The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tum tum, 2019-05-29 03:19:27

slide normal psychology 1

slide normal psychology

Object Relation Theory
By Margaret Mahler

1. Autistic Phase (2 months) สนใจตนเอง
2. Symbiosis Phase (2-6 months) คดิ ว่าแม่และตนเองเป็ นคนเดยี วกนั

Object Relation Theory

By Margaret Mahler

3. Separation – Individual Phase (6-36 months) แบ่งเป็ น
3.1 Differentiation ( 6-10 months)
มี Stranger anxiety รู้ว่าแม่ต่างจากตน
3.2 Practicing (10-16 months)
- Object loss กลวั แม่หาย
- Reaction formation หลอกตนเองว่าไม่กลวั แม่หาย
3.3 Rapproachment (16-24 months)
- Separation anxiety กลวั คนแปลกหน้า
- Loss the love of object กลวั แม่ไม่รัก
3.4 Consolidation of individuality and object constancy ( 3 years)
มนั่ ใจในตวั แม่ สามารถอยู่คนเดยี วได้

1. วยั ทารกแรกเกดิ (Neonate or Newborn)

• พฒั นาการด้านสติปัญญา

- ส่ิงเร้าทรี่ ับรู้โดยประสาทสัมผสั ทาให้เกดิ การ Action ( ดูด, อม)
- การ Action คอื ปฏิกริ ิยาสะท้อน (Reflex)

สิ่งเร้า รับรู้ Action (Reflex)

- Crying , Babbling ,Cooing , Gestures



2. วยั ทารกตอนต้น (Infancy) 2 weeks – 1 year
3. วยั ทารกตอนปลาย (Toddler) 1 year – 2 years

ลกั ษณะของวยั
• Dependence Period
• Critical Period
• เป็ นระยะอนั ตราย
• เป็ นระยะน่าเอน็ ดู

2. วยั ทารกตอนต้น (Infancy) 2 weeks – 1 year
3. วยั ทารกตอนปลาย (Toddler) 1 year – 2 years

2. วยั ทารกตอนต้น (Infancy) 2 weeks – 1 year
3. วยั ทารกตอนปลาย (Toddler) 1 year – 2 years

พฒั นาการด้านอารมณ์

• ลกั ษณะอารมณ์ทว่ั ไป • ประเภทของอารมณ์ Social smile
- เกดิ ง่าย หายเร็ว - 2 months Anger ,Unhappy
- เปลยี่ นกลบั ไปกลบั มา - 3-4 months Fear , Stranger anxiety
- ควบคุมอารมณ์ยงั ไม่ได้ - 5-7 months เขนิ อาย
ร่าเริง
- 8 months

- 12 months

2. วยั ทารกตอนต้น (Infancy) 2 weeks – 1 year
3. วยั ทารกตอนปลาย (Toddler) 1 year – 2 years

พฒั นาการด้านบุคลกิ ภาพและสังคม

• แม่ เป็ นสังคมแรก เป็ นรากฐานของบุคลกิ ภาพ และพฤติกรรมทางสังคม
• อธิบายโดยทฤษฏที างจิตวทิ ยา

Psychosexual Theory By Freud

Libido - Oral Stage
- Anal Stage

“บุคลกิ ภาพและสังคม”

2. วยั ทารกตอนต้น (Infancy) 2 weeks – 1 year
3. วยั ทารกตอนปลาย (Toddler) 1 year – 2 years

Psychosocial Theory By Erikson

• Stage 1 : Trust & Mistrust ( 0-1 ปี )

• Psychosocial

- attitude ของพ่อแม่
- Relationship
- บรรยากาศในครอบครัว

2. วยั ทารกตอนต้น (Infancy) 2 weeks – 1 year
3. วยั ทารกตอนปลาย (Toddler) 1 year – 2 years

พฒั นาการทางเชาวน์ปัญญา

Piaget’s Theory of Cognitive Development

• Sensorimotor stage

- egocentric
- animism thinking

ภาษา : 1½ ปี ยงั พูดไม่ได้

2 ปี พดู ไม่เป็ นภาษา
3 ปี พดู เป็ นประโยคไม่ได้

2. วยั ทารกตอนต้น (Infancy) 2 weeks – 1 year
3. วยั ทารกตอนปลาย (Toddler) 1 year – 2 years

พฒั นาการด้านจริยธรรม

Kohlberg’s Theory of Moral Development

• Preconventional Level

- Punishment + Obedience orientation

ทาดจี ะไม่ถูกลงโทษ
• วธิ ีการถ่ายทอด

- ทาเป็ นตัวอย่าง ,ให้รางวลั – ลงโทษ ,
แสดงสีหน้า คาพูดด้วยความรัก

III. วยั ก่อนเรียน

( Preschool age 2 – 6 ปี )

IV. วยั เรียน

( School age 6 –12 ปี )

ลกั ษณะสาคญั

วยั ก่อนเรียน ( 2 – 6 ปี ) วยั เรียน ( 6 – 12 ปี )
• Negativism
• Negativistic period • Gang age
• Pre - gang age •ทกั ษะดี ฝึ กวชิ าการ
• Questioning age
• วยั แห่งการสารวจสังคมนอกบ้าน ความต้องการด้านจิตใจและสังคม
• วยั แห่งการฝึ กทกั ษะ
• วยั สาคญั ของการพฒั นาบุคลกิ ภาพ • Affection จากผ้อู น่ื
•วยั แห่งการคดิ ริเริ่ม รู้ผดิ ชอบชั่วดี • Dependence น้อยลง

ความต้องการด้านจติ ใจและสังคม

• Affection จากแม่
• Dependence

พฒั นาการด้านอารมณ์

วยั ก่อนเรียน ( 2 – 6 ปี ) วยั เรียน ( 6 – 12 ปี )

• โกรธง่าย หายง่าย • เครียด กงั วลมากขนึ้

• ความสนใจส้ัน • เข้าใจตนเอง และผู้อนื่
• เอาแต่ใจ อารมณ์เปลย่ี นแปลงง่าย เจ้าอารมณ์ โมโหง่าย

(temper tantrum) ขดั ขนื ดอื้ ร้ัน • learning experience responsibility ,

• สนใจพ่อแม่น้อยลง competition

• การควบคุมอารมณ์ไม่ดี egocentric สูง • การควบคุมอารมณ์ดขี นึ้ egocentric ลดลง

พฒั นาการด้านบคุ ลิกภาพและสงั คม

Psychosexual Theory By Freud

วยั ก่อนเรียน ( 2 – 6 ปี ) วยั เรียน ( 6 – 12 ปี )

•Anal stage ( 2-3 ปี ) •Latency stage

- ความสุขอยู่ที่การขบั ถ่าย - ความสนใจสิ่งแวดล้อม
- เลยี นแบบบทบาททางเพศ (sex role
•Phallic stage ( 3-6 ปี ) identification) เช่น พ่อ แม่
- ยงั สนใจเร่ืองเพศ :การเล่นอวยั วะเพศ
- ความสุขอยู่กบั การเล่นอวยั วะเพศ Masturbation
- เรียนรู้เรื่องเพศและความแตกต่าง
- เลยี นแบบพ่อแม่
ผู้ชาย - Oedipus complex
ผ้หู ญงิ - Electra complex

พฒั นาการด้านบคุ ลิกภาพและสงั คม

Psychosocial Theory By Erikson

วยั ก่อนเรียน ( 2 – 6 ปี ) วยั เรียน ( 6 – 12 ปี )

• Autonomy & Shame and doubt • Industry & Inferiority

- กระตุ้นให้ทาสิ่งต่างๆ พฒั นาตัวเอง เรียนรู้ที่จะสร้างสรรค์ หากได้รับการสนับสนุน จะทาให้
ทางตรงข้าม : หากขัดขวาง และเข้มงวด เดก็ จะไม่กล้าทา เดก็ เพยี รพยายามทาสิ่งที่ท้าทาย มคี วามรับผิดชอบ
อะไรด้วยตนเอง ทางตรงข้าม : หากตาหนิ เด็กจะรู้สึกต่าต้อย ไร้คุณค่า

• Initiative & Guilt

ส่งเสริมให้ทาสิ่งต่างๆตามความคดิ ของตน เดก็ จะมั่นใจ กล้า
ซักถาม มคี วามคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์
ทางตรงข้าม : หากขดั ขวาง ตาหนิ ควบคุมตลอดเวลา เด็ก
จะเกดิ ความรู้สึกทาผดิ

พฒั นาการด้านเชาวน์ปัญญา

Piaget’s Theory of Cognitive Development

วยั ก่อนเรียน ( 2 – 6 ปี ) วยั เรียน ( 6 – 12 ปี )

• Preoperational Stage • Concrete operational Stage

- Egocentric - ความคดิ เป็ นรูปธรรม(concrete) เข้าใจเรื่อง
- เข้าใจสัญลกั ษณ์
- Animism thinking ต่างๆ
- มองปัญหาในแง่มุมเดยี ว คดิ ย้อนกลบั ไม่ได้ - มองปัญหาได้หลายด้าน
- Conservation
( Lack of Conservation) - Classification
- Reversibility
- Seriation

• Formal operational Stage

- คดิ เป็ นเหตุเป็ นผลมากขนึ้
- คดิ เป็ นรูปธรรมได้
- สามารถต้งั และทดสอบสมมุตฐิ านได้

Deductive Reasoning

Inductive Reasoning

พฒั นาการด้านจริยธรรม

Kohlberg’s Theory of Moral Development

วยั ก่อนเรียน ( 2 – 6 ปี ) วยั เรียน ( 6 – 12 ปี )

• Pre Conventional level • Pre Conventional level

- เรียนรู้ถูกผดิ ทกี่ ารกระทา กลวั การถูกลงโทษ - รับรู้ความต้องการของคนอนื่ เมอ่ื มีอะไรแลกเปลย่ี น
- ทาดี ได้รับรางวลั คาชม
- ทาผดิ ถูกลงโทษ • Conventional level

- การยอมรับของกล่มุ ทาตามความเหน็ ชอบของผู้อน่ื
เช่น ช่วยครูถอื ของ

เอกสารอ้างองิ

• วนั เพญ็ บุญประกอบ และคณะ (2538) “จิตเวชเดก็ สาหรับกมุ ารแพทย”์ ฉบบั ปรับปรุง.วิทยาลยั จิตแพทยร์ าชวิทยาลยั
สมาคม

• วนั เพญ็ บุญประกอบ(2536) “การพฒั นาบุคลิกภาพ” ตาราจิตเวชศาสตร์ สมาคมจิตแพทยแ์ ห่งประเทศไทย เล่ม 1
(พิมพค์ ร้ังท่ี 2)

• สมภพ เรืองตระกลู (2543) “พฒั นาการของเดก็ ” ในโรคจิตเวชในเดก็ และวยั รุ่น คณะแพทยศ์ าสตร์ศิริราช
มหาวทิ ยาลยั มหิดล

• สมเกียรติ ต้งั นโม “ An Introductory Guide to Post-structuralism & Postmodernism”
• สุภา มาลากลุ ณ อยธุ ยา เอกสารประกอบคาบรรยายวิชาพฒั นาการเดก็ , อดั สาเนา”
• Weiner JM.(1997) Textbook of child and adolescent Psychiatry. 2nd ed American
• Psychiatric Press.
• Combrinck & Graham L (1991) “ Development of School age” Baltimore:William&Wilkins. 257-266

Case Study

เดก็ ชายวยั 3 ขวบมกั งอแงอยากถอื ช้อนเองทุกคร้ังทก่ี นิ ข้าว โดยพยายามจะตักข้าวเข้าปากด้วย
ตนเอง และรู้สึกรักแม่เลยอยากจะป้ อนข้าวแม่ด้วย ทุกๆคร้ังทพ่ี ่อจะมาช่วยจับมือตกั ข้าวเดก็ ชาย
จะร้องไห้โวยวาย และเมอื่ เห็นเจ้าตูบวงิ่ มากจ็ ะตกั ข้าวลงพนื้ ให้เจ้าตูบกนิ ด้วย ทาให้ทุกๆคร้ังที่
กนิ ข้าวจะทาให้เสื้อผ้า โต๊ะและพนื้ บ้านเลอะเทอะเปรอะเปื้ อน จากเหตุการณ์ดงั กล่าวพฤติกรรม
ของเดก็ ชาย ตามทฤษฏีของ Freud , Erikson และ Piaget อยู่ในข้นั ใด และในทฤษฏขี อง
Freud และ Erikson การตอบสนองของพ่อแม่(ท้งั ดแี ละไม่ด)ี จะส่งผลต่อเดก็ อย่างไรในอนาคต


Click to View FlipBook Version