The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tum tum, 2019-05-29 03:19:27

slide normal psychology 1

slide normal psychology

“Normal Psychological Development”

Pregnancy - School age

วนั ทสี่ อน : 11 มกราคม 2561
สอนโดย : ร.ท.หญงิ พจิ ติ รา ธีระวสิ ุทธ์ิกลุ
วตั ถุประสงค์ :
1. เข้าใจและอธิบายเกยี่ วกบั พฒั นาการทางจติ ใจของมนุษย์ต้งั แต่
ช่วงวยั ก่อนคลอดถงึ วยั เรียน (ประถมศึกษา)
2. เข้าใจและอธิบายถงึ แนวคดิ ของนักทฤษฎพี ฒั นาการทสี่ าคญั ได้
ได้แก่ Freud , Erikson , Piaget , Kohlberg , Margaret Mahler

Human Development

• การเปลยี่ นแปลงทมี่ ที ศิ ทาง และดาเนินอย่ตู ลอดเวลา
• เป็ นการเปลย่ี นแปลงทมี่ รี ูปแบบ และมลี กั ษณะทแ่ี น่นอน
• เริ่มจากวยั หนึ่งไปสู่อกี วยั หน่ึง
• เป็ นผลของกรรมพนั ธ์ุและส่ิงแวดล้อม

Major Principles of Human Development

• แบบแผนคล้ายคลงึ กนั เป็ นไปตามข้นั ตอนเหมอื นกนั
• พฒั นาจากแกนกลางไปสู่ปลาย
• พฒั นาจากบนลงล่าง เช่น ชันคอได้ก่อนนั่งได้
• สมองและกระดูกสันหลงั จะพฒั นาก่อนส่วนปลายของ

อวยั วะ

Major Principles of Human Development

• พฒั นาทวั่ ๆไปก่อนจาเพาะเจาะจง เช่น เดก็ จะมองเห็นภาพทวั่ ๆไปก่อนแยกแยะรายละเอยี ด
• เป็ นกระบวนการต่อเนื่องไม่เป็ นอย่างทนั ทที นั ใด
• แต่ละช่วงวยั มลี กั ษณะเด่นไม่เหมอื นกนั
• ทุกคนต้องผ่านทุกข้นั ตอนของพฒั นาการ

Normal Psychological Development

I. วยั ก่อนคลอด ( Pregnancy )
II. วยั ทารก ( Infancy )
III. วยั ก่อนเรียน ( Preschool age )
IV. วยั เรียน ( School age )

Psychoanalytic or Psychosexual Theory
by Sigmund Freud

อธิบายพฒั นาการทางบคุ ลิกภาพและสงั คม

Structure of Personality

Id ติดตัวเรามาต้งั แต่เกดิ สนองความต้องการของตนเองเท่าน้ัน
หลกั ความพงึ พอใจ (Pleasure Principle)

Ego มหี น้าทปี่ รับสมดุลระหว่าง Id โลกภายนอก และ Superego
หลกั แห่งความเป็ นจริง(Reality Principle)

Superego การต้งั มาตรการพฤตกิ รรมของแต่ละบุคคลโดยได้รับจากค่านิยม
และจริยธรรมของบดิ ามารดา

หลกั แห่งจริยธรรม (Moral Principle)



Psychoanalytic or Psychosexual Theory
by Sigmund Freud

• มนุษย์มสี ัญชาตญาณจะแสดงออกมาในรูปของพลงั ทางจติ ทเี่ กยี่ วข้องกบั พลงั

ขับทางเพศ เรียกว่า “ Libido ”

• จะเคลอื่ นไปยงั ส่วนต่างๆของร่างกายทาให้บริเวณน้ันเกดิ ความสุข(erotic zone)
โดยแบ่งตามช่วงวัยดังนี้

Oral stage
( 0-1 year )

Anal stage
( 1-3 years )

Phallic Stage

( 3-6 years )

Oedipus and Electra complex In this stage Freud believed that during this stage
boys develop unconscious sexual desire for their
mother. Because of this the boy considers his father
as a competitor to mother’s affection. This is called
“Oedipus complex”. According to Freud because of
castration anxiety and due to the strong
competition of his father, boys eventually decide to
identify with their father rather than fight him.
In case of girls, they also develop an unconscious
sexual attraction to their father and this is called
“Electra complex”.

Latency stage
( 6-12 years )

Genital stage
( 12 years up )

Psychosocial Theory
by Erikson

• เน้นความสาคญั ของ “ อิทธิพลของส่ิงแวดล้อม”

การมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่างเดก็ กบั ผ้เู ลย้ี งดู

Psychosocial Theory
by Erikson

แบ่งพฒั นาการทางจติ สังคมเป็ น 8 ข้นั

0-1 ปี 1-3 ปี 3-6 ปี 6-12 ปี 12-19 ปี 20-40 ปี 40-60 ปี 60 ปี ขนึ้ ไป

Stage1 : Trust vs. Mistrust

• อายุ 0-1 ปี
• เดก็ เรียนรู้ทจี่ ะเชื่อใจ (Basic trust) โดยผ่าน

ประสบการณ์จากมารดา หรือผ้เู ลยี้ งดู
• หากมกี ารตอบสนองทางร่างกายดี เช่น เมอื่ หิว

แม่ให้กนิ นมจนอม่ิ และ การตอบสนองทาง
จิตใจดี ให้ความรักความอบอุ่นแก่เดก็

เชื่อใจมารดา

เชื่อใจผู้อน่ื

Stage1 : Trust & Mistrust

ตอบสนองไม่ดี ขาดความมน่ั ใจในมารดา

ไม่เชื่อใจผ้อู นื่

โรคจิตเภท
หวาดระแวง
ติดสารเสพตดิ

Stage2 : Autonomy & Shame & doubt

• อายุ 1-3 ปี
• เป็ นระยะทเ่ี ดก็ ควบคุมกล้ามเนือ้ ส่วนต่างๆได้ดี

ขนึ้ ต้องการจะทาสิ่งต่างๆด้วยตนเอง มีความคิด
เป็ นของตนเอง
• หากไม่ควบคุมเดก็ มากเกนิ ปล่อยให้เดก็ ได้
แสดงออก ช่ืนชม และยอมรับเดก็

เป็ นตวั ของตวั เอง

Stage2 : Autonomy & Shame & doubt

ตอบสนองไม่ดี เข้มงวดมากเกนิ ไป

ไม่ม่นั ใจในตนเอง
ไม่ยดื หยุ่น ยา้ คดิ ยา้ ทา

Stage3 :Initiative & Guilt

• อายุ 3-5 ปี
• เดก็ วยั นีม้ คี วามอยากรู้อยากเห็น ชอบ
เล่น ชอบทดลอง
• ชอบการแข่งขนั มีการแข่งขันกบั พ่อแม่
เพศเดยี วกนั เพอ่ื เป็ นที่รักของพ่อแม่เพศ
ตรงข้าม

Stage3 :Initiative & Guilt

ตอบสนองดี ได้รับการสนับสนุน กาลงั ใจ
คาแนะนาที่เหมาะสมจาก
พ่อแม่

• เดก็ มคี วามคิดริเร่ิม

สร้างสรรค์
• สามารถควบคุมตนเองได้
• มีความรับผดิ ชอบ

Stage3 :Initiative & Guilt

ตอบสนองไม่ดี • คอยห้าม บงั คบั ให้เดก็ ทาตาม
แบบตนเองเท่าน้ัน

• คอยปกป้ อง ทาทุกอย่างให้
เดก็ มากเกนิ ไป

• เดก็ รู้สึกว่าตนเองล้มเหลว
• เดก็ รู้สึกผดิ วติ กกงั วลง่าย
• ความวติ กกงั วลทถี่ ูกเกบ็ กดไว้อาจ

แสดงออกมาในรูปของอาการทางกาย
เช่น ปวดท้องแบบไม่มสี าเหตุ

Stage4 :Industry & Inferiority

• อายุ 5-13 ปี
• ในระยะนีเ้ ดก็ จะมคี วามสุขกบั การได้เรียนรู้ทกั ษะใหม่ๆ
• สังคม บุคคลรอบข้างมีความสาคญั อย่างมาก เช่น เพอื่ น , ครู
• เดก็ มกี ารเลยี นแบบบุคคลทอ่ี ย่รู อบข้าง และมจี ินตนาการว่า
ตนเองเป็ นอาชีพต่างๆ

Stage4 :Industry & Inferiority

ตอบสนองดี

• พ่อแม่มวี ธิ ีการสอน สนับสนุนให้
เดก็ ทาส่ิงต่างๆด้วยตนเอง

• ให้โอกาสเดก็ ในการฝึ กฝน

เดก็ มคี วามเพยี รพยายามในการ
เรียนรู้ และฝึ กฝน

Stage4 :Industry & Inferiority

ตอบสนองไม่ดี

• เดก็ รู้สึกมปี มด้อย ต่าต้อย ไร้คุณค่า
• ในระยะยาวความรู้สึกตา่ ต้อยนีอ้ าจทา

ให้เกดิ การต่อต้านการทางานอย่างมาก
หรืออาจเป็ นคนหมกมุ่นในการทางาน
ต้องการพสิ ูจน์ตนเอง จนทาให้สูญเสีย
ความสัมพนั ธ์อนื่ ๆในชีวติ

ทฤษฎพี ฒั นาการทางเชาวน์ปัญญา

(Piaget’s Theory of Cognitive Development)

• สตปิ ัญญา หมายถงึ การทบ่ี ุคคลสามารถปรับเปลยี่ น
(adaptation)พฤติกรรมจนให้เหมาะสมกบั ส่ิงแวดล้อมได้

• เดก็ ไม่ได้เกดิ มาพร้อมกบั ความรู้และความคดิ
• เดก็ เรียนรู้จากโลกภายนอกรอบตัว และพฒั นาความคดิ ไป

ตามลาดบั ข้นั ตอน

ทฤษฎพี ฒั นาการทางเชาวน์ปัญญา

(Piaget’s Theory of Cognitive Development)

Sensorimotor Stage
แรกเกดิ ถึง 2 ปี

• เรียนรู้การรับสัมผสั ผ่านประสาทสัมผสั
• เรียนรู้การควบคุมการเคลอื่ นไหว ผ่านการ

เคลอื่ นไหวแบบ Reflex , การเคลอ่ื นไหวโดย
บงั เอญิ และการเคลอ่ื นไหวโดยต้งั ใจ ตามลาดับ
เช่น ในช่วง 3-4 เดอื น เรียนรู้ผลลพั ธ์ผ่านทางร่างกาย
ของตนเอง ต่อมาเรียนรู้ผ่านวตั ถุ และเหตุการณ์ต่างๆ
และเริ่มทากจิ กรรมโดยมเี ป้ าหมาย

Preoperational Stage
อายุ 2 - 6 ปี

• ความคดิ ของเดก็ ยงั คงยดึ ตนเองเป็ นหลกั
(Egocentric) ไม่สามารถมองเหตุการณ์ตาม
มุมมอง ความคดิ ของผู้อน่ื เข้าใจอะไรแต่แง่มุมเดยี ว

• เดก็ รู้จกั เล่นสมมุติ เช่น นาตุ๊กตามาสมมุติว่าเป็ นคน
ป้ อนข้าว อาบนา้ แต่งตัว



Preoperational Stage
อายุ 2 - 6 ปี

• Animistic thinking มคี วามเชื่อว่าสัตว์
ส่ิงของ มชี ีวติ จิตใจ เช่น เตะเก้าอกี้ ค็ ดิ ว่าเก้าอรี้ ู้สึกเจบ็ ,
กระต่ายทเี่ ลยี้ งไว้พูดคุยรู้เร่ืองเหมอื นคน

Preoperational Stage
อายุ 2 - 6 ปี

• Lack of Conservation
เดก็ วยั นีไ้ ม่สามารถเห็นความเหมือนหรือความแตกต่างของส่ิงต่างๆได้





Concrete operational Stage
อายุ 7-11 ปี

• คดิ เป็ นเหตุเป็ นผลทมี่ ลี กั ษณะเป็ นรูปธรรมได้ถูกต้อง
• Conservation Tasks สิ่งน้ันยงั มปี ริมาณเท่าเดมิ แม้จะเปลยี่ นรูปร่างไป



Concrete operational Stage
อายุ 7-11 ปี

• Reversibility เข้าใจความสัมพนั ธ์ต่างๆว่าสามารถเปลยี่ นแปลงเป็ นอกี อย่าง
และเปลยี่ นกลบั มาได้ เช่น นา้ กบั นา้ แขง็

Concrete operational Stage
อายุ 7-11 ปี

• Seriation สามารถเรียงลาดบั ได้
• Classification สามารถจัดหมวดหมู่ได้ เน่ืองจากบอกความเหมอื น

ความต่างของสิ่งของแต่ละอย่างได้

Formal operational Stage
11 ปี ขนึ้ ไป

• ช่วงเร่ิมเข้าสู่วยั รุ่น เดก็ เริ่มมคี วามคดิ นามธรรมมากขนึ้ สามารถคดิ เป็ นเหตุเป็ นผล
ทาให้สามารถต้งั สมมุติฐาน และทดสอบสมมุติฐานได้ ประกอบไปด้วย

Deductive reasoning : นาความรู้ทวั่ ไปปรับใช้แบบจาเพาะ เช่น แมวทุกตวั ชอบจบั

หนู เจ้าทอมเป็ นแมว เพราะฉะน้ัน เจ้าทอมชอบจบั หนู

Inductive reasoning : นาความรู้จาเพาะไปปรับใช้แบบทว่ั ไป เป็ นกระบวนการคดิ ที่

ซับซ้อนกว่าแบบแรก เช่น เจ้าทอมชอบจบั หนู แมวตัวไหนๆกน็ ่าจะเหมอื นกนั เพราะฉะน้ัน
แมวทุกตวั น่าจะชอบจับหนู

ทฤษฎพี ฒั นาการทางจริยธรรม

Level 1 : Pre Conventional Level

ระดบั ก่อนมจี ริยธรรม • อายุ 2- 7 ปี
• กลวั การลงโทษ รู้ว่าอะไรถูก

อะไรผดิ

• อายุ 7-10 ปี
• รับรู้ความต้องการของคนอน่ื

เมอ่ื มอี ะไรแลกเปลยี่ น

Level 2 : Conventional Level

ระดบั มีจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ • อายุ 10-13 ปี
• การยอมรับของกลุ่ม ทาตาม

ความเห็นชอบของผู้อน่ื เช่น
ช่วยครูถือของ

• อายุ 13-16 ปี
• ระเบยี บของสังคม รับรู้

บทบาทหน้าทข่ี องสังคม ทา
ตามกฎเกณฑ์ของสังคม ไม่
ยดื หยุ่น

สรุปพฒั นาการท้งั 4 ทฤษฎี

ช่วงอายุ Psychosexual Psychosocial Cognitive Development Moral development
แรกเกดิ (Freud) (Erikson) (Piaget) (Kohlberg)
1.Trust & Mistrust
Oral(0-1ปี ) ( 0-1 ปี ) Sensorimotor Stage ข้นั ก่อนมจี ริยธรรม
Autonomy& Shame, doubt (0-2ปี ) (2-10ปี )
1 Anal ( 1-3ปี )
2 (1-3ปี ) Preoperational Stage ข้นั มจี ริยธรรมตาม
Initiative & Guilt (2-6ปี ) กฏเกณฑ์
3 Phallic(3-6ปี ) (3-6 ปี ) (10-16ปี )
Concrete operation
6 Latency Industry & Inferiority ( 7-12 ปี ) ข้นั จริยธรรมอย่างมี
7 (6-12ปี ) (6-12ปี ) วจิ ารณญาณ
Formal operation (16 ปี ขนึ้ ไป)
12 Genital Identity & Confusion (12ปี ขนึ้ ไป)
16 (12ปี ขนึ้ ไป) (12-19ปี )

20 Intimacy & Isolation
(20-40ปี )
40
Generation & Stagnation
60 (40-60ปี )

Integrity & Despair
(60ปี ขนึ้ ไป)

Normal Psychological Development

I. วยั ก่อนคลอด ( Pregnancy )
II. วยั ทารก ( Infancy )
III. วยั ก่อนเรียน ( Preschool age )
IV. วยั เรียน ( School age )

I. วยั ก่อนคลอด

(Pregnancy or Prenatal period)

• การปฏสิ นธิ ( Fertilization )
Sperm + Ovum Zygote

Fertilization
• พฒั นาการของทารกในครรภ์ 3 ระยะ

1. Period of Ovum ( ปฏิสนธิ – 2week)

ไข่ผสมสเปิ ร์มท่ีท่อรังไข่แล้วมาฝังตวั ที่มดลกู ค่อยเจริญเตบิ โต
เป็ น Embryo

2. The Embryonic Period ( 3week – 2month)

ระบบต่างๆในร่างกายพฒั นา เช่น แขน ขา นิว้ มือ นิว้ เท้า

3. Fetus Period ( 3month – 9month)

พฒั นาเป็ นคนครบท้ังตวั มีเลบ็ มอื เลบ็ เท้า เห็นอวยั วะเพศชัดเจน
เริ่มเหยยี ดขา ถบี สะอกึ

พฒั นาการด้านจติ ใจของทารกในครรภ์

พอใจ กบั ไม่พอใจ

( pleasant ) (unpleasant )

• ปัจจัยทมี่ อี ทิ ธิพลต่อพฒั นาการด้านจิตใจของทารก

1. พนั ธุกรรม (Heredity factors) เช่น Chromosome ผดิ ปกติ

ความผดิ ปกตทิ างสมอง , ปัญญาอ่อน

2. สิ่งแวดล้อมในครรภ์มารดา (Environmental factors)

เช่น การกระทบกระเทอื น , สภาวะทางอารมณ์ของมารดา

มารดาขาดสารอาหาร , ยา , สารเพสตดิ , กระบวนการคลอด ฯลฯ

II. วยั ทารก

(Infancy)

แบ่งเป็ น 3 ระยะ
• วยั ทารกแรกเกดิ (Neonate or Newborn) แรกเกดิ – 2 weeks
• วยั ทารกตอนต้น (Infancy) 2 weeks – 1 year
• วยั ทารกตอนปลาย (Toddler) 1 year – 2 years

1. วยั ทารกแรกเกดิ (Neonate or Newborn)

• แรกเกดิ – 2 weeks
• การปรับตวั ของทารกแรกเกดิ ต่อสิ่งแวดล้อม เช่น อณุ หภูมิภายนอก,
การหายใจ , การดูดกลนื , การย่อย , การขบั ถ่าย
• ความแตกต่างในการปรับตวั

- เพศหญิงปรับตวั ดีกวา่ เพศชาย
- ฝร่ังปรับตวั ดีกวา่ นิโกร
- เศรษฐานะดีปรับตวั ดีกวา่
- น้าหนกั นอ้ ยปรับตวั ไม่ดี
• พฒั นาการด้านจติ ใจ
- Pleasant , Unpleasant and Excitement

1. วยั ทารกแรกเกดิ (Neonate or Newborn)

• พฒั นาการด้านสังคม

- สังคมแรกของเดก็ คอื มารดา หรือผู้เลยี้ งดู

- ความสัมพนั ธ์กบั มารดา

Egocentric

Attachment มพี ฤตกิ รรมทางสังคมแต่ไม่เห็น
Bonding การตอบสนองต่อสังคมท่ีชัดเจน

Object Relation Theory
By Margaret Mahler

แบ่งความสัมพนั ธ์ของมารดากบั ทารกช่วง 3 ปี แรก
1. Autistic Phase (2 months)
2. Symbiosis Phase (2-6 months)
3. Separation – Individual Phase (6-36 months)


Click to View FlipBook Version