The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวม-กาต่าย-1--เสร็จ 30-3-65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by zxczxc00457, 2022-03-30 22:21:35

รวม-กาต่าย-1--เสร็จ 30-3-65

รวม-กาต่าย-1--เสร็จ 30-3-65

การพฒั นาแอปพลเิ คชันเพื่อจัดการฐานขอ้ มลู กลุ่มเสย่ี งและเฝ้าระวังโรคโควิด-19
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลเกิ้ง จงั หวดั มหาสารคาม

DEVELOPING AN APPLICATION TO MANAGE THE DATABASE OF RISK
GROUPS AND MONITOR FOR COVID-19 KENG SUBDISTRICT HEALTH

PROMOTING HOSPITAL MAHA SARAKHAM PROVINCE

ภญิ ญา ผลดิลก

โครงการนี้เปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ
สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษามหาสารคาม
สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 3

พทุ ธศักราช 2565

การพฒั นาแอปพลเิ คชันเพื่อจัดการฐานขอ้ มลู กลุ่มเสย่ี งและเฝ้าระวังโรคโควิด-19
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลเกิ้ง จงั หวดั มหาสารคาม

DEVELOPING AN APPLICATION TO MANAGE THE DATABASE OF RISK
GROUPS AND MONITOR FOR COVID-19 KENG SUBDISTRICT HEALTH

PROMOTING HOSPITAL MAHA SARAKHAM PROVINCE

ภญิ ญา ผลดิลก

โครงการนี้เปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ
สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษามหาสารคาม
สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 3

พทุ ธศักราช 2565

ใบรบั รองโครงการ

ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจการพัฒนาแอปพลิเคชันเพ่ือ
จัดการฐานข้อมูลกลมุ่ เส่ียงและเฝา้ ระวังโรคโควิด-19โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเกิง้ จังหวดั มหาสารคาม
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) DEVELOPING AN APPLICATION TO MANAGE THE DATABASE OF RISK
GROUPS AND MONITOR FOR COVID-19 KENG SUBDISTRICT HEALTHPROMOTING HOSPITAL MAHA
SARAKHAM PROVINCE

จดั ทำโดย นายภิญญาผลดลิ ก

คณะกรรมการสอบโครงการ ประธานกรรมการ
กรรมการ
ลงชอ่ื .....................................................
(นางกนกกาญจน์ แสนสุวรรณ) อาจารย์ทปี่ รึกษาโครงการ

ลงชื่อ.....................................................
(นางสาวดวงเนตร ยศคำลือ)

ลงชื่อ.....................................................
(นายประมุข ธรรมศิรารักษ)์

สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 3 อนุมตั ใิ หโ้ ครงการฉบับนเี้ ป็นสว่ นหน่ึงของการศึกษา
ตามหลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของวิทยาลยั อาชีวศึกษามหาสารคาม

ลงช่ือ................................................
( นางสาวสพุ ตั ตา คมุ้ สวุ รรณ์ )

หัวหนา้ ภาควชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ
วนั ที่........เดือน.......................พ.ศ. .............
ลขิ สทิ ธข์ิ อง สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 3



กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงการการพัฒนาแอปพลิเคชันเพือ่ จดั การฐานข้อมลู กลุ่มเสีย่ งและเฝ้าระวังโรคโควดิ -19 โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม เล่มนี้สำเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยดี ได้รับความกรุณาชี้แนะ และ
ช่วยเหลอื อย่างดยี ่งิ จาก นายประมุข ธรรมศริ ารักษ์ อาจารย์ทปี่ รกึ ษาโครงการ

ขอขอบพระคุณ คุณนีรนุช ศรีสารคาม ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง และ
คุณญาณีกร สีสุรี นักวิชาการสาธารณสุขประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง ที่กรุณาให้คำแนะนำ
และใหข้ ้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการ

ขอขอบพระคุณคณาจารย์สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกิจทกุ ท่านที่ได้ใหค้ วามรู้ และให้ประสบการณ์อันมี
คา่ ย่งิ จนสามารถสำเรจ็ การศกึ ษาระดับบณั ฑติ

ขอขอบพระคุณบิดา มารดา และญาติ พ่ี น้อง ครอบครัว ทกุ ทา่ นที่ให้ความช่วยเหลือ และให้กำลังใจใน
การศึกษาตลอดมา และขอขอบคุณผทู้ ่มี สี ่วนเก่ียวข้องทุกท่านท่ผี ศู้ ึกษาไม่ได้เอย่ นามไว้ ณ ทน่ี ้ดี ว้ ย

คุณค่าและประโยชน์อันพึงมีต่อผู้ที่สนใจศึกษาโครงการฉบับนี้ ขอมอบเป็นกตัญญูกตเวทิตาแด่บิดา
มารดา และบรู พาจารยท์ เ่ี คยยอบรมสัง่ สอน และผู้มพี ระคุณทกุ ท่าน

ภิญญา ผลดลิ ก



ชือ่ โครงการ (ภาษาไทย) การพฒั นาแอปพลเิ คชนั เพ่ือจัดการฐานขอ้ มลู กล่มุ เสยี่ งและเฝ้าระวังโรค

โควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเก้งิ จงั หวดั มหาสารคาม

ชอื่ โครงการ (ภาษาอังกฤษ) DEVELOPING AN APPLICATION TO MANAGE THE DATABASE OF

RISK GROUPS AND MONITOR FOR COVID-19 KENG SUBDISTRICT

HEALTH PROMOTING HOSPITAL MAHA SARAKHAM PROVINCE

ผูจ้ ดั ทำโครงการ ภิญญา ผลดลิ ก

อาจารย์ท่ีปรกึ ษาโครงการ ประมุข ธรรมศริ ารักษ์

ปริญญา เทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ

สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 3 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษามหาสารคาม ปที ่ีพิมพ์ 2565

บทคัดย่อ

การศึกษาโครงการพัฒนาทักษะแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด -19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันเพ่ือ
จดั การฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝา้ ระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลเกิ้ง จงั หวัดมหาสารคาม
2) เพ่ือศึกษาความพงึ พอใจของเจ้าหน้าท่ีในการใช้งานระบบการพัฒนาแอปพลเิ คชันเพือ่ จัดการฐานข้อมูลกลุ่ม
เสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม เลือกกลุ่มตัวอย่าง
โอยใช้วิธเี จาะจง ได้แก่ นักวิชาการสาธารณสุข และพยาบาลวิชาชพี จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบ
ประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใช้งาน สถิตทิ ีใ่ ช้ คอื ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม พบว่า ผลการประเมินความพึงพอ ใจภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.01 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงลำดับข้อมูลจากมาก ไปน้อย ด้านประสิทธิภาพการ
นำไปใช้งาน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 ด้านการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย
เทา่ กบั 4.13 และด้านองคป์ ระกอบแอปพลิเคชนั อยใู่ นระดบั พอใช้ ค่าเฉลย่ี เท่ากับ 3.65

คำสำคญั : แอปพลิเคชนั เพือ่ จัดการฐานขอ้ มลู กลุ่มเส่ียงและเฝา้ ระวังโรคโควิด-19
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลเก้งิ จงั หวัดมหาสารคาม



TITLE DEVELOPING AN APPLICATION TO MANAGE THE DATABASE OF

RISK GROUPS AND MONITOR FOR COVID-19 KENG SUBDISTRICT

HEALTH PROMOTING HOSPITAL MAHA SARAKHAM PROVINCE

AUTHOR Pinya Phondilok

ADVIS0RS Pramuk Thammasirarak

DEGREE BACHELOR'S DEGREE TECHNOLOGY MAJOR BUSINESS COMPUTER

INSTITUTE OF VOCATIONALEDUATION NORTHEASTERN REGION 3

COLLEGE MAHASARAKHAM VOCATIONAL COLLEGE DATE 2022

ABSTRACT

A study of the project to develop application skills to manage the database of risk groups
and watch for COVID-19 Keng Subdistrict Health Promoting Hospital Maha Sarakham Province
Objective 1 ) To develop applications to manage the database of risk groups and monitor for
COVID-19 Keng Subdistrict Health Promoting Hospital Maha Sarakham Province 2) To study the
satisfaction of staff in using the application development system to manage the database of
risk groups and watch for COVID-19 Keng Subdistrict Health Promoting Hospital Maha Sarakham
Province Select a sample group using a specific method, namely public health scholars. and
3 0 professional nurses. The instrument used was the user satisfaction assessment form. The
statistics used were the mean and standard deviation.

Results of developing an application to manage the database of risk groups and monitor
for COVID-19 Keng Subdistrict Health Promoting Hospital Maha Sarakham Province found that
the satisfaction assessment results The overall mindset is at a high level. The mean is 4 . 0 1 .
when considering each item By sorting the data from the most to the least in terms of
efficiency, implementation. at a high level The mean was 4 . 2 5 in terms of access to
information. at a high level The mean was 4.13 and on the application component side. at a
fair level The mean is 3.65.

Keywords : Application to manage database of risk groups and monitor for COVID-19
Songserm Hospital Keng sub-district health Maha Sarakham Province



สารบัญ

หน้า

กติ ตกิ รรมประกาศ…………………………………………………………………………….………………………………………….. ก
บทคัดยอ่ ภาษาไทย…………………………………………………………………………………..……………………………..….... ข
บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ.................................................................................................................................. ค
สารบญั …………………………………………………………………………………………………………..………………..………….. ง
สารบัญภาพ…………………………………………………………………………………………………………...……………………. ฉ
สารบัญตาราง………………………………………………………………………………………………………………...……………. ซ
บทท่ี 1 บทนำ……………………………………………………………………………………………………………………………. 1

1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา………………………………………………………………………….. 1
1.2 วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา……………………………………………………………………………………………. 1
1.3 ขอบเขตของการศึกษา………………………………………………………………………………………………….. 2
1.4 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั ………………………………………………………………………………………….…. 3
1.5 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ………………………………………………………………………………………………………….. 3
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกยี่ วข้อง……………………………………………………………………………………….. 4
2.1 ความรู้เก่ยี วกับเวบ็ แอพพลิเคชั่น (Web Application) …………………………………………………..… 4

2.1.1 ประโยชนข์ อง Web Application ………………………………………………………………….…. 4
2.2 การออกแบบสว่ นต่อประสานผใู้ ช้ (User Interface) ……………………………………………………….. 5
2.3 ซอฟต์แวรท์ ี่ใช้ในการพัฒนาระบบ…………………………………………………………………………………... 6

2.3.1 Visual Studio Code…………………………………………………………………………………..…..... 6
2.3.2 JavaScript……………………………………………………………………………………………………...… 8
2.3.3 React ……………………………………………………………………………………………………….....… 9
2.3.4 Firebase……………………………………………………………………………………………………...…… 12
2.4 วงจรการพฒั นาระบบ SDLC…………………………………………………………………………………...…….. 13
2.4.1 การวางแผนระบบ (System Planning)………………………………………………………..….….. 13
2.4.2 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)………………………………………………….………….… 14
2.4.3 การออกแบบระบบ (System Design)………………………………………………….……………… 15
2.4.4 การพฒั นาระบบ (System Development)…………………………………………….…………… 15
2.4.5 การติดตงั้ ระบบ (System Implementation)..…………………………………….………………. 15
2.4.6 การดูแลรักษาระบบ (System Maintenance).…………………………………….………………. 15
2.5 งานวิจยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง……………………………………………………………………………………….………………. 16



สารบัญ (ต่อ)

หนา้

บทที่ 3 วิธกี ารดำเนินงาน.......................................................................................................................... 17
3.1 การพัฒนาแอปพลเิ คชนั เพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเส่ยี งและเฝา้ ระวังโรคโควิด-19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเก้ิง จังหวดั มหาสารคาม......................................................... 17
3.1.1 การวางแผนแอปพลิเคชัน............................................................................................. 17
3.1.2 การวิเคราะห์แอปพลเิ คชัน .......................................................................................... 18
3.1.3 การออกแบบแอปพลิเคชัน........................................................................................... 19
3.1.4 การพฒั นาแอปพลิเคชนั ................................................................................................ 19
3.1.5 การติดต้ังแอปพลิเคชัน ................................................................................................ 20
3.1.6 การดูแลรกั ษาแอปพลิเคชัน.......................................................................................... 20
3.2 การศกึ ษาความพึงพอใจของเจา้ หนา้ ที่ในการใช้แอปพลิเคชันเพ่ือจัดการฐานข้อมูลกลุ่ม
เสย่ี งและเฝา้ ระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลเก้งิ จังหวัดมหาสารคาม....... 21
3.2.1) เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล....................................................................... 21
3.2.2) การวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถติ ิ........................................................................................ 21

บทที่ 4 ผลการศกึ ษา............................................................................................................................. ....... 23
4.1 ผลการพัฒนาแอปพลิเคชันเพ่อื จัดการฐานขอ้ มลู กลมุ่ เส่ียงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลเก้ิง จังหวัดมหาสารคาม................................................... 23
4.1.1 ผลการวางแผนแอปพลิเคชนั ........................................................................................ 23
4.1.2 ผลการวเิ คราะห์แอปพลเิ คชัน....................................................................................... 24
4.1.3 ผลการออกแบบแอปพลิเคชนั ....................................................................................... 25
4.1.4 ผลการพฒั นาแอปพลิเคชัน........................................................................................... 31
4.2 ผลการศกึ ษาความพึงพอใจของเจ้าหนา้ ท่ใี นการใชแ้ อปพลเิ คชนั เพ่ือจัดการฐานขอ้ มูล
กลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวงั โรคโควดิ -19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลเกิ้ง
จังหวัดมหาสารคาม............................................................................................................... 47

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ................................................................................................ 51
5.1 สรุปผลการศึกษา................................................................................................................... 51
5.2 อภิปรายผลการศึกษา............................................................................................................ 51
5.3 ขอ้ เสนอแนะ.......................................................................................................................... 52

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข
ภาคผนวก ค
ประวตั ิผู้เขียน



สารบญั ภาพ

ภาพที่ หน้า
2.1 ดาวนโ์ หลด Visual Studio Code........................................................................................................ 7
2.2 หน้าต่างสว่ นเสรมิ Visual Studio Code............................................................................................. 7
2.3 Downloads React.............................................................................................................................. 9
2.4 Command Prompt............................................................................................................................ 10
2.5 สรา้ งไฟล์พืน้ ฐานต่าง ๆ.......................................................................................................................... 10
2.6 สรา้ งโปรเจ็กตใ์ หม่................................................................................................................................. 11
2.7 ไฟล์โปรเจ็กตใ์ หม่................................................................................................................................... 11
2.8 รนั โปรเจตท์ ่ีสรา้ งไว้............................................................................................................................... 11
2.9 โปรเจกต์ทสี่ ร้าง..................................................................................................................................... 12
2.10 วงจรการพัฒนาระบบ (Systems Development Life Cycle : SDLC)........................................... 13
4.1 ผังงานการเข้าใชง้ านของผูใ้ ชแ้ ละผู้ดแู ลระบบ...................................................................................... 25
4.2 ออกแบบหนา้ จอหลักของแอปพลิเคชนั และเมนใู ช้งานตา่ ง ๆ.............................................................. 25
4.3 ออกแบบหน้าจอเมนกู ารลงทะเบยี น................................................................................................... 26
4.4 ออกแบบหน้าจอเมนูADMIN............................................................................................................... 27
4.5 ภาพแสดงหนา้ แรกของผใู้ ช้.................................................................................................................... 31
4.6 ภาพแสดงหน้าเมนูลงทะเบยี นผูเ้ ดนิ ทางเขา้ พื้นที่หรือกลุ่มเส่ียงผ้สู มั ผสั

ผปู้ ว่ ยยืนยนั โควดิ -19............................................................................................................................. 32
4.7 ภาพแสดงการแจ้งเตอื น กรณุ ากรอกขอ้ มลู ให้ครบและตรวจสอบความถูกตอ้ ง..................................... 32
4.8 ภาพแสดงการแจ้งเตอื น มเี ลขบตั รประชาชนน้แี ลว้ ............................................................................... 33
4.9 ภาพแสดงหน้าเมนผู ูเ้ ดนิ ทางเขา้ ในพนื้ ท่ี................................................................................................ 33
4.10 ภาพแสดงหนา้ เมนูคำถามคดั กรองความเสย่ี งผู้เดินทางเขา้ ในพนื้ ที่.................................................... 34
4.11 ภาพแสดงแจง้ เตือนไม่พบเลขบัตรประชาชน...................................................................................... 35
4.12 ภาพแสดงดปู ระวัติ.............................................................................................................................. 35
4.13 ภาพแสดงแจง้ เตือนคุณมีความเสีย่ ง กรุณากักตวั ................................................................................ 36
4.14 ภาพแสดงแจง้ เตือนคุณไม่มคี วามเสี่ยง................................................................................................ 36
4.15 ภาพแสดงเมนูผสู้ มั ผสั ผู้ป่วยยนื ยันโควดิ -19........................................................................................ 37
4.16 ภาพแสดงหนา้ คำถามคัดกรองความกล่มุ เสี่ยงหรอื ผู้สัมผสั ผปู้ ่วยยืนยนั โควดิ -19................................ 37
4.17 ภาพแสดงการแจ้งเตือน ไม่พบเลขบัตรประชาชน............................................................................... 38
4.18 ภาพแสดงหนา้ ดปู ระวัติ....................................................................................................................... 38
4.19 ภาพแสดงการแจ้งเตือน คณุ ไม่มีความเสี่ยง........................................................................................ 39
4.20 ภาพแสดงการแจ้งเตือน คณุ มีความเสย่ี ง กรณุ ากกั ตัว........................................................................ 39



สารบญั ภาพ (ต่อ)

ภาพที่ หน้า
4.21 ภาพแสดงหนา้ เมนูลงข้อมูลการวดั อณุ หภูมิ........................................................................................ 40
4.22 ภาพแสดงการแจง้ เตือน ไม่พบเลขบตั รประชาชน............................................................................... 40
4.23 ภาพแสดงหน้าดูประวัติ....................................................................................................................... 41
4.24 ภาพแสดงการแจ้งเตือน คุณอุณหภูมิปกติ........................................................................................... 41
4.25 ภาพแสดงการแจ้งเตือน คุณอุณหภูมสิ ูง กรุณากกั ตัว.......................................................................... 42
4.26 ภาพแสดงหนา้ เมนูเชค็ ยอดผู้ตดิ เชอ้ื โควดิ -19...................................................................................... 42
4.27 ภาพแสดงหน้าเมนูแก้ไขการลงทะเบยี น.............................................................................................. 43
4.28 ภาพแสดงการแจง้ เตือน เลขบตั รน้ียงั ไม่ไดล้ งทะเบียน........................................................................ 43
4.29 ภาพแสดงการแจง้ เตือน กรุณากรอกข้อมลู ใหค้ รบและตรวจสอบความถกู ต้อง .............................. 44
4.30 ภาพแสดงหน้า Log in........................................................................................................................ 44
4.31 ภาพแสดงหนา้ รีเซต็ รหัสผา่ น............................................................................................................... 45
4.32 ภาพแสดงหนา้ ADMIN....................................................................................................................... 45
4.33 ไอคอน Logout................................................................................................................................. 46
4.34 ไอคอน ดาวนโ์ หลด............................................................................................................................ 46
4.35 ไอคอน คน้ หา..................................................................................................................................... 46
4.36 ไอคอน ลบข้อมลู การลงทะเบียน........................................................................................................ 46



สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา้

4.1 ตารางขอ้ มลู การลงทะเบียนผเู้ ดนิ ทางเขา้ ในพ้นื ที่หรือกลมุ่ เส่ียงผสู้ ัมผัสผู้

ป่วยยนื ยันโควดิ -19 (datacomein)…………………………….………………………………………........................ 28

4.2 ตารางข้อมลู คำถามคัดกรองความเสี่ยงผเู้ ดนิ ทางเข้าในพนื้ ท่ี (dataquestion)..................................... 29

4.3 ตารางขอ้ มูลคำถามคัดกรองกลมุ่ เส่ยี งหรือผสู้ มั ผัสผ้ปู ว่ ยยนื ยนั โควดิ -19 (datarisk)............................. 30

4.4 ตารางขอ้ มลู ลงข้อมูลการวัดอุณหภูมิ (datatemp)............................................................................... 30

4.5 ข้อมูลทวั่ ไป เพศ ................................................................................................................................ 47

4.6 ขอ้ มูลทว่ั ไป สถานภาพ.......................................................................................................................... 47

4.7 ความพงึ พอใจดา้ นองคป์ ระกอบแอปพลิเคชัน....................................................................................... 48

4.8 ความพึงพอใจด้านการเข้าถงึ ขอ้ มูลสารสนเทศ...................................................................................... 49

4.9 ความพึงพอใจดา้ นประสิทธิภาพการนำไปใช้งาน................................................................................... 49

4.10 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ช้งานท่ีมตี อ่ การใช้งานแอปพลเิ คชนั เพื่อจัดการฐาน

ขอ้ มูลกลมุ่ เสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลเกิ้ง

จังหวัดมหาสารคาม รวมทกุ ด้าน........................................................................................................... 50

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา
ในปจั จบุ นั การตดิ ตามกลุ่มเสีย่ งหรือคนไข้โควดิ -19 ในหนว่ ยงานจะเปน็ การเก็บข้อมูลดว้ ยเอกสารปัญหา

ทพี่ บคือทำใหย้ ากตอ่ การดูแลและการนำสง่ เอกสารของ อสม.(อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมู่บา้ น) เนื่องจาก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพขนาดใหญ่ มีพื้นที่ดูแลทั้งหมด 14
หมู่บ้าน นอกจากนี้ยังเสียค่าใช้จ่ายในการนำส่งเอกสารของ อสม.(อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน)
ปัจจบุ นั บางหนว่ ยงานมกี ารจัดเก็บข้อมูลทางออนไลน์เพิ่มมากขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากปัจจุบันอุปกรณ์ส่ือสารอย่าง
สมาร์ทโฟน (Smart Phone) ได้รับความนิยมมากในปัจจุบันเนื่องจากการพัฒนาความสามารถของ
แอปพลเิ คชนั (Application) บนมือถือท่ีทำให้เกิดความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น

การจดั เกบ็ เอกสารการติดตามกลุ่มเส่ียงหรือคนไข้โควดิ -19 ในโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลบ้านเก้ิง
เป็นการเก็บเอกสารระบบท่ีทำด้วยมือการนำส่งเอกสารล่าช้า ด้วยระยะทางที่ไกลและไม่มีความปลอดภัยไม่มี
ระบบจัดเก็บเอกสารใช้เวลานานและยุ่งยากทำให้เสียเวลา ในการค้นหาจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพใน
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลบ้านเกิ้งพบว่าในหน่วยงานมีปญั หา ในการติดตามข้อมูลและการดูแลตดิ ตาม
ข้อมูลผู้จัดทำจึงมีความต้องการจัดระบบการทำการใหม่โดยนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และแอพพลิเคชั่น
(Application) ในรูปแบบออนไลน์เข้ามาชว่ ยในการดแู ลและการจัด เก็บเอกสารโดยใชก้ ารเขียนแอพพลิเคชนั่
(Application) ด้วย JavaScript ในการสร้างแอพพลิเคชั่น (Application) ในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล
เพอื่ ลดขอ้ ผิดพลาดที่เกิดขึ้นรวมไปถงึ ทำให้เกิดความ สะดวกรวดเรว็ ในการจดั การเอกสารและการสืบค้นข้อมูล
จากฐานข้อมลู แบบออยไลนไ์ ด้ เพือ่ ความสะดวกและรวดเร็วอีกด้วย

1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ
1.2.1 เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาล

ส่งเสริมสุขภาพตำบลเก้ิง จังหวัดมหาสารคาม
1.2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหนา้ ที่ในการใช้แอปพลิเคชนั เพื่อจดั การฐานข้อมูลกลุ่มเส่ียงและ

เฝา้ ระวงั โรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลเกง้ิ จังหวัดมหาสารคาม

2

1.3 ขอบเขตของการศึกษา
การออกแบบ และการพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิง้ จังหวัดมหาสารคาม ในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้กำหนดขอบเขตการศึกษา ดังน้ี
1.3.1 ด้านระบบงาน
1.3.1.1 ส่วนของผูใ้ ช้ (User) สามารถใชง้ านได้ดังต่อไปนี้
1) ลงทะเบยี นผเู้ ดินทางเข้าพ้ืนท่หี รือกลุ่มเสย่ี งผู้สมั ผัสผูป้ ว่ ยยนื ยันโควิด-19
2) ผู้เดินทางเขา้ ในพ้นื ที่
2.1) คำถามคัดกรองความเสี่ยงผ้เู ดนิ ทางเข้าในพ้นื ท่ี
2.2) ลงขอ้ มูลการวัดอุณหภมู ิ
3) ผู้สัมผัสผู้ปว่ ยยนื ยันโควิด-19
3.1) คำถามคดั กรองความเส่ยี งหรือผ้สู ัมผสั ผปู้ ว่ ยยนื ยันโควดิ -19
3.2) ลงข้อมูลการวัดอุณหภูมิ
1.3.1.2 เช็คยอดผู้ตดิ เชือ้ โควดิ -19
1.3.1.3 แกไ้ ขการลงทะเบียน
1.3.2 ส่วนของผูด้ ูแลระบบ (ADMIN) สามารถจัดการระบบได้ดังตอ่ ไปน้ี
1.3.2.1 สามารถเพิม่ ลบ แก้ไข คน้ หา และสำรองฐานข้อมูลได้
1.3.2.2 สามารถดาวนโ์ หลดข้อมูลออกมาเก็บเปน็ ไฟล์ Excel ,PDF ได้
1.3.3 ดา้ นฮารด์ แวร์
1.3.3.1 คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค ASUS 11th Gen Intel(R) Core(TM) i5-11400H @ 2.70GHz

2.69 GHz RAM 8 GB
1.3.4 ดา้ นซอฟตแ์ วร์
1.3.4.1 โปรแกรม Visual Studio Code
1.3.4.2 เทคโนโลยกี ารพัฒนาเวบ็ ไซต์ JavaScript, React, Node.js,Firebase
1.3.4.3 ระบบปฏิบตั ิการ Microsoft Windows 10
1.3.5 ด้านประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง
การศกึ ษาครัง้ นี้ ได้มกี ลุ่มตวั อยา่ ง 1 กลมุ่ สำหรับประเมนิ แบบแบบประเมินความพึงพอใจ ดังน้ี
1.3.5.1 ประชากรกล่มุ ตวั อยา่ ง สำหรบั ประเมนิ ความพึงพอใจ คัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน

30 คน ได้แก่ เจา้ หนา้ ทป่ี ระจำโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลในอำเภอเมือง จังหวดั มหาสารคาม

3

1.4 ประโยชน์คาดวา่ จะได้รบั
1.4.1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง มแี อปพลเิ คชันเพ่อื จัดการฐานข้อมลู กลมุ่ เสี่ยงและเฝ้าระวัง

โรคโควดิ -19 ไวใ้ ช้งาน
1.4.2 เจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกงิ้ มคี วามพึงพอใจ ในการใช้แอปพลเิ คชนั เพ่ือจัดการ

ฐานขอ้ มลู กลมุ่ เสี่ยงและเฝา้ ระวังโรคโควดิ -19

1.5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
1.5.1 แอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 หมายถึง การเก็บข้อมูล

เปน็ หลกั ฐาน ลายลักษณ์อกั ษร เพ่ือใชอ้ า้ งองิ เอกสารน้ัน ๆ ในรูปแบบแอปพลเิ คชนั การคัดกรองและตดิ ตาม โค
วิด-19 มีคุณสมบัตใิ นการแกไ้ ขข้อมูล การเพิ่มข้อมูล การลบข้อมูล การค้นหาขอ้ มูล และการแสดงผลข้อมลู ได้
ของ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลเก้งิ

1.5.2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง หมายถึง โรงพยาบาลที่ผู้บริหาร และบุคลากรของ
โรงพยาบาล ไดต้ ระหนักถึงศักยภาพของตนเอง มีนโยบาย ตลอดจนจดั ระบบบรหิ ารจดั การ ให้มีกจิ กรรม หรือ
กระบวนการ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ สอดแทรกในทุกโอกาส หรือพยายามจัดหาช่องทาง ให้มีกิจกรรม หรือ
กระบวนการดา้ นส่งเสริมสุขภาพใหเ้ กิดขนึ้ ไมเ่ พยี งตอ่ ผู้ป่วย หรอื ผมู้ ารับบรกิ ารหลัก แต่ยงั ขยายฐานไปยังญาติ
เพ่ือน หรอื บุคคลใด ๆ ก็ตาม ท่ไี ดม้ โี อกาสเข้าไปในโรงพยาบาล รวมท้งั ชมุ ชนทีโ่ รงพยาบาลต้ังอยู่ และที่สำคัญ
จะต้องรวมถึง บุคลากรในโรงพยาบาล ซึ่งถือได้ว่า เป็นผู้รู้ ผู้ดำเนินการ และน่าจะเป็นแบบอย่างที่ดี ในการ
ส่งเสริมสุขภาพ สง่ เสรมิ อนามัยสิ่งแวดล้อม ตลอดจนถงึ การใหก้ ารดูแล ผรู้ ับบริการในลักษณะขององค์รวม ท่ี
เปีย่ มดว้ ยคุณภาพ

1.5.3 Web Application หมายถงึ Application ท่ถี กู เขียนขึน้ มาเพื่อใชง้ านบน Browser (บราวเซอร)์
สำหรับการใช้งานเว็บเพจต่าง ๆ ซึ่งถูกปรับแต่งให้แสดงผลแต่ส่วนที่จำเป็น เพื่อเป็นการลดทรัพยากรในการ
ประมวลผล ของตวั เครือ่ งสมารท์ โฟน หรอื แทบ็ เล็ต ทำใหโ้ หลดหนา้ เว็บไซต์ได้เรว็ ขึน้ อกี ท้ังผใู้ ชง้ านยังสามารถ
ใช้งานผ่าน อินเตอรเ์ นต็ ในความเรว็ ตํ่าได้

บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง

ในการศึกษาการพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด -19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม ผู้จดั ทำได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่าง ๆ
จากเอกสารที่เกยี่ วข้องดงั ตอ่ ไปน้ี

2.1 ความร้เู กีย่ วกบั เวบ็ แอพพลิเคชน่ั (Web Application)
2.2 การออกแบบส่วนต่อประสานผ้ใู ช้ (User Interface)
2.3 ซอฟตแ์ วร์ที่ใช้ในการพฒั นาระบบ
2.4 วงจรการพัฒนาระบบ SDLC
2.5 งานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง

2.1 ความรู้เกยี่ วกบั เว็บแอปพลิเคชนั (Web Application)
เวบ็ แอปพลเิ คชนั (Web Application) คือ แอปพลิเคชนั (Application) ทถ่ี ูกเขยี นข้ึนมาเพอื่ ทำงานบน

โปรแกรม เว็บบราวเซอร์ (Web Browser) สำหรับการใช้งาน เว็บเพจ (Webpage) ต่าง ๆ ซึ่งถูกปรับแต่งให้
แสดงผลแต่สว่ นที่จำเป็น เพื่อเป็นการลดทรัพยากรในการประมวลผล ของตัวเครื่องสมาร์ทโฟน หรือ แท็บเลต
ทำให้โหลดหน้าเว็บไซต์ได้เร็วขึ้น อีกทั้งผู้ใช้งานยังสามารถใช้งานผ่านอินทราเน็ต (Internet)และ อินทราเน็ต
(Intranet) ความเร็วตํา่ ได้

การทำงานของ Web Application นั้นโปรแกรมส่วนหนึ่งจะวางตัวอยู่บน Rendering Engine ซึ่งตัว
Rendering Engine จะทำหน้าที่หลัก ๆ คือนำเอาชุดคำสั่งหรือรูปแบบโครงสร้างข้อมูลที่ใช้ในการแสดงผล
นำมาแสดงผลบนพนื้ ท่ีสว่ นหนง่ึ ในจอภาพโปรแกรมส่วนท่ีวางตวั อยบู่ น Rendering Engine จะทำหน้าที่
หลัก ๆ คือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสิ่งที่แสดงผล จัดการตรวจสอบข้อมูลที่รับเข้ามาเบื้องต้นและการประมวล
บางส่วนแต่ส่วนการทำงานหลัก ๆ จะวางตัวอยู่บนเซิร์ฟเวอร์ ในลักษณะ Web Application แบบเบื้องต้น
โดยฝั่งเซิร์ฟเวอร์จะประกอบไปด้วยเว็บเซิร์ฟเวอร์ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมต่อกับไคลเอน ตามโปรโตคอล HTTP /
HTTPS โดยนอกจากเว็บเซิร์ฟเวอร์จะทำหน้าที่ส่งไฟล์ที่เกี่ยวเนื่องกับการแสดงผลตามมาตรฐาน HTTP
ตามปกติทั่วไปแล้ว เว็บเซิร์ฟเวอร์จะมีส่วนประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นตัวแปลภาษา เช่น Script Engine ของ
ภาษา PHP หรืออาจจะมีการติดตั้ง .NET Framework ซึ่งมีส่วนแปลภาษา CLR (Common Language
Runtime) ท่ใี ช้แปลภาษา intermediate จากโคด้ ทเี่ ขยี นด้วย VB.NET หรอื C#.NET หรืออาจจะเปน็ J2EE ท่ี
มีส่วนแปลไบต์โคด้ ของคลาสท่ไี ด้จากโปรแกรมภาษาจาวา เปน็ ต้น

2.1.1 ประโยชน์ของ Web Application
2.1.1.1 เป็นสอ่ื อิเล็กทรอนิกสท์ างอนิ เตอรเ์ น็ต ทีใ่ ชเ้ พื่อการโฆษณา ประชาสมั พนั ธ์ การตลาด

ใหข้ อ้ มลู ข่าวสาร และสร้าง ภาพลกั ษณท์ ่ีดีแกธ่ ุรกจิ และองคก์ ร

5

2.1.1.2 สามารถเพิ่มภาพลักษณ์ที่ดี และความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทหรือกิจการ เพิ่มความมี
จุดเด่นมีความชัดเจนของธรุ กิจมากข้ึน เหล่านีเ้ องเป็นสิ่งทีจ่ ะทำให้ลูกคา้ เข้ามาซื้อสินคา้ และให้ความสำคัญกับ
แบรนด์เรามากขึ้น เพราะสามารถไว้ใจได้ เขา้ ถงึ งา่ ยและสะดวก

2.1.1.3 มปี ฏสิ มั พนั ธ์ทีด่ ี มีชอ่ งทางการติดตอ่ ท่ีสะดวกมากขน้ึ
2.1.1.4 ประหยัดเวลา มคี วามสะดวกเมอื่ ตอ้ งการใช้งาน ตดิ ต่อประสานงานไดง้ ่ายขนึ้
2.1.1.5 สามารถเขา้ ระบบได้ทุกรูปแบบท้งั IOS, Android, Desktop App

2.2 การออกแบบสว่ นตอ่ ประสานผู้ใช้ (User Interface)
User Interface Design หรือ Human - Computer Interaction คือ การออกแบบส่วนต่อ ประสาน

กับผู้ใช้ ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีกระบวนการที่เริ่มจากการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนภูมิ
ความรู้ของนักจิตวิทยา นักการศึกษา นักออกแบบกราฟิก ช่างเทคนิค ผู้เชี่ยวชาญด้าน มนุษย์วิทยา นัก
ออกแบบสถาปัตยกรรมข้อมลู และนักสังคมศาสตร์ เพือ่ มาร่วมกันพฒั นากระบวนการ ออกแบบพัฒนาส่วนต่อ
ประสานให้ใชง้ านไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั คอื สามารถใช้ งานไดง้ ่าย ใช้ทกั ษะสว่ นบุคคล
น้อย มีการฝึกอบรมการใช้งานน้อย เพิ่มมาตรฐานการออกแบบส่วนต่อ ประสานในระบบ (U.S Military
Standard for Human Engineering Design Criteria, 1999) นอกจากนี้การออกแบบส่วนต่อประสานทีด่ ีจะ
ทำใหง้ านท่ีสำเรจ็ ออกมาดใี ชง้ านได้ง่าย เรยี นรไู้ ดง้ ่าย

Universal Usability ในการออกแบบส่วนต่อประสานเราควรคำนงึ ถึงเรื่องใดบา้ ง
1. ความหลากหลายของผู้ใชง้ านทง้ั ทางกายภาพและสภาพแวดลอ้ ม
2. บุคลิกของผู้ใช้ทีแ่ ตกตา่ งกัน / ความต่างระหวา่ งบคุ คล
3. ความหลากหลายทางเชื้อชาตแิ ละวฒั นธรรม
4. ผใู้ ช้งานทีไ่ ร้ความสามารถหรือพิการ
5. อายขุ องผู้ใชง้ าน
6. การออกแบบสำหรบั เด็ก เดก็ ตอ้ งการการออกแบบทีแ่ ตกตา่ งจากผู้ใหญ่
7. การปรบั ให้เขา้ กับซอฟท์แวรแ์ ละฮาร์ดแวร์ ท่ีมีอยูเ่ พอื่ ไม่ใหเ้ กิดปญั หา

ข้อคำนึงดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การออกแบบส่วนต่อประสานควรที่จะคำนึงถึงแทบทุกเรื่องไม่ว่าจะเป็น
เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ก็นำมาเป็นส่วนประกอบในการพิจารณาได้ทั้งสิ้น เช่น ในบางศาสนามีข้อต้องห้าม
สำหรับการแสดงภาพสัตว์ สิ่งของบางชนิด, ผู้ใช้งานที่เป็นเด็กจะนิยมภาพที่มีสีสัน ฉูดฉาดมากกว่าผู้ใหญ่
สภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ในการใชง้ านก็เป็นส่วนหน่ึง เชน่ เม่ือเราจะออกแบบตโู้ ฆษณากลางแจ้งมีแสงมากแต่เรา
ออกแบบให้มีสีที่มีการตัดกัน (Contrast) น้อย จะทำให้ผู้ใช้งานมองเห็นข้อความที่เราสื่อไม่ชัดเจน แม้กระทั่ง
ความแตกต่างเฉพาะบุคคลเช่นบางคนชอบอ่านมากกว่าฟังบางคนชอบภาพเคลื่อนไหวมากกว่าภาพนิ่ง ส่ิง
เหล่านี้ล้วนเป็นตัวแปรในการออกแบบส่วนต่อ ประสานทั้งส้ิน Principle หลักการในการออกแบบส่วนต่อ
ประสาน (Ben, 2005)

1 ประเมินทักษะผู้ใช้งาน เพราะผู้ใช้งานมีหลากหลาย การรู้จักผู้ใช้ เป็นหลักการ แรกที่ต้องทำ
(Hansen, 1971) เราอาจแบ่งทักษะผู้ใช้งานออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ ผู้ใช้มือใหม่ (Novice or first-time

6

user) ผู้ใช้ระดับกลาง (Knowledgeable intermittent users) และ ผู้เชี่ยวชาญ (Expert frequent user)
หากจะออกแบบให้ใช้งานได้กับกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งจะเป็นเรื่องง่าย แต่ถ้าต้องออกแบบให้คนทั้งสามกลุ่มเข้าใจ
รว่ มกนั ได้ จะเป็นเรอื่ งที่ยากและทา้ ทายมากแจกแจงงาน นกั ออกแบบต้องแจกแจงหนา้ ท่ีและงานของระบบให้
ละเอียดกอ่ น แลว้ เรียงลำดบั ว่างานไหนมคี วามสำคญั ก่อนงานไหนสำคัญหลงั

2 เลอื กแบบการมีปฏสิ มั พนั ธก์ ารปฏสิ ัมพันธ์มไี ดห้ ลายรูปแบบ ใช้กฎ 7 ขอ้ สำหรบั การออกแบบหน้าจอ
1) Strive for consistency ทำให้เกิดความสม่ำเสมอ ไมว่ ่าจะเป็นเมนู ไอคอน สี รูปแบบ ตวั อักษร

ตา่ ง ๆ ควรจะมีความสมำ่ เสมอ เปน็ รปู แบบเดยี วกัน ไม่ว่าจะเปน็ สัญลกั ษณ์ สี ขนาดที่ใชค้ วรจะเป็นชุดเดยี วกัน
2) Cater to universal usability ให้ความพอใจกับทุกคน กับทุกกลุ่มผู้ใช้ เราอาจต้องหาข้อมูล

ผใู้ ชง้ านมาให้ครอบคลมุ ทง้ั หมด แล้วเลือกการออกแบบท่ีผู้ใชง้ านสว่ นใหญพ่ อใจ
3) Offer information feedback ให้ข้อมูลป้อนกลับเมื่อมีการปฏิสัมพันธ์ ข้อมูลป้อนกลับจะเป็น

ตัวเร้าท่ีดสี ำหรบั ผู้ใชง้ าน ใหม้ คี วามรสู้ กึ วา่ กำลงั ได้ควบคมุ และโตต้ อบกบั ระบบ
4) Design dialog yield closure ออกแบบใหม้ ีจุดเรม่ิ ตน้ ระหวา่ งกลาง
5) Prevent error มีการป้องกันความผิดพลาดจากผู้ใช้งาน เช่น เมื่อมีการ คลิกเมาส์ผิดที่ หรือ

ป้อนข้อมลู ผิด ระบบจะมีข้อความเตือนว่าผูใ้ ชง้ านป้อนขอ้ มลู ผดิ พลาด
6) Permit easy reversal of actions สามารถย้อนกลบั ไดง้ า่ ยเพ่อื แก้ไข
7) Support internal locus of control ระบบมีการจัดการการควบคุม ภายใน ต้องออกแบบให้

เกดิ การตอบสนองของหน้าจอกบั สิง่ ทีผ่ ู้ใชไ้ ด้กระทำลงไปให้มคี วามสัมพันธ์กัน Reduce short-term memory
load ลดความยาวของเวลาทีน่ ำเสนอเน้ือหาเพ่อื งา่ ยในการจดจำใน ความจำระยะสน้ั

2.3 ซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี ชใ้ นการพัฒนาระบบ
2.3.1 Visual Studio Code
Visual Studio Code หรอื VS Code เปน็ โปรแกรม Code Editor ท่ีใชใ้ นการแกไ้ ขและปรับแต่ง

โค้ด จากค่ายไมโครซอฟท์ มีการพัฒนาออกมาในรูปแบบของ Open Source จึงสามารถนำมาใช้งานได้แบบ
ฟรี ๆ ทีต่ ้องการความเปน็ มืออาชีพ

ซง่ึ Visual Studio Code นนั้ เหมาะสำหรับนกั พฒั นาโปรแกรมทตี่ อ้ งการใช้งานขา้ มแพลตฟอร์ม
รองรับการใช้งานทั้งบน Windows, macOS และ Linux สนับสนุนทั้งภาษา JavaScript, TypeScript และ
Node.js สามารถเชื่อมต่อกับ Git ได้ นำมาใชง้ านไดง้ า่ ยไมซ่ ับซ้อน มีเครือ่ งมอื สว่ นขยายต่าง ๆ ใหเ้ ลอื กใชอ้ ย่าง
มากมาก ไม่ว่าจะเป็น 1.การเปิดใช้งานภาษาอื่น ๆ ทั้ง ภาษา C++, C#, Java, Python, PHP หรือ Go
2.Themes 3.Debugger 4.Commands เป็นตน้

7

ภาพที่ 2.1 ดาวน์โหลด Visual Studio Code
ท่ีมา : https://code.visualstudio.com

Visual Studio Code ทำอะไรไดบ้ า้ ง
โดยทวั่ ๆ ไป Visual Studio Code สามารถสรา้ งแอปพลิเคชนั สำหรบั บนั ทึกขอ้ มลู ท่วั ๆ ไป โดยรองรับ
ภาษาไดห้ ลากหลายภาษา ไมว่ ่าจะเปน็ 1.การเปดิ ใช้งานภาษาอน่ื ๆ ทง้ั ภาษา C++, C#, Java, Python, PHP
หรือ Go 2.Themes 3.Debugger 4.Commands เป็นตน้
นอกจากนี้ Visual Studio Code มาพร้อมกับความสามารถในการติดตั้งเครื่องมือเสริม (Extension)
ซึง่ มใี ห้เลือกใช้งานแตกแขนงออกไปไดอ้ ีก

ภาพท่ี 2.2 หนา้ ตา่ งส่วนเสรมิ Visual Studio Code
ทีม่ า : https://eleceasy.com/t/visual-studio-code-vs-code/2042

8

2.3.2 JavaScript
JavaScript คือ ภาษาคอมพวิ เตอร์สำหรบั การเขียนโปรแกรมบนระบบอนิ เทอร์เน็ต ทก่ี ำลังได้รับ

ความนิยมอย่างสูง JavaScript เป็น ภาษาสครปิ ต์เชงิ วัตถุ (ที่เรียกกนั ว่า "สคริปต์" (script) ซง่ึ ในการสร้างและ
พัฒนาเว็บไซต์ (ใช่ร่วมกบั HTML) เพื่อให้เว็บไซต์ของเราดูมีการเคลือ่ นไหว สามารถตอบสนองผู้ใช้งานไดม้ าก
ข้นึ ซึ่งมีวิธกี ารทำงานในลักษณะ "แปลความและดำเนนิ งานไปทีละคำส่ัง" (interpret) หรอื เรียกวา่ อ็อบเจ็กโอ
เรียลเต็ด (Object Oriented Programming) ที่มีเป้าหมายในการ ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมในระบบ
อินเทอร์เน็ต สำหรับผู้เขียนด้วยภาษา HTML สามารถทำงานข้ามแพลตฟอร์มได้ โดยทำงานร่วมกับ ภาษา
HTML และภาษา Java ไดท้ ้งั ทางฝั่งไคลเอนต์ (Client) และ ทางฝัง่ เซริ ฟ์ เวอร์ (Server)

JavaScript ถูกพัฒนาขึ้นโดย เน็ตสเคปคอมมิวนิเคชันส์ (Netscape Communications
Corporation) โดยใช้ชื่อว่า Live Script ออกมาพร้อมกับ Netscape Navigator2.0 เพื่อใช้สร้างเว็บเพจโดย
ติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์แบบ Live Wire ต่อมาเน็ตสเคปจึงได้ร่วมมือกับ บริษัทซันไมโครซิสเต็มส์ปรับปรุงระบบ
ของบราวเซอร์เพื่อให้สามารถติดต่อใช้งานกับภาษาจาวาได้ และได้ปรับปรุง LiveScript ใหม่เมื่อปี 2538 แล้ว
ตั้งชื่อใหม่ว่า JavaScript JavaScript สามารถทำให้ การสร้างเว็บเพจ มีลูกเล่น ต่าง ๆ มากมาย และยัง
สามารถโต้ตอบกบั ผูใ้ ชไ้ ดอ้ ย่างทันที เชน่ การใชเ้ มาสค์ ลิก หรอื การกรอกข้อความในฟอร์ม เป็นตน้

เนื่องจาก JavaScript ช่วยให้ผู้พัฒนา สามารถสร้างเว็บเพจได้ตรงกับความต้องการ และมี
ความน่าสนใจมากขึ้น ประกอบกับเปน็ ภาษาเปดิ ทีใ่ ครกส็ ามารถนำไปใช้ได้ ดงั น้ันจงึ ไดร้ ับความนิยมเป็นอย่าง
สูง มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง รวมทั้งได้ถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐานโดย ECMA การทำงานของ JavaScript
จะต้องมีการแปลความคำสัง่ ซึ่งขั้นตอนน้ีจะถูกจดั การโดยบราวเซอร์ (เรียกว่าเป็น client-side script) ดังนัน้
JavaScript จึงสามารถทำงานได้ เฉพาะบนบราวเซอร์ที่สนับสนุน ซึ่งปัจจุบันบราวเซอร์เกือบทั้งหมดก็
สนับสนุน JavaScript แล้ว อย่างไรก็ดี สิ่งที่ต้องระวังคือ JavaScript มีการพัฒนาเป็นเวอร์ชันใหม่ ๆออกมา
ด้วย (ปัจจุบนั คือรุน่ 1.5) ดงั นนั้ ถา้ นำโคด้ ของเวอรช์ นั ใหม่ ไปรนั บนบราวเซอรร์ ุน่ เกา่ ทยี่ ังไมส่ นับสนุน กอ็ าจจะ
ทำให้เกดิ error ได้

JavaScript ทำอะไรได้บา้ ง
1 JavaScript ทำให้สามารถใช้เขยี นโปรแกรมแบบงา่ ย ๆ ได้ โดยไม่ต้องพึ่งภาษาอน่ื
2 JavaScript มคี ำสั่งท่ีตอบสนองกบั ผใู้ ช้งาน เชน่ เมอ่ื ผู้ใช้คลิกท่ปี ุ่ม หรอื Checkbox ก็สามารถ
สั่งให้เปิดหน้าใหม่ได้ ทำให้เว็บไซต์ของเรามีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งานมากขึ้น นี่คือข้อดีของ JavaScript เลยก็ว่า
ไดท้ ที่ ำให้เวบ็ ไซตด์ ัง ๆ ท้งั หลายเชน่ Google Map ต่างหันมาใช้
3 JavaScript สามารถเขียนหรือเปลยี่ นแปลง HTML Element ได้ นนั่ คือสามารถเปล่ียนแปลง
รปู แบบการแสดงผลของเว็บไซต์ได้ หรือหนา้ แสดงเนอ้ื หาสามารถซ่อนหรอื แสดงเนอื้ หาได้แบบง่าย ๆ น่ันเอง
4 JavaScript สามารถใช้ตรวจสอบข้อมูลได้ สังเกตว่าเมื่อเรากรอกข้อมูลบางเว็บไซต์ เช่น
Email เม่ือเรากรอกขอ้ มลู ผิดจะมหี น้าตา่ งฟ้องขนึ้ มาว่าเรากรอกผดิ หรอื ลืมกรอกอะไรบางอย่าง เปน็ ตน้
5 JavaScript สามารถใช้ในการตรวจสอบผ้ใู ช้ได้เช่น ตรวจสอบว่าผู้ใช้ ใช้ web browser อะไร
6 JavaScript สรา้ ง Cookies (เกบ็ ข้อมลู ของผใู้ ชใ้ นคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เอง) ได้
ขอ้ ดีและข้อเสยี ของ Java JavaScript

9

การทำงานของ JavaScript เกิดข้นึ บนบราวเซอร์ (เรียกว่าเป็น client-side script) ดงั นนั้ ไม่วา่
คุณจะใชเ้ ซริ ฟ์ เวอร์อะไร หรือท่ีไหน กย็ ังคงสามารถใช้ JavaScript ในเว็บเพจได้ ต่างกับภาษาสครปิ ตอ์ ื่น เช่น
Perl, PHP หรือ ASP ซ่ึงต้องแปลความและทำงานท่ตี ัวเครื่องเซริ ์ฟเวอร์ (เรยี กวา่ server-side script) ดังนัน้
จึงต้องใชบ้ นเซริ ์ฟเวอร์ ทีส่ นับสนนุ ภาษาเหลา่ นเี้ ท่าน้นั อย่างไรก็ดี จากลกั ษณะดงั กลา่ วก็ทำให้ JavaScript มี
ขอ้ จำกดั คือไมส่ ามารถรับและส่งข้อมลู ต่าง ๆ กบั เซิร์ฟเวอรโ์ ดยตรง เช่น การอ่านไฟล์จากเซิรฟ์ เวอร์ เพ่ือ
นำมาแสดงบนเวบ็ เพจ หรอื รับข้อมลู จากผู้ชม เพื่อนำไปเก็บบนเซริ ฟ์ เวอร์ เป็นต้น ดังนั้นงานลักษณะนี้ จงึ ยงั คง
ตอ้ งอาศยั ภาษา server-side script อยู่ (ความจริง JavaScript ทที่ ำงานบนเซริ ฟ์ เวอรเ์ วอรก์ ็มี ซึ่งต้องอาศัย
เซิร์ฟเวอรท์ ีส่ นับสนนุ โดยเฉพาะเชน่ กนั แต่ไมเ่ ปน็ ท่ีนิยมนัก)

2.3.3 React
React เป็น JavaScript library ที่ใช้สำหรับสร้าง user interface ที่ให้เราสามารถเขียนโค้ดใน

การสร้าง UI ที่มีความซบั ซ้อนแบ่งเป็นสว่ นเล็ก ๆ ออกจากกันได้ ซึง่ แต่ละสว่ นสามารถแยกการทำงานออกจาก
กันได้อย่างอิสระ และทำให้สามารถนำชนิ้ ส่วน UI เหล่าน้นั ไปใช้ซ้ำไดอ้ กี

• React เปน็ JavaScript Library ทถ่ี กู สรา้ งโดย Facebook (เวอรช์ นั ณ เวลาท่ีเขยี นคือ 0.14.3)
• React เป็นแค่ UI โดยสร้างมาจากพื้นฐานแนวความคิดแบบ MVC (Model View Controller)

ซ่ึงหมายถึงว่า React มหี น้าที่จดั การกับ Model หรอื View แต่ส่วนใหญ่จะเป็น View
• รองรบั การเขยี นด้วย JSX (JavaScript syntax extension)
2.3.3.1 เตรียมใชง้ าน React

1) ดาวนโ์ หลดและตดิ ต้ัง React ไว้ในเครอ่ื ง

ภาพท่ี 2.3 Downloads React
ทมี่ า : https://nodejs.org/en/download

10

2) เปดิ โปรแกรม Command Prompt

ภาพที่ 2.4 Command Prompt

3) สรา้ งโปรเจ็กตเ์ ริ่มตน้ ขึน้ มาจากเคร่ืองมอื ทีช่ อ่ื create-react-app ท่จี ะสรา้ งไฟลพ์ ้ืนฐาน
ตา่ ง ๆ ท่จี ำเป็นในการเขียน React ขึน้ มา ใหท้ ำการติดตง้ั ด้วยคำสัง่

npm install -g create-react-app

ภาพที่ 2.5 สรา้ งไฟล์พืน้ ฐานตา่ ง ๆ

11

4) สร้างโปรเจก็ ต์ใหมข่ ้นึ มาดว้ ยคำสั่ง npx create-react-app my react

ภาพที่ 2.6 สรา้ งโปรเจก็ ตใ์ หม่
จะไดไ้ ฟลต์ า่ ง ๆ ข้นึ มา

ภาพที่ 2.7 ไฟล์โปรเจก็ ตใ์ หม่
5) ลองรนั ด้วยคำสงั่ npm start

ภาพที่ 2.8 การรันโปรเจต์ท่ีติดตง้ั ไว้

12

บราวเซอร์จะเปดิ ขนึ้ มาท่ี http://localhost:3000/

ภาพที่ 2.9 โปรเจกตท์ ่สี รา้ ง

2.3.4 Firebase
Firebase เป็นหนึง่ ในผลิตภณั ฑ์ของ Google โดย Firebase คือ Platform ทีร่ วบรวมเครื่องมือ

ต่าง ๆ สำหรับการจัดการในส่วนของ Backend หรือ Server side ซึ่งทำให้สามารถ Build Mobile
Application ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังลดเวลาและค่าใช้จ่ายของการทำ Server side หรือการวิเคราะห์
ข้อมูลให้อีกด้วย โดยมีทั้งเครื่องมือที่ฟรี และเครื่องมีที่มีค่าใช้จ่าย Cloud Firestore – จัดเก็บและซิงค์ข้อมูล
ระหว่างผู้ใช้และอุปกรณ์ในระดับโลกโดยใช้ฐานข้อมูล NoSQL ที่โฮสต์บนคลาวด์ Cloud Firestore ให้การ
ซิงโครไนซ์แบบสดและการสนับสนุนออฟไลน์พร้อมกับการสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ การผสานรวมกับ
ผลติ ภัณฑ์ Firebase อนื่ ๆ ช่วยใหค้ ณุ สรา้ งแอปแบบไร้เซิร์ฟเวอรไ์ ด้

Authentication – จัดการผู้ใช้ของคุณด้วยวิธีที่ง่ายและปลอดภัย Firebase Auth มีหลายวิธีใน
การตรวจสอบสิทธิ์รวมถึงอีเมลและรหัสผ่านผู้ให้บริการบุคคลที่สามเช่น Google หรือ Facebook และใช้
ระบบบัญชีที่คุณมีอยู่โดยตรง สร้างอินเทอร์เฟซของคุณเองหรือใช้ประโยชน์จากโอเพ่นซอร์ส UI ที่ปรับแต่งได้
อย่างเตม็ ท่ี

Hosting – ลดความซับซ้อนของเว็บโฮสติ้งของคุณด้วยเครื่องมือที่สร้างขึ้นเฉพาะสำหรับเว็บ
แอปสมัยใหม่ เมื่อคุณอับโหลดเนื้อหาเว็บของคุณเราจะส่งเนื้อหาเหล่านั้นไปยัง CDN ทั่วโลกของเราโดย
อัตโนมัติและมอบใบรับรอง SSL ฟรีเพื่อให้ผู้ใช้ของคุณได้รับประสบการณ์ที่ปลอดภัยเชื่อถือได้และมีเวลาแฝง
ตำ่ ไม่ว่าจะอยู่ท่ีใดก็ตาม

Realtime Database – Realtime Database คือฐานขอ้ มลู ดัง้ เดมิ ของ Firebase เป็นโซลชู นั ที่
มปี ระสทิ ธิภาพและมีเวลาแฝงตำ่ สำหรบั แอปบนอปุ กรณ์เคล่ือนท่ีท่ีต้องการสถานะการซิงค์ระหวา่ งไคลเอนต์
แบบเรยี ลไทม์ เราขอแนะนำ Cloud Fire store แทน Realtime Database สำหรบั นกั พฒั นาสว่ นใหญ่ทเ่ี ริม่
โปรเจก็ ตใ์ หม่

13

2.4 วงจรการพฒั นาระบบ SDLC
วงจรการพัฒนาระบบ (Systems Development Life Cycle : SDLC) ซึ่งเป็นวงจรที่แสดงถึงกจิ กรรม

ตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นลำดับขั้น ในการพฒั นาระบบ ประกอบ 6 ขัน้ ตอน ดงั นี้
2.4.1 การวางแผนระบบ (System Planning)
2.4.2 การวเิ คราะหร์ ะบบ (System Analysis)
2.4.3 การออกแบบระบบ (System Design)
2.4.4 การพฒั นาระบบ (System Development)
2.4.5 การตดิ ตั้งระบบ (System Implementation)
2.4.6 การดูแลรักษาระบบ (System Maintenance)

ภาพท่ี 2.10 วงจรการพัฒนาระบบ (Systems Development Life Cycle : SDLC)
ทม่ี า : http://skmylove1.blogspot.com/2015/01/blog-post.html

2.4.1 การวางแผนระบบ (System Planning)
การวางแผนระบบ (System Planning) เป็นขั้นตอนแรกสุดของการพัฒนาระบบสารสนเทศ ใน

การวางแผนระบบสารสนเทศนั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อการตรวจสอบระบบงานเบื้องต้น (Initial Investigation)
เชน่

การรับรสู้ ภาพปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ ของระบบงานเดมิ
การหาสาเหตขุ องปัญหาทเ่ี กดิ จากระบบงานเดมิ
การทำการศึกษาความเปน็ ไปได้ในแงม่ ุมต่าง ๆ เช่น ตน้ ทนุ และทรพั ยากร
การรวบรวมความต้องการจากผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น การรวบรวมเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกต
และการออกแบบสอบถาม

14

ดังน้นั จึงตอ้ งมกี ารสำรวจเบอ้ื งตน้ (Preliminary Investigation) เพอ่ื ศกึ ษาส่งิ ตอ่ ไปนี้
1) การกำหนดปัญหา (Determination of Problems and Requirements) ตัวอย่างปัญหาท่ี
เกิดจากระบบงานเดมิ เชน่

ระบบเดมิ ไม่ตอบสนองความต้องการทแี่ ทจ้ ริงของผู้ใช้ หรอื ขาดการประสานงานท่ดี ี
ระบบเดิมอาจไมส่ นับสนุนงานในอนาคต
ระบบเดมิ มอี งค์ประกอบของเทคโนโลยีไม่เหมาะสมหรือลา้ สมยั
ระบบเดิมมีการดำเนินงานทผี่ ดิ พลาดบ่อย
2) การกำหนดวัตถุประสงค์ (Specification of Objectives) เป็นการกำหนดให้แน่ชัดว่าจะ
แกไ้ ขปญั หาอะไรบ้างจากปัญหาท้ังหมด
3) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) หรอื ความเหมาะสม ซง่ึ พิจารณาจาก
ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (Technical Feasibility) คือความเป็นไปไดใ้ นการสร้างระบบงาน
ใหม่ เชน่ การจัดหาเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ที่ทันสมัยหรอื การใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ
ความเป็นไปได้ในการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) คือความเป็นไปได้ที่ระบบงาน
ใหมจ่ ะตรงกบั ความตอ้ งการของผ้ใู ช้ ซง่ึ ต้องคำนงึ ถงึ ทักษะของผูใ้ ชด้ ว้ ย
ความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility)คือความเป็นไปได้ในเรื่อง
งบประมาณ เงนิ ลงทนุ คา่ ใช้จา่ ย และความคุ้มคา่
2.4.2 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงานปัจจุบันหรือ
ระบบงานเดิม ซึ่งอาจเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์อยู่หรือไม่ก็ได้ เพื่อให้ทราบถึงรายละเอียดของระบบงานทีใ่ ช้
อยู่ ข้อดี ข้อเสีย ทรัพยากร และความเหมาะสมของระบบงานในแต่ละส่วน เพื่อเตรียมการปรับเปลี่ยนให้เป็น
ระบบสารสนเทศใหม่ สงิ่ ทจี่ ะต้องวิเคราะหร์ ะบบมดี งั น้ี
วิเคราะห์ถึงปัญหาหลักและปญั หารองทเี่ กิดข้นึ ในระบบ (Redefine the Problem)
ทำความเข้าใจถึงระบบงานเดมิ (Understand Existing System)
กำหนดความตอ้ งการของผใู้ ช้ระบบ และข้อจำกดั ในการใชร้ ะบบงานใหม่ (User Requirements
and Constrains)
เสนอทางเลือกในการออกแบบระบบ โดยการสร้างแบบจำลองเชิงตรรกะ (Logical Model) เช่น
Database Model Diagram, ER Source Model และ ORM Diagram
ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยส่วนใหญ่มักวิเคราะห์ออกมาในรูปของ แผนภาพการไหลของข้อมูล
(DFD : Data Flow Diagram) ซึ่งเป็นแผนภาพที่แสดงการไหลของข้อมูลทั้งระบบ และช่วยในการสื่อสาร
ระหว่างนกั วิเคราะหร์ ะบบกับผใู้ ชร้ ะบบ

15

2.4.3 การออกแบบระบบ (System Design)
การออกแบบระบบ (System Design) เป็นการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบมาพัฒนา

เป็นรูปแบบทางกายภาพ (Physical Model) โดยเริ่มจากการออกแบบงานทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
ทั้งในส่วนนำข้อมูลเข้า (Input) ส่วนประมวลผล (Process) ส่วนแสดงผลลัพธ์ (Output) ส่วนจัดเก็บข้อมูล
(Storage) การออกแบบจำลองข้อมลู การออกแบบรายงานและการออกแบบหนา้ จอในการติดต่อกบั ผู้ใช้ระบบ
ซึ่งจะตอ้ งมงุ่ เน้นการวเิ คราะหว์ า่ ชว่ ยแกป้ ญั หาอะไร (What)และการออกแบบชว่ ยแก้ปัญหาอยา่ งไร

2.4.4 การพฒั นาระบบ (System Development)
การพัฒนาระบบ (System Development) ประกอบไปด้วยการเขียนโปรแกรมเพื่อสร้าง

ระบบงาน การทดสอบโปรแกรมหน่วยย่อย (Unit Test) การทดสอบระบบรวม (System Integration Test)
การแก้ไขข้อผิดพลาดที่พบ (Bug) ตลอดจนการจัดทำเอกสาร (Document) ต่าง ๆ ทั้งในส่วนของเอกสาร
โปรแกรม เอกสารระบบ และคู่มือการฝึกอบรมสำหรับผู้ปฏิบัติงานข้อควรคำนึงในการพัฒนาระบบ คือ การ
เลอื กภาษาคอมพวิ เตอร์ท่ีเหมาะสมและพฒั นาต่อไดง้ ่าย

2.4.5 การตดิ ตั้งระบบ (System Implementation)
การติดต้งั ระบบ (System Implementation) เป็นขัน้ ตอนการส่งมอบระบบงานเพื่อนำไปใช้จริง

โดยจะรวมถึงการจัดเตรียมแฟ้มข้อมูลหรือฐานข้อมูลของระบบ การอบรมผู้ที่เกี่ยวข้อง การปรับเปลี่ยน
ระบบงานเดิมมาใช้ระบบงานใหม่ ซึ่งจะต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมของพื้นที่ที่จะติดตั้ง อุปกรณ์ที่ใช้ และ
ผเู้ ชี่ยวชาญหรอื ทีมงานด้านเทคนคิ (Technical Support) ที่เก่ยี วขอ้ ง จากน้ันจึงติดต้งั โปรแกรมให้ครบถ้วน

2.4.6 การดแู ลรักษาระบบ (System Maintenance)
การดแู ลรักษาระบบ (System Maintenance) เป็นขัน้ ตอนสุดทา้ ยในวงจรพัฒนาระบบ ซ่ึงเปน็

ขนั้ ตอนการดูแลแก้ไขปญั หาระบบงานใหม่ ในข้นั ตอนนถ้ี ้าเกดิ ปัญหาจากโปรแกรม โปรแกรมเมอร์จะต้องเขา้
มาแก้ไข หรอื ผใู้ ช้อาจมีความตอ้ งการวิธกี ารทำงานใหม่ ๆ เพิม่ เตมิ ทัง้ น้ีการดูแลรกั ษาระบบจะเป็นขน้ั ตอนใน
สว่ นท่เี กิดตามมาภายหลังทไ่ี ด้มีการตดิ ต้งั และใช้งานระบบแลว้

2.5 งานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง
ธานี ชันวัฒน์ (2563) ศึกษาพฤติกรรมของครัวเรือนไทยภายใต้สถานการณ์ COVID-19 โดย จำแนก

กลุ่มเป้าหมายออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. คนในเขตเมือง 2 คนจนเมือง 3. คนชนบท 4. คนใน ชายแดนใต้
พบว่า 1.ด้านคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง สะท้อนลักษณะของประชากรได้ดี และครัวเรือนแต่ ละกลุ่มมี
คุณลักษณะที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะรายได้ จำนวนสมาชิก และขนาดของบ้าน (วัดจากจำนวน ห้องนอนและ
ห้องน้ำ) ท าให้มีความสามารถในการป้องกันเชื้อ การปฏิบัติตามแนวทางสาธารณสุข และแบก รับภาระทาง
เศรษฐกิจที่แตกต่างกัน จึงต้องการแนวทางที่แตกต่างกันด้วย 2.ด้านระดับการปฏิบัติตามได้ตาม แนวทาง
สาธารณสขุ ของคนทุกกลุ่มพบว่าอยู่ในระดับท่สี ูง 3.ดา้ นช่องทางการส่ือสาร พบว่า การสื่อสารผา่ น โทรทัศน์ยัง
มีบทบาทหลักต่อการสื่อสารในระดับมาก 4. ด้านความรู้ ความรู้มีผลต่อการการปฏิบัติตาม แนวทาง
สาธารณสุข 5. ด้านทศั นคติ ทัศนคตขิ องการปฏิบตั ิตัวของตนเองขึ้นอยู่กับการปฏบิ ตั ติ วั ของชมุ ชน/ สังคม

16

สัญญา สุปัญญาบุตร (2563) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ชนิด A
(2009 H1N1) ของประชาชนอำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 500 คน พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี
การรับรเู้ กีย่ วกับสถานการณ์โรคไข้หวดั ใหญ่ ชนิด A (2009 H1N1) ระดับสงู รอ้ ยละ 81.40 มีความรู้ระดับสูง
ร้อยละ 90.20 มีทัศนคติระดับปานกลาง ร้อยละ 88.20 มีการปฏิบัติ ระดับปาน กลาง ร้อยละ 53.40 ด้าน
ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ การปฏิบัติตนเพ่ือป้องกันโรคไข้ หวัดใหญ่ ชนิด A (2009 H1N1) ของกลุ่มตัวอย่างพบว่าปัจจัย
ที่มีผลต่อการปฏิบัติตนคือการได้รับข้อมูลข่าวสารการรับรูค้ วามรู้ และ ทัศนคติ (p <0.001) ส่วนปัจจัย ด้าน
เพศ สถานภาพสมรส การศึกษา และประวัติการเจ็บป่วยโรคไข้หวัดไม่มีผลต่อ การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรค
ไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (2009 H1N1) ดังนั้น เจ้าหน้าที่ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ควรมีการเผยแพร่ ข้อมูล
ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ชนิด A (2009 H1N1) ให้กับ ประชาชนอย่าง
ทวั่ ถึงและตอ่ เน่อื ง

สุพิดา เย็นโภคา (2562) ศึกษาวิจัยถึงความสัมพันธแ์ ละค่าน้ำหนักความสำคัญของตัวแปรปัจจยั ได้แก่
คา่ นยิ มตอ่ สุขภาพ การเปดิ รับสอื่ เกี่ยวกบั โรคไข้หวัดใหญส่ ายพันธใุ์ หม่ 2009 อทิ ธิพลของครอบครัวท่ี มีต่อโรค
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และ แรงจูงใจใน
การป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ ใหม่ 2009
เมื่อวิเคราะห์ตามตวั แปรเพศ ระดบั ชนั้ เรียนและวเิ คราะห์รวม กลุ่มตัวอย่างเปน็ นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่
1 - 3 จำนวน 678 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 พบว่า เมื่อ วิเคราะห์นักเรียนช่วงชน้ั
ที่ 3 เพศชาย เพศหญิง ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1, 2, 3 กลุ่มตัวแปรปัจจัย 5 6 ปัจจัย ได้แก่ ค่านิยมต่อ
สุขภาพ การเปดิ รบั สอ่ื เกยี่ วกับโรคไขห้ วัดใหญส่ ายพันธใุ์ หม่ 2009 อทิ ธิพลของ ครอบครวั ที่มีตอ่ โรคไข้หวดั ใหญ่
สายพันธุ์ใหม่ 2009 ความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 และแรงจูงใจในการป้องกัน
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
2009

นคิ ม สราญรมั ย์ (2560) ได้ศกึ ษาการพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิชาการด้านงานวดั ผลและประเมินผล
โรงเรียนเทศบาล 1 (รัฐราษฎร์สงเคราะห์) อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา โดยใช้กลยุทธการประชุมย่อย
เพอื่ ศกึ ษาระบบ วเิ คราะห์ระบบ ออกแบบระบบ การนำระบบไปใชแ้ ละกลยุทธ์การนิเทศภายใน เพอื่ บำรุงดูแล
รักษาระบบและทบทวนตามกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศ SDLC (System Development Life
Cycle) 6 ขั้นตอนคือ การวางแผนระบบ (System Planning) การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) การ
ออกแบบระบบ (System Design) การพัฒนาระบบ (System Development) การติดตั้งระบบ (System
Implementation) การดูแลรักษาระบบ (System Maintenance) พบว่า การดำเนินงานพัฒนาระบบ
สารสนเทศงานวิชาการด้านงานวัดผลและประเมินผล ทำให้ผู้ร่วมศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถ
พัฒนาระบบสารสนเทศงานวิชาการด้านการประเมินผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ การประเมินกิจกรรม
พฒั นาผเู้ รียน การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี นสือ่ ความ การ
รายงานผล การประเมินผลการเรียนสารสนเทศที่ได้มีคุณสมบัติด้านความถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบันและ
สามารถเรียกใช้ไดง้ ่าย

บทที่ 3
วธิ กี ารดำเนินการ

การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบลเก้ิง จงั หวดั มหาสารคาม มีวตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษา ดังนี้

3.1 การพัฒนาแอปพลิเคชันจดั การฐานขอ้ มูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริม
สขุ ภาพตำบลเก้งิ จังหวดั มหาสารคาม

3.2 การศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้แอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและ
เฝ้าระวงั โรคโควิด-19 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จงั หวัดมหาสารคาม

3.1 การพัฒนาแอปพลิเคชันจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบลเกงิ้ จังหวดั มหาสารคาม

3.1.1 การวางแผนแอปพลิเคชัน
ผู้ศึกษาได้ทำการศึกษาข้อมูล จากระบบงานเดิม พบว่า ภายในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริม

สุขภาพตำบลเกิ้ง มกี ารจดั การข้อมูลหลากหลายรปู แบบ และรวบรวมเปน็ รปู เล่มเอกสาร ซ่ึงใชเ้ วลานานในการ
ค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ไม่สะดวกในการเข้าถึงข้อมูล และเกิดความยุ่งยากในการค้นหา ประกอบกับความ
ต้องการใช้ข้อมูลมีการเรียกใช้บ่อยทำให้การเรียกใช้งานมีความล่าช้า จึงมีแนวคิดในการนำเสนอข้อมูลบน
อุปกรณ์เคลื่อนที่แบบไร้สาย โดยเฉพาะกลุ่ม Web Application, Smart Phone, Tablet PC เข้ามาประยุกต์
ในการทำงานการเก็บรวบรวมข้อมูล ดงั น้ี

3.1.1.1 ด้านการใช้งานเอกสาร ได้แก่
1) ข้อมลู ผลู้ งทะเบยี น
2) ขอ้ มลู การคดั กรอง
3) ข้อมูลการการวัดอณุ หภูมิ

3.1.1.2 ดา้ นการออกแบบ และรูปแบบระบบ
1) หน้าแอปพลเิ คชันการจัดการเอกสารทเี่ ปน็ ระบบ ง่ายตอ่ การใช้งาน
2) สีสนั ในการออกแบบแอปพลิเคชนั มีความเหมาะสม
3) สพี ้ืนหลังกบั สตี ัวอกั ษรมคี วามเหมาะสมต่อการอ่าน
4) ขนาดตวั อักษร และรปู แบบตัวอกั ษร มีความสวยงามและอา่ นได้ง่าย
6) ความรวดเรว็ ในการแสดงภาพ ตวั อักษร และข้อมูลตา่ ง ๆ
7) ความถูกต้องในการเชอ่ื มโยงภายเมนู
8) ความเหมาะสมของหมวดหมหู่ ัวข้อที่ใช้
9) การจัดองค์ประกอบมคี วามเป็นระเบียบ เขา้ ใจง่าย

18

10) การแบง่ หมวดหมู่เน้ือหาท่ีชัดเจน
11) การเข้าใช้งานระบบการจดั การเอกสารที่ซบั ซ้อน
12) ความถกู ตอ้ งของผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้งานเมนตู า่ ง ๆ ภายในแอปพลเิ คชัน
3.1.2 การวิเคราะห์แอปพลิเคชัน
การวิเคราะห์ระบบโดยการวิเคราะห์เกี่ยวข้องกับการออกแบบผังรายละเอียดต่าง ๆ ของการ
ดำเนินงานการวิเคราะห์โครงสร้างของระบบ โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 2 ส่วน คือ ผู้ใช้ (User) และ ผู้ดูแล
ระบบ (Admin) ดงั น้ี
3.1.2.1 ส่วนของผูใ้ ช้ (User) ผู้ใช้งานสามารถเข้าใชง้ านระบบขอ้ มลู ดงั ต่อไปนี้
1) ลงทะเบียนผเู้ ดินทางเขา้ พนื้ ที่หรอื กลมุ่ เสี่ยงผสู้ มั ผสั ผู้ปว่ ยยนื ยนั โควดิ 19
2) ผู้เดนิ ทางเข้าในพื้นที่

2.1) คดั กรอง/ประเมนิ ความเส่ียง
2.2) ลงขอ้ มลู การวัดอณุ หภมู ิ
3) ผสู้ ัมผสั ผู้ป่วยยนื ยนั โควิด-19
3.1) คัดกรอง/ประเมินความเส่ียงผสู้ ัมผัสผ้ปู ่วยยืนยนั โควดิ -19
3.2) ลงขอ้ มลู การวดั อุณหภมู ิ
4) เชค็ ยอดผูต้ ิดเช้อื
5) แกไ้ ขการลงทะเบยี น
3.1.2.2 ส่วนของผ้ดู ูแลระบบ (Admin) ผใู้ ช้งานสามารถเขา้ ใช้งานระบบข้อมลู ดังต่อไปน้ี
1) ADMIN
1.1) เขา้ ส่รู ะบบ
1.2) รีเซ็ตรหสั ผา่ น
1.3) ลบรายชอ่ื การลงทะเบยี น
1.4) ข้อมูลการลงทะเบยี น
1.5) ขอ้ มลู คัดกรองความเสยี่ งผ้เู ดนิ ทางเข้าพื้นท่ี
1.6) ข้อมลู การคดั กรองกลมุ่ เส่ียงผ้สู มั ผสั ผปู้ ่วยยนื ยนั
1.7) ข้อมูลการวดั อณุ หภมู ิ

19

ผังระบบการเข้าใช้งานของผู้ใช้ระบบฐานข้อมูลคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และเฝ้าระวังโรคโควิด-19
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลเก้ิง จังหวัดมหาสารคาม จงั หวดั มหาสารคาม มีขัน้ ตอนการทำงาน ดงั น้ี

1) เรมิ่ ตน้ แอปพลเิ คชันเพือ่ จัดการฐานข้อมูลกลมุ่ เสย่ี งและเฝา้ ระวังโรคโควดิ -19
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเกง้ิ จังหวัดมหาสารคาม

2) ลงทะเบียนผู้เดินทางเข้าในพื้นท่ี/กลุม่ เสี่ยงผู้สัมผัสผู้ป่วยโควิด-19 ผู้ใช้งานทำการลงทะเบียนโดยใช้
เลขบตั รประชาชน ชอ่ื สกุล ทอี่ ยู่ เบอร์โทรศัพท์ ประวตั ิการรับวคั ซีน จำนวนคนั ทพ่ี กั อยู่ดว้ ยกนั

3) เลือกเมนู ผู้ใช้งานจะต้องเลือกเมนูเพื่อกรอกข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารนั้น มีรายละเอียดดังนี้ ปุ่ม
ลงทะเบียนผู้เดินทางเข้าในพื้นที่/กลุ่มเสี่ยง ปุ่มผู้เดินทางเข้าในพื้นที่ ปุ่มผู้สัมผัสผู้ป่วยยืนยันโควิด-19 ปุ่มวัด
อณุ หภมู ิ ปุ่มการคัดกรอง/ประเมนิ ความสีย่ ง ปุม่ คัดกรอง/ประเมินความเสย่ี งผู้สมั ผัสผู้ปว่ ยยืนยันโควิด-19 ปุ่ม
เช็คยอกผู้ติดเชอื้ ปุ่มแก้ไขการลงทะเบียน

4) กรอกเลขบัตรประชาชน คลิกปุ่มค้นหา หากไม่ค้นหาไม่เจอให้กลับไปที่หน้าเมนูหลักอีกครั้งเพ่ือ
ลงทะเบียนผูเ้ ดนิ ทางเขา้ ในพื้นท่/ี กลุ่มเสี่ยง

5) ดูประวตั ิ เป็นการแสดงขอ้ มลู ทีผ่ ้ใู ชง้ านเคยกรอกขอ้ มูลลงในระบบ
6) บันทกึ เปน็ การสง่ ขอ้ มูลเข้าระบบ
3.1.3 การออกแบบแอปพลิเคชนั

จากผังงานการพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด -19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกงิ้ จงั หวดั มหาสารคาม ผศู้ กึ ษาได้ดำเนินการออกแบบหน้าจอแอปพลิเคชัน
และออกแบบตารางขอ้ มลู ดังน้ี

3.1.3.1 การออกแบบหนา้ จอหลักของแอปพลิเคชัน
3.1.3.2 การออกแบบหน้าจอเมนูการลงทะเบยี น
3.1.3.3 การออกแบบหน้าจอเมนู ADMIN
3.1.3.4 การออกแบบตารางขอ้ มูลการลงทะเบยี นผู้เดินทางเข้าในพืน้ ทหี่ รอื กลุ่มเสยี่ งผู้สัมผสั
ผู้ปว่ ยยืนยนั โควิด-19 (datacomein)
3.1.3.4 การออกแบบตารางข้อมูลคำถามคัดกรองความเสี่ยงผู้เดินทางเข้าในพื้นที่
(dataquestion)
3.1.3.4 การออกแบบตารางข้อมูลคำถามคัดกรองกลุ่มเสี่ยงหรือผู้สัมผัสผู้ป่วยยืนยันโควิด-19
(datarisk)
3.1.3.4 การออกแบบตารางข้อมลู ลงขอ้ มลู การวดั อณุ หภูมิ (datatemp)
3.1.4 การพฒั นาแอปพลิเคชัน
จากการพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม ผู้ศึกษาได้ดำเนินการพัฒนาแอปพลิดคชนั โดยการ
ใชภ้ าษาจาวาสครปิ ในการเขียนแอพพลเิ คขั่น ซง่ึ มีองค์ประกอบของแอพลิเคช่นั ดังนี้

20

3.1.4.1 การแจ้งเตือน มีเลขบัตรประชาชนนี้แล้ว และกรุณากรอกข้อมูลให้ครบและตรวจสอบ
ความถกู ต้อง (หน้าลงทะเบยี นผูเ้ ดินทางเข้าในพ้นื ทห่ี รอื กลมุ่ เสี่ยงผสู้ มั ผัสผปู้ ว่ ยยนื ยันโควดิ -19)

3.1.4.2 การแจ้งเตือน คุณอุณหภูมิสูง กรุณากักตัว คุณอุณหภูมิปกติ และการนับจำนวนผู้เสีย่ ง
(หนา้ การลงข้อมูลการวดั อณุ หภมู ิ)

3.1.4.3 การแจ้งเตือน คุณมีความเสี่ยง กรุณากักตัว คุณไม่มีความเสี่ยง และการนับจำนวนผู้
เส่ยี ง (หน้าคำถามคัดกรองความเส่ียงผ้เู ดนิ ทางเข้าในพืน้ ท่ี และหน้าคำถามคดั กรองกลุม่ เสยี่ งหรอื ผู้สัมผัสผู้ป่วย
ยนื ยนั โควิด-19)

3.1.4.4 การสรุปจำนวนข้อมูล (หน้า ADMIN) ประกอบด้วย ข้อมูลการลงทะเบียน ข้อมูลคัด
กรองความเส่ยี งผ้เู ดินทางเข้าในพ้นื ท่ี ขอมลู การคดั กรองกล่มุ เสย่ี งผสู้ มั ผสั ผปู้ ว่ ยยนื ยันโควดิ -19

3.1.5 การติดต้งั ระบบ (System Implementation)
การพัฒนาระบบทีท่ ำงานบนแพลตฟอรม์ แอปพลิเคชัน (Platform application) หรือในรูปแบบ

Web service สำหรับการสร้างแอปพลิเคชัน คือ การจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นเครื่องแม่ข่ายเว็บ ด้วย
โปรแกรมสำเร็จรูปชว่ ยจำลอง เครือ่ งแมข่ ่ายเวบ็ ซง่ึ Visual Studio Code เปน็ อีกหนงึ่ ผลติ ภัณฑ์ท่ีมีการพัฒนา
ออกมาให้ใช้งาน Visual Studio Code เป็นเครื่องมือช่วยพัฒนา Application Mobile เมื่อพัฒนาเสร็จแล้ว
ใช้งานผ่านเวบ็ browser เพื่อนำไปใชง้ านได้

ดงั นัน้ ผ้ศู กึ ษาจึงตดิ ต้ังระบบโดยการทำงานผา่ นโปรแกรม Visual Studio Code
URL : https://code.visualstudio.com/download เพอื่ ใชใ้ นการเขียนแอปพลเิ คชนั
ดว้ ยภาษา React
3.1.6 การดูแลรกั ษาแอปพลิเคชัน
ถา้ เกิดปญั หาจากโปรแกรม ผู้ศกึ ษาจะต้องเข้ามาแก้ไข หรือผู้ใช้อาจมีความต้องการวิธีการทำงาน
ใหม่ ๆ เพิ่มเติม ทั้งนี้การดูแลรักษาแอปพลิเคชันจะเป็นขั้นตอนในส่วนที่เกิดตามมาภายหลังที่ได้มีการติดตั้ง
และใช้งานระบบแลว้ การซอ่ มบำรุงระบบฐานข้อมลู คดั กรองกลมุ่ เสีย่ ง และเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาล
ส่งเสริมสขุ ภาพตำบลเก้ิง จังหวดั มหาสารคาม มีการดำเนนิ งาน ดังนี้
3.6.1.1 เก็บรวบรวมคำรอ้ งขอให้ปรับปรุงระบบ
3.6.1.2 วเิ คราะห์ขอ้ มูลรอ้ งขอให้ปรับปรุงระบบ
3.6.1.3 ออกแบบการทำงานท่ตี อ้ งการปรับปรงุ
3.6.1.4 ปรบั ปรงุ แก้ไขระบบ

21

3.2 การศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้แอปพลเิ คชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝา้
ระวังโรคโควดิ -19 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเกง้ิ จงั หวดั มหาสารคาม

3.2.1 เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3.2.1.1 แบบสอบถามความพึงพอใจแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวัง

โรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม ของกลุ่มตัวอย่าง มีลักษณะเป็นแบบ
มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามแบบของลิเคิร์ท (Likert Rating Scale) ครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับการ
ประเมินความพงึ พอใจของกลุม่ ตวั อยา่ งของผู้ใช้งานสำหรบั ใช้งานแอปพลิเคชันเพ่ือจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเส่ียง
และเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม โดยมีเกณฑ์การแปลผล
ดังน้ี

5 หมายถึง มีพงึ พอใจมากท่ีสดุ
4 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก
3 หมายถงึ มีความพงึ พอใจปานกลาง
2 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อย
1 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจนอ้ ยท่สี ดุ
การแปลผลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตนั้นจะทำได้โดยกำหนดคะแนนแทนน้ำหนักให้แต่
ละช่วงของระดับความคิดเห็นแลว้ คำนวณคา่ เฉลยี่ และนำคา่ เฉลี่ยท่ไี ดไ้ ปเทียบกับเกณฑ์การแปลความหมายซ่ึง
การหาค่าเฉล่ียโดยทวั่ ไปก็มักจะใช้ผลรวมของการคูณระหว่างค่าน้ำหนกั ของแตล่ ะระดับกบั ความถี่ในระดับน้ัน
แล้วหารดว้ ยความถที่ ง้ั หมดในการกำหนดเกณฑ์ตามวธิ ขี อง พิสทุ ธา อารีราษฎร์ (2551 : 144-146) ดังนี้
4.51 - 5.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจมากทสี่ ุด
3.51 - 4.50 หมายถงึ มีความพงึ พอใจมาก
2.51 - 3.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจปานกลาง
1.51 - 2.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อย
1.00 - 1.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ยที่สุด
3.2.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางสถติ ิ
ผู้ศกึ ษาวเิ คราะหข์ ้อมลู โดยใชเ้ ลอื กสถติ ิดงั น้ี
3.2.2.1 การหาค่าตัวดัชนคี วามสอดคล้องโดยได้เสนอแบบทดสอบประเมินประสิทธิภาพท่ีได้ทำ
การสร้างขึ้นโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่านพิจารณาตรวจสอบ จากนั้นนำผลที่ได้ไปหาค่าดัชนี ความ
สอดคล้อง เพื่อหาค่าความสอดคล้องของเนื้อหา (Content Validity) เป็นการนำผลของผู้เชี่ยวชาญแต่ละท่าน
มารวมกันคำนวณหาความตรง เชิงเนื้อหาซึ่งคำนวณจากความสอดคล้องระหว่างประเด็นที่ต้องการวัดกับ
คำถามที่สร้างขึ้น ดัชนีที่ใช้แสดงค่าความสอดคล้อง เรียกว่า ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามและ
วัตถุประสงค์ (Item-objective Congruence Index: IOC) โดยผู้เชี่ยวชาญจะต้องประเมินด้วยคะแนน 3
ระดบั คอื

22

+1 ใช่ คอื เม่อื แนใ่ จวา่ ว่าข้อคำถามน้ันสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์
0 ไม่แนใ่ จ คอื เมอื่ ไม่แน่ใจวา่ ขอ้ คำถามนัน้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
-1 ไม่ใช่ คอื เม่อื ไมแ่ นใ่ จวา่ ข้อคำถามนัน้ ไมม่ ีความสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์
ค่าดชั นคี วามสอดคลอ้ งทีย่ อมรบั ไดต้ ้องมีค่าตง้ั แต่ 0.50 ขึ้นไป สตู รในการคำนวณ (กรมวชิ าการ. 2545:65)

IOC = ∑



OC คอื ดชั นีความสอดคล้องระหวา่ งคำถาม
R คือ คะแนนของผูเ้ ชย่ี วชาญ
∑R คอื ผลรวมคะแนนผเู้ ชีย่ วชาญแต่ละคน
N คือ จำนวนผู้เชยี่ วชาญ
3.2.2.2 สถติ ิพน้ื ฐาน
วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD)
แล้วแปลความหมายค่าเฉลี่ย โดยเปรียบเทียบเกณฑ์การแปลความหมาย ช่วงค่าเฉลี่ย และสถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะหข์ อ้ มูล
1) ค่าเฉลี่ย (Mean) หมายถึง ค่ากลางของเลขคณิต ค่าเฉลี่ย ค่ามัชฌิมาเลขคณิตในสูตร
ของไพศาล วรคำ (2555:317)

= ∑



เมือ่ แทน คา่ เฉลี่ย

∑ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด

แทน จำนวนคนท้งั หมดในกล่มุ เปา้ หมาย
2) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หมายถึง การวัดกระจายที่นิยมใช้กันมาเขียนแทนด้วย
(Standard Deviation: S.D.) ในสตู รของสมบัตทิ ้ายเรือคำ (2551:140)

. . = √ ∑ 2−(∑ 2)
( −1)

เม่อื S.D. แทน สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน

แทน คะแนนแตล่ ะคน

∑ 2 แทน ผลรวมคะแนนแต่ละคนยกกำลังสอง

(∑ 2) แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลงั สอง

แทน จำนวนนักเรยี นในกลมุ่ เปา้ หมาย

บทที่ 4
ผลการศึกษา

ผลการศึกษาเรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด -19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเก้งิ จังหวัดมหาสารคาม ตามวัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษามี ดงั นี้

4.1 ผลการพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาล
สง่ เสริมสขุ ภาพตำบลเกง้ิ จงั หวดั มหาสารคาม

4.2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของบคุ ลากรในการใช้แอปพลิเคชันเพ่ือจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและ
เฝา้ ระวงั โรคโควิด-19 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จงั หวัดมหาสารคาม

4.1 ผลการพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาล
สง่ เสริมสขุ ภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม

ผู้ศึกษาได้ใช้กระบวนการตามรูปแบบวงจรการพัฒนาระบบ SDLC ในการดำเนินการศึกษาในการ
ดำเนินการจัดการพัฒนาระบบ ดงั นี้

4.1.1 ผลการวางแผนแอปพลเิ คชนั
ผู้ศึกษาได้ทำการศึกษาข้อมูล จากระบบงานเดิม พบว่า ภายในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริม

สขุ ภาพตำบลเกง้ิ มีการจัดการขอ้ มลู หลากหลายรูปแบบ และรวบรวมเป็นรปู เล่มเอกสาร ซ่ึงใช้เวลานานในการ
ค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ไม่สะดวกในการเข้าถึงข้อมูล และเกิดความยุ่งยากในการค้นหา ประกอบกับความ
ต้องการใช้ข้อมูลมีการเรียกใช้บ่อยทำให้การเรียกใช้งานมีความล่าช้า จึงมีแนวคิดในการนำเสนอข้อมูลบน
อุปกรณ์เคลื่อนที่แบบไร้สาย โดยเฉพาะกลุ่ม Web Application, Smart Phone, Tablet PC เข้ามาประยุกต์
ในการทำงานการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดังนี้

3.1.1.1 ดา้ นการใช้งานเอกสาร ไดแ้ ก่
1) ขอ้ มูลผู้ลงทะเบยี น
2) ขอ้ มลู การคดั กรอง
3) ข้อมลู การการวดั อุณหภมู ิ

3.1.1.2 ด้านการออกแบบ และรูปแบบระบบ
1) หนา้ แอปพลิเคชันการจดั การเอกสารท่เี ป็นระบบ ง่ายต่อการใช้งาน
2) สสี นั ในการออกแบบแอปพลิเคชนั มคี วามเหมาะสม
3) สพี ้ืนหลงั กับสีตัวอกั ษรมคี วามเหมาะสมตอ่ การอ่าน
4) ขนาดตัวอกั ษร และรปู แบบตัวอักษร มีความสวยงามและอ่านได้ง่าย
6) ความรวดเรว็ ในการแสดงภาพ ตัวอักษร และข้อมลู ต่าง ๆ
7) ความถูกต้องในการเชอื่ มโยงภายเมนู
8) ความเหมาะสมของหมวดหม่หู ัวขอ้ ท่ใี ช้
9) การจดั องค์ประกอบมคี วามเป็นระเบียบ เขา้ ใจง่าย

24

10) การแบง่ หมวดหมู่เน้อื หาที่ชัดเจน
11) การเขา้ ใชง้ านระบบการจัดการเอกสารที่ซับซ้อน
12) ความถกู ตอ้ งของผลลพั ธ์ทไ่ี ด้จากการใชง้ านเมนตู า่ ง ๆ ภายในแอปพลเิ คชัน
4.1.2 ผลการวิเคราะห์แอปพลเิ คชนั
การวิเคราะห์ระบบโดยการวิเคราะห์เก่ียวขอ้ งกับการออกแบบผงั รายละเอียดต่าง ๆ ของการ
ดำเนินงานการวิเคราะห์โครงสรา้ งของระบบ โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 2 ส่วน คือ ผู้ใช้ (User) และ ผู้ดูแล
ระบบ (Admin) ดังน้ี
4.1.2.1 ส่วนของผู้ใช้ (User) ผ้ใู ช้งานสามารถเข้าใช้งานระบบข้อมูล ดงั ตอ่ ไปนี้
1) ลงทะเบียนผูเ้ ดนิ ทางเขา้ พ้ืนทห่ี รือกลุ่มเสี่ยงผูส้ ัมผสั ผู้ปว่ ยยนื ยนั โควิด 19
2) ผเู้ ดินทางเข้าในพื้นท่ี

2.1) คดั กรอง/ประเมนิ ความเสย่ี ง
2.2) ลงขอ้ มูลการวัดอุณหภูมิ
3) ผ้สู มั ผสั ผู้ปว่ ยยนื ยนั โควดิ -19
3.1) คัดกรอง/ประเมนิ ความเสย่ี งผู้สมั ผัสผปู้ ่วยยืนยันโควิด-19
3.2) ลงขอ้ มลู การวัดอณุ หภูมิ
4) เชค็ ยอดผ้ตู ิดเชือ้
5) แก้ไขการลงทะเบียน
4.1.2.2 สว่ นของผู้ดแู ลระบบ (Admin) ผใู้ ช้งานสามารถเข้าใชง้ านระบบขอ้ มูล ดงั ต่อไปนี้
1) ADMIN
1.1) เข้าส่รู ะบบ
1.2) รีเซ็ตรหสั ผา่ น
1.3) ลบรายช่อื การลงทะเบียน
1.4) ข้อมลู การลงทะเบียน
1.5) ขอ้ มลู คดั กรองความเส่ียงผู้เดินทางเขา้ พ้ืนที่
1.6) ข้อมูลการคดั กรองกลุ่มเส่ียงผสู้ ัมผสั ผ้ปู ่วยยนื ยัน
1.7) ข้อมลู การวดั อณุ หภูมิ

25

ภาพท่ี 4.1 ผังงานการเขา้ ใช้งานของผู้ใชแ้ ละผ้ดู ูแลระบบ
4.1.3 ผลการออกแบบแอปพลิเคชนั

ผลการออกแบบโครงสร้างของแอปพลิเคชัน แบ่งการทำงานออกเป็น 2 ส่วน คือ ผู้ใช้ (User)
และ แอดมนิ (ADMIN) ดงั น้ี

4.1.3.1 ส่วนของผ้ใู ช้ (User)

ภาพพนื้ หลงั

เมนู
เมนู
เมนู
เมนู

ภาพที่ 4.2 ออกแบบหนา้ จอหลกั ของแอปพลเิ คชันและเมนใู ชง้ านตา่ ง ๆ
จากภาพที่ 4.2 การออกแบบหน้าจอหลกั ของ Application ใช้ในการ แสดงเมนูต่าง ๆ ใน
การเข้าใชง้ าน แบง่ ตามหมวดหมู่ ของแอปพลิเคชนั เพ่ือจดั การฐานข้อมูลกลมุ่ เสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควดิ -19
โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลเกิง้ จงั หวดั มหาสารคาม

26

1) ลงทะเบียนผู้เดินทางเข้าพื้นที่หรือกลุ่มเสี่ยงผู้สัมผัสผู้ป่วยยืนยันโควิด-19
ประกอบไปด้วย คำนำหน้า ช่ือ สกุล เลขบตั รประจำตัวประชาชน บ้านเลขที่ หมู่บ้าน เบอร์โทร ประวัติการรับ
วคั ซนี จำนวนคนท่ีพกั อยูด่ ว้ ยกัน วนั เดนิ ทางเขา้ พกั ในพนื้ ที่ เปน็ ตน้

กลบั

ลงทะเบยี น

บนั ทึก

ภาพที่ 4.3 ออกแบบหน้าจอเมนูการลงทะเบียน

จากภาพท่ี 4.3 การออกแบบหนา้ จอเมนู ลงทะเบยี น แอปพลเิ คชันเพอื่ จดั การฐานข้อมลู กลุ่มเส่ียงและ
เฝา้ ระวงั โรคโควิด-19 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลเกงิ้ จงั หวดั มหาสารคาม

2) ผู้เดนิ ทางเข้าในพ้ืนที่ ประกอบไปดว้ ย คำถามคดั กรองความเส่ยี งผู้เดินทางเข้าใน
พ้นื ที่ ลงขอ้ มลู การวัดอุณหภมู ิ เป็นต้น

3) ผู้สัมผัสผู้ป่วยยืนยันโควิด-19 ประกอบไปด้วย คำถามคัดกรองกลุ่มเสี่ยงหรือผู้
สมั ผัสผูป้ ว่ ยยืนยนั โควิด 19 ลงข้อมูลการวัดอุณหภมู ิ เปน็ ตน้

4) เช็คยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 ประกอบไปด้วย ยอดคนติดเชื้อทั่วโลก ยอดคน
เสียชีวติ ทัว่ โลก ยอดคนตดิ เช้อื ในไทย ยอดคนเสียชวี ิตในไทย เปน็ ต้น

5) แก้ไขการลงทะเบียน ประกอบไปด้วย คำนำหน้า เลขบัตรประจำตัวประชาชน
ชื่อ สกุล บ้านเลขที่ หมู่บ้าน เบอร์โทร ประวัติการรับวัคซีน จำนวนคนที่พักอยู่ด้วยกัน วันเดินทางเข้าพักใน
พน้ื ท่ี เปน็ ต้น

27

4.1.3.2 ส่วนของผู้ดแู ลระบบ (ADMIN)
1) การล็อกอิน ประกอบไปด้วยอีเมล รหสั ผ่าน เข้าสรู่ ะบบและรีเซ็ตรหัสผ่านเปน็ ตน้
2) สรุปจำนวนข้อมลู ประกอบไปด้วย สรุปจำนวนดูขอ้ มูลผู้ลงทะเบียน สรุปจำนวน

ข้อมูลคัดกรองความเสี่ยงผู้เดินทางเข้าในพื้นที่ สรุปจำนวนข้อมูลการคัดกรองกลุ่มเส่ียงผู้สมั ผัสผู้ป่วยยืนยันโค
วิด-19 และสรุปจำนวนขอ้ มูลการวัดอุณหภมู ิ เป็นต้น

3) ดขู อ้ มูลผู้ลงทะเบยี น ประกอบดว้ ย ข้อมูลผู้ลงทะเบยี นข้อมลู คดั กรองความเส่ียงผู้
เดินทางเข้าในพื้นท่ขี ้อมูลการคัดกรองกล่มุ เสี่ยงผสู้ ัมผัสผู้ป่วยยนื ยนั โควดิ -19และข้อมูลการวัดอุณหภมู ิ เปน็ ต้น

4) การลงทะเบียนผู้เข้าในพน้ื ที่หรือกลุม่ เสีย่ งผู้สมั ผัสผู้ปว่ ยยนื ยนั โควิด-19 ประกอบ
ไปด้วย คำนำหน้า ชื่อ สกุล เลขบัตรประจำตัวประชาชน บ้านเลขที่ หมู่บ้าน เบอร์โทร ประวัติการรับวัคซีน
จำนวนคนทพี่ ักอยูด่ ว้ ยกนั วันเดนิ ทางเข้าพักในพ้ืนท่ี เป็นต้น

5) แก้ไขการลงทะเบียน ประกอบไปด้วย เลขบัตรประชาชน คำนำหน้า ชื่อ สกุล
บา้ นเลขท่ี หมบู่ า้ น เบอร์โทร ประวัตกิ ารรับวัคซีน จำนวนคนทีพ่ กั อย่ดู ว้ ยกนั วันเดินทางเข้าพักในพ้ืนท่ี เป็นตน้

6) ลบข้อมูลการลงทะเบยี น
7) ดาวน์โหลดไฟล์ ข้อมูลการลงทะเบียน ข้อมูลคัดกรองความเสี่ยงผู้เดินทางเข้าใน
พน้ื ท่ี ข้อมลู การคัดกรองกลุ่มเสยี่ งผู้สัมผสั ผู้ป่วยยนื ยันโควดิ -19 และขอ้ มลู การวดั อุณหภูมิ เปน็ ต้น

ADMIN Logout

ภาพที่ 4.4 ออกแบบหน้าจอเมนู ADMIN

จากภาพที่ 3.4 การออกแบบหน้าจอเมนู ADMIN ผู้ดูแลระบบสามารถ ดู เพิ่ม ลบ แก้ไข ดาวน์โหลด
ข้อมูล แอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลเกิ้ง จงั หวัดมหาสารคาม

28

ตารางที่ 4.1 การออกแบบตารางข้อมลู การลงทะเบียนผู้เดินทางเขา้ ในพน้ื ทหี่ รือกลุ่มเสีย่ งผสู้ ัมผสั ผ้ปู ว่ ย
ยนื ยันโควดิ -19 (datacomein)

ลำดบั ท่ี ช่อื ฟลิ ด์ คำอธิบาย ชนิดขอ้ มลู
1 namedetail คำนำหนา้ answer
2 firstName ชอ่ื text
3 lastName สกลุ text
4 idcard เลขบัตรประชาชน Number (13)
5 addressdetail บา้ นเลขที่ text
6 address หมู่บา้ น answer
7 phone เบอร์โทรศัพท์ Number (10)
8 vaccine ประวตั ิการรับวคั ซีน text
9 number_preple จำนวนคนทพี่ กั อยดู่ ว้ ยกนั number (5)
10 startDate วนั ทเ่ี ดินทางเขา้ ในพืน้ ที่ date

29

ตารางท่ี 4.2 การออกแบบตารางขอ้ มูลคำถามคัดกรองความเสย่ี งผ้เู ดินทางเขา้ ในพืน้ ท่ี (dataquestion)

ลำดับที่ ชอ่ื ฟลิ ด์ คำอธิบาย ชนิดข้อมลู
1 idcard เลขบตั รประชาชน Number (13)
2 namedetail คำนำหน้า answer
3 firstName ช่อื text
4 lastName สกุล text
5 addressdetail บา้ นเลขที่ text
6 address หมบู่ ้าน answer
7 phone เบอรโ์ ทรศพั ท์ number (10)
8 1 คำถามขอ้ ที่ 1 answer
9 2 คำถามขอ้ ที่ 2 answer
10 3 คำถามข้อท่ี 3 answer
11 4 คำถามข้อที่ 4 answer
12 5 คำถามขอ้ ท่ี 5 answer
13 6 คำถามขอ้ ที่ 6 answer
14 7 คำถามข้อท่ี 7 answer
15 8 คำถามขอ้ ท่ี 8 answer
16 9 คำถามข้อที่ 9 answer
17 10 คำถามข้อท่ี 10 answer
18 11 คำถามขอ้ ที่ 11 answer

30

ตารางท่ี 4.3 การออกแบบตารางขอ้ มลู คำถามคดั กรองกลุ่มเสี่ยงหรือผสู้ มั ผสั ผ้ปู ่วยยนื ยนั โควดิ -19 (datarisk)

ลำดับท่ี ชื่อฟิลด์ คำอธบิ าย ชนิดขอ้ มลู
1 idcard เลขบตั รประชาชน number (13)
2 namedetail คำนำหน้า answer
3 firstName ชอ่ื text
4 lastName สกลุ text
5 addressdetail บ้านเลขที่ text
6 address หมู่บา้ น answer
7 phone เบอรโ์ ทรศัพท์ number (10)
8 1 คำถามข้อที่ 1 answer
9 2 คำถามขอ้ ท่ี 2 answer
10 3 คำถามขอ้ ที่ 3 answer
11 4 คำถามข้อท่ี 4 answer
12 5 คำถามขอ้ ท่ี 5 answer
13 6 คำถามขอ้ ที่ 6 answer
14 7 คำถามข้อที่ 7 answer

ตารางท่ี 4.4 การออกแบบตารางข้อมลู ลงขอ้ มูลการวดั อุณหภูมิ (datatemp)

ลำดับท่ี ชื่อฟิลด์ คำอธบิ าย ชนิดข้อมลู
1 idcard เลขบตั รประชาชน number (13)
2 namedetail คำนำหน้า answer
3 firstName ชอ่ื text
4 lastName สกลุ text
5 addressdetail บ้านเลขที่ text
6 address หมู่บ้าน answer
7 phone เบอร์โทรศัพท์ number (10)
8 temp อุณหภูมิ number (4)

31
4.1.4 ผลการพฒั นาแอปพลเิ คชนั

ผลการออกแบบแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด -19
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลเกิง้ จงั หวดั มหาสารคาม แบ่งการใชง้ านออกเปน็ 2 ส่วน คือ ผใู้ ช้ (User) และ
ผดู้ ูแลระบบ (ADMIN) ดงั นี้

4.1.2.1 ส่วนของผูใ้ ช้ (User)
1) หน้าแรกของผู้ใช้ ประกอบไปด้วย 1) ลงทะเบียนผู้เดินทางเข้าพื้นที่หรือกลุ่มเสี่ยงผู้

สมั ผสั ผู้ป่วยยืนยันโควิด-19 2) ผเู้ ดนิ ทางเขา้ ในพ้นื ท่ี 3) ผสู้ ัมผสั ผปู้ ว่ ยยืนยนั โควดิ -19 4) เชค็ ยอดผู้ติดเชือ้ โควดิ -
19 5) แกไ้ ขการลงทะเบยี น

ภาพที่ 4.5 ภาพแสดงหน้าแรกของผใู้ ช้

32
2) เมนูลงทะเบียนผ้เู ดนิ ทางเขา้ พนื้ ทห่ี รอื กล่มุ เส่ยี งผสู้ ัมผัสผู้ปว่ ยยืนยนั โควิด-19
ประกอบไปด้วย 1) กลับ 2) คำนำหน้า 3) ชอ่ื 4) สกุล 5) เลขบัตรประจำตัวประชาชน 6) บา้ นเลขที่ 7)
หมบู่ ้าน 8) เบอร์โทร 9) ประวตั ิการรบั วัคซีน 10) จำนวนคนที่พกั อยู่ดว้ ยกนั 11) วนั ทเ่ี ข้าพกั ในพน้ื ท่ี 12)
ลงทะเบียน

ภาพท่ี 4.6 ภาพแสดงหน้าเมนูลงทะเบียนผู้เดินทางเขา้ พื้นที่หรือกลมุ่ เสย่ี งผู้สมั ผสั ผู้ปว่ ยยืนยนั โควิด-19

ภาพที่ 4.7 ภาพแสดงการแจ้งเตอื น กรุณากรอกขอ้ มลู ใหค้ รบและตรวจสอบความถูกต้อง

33

ภาพท่ี 4.8 ภาพแสดงการแจ้งเตอื น มีเลขบัตรประชาชนน้ีแลว้
3) เมนูผู้เดินทางเข้าในพื้นที่ ประกอบไปด้วย 1) กลับ 2) คำถามคัดกรองความเสี่ยงผู้
เดนิ ทางเข้าในพื้นท่ี 3) ลงขอ้ มลู การวดั อณุ หภมู ิ

ภาพที่ 4.9 ภาพแสดงหน้าเมนูผู้เดนิ ทางเข้าในพน้ื ที่

34
4) เมนูคำถามคัดกรองความเสี่ยงผเู้ ดินทางเขา้ ในพนื้ ที่ ประกอบไปดว้ ย 1) กลับ
2) เลขบตั รประชาชน 3) คน้ หา 4) ดปู ระวัติ 5) ประเมินอาการ

ภาพท่ี 4.10 ภาพแสดงหน้าเมนูคำถามคัดกรองความเส่ยี งผู้เดินทางเขา้ ในพื้นที่

35
ภาพที่ 4.11 ภาพแสดงแจ้งเตือนไม่พบเลขบตั รประชาชน

ภาพที่ 4.12 ภาพแสดงดปู ระวัติ

36
ภาพท่ี 4.13 ภาพแสดงแจง้ เตือนคุณมีความเส่ียง กรุณากักตัว

ภาพท่ี 4.14 ภาพแสดงแจง้ เตือนคุณไม่มคี วามเส่ยี ง

37
5) เมนูผู้สมั ผัสผู้ปว่ ยยนื ยนั โควิด-19 ประกอบไปด้วย 1) คำถามคัดกรองความกล่มุ เส่ยี ง
หรือผสู้ ัมผัสผปู้ ว่ ยยืนยันโควดิ -19 2) ลงข้อมลู การวัดอุณหภมู ิ

ภาพท่ี 4.15 ภาพแสดงเมนูผ้สู ัมผสั ผ้ปู ว่ ยยนื ยันโควิด-19
6) เมนคู ำถามคัดกรองความกลุ่มเสย่ี งหรอื ผู้สัมผัสผูป้ ่วยยืนยนั โควดิ -19 ประกอบไป
ดว้ ย 1) ปุ่มกลับ 2) เลขบัตรประชาชน 3) คน้ หา 4) ดปู ระวตั ิ 5) ประเมนิ อาการ

ภาพที่ 4.16 ภาพแสดงหนา้ คำถามคดั กรองความกลุ่มเสย่ี งหรอื ผสู้ มั ผัสผูป้ ่วยยนื ยันโควดิ -19

38
ภาพท่ี 4.17 ภาพแสดงการแจ้งเตอื น ไมพ่ บเลขบตั รประชาชน

ภาพท่ี 4.18 ภาพแสดงหน้าดปู ระวัติ

39
ภาพท่ี 4.19 ภาพแสดงการแจง้ เตือน คุณไมม่ ีความเส่ยี ง
ภาพท่ี 4.20 ภาพแสดงการแจ้งเตอื น คุณมีความเส่ยี ง กรุณากกั ตวั


Click to View FlipBook Version