ในภมู ิภาคเอเชีย
เอเชียตะวันออกเฉยี งใต

ตะวันออกเฉยี งใต้






๒. อธบิ ายเกย่ี วกับสังคม เศรษฐกจิ


การเมอื งการปกครองในภมู ภิ าค
เอเชยี


๒. ระบคุ วามสำคญั ของแหลง่ ภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
อธบิ ายความสำคญั ของแหล่ง
อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชยี อารยธรรมในกลมุ่ เอเชยี พร้อมกบั
ตะวันออกเฉียงใต้
แหล่งมรดกโลกท่ีมีผลต่อพฒั นาการ
สังคมไทยในปัจจบุ ัน


มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรร
ม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภมู ิใจ และธำรงความเปน็ ไทย


ตวั ชีว้ ัด ผู้เรยี นร้อู ะไร ผูเ้ รยี นทำอะไรได้


๑. อธบิ ายเรื่องราวทาง อาณาจกั รก่อนสมยั สโุ ขทัย
๑. อธบิ ายความเปน็ มาของแต่ละ
ประวัติศาสตร์สมยั กอ่ นสโุ ขทยั

อาณาจกั รก่อนสมัยสโุ ขทยั

ในดินแดนไทยโดยสงั เขป





๒. อธิบายเกีย่ วกบั การสถาปนา
อาณาจกั รสุโขทยั


๒. วิเคราะห์พัฒนาการของ อาณาจกั รสโุ ขทัย
วเิ คราะห์พัฒนาการดา้ นตา่ งๆ

อาณาจกั รสโุ ขทัยในด้านตา่ งๆ

ของสมยั สโุ ขทัย

๑. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง
๓. วเิ คราะหอ์ ทิ ธิพลของวฒั นธรรม อาณาจักรสโุ ขทัย

และภูมปิ ัญญาไทยสมัยสโุ ขทัย วฒั นธรรมกบั ภูมปิ ัญญา

และสังคมไทยในปจั จบุ ัน
ในสมัยสโุ ขทยั

๒. อธิบายถงึ ความเส่ือมของ
อาณาจกั รสโุ ขทัย




164 เพอื่ นคคู่ ิด มิตรคคู่ รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ประวัติศาสตร


มัธยมศึกษาปที ี่ ๒

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์


สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์ตา่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ


ตวั ชี้วัด ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้


๑. ประเมนิ ความนา่ เชื่อถือของ
การเลอื กและการประเมนิ หลักฐาน ๑. ประเมินความน่าเช่อื ถือของ

หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ น ทางประวตั ิศาสตรท์ ีน่ ่าเชอ่ื ถือ
หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร


ลกั ษณะต่างๆ

ทำให้ไดข้ ้อค้นพบทางประวัตศิ าสตร
์ อยา่ งงา่ ย


ทีช่ ดั เจน
๒. ยกตวั อยา่ งหลักฐานทาง


ประวัติศาสตร์ท่ีมีความนา่ เช่อื ถือ


๒. วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง การเลอื กและการประเมินหลกั ฐาน สามารถแยกข้อเทจ็ จรงิ กบั ความจริง
ความจริงกับขอ้ เทจ็ จรงิ ของ ทางประวตั ศิ าสตรท์ ี่น่าเชอ่ื ถอื
โดยใช้วธิ ีการหลกั ฐาน

เหตกุ ารณท์ างประวัตศิ าสตร
์ ทำให้ได้ข้อค้นพบทางประวตั ิศาสตร
์ ทางประวัตศิ าสตร



ท่ีชดั เจน



๓. เห็นความสำคญั ของการตคี วาม การเลือกและการประเมนิ หลักฐาน วเิ คราะห์ข้อมูลและตคี วามหลักฐาน
หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร

ทางประวตั ศิ าสตรท์ ่ีน่าเชื่อถือ
ทางประวัตศิ าสตร

ทนี่ า่ เชอ่ื ถอื
ทำให้ไดข้ อ้ คน้ พบทางประวตั ิศาสตร

ท่ชี ดั เจน



มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกดิ ข้ึน


ตัวช้วี ัด
ผเู้ รยี นรู้อะไร ผูเ้ รียนทำอะไรได้


๑. อธบิ ายพัฒนาการทางสังคม ภมู ภิ าคเอเชยี
๑. อธบิ ายปจั จยั ทางภมู ศิ าสตร

เศรษฐกจิ และการเมอื ง

ของภูมภิ าคตา่ งๆ ในทวีปเอเชยี
ของภมู ภิ าคเอเชีย


ยกเวน้ เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้









๒. อธบิ ายพฒั นาการทาง




ประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกจิ


การเมอื ง ของภูมิภาคเอเชยี
ยกเว้นเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต


๒. ระบคุ วามสำคญั ของ
ภมู ิภาคเอเชยี
๑. บอกแหลง่ อารยธรรมตะวนั ออก
แหลง่ อารยธรรมโบราณ
แหล่งมรดกโลกของประเทศ

ในภมู ภิ าคเอเชีย
ในภูมภิ าคเอเชยี

๒. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ของ


อิทธพิ ลอารยธรรมโบราณ


ทม่ี ีตอ่ ภูมิภาคเอเชียในปจั จบุ นั




เพอื่ นคคู่ ิด มิตรค่คู ร

165
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภูมใิ จ และธำรงความเป็นไทย


ตัวชี้วัด ผู้เรยี นรู้อะไร ผูเ้ รียนทำอะไรได

๑. อธบิ ายถึงการสถาปนา
๑. วเิ คราะห์พฒั นาการของไทย
อาณาจกั รอยุธยาและธนบุร


สมัยอยุธยาและธนบุรใี นดา้ นตา่ งๆ


อาณาจักรอยุธยาและธนบุรี




๒. สรุปพฒั นาการของไทย




สมยั อยุธยาและธนบุรีในดา้ นตา่ งๆ

๒. ปจั จัยทสี่ ่งผลตอ่ ความมั่นคงและ อาณาจกั รอยธุ ยาและธนบรุ
ี อธิบายปัจจยั ท่สี ง่ ผลตอ่ ความมั่นคง
ความเจริญร่งุ เรอื งของอาณาจกั ร
และความเจริญรงุ่ เรอื งของ
อยธุ ยาและธนบุร

อาณาจักรอยุธยาและธนบรุ ี

อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยธุ ยา
๓. ระบภุ ูมปิ ญั ญาและ

อาณาจกั รอยุธยาและธนบุร
ี และธนบรุ ใี นทกุ ๆ ด้าน

วฒั นธรรมไทยสมัยอยุธยา


และธนบรุ ี และอทิ ธพิ ลของ

ภูมิปญั ญาดงั กลา่ วต่อการพฒั นา
ชาติไทยในยุคต่อมา


ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์


สามารถใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์มาวิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์ตา่ งๆ อย่างเป็นระบบ


ตัวช้ีวัด ผเู้ รียนร้อู ะไร ผูเ้ รียนทำอะไรได้

๑. วิเคราะห์เรอ่ื งราวเหตุการณ์
วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นการ อธิบายข้ันตอนของวธิ กี าร

สำคญั ทางประวตั ิศาสตร
์ ศึกษาเร่ืองราวเหตุการณ์สำคญั
ทางประวัติศาสตรใ์ นการศึกษา
ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธกี าร
ทางประวัติศาสตรต์ ้องอาศัยวธิ กี าร เหตุการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ ในท้องถิน่

ทางประวตั ิศาสตร์

หลกั ฐานแหล่งขอ้ มูลที่นา่ เช่ือถือ


ประกอบการตีความ


๒. ใชว้ ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร


ในการศกึ ษาเร่ืองราวตา่ งๆ
วธิ กี ารทางประวัติศาสตรเ์ ปน็ การ ๑. ศึกษาเร่อื งราวของท้องถน่ิ

ท่ตี นสนใจ
ศึกษาเรอ่ื งราวเหตุการณ์สำคญั
โดยใช้วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร


ทางประวตั ิศาสตรต์ ้องอาศัยวิธีการ ได้อย่างถูกตอ้ ง

หลกั ฐานแหลง่ ข้อมลู ที่นา่ เช่อื ถือ ๒. วเิ คราะห์เหตุการณ์สำคญั


ประกอบการตีความ
ในสมยั รตั นโกสินทรโ์ ดยใช


วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร







166 เพ่อื นคู่คดิ มติ รคู่ครู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรปู้ ระวัติศาสตร


มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดข้นึ


ตัวชวี้ ัด ผเู้ รียนร้อู ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได


๑. อธบิ ายพัฒนาการทางสงั คม ปัจจัยทางภูมศิ าสตร์มอี ทิ ธพิ ลต่อ อธบิ ายเกย่ี วกับปจั จัยทางภมู ศิ าสตร์
เศรษฐกิจ และการเมอื งของ พัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกจิ ต่อการพัฒนาของโลก

ภูมภิ าคต่างๆ ในโลกโดยสงั เขป
การเมืองของโลก
ยกเวน้ เอเชยี

๑. อธบิ ายพฒั นาการในด้านตา่ งๆ
๒. วเิ คราะห์ผลของ
อารยธรรมตะวนั ตกสง่ ผลต่อ

การเปล่ยี นแปลงท่ีนำไปส
ู่
การเปลย่ี นแปลงสงั คมโลก

ของโลก ยกเวน้ เอเชยี

ความร่วมมือ และความขดั แยง้ ในคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๐
๒. วิเคราะหอ์ ิทธิพลของอารยธรรม
ในคริสตศ์ ตวรรษที่ ๒๐

ตลอดจนความพยายามในการ ตะวนั ตกทมี่ ผี ลตอ่ การ
ขจัดปญั หาความขดั แยง้
เปลีย่ นแปลงของสงั คมโลก

๓. อธิบายความเชอื่ มโยงของ
เหตกุ ารณ์ ทัง้ ความรว่ มมอื

และความขดั แยง้


ในคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๐


มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภมู ใิ จ และธำรงความเป็นไทย


ตวั ชวี้ ัด ผูเ้ รียนรู้อะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได

อธบิ ายเกีย่ วกับการสถาปนา
๑. วิเคราะหพ์ ัฒนาการของไทย
สมัยรัตนโกสินทร

กรงุ เทพมหานครเปน็ ราชธานี

สมยั รัตนโกสนิ ทรใ์ นด้านตา่ งๆ

๑. วิเคราะหป์ จั จยั ท่สี ่งผลตอ่ ความ

๒. วิเคราะหป์ ัจจยั ท่ีส่งผลต่อความ สมยั รตั นโกสินทร
์ มัน่ คงและความเจริญรุง่ เรอื ง

มั่นคงและความเจริญร่งุ เรอื ง


ของไทยในสมยั รัตนโกสนิ ทร์

ของไทยในสมยั รัตนโกสนิ ทร



๒. อธบิ ายถึงบทบาทของ






พระมหากษตั รยิ ์ไทยในราชวงศ์จักร






ในการสรา้ งสรรค์ความเจริญ



และความมนั่ คงของชาต



๓. อธิบายพัฒนาการในด้านตา่ งๆ


ของชาติ พร้อมกบั เชื่อมโยงไปยัง


เหตุการณส์ ำคัญทสี่ ง่ ผลตอ่



การพัฒนาชาตไิ ทย





เพือ่ นคู่คิด มติ รคู่คร
ู 167
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร์

ตวั ชีว้ ดั ผู้เรียนร้อู ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้

วเิ คราะห์อิทธพิ ลของภูมิปญั ญา

๓. วเิ คราะหภ์ มู ิปัญญาและ สมัยรัตนโกสินทร

และวฒั นธรรมทม่ี ีต่อการพฒั นาชาต

วฒั นธรรมไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์



และอทิ ธพิ ลตอ่ การพฒั นา




ชาตไิ ทย

๑. วิเคราะหบ์ ทบาทของไทยตง้ั แต่

๔. วเิ คราะห์บทบาทของไทย

สมยั รัตนโกสนิ ทร์
การเปลี่ยนแปลง พ.ศ. ๒๕๗๕
ในสมัยประชาธิปไตย
ถึงปจั จุบนั

๒. วิจารณส์ ถานการณ์เก่ยี วกับ
ประชาธปิ ไตยในปจั จบุ ัน


ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์


สามารถใชว้ ธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตุการณต์ า่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ


ตวั ชี้วดั ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได

๑. เวลาและยคุ สมัย

๑. ตระหนักถงึ ความสำคัญของเวลา ความสำคัญของเวลาและยุคสมัย
และยุคสมัยทางประวัติศาสตร

ทางประวัติศาสตร์บง่ บอกถงึ
ทางประวตั ิศาสตรท์ ีป่ รากฏ

ทีแ่ สดงถงึ การเปลี่ยนแปลง

การเปลยี่ นแปลงมนุษยชาติ

ในหลักฐาน

ของมนุษยชาต


๒. ประวัตศิ าสตร์แสดงถึง




การเปล่ียนแปลงของมนษุ ยชาต

การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์มคี ณุ ค่า
๒. สรา้ งองค์ความรใู้ หม
่ การศึกษาประวตั ิศาสตร

และประโยชน์ตอ่ การศึกษา

ทางประวัติศาสตรโ์ ดยใชว้ ิธีการ
ควรใชว้ ิธีการทางประวัตศิ าสตร์ ซึง่ ทำให้ทราบความเป็นมา

ทางประวตั ิศาสตร

อยา่ งเปน็ ระบบ
ของมนษุ ยชาต

อย่างเปน็ ระบบ



168 เพ่อื นคคู่ ดิ มิตรคู่ครู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระวตั ศิ าสตร


มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบทเี่ กิดข้นึ


ตวั ชวี้ ดั ผเู้ รยี นรูอ้ ะไร ผเู้ รียนทำอะไรได


๑. วิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรรม
อารยธรรมโบราณมอี ทิ ธพิ ลตอ่
อารยธรรรมโบราณและการตดิ ตอ่
โบราณ และการตดิ ตอ่ ระหว่าง การเปล่ยี นแปลงของโลก

ระหวา่ งโลกตะวนั ออกและ

โลกตะวนั ออกกบั โลกตะวนั ตก

โลกตะวันตกมอี ทิ ธพิ ลต่อการ
ทีม่ ผี ลตอ่ พฒั นาการและ



เปล่ยี นแปลงวัฒนธรรมของโลก

การเปลี่ยนแปลงของโลก



เหตุการณ์ท่สี ำคญั ของโลกมผี ลต่อ
๒. วิเคราะหเ์ หตุการณ์สำคญั ตา่ งๆ อารยธรรมโบราณมีอทิ ธิพลตอ่
การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม
ที่สง่ ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงทาง การเปล่ยี นแปลงของโลก

เศรษฐกิจ การเมืองของโลกปจั จบุ นั

สงั คม เศรษฐกิจ และการเมือง ในยุคปจั จุบัน



เขา้ สโู่ ลกสมยั ปจั จบุ ัน

การขยาย การลา่ อาณานิคมในยุค
ประวตั ศิ าสตรข์ องประเทศยุโรป

๓. วเิ คราะหผ์ ลกระทบของ
ผลกระทบในอดตี มผี ลตอ่
ไปยงั ทวปี ตา่ งๆ มผี ลกระทบตอ่ การ
การขยายอิทธิพลของประเทศ
การพฒั นาในปจั จุบนั

เปลี่ยนแปลงทางสังคมของมนุษย

ในยโุ รปไปยงั ทวปี อเมริกา
สังคมโลกปัจจุบนั มีทงั้ ความร่วมมือ
แอฟริกา และเอเชยี

และความขดั แย้ง เหตกุ ารณต์ ่างๆ
ในคริสตศ์ ตวรรษที่ ๒๑

๔. วิเคราะห์สถานการณข์ องโลก
ผลกระทบในอดีตมีผลตอ่
มีปรากฏใหเ้ หน็ อยา่ งต่อเนือ่ ง

ในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๒๑
การพฒั นาในปจั จบุ นั



เพอื่ นคูค่ ดิ มิตรคคู่ ร
ู 169
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ปู ระวตั ิศาสตร


มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก


ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย


ตวั ชว้ี ดั ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้


๑. วเิ คราะหป์ ระเดน็ สำคญั ของ ประวัตศิ าสตร์ไทยมีความเป็นมา วเิ คราะหป์ ระเดน็ สำคญั ของ
ประวัติศาสตรไ์ ทย ยาวนาน บรรพบุรษุ สรา้ งไว
้ ประวัตศิ าสตร์ไทย

ประเด็นทางประวัติศาสตร
์ ควรแกก่ ารศกึ ษาและภมู ิใจในการ



เกิดเป็นคนไทย



๒. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของ พระมหากษตั ริยก์ บั ปวงชน
สถาบนั พระมหากษตั ริย์มบี ทบาท
สถาบนั พระมหากษัตริย


สำคญั ในการพฒั นาชาตไิ ทย

ต่อชาติไทย




๓. วิเคราะหป์ จั จยั ทส่ี ่งเสรมิ

ภมู ิปญั ญาไทย
วัฒนธรรมตะวันตกและตะวนั ออก

การสรา้ งสรรคภ์ ูมิปญั ญาไทย


มอี ิทธพิ ลต่อภมู ิปัญญาไทย


และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมผี ลต่อ



และวัฒนธรรมไทย แต่มีปัจจัย
สังคมไทยในยุคปัจจบุ นั

หลายอยา่ งท่ีสง่ เสรมิ การสร้างสรรค์


๔. วเิ คราะห์ผลงานของบคุ คล ภูมปิ ญั ญาไทย
วิเคราะห์ผลงานของบคุ คลในอดีต
สำคญั ท้ังชาวไทยและ


ทงั้ ที่เป็นคนไทยและต่างประเทศ

ตา่ งประเทศทมี่ สี ว่ นสรา้ งสรรค์

มีบทบาทสำคัญท่มี ผี ลงานปรากฏ
วัฒนธรรมไทย


ตามประวัติศาสตรไ์ ทย

และประวัตศิ าสตรไ์ ทย


มสี ่วนในการสรา้ งสรรค์วฒั นธรรม


และประวัตศิ าสตรไ์ ทย


๕. วางแผนกำหนดแนวทาง
ภมู ิปัญญาไทย
วางแผนกำหนดแนวทาง

และการมสี ่วนรว่ มการอนรุ กั ษ
์ ในการอนรุ กั ษ์ภูมปิ ัญญาไทย

ภมู ปิ ญั ญาไทยและวฒั นธรรมไทย
และวัฒนธรรมไทย


170 เพ่อื นคคู่ ิด มติ รค่คู รู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร


โครงสร้างเวลาเรยี นประวัติศาสตร



กล มุ่ สชารัน้ ะเรกียานรเ
รยี นร
ู้ รวม ๔ สาระ สาระประวตั ศิ าสตร ์ รวม


ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ๘๐ ชม./ปี ๔๐ ชม./ป ี ๑๒๐ ชม./ป

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๑๒๐ ชม./ปี

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๘๐ ชม./ปี ๔๐ ชม./ปี ๑๒๐ ชม./ปี

ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ๑๒๐ ชม./ปี

ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ๘๐ ชม./ปี ๔๐ ชม./ปี ๑๒๐ ชม./ปี

ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑๒๐ ชม./ปี

รวมระดบั ประถมศกึ ษา ๘๐ ชม./ปี ๔๐ ชม./ปี ๗๒๐ ชม./๖ ปี

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๑๖๐ ชม./ปี

มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ๘๐ ชม./ป ี ๔๐ ชม./ปี ๑๖๐ ชม./ป

มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ๑๖๐ ชม./ปี

รวมระดบั มัธยมศกึ ษา ๘๐ ชม./ป ี ๔๐ ชม./ป ี
ตอนตน้ ๔๘๐ ชม./๓ ป

๔๘๐ ชม./๖ ปี ๒๔๐ ชม./๖ ป ี ๑๒ หน่วยกติ

รวมระดับมธั ยมศกึ ษา
ตอนปลาย ๑๒๐ ชม./ปี ๔๐ ชม./ปี -๒๐ ชม./ภาคเรียน ๓๒๐ ชม./๓ ปี

๘ หนว่ ยกติ

๑๒๐ ชม./ป ี ๔๐ ชม./ปี -๒๐ ชม./ภาคเรียน

๑๒๐ ชม./ป ี ๔๐ ชม./ปี -๒๐ ชม./ภาคเรยี น

๓๖๐ ชม./๓ ปี ๑๒๐ ชม./๓ ปี
๙ หน่วยกติ ๓ หน่วยกติ

๒๔๐ ชม./๓ ปี ๘๐ ชม./๓ ปี
๖ หน่วยกติ ๒ หน่วยกิต

เพ่ือนคคู่ ดิ มติ รค่คู ร
ู 171
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรปู้ ระวตั ิศาสตร์

ตัวอยา่ งคำอธิบายรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑


คำอธิบายรายวชิ าประวตั ิศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑


ศึกษาและใช้ปฏิทินในการบอกวัน เดือน ปีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีทั้งระบบ
สุริยคติและจันทรคติ คำท่ีแสดงช่วงเวลาเพ่ือใช้เล่าเหตุการณ์ปัจจุบัน วันน้ี เดือนน้ี ตอนเช้า

ตอนกลางวัน ตอนเย็น ตอนค่ำ และเรียงลำดับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันตามวันเวลาท่ีเกิดข้ึน
โดยใช้ทักษะการสังเกต การบอกเล่า การเชื่อมโยง เพื่อให้สามารถใช้เวลาตามปฏิทินแสดงเหตุการณ์


ในปจั จุบัน และใชค้ ำแสดงช่วงเวลาเรียงลำดับเหตุการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ได้

รู้วิธีสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวอย่างง่ายๆ โดยสอบถาม


ผู้เก่ียวข้องและการบอกเล่าเร่ืองราวที่สืบค้นได้ โดยใช้ทักษะการสอบถาม การรวบรวมข้อมูล

การสรุปความ การเล่าเรื่อง เพื่อฝึกทักษะพ้ืนฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้น
เร่อื งราว จากแหลง่ ขอ้ มูล (เชน่ บุคคล) และบอกเลา่ ขอ้ เทจ็ จริงทีค่ ้นพบได้อย่างนา่ สนใจ

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ส่ิงของเคร่ืองใช้ หรือการดำเนินชีวิต


ของตนเองในสมัยปัจจุบันกับสมัยของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ที่เป็นรูปธรรมและใกล้ตัวผู้เรียน เช่น
เตารีด (การรีดผ้าด้วยเตาถ่านกับเตาไฟฟ้า) หม้อหุงข้าว (การหุงข้าวที่เช็ดน้ำด้วยฟืนหรือถ่าน

กับหม้อหุงข้าวไฟฟ้า) เกวยี นกับรถยนต์ (การเดนิ ทาง) ถนน บ้านเรือน การใช้ควายไถนากบั รถไถนา


รวมทั้งเหตุการณ์สำคัญของครอบครัวท่ีเกิดขึ้นในอดีตท่ีมีผลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน เช่น
การย้ายบ้าน การย้ายโรงเรียน การเล่ือนชั้นเรียน การได้รับรางวัล การสูญเสียบุคคลสำคัญของ
ครอบครัว โดยใช้ทกั ษะการสงั เกต การใชเ้ หตุผล การเปรียบเทยี บ การแยกแยะ การยกตัวอย่าง
และการบอกเล่า เพื่อให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาและความสำคัญของอดีตท่ีมีต่อ
ปจั จบุ ันและอนาคต สามารถปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับวถิ ีชวี ิตปัจจบุ ันได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ศกึ ษาความหมายและความสำคัญของสญั ลักษณข์ องชาติไทย ไดแ้ ก่ ธงชาติ เพลงชาติ


เพลงสรรเสริญพระบารมี ภาษาไทย อักษรไทย มารยาทไทย อาหารไทย การแต่งกายแบบไทย
วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และการปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกาลเทศะ รวมทั้ง
รจู้ กั สถานทีส่ ำคญั ซงึ่ เป็นแหลง่ วฒั นธรรมในชุมชน ศาสนสถาน ตลาด พพิ ธิ ภณั ฑ์ และสิง่ ทเ่ี ปน็
ความภาคภูมใิ จในท้องถน่ิ ท่ีใกล้ตวั ผเู้ รยี นและเห็นเป็นรูปธรรม โดยใช้ทกั ษะการสงั เกต การแสดง


ความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การอธิบาย การปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เพื่อก่อให้เกิดความรัก


และความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ท้องถิ่น และประเทศชาติ ภูมิใจในสถาบันชาติ ศาสนา

และพระมหากษัตรยิ ์ ตระหนกั และเห็นคณุ ค่าทจ่ี ะธำรงรักษาและสบื ทอดตอ่ ไป


172 เพอ่ื นคคู่ ดิ มติ รคู่ครู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูป้ ระวัติศาสตร


มาตรฐานการเรยี นรู้/ระดบั ชัน้ /ตัวช้วี ัด

ส ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓

ส ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒

ส ๔.๓ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓


คำอธบิ ายรายวิชาประวัติศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒


รู้จักวันเวลาตามระบบสุริยคติและจันทรคตทิ ี่ปรากฏในปฏิทินท่ีแสดงเหตุการณ์สำคัญ

ในอดีตและปัจจุบัน รวมท้ังการใช้คำที่แสดงช่วงเวลาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต วันนี้ เม่ือวานน้ี


พรุ่งนี้, เดือนนี้ เดือนก่อน เดือนหน้า, ปีน้ี ปีก่อน ปีหน้า ในการอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน

โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม เชื่อมโยง เรียงลำดับ การเล่าเร่ือง การรวบรวมข้อมูล

การอธิบาย เพื่อให้สามารถใช้วันเวลาเรียงลำดับเหตุการณ์สำคัญได้ถูกต้อง ว่าเหตุการณ์ใด


เกิดกอ่ น เหตกุ ารณ์ใดเกดิ หลงั

รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในครอบครัว โดยใช้หลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาพถ่าย

สตู ิบัตร ทะเบียนบา้ น เคร่ืองมือเครอ่ื งใช้ มาอธบิ ายเร่ืองราวตา่ งๆ และวิธสี บื ค้นข้อมูลในชุมชน
อย่างง่ายๆ ในเรื่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของคนในชุมชนในด้านต่างๆ จากอดีต


ถึงปัจจุบัน เช่น ทางด้านการประกอบอาชีพ การแต่งกาย การส่ือสาร ขนบธรรมเนียมประเพณ


ในชุมชน เข้าใจสาเหตุและผลกระทบของการเปล่ียนแปลงที่มีต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน สามารถ
เรียงลำดับเหตุการณ์ท่ีสืบค้นได้โดยใช้เส้นเวลา ฝึกทักษะการสอบถาม การสังเกต การวิเคราะห์
การอธิบายอย่างมีเหตุมีผล ทำผังความคิด และการจัดนิทรรศการ เพื่อให้เข้าใจวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ในเรื่องเก่ียวกับการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์สืบค้นเร่ืองราวในอดีต และเข้าใจ


การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนตามกาลเวลาอย่างต่อเน่ือง มีความเข้าใจชุมชนที่มีความแตกต่าง
และสามารถปรับตัวอยใู่ นชีวติ ประจำวันได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ศึกษา สืบค้นประวัติและผลงานของบุคคลท่ีทำประโยชน์ต่อท้องถิ่นหรือประเทศชาติ
ในด้านการสร้างสรรค์วัฒนธรรม/การสร้างความเจริญรุ่งเรืองและความมั่นคงโดยสังเขป รวมท้ัง
วัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย และภูมิปัญญาไทยที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ เช่น การทำความ


เคารพแบบไทย ประเพณไี ทย ศิลปะไทย ดนตรีไทย โดยใช้ทกั ษะการสบื ค้นการสังเกต การอ่าน
การรวบรวมขอ้ มลู การวิเคราะห์ การใชเ้ หตผุ ล การอธบิ าย และการนำเสนอ เพอ่ื ใหเ้ ห็นคุณคา่
และแบบอย่างการกระทำความดีของบรรพบุรุษท่ีได้สร้างประโยชน์ให้ท้องถ่ินและประเทศ


เกิดความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และธำรง

ความเป็นไทย






เพ่อื นค่คู ิด มิตรคู่คร
ู 173
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ระดับชั้น/ตัวชีว้ ดั

ส ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒

ส ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒

ส ๔.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒


คำอธบิ ายรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓


ศึกษาความหมายและท่ีมาของศักราชที่ปรากฏในปฏิทิน ได้แก่ พุทธศักราช


คริสต์ศักราช (ถ้าเป็นชาวมุสลิม ให้ศึกษาฮิจเราะห์ศักราชด้วย) วิธีการเทียบคริสต์ศักราชกับ


พุทธศักราช และใช้ศักราชในการบันทึกเหตุการณ์สำคัญท่ีเก่ียวข้องกับตนเองและครอบครัว เช่น


ปีเกิดของผู้เรียน เหตุการณ์สำคัญของตนเอง และครอบครัว โดยใช้ทักษะการเปรียบเทียบ

การคำนวณ การเช่ือมโยง การอธิบาย เพื่อให้มีพื้นฐานในการศึกษาเอกสารที่แสดงเหตุการณ์
ตามกาลเวลา สามารถเรียงลำดับเหตุการณ์ได้ถูกต้อง ว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่อน เหตุการณ์ใดเกิดหลัง
อันเป็นทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในการศกึ ษาประวัตศิ าสตร

รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูล

ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น รูปภาพ แผนผังโรงเรียน แผนที่ชุมชน ห้องสมุดโรงเรียน แหล่งโบราณคดี-
ประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น สามารถใช้เส้นเวลา (Time line) ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน
และชุมชน โดยใช้ทักษะการสำรวจ การสังเกต การสอบถาม การอ่าน การฟัง การเล่าเร่ือง

การสรุปความ เพ่ือฝึกทักษะพ้ืนฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นเรื่องราว


รอบตัวอย่างง่ายๆ โดยการใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง สามารถนำเสนอเรื่องราว


ทคี่ ้นพบได้ตามลำดบั เวลา

ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถ่ินฐานและพัฒนาการของชุมชน ปัจจัยท่ีทำให้เกิด
วัฒนธรรมและประเพณีในชุมชน ซ่ึงประกอบด้วย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ (ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
ทรัพยากร) และปัจจัยทางสังคม (ความเจริญทางเทคโนโลยี เชื้อชาติ ศาสนา ความเช่ือ


การคมนาคม ความปลอดภัย) ศึกษาและเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง

ของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนตนเอง และชุมชนใกล้เคียง เช่น ในเรื่อง
ความเช่ือและการนับถือศาสนา อาหาร ภาษาถ่ิน การแต่งกาย โดยใช้ทักษะการอ่าน การสอบถาม
การสังเกต การสำรวจ การฟัง การสรุปความ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและภูมิใจในชุมชนของตนเอง
ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม เข้าใจพัฒนาการของชุมชน สามารถดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกัน


ในสังคมได้อยา่ งสันติสขุ รว่ มอนรุ ักษส์ บื สานขนบธรรมเนียมประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย

ศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจโดยสังเขปของพระมหากษัตริย

ผ้สู ถาปนาอาณาจักรสุโขทยั อยุธยา ธนบรุ ี และรัตนโกสนิ ทร์ ตามลำดับ ไดแ้ ก่ พ่อขุนศรอี ินทราทิตย์
สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และพระบาท-


174 เพ่ือนคูค่ ดิ มิตรคคู่ รู

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าหัวอยู่ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
โดยสังเขป และศึกษาวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีส่วนปกป้องประเทศชาติ เช่น สมเด็จ


พระนเรศวรมหาราช ท้าวเทพกระษัตรี-ท้าวศรีสุนทร ชาวบ้านบางระจัน พระยาพิชัยดาบหัก

ท้าวสุรนารี เป็นต้น โดยใช้ทักษะการอ่านและสอบถาม การฟัง การสรุปความ การเขียน การเล่าเรื่อง

เพ่ือให้เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย เกิดความรัก ความภูมิใจ และเห็นแบบอย่างการเสียสละ


เพือ่ ชาติ และธำรงความเป็นไทย

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ระดับชน้ั /ตัวช้ีวดั

ส ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒

ส ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓

ส ๔.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓


คำอธบิ ายรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔


ศึกษาความหมาย วิธีการนับ และการใช้ช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และ


สหัสวรรษ เกณฑ์การแบ่งยุคสมัยในทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติท่ีแบ่งเป็นสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ รวมทั้งช่วงสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย สมัยก่อน
สุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ ตัวอย่างการใช้ช่วงเวลา

ในเอกสารต่างๆ โดยใช้ทกั ษะการอา่ น การสำรวจ การวเิ คราะห์ การคำนวณ เพื่อใหใ้ ชช้ ว่ งเวลา
ในการบอกเล่าเร่ืองราวได้ถูกต้อง และเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนตามช่วงเวลาที่ปรากฏ


ในเอกสารทางประวตั ิศาสตร

ศึกษาลักษณะสำคัญและเกณฑ์การจำแนกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ในการ
ศึกษาความเป็นมาของท้องถ่ินอย่างง่ายๆ ตัวอย่างของหลักฐานที่พบในท้องถ่ินท้ังหลักฐานชั้นต้น
กับชั้นรอง หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรกับไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยใช้ทักษะการสำรวจ
การวิเคราะห์ การตรวจสอบข้อมูล การจำแนก การตีความ เพื่อฝึกทักษะการสืบค้นข้อมูล


ดว้ ยวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์

ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปัจจัย การต้ังถ่ินฐาน และพัฒนาการของ
มนุษยชาติในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยโดยสังเขป การก่อต้ัง
อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย เช่น ทวารวดี ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ เป็นต้น โดยใช้ทักษะ

การสำรวจ การวิเคราะห์ การตีความ การสรุปความ เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติ


ที่มีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งต่อเนอ่ื งจากอดีตจนถงึ ปัจจุบัน


เพอ่ื นคคู่ ดิ มิตรคคู่ ร
ู 175
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรปู้ ระวัติศาสตร


ศึกษาประวัติศาสตร์เป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัยโดยสังเขป ในเร่ืองเกี่ยวกับ

การสถาปนาอาณาจกั ร พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ประวัติ และผลงานของ
บุคคลสำคัญ เช่น พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาที่ ๑
(พระยาลิไทย) และภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยที่น่าภาคภูมิใจ ซึ่งเป็นผลให้อุทยาน
ประวัติศาสตร์ในสุโขทัยและศรีสัชนาลัยได้รับการยกย่องเป็นมรดกโลก โดยใช้ทักษะการอ่าน

การสำรวจ การสบื ค้น การวเิ คราะห์ การตีความ เพอ่ื เข้าใจความเป็นมาของชาตไิ ทยในสมัยสุโขทยั


รวมท้ังวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และบุคคลสำคัญในสมัยสุโขทัย เกิดความรักและ

ความภูมิใจในความเป็นไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษไทยที่ได้
ปกป้องและสร้างสรรค์ความเจริญให้บ้านเมือง ตกทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบต่อถึง
ปจั จุบัน

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ระดับชั้น/ตวั ช้ีวัด

ส ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

ส ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒

ส ๔.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓


คำอธิบายรายวชิ าประวตั ิศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕


สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานหลากหลาย ด้วยการต้ังประเด็นคำถาม
ทางประวัติศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับท้องถ่ิน เช่น ความเป็นมาของช่ือหมู่บ้าน ช่ือตำบล ชื่อถนน


ความเป็นมาของสถานท่ีสำคัญ ความเป็นมาของขนบธรรมเนียมประเพณีในท้องถิ่น รู้จักแหล่ง
ข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่อยู่ในท้องถ่ิน สามารถรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
รู้จักวิเคราะห์ ตรวจสอบข้อมูลอย่างง่ายๆ เข้าใจความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง

ที่ปรากฏในข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ แยกแยะความคิดเห็นกับข้อเท็จจริงท่ีอยู่ในข้อมูลได้

โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม การสำรวจ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การเช่ือมโยง
และการสังเคราะห์อย่างง่ายๆ เพ่ือฝึกฝนทักษะวิธีการทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์เหตุการณ์


ท่เี กิดขึน้ ในทอ้ งถิน่ อย่างเป็นระบบ สามารถใช้ข้อมูลขา่ วสารไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

ศึกษาการเข้ามาและอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีนในดินแดนไทยและ

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป เช่น การปกครอง การนับถือศาสนา ความเช่ือ
วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา อาหาร และการแต่งกาย ศึกษาอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ


ทง้ั ตะวนั ตกและตะวันออกทม่ี ตี อ่ สังคมไทยในปจั จุบันโดยสงั เขป โดยใช้ทักษะการอ่าน การสบื ค้น
ข้อมูล การสังเกต การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การเช่ือมโยง เพื่อให้เกิดความเข้าใจใน
วัฒนธรรมไทยในสังคมปัจจุบัน และวัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ที่มีทั้งความคล้ายคลึงและความแตกต่าง เพื่อให้เกิดการยอมรับในความแตกต่าง

ทางวฒั นธรรมและอย่รู ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสันติสุข


176 เพ่ือนค่คู ดิ มติ รค่คู รู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรูป้ ระวัติศาสตร


ศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรี ในเร่ืองเก่ียวกับการสถาปนา
อาณาจักร ปัจจัยท่ีส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางการเมือง


การปกครองและเศรษฐกิจโดยสังเขป ประวัติและผลงานบุคคลสำคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี
เช่น สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จ
พระนารายณ์มหาราช ชาวบ้านบางระจัน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และภูมิปัญญาไทย


ในสมัยอยุธยาและธนบุรี ท่ีน่าภาคภูมิใจควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ ซ่ึงเป็นผลให้พระนครศรีอยุธยา
ได้รับการยกย่องเป็นมรดกโลก เช่น ทางด้าน ศิลปกรรม วรรณกรรม และการค้า โดยใช้ทักษะ
การอา่ น การสบื ค้นขอ้ มลู การเช่ือมโยง การวเิ คราะห์ การอธบิ าย การสรปุ ความ การเรยี งความ
เพ่ือให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักและเห็นความสำคัญที่จะธำรง
รกั ษาความเปน็ ไทยสบื ตอ่ ไป

มาตรฐานการเรยี นรู้/ระดับชน้ั /ตัวชี้วัด

ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓

ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒

ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔


คำอธบิ ายรายวชิ าประวัติศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖


ศึกษาความหมายและความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ และ

ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเร่ืองราว หรือเหตุการณ์สำคัญตามลำดับข้ันตอน

อยา่ งเปน็ ระบบ ได้แก่ การต้ังประเด็นศึกษาเร่อื งราวทีต่ นสนใจ การสำรวจแหล่งข้อมูลทเี่ กี่ยวข้อง


การรวบรวมข้อมลู จากหลักฐานท่ีหลากหลาย การวเิ คราะหค์ วามนา่ เชือ่ ถือของข้อมลู การตีความ
การเรียบเรียง และนำเสนอความรู้ที่ค้นพบได้อย่างน่าสนใจ โดยใช้ทักษะการสำรวจ การอ่าน


การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอธิบาย การสรุปความ การเขียนเรียงความ
การจัดทำโครงงานและการจัดนิทรรศการ เพื่อฝึกทักษะการสืบค้นเหตุการณ์สำคัญด้วยวิธีการ
ทางประวัติศาสตร

ศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศเพ่ือนบ้านในปัจจุบันโดยสังเขป
เช่ือมโยงและเปรียบเทียบกับประเทศไทย ศึกษาความเป็นมาและความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียน
โดยสังเขป โดยใช้ทักษะการอ่าน การสำรวจ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ เพ่ือให้เข้าใจ
พัฒนาการของประเทศเพ่ือนบ้านที่มีความสัมพันธ์กับประเทศไทย เกิดความเข้าใจอันดี
ระหวา่ งประเทศ ยอมรับความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม และอย่รู ว่ มกนั ได้อย่างสันติสุข

ศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาติไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ในเร่ืองเกี่ยวกับ
การสถาปนาอาณาจักร ปัจจัยท่ีส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง
พัฒนาการทางด้านต่างๆ โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสำคัญ เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า


เพือ่ นคู่คดิ มิตรค่คู ร
ู 177
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรปู้ ระวัตศิ าสตร


จุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

และภูมิปัญญาไทยที่สำคัญที่น่าภาคภูมิใจควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ โดยใช้ทักษะการอ่าน

การสืบค้นข้อมูล การเช่ือมโยง การวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย
ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษที่ได้ปกป้องและสร้างสรรค์ความเจริญ


ให้บ้านเมอื งตกทอดเปน็ มรดกทางวัฒนธรรมสบื ตอ่ ถงึ ปจั จบุ ัน

มาตรฐานการเรยี นรู้/ระดับชัน้ /ตัวชว้ี ัด

ส ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒

ส ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒

ส ๔.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔


คำอธบิ ายรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑


ศึกษา วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ ตัวอย่างการใช้เวลา
(ทั้งระบบสุริยคติและจนั ทรคต)ิ ชว่ งเวลา (เชน่ ทศวรรษ ศตวรรษ) และยุคสมยั ท่ปี รากฏในเอกสาร


ประวัติศาสตร์ไทย (สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์) ศึกษาท่ีมาของศักราชและ

การเทียบศักราชท่ีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ได้แก่ พ.ศ./ค.ศ./จ.ศ./ม.ศ./ร.ศ. โดยใช

ทักษะของการสงั เกต การสำรวจ การคำนวณ การเปรยี บเทียบ เพือ่ ให้สามารถเขา้ ใจเหตกุ ารณ์
สำคญั ทางประวตั ิศาสตร์ (วา่ มีเรื่องราวใด เกดิ ขน้ึ เม่ือไร ทไี่ หน เหตกุ ารณใ์ ดเกิดก่อน เหตุการณใ์ ด


เกดิ หลัง) และเขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละความสำคญั ของอดตี ทม่ี ตี อ่ ปัจจุบนั และอนาคต

ศึกษาความหมาย ความสำคัญของประวัติศาสตร์ และวิธีการทางประวัติศาสตร์

ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์สืบค้นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ไทยท่ีมีอยู่ในท้องถ่ิน ตัวอย่าง

การวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัย ท้ังหลักฐานช้ันต้น และหลักฐานชั้นรอง

โดยใช้ทักษะการวิเคราะห์ การตีความ การแยกแยะ การวินิจฉัย การสร้างความรู้ใหม่ การให้
เหตุผล การสำรวจ การรวบรวมขอ้ มลู เพ่ือเขา้ ใจและเห็นความสำคัญของประวตั ศิ าสตรใ์ นการ
ดำเนินชีวิต และสามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์สืบค้นเร่ืองราวในท้องถิ่นของตนเอง
(ความร้ใู หม่ท่ตี นสืบคน้ ได้)

ศึกษาพัฒนาการของมนุษยชาติในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย และ


สมัยประวัติศาสตร์ไทย เก่ียวกับรัฐโบราณที่มีอิทธิพลทางการเมืองในดินแดนไทย เช่น ฟูนัน


ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ ทวารวดี รัฐไทยในดินแดนไทยในช่วงก่อนพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ เช่น ละโว้


หริภุญชัย นครศรีธรรมราช และพัฒนาการของรัฐไทยในสมัยสุโขทัยเก่ียวกับการสถาปนา
อาณาจักร ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทั้งปัจจัยภายในและภายนอก พัฒนาการด้าน
การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมท้ังความเสื่อมของ
อาณาจักรสุโขทัย ศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย ได้แก่ ภาษา วรรณกรรม

178 เพ่ือนคู่คิด มติ รคคู่ รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระวัตศิ าสตร์

ประเพณี ศิลปกรรม การชลประทาน เครอ่ื งสังคโลก ประวัติและผลงานของบคุ คลสำคญั อิทธพิ ล
ของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาสมัยสุโขทัยที่มีต่อสังคมไทยในปัจจุบัน โดยใช้ทักษะการรวบรวม
หลักฐาน การตรวจสอบข้อเท็จจริง การวิเคราะห์ การวิพากษ์ข้อมูล การตีความ การให้เหตุผล
การสังเคราะห์ การนำเสนอด้วยวิธีการต่างๆ (เช่น การทำผังความคิด การจัดนิทรรศการ)

เพ่ือเข้าใจความเป็นมาของชาติไทย เห็นแบบอย่างการกระทำความดีของบรรพบุรุษไทยที่ได้
สร้างชาติด้วยความเสียสละ ตลอดจนเกิดความรัก ความภูมิใจในชาติไทย วัฒนธรรมไทย
และภูมิปัญญาไทย

ศึกษาปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ศึกษาพัฒนาการทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครองของประเทศ
ต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และความร่วมมือในสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ (อาเซียน) ศึกษาความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต


ที่ได้รับการยกย่องเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทย

ที่มีต่อพัฒนาการของสังคมไทยในปัจจุบัน โดยใช้ทักษะการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และ


การสังเคราะห์ข้อมูล เพ่ือให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติที่มีความเปลี่ยนแปลงจากอดีต


จนถึงปัจจุบันและผลกระทบท่ีมีต่อสังคมไทย เข้าใจและอยู่ร่วมกับสังคมที่มีความหลากหลาย
ทางวฒั นธรรมไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

มาตรฐานการเรียนรู/้ ระดับช้นั /ตวั ชีว้ ดั

ส ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓

ส ๔.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒

ส ๔.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓


คำอธิบายรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒


ศึกษาวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ
อย่างง่ายๆ เช่น การศึกษาภูมิหลังของผู้ทำหรือผู้เกี่ยวข้อง สาเหตุการจัดทำ ช่วงระยะเวลา

การจัดทำหรือจัดสร้างหลักฐาน รูปลักษณ์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่าเป็นหลักฐานชั้นต้น
หรอื หลกั ฐานชัน้ รอง (ใครสรา้ ง สร้างขึน้ เมือ่ ไหร่ สรา้ งข้ึนทำไม เช่ือถือไดห้ รอื ไม)่ ศกึ ษาวเิ คราะห์
สารสนเทศท่ีอยู่ในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสามารถแยกแยะข้อจริงกับ

ข้อเท็จจริงท่ีปรากฏในหลักฐาน รวมท้ังแยกแยะข้อคิดเห็นกับข้อเท็จจริงจากข้อมูล ตัวอย่าง


การประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยท่ีอยู่ในท้องถ่ินของตนเอง หรือ
หลักฐานสมัยอยุธยา ตัวอย่างการตีความข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย โดยใช้ทักษะ
การรวบรวมขอ้ มลู การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ เพ่ือให้ตระหนกั เหน็ คุณคา่ และความสำคัญ
ของประวตั ศิ าสตร์ และวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ ในการวิเคราะห์ ตรวจสอบ ประเมนิ คณุ ค่า
ของขอ้ มลู ทมี่ ีอยูอ่ ย่างหลากหลายในโลกยคุ โลกาภวิ ตั น


เพือ่ นคคู่ ดิ มติ รคู่คร
ู 179
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร


ศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรี ในเร่ืองเกี่ยวกับการสถาปนา


อาณาจักร ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรืองและความม่ันคง พัฒนาการด้านการเมือง

การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ เหตุการณ์สำคัญในสมัยอยธุ ยา
และธนบุรี เชน่ การเสยี กรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ และการกู้เอกราช การเสียกรงุ ศรีอยธุ ยาครง้ั ที่ ๒
และการกู้เอกราช วิเคราะห์ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี เช่น


การควบคุมกำลังคน ศิลปกรรมไทย วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี เช่น

สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ สมเด็จพระสุริโยทัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์
มหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยใช้ทักษะการรวบรวม การวิเคราะห์ การอ้างอิง

การสังเคราะห์ การสรุป การตีความ เพอ่ื เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรมไทย และ
ภูมิปัญญาไทย เห็นความพยายามของบรรพบุรุษท่ีปกป้องชาติและสร้างสรรค์ความเจริญสืบต่อมา


ถึงปัจจบุ ัน

ศึกษาปัจจัยทางภูมิศาสตร์ท่ีส่งผลต่อพัฒนาการของภูมิภาคต่างๆ ในทวีปเอเชีย
(ยกเวน้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต)้ ศึกษาพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของภมู ภิ าค
เอเชยี ความสำคญั ของแหลง่ อารยธรรมโบราณ และแหลง่ มรดกโลกในภมู ภิ าคเอเชีย และอทิ ธพิ ล
ของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน โดยใช้ทักษะการสืบค้น การรวบรวมข้อมูล
การสรุป การวิเคราะห์ เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติที่มีความเปลี่ยนแปลงจากอดีต
จนถึงปัจจุบันและผลกระทบที่มีต่อสังคมไทย เข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับตัว


อยรู่ ว่ มกันในสังคมโลกได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ระดับชัน้ /ตัวชี้วดั

ส ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓

ส ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒

ส ๔.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓


คำอธบิ ายรายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓


ศึกษาและใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาวิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญทาง
ประวัติศาสตร์ไทยและศึกษาเรื่องราวที่เก่ียวข้องกับตนเอง ครอบครัว และท้องถ่ินของตน


ตามความสนใจ โดยจัดทำโครงงานทางประวัตศิ าสตร์ โดยใช้ทกั ษะการสงั เกต การสบื คน้ การสำรวจ

การวิพากษ์ข้อมูล การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การสร้างความรู้ใหม่ การให้เหตุผล ทั้งน
้ี

เพอื่ ฝกึ ฝนทกั ษะการใชว้ ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรส์ ืบค้นเรื่องราวต่างๆ อย่างเป็นระบบ

ศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ในเรื่อง
เกี่ยวกับการสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีไทย ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความม่ันคงและ


ความเจริญรุ่งเรือง บทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยในราชวงค์จักรีในการสร้างสรรค์ความเจริญ

180 เพ่อื นคูค่ ดิ มิตรค่คู รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

และความม่ันคงของชาติ พัฒนาการทางด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ศึกษาวิเคราะห์สาเหตุปัจจัยและผลของเหตุการณ์สำคัญท่ีมีต่อ

การพฒั นาชาตไิ ทย เชน่ การทำสนธิสญั ญาเบาว์ริงในรัชกาลท่ี ๔ การปฏิรูปประเทศในสมัยรชั กาล


ท่ี ๕ การเขา้ รว่ มสงครามโลกคร้งั ที่ ๑ และคร้ังท่ี ๒ ศึกษาวเิ คราะห์บทบาทของไทยในสังคมโลก
ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งวิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย


ในสมัยรัตนโกสินทร์ และวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาและสร้างสรรค

ชาติไทย โดยใช้ทักษะการรวบรวมข้อมูล การสืบค้น การเชื่อมโยง การวิเคราะห์ การสังเคราะห์
การอธิบาย การสรปุ ความ ทง้ั น้ีเพื่อให้เขา้ ใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย เกิดความรัก และความ
ภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย ตระหนักและเห็นความสำคัญในบรรพบุรุษไทย

ทไี่ ดป้ กป้องและสรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ ให้กบั ประเทศชาติจนถงึ ทกุ วนั น
ี้
ศึกษาปัจจัยทางภูมิศาสตร์ท่ีมีผลต่อพัฒนาการของภูมิภาคต่างๆ ของโลก และ
พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆ โดยสังเขป (ยกเว้นเอเชีย)
อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกท่ีมีต่อพัฒนาการและการเปล่ียนแปลงของสังคมโลกโดยสังเขป
วิเคราะห์ความร่วมมอื และความขัดแยง้ ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๒๐ เช่น สงครามโลกคร้งั ที่ ๑ ครง้ั ที่ ๒
สงครามเย็น องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ ตลอดจนความพยายามในการขจัดปัญหา
ความขัดแย้ง โดยใช้ทักษะการรวบรวมข้อมูล การสืบค้น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การให้
เหตุผล ท้ังน้ีเพ่ือให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ท้ังด้านความสัมพันธ


และการเปลยี่ นแปลงอย่างตอ่ เนอื่ ง ตระหนกั และเห็นความสำคญั ทจ่ี ะอยูร่ ว่ มกันอย่างสงบสขุ

มาตรฐานการเรยี นรู้/ระดบั ชนั้ /ตวั ชวี้ ัด

ส ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒

ส ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒

ส ๔.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔


คำอธบิ ายรายวชิ าประวตั ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖


ศึกษาวเิ คราะหค์ วามหมาย คณุ ค่า และใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ตามลำดับขั้นตอน
อย่างเป็นระบบ โดยนำเสนอตัวอย่างทีละขั้นตอนอย่างชัดเจน และนำวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช


สืบค้นเรือ่ งราวท่ตี นสนใจ จัดทำโครงงานทางประวัติศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะการไต่สวน การตรวจสอบ


การวิพากษ์ข้อมูล การตีความ การเปรียบเทียบ การแปลความ การสรุปอ้างอิง การให้เหตุผล
การสังเคราะห์ การสร้างองค์ความรู้ใหม่ และการนำเสนอ เพื่อฝึกฝนทักษะตามวิธีการ

ทางประวัติศาสตร์ได้อย่างเป็นระบบ และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง


มปี ระสทิ ธภิ าพ




เพ่อื นคู่คดิ มิตรคคู่ ร
ู 181
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรปู้ ระวัติศาสตร


ศึกษาวิเคราะห์ประเด็นและแนวคิดสำคัญของประวัติศาสตร์ไทย เช่น แนวคิด

เกี่ยวกับความเป็นมาของชนชาติไทย อาณาจักรโบราณในดินแดนไทยและอิทธิพลท่ีมีต่อการสถาปนา


อาณาจักรไทยในช่วงเวลาต่างๆ สาเหตุและผลของการปฏิรูปการปกครองบ้านเมือง การเลิกทาส
การเลิกระบบไพร่ การเสด็จประพาสยุโรปและหัวเมืองในสมัยรัชกาลท่ี ๕ การเปล่ียนแปลง


การปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ศกึ ษาวเิ คราะหค์ วามสำคญั ของสถาบนั พระมหากษตั ริยไ์ ทยตอ่ การพฒั นา


ชาติไทยในด้านการป้องกันและรักษาเอกราชของชาติ การสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย การส่งเสริม
การศึกษาและการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประชาชน เพื่อให้ตระหนักในความสำคัญของสถาบัน
พระมหากษตั ริย์ที่มตี อ่ สงั คมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปจั จบุ ัน

ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยท่ีส่งเสริมและสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย
อทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมตะวนั ตกและตะวันออกที่มตี ่อสังคมไทยสบื ตอ่ มาจนถึงปัจจบุ นั วถิ ีชวี ติ ของ
คนไทยสมัยต่างๆ การสืบทอดและการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย วิเคราะห์แนวทางและ

มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยและบุคคล


ท่ีส่งเสริมและสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยท่ีมีผลต่อสังคมไทยในปัจจุบัน โดยเน้นพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยู่หวั ภมู ิพลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ

ศึกษาวิเคราะห์ผลงานของบุคคลสำคัญทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่มีส่วน
สร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยและประวัติศาสตร์ชาติไทยในสมัยต่างๆ เช่น พระราชกรณียกิจของ

พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท ท่ีปรึกษาชาวต่างประเทศสมัยรัชกาลที่ ๕-๗
สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยานรศิ รานุวัดตวิ งศ์ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา
ดำรงราชานุภาพ ศาสตราจารย์ศิลป์ พรี ะศรี เป็นตน้

โดยใช้ทักษะการอ่าน การสำรวจ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ
การตีความ การสรุปความ การสังเคราะห์ การนำเสนอผลงานประวัติศาสตร์ด้วยวิธีการต่างๆ
เพื่อให้เข้าใจประเด็นสำคัญทางประวัติศาสตร์ไทย เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมไทย
ภูมิปัญญาไทย เข้าใจพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของไทยทางด้านต่างๆ ที่มีความเปลี่ยนแปลง


ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นแบบอย่างในการพัฒนาตน เห็นความมุ่งม่ันและความพยายาม
ของพระมหากษัตริย์และบรรพบุรุษไทยในการปกป้องเอกราชและวัฒนธรรมของชาติ ตระหนัก


ในคุณค่าของการใช้ภูมิปัญญาในการแก้ปัญหาเพ่ือพัฒนาสังคมและประเทศชาติ เข้าใจเอกลักษณ


ทางสังคมไทยท่ีเป็นพหุสังคมท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีความรักและภาคภูมิใจ
และมีส่วนร่วมอนุรกั ษ์มรดกทางวฒั นธรรมของชาตสิ ืบตอ่ ไป

ความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ัด

ส ๔.๑ : ม.๔-ม.๖/๑, ม.๔-ม.๖/๒

ส ๔.๓ : ม.๔-ม.๖/๑, ม.๔-ม.๖/๒, ม.๔-ม.๖/๓, ม.๔-ม.๖/๔, ม.๔-ม.๖/๕

รวม ๗ ตวั ชว้ี ัด


182 เพ่ือนคู่คิด มติ รคู่ครู

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร์

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ ประวตั ศิ าสตร์ เรอื่ ง ชุมชนของเรา ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑


ศึกษาเอกลักษณ์โดดเด่นที่สนใจในชุมชนตนเองเก่ียวกับอาหาร การแต่งกาย
ขนบธรรมเนียมประเพณี โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม การเล่าเรื่องจากผู้เกี่ยวข้อง


แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล เพ่ือก่อให้เกิดความรักและความภาคภูมิใจในชุมชนของตน ตระหนัก

และเหน็ คณุ คา่ ท่ีจะธำรงรกั ษาสบื ต่อไป

ผลการเรียนรู

๑. ระบุเอกลักษณใ์ นชมุ ชนตนเองได้

๒. อธิบายความสำคัญของเอกลักษณ์ในชุมชนตนเองได้

๓. ปฏิบัตติ ามแนวทางของเอกลกั ษณ์ในชุมชนตนเองได


คำอธบิ ายรายวิชาเพมิ่ เติมประวตั ศิ าสตร์ เร่อื ง บุคคลสำคัญในชมุ ชน ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๒


สืบค้นประวัติบุคคลสำคัญในชุมชน โดยใช้หลักฐานวิธีการสืบค้นอย่างง่ายๆ ในเรื่อง
เกี่ยวกับประวัติการเกิด การศึกษา ครอบครัว การดำเนินชีวิต โดยใช้การสังเกต การสอบถาม
เรยี งลำดับเหตุการณ์ การวิเคราะห์ การใหเ้ หตุผล การอธบิ าย และนำเสนอ

สืบค้นผลงานของบุคคลสำคัญที่ทำประโยชน์ต่อชุมชนและประเทศชาติ ในการ
สร้างสรรค์วัฒนธรรม ความเจริญ ความม่ันคง และเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตของคน

ในชุมชน ทั้งนี้เพ่ือให้เห็นคุณค่าและแบบอย่างในการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ทั้งน้ีเพ่ือให


เห็นคุณค่าและแบบอย่างการกระทำความดีของบรรพบุรุษที่ได้สร้างประโยชน์ให้กับชุมชน

และประเทศชาต

ผลการเรยี นร้

๑. อธิบายประวตั ิความเป็นมาและผลงานของบุคคลสำคัญในชมุ ชนได้

๒. อธิบายผลงานและคณุ งามความดขี องบคุ คลสำคัญในชุมชนได้

๓. นำวิธีการดำเนินชีวิตของบุคคลสำคัญในชุมชนมาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตของ
ตนเองตามความเหมาะสม


คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติมประวัติศาสตร์ เร่ือง ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม

ในท้องถ่ิน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓


ศึกษาความหมาย ความสำคัญ ประวัติความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี


และวัฒนธรรมในท้องถ่ิน และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
ในด้านความเชื่อ สภาพทางภูมิศาสตร์ อาหาร ภาษา การแต่งกาย โดยใช้ทักษะการสังเกต


การสำรวจ การสอบถาม การอ่าน การฟัง และสรุปความ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจรักและภูมิใจ


ในท้องถ่ินของตนเอง และรว่ มอนรุ กั ษส์ ืบสานขนบธรรมเนยี มประเพณีและวฒั นธรรมทอ้ งถิน่


เพ่ือนคู่คดิ มติ รค่คู ร
ู 183
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ประวัติศาสตร์

ผลการเรียนร้

๑. อธิบายความหมาย ความสำคัญ ประวัติความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี
และวฒั นธรรมในท้องถน่ิ

๒. วเิ คราะห์ปจั จยั ท่มี ีอิทธพิ ลต่อขนบธรรมเนียมประเพณแี ละวฒั นธรรมในท้องถนิ่ ได


คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมประวัติศาสตร์ เรื่อง บุคคลสำคัญและภูมิปัญญาในท้องถิ่น

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔


ศึกษาความเป็นมา ความสำคัญเกี่ยวกับบุคคลสำคัญในท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่น

ด้านต่างๆ เช่น ด้านอาหาร ดนตรี การละเล่นพ้ืนบ้าน โดยใช้ทักษะการสำรวจ การวิเคราะห์

การตีความ และการนำเสนอ เพื่อเข้าใจความเป็นมาของบุคคลสำคัญในท้องถิ่นและภูมิปัญญา
ท้องถิน่ เกิดความรักและความภาคภมู ใิ นความเป็นไทย ทอ้ งถิ่นและบรรพบุรษุ

ผลการเรยี นร
ู้
อธบิ ายความเป็นมา ความสำคญั ของบุคคลสำคัญในทอ้ งถ่ินและภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่


คำอธบิ ายรายวชิ าเพิม่ เตมิ ประวตั ศิ าสตร์ เรือ่ ง ตำนานท้องถิน่ ของเรา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕


สืบค้น ตำนานท้องถ่ินของตนเองอย่างง่ายๆ โดยรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลและ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีหลากหลาย บอกความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง

เก่ียวกับเรื่องราวในท้องถ่ิน โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม การสำรวจ การเปรียบเทียบ
การเช่ือมโยง การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์อย่างง่ายๆ เพ่ือฝึกฝนทักษะกระบวนการใช้วิธีการ

ทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในท้องถ่ิน ตระหนักและเห็นความสำคัญ


ทจ่ี ะธำรงรักษาตอ่ ไป

ผลการเรยี นรู

๑. ลำดบั ตำนานทอ้ งถิน่ ของตนเองได้

๒. อธบิ ายความแตกตา่ งระหวา่ งความจริงกับขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกับเร่ืองราวในท้องถิ่น

๓. ใชก้ ระบวนการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได


คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติมประวัติศาสตร์ เร่ือง การนำเสนอความรู้ประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน
ของเรา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖


การนำเสนอความรู้ทางประวัติศาสตร์ ท่ีได้ศึกษาค้นคว้าในรูปของโครงงานการศึกษา
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นอย่างง่ายๆ ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญ ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยใช้
ทักษะการอ่าน การสำรวจ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอธิบาย และเขียนเรียงความ


184 เพ่อื นคู่คดิ มติ รคู่ครู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรปู้ ระวตั ิศาสตร


การจัดนิทรรศการ เพ่ือฝึกทักษะการสืบค้นความเป็นมาหรือเหตุการณ์สำคัญในท้องถ่ินตามวิธีการ

ทางประวัติศาสตร์

ผลการเรยี นร
ู้
นำเสนอความรู้ทางประวัติศาสตร์ ที่ได้ศึกษาค้นคว้าในรูปของโครงงานการศึกษา
ประวตั ิศาสตรท์ ้องถน่ิ ได้


คำอธบิ ายรายวิชาประวตั ศิ าสตร์สากล ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔-๖


ศึกษาวิเคราะห์อารยธรรมของโลกยุคโบราณท่ีมีผลต่อพัฒนาการและการเปล่ียนแปลง

ของโลก ได้แก่ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกรีส-ยูเฟรตีส แม่น้ำไนล์ แม่น้ำฮวงโห และแม่น้ำสินธุ


และอารยธรรมกรีก-โรมัน การติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกและอิทธิพล


ทางวัฒนธรรมที่มตี อ่ กันและกนั

ศึกษาวิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่างๆ ท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองของโลก เช่น ระบอบศักดินาสวามิภักด์ิ สงครามครูเสด การฟื้นฟู
ศิลปวิทยาการ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจทางทะเล การปฏิรูปศาสนา การปฏิวัติ
อุตสาหกรรม แนวคิดเสรีนิยม แนวคิดจักรวรรดินิยม แนวคิดชาตินิยม การขยายอิทธิพลของ
ประเทศยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย การล่าอาณานิคมและผลกระทบความร่วมมือ

และความขัดแย้งของมนุษยชาติในโลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ วิเคราะห์สถานการณ์สำคัญของโลก


ในคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๑ เช่น เหตุการณ์ระเบิดตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ๑๑ กันยายน ๒๐๐๑


การก่อการร้ายและการต่อต้านการก่อการร้าย ความขัดแย้งทางศาสนา ตลอดจนถึงเหตุการณ์
ปัจจบุ นั ของโลก โดยใชท้ ักษะการสืบค้น การตรวจสอบ การวพิ ากษ์ การเปรยี บเทียบ การให้เหตผุ ล
การวิเคราะห์ การสังเคราะห์

เพ่ือให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติที่มีความเปลี่ยนแปลงจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
อย่างต่อเนื่อง โดยใช้ภูมิปัญญาท้ังของท้องถ่ินและภูมิปัญญาจากต่างประเทศมาแก้ไขปัญหา


ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เห็นความสำคัญและความจำเป็น
ของการร่วมมือกันสร้างสันติสุข สามารถปรับตัวให้ดำรงชีวิตอยู่ในโลกยุคโลกาภิวัตน์ได้อย่าง

มีประสิทธิภาพ

ความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ัด

ส ๔.๑ : ม.๔-ม.๖/๒

ส ๔.๒ : ม.๔-ม.๖/๑, ม.๔-ม.๖/๒, ม.๔-ม.๖/๓, ม.๔-ม.๖/๔

ส ๔.๓ : ม.๔-ม.๖/๑, ม.๔-ม.๖/๒

รวม ๗ ตัวชี้วัด




เพอื่ นคู่คิด มติ รคู่คร
ู 185
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ประวตั ศิ าสตร


บรรณานทิ ศั น์เอกสารสำคญั สำหรบั ครผู สู้ อนประวตั ิศาสตร์




“วันวาร กาลเวลา แลนานาศักราช” ของ ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร
ถือเป็นตำราภาษาไทยเพียงเล่มเดียวท่ีให้ความรู้อย่างครบถ้วน
เก่ียวกับระบบการนับวัน เวลา และศักราชสำคัญต่างๆ ของโลก
แ ล ะ อ ธิ บ า ย ท่ี ม า ข อ ง ศั ก ร า ช ท้ั ง ห ม ด ท่ี ป ร า ก ฏ ใ น เ อ ก ส า ร
ประวตั ศิ าสตร์ไทย







“คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ :
ประวัติศาสตร์ไทยจะเรียนจะสอนกันอย่างไร” กรมวิชาการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั พิมพ์เผยแพร่ ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๓

เนอื้ หาในเอกสารประกอบดว้ ย ๒ สว่ น คือ สว่ นแรก
อธิบายถึงปรัชญา ความสำคัญ และวิธีการทางประวัติศาสตร์


ครูกับการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ไทย ส่วนท่ีสอง เน้นไปท่ี
หลักฐาน เนื้อหาสาระ และความก้าวหน้าทางประวัติศาสตร์ใน
ช่วงสมัยตา่ งๆ ดินแดนไทยในสมยั โบราณ จนถึงต้นพุทธศตวรรษ

ที่ ๒๐

ในเอกสารยังกล่าวถึงเหตุการณ์เก่ียวกับการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ที่เช่ือว่า


เรากอ็ าจพบเจอไดแ้ ม้กระทง่ั ทกุ วนั นี้ ซง่ึ อาจเป็นจดุ ต้งั ตน้ ในการพฒั นาการสอนประวตั ศิ าสตรต์ ่อไป






อยากจะเล่าให้ฟังว่า ผู้เขียนเคยพบสถานการณ์อย่างหนึ่งขณะอยู่ในห้องสมุด

ของมหาวิทยาลัย เพื่อนอาจารย์หญิงจากคณะวิทยาศาสตร์ได้เดินเข้ามาขอคำปรึกษา


เร่ืองลูกสาว ซ่ึงเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนสตรีมีชื่อแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ
ต้องทำรายงานประวัติศาสตร์ส่งครูในหัวข้อหนึ่งและต้องหารูปภาพประกอบ ท่านบอกว่า
ลูกสาวของท่านทำการบ้านนี้ไม่ได้และเป็นกังวลมากจนไม่เป็นอันกินอันนอน เด็กนักเรียน
ท่ีเป็นทุกข์เพราะ “ต้องทำรายงาน” มีอยู่เป็นจำนวนมากและเป็นวิธีการสอนท่ีไม่ได้ผล
ประเพณีการตัดแปะ (scissors and paste) ในการทำรายงานส่งครู บางครั้งยังเป็น

โรคติดต่อไปจนถึงเม่ือเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยแล้ว ในฐานะครูสอนประวัติศาสตร์ไทย
ท่านจะมีส่วนช่วยให้สังคมปลอดโรค “ตัดแปะ” โดยถอนรากถอนโคนมันต้ังแต่เริ่ม

ตดิ เช้ือกันในโรงเรยี น


186 เพอื่ นคูค่ ิด มติ รคู่ครู

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์

คำอธบิ ายปกหนา้


๑. หม้อดินลายเขียนสีบ้านเชียง อุดรธานี แหล่ง
โบราณคดีบา้ นเชยี ง เป็นแหลง่ โบราณคดีสำคัญแหง่ หนึ่ง
อยู่ที่อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ท่ีทำให้รับรู้


ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนหลัง


ไปกวา่ ๕,๐๐๐ ปี







๒. พระอจนะ วดั ศรีชมุ จังหวัดสโุ ขทัย

“พระอจนะ” คำว่า อจนะ มีผใู้ หค้ วามหมายวา่


หมายถึง คำในภาษาบาลีว่า “อจละ” ซึ่งแปลว่า “ผู้ไม่
หวั่นไหว มั่นคง” “ผู้ที่ควรแก่การเคารพกราบไหว้”
พระอจนะเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ
วัสดุปูนปั้น แกนในก่ออิฐและศิลาแลง หน้าตักกว้าง
๑๑.๓๐ เมตร สงู ๑๕ เมตร องคพ์ ระพทุ ธรูปมขี นาดใหญ่
เต็มวิหาร ศิลปะแบบสุโขทัย วัดศรีชุม หรือวัดฤๅษีชุม
เป็นโบราณสถานในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
จังหวัดสุโขทัย ตัววัดเป็นโบราณสถานตั้งอยู่ทางทิศ

ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื นอกกำแพงเมืองสโุ ขทัย

๓. วัดพระศรสี รรเพชญ

วัดพระศรีสรรเพชญ์ เดิมในสมัย

สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๑ ใช้เป็นทปี่ ระทบั ต่อมา
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงสร้างพระราช-
มณเฑียรขึ้นใหม่ทางตอนเหนือ แล้วจึงโปรดฯ


ให้ยกเป็นเขตพุทธาวาส เพ่ือประกอบพิธีสำคัญ
ต่าง ๆ ของบ้านเมือง จึงเป็นวัดในเขตพระราชวัง
ท่ีไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แตกต่างกับวัดมหาธาตุ
สุโขทัย ท่ีมีพระสงฆ์จำพรรษา ท้ังวัดมหาธาตุ
สุโขทัย วัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา และ


วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่างก็ถูกสถาปนาขึ้น

ในมูลเหตุการสร้างวัดเดียวกัน น่ันคอื “สรา้ งเพอ่ื เป็นวัดประจำพระราชวัง”


เพ่ือนคู่คดิ มิตรคคู่ ร
ู 187
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์

๔. ยกั ษ์วัดแจง้

ทศกัณฐ์ เป็นหนึ่งในยักษ์ทวารบาลสองตน ที่ยืนเฝ้า
ประตทู างเขา้ พระอโุ บสถวดั อรุณราชวรารามคู่กับสหัสเดชะ เพราะ
ถอื ว่าเปน็ ยกั ษ์ท่ีมฤี ทธมิ์ ากเทา่ เทยี มกนั

มีการวิเคราะห์กันว่า ตัวละครอย่างทศกัณฐ์ หรือ
บรรดายักษ์ในเรื่อง เป็นตัวแทนของชาวทัสยุ หรือดารวิเดียน

ซ่ึงเป็นชนชาวผิวดำท่ีอยู่ทางตอนใต้ของอินเดียในสมัยโบราณ


และพระราม หรือพลพรรคลิง เป็นตัวแทนของชาวอารยัน หรือ
ชาวผิวขาวที่อยู่ทางตอนเหนือ และชาวอารยันก็ได้ทำสงคราม


ชนะชาวทัสยุ ซ่ึงต่อมาก็ได้มีการแต่งวรรณกรรมเรื่องรามเกียรติ์นี้ข้ึนมา

เพ่ือยกย่องพวกตนเอง




คำอธบิ ายปกหลงั


๑. ปราสาทหินพิมาย
รูปพระวิษณุในซุ้มเรือนแก้ว
ทับหลังท่ีปราสาทหินพิมาย สร้างสมัย
พระเจ้าสุริยวรมันท่ี ๑ พุทธศตวรรษ


ที่ ๑๖








๒. เจดยี ว์ ดั ช้างลอ้ ม ศรสี ชั นาลัย

วัดช้างล้อม เป็นโบราณสถานสำคัญ


ตั้งอยู่ในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย อำเภอ
ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย มีเจดีย์ทรงลังกาท่ีตั้งอยู่
บนฐานประทักษิณรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส มีช้างปูนปั้น


เต็มตัวล้อมรอบ ซ่ึงเป็นที่มาของชื่อโดยรอบฐาน


ทง้ั ๔ ดา้ น รวม ๓๙ เชือก หมายถงึ โพธิปักขยิ ธรรม


๓๗ ประการ ซ่ึงเป็นธรรมอันเป็นเครื่องหมาย


การตรสั รู้ ประกอบกบั วมิ ตุ ติ ๒ ประการ


188 เพื่อนคคู่ ดิ มติ รคูค่ รู

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ปู ระวัติศาสตร


Click to View FlipBook Version