40
7) เมนลู งขอ้ มูลการวัดอุณหภมู ิ ประกอบไปดว้ ย 1) ปุ่มกลบั 2) เลขบตั รประชาชน 3)
คน้ หา 4) ดูประวตั ิ 5) อุณหภูมิ 6) ส่งข้อมลู
ภาพที่ 4.21 ภาพแสดงหนา้ เมนลู งขอ้ มลู การวัดอณุ หภูมิ
ภาพที่ 4.22 ภาพแสดงการแจ้งเตอื น ไม่พบเลขบตั รประชาชน
41
ภาพท่ี 4.23 ภาพแสดงหน้าดปู ระวตั ิ
ภาพที่ 4.24 ภาพแสดงการแจ้งเตอื น คุณอุณหภูมปิ กติ
42
ภาพที่ 4.25 ภาพแสดงการแจ้งเตือน คุณอุณหภูมสิ ูง กรุณากกั ตัว
9) เมนูเชค็ ยอดผู้ติดเช้ือโควิด-19 ประกอบไปด้วย 1) กลับ2) ยอดคนติดเช้ือทั่วโลก 3)
ยอดคนเสยี ชวี ิดทัว่ โลก 4) ยอดคนติดเชอ้ื ในไทย 5) ยอดคนเสียชวี ิดในไทย
ภาพที่ 4.26 ภาพแสดงหน้าเมนูเชค็ ยอดผู้ติดเช้ือโควิด-19
43
10) เมนูแก้ไขการลงทะเบียน ประกอบไปด้วย 1) ปุ่มกลับ 2) เลขบัตรประจำตัว
ประชาชน 3) ปุ่มค้นหา 4) คำนำหน้า 5) ชื่อ 6) สกุล 7) บ้านเลขที่ 8) หมู่บ้าน 9) เบอร์โทร 10) ประวัติการ
รบั วัคซีน 11) จำนวนคนทีพ่ กั อยดู่ ว้ ยกัน 12) วนั ทเี่ ข้าพักในพน้ื ที่ 13) ป่มุ แก้ไขการลงทะเบยี น
ภาพท่ี 4.27 ภาพแสดงหนา้ เมนแู ก้ไขการลงทะเบยี น
ภาพที่ 4.28 ภาพแสดงการแจง้ เตือน เลขบตั รน้ยี ังไมไ่ ดล้ งทะเบียน
44
ภาพที่ 4.29 ภาพแสดงการแจง้ เตอื น กรุณากรอกขอ้ มลู ใหค้ รบและตรวจสอบความถูกตอ้ ง
4.1.2.2 สว่ นของผ้ดู ูแลระบบ (ADMIN)
1) เมนู ADMIN ประกอบไปด้วย 1) ลอ็ กอินเขา้ ส่รู ะบบ 2) รเี ซต็ รหัสผา่ น 3) สรปุ
จำนวนขอ้ มลู 4) ลงทะเบียนผู้เดินทางเขา้ พื้นทหี่ รือกลุ่มเส่ยี งผสู้ มั ผัสผูป้ ่วยยนื ยันโควิด-19 5) แก้ไขการ
ลงทะเบียน 6) ข้อมูลการลงทะเบียนและการคัดกรอง 7) ลบขอ้ มูลการลงทะเบยี น 8) ดาวน์โหลดขอ้ มลู 9)
Logout
ภาพท่ี 4.30 ภาพแสดงหนา้ Log in
45
ภาพท่ี 4.31 ภาพแสดงหน้ารเี ซ็ตรหัสผ่าน
ภาพที่ 4.32 ภาพแสดงหน้า ADMIN
46
ภาพที่ 4.33 ไอคอน Logout
ภาพท่ี 4.34 ไอคอน ดาวนโ์ หลด
ภาพท่ี 4.35 ไอคอน ค้นหา
ภาพที่ 4.36 ไอคอน ลบขอ้ มูลการลงทะเบยี น
47
4.2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้แอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและ
เฝา้ ระวงั โรคโควดิ -19 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลเกิง้ จงั หวดั มหาสารคาม
การเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้ศึกษาได้ใช้แบบสอบถามเพือ่ ประเมนิ ความพงึ พอใจของเจ้าหน้าท่ีท่ีมีต่อการใช้
งานแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม แบบเจาะจง จำนวน 30 คน ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้นำเสนอผลการวิเคราะห์
ขอ้ มูล ตามลำดับข้ัน ดงั น้ี
ตารางท่ี 4.5 ข้อมูลท่วั ไป เพศ
รายการ จำนวน รอ้ ยละ
ชาย 4 13.33
หญิง 26 86.77
รวม 30 100
จากตารางท่ี 4.5 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อการใช้งานแอปพลิเคชัน
เพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัด
มหาสารคาม จำนวน 30 คน คิดเป็น เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 13.33 จำนวน 4 คน และเพศหญิง จำนวน 26
คน คิดเป็นรอ้ ยละ 86.77
ตารางท่ี 4.6 ข้อมลู ทั่วไป สถานภาพ
รายการ จำนวน รอ้ ยละ
พยาบาลวชิ าชีพ 16 53.33
นกั วชิ าการสาธารณสขุ 14 46.67
30 100
รวม
จากตารางที่ 4.6 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อการใช้งานแอปพลิเคชัน
เพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัด
มหาสารคาม จำนวน 30 คน แยกตามสถานภาพ เป็นพญาบาลวิชาชีพ จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 53.33
และนกั วชิ าการสาธารณสขุ จำนวน 14 คน คดิ เป็นร้อยละ 46.67
48
ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ใช้งานท่ี มีต่อการใช้งานแอปพลิเคชันเพื่อจัดการ
ฐานข้อมูลกลุ่มเส่ียงและเฝา้ ระวงั โรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม แยก
ออกเปน็ รายด้าน 3 ด้าน คือ ความพงึ พอใจด้านองค์ประกอบแอปพลิเคชัน ความพึงพอใจด้านการเข้าถึงข้อมูล
สารสนเทศ และความพงึ พอใจด้านประสิทธภิ าพการใชง้ าน
ตารางท่ี 4.7 ความพงึ พอใจดา้ นองคป์ ระกอบแอปพลเิ คชัน
รายการประเมนิ ผลการประเมิน
. . ความหมาย
1 ดา้ นองค์ประกอบแอปพลิเคชัน
1.1 การเข้าใชง้ านแอปพลเิ คชัน 3.53 0.81 มาก
1.2 การค้นหาขอ้ มลู 3.83 0.59 มาก
1.3 ป่มุ การเพมิ่ ขอ้ มูล 3.86 0.77 มาก
1.4 ปุม่ ลบข้อมลู 3.00 0.98 พอใช้
1.5 การแสดงผล 3.90 0.80 มาก
1.6 การออกแบบมคี วามสวยงามและเหมาะสม 3.73 0.86 มาก
1.7 การจัดรปู ภาพมคี วามสวยงามและเหมาะสม 3.70 0.91 มาก
รวม 3.65 0.57 มาก
จากตารางที่ 4.7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ที่มีต่อการใช้งาน
แอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเก้ิง
จังหวัดมหาสารคาม ความพึงพอใจด้านองค์ประกอบแอปพลเิ คชัน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก อยู่ในระดับพอใช้
ค่าเฉลย่ี เทา่ กบั 3.65 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ โดย เรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย 7 ลำดับ การแสดงผล อยู่
ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90 ปุ่มการเพิ่มข้อมูล อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.86 การค้นหาข้อมูล
อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.83 การออกแบบมีความสวยงามและเหมาสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย
เทา่ กบั 3.73 การจดั รปู ภาพมีความสวยงามและเหมาะสม อยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ียเท่ากบั 3.70 การเขา้ ใช้งาน
แอปพลิเคชัน อยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลี่ยเท่ากบั 3.53 และ ป่มุ ลบข้อมลู อยูใ่ นระดับพอใช้ คา่ เฉลยี่ เทา่ กับ 3.00
49
ตารางท่ี 4.8 ความพึงพอใจด้านการเขา้ ถงึ ข้อมลู สารสนเทศ
รายการประเมนิ ผลการประเมิน
x S. D. ความหมาย
2 ด้านการเขา้ ถึงข้อมูลสารสนเทศ
2.1 ข้อมูลผุ้ลงทะเบียน 4.70 0.53 มาก
2.2 ข้อมลู การคดั กรอง 4.06 0.69 มาก
2.3 ขอ้ มูลการวดั อุณหภูมิ 3.63 0.92 มาก
รวม 4.13 0.47 มาก
จากตารางท่ี 4.8 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู แบบสอบถามความพงึ พอใจของผู้ใช้งานทม่ี ีตอ่ การใชง้ านแอป
พลเิ คชนั เพือ่ จดั การฐานขอ้ มลู กลุม่ เสยี่ งและเฝ้าระวังโรคโควดิ -19 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเก้งิ จงั หวดั
มหาสารคาม ด้านการเข้าถึงข้อมลู สารสนเทศ งานเอกสารด้านต่าง ๆ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ
4.13 เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายขอ้ โดยเรยี งลำดบั ขอ้ มูลจากมากไปน้อย 3 ลำดับ ข้อมูลการลงทะเบียน อยูใ่ นระดับ
มาก ค่าเฉลยี่ เท่ากับ 4.70 ข้อมูลการคัดกรอง อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉลีย่ เท่ากับ 4.06 และขอ้ มูลการวัดอุณหภูมิ
อยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ยี เท่ากบั 3.63
ตารางท่ี 4.9 ความพงึ พอใจด้านประสิทธภิ าพการนำไปใช้งาน
รายการประเมนิ ผลการประเมิน
. . ความหมาย
3 ด้านประสิทธิภาพการนำไปใช้งาน
3.1 การเข้าถึงการจดั เกบ็ สบื คน้ ขอ้ มลู มีความเสถยี ร 4.63 0.55 มาก
3.2 การเพิม่ ลบ แก้ไข แสดงผลขอ้ มูลมคี วามเสถยี ร 4.26 0.82 มาก
3.3 เปน็ แหล่งขอ้ มลู ที่ตรงกบั ความต้องการ 4.03 0.66 มาก
3.4 แอปพลิเคชันมกี ารใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก 4.06 0.90 มาก
รวม 4.25 0.48 มาก
จากตารางที่ 4.9 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใชง้ านท่ีมีต่อ การใช้งานแอป
พลิเคชันเพ่อื จดั การฐานขอ้ มลู กล่มุ เส่ยี งและเฝา้ ระวงั โรคโควดิ -19 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลเกง้ิ จงั หวัด
มหาสารคาม ด้านประสิทธิภาพการนำไปใช้งาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 เมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อ โดยเรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย 4 ลำดับ การเข้าถึงการจัดเก็บ สืบค้นข้อมูลมีความเสถียร
50
อยู่ในระดบั มาก คา่ เฉล่ียเท่ากบั 4.63 การเพมิ่ ลบ แกไ้ ข แสดงผลขอ้ มลู มคี วามเสถยี ร อย่ใู นระดับมาก คา่ เฉลย่ี
เท่ากับ 4.26 แอปพลิเคชันมีการใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 และเป็น
แหลง่ ข้อมูลทตี่ รงกบั ความตอ้ งการ อยูใ่ นระดบั มาก ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.03
ตารางที่ 4.10 ผลการประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ช้งานท่ีมตี อ่ การใชง้ านแอปพลิเคชันเพือ่ จดั การ
ฐานข้อมลู กลุ่มเสย่ี งและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลเกิ้ง จงั หวดั มหาสารคาม
รวมทกุ ด้าน
รายการประเมิน ผลการประเมนิ
. . ความหมาย
1 ดา้ นองค์ประกอบแอปพลิเคชัน 3.65 0.57 มาก
2 ดา้ นการเข้าถงึ ขอ้ มูลสารสนเทศ 4.13 0.47 มาก
3 ด้านประสทิ ธภิ าพการนำไปใชง้ าน 4.25 0.48 มาก
3.92 0.44 มาก
รวม
จากตารางท่ี 4.10 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มตี ่อการใช้งานแอปพลิเคชันเพื่อ
จดั การฐานขอ้ มูลกลมุ่ เส่ยี งและเฝ้าระวังโรคโควดิ -19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลเกิ้ง จงั หวดั มหาสารคาม
ผลรวมในทุกด้าน ภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.92 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงลำดับ
ข้อมลู จากมาก ไปน้อย ดา้ นประสิทธภิ าพการนำไปใชง้ าน อยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลยี่ เท่ากบั 4.25 ด้านการเขา้ ถึง
ข้อมูลสารสนเทศ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 และด้านองค์ประกอบแอปพลิเคชัน อยู่ในระดับมาก
คา่ เฉลยี่ เท่ากบั 3.65
บทที่ 5
สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาและพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด -19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม ในการจัดทำแอปพลิเคชันนั้นมีวัตถุประสงค์ใน
การศกึ ษา วธิ กี ารดำเนินการศึกษา สรุปการศกึ ษา และข้อเสนอแนะ ดงั รายละเอียดต่อไปนี้
5.1 สรปุ ผลการศกึ ษา
5.2 อภปิ ลายผลการศึกษา
5.3 ข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการศกึ ษา
จากการศึกษาสรปุ ผลได้ ดังน้ี
5.1.1 ได้นำแอปพลเิ คชนั เพ่ือจดั การฐานข้อมูลกลุ่มเสยี่ งและเฝ้าระวงั โรคโควดิ -19 โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม ที่ได้พัฒนาจากการเก็บเอกสารแบบเดิมที่ไม่สามารถจัดเก็บข้อมูล สรุป
ข้อมูล อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ศึกษาได้พัฒนาการทำงานของระบบให้ผู้ดูแลระบบสามารถ เพิ่ม ลบ แก้ไข และ
ผู้ใช้งานสามารถเข้าใช้งานได้อย่างสะดวกทั้งคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และคอมพิวเตอร์พกพา ตลอดจนการใช้
สมารท์ โฟนในการใชง้ าน
5.1.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อการใช้งานแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูล
กลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม ผลรวมในทุก
ด้าน ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงลำดบั ขอ้ มูลจากมาก ไป
น้อย ด้านองค์ประกอบแอปพลิเคชัน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 ด้านประสิทธิภาพการนำไปใช้งาน
อย่ใู นระดบั มาก ค่าเฉลยี่ เทา่ กบั 4.25 และด้านองค์ประกอบของแอปพลิเคชัน อยูใ่ นระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ
3.85
5.2 อภิปรายผลการศกึ ษา
การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม ที่พัฒนาขึ้นเมื่อนำไปทดลองแล้วพบประเด็นที่ควรจึงมาอภิปรายผล
การศึกษา ดงั นี้
52
5.2.1 การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 โรงพยาบาล
สง่ เสริมสุขภาพตำบลเก้งิ จงั หวดั มหาสารคาม ผู้ดแู ลระบบสามารถ เพิม่ ลบ แก้ไขข้อมูลได้และผู้ใช้งานสามารถ
ใช้ งานได้อย่างสะดวกผา่ นคอมพวิ เตอรต์ ้งั โตะ๊ หรือคอมพวิ เตอร์พกพาตลอดจนสมารท์ โฟนได้
5.2.2 การประเมินคุณภาพความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อการใช้งานแอปพลิเคชันเพื่อจัดการ
ฐานข้อมลู กลุ่มเสีย่ งและเฝา้ ระวังโรคโควดิ -19 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม อยู่ใน
ระดับมาก
5.3 ขอ้ เสนอแนะ
5.3.1 ควรเพิ่มขนาดตัวอักษร และรปู แบบตวั อกั ษร ให้มคี วามสวยงาม และอ่านไดง้ า่ ยมากขนึ้
5.3.2 ควรเพ่ิมหมวดหมูใ่ นการใชง้ านให้สามารถเพม่ิ การคัดกรอง ประเมินความเส่ยี งเรื่องอ่นื ๆ
5.3.3 ควรเพิ่มข้อมูลให้มีหลากหลายหมวดหมู่มากขึ้น และสามารถเป็นสื่อในการเผยแพร่ข่าว
ประชาสมั พนั ธ์ได้
บรรณานุกรม
Journals & Magazines (2553) Node.js: Using JavaScript to Build High-Performance Network
Programs Published in: IEEE Internet Computing ( Volume: 14, Issue: 6, Nov.-Dec. 2010)
ศรจี ิตร รตั นแกว้ กาญจน์ (2553) ระบบฐานขอ้ มลู . พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : สำนกั พิมพ์
มหาวิทยาลยั รามคำแหง
M.Sundararajan Murugaiyan (2555) WATEERFALLVs V-MODEL Vs AGILE : A COMPARATIVE
STUDY ON SDLC Computer Science Dept., Government Arts College Chennai, TN, India.
อรญั ชุยกระเด่ือง (2557) การวจิ ยั ทางการศึกษา. มหาสารคาม: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
มหาสารคาม
กนกวรรณ มาป้อง และพลวรรธน์ วทิ รู กลชติ (2559) การพฒั นาระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์แบบเว็บแอพ
พลิเคชันสำหรบั สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ . วารสารวชิ าการสาธารณสขุ , 25(2), 306-314.
ศิริญญา หล้าเต็น และ เสรี ชัดแช้ม (2560) การออกแบบแอปพลเิ คชนั บนมือถือตามแนวคดิ ของบลูมปรับ
ใหม.่ วทิ ยาการวิจัยและวทิ ยาการปัญญา ปีที่ 15 ฉบบั ที่ 2, กรกฎาคม - ธนั วาคม 2560
CACM Staff (2559) React: Facebook's functional turn on writing Java script
(Issue 12 December 2016)
บริษัท โฟร์เอ็กซต์ รมี (2563) จำกัด การใช้ Firebase ค้นเมื่อวันท่ี 12 พฤษจิกายน 2564
ได้จาก https://www.4xtreme.com/
เจษฎา สขุ ชาติ (2559) การพัฒนาเวบ็ ไซตท์ ี่รองรับการใช้งานบนทุกขนาดของหน้าจออปุ กรณ์ สำหรับระบบ
บริหารยุทธศาสตร์ สืบค้นเมื่อวันที่ 10 พฤษจิกายน 2564
ได้จาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th/
Microsoft (2563) การใช้ Visual Studio Code คน้ เม่ือวันท่ี 10 พฤษจิกายน 2564
ได้จาก https://code.visualstudio.com/docs
Developer Team (2563) การใช้ React ค้นเมื่อวนั ท่ี 25 พฤษจิกายน 2564
ไดจ้ าก https://www.borntodev.com/
อทิ ธิกร แทน่ มงคลมาศ (2560) วงจรการพัฒนาระบบ SDLC ค้นเมื่อวนั ท่ี 25 ธนั วาคม 2564
ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/ooad5605110042/sdlc
Mindphp (2560) จำกัด JavaScript คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 5 ธันวาคม 2564
ได้จาก https://www.mindphp.com/
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
- ตวั อย่าง Source code การพฒั นาแอปพลเิ คชัน ด้วยภาษา JavaScript
ตัวอย่าง Source Code การแจ้งเตือนหนา้ : ลงทะเบยี น
const ref = firestore.collection("datacomein");
const ids = "ID#" + Math.random(999).toString();
ref
.doc(ids)
.set({
namedetail,
firstName,
lastName,
idcard,
address,
addressdetail,
phone,
come_in_date: startDate,
number_preple,
vaccine,
date: new Date(),
})
.then(() => {
setLoadding(false);
history.push(`/home`);
})
.catch((err) => {
setLoadding(false);
console.log(err);
});
} else {
alert("กรุณากรอกขอ้ มลู ใหค้ รบและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง");
setLoadding(false);
} else {
alert("มเี ลขบตั รประชาชนน้ีแลว้ ");
setLoadding(false);
ผลท่ไี ด้ : ภาพแสดงการแจง้ เตือนมเี ลขบัตรประชาชนนแี้ ลว้ กรุณากรอกข้อมูลให้ครบและตรวจสอบความ
ถูกตอ้ ง
ตัวอย่าง Source Code การแจง้ เตอื นหนา้ : การลงข้อมูลการวดั อุณหภมู ิ
setLoadding(true);
let count = 0
if (Number(temp) > 37.4) {
alert("คุณอณุ หภมู สิ ูง กรุณากกั ตวั ")
count = Number(count) + 1
}
if (Number(temp) < 37.5) {
alert("คุณอณุ หภูมปิ กต"ิ )
}
ผลที่ได้ : ภาพแสดงการแจง้ เตอื นคุณอุณหภูมสิ ูง กรุณากักตวั คณุ อุณหภมู ิปกติ และการนับจำนวนผู้เส่ยี ง
ตัวอย่าง Source Code การแจง้ เตอื นหน้า : คำถามคัดกรองความเส่ยี งผเู้ ดนิ ทางเข้าในพื้นที่ และ
คำถามคดั กรองกลุ่มเส่ยี งหรือผู้สัมผัสผูป้ ว่ ยยืนยนั โควดิ -19
setLoadding(true);
let checkerror = true;
let dataquestionsum = 0
let count = 0
data.map((item, key) => {
if (item.select === "") {
checkerror = false;
}
if (Number(item.select) === 1) {
dataquestionsum = Number(dataquestionsum) + 1
}
});
if (Number(dataquestionsum) >= 1) {
alert("คณุ มคี วามเสี่ยง กรุณากกั ตวั ")
count = Number(count) + 1
}
if (Number(dataquestionsum) <= 0) {
alert("คณุ ไมม่ คี วามเสี่ยง")
}
ผลทีไ่ ด้ : ภาพแสดงการแจ้งเตือน คณุ มีความเส่ยี ง กรุณากกั ตัว คุณไม่มคี วามเสยี่ ง และการนบั จำนวนผเู้ ส่ยี ง
ตวั อย่าง Source Code การสรุปจำนวนขอ้ มลู หนา้ : ADMIN
<div>
<h3 className="d-title mt-3">สรุปจานวนขอ้ มลู </h3>
<div className="row pt-6">
{" "}
</div>
<div className="container r">
<div className="row">
<div className="col-6 card p-1 mb-1 ">
<div className="card-body">
<div className="card-title">
<h4 className="d-title">ขอ้ มลู การลงทะเบยี น</h4>
</div>
<h5 className="d-title"> จานวน {dataallcomeincount} คน</h5>
</div>
</div>
<div className="col-6 card p-1 mb-1">
<div className="card-body">
<div className="card-title">
<h4 className="d-title">ขอ้ มลู คดั กรองความเสี่ยงผูเ้ ดินทางเขา้ ในพ้นื ท่ี</h4>
</div>
<h5 className="d-title"> จานวน {dataallcount} คร้งั เสี่ยง {dataallsum} คน</h5>
</div>
</div>
</div>
</div>
<div className="container">
<div className="row">
<div className="col-6 card p-1 mb-1">
<div className="card-body">
<div className="card-title">
<h4 className="d-title">ขอ้ มลู การคดั กรองกลมุ่ เสี่ยงผสู้ ัมผสั ผปู้ ่ วยยนื ยนั โควิด-19</h4>
</div>
<h5 className="d-title"> จานวน {dataallriskcount} คร้งั เสี่ยง {dataallrisksum} คน</h5>
</div>
</div>
<div className="col-6 card p-1 mb-1">
<div className="card-body">
<div className="card-title">
<h4 className="d-title">ขอ้ มลู การวดั อณุ หภูมิ</h4>
</div>
<h5 className="d-title">จานวน {dataalltempcount} คร้งั เส่ียง {dataalltempsum} คน</h5>
</div>
</div>
</div>
ผลที่ได้ : ภาพแสดงข้อมูลการลงทะเบียน ข้อมูลคัดกรองความเสี่ยงผูเ้ ดนิ ทางเขา้ ในพ้นื ที่ ข้อมลู การคดั กรอง
กล่มุ เสย่ี งผู้สัมผัสผ้ปู ว่ ยยนื ยนั โควดิ -19
ภาคผนวก ข
- ประเมินความเที่ยงตรง ( IOC ) : แบบสอบถามความพึงพอใจ การใช้งานแอปพลิเคชันเพื่อจัดการ
ฐานข้อมูลกลุ่มเส่ียงและเฝ้าระวงั โรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม
- แบบประเมินความพึงพอใจ การใช้งานแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรค
โควดิ -19 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลเก้งิ จงั หวัดมหาสารคาม
ประเมินความเทย่ี งตรง (IOC): แบบสอบถามความพึงพอใจการใช้งาน
แอปพลเิ คชันเพอ่ื จัดการฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเฝา้ ระวังโรคโควดิ -19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกงิ้ จังหวดั มหาสารคาม
คำช้แี จง ขอให้ท่านไดแ้ สดงความคิดเหน็ ของท่านที่มีต่อแอปพลิเคชันเพือ่ จดั การฐานขอ้ มลู กลมุ่ เส่ยี งและเฝ้าระวงั โรคโควดิ -19
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเก้ิง จังหวัดมหาสารคาม โดยใสเ่ ครอื่ งหมาย ( ✓) ลงในชอ่ งความคิดเหน็ ของทา่ นพร้อม
เขียนขอ้ เสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชนใ์ นการนำไปพจิ ารณาปรับปรุงต่อไป ซ่ึงจะทำการประเมนิ ความสอดคล้องโดยกำหนดเกณฑ์
ในการพจิ ารณาความสอดคลอ้ ง ดงั ตอ่ ไปน้ี
+1 ใช่ คือ เม่ือแนใ่ จวา่ ข้อคำถามนั้นตรงกับเนอื้ หา
0 ไมแ่ น่ใจ คือ เมื่อไม่แนใ่ จว่าขอ้ คำถามนัน้ ไมต่ รงกับเนื้อหา
-1 ไม่ใช่ คือ เมื่อแน่ใจวา่ ข้อคำถามนั้นไม่ตรงกับเนอ้ื หา
รายการประเมิน ความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ
ของผู้เชยี่ วชาญ เพ่มิ เตมิ
+1 0 -1
1 ดา้ นองค์ประกอบ
1.1 การเขา้ ใช้งานแอปพลเิ คชัน
1.2 การคน้ หาข้อมูล
1.3 ป่มุ การเพมิ่ ข้อมลู
1.4 ปมุ่ ลบขอ้ มลู
1.5 แสดงผล
1.6 การออกแบบมคี วามสวยงามและเหมาะสม
1.7 การจดั รปู ภาพ มีความสวยงามและเหมาะสม
2 ดา้ นการเขา้ ถึงข้อมลู สารสนเทศ
2.1 ขอ้ มลู ผลุ้ งทะเบยี น
2.2 ขอ้ มูลการคัดกรอง
2.3 ข้อมูลการวัดอณุ หภมู ิ
3 ด้านประสทิ ธภิ าพการนำไปใชง้ าน
3.1 การเขา้ ถึงการจัดเกบ็ และสืบคน้ ข้อมลู มีความเสถียร
3.2 การเพมิ่ ลบ แก้ไข และแสดงผลข้อมูลมีความเสถยี ร
3.3 เปน็ แหลง่ ข้อมูลท่ตี รงกับความตอ้ งการ
3.4 ระบบมีการใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. .................................................
แบบประเมนิ ความพึงพอใจการใชง้ าน
แอปพลเิ คชันเพอ่ื จัดการฐานขอ้ มูลกลุ่มเสยี่ งและเฝ้าระวังโรคโควิด-19
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเก้ิง จังหวัดมหาสารคาม
วัตถปุ ระสงค์
แบบสอบถามความพงึ พอใจของผใู้ ชง้ านทีม่ ีต่อการใชง้ านแอปพลิเคชันเพื่อจัดการฐานขอ้ มูลกลมุ่ เส่ียงและเฝ้าระวังโรค
โควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกงิ้ จังหวดั มหาสารคาม เพอ่ื ผู้ศกึ ษานำไปวเิ คราะห์ความพงึ พอใจและแก้ไขพัฒนา
ระบบให้มปี ระสทิ ธิภาพต่อไป
คำชแ้ี จง โปรดทำเคร่อื งหมาย ✓ ลงในช่องวา่ งท่ตี รงกบั ข้อมูลของท่าน
ตอนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไป
1. เพศ ชาย หญงิ
2. สถานภาพผตู้ อบ พยาบาลวิชาชพี นักวิชาการสาธารณสุข
ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผใู้ ช้งานท่ีมตี ่อการใช้แอปพลเิ คชนั เพ่อื จัดการฐานขอ้ มลู กลมุ่ เสีย่ งและเฝา้ ระวังโรคโค
วิด-19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลเกง้ิ จงั หวดั มหาสารคาม
ระดบั คะแนน 5 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจในระดบั มากท่สี ดุ
คะแนน 4 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดับมาก
คะแนน 3 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง
คะแนน 2 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดบั นอ้ ย
คะแนน 1 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดบั นอ้ ยทีส่ ดุ
รายการประเมนิ ระดบั ความพงึ พอใจ
5 4321
1 ดา้ นองคป์ ระกอบ
1.1 การเขา้ ใชง้ านแอปพลิเคชนั
1.2 การคน้ หาขอ้ มลู
1.3 ปมุ่ การเพม่ิ ขอ้ มลู
1.4 ปุม่ ลบข้อมูล
1.5 แสดงผล
1.6 การออกแบบมคี วามสวยงามและเหมาะสม
1.7 การจัดรปู ภาพ มคี วามสวยงามและเหมาะสม
2 ดา้ นการเข้าถงึ ขอ้ มลู สารสนเทศ
2.1 ขอ้ มูลผลุ้ งทะเบียน
2.2 ข้อมลู การคัดกรอง
2.3 ขอ้ มลู การวัดอณุ หภูมิ
3 ด้านประสทิ ธภิ าพการนำไปใช้งาน
3.1 การเขา้ ถึงการจดั เก็บ และสบื ค้นขอ้ มลู มคี วามเสถียร
3.2 การเพิ่ม ลบ แก้ไข และแสดงผลข้อมลู มคี วามเสถยี ร
3.3 เป็นแหลง่ ข้อมูลทตี่ รงกบั ความตอ้ งการ
3.4 ระบบมีการใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
ภาคผนวก ค
- ผลการหาค่า IOC แบบประเมนิ ความพึงพอใจการใชง้ านแอปพลเิ คชันเพ่ือจัดการฐานข้อมูลกล่มุ
เสย่ี งและเฝ้าระวงั โรคโควิด-19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลเกง้ิ จังหวดั มหาสารคาม
- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจการใชง้ านแอปพลเิ คชันเพื่อจัดการฐานข้อมูลกลมุ่ เสย่ี งและเฝา้ ระวังโรคโค
วิด-19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลเก้ิง จังหวดั มหาสารคาม
- คู่มอื การใช้งานแอปพลิเคชันเพ่ือจัดการฐานข้อมลู กลุ่มเส่ยี งและเฝ้าระวงั โรคโควิด-19
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลเก้ิง จงั หวดั มหาสารคาม
ผลการวเิ คราะหแ์ บบประเมินความเทีย่ งตรง (IOC)
แบบประเมนิ ความพึงพอใจการใชง้ าน
แอปพลิเคชนั เพ่ือจดั การฐานขอ้ มูลกลุ่มเสย่ี งและเฝ้าระวงั โรคโควิด-19
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลเกิ้ง จงั หวดั มหาสารคาม
รายการประเมิน ความคดิ เหน็ ค่า
ของผู้เช่ยี วชาญ IOC ความหมาย
1 ดา้ นองค์ประกอบ
1.1 การเขา้ ใชง้ านแอปพลิเคชนั 123
1.2 การค้นหาข้อมลู
1.3 ปมุ่ การเพ่มิ ข้อมลู +1 0 +1 0.67 ใช้ได้
1.4 ปุม่ ลบขอ้ มลู +1 0 +1 0.67 ใช้ได้
1.5 แสดงผล 0 +1 +1 0.67 ใช้ได้
1.6 การออกแบบมคี วามสวยงามและเหมาะสม +1 +1 0 0.67 ใชไ้ ด้
1.7 การจดั รูปภาพ มคี วามสวยงามและเหมาะสม +1 +1 0 0.67 ใชไ้ ด้
2 ดา้ นการเข้าถงึ ขอ้ มูล +1 +1 0 0.67 ใชไ้ ด้
2.1 ขอ้ มลู ผลุ้ งทะเบียน +1 +1 0 0.67 ใช้ได้
2.2 ขอ้ มลู การคดั กรอง
2.3 ขอ้ มูลการวดั อุณหภูมิ +1 0 +1 0.67 ใชไ้ ด้
3 ดา้ นประสทิ ธภิ าพการใชง้ าน +1 0 +1 0.67 ใชไ้ ด้
3.1 การเข้าถึงการจัดเก็บ และสืบคน้ ข้อมลู มีความเสถียร +1 +1 0 0.67 ใชไ้ ด้
3.2 การเพ่มิ ลบ แก้ไข และแสดงผลข้อมลู มีความเสถยี ร
3.3 เปน็ แหล่งขอ้ มูลท่ีตรงกับความต้องการ 0 +1 +1 0.67 ใชไ้ ด้
3.4 แอปพลิเคชันมีการใช้งานง่ายไมย่ งุ่ ยาก +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
+1 +1 +1 0.67 ใช้ได้
0 +1 +1 0.67 ใช้ได้
แบบประเมนิ ความพึงพอใจการใชง้ าน
แอปพลิเคชนั เพื่อจดั การฐานข้อมูลกลุ่มเส่ยี งและเฝา้ ระวังโรคโควดิ -19
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเก้ิง จงั หวดั มหาสารคาม
รายการประเมนิ ระดบั ความพึงพอใจ
5 4321
1 ด้านองคป์ ระกอบ
1.1 การเข้าใช้งานแอปพลเิ คชัน +3 +13 +11 +3
1.2 การค้นหาขอ้ มลู +3 +19 +8
1.3 ปมุ่ การเพิ่มขอ้ มูล +6 +15 +8 +1
1.4 ปุม่ ลบขอ้ มูล +1 +9 +11 +7 +2
1.5 แสดงผล +5 +17 +5 +2
1.6 การออกแบบมีความสวยงามและเหมาะสม +6 +12 +10 +2
1.7 การจัดรปู ภาพ มีความสวยงามและเหมาะสม +6 +12 +9 +3
2 ดา้ นการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สารสนเทศ
2.1 ขอ้ มลู ผลุ้ งทะเบียน +22 +7 +1
2.2 ขอ้ มูลการคัดกรอง +8 +16 +6
2.3 ขอ้ มูลการวดั อณุ หภูมิ +5 +13 +8 +4
3 ดา้ นประสิทธิภาพการนำไปใชง้ าน
3.1 การเข้าถงึ การจดั เก็บ และสบื ค้นขอ้ มลู มคี วามเสถยี ร +20 +9 +1
3.2 การเพม่ิ ลบ แกไ้ ข และแสดงผลข้อมลู มคี วามเสถยี ร +14 +11 +4 +1
3.3 เปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ทีต่ รงกับความตอ้ งการ +7 +17 +6
3.4 ระบบมกี ารใช้งานง่ายไมย่ ุง่ ยาก +11 +12 +5 +2
ค่มู อื การใชง้ านแอปพลิเคชนั เพ่อื จดั การฐานข้อมลู กลุ่มเส่ียงและเฝ้าระวงั โรคโควิด-19
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเกิ้ง จังหวัดมหาสารคาม
ประวตั ผิ ูเ้ ขียน
1. ช่อื - นามสกุล
1.1 ชื่อภาษาไทย นายภิญญา ผลดิลก
1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ Mr.Pinya Phondilok
2. สงั กดั สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ
วทิ ยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
3. ประวัติการศกึ ษา
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดมหาสารคาม
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้นั สูง วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษามหาสารคาม
4. ท่ีอยู่ที่สามารถติดต่อได้
บ้านเลขท่ี 130 หมู่ที่ 3 ตำบลเกิง้ อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
รหสั ไปรษณีย์ 44000 โทรศัพทม์ อื ถอื 080-4480494 , 061-1174044
อเี มล์ [email protected]