The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book ภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krusuriya666, 2021-10-19 03:57:22

E-Book ภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

E-Book ภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

เอกสารประกอบการเรียน

ภาษาเพ่ือการสื่อสารสําหรับครู

นายสุริยา อินทจนั ท

ตาํ แหน่ง อาจารย์

ภาควชิ าการศึกษาทวั่ ไป วทิ ยาลยั นาฏศิลปอา่ งทอง
สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์

คำนำ

ความคาดหวงั ประการหนง่ึ ของการเรียนการสอนในหมวดวชิ าการศึกษาทว่ั ไป คอื ผูเรยี นมี
ความสามารถในการใชภ าษาเพอื่ พัฒนากระบวนการเรียนรูและการสื่อสารไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ เอกสาร
ภาษาเพ่ือการส่ือสารสำหรบั ครเู ลม น้ี จงึ เปนแนวทางหน่งึ ที่นักศกึ ษาสามารถใชเปน เครื่องมอื นำตนเองให
กา วทันการเปล่ียนแปลงของสังคมโลกดวยการใชท ักษะฟง พูด อาน เขยี น ซ่ึงการปฏิบัตเิ ชน นอี้ ยางตอเนอื่ ง
ตามลักษณะสงั คมของการเรยี นรู เปน การเปด ประตูสูโ ลกกวางอยางรูเ ทาทัน

เอกสารประกอบการเรยี นเลมน้ปี ระกอบไปดวย ๕ บท โดยมีแบบฝก ปฏบิ ัติเพ่ือเพ่มิ พนู ทักษะ
การใชภ าษาทุกดา นใหกับนกั ศกึ ษาทจี่ ะตองประกอบอาชีพครใู นอนาคต

ผูเขียนขอสำนึกในพระคณุ ของผูมอบความรูและประสบการณ ท้ังทีไ่ ดอางอิงและไมไดก ลา วถึงใน
เลมน้ี ขอขอบใจนักศึกษาท่ีถือเปน แหลง ประสบการณสวนใหญของชวี ติ การเปน ครู กราบขอบพระคุณทาน
ผอู ำนวยการรองศาตราจารยสมภพ เขียวมณี ผูมอบกำลังใจจนสามารถเขียนเอกสารประกอบการเรียนเลม น้ี
จนสำเร็จ

สุริยา อินทจันท
กลุมสาระการเรียนรูว ชิ าภาษาไทย
ภาควชิ าการศกึ ษาทวั่ ไป วทิ ยาลัยนาฏศิลปอา งทอง

สารบญั หนา
1
บทที่ ๑ ความรูพน้ื ฐานเกีย่ วกบั วาทการสำหรบั ครู 14
บทท่ี ๒ ภาษาเพ่ือการสือ่ สารสำหรบั ครู 27
บทที่ ๓ เทคนคิ การฟง พดู อาน และเขียนภาษาไทย 33
บทท่ี ๔ ศลิ ปะดวยถอยคำ สำนวน นำ้ เสียง สีหนา ทาทางเพ่อื การสื่อสาร 44
บทท่ี ๕ การถายทอดและการควบคุมชน้ั เรยี น 56
บรรณานุกรม 57
ภาคผนวก

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

บทที่ ๑ ความรพู น้ื ฐานเก่ยี วกบั วาทการสำหรบั ครู

วาทการ คอื วชิ าทีศ่ กึ ษาถึงพฤติกรรมในการสอ่ื สารของมนุษยด ว ยวธิ กี ารใชส ญั ลกั ษณเปนสื่อ
กอ ใหเกดิ ปฏิกริ ยิ าสมั พันธร ว มกัน ทัง้ ในรปู แบบของการสื่อสารทีใ่ ชถอยคำและไมใชถอยคำ รวมถึงการศกึ ษา
หลักเกณฑทฤษฎีการพูดและการฝก ฝน เพื่อสงเสริมการส่ือสารที่มปี ระสิทธิภาพ สามารถดำรงชวี ิตอยใู น
สงั คมรวมกบั ผูอื่นไดอยา งราบรื่น (วริ ัช อภิรตั นกลุ , ๒๕๒๖)

วาทการ แปลตามตัวหนังสือ คอื ผูพูด ผแู สดงความคดิ เห็น แตความหมายในแงวิชาการ หมายถงึ
การส่ือความหมายของมนุษยดว ยการพูด โดยใชส ญั ลกั ษณตาง ๆ เชน เสยี ง ภาษา กิรยิ าทา ทาง
เพอ่ื ถา ยทอดความรู ความคิดเห็น และความรูสกึ ของผูพูดไปสผู ูฟ ง (วิจิตรา แสงพลสิทธิ์และคณะ, ๒๕๒๒)

Teacher หมายถงึ ผสู อน ,ครู , อาจารย. (วทิ ย เทย่ี งบูรณธรรม, ๒๕๕๔)
จะเห็นไดวา ความหมายของคำวา วาทการสำหรบั ครู เก่ียวขอ งกบั การใชคำพูดของครู
ขณะเดยี วกนั กย็ งั ครอบคลุมเร่ืองของการใชถอ ยคำภาษาในการสอ่ื สารของครู ซ่ึงอาจจะไมใ ชเพียงคำพูด
เพียงอยาเดยี ว อาจกลาวไดอ ีกแงห น่ึงวา คำวา วาทการ ในความหมายแคบ หมายถงึ การพดู
สว นในความหมายกวา ง ก็คือการภาษาในการส่ือสาร ทงั้ การพูดและท่ีไมใ ชการพดู (เชน การเขยี น) นน่ั เอง
ในวิชาน้ีจะมงุ เนนการพดู เปนสำคญั แตก็อาจมีโอกาสที่การใชค ำพดู นนั้ จะเกยี่ วของกบั การอานหรือ
การเขยี น ซ่งึ เปน การใชภาษาในรปู แบบอื่นดว ย เชน หากรา งบทพดู หรือรา งคำอานประกาศ คำรางนัน้
ยอ มตองใชห ลักการใชภ าษาที่เหมาะสมถูกตอง นน่ั กห็ มายความวา การใชคำพดู ของครูนนั้ เกย่ี วพนั ไปถงึ การ
ใชภ าษาในแงม ุมอนื่ ๆ ท่ีเกย่ี วของดวย ดังนัน้ การศกึ ษาเร่ืองวาทการสำหรับครูจึงมีขอบเขตไปถงึ การใช
ภาษาในการพูดและการใชภ าษาอืน่ ๆ ทเ่ี ก่ียวของกับการพูดดวย

สรปุ ไดวา วาทการสำหรับครู หมายถึง วิชาที่เก่ียวกับการใชถอยคำสำหรบั ครู หรอื วชิ าทศ่ี กึ ษา
พฤติกรรม หลกั การ และฝกปฏบิ ัติเก่ียวกบั การสื่อสารดว ยการพูดและการใชถ อยคำภาษาท่ีเกีย่ วของกบั การ
พูดของผทู ่ีเปน ครู เพอื่ ใหค รูสามารถถา ยทอดความรู ความคิดเหน็ และความรูสึกไปสูผูฟ งไดอยางราบร่ืนและ
ถกู ตองเหมาะสม นั่นเอง

1

วชิ าภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

สถานการณทเ่ี กี่ยวกับวาทการสำหรับครู

สถานการณก ารใชภาษาของครูตอไปน้ี จะชว ยใหเหน็ ขอบเขตเนื้อหาในการศึกษาเร่อื งวาทการสำหรับ
ครไู ดเ ขาใจย่งิ ข้ึน สานการณทเ่ี ก่ยี วของกับวาทการสำหรับครู มดี งั นี้
๑. การพดู

หมายถึง การเปลงเสียงออกมาเปน คำพูด ครสู ว นใหญมักใชการพูดเปนการส่อื สารหลักเพราะเปน การ
สอ่ื สารทีร่ วดเรว็ เขา ใจงาย เตรียมการไมน าน ใชสอ่ื นอยหรอื ไมใชเลย ครูมักใชก ารพูดในสถานการณ
ตอ ไปนี้

๑.๑ พดู ในหองเรยี น เชน.......................................................................................................................
๑.๒ พดู ในโรงเรียน เชน .........................................................................................................................
๑.๓ พูดนอกโรงเรียน เชน......................................................................................................................
๒. การอา น
หมายถงึ การออกเสียงตามตัวหนังสอื หรือสญั ลักษณ การอานเกีย่ วของกบั การพดู ตรงที่มกี ารออกเสยี ง
เชน เดยี วกัน แตม ตี วั หนังสือหรอื สญั ลักษณเ ปนบทในการอานหรอื เปนแนวทางกำหนดใหออกเสยี ง ครูมกั ใช
การอา นในสถานการณตอไปน้ี
๒.๑ อานจากตัวหนังสือ เชน ................................................................................................................
๒.๒ อานจากสิง่ ท่ไี มใชตัวหนังสอื เชน ...................................................................................................

2

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

๓. การรอ ง
หมายถงึ การเปลง เสียงแบบมจี ังหวะหรอื ทำนอง การองเกี่ยวกับการพูดตรงที่มกี ารออกเสียงเชนเดียวกัน

แตมีจังหวะหรือทำนองเปนตัวกำหนดในออกเสยี ง ดงั น้ี
๓.๑ บทเพลง เชน ................................................................................................................................
๓.๒ บททองจำ เชน............................................................................................................................
๓.๓ บทสวด เชน ................................................................................................................................
๓.๔ บทรอ งเลน เชน .........................................................................................................................

๔. การเขยี น
หมายถึง การนำบทพูดไปเขยี นเปนตัวหนังสอื การเขียนเกย่ี วของกบั การพดู ตรงทส่ี ามารถนำคำพดู

ไปเขยี น หรือจะพูดตามบทที่เขยี นไวก ็ได ครูมักใชการเขียนในสถานการณต อไปน้ี
๔.๑ เขียนตามคำพดู .............................................................................................................................
๔.๒ เขยี นเพอ่ื นำไปพูด..........................................................................................................................

จดุ มุง หมายของการศกึ ษาวิชาวาทการสำหรบั ครู

๑. เพ่ือใหรหู ลกั การหรือทฤษฎีเก่ยี วกบั การพูด
การรูหลักการดงั กลาว ในเบ้อื งตนกเ็ พื่อใหครูปฏิบตั ติ นไดอ ยา งถกู ตอ งเหมาะสมถูกตอง ไมเ พยี งแตค รู

จะตองพูดเปนหรือพูดเกงเทา นน้ั แตจะตอ งคำนึงถงึ หลักการหรอื ศาสตรที่เก่ียวของกบั การพดู เชน จติ วิทยา
การพูด การออกเสยี ง ระดับภาษา ฯลฯ และศลิ ปะการพูด เชน การเลือกใชโ วหารในสถานการณต าง ๆ
แกป ญหาขณะพดู ฯลฯ เพื่อนำศาสตรแ ละศิลปเหลาน้ีไปถายทอดใหกับนักเรยี นตอ ไป ขณะเดียวกัน
หากนักเรยี นเกดิ ปญหาในการพดู ครูท่ีศึกษาเกย่ี วกับการพูดมายอมทจี่ ะวิเคราะหส าเหตุและวางแนวทาง
การแกป ญหาไดตรงจดุ ยิง่ ข้ึน

3

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

๒. เพ่ือพฒั นาการส่ือสารของครู
การทำหนา ท่คี รูนั้น ยอ มตอ งเก่ยี วของกับการสอื่ สารโดยเฉพาะการพูด ซง่ึ มีความสัมพันธเชือ่ มโยง

เก่ียวกบั ประเภทของนกั พดู ครจู งึ ควรตอ งพฒั นาทำใหได ทำใหเปน ดังนี้
๑. พธิ ีกรหรือผแู จง รายการ เปน นักพดู ที่มีความชำนาญในงานพธิ ีการหรอื จดั รายการในงานพิธีตา ง ๆ
๒. นักวิชาการหรือผูเ ชี่ยวชาญ คอื ผทู ่ที ำหนาท่เี ปน นักวิชาการ วิทยากร หรือครูในสถาบันการศึกษา

ซ่ึงมีหนาท่ีพดู เพอ่ื การสอนหรือบรรยายวชิ าการแกนักเรยี นนัน่ เอง
๓. นกั ปราชญ หมายถึงผูรู ผมู ีปญ ญา ซ่งึ ไมเพียงแตพดู ความรจู ากตำราเทา นั้น แตย ังสามารถพูด

ออกมาจากความคดิ อันลึกลำ้ อีกดวย เรยี กอกี อยา งวา “พหูสูต”
๓. เพ่ือพฒั นาบุคลิกภาพของครู

บคุ ลกิ ภาพของครูเปนปจจยั หนึง่ ที่สง เสรมิ ประสิทธภิ าพการพดู ขณะเดียวกนั ความสามารถในการพูด
น้นั ก็ยังสามารถสะทอนกลบั มาสงเสริมบุคลกิ ภาพของครูไดอีกดว ย ความสามารถในการพูดนัน้ สามารถฝกฝน
ได และมโี อกาสท่ีความสามารถจะลดนอยลงหากขาดการฝกฝนอยางสมำ่ เสมอ ดังนนั้ ครูควรตอ งหมั่นใช
ทักษะในการพูดในโอกาสตาง ๆ และยังตองพฒั นาการพูดอยตู ลอดเวลา เพราะสถานการณการพูดอาจมีการ
เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
๔. เพื่อนำหลกั การไปถายทอดใหกบั ผูอื่น

เม่อื ผูพูดพดู ตามหลักเกณฑห รือระเบียบท่ีถูกตอง และมคี วามชำนาญในการพดู ก็จะสามารถนำ
ขอ ปฏิบัติตา ง ๆ ไปถา ยทอดใหผูทไ่ี มรูไดร ู หรอื นำไปฝกปฏิบตั แิ กผอู น่ื ได เชน ครสู อนนกั เรียนใหพูดหนาช้ัน
หรอื สอนใหร จู ักการพดู อภิปราย ฯลฯ
๕. เพ่อื ใหกิจกรรมตา ง ๆ ดำเนนิ ไปดวยความเรยี บรอ ย

กิจกรรมตาง ๆ ไมว าจะเปนกิจกรรมการสอน กจิ กรรมการเรียน กิจกรรมหรอื โครงการตา ง ๆ ทีจ่ ัด
ขึ้นน้ัน หากผูปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทต่ี องอาศัยความสามารถดานการพดู นัน้ เชน ผูสอน พธิ ีกร ประธานในพธิ นี ้ัน
ปฏบิ ัตหิ นา ที่อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ กิจกรรมตาง ๆ กจ็ ะดำเนินไปดวยความเรยี บรอยราบรืน่

.......................................................................................

4

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

การใชภาษาในการสือ่ สารเปน ปจ จัยหนงึ่ ที่จะสง เสริมใหก ารพูดสำเรจ็ ลุลวงมากนอยเพียงใด การใช
ภาษาโดยเฉพาะภาษาไทยเปนหนา ท่ขี องครูทุกคนท่ีจะสำรวจและฝก ฝนใหช ำนาญ เพื่อใหก ารสอนราบร่นื
และเปน แบบอยางใหแกน ักเรียนไดย ึดถือเปนแบบอยาง ภาษาท่ีพูดใชในการสื่อสารมี ๒ ลกั ษณะ ดังน้ี

๑. การส่ือสารดวยวาจา หรือ วจั นภาษา

คือการใชถอยคำในการส่อื สาร อันไดแ ก การพดู หรอื การเขียนขอความ เปนกิจกรรมการสื่อ
ความหมายข้นั มูลฐานของมนุษย เมอ่ื เผชิญหนา กบั ผูฟง ผพู ูดอาจใชคำพูดหรอื อาจเขยี นเปน ขอความแสดงให
ผพู ดู ไดอานบางในบางชว งของการพูดกไ็ ด ภาษาถอยคำนี้แบงตามระดับของภาษาในการส่ือสาร
ไดเปน ๕ ระดบั (กระทรวงศกึ ษาธิการ,๒๕๕๘) ดังนี้

(๑) ภาษาระดับพธิ กี าร
ภาษาระดบั นใ้ี ชเมื่อมีการประชมุ ทจ่ี ัดข้นึ อยา งเปนพิธกี าร ผูพูดอาจเปนผบู รหิ ารการศึกษา หรอื

เปนผแู ทนคณะครูอาจารย ผฟู ง อาจเปนนักเรยี น ผูปกครองหรือบุคลากรในโรงเรยี น การสงสารนัน้ ผพู ูดจะ
เปนผูส ง สารฝายเดียว ไมมกี ารโตต อบหรือซักถามจากกลุมผูฟง ถอยคำท่ีใชทกุ ข้ันตอนจะมีลักษณะเปน
พธิ ีรตี อง เปนทางการ มคี วามจรงิ จงั โดยเลือกเฟน ท่ปี ระณตี สละสลวย ผูพูดจงึ ตองเตรียมบทท่ีจะกลาวมา
ลวงหนา และมักนำเสนอดวยวิธกี ารอานตอหนาทปี่ ระชมุ

โอกาสทีค่ รอู าจใชภาษาระดบั พิธกี าร ไดแก
- การกลาวรายงานในงานพระราชพิธี
- การกลาวเปดหรือปดพิธีทส่ี ำคัญ
- การกลา วสดุดบี ุคคลสำคญั ในทป่ี ระชมุ

(๒) ภาษาระดบั ทางการ

ภาษาระดบั นี้ใชใ นการบรรยายหรืออภปิ รายอยางเปนทางการในท่ีประชุม เน้ือหามีลักษณะที่เปน สาระ
ความรูหรือกจิ ธุระท่ีมีความสำคญั การใชถอยคำจงึ มกั ตรงไปตรงมา มุงเขาสจู ดุ ประสงคท่ีตอ งการโดยเรว็
ประหยดั ถอยคำ มีความสุภาพเรยี บรอย อาจมีศัพทเทคนิคหรอื ศัพทวชิ าการ ถอยคำจึงคลา ยกบั ภาษาเขียน

โอกาสทค่ี รอู าจใชภาษาระดบั ทางการ ไดแก

- การกลาวเปด หรอื ปดงานกจิ กรรมโรงเรียน
- การกลา วตอนรับ แนะนำและขอบคุณวทิ ยากร
- การประชุมครูท้ังโรงเรียน
- การประกาศแจงขาวสารของครทู างเคร่ืองขยายเสยี ง

5

วชิ าภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

(๓) ภาษาระดบั ก่ึงทางการ

ภาษาระดบั น้ีคลายภาษาระดบั ทางการ แตล ดความเปน งานเปนการลงบา งเพอื่ ใหเ กิดสมั พนั ธภาพอนั
ใกลช ิดยิ่งข้นึ ระหวางผูพูดกับผูฟ ง การสื่อสารอาจมีการโตต อบหรอื แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ กัน โดยทัว่ ไปจะ
ใชถอยคำสำนวนท่ีทำใหรูส กึ คุนเคยกนั มกั ใชศ ัพทว ิชาการท่จี ำเปน

โอกาสท่คี รูอาจใชภ าษาระดบั ก่ึงทางการ ไดแก

- การประชมุ ผปู กครอง
- การประชุมหรือการอภิปรายกลมุ ยอยของครู
- การใหโอวาทแกน กั เรียนหนาเสาธง
- การนำเสนอรายงานหนา ช้ันของนกั เรียน
- การบรรยายในหอ งเรยี นหรอื หอ งประชมุ
- การจัดรายการวิทยุดานสาระความรขู องนกั เรยี น
- การประกาศแจงขา วสารของนกั เรียนทางเครือ่ งขยายเสียง

(๔) ภาษาระดบั ไมเ ปน ทางการ

ภาษาระดบั น้ใี ชในการสนทนาโตต อบระหวา งบุคคลหรือกลมุ บุคคลขนาดเลก็ ในสถานทีแ่ ละเวลาที่ไมใช
สวนตวั เน้ือหามักเปนเร่อื งทั่ว ๆ ไป ในชวี ิตประจำวนั หรอื การปรึกษาหารือ โดยไมจ ำกัดอยใู นเรอ่ื งวิชาการ
การพดู อาจไมมีการลำดบั หรอื ไมเปน ระเบยี บบา ง ถอยคำภาษาท่ใี ชไ มเนนความเปน ทางการ แตเนนความ
เขาใจและความสะดวกในการส่อื สาร แตก ็ยงั คงความสภุ าพ

โอกาสทค่ี รอู าจใชภาษาระดบั ไมเ ปนทางการ ไดแ ก

- การนำสนทนาของครูในหอ งเรียน
- การอธิบายเนื้อหาตา ง ๆ ใหแกน ักเรยี น
- การแจงขาวสารหนาเสาธงของนักเรยี น
- การจดั รายการวิทยดุ านความบนั เทิงของนกั เรียน
- การประชุมอภปิ รายกลุมยอยของนักเรยี น

(๕) ภาษาระดับปาก

ภาษาระดับนี้ใชในวงจำกัด ระหวา งบคุ คลที่สนทิ สนมคนุ เคย สถานท่ที ี่ใชม ักเปน สว นตวั เนื้อหาของ
สารไมม ีขอบจำกัด ถอ ยคำอาจมคี ำคะนองที่ใชกันเฉพาะกลุม หรือภาษาถ่นิ โดยมากครูอาจไมไ ดใช

6

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

ภาษาระดับนี้กบั นักเรียน แตมกั กำกบั ดูแลการใชภาษาระดับกันเองระหวา งนกั เรยี นไมใหใ ชผ ดิ โอกาสหรือ
หยาบคายเกนิ ไป

การแบงภาษาเปนระดับตาง ๆ น้นั มิไดแบง แยกกันอยา งชดั เจน บางสถานการณอาจมีลักษณะการใช
คำเหลื่อมกนั บางและทุกคนอาจไมม ีโอกาสใชภาษาครบทกุ ระดบั การศึกษาเรื่องระดับภาษาเพื่อใหเหน็ วา
การใชระดับภาษามีหลายระดับ การจะตัดสนิ วา จะใชภ าษาแตละระดบั อยางไร ตองคำนึงโอกาส กาลเทศะ
และสมั พันธภาพระหวา งบคุ คลท่ใี ชภ าษา หากใชภ าษาผิดระดบั ไปอาจเกิดผลเสยี ตอ ผูพ ูดได

การใชว จั นภาษาในการส่อื สาร
๑. ความชัดเจนและถูกตอง กลา วคอื ตอ งเปน ภาษาทเ่ี ขาใจตรงกนั ทง้ั ผูรับสาร และผสู งสาร และถกู ตอง
ตามกฎเกณฑและเหมาะสมกับวัฒนธรรมในการใชภาษาไทย ดังน้ี

๑.๑ ลกั ษณะของคำ หนาทขี่ องคำ ตำแหนงของคำ และความหมายของคำ ซ่งึ ความหมายของคำมี
ท้งั ความหมายตรง และความหมายแฝง

๑.๒ การเขียนและการออกเสียงคำ ในการเขียนผสู งสารตองระมดั ระวังเรื่องสะกดการนั ต ในการพดู
ตองระมดั ระวังเรื่องการออกเสยี ง ตองเขยี นและออกเสียงถูกตอง

๑.๓ การเรยี บเรียงประโยค ผสู ง สารจำเปนตอ งศกึ ษาโครงสรา งของประโยคเพอ่ื วางตำแหนง ของคำ
ในประโยคใหถ ูกตอง ถกู ท่ี ไมสบั สน
๒. ความเหมาะสมกับบรบิ ทของภาษา เพ่ือใหการส่ือสารบรรลเุ ปาหมาย ผสู ง สารตอ งคำนึงถึง

๒.๑ ใชภาษาใหเ หมาะกับลกั ษณะการส่ือสาร เหมาะกับเวลาและสถานท่ี โอกาส และบคุ คล ผสู ง สาร
ตอ งพิจารณาวา สือ่ สารกับบคุ คล กลุม บุคคล มวลชน เพราะขนาดของกลุมมผี ลตอ การเลอื กใชภาษา

๒.๒ ใชภาษาใหเหมาะกบั ลักษณะงาน เชน งานประชาสัมพนั ธ งานโฆษณา งานประชมุ ฯลฯ
๒.๓ ใชภาษาใหเ หมาะสมกบั สอื่ ผสู ง สารจะตองรูจ กั ความตางของสื่อและความตา ง ของภาษาทใี่ ชก ับ
แตละส่ือ ใชภ าษาใหเ หมาะสมกับผรู ับสารเปา หมาย ผูรบั สารเปาหมายไดแก กลุมผูรบั สารเฉพาะท่ผี ูส ง สาร
คาดหวังไว ผสู งสารตอ งวเิ คราะหผ รู ับสาร ทีเ่ ปนเปาหมายของการสือ่ สาร และเลือกใชภ าษาใหเ หมาะสมกับ
ผรู บั สารนั้น ๆ

7

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

วิเคราะหตวั อยางระดบั ภาษา

ขอ ๑. “กระผมของของพระคุณอยางยง่ิ ท่ีทา นทั้งหลายมาใหก ำลังใจ ท้งั ยงั อวยพรในโอกาสที่
กระผมไดเลอ่ื นตำแหนงทางราชการ ความปรารถนาดีของทุกทา นจะเปนกำลงั ใจในการทำงาน และหวงั
เปน อยางยิง่ วา จะบนั ดาลใหทกุ ทานประสบความสุขความเจริญทุกประการเชน กัน”

คำถาม เปนระดับภาษาใด /เพราะเหตุใด......................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

ขอ ๒ “ผมดใี จและขอบใจทุกคนมากนะครบั ที่มาใหกำลังใจผมอยางพรอมหนา พรอ มตากนั ในวนั น้ี
ขอใหพวกคุณไดร บั สิ่งทด่ี ีงามทกุ อยางกลบั ไปดวยเหมอื นกัน วันน้ขี อใหเราฉลองกนั ใหเตม็ อิ่มเลยนะครับ
ไมต องเกรงใจ”

คำถาม เปน ระดับภาษาใด /เพราะเหตุใด......................................................................................................

........................................................................................................................................................................

๒. การส่ือสารทม่ี ิใชว าจา หรือ “อวจั นภาษา”

คือการไมใชภาษาถอ ยคำเปนตวั สอ่ื บางคนเรยี กวา ภาษาทา ทาง ภาษากายหรอื กายภาษา ผูฟ งอาจ
สังเกตภาษาน้ีแฝงอยูใ นถอยคำ จากการมองเห็น กิรยิ าทาทาง หรอื สงของอน่ื ๆ ท่เี ก่ยี วขอ งกบั การแปล
ความหมายของมนุษยด ว ย ซึ่งอาจจะสื่อความออกมาโดยผูพูดต้งั ใจหรือไมต้ังใจ และจะเกิดขน้ึ ตลอดเวลาท่ี
ส่อื สาร

อวัจนภาษาสามารถแบง ออกไดเ ปน ๗ ประเภท

(๑) เทศภาษา หมายถึง ลักษณะของสถานท่ี ระยะหางและตำแหนงท่ีกระทำการสอื่ สารตอกัน
อันจะเปนตัวบง บอกถงึ ลักษณะพฤติกรรม ความสัมพันธ ความสำคญั ของบุคคล วัฒนธรรมของบุคคล
ตลอดจนบรรยากาศของการสอ่ื สาร

ลกั ษณะพฤตกิ รรม พฤติกรรม ความสมั พันธ บรรยากาศ

ผพู ูดและผูฟงอยูหางกันพอสมควร

ผฟู งน่งั ฟงบรรยายแถวหนา ๆ

ผูฟ ง นงั่ ฟงบรรยายแถวหลังสุด

นั่งชุดรบั แขกขางเวทหี รือหนาเวที

8

วิชาภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

๒. กาลภาษา หมายถงึ ชว งเวลา ระยะเวลา การตรงตอ เวลา การใหควาทสำคญั ตอเวลา เปนเคร่ือง
แสดงเจตนาของการสอื่ สารหรือบงบอกความหมายของผูสงสาร

ลักษณะพฤติกรรม พฤติกรรม อุปนสิ ยั ความรูสึกทีเ่ กิดขึ้น

เขา ตรงตอเวลา
เลกิ สอนชา
เขาสอนชา วิทยากรมาบรรยายชา
นกั เรียนยนื ฟง อบรมเปน เวลานาน
นักเรยี นอภิปรายกลุมใชเวลานาน

๓. เนตรภาษา หมายถึง อวจั นภาษาที่เกดิ จากการใชด วงตาหรือสาตตาเพือ่ อารมณ ความรสู กึ
นกึ คดิ และทศั นคตขิ องผพู ูด

ลกั ษณะพฤติกรรม พฤติกรรม อุปนสิ ยั ความรสู ึกทเ่ี กิดขน้ึ

หันมามองเปน ระยะ
จองมอง
จองไมวางตา
หลบสายตา
ปด เปลอื กตาชัว่ ครูขณะพูด

๔. สมั ผสั ภาษา หมายถงึ อวัจนภาษาทใี่ ชอาการสัมผสั เปนตวั ส่ือความรูส ึก อารมณ ตลอดจน
ความหมายจากผสู ง สารไปยังผูส ง สาร เชน

- ขณะทคี่ รบู รรยาย ครูอาจใชมอื แตะหรอื สะกิดไปทนี่ ักเรียนเพอ่ื เปน สญั ญาณใหห ยุดคุย

- ครผู ูใ หญส ามารถจับมือหรือโอบกอดเด็กนกั เรียนของตนไดส ะดวกใจกวา โอบกอดเพ่ือนครูดวยกัน

- ในสถานการณท ่ีอีกฝายกำลงั เศราโศก การตบบาเบา ๆ หรอื กมุ มือ บีบมือ เปนการใหก ำลังใจแทนการพูด
เปน ตน

๕. อาการภาษา เปนอวจั นภาษาในรปู แบบของการเคลอ่ื นไหวรางกายเพ่อื ส่ือความหมายดานอารมณ
ความรูสึกนกึ คิด ไดแ ก การเคลอ่ื นไหวรา งกาย ศีรษะ แขน ขา มอื สีหนา ทา ทาง เปน ตน

9

วิชาภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

ผฟู ง สามารถสังเกตอาการตา ง ๆ ของผูพดู ได เชน การเคลื่อนท่ีท่รี วดเร็วบงบอกถึงความ
กระตือรือรน การหัวเราะหมายถึงอารณดี เปน ตน

ลักษณะพฤติกรรม พฤติกรรม อุปนิสัย ความรสู ึกทเี่ กิดข้นึ

หันมามองเปนระยะ
จองมอง
จองไมว างตา
ตาเหมอลอย
สอดสา ยไปมารวดเร็ว

๖. วัตถภุ าษา หมายถงึ อวจั นภาษาที่เกิดจากวตั ถุเครื่องใชตาง ๆ เชน เคร่อื งแตงกาย
เครอ่ื งประดบั เปน ตน ซึง่ สามารถส่อื ความหมายไดทง้ั โดยต้ังใจและไมตั้งใจ ผูฟงสามารถสังเกตรปู ทรง
ขนาด สี ลกั ษณะราคาของส่ิงตา ง ๆ น้นั ได เชน เสอ้ื ผาท่ีมีราคาแพงแสดงถึงผูพดู มฐี านะดี เปนตน
นอกจากน้ยี ังบง บอกถงึ รสนิยม การรสู จักกาลเทศะของผสู วมใส เชน วทิ ยากรทส่ี วมชดุ สีดำไปยังสถานท่ที ่ี
จัดงานศพ หรือการเลือกเส้อื ผาสีสดใสแสดงถึงวยั รนุ หรือสถานการณลำลอง เปน ตน

๗. ปริภาษา หมายถึง อวัจนภาษาทเ่ี กิดจากการใชน้ำเสียงประกอบคำพดู หรือแฝงอยใู นคำพดู
นอกจากนยี้ ังมจี ังหวะ ความดัง ระดับเสียงในการพูด และยงั หมายรวมไปถึงภาษาเขยี น ไดแก
การเวน วรรค ลายมือ ขนาดตัวอกั ษร

ลักษณะพฤตกิ รรม พฤตกิ รรม อปุ นิสัย ความรูสกึ ที่เกดิ ขึ้น

นำ้ เสียงนุมนวล
น้ำเสยี งเย็นชา
เสยี งดัง หนักแนน
พดู เร็ว คำพดู พนั กนั
เขียนหวัด
เขียนสะกดผิด
ขีดเสน ใต เขียนตวั โต

10

วชิ าภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

กจิ กรรมทายบท (๑) ใช ไมใช

ใหตรวจสอบคุณสมบัตขิ องตนเอง โดยใสเครือ่ งหมาย  ในชอง ใช หรือ ไมใ ช

ท่ี หวั ขอ

๑. ทา นจำบทพดู ยาว ๆ ได
๒. ทา นเคยพดู ในท่ชี มุ นุมชน
๓. ทา นเคยฝก พูดหนา ช้ัน
๔. ทานเคยฟงการพูดในท่ีชุมนุมชน
๕. ทานมีนำ้ เสียงแจมใส ไมแหบแหง
๖. ทานมอี วัยวะการออกเสยี งเปนปกติ
๗. ทา นไมเ ขินอาย เม่ือตองพดู หนา ช้นั
๘. ทานมกั จะวางโครงเรื่องกอนการพูด
๙. ทานสามารถระบุประเภทของการพดู ได
๑๐. ทา นไมร สู ึกประหมาเม่ือตองพูดหนาชั้น
๑๑. ทานอยากจะเปน นักพูดหรือเปนครูทพ่ี ูดเกง
๑๒. ทา นชอบแสดงความคิดเห็นในทีป่ ระชุม
๑๓. ทานสามารถระบุไดว า ใครพูดดีหรือใครพดู ไมดี
๑๔. ทานเคยเขารว มประกวดการพูดหรอื การอา นมาบา ง
๑๕. ทานสามารถพดู ใหเพ่อื นในหองเรยี นไดย นิ โดยไมใ ชไมโครโฟน

11

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

กจิ กรรมทา ยบท (๒)

ใหอ า นสถานการณต อ ไปนี้ แลว เขยี นคำพดู ท่ีจะใชส อื่ สารในแตละระดบั ภาษา

“สมมตุ ิวา ทานเปน ครใู นโรงเรียนแหง หนงึ่ ทางโรงเรยี นไดจดั โครงการรักษาความสะอาดสถานศกึ ษา
เพอื่ ถวายเปนพระราชกศุ ลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ในฐานะที่
ทา นเปนผรู ับผิดชอบในโครงการดังกลาว จึงตอ งประชาสัมพันธใหแกบุคคลแตละระดับทราบ และเชญิ ชวน
ใหรว มกจิ กรรม”

๑) กลาวรายงาน หนาพระบรมฉายาลักษณ ในชวงเชาเขาแถวหนาเสาธง (ระดับพธิ ีการ)

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๒. ประชาสมั พนั ธโครงการบนเวที ในทป่ี ระชมุ ครูและผูป กครอง (ระดบั ทางการ)

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๓. ประชาสัมพนั ธโ ครงการหนาเสาธง และกลาวเชญิ ชวน ครแู ละนกั เรียนใหรว มกจิ กรรม (ระดบั กึ่งทางการ)

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๔. พูดเชญิ ชวนนักเรียนในหองเรยี น ใหเขารว มกจิ กรรม (ระดบั ไมเปน ทางการ)

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๕. พดู ชวนใหเ พอ่ื นคนหน่ึงซึ่งเปนผูป กครองนกั เรียน นำขาวสารไปแจงแกบุตรหลานตน (ระดบั กนั เอง)

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

12

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

กจิ กรรมทา ยบท (๓)

ใหนกั ศึกษาจับคกู ับเพ่อื นสลบั กนั อา นขอความที่กำหนดให แลว ประเมินการอานตามแบบ
ประเมินของการอานออกเสียง

๑. แคลว ควานหาของในกลองทีร่ กรงุ รงั ในหอ งเก็บของใตบ นั ไดทีเ่ รมิ่ จะโคลงเคลงและไมคอยมนั่ คง
แคลวจึงตองหาคอ นและตะปูมาซอ มบันไดท่โี คลงเคลงใหมั่นคง

๒. จากมามาลิว่ ล้ำ ลำบาง

บางยเ่ี รือราพลาง พีพ่ รอ ง

เรอื แผงชวยพานาง เมียงมา น มานา

บางบร ับคำคลอง คลา วนำ้ ตาคลอ

๓. “บงเน้ือก็เน้ือเตน พิศเสนสรีรร ัว

ทวั่ รางและทัง้ ตัว ก็ระรกิ ระรวิ ไหว

แลหลงั ละลามโล หติ โอเ ลอะหลั่งไป

เพง ผาดอนาถใจ ระกะรอยเพราะรอยหวาย”

๔. ของเสียที่หมักหมมอยใู นรา งกาย ซง่ึ เปนสาเหตุท่ีทำใหเกดิ อาการปวดเมื่อยตามเนอ้ื ตัวและเกิด
โรคนัน้ มฤี ทธ์ิเปน กรด หากเรารบั ประทานผลไมท่มี ีฤทธิเ์ ปนดางและเปนยาระบายออ น ๆ เขา ไปขับของเสยี ท่ี
หมักหมมอยูออกมา ความเปนดางของผลไมจะทำใหความเปน กรดกลบั สูสภาพสมดลุ การกนิ ผลไมจ ึงชวยลด
อาการไมสบายทเี่ กิดขน้ึ ได

รายการประเมิน ๔ ระดบั คะแนน ๑
๓๒
๑. ทว งทำนองถูกตองตามอักขรวธิ แี ละฉันทลักษณ
๒. การแบง วรรคตอนในการอาน
๓. น้ำเสียง ลลี า อารมณสอดคลอ งกับเนือ้ หา
๔. บุคลกิ ภาพในการอาน

รวม
๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = ปานกลาง ๑ = ปรับปรงุ

ลงชอ่ื ..................................................................ผปู ระเมนิ

13

วิชาภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

บทที่ ๒ ภาษาเพือ่ การส่อื สารสำหรับครู

การส่ือสาร (Communication) นพ.ธนู ชาตธิ นานนท (กรกฎาคม 2552)
ความหมาย : การสือ่ สาร (communication) คือกระบวนการในการสรา งปฏสิ ัมพันธร ะหวางบุคคล
ในสังคมหรือในกลุม เปน กระบวนการทเี่ กิดข้ึนตลอดเวลาระหวา งผเู ก่ียวของ โดยตงั้ ใจ (รูตัว) และไมตง้ั ใจ
(ไมร ูตัว) และโดยที่แตละบคุ คลทเี่ ก่ยี วขอ งจะเปนท้ังผูสงสารและรับสารไปดวยกนั และในเวลาเดียวกนั
ในลกั ษณะการส่อื สารแบบสองทาง (two-way Communication) เชน ครูในฐานะผูสง สารพดู กบั นักเรียน
เปน รายบุคคล หรือกบั ทง้ั หอง เปน การส่อื สารความคดิ ของครูแกนักเรียน ขณะเดยี วกันครกู ็เปนผูรบั สารท่ี
นักเรียนสงกลับมาในรปู ของสีหนา แววตา ทา ทาง หรือคำพูด ทีส่ ะทอนถงึ ความคดิ และความรสู กึ ของนักเรยี น
ที่มตี อครู ผสู ื่อสารท่ีดจี ึงตองเปน ท้ังผสู งสารทดี่ ี และผรู ับสารทดี่ ใี นเวลาเดยี วกนั
ทกั ษะในการสือ่ สารทดี่ ี

๑. attending คอื การต้ังใจ ใหค วามสำคัญตอ การสงและรบั สื่อ เชน การพูดอยา งต้งั ใจ การแสดง
ความสนใจ การสบตา การแสดงทาท่ีกระตือรอื รน สนใจ เชน การขยับตวั เขาไปใกล การผงกศีรษะ
แสดงความเขาใจ เปนตน

๒. Paraphasing คอื การพดู ทวนการสะทอนคำพูด เปน การแสดงความสนใจและความตอ งการ
ทจี่ ะรเู พิ่มเตมิ

๓. Reflection of feeling คือ การสะทอนอารมณที่อีกฝา ยแสดงออกมา กลับไปใหผ นู ัน้ เขาใจ
อารมณของตนเองมากข้ึน

๔. Summarizing คอื การสรุปความ ประเด็นที่สำคัญเปนระยะ เพ่ือความเขา ใจท่ีตรงกัน
๕. Probing คือ การซกั เพิม่ เติมประเด็นท่ีสนใจ เพ่อื หาความชดั เจนเพมิ่ ขึน้
๖. Self disclosure คอื การแสดงทาทเี ปดเผยเปนมติ รของผูสง สารโดยการแสดงความคิดเห็น
หรอื ความรูสกึ ของตน ท่ีไมใชการขัดแยง หรอื ตำหนิ
๗. Interpretation คือ การอธบิ ายแปรความหมายในประสบการณทอ่ี ีกฝา ยแสดงออกเพือ่ ใหเ กดิ
ความเขาใจ รูใ นส่ิงที่มีอยนู ัน้ มากขึ้น
๘. Confrontation คือการนำประเด็นทีผ่ สู ง สารพดู หรอื แสดงออกดวยทาทาง ท่เี กดิ จาก
ความขัดแยง สบั สน ภายในของผสู งสารเองกลบั มา ใหผ ูส ง สารไดเผชญิ กบั ความขัดแยง สับสนท่มี ีอยูในตนเอง
เพ่ือนำไปสคู วามเขา ใจในตนเองเพ่ิมขน้ึ

"ทกั ษะการสือ่ สารเปน สงิ่ จำเปน อยางยง่ิ ทค่ี รทู กุ คนตองม”ี

14

วชิ าภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

ในการจดั การเรยี นการสอน ครผู สู อนตองใชท ักษะการสื่อสารหลาย ทักษะรวมกนั เพ่ือจัดการเรียนรู
ใหผเู รียนมคี วามรู มีทักษะ และคุณลกั ษณะ อันพึงประสงคตามที่กำหนดไว และนอกเหนอื จากการสอนแลว
ครูตองทำงานดา นอ่ืน ๆ ในสถานศกึ ษาดว ย จะเห็นไดว าการทำงานของครู จะตองอาศัยทกั ษะการส่ือสาร
ซง่ึ ประกอบดวย "การฟง การอาน การพูด และการเขียน“ และครยู งั ตองมีบคุ ลิกที่เหมาะสมทง้ั บุคลิกท้งั
ภายในและ ภายนอกอีกดว ย

ทกั ษะการฟง ครูจะใชเพื่อ

- เก็บและรวบรวมขอมลู - แลกเปล่ียนขอมูล

- รบั ฟดแบค - ใหเ ขา ใจเรือ่ งราว

- เรียนรเู รือ่ งราว - สรางสายสมั พนั ธ

- ไดทราบมุมมองทีแ่ ตกตาง - เพือ่ ใหก ารชว ยเหลือ

- ขจัดขอ ขัดแยง - สรางความไวว างใจ

ทกั ษะการพดู ครูจะใชเพ่อื

– ให/ถายทอด/แลกเปลยี่ นขอมลู - อธบิ ายสรา งความกระจา ง

- สรา งบรรยากาศ - สรางสายสัมพนั ธ

- ใหฟดแบค - ใหก ำลงั ใจ

- ถามกระตุน - นำเสนอมุมมองแตกตาง

- โนม นา ว

ทกั ษะการอาน ครจู ะใชเ พ่ือ

- แสวงหาความรู คน หาคำตอบ - ตรวจสอบงานของนักเรยี น

- ทำความเขาใจเนื้อหา - เพมิ่ เติมองคค วามรู

- รับรวู ิทยาการกา วหนา - กระตนุ ความคิดสรา งสรรค

- ใหเหน็ หลากหลายมุมมอง - ฝก ทกั ษะการคดิ

- เกาะติดกระแส ทนั สมยั ตอเหตุการณ

15

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

ทักษะการเขียน ครูจะใชเพื่อ

- สรางความเขาใจและความนาสนใจ - ถา ยทอดเร่อื งราว

- บันทกึ เร่ืองราว - เลาเร่อื ง อธบิ าย

- แสดงความคิดเหน็ - แนะนำใหคำปรกึ ษา

- สรา งสรรคสิ่งใหมๆ เชน แนวคิดหลกั การ องคความรู หนงั สอื

"การสือ่ สารในการเรียนการสอน"
๑. กระบวนการส่อื สารในการเรยี นการสอน ประกอบดวย ครู, เนอื้ หาบทเรยี นหรือกจิ กรรมตาง ๆ,

ชอ งทางสื่อสาร, ผูเรยี น, ส่งิ รบกวน
๒. ลกั ษณะการสื่อสารระหวางครผู ูสอนกบั ผูเรียน เปนการส่ือสารเพ่ือใหเ กิดความรู กลา วคือ เปน การ

ถา ยทอดความรู ความสามารถ ประสบการณ ตลอดจนการอบรมสั่งสอน อาจเปน การส่อื สารแบบทางเดียว
หรอื สองทางควรมีการเนนหรือทบทวนคำสงั่ หรือขอตกลง เพ่อื ใหเ กิดความจำและความเขา ใจทถี่ ูกตอง
การสื่อสารควรมีลักษณะสรา งแรงบันดาลใจเปนกันเอง แสดงถงึ ความเอื้ออาทร และมเี จตคตทิ ด่ี ีตอกัน

๓. การปรับใชก ารสอ่ื สารกับกระบวนการเรยี นการสอนใหม ีประสิทธภิ าพครูท่ีมีการสือ่ สารท่ีดีจะชว ยให
ผูเรียนเรยี นรูไดอยางมีความหมาย มีชีวติ ชวี า มีเจตคติทดี่ ีตอผสู อนและบทเรยี น เรยี นรไู ดอยา งเขาใจ
ครูผสู อนควรใชส อ่ื การสอนสองทางใหมากทส่ี ดุ เพ่ือประเมินวา การถา ยทอดเนื้อหาสาระไปสผู เู รียนไดผ ล
อยา งไร ครูและผเู รยี นสามารถปรบั กระบวนการสอื่ สารใหเ ปน ไปตามวัตถุประสงค

ภาษาไทยสำหรบั ครู เปน ภาษาหลักท่ีครูใชส ื่อสารกบั ลูกศิษย

• ทกั ษะการฟง เปนทักษะการรับขา วสารทีส่ ำคญั และตองใชเ กือบตลอดเวลา ครูจึงตองรูจักรบั ฟง
ไมวา จะเปน การสอื่ สารกับผอู าวุโสกวา หรอื ผูท่อี ายนุ อ ยกวา เพือ่ นำคำพดู เหลา นนั้ มาปรับปรงุ แกไ ขตนเอง
หรือการยอมรบั ฟง ความคดิ เห็นของผูอน่ื เพื่อการแลกเปลยี่ นความรอู ันนำมา สูเปาหมายหลกั คือ นกั เรยี น

• ทกั ษะการพดู เปนการสอื่ สารดวยภาษา จากตัวผูพูดไปยังผูฟง เพื่อส่ือความหมายใหผูอื่นทราบ
ความรสู กึ นึกคดิ และความตองการของตน รวมทัง้ เปน การแลกเปล่ียนความรู ความคิดเห็น ครูจึงตองมี
การส่ือสารที่ชดั เจน เดก็ จะไดเขา ใจงาย เชน คำสงั่ ในการทำกจิ กรรม คำสัง่ ในการทำขอสอบ เปน ตน

• ทกั ษะการอา น ถือเปน ทกั ษะทสี่ ำคญั ของผทู เ่ี ปนครู เพราะครูตองใฝหาความรูอยตู ลอดเวลา ตองรู
ทกุ เรื่อง มีความทนั ยคุ ทันสมัยตอ ขอมลู ขา วสารทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปในทุก ๆ วนั ซึ่งการอา นจะทำใหครูเปน นัก
สะสมความรูทดี่ ี ซ่ึงความรูเ หลา นัน้ ก็จะถูกนำมาถา ยทอดใหกับลกู ศิษยท ุกคนอยางเต็มตาม ศกั ยภาพของครู

16

วิชาภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

• ทกั ษะการเขยี น เปนการแสดงความรู ความคิด ความรสู กึ และความตอ งการของผสู ง สารออกไป
เปน ลายลกั ษณอักษร เพ่ือใหผรู ับสารสามารถอานเขา ใจ ไดร ับทราบความรู ความคดิ ความรสู ึกและความ
ตองการเหลา น้นั ครจู งึ ตองเขียนตัวหนงั สอื ใหอานออก ไมจ ำเปนตอ งสวยงามแตต องมคี วามประณีตบรรจง
เพื่อบงบอกถึงความมงุ ม่นั และตัง้ ใจของครผู สู อน

.......................................................................................

การใชภาษา ครคู วรคำนงึ ถึงมารยาท กาลเทศะ เพราะแสดงวา บุคคลน้นั เปนผูไดรบั การอบรม
สง่ั สอน เปน ผมู ีสมบตั ผิ ดู แี ละมจี ติ ใจดี
ทกั ษะและเทคนคิ การใชภาษา และลีลาในการสอน

ทักษะ คอื การพดู ของผูสอนวามีเนื้อหาที่นา สนใจและวิธีการพูดโนมนา วผูเ รยี นตาง ๆ และทักษะ
การเคล่ือนไหว ผสู อนควรจะเคลื่อนไหว ผูสอนอยา งไรใหเ หมาะสมกรยิ าทาทางตา ง ๆที่ผูสอนเคลื่อนไหวใน
ช้นั เรียนและตลอดเวลาการสอนและหมายถึงความคลองแคลว ความชำนาญในการสอน

เทคนิค คอื กลวิธีและรูปเลม ท่ีใชเสริมกระบวนการสอน ขัน้ ตอนหรือกระบวนการตาง ๆ
การสอน คือ การถา ยทอดความรู ประสบการณ
ความสำคญั ของทักษะการสอน
๑. ถา เรามีทกั ษะการสอน เราสามารถสอนไดและสง เสริมความชำนาญ
๒. ทักษะนับเปนจุดมงุ หมายหมวดหนึ่งของการศึกษา ครูจะฝก ควบคูกับความรูและเจตคติ
๓. ชว ยใหเ กิดความม่นั ใจ ความคลอ งแคลวในการสอน
๔. ชวยไมใ หเ กิดความผดิ พลาดในการสอน เพราะถาผดิ พลาดเด็กจะเขา ใจในการสอน
๕. ชว ยใหสอนบรรลุตามวตั ถุประสงคท ี่ต้ังไว
๖. ชวยใหเกดิ ความช่ืนชม ศรทั ธาจากผเู รยี นเพราะผูสอนสามารถสอนไดก ระฉบั กระเฉงถูกตอง
๗. ชวยใหก ารทำงานมปี ระสิทธิภาพและสามารถพฒั นาการสอน

ทักษะการสอนพืน้ ฐาน หมายถึง ความสามารถความชำนาญในการสอน ไมส ามารถเกดิ ข้นึ เองไดแ ต
ตอ งอาศยั การฝกฝน และการทค่ี รจู ะมคี วามสามารถในการใชท กั ษะใหไดผ ลน้นั ตอ งมกี ารแยกทักษะแตล ะ
ลกั ษณะใหช ำนาญเสียกอน

17

วิชาภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

๑.ทักษะการนำสูบทเรยี น

จดุ มุงหมาย
๑. เพื่อใหน ักเรยี นเกดิ ความพรอมในการที่จะเรียน
๒. เพ่ือโยงประสบการณจากเดมิ ของผเู รียนเขากบั ประสบการณท จ่ี ะสอน
๓. เพอื่ จัดบรรยากาศของการเรยี นใหเปนท่นี า สนใจ
๔. กำหนดขอบเขตของบทเรยี นวา จะเรียนอะไร แคไ หน
๕. เพือ่ ใหผ เู รียนรคู วามหมาย ความรูความคดิ รวมยอด หลักการของบทเรยี นใหม
ทกั ษะการนำเขาสูบทเรยี น
๑. กอนเร่มิ บทเรียน
๒. กอนเร่ิมอธิบายและซักถาม
๓. กอ นจะตง้ั คำถาม
๔. กอนจะใหน ักเรียนอธบิ าย
๕. กอนจะใหนักเรียนดภู าพยนตร
๖. กอ นทำกจิ กรรมตา ง ๆ

เทคนคิ การนำเขาสบู ทเรียน
๑. ใชอุปกรณการสอน เชน ของจรงิ รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ
๒. ลองใหนกั เรียนลองทำกิจกรรมบา ง อยางมสี มั พนั ธกับบทเรียน
๓. ใชเ รอ่ื งเลานทิ านหรือเหตกุ ารณต า ง ๆ เพื่อนำสูบทเรียน
๔. ตงั้ ปญหา ทายปญ หา เพือ่ เรา ความสนใจ
๕. สนทนาซกั ถามเรอ่ื งตาง ๆเพอื่ นำสูบทเรียน
๖. ทบทวนบทเรียนเดมิ ทสี่ มั พันธกับบทเรียนใหม
๗. แสดงละคร
๘. รอ งเพลง เปนเพลงเกี่ยวกับเร่อื งท่สี นใจ
๙. สาธติ ซง่ึ อาจสาธติ โดยครู
๑๐. ทำสิ่งท่แี ปลกไปตามเดมิ เพ่ือเรยี กรองความสนใจ
๑๑. ใหน ักเรียนฟงเพลงตา ง ๆ เชนเสียงดนตรี

18

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

๒. ทกั ษะการใชก ริยาวาจา ทา ทางการสอน
การใชก ริยาวาจานับวาเปน ส่ิงสำคัญอยางยิ่งของครู เพราะนักเรยี นจะเกิดความพอใจและสนใจที่จะเรียน

บุคลกิ ภาพเปนส่งิ สำคัญอยางหน่ึงของครู รวมทั้งความสามารถในการส่ือความหมายระหวางครูกับนกั เรยี น
ไมใ หเ กดิ ความเบื่อหนา ย

เทคนิคการใชกริยา และทา ทางประกอบในการสอน
๑. การเคล่ือนไหวและเปลี่ยนอริ ิยาบท

เขามาในหอ งครคู วรเดินดวยทา ทางที่เหมาะสมสงางาม ดเู ปน ธรรมชาติ และครูควรเดินดูนกั เรยี นให
ทวั่ ถงึ เปนการใหความชวยเหลอื ในสิ่งท่นี ักเรียนไมเ ขาใจ
๒. การใชมอื และแขน

เปนส่ิงดึงดดู ความสนใจของนักเรยี น เพราะนักเรยี นชอบดูความสนใจสง่ิ ทเ่ี คลือ่ นไหวมากกวาสง่ิ ทีน่ ่ิง
การใชมือและแขนควรสัมพันธกบั เรื่องจะสอน มองดูไมขัดตา ควรใหเหมาะสมกับโอกาสและเนอ้ื หาท่ีจะสอน
และใหม ีลกั ษณะการใชท ่ีเปน ธรรมชาติ

๓. การแสดงออกสีหนาสายตา
ชวยในการสื่อความหมายของผเู รยี น ในการแสดงออกสีหนาของครู โดยทว่ั ไปครูที่ดขี องครูควรมีใบหนา

ท่ีแสดงออกถงึ ความเปนมติ ร ความรกั ความเห็นอกเหน็ ใจและครูควรกวาดสายตาไปใหนักเรยี น
๔. การทรงตวั และวางทา ทาง

ควรวางทาใหเหมาะสม ไมตึงเครยี ด หรือเกรง็ เกนิ ไปควรวางตวั ใหเ ปนธรรมชาติ
๕. การใชน้ำเสียง

ครคู วรใชน ้ำเสยี งที่นาสนใจ เสยี งดังฟง ชดั ออกเสยี ง ร ใหช ัดเจนตองใชน้ำเสียงนุมนวล ไมแ สดงอารมณท ่ี
ไมส มควรออกทางน้ำเสยี ง
๖. การแตงกาย

เปนสง่ิ สำคญั และดงึ ดูดความสนใจของนักเรียน ควรแตงกายใหเรยี บรอยเหมาะสม เพราะถาครูแตง สวย
เกนิ ไปนักเรยี นก็จะใหความสนใจกับการแตง กายของครมู ากกวาบทเรยี น

๓. ทักษะการอธิบาย
เปน ส่ิงจำเปนสำหรบั ผสู อนเปน การบอกการเลาใหเ ห็นตามลำดับข้ันตอนการสอนและการอธิบายควรมี

การยกตัวอยาง มี ๒ ทางคือ
๑. แบบนิรนัย โดยบอกแลวยกตัวอยางขยายกฎหรือหลักการนนั้ ๆใหเ ขา ใจ ทฤษฎหี ลกั การ
๒. แบบอุปนัย การยกตวั อยางรายละเอียดยอย ๆ แลว ใหเ ดก็ คิดวเิ คราะหรวบรวมเปน หลักการ

19

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

ลักษณะการอธิบาย
ใชเ วลาอธบิ ายไมเ กนิ ๑๐ นาที ควรใชภาษาที่งา ยๆทเี่ ดก็ เขา ใจงา ยควบคลุมใจความสนใจเรื่องยากไป

งายและอธบิ ายตามแนวคิดของนักเรียนเราจะรวู าเดก็ เด็กเขาใจหรอื ไมเขาใจและครคู วรสรุปผลการอธบิ ายให
เดก็ นักเรยี นเขา ใจดว ย

๔. ทกั ษะการเราความสนใจ
เปนสิง่ สำคญั ท่จี ะชว ยในการเรียนการสอนประสบผลดี เพราะจะชว ยใหค รูปรบั ปรุงกลวิธีการสอน

ประโยชน
๑. เดก็ เกิดความพรอมทจ่ี ะเรียนมากขนึ้
๒. เดก็ มีความสนใจในบทเรียนอยางสม่ำเสมอ
๓. ทำใหค รมู คี วามสนใจในการสอนและเด็กสนใจเรยี น
เทคนิคการเรา ความสนใจ
๑. การใชทา ทางประกอบการสอน
๒. การใชถ อ ยคำและน้ำเสียง ถอ ยคำนำ้ เสยี งควรกระตุนใหผเู รียนสนใจ
๓. การเคลอื่ นไหว ขณะสอน ครคู วรเปลี่ยนจุดน่ัง และจุดยืนของตน ภาพเคล่อื นไหวยอมมีชีวติ มากกวา
และนาสนใจกวา
๔. การเนน จุดสำคัญ ตอ งใชล ลี า นำ้ เสยี ง และการเวนระยะการพูดหรือการอธบิ าย

๕. ทกั ษะการใชค ำถาม
การถามและการตอบเปนลักษณะการพูดเพ่อื คนหาและชแี้ จงส่ิงที่ตองการรูหรือใชเ พ่ือทบทวนสง่ิ ท่รี ู

เชน ครซู ักคำถามนักเรียนใหตอบคำถามเกีย่ วกบั เน้ือหาทเี่ รียนไป นกั เรยี นถามขอสงสัยในการเรยี น เปน ตน
นอกจากนย้ี งั อาจใชในสถานการณอ ื่น ๆ ไดอีก เชน การถามตอบในการสัมภาษณ การถามตอบในการ
ประชุม การถามตอบในแบบทดสอบ ฯลฯ

คำถามเปนสิ่งสำคัญในการสอน โดยเฉพาะการใชค ำถามเพื่อใหน กั เรียนแสดงความคิดเห็น
ครูตองตั้งวัตถปุ ระสงคในการถาม ไมค วรเปน คำถามที่อธิบาย แตควรเปนคำถามที่เนนวิเคราะห

20

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

ประเภทคำถาม
๑. คำถามท่ใี ชความคิดพน้ื ฐาน เปน คำถามงา ย ๆ ไมต อ งคดิ ลึกซ้งึ

๒. คำถามทขี่ ยายความคดิ เมื่อใหเด็กมองสิง่ ท่ีเรยี นอยูแ ละขยายความในสิ่งทนี่ ำไปใชใ นชวี ติ ประจำวัน
ได คำถามประเภทไดแก การคาดคะเน เปนคำถามเชงิ สมมุติฐาน คาดการณ ซ่ึงคำตอบยอมเปน ไปได
หลายอยา ง
เทคนิคการใชค ำถาม
- ถามดว ยความสนใจ
- ถามอยางกลมกลนื
- ถามโดยใชภ าษาทพี่ ูดเขาใจงาย
การใหน ักเรียนมีโอกาสตอบหลายคนในการสอน
- การเลอื กถาม ควรถามผเู รยี นทีอ่ อ นเพื่อกระตนุ ใหผ ูเรียนเขา ใจดงั นี้
- การเสริมกำลังใจ หรือใหผลยอนกลบั ควรใหค ำชมเชยกบั เดก็ ที่ตอบคำถาม
- การใชคำถามหลายๆประเภทในการสอนแตละครง้ั
- การใชกิรยิ าทาทางเสยี งในการประกอบคำถาม
- การใชค ำถามเชิงรกุ การใชค ำถามตอเนื่องอีก เพ่ือใหผูเรยี นไดค วามรูและขยายความคดิ

****การใชค ำถามเพื่อการเรยี นรู

ในช้ันเรียน ครมู กั ใชคำถามหลายลักษณะ บางคำถามเปนคำถามท่ีนักเรยี นสามารถตอบไดท นั ที
บางคำถามนกั เรียนตองใชค วามคิดเสียกอนจึงจะตอบได ขณะเดยี วกันบางคำถามก็เปน คำถามช้ีนำใหคิดหรือ
สงั เกต ไมไดตองการคำตอบ ลักษณะเหลา นสี้ ามารถจดั กลุมคำถามได ๒ ลกั ษณะ ดังนี้

๑. คำถามระดับพนื้ ฐาน

เปนคำถามท่เี ขา ใจงา ย ตอบคำถามไดไมยากหรอื ปฏบิ ตั ติ ามคำถามไดท ันที ดงั นี้

๑) ถามใหส ังเกต

เปน คำถามทตี่ องการใหนกั เรยี นใชป ระสาทสัมผัส คอื ตา หู จมกู ลิ้น และผวิ กาย เพยี งสว นใด
สว นหนึง่ หรอื หลายสวน รวบรวมขอมลู ในการตอบคำถาม นักเรียนไมจ ำเปน ตอ งมีความรูห รือประสบการณ
เดิมในเรอื่ งนั้น ดงั น้ัน ก็จะปฏิบัติตามคำส่งั แลวตอบคำถามตามส่งิ ท่ีไดส ัมผัส เชน

“เหน็ อะไรในภาพบา ง” “ชิมแลวรูส กึ เปนยังไง”

21

วชิ าภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

๒) ถามความรูสกึ นึกคดิ

เปนคำถามเก่ียวกับคามรสู กึ หรือความคดิ เห็นตอสิง่ ท่ีไดพบเห็นหรือรบั รู คำตอบของแตล ะคนอาจไม
เหมือนกนั ดงั น้นั นักเรยี นจะมีความสบายใจทจ่ี ะตอบ เชน

“ใครชอบนิทานเรอ่ื งนีบ้ าง” “ภาพนจ้ี ะใชส ีไหนมาระบายด”ี

๓) ถามเพื่อเรา ความสนใจ

เปนคำถามที่ไมต องการคำตอบอยา งจริงจัง ใชเ นนเรื่องทค่ี รพู ูด และดึงความสนใจของนักเรยี น
“เด๋ยี วเรามาดกู ันวา เรื่องราวตอไปจะเปน ยงั ไง”
“ลองเดาดูนะวาในถึงน้จี ะมีอะไร”

๔) ถามใหท วนความจำ

เปน คำถามท่ีใชตรวจสอบประสบการณเ ดิมเกยี่ วกับความรู ความเขาใจในพ้นื ฐานของเร่ืองท่จี ะเรียน
ตอ ไป

“ไหนใครยงั จำเร่ืองการบวกคราวทแ่ี ลว ไดบา ง”

“ใครพอจะรูบา งวา รปู ทค่ี รถู ือนี้คอื รูปตวั ละครในวรรณคดเี ร่อื งอะไร”

๒. คำถามระดับสูง

เปนรูปแบบคำถามทีต่ องการใหน ักเรยี นไดเกดิ การคดิ หรอื ใชเ พือ่ การวดั และประเมินการเรียนของ
นักเรยี น ซง่ึ รปู แบบคำถามมีหลายลักษณะ ในที่น้จี ะยกตัวอยา งการใชค ำถามในแตล ะรูปแบบ
ในการวดั การเรยี นรทู างเชาวนปญ ญา ทเี่ รียกวา พทุ ธิพิสัย ตามทฤษฎีของเบนจามนิ บลูม และของ
เดวิท คราธโว มีลำดบั ข้นั ดงั นี้

๑) ถามเพื่อใหจำ
๒) ถามเพ่อื ใหเขา ใจ
๓) ถามเพ่ือนำไปใช
๔) ถามเพอ่ื ใหวเิ คราะห
๕) ถามเพอื่ ใหประเมนิ คา
๖) ถามเพอื่ ใหคดิ สรางสรรค

22

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

๖. ทกั ษะ การใชอปุ กรณก ารสอน ประโยชนของอปุ กรณก ารสอน
- เพือ่ กระตุน ใหผูเรยี นเกิดความสนใจในการเรยี น
- เพื่อใหโอกาสแกผ ูเรยี นไดม สี ว นรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน
- ทำใหผ ูเรียนเกิดแนวคิด
- ทำใหเกดิ ทักษะการศกึ ษาหาความรู
- ทำใหผูเรียนสามารถจดจำเรอื่ งราวตา ง ๆ ไดน าน
- ชว ยเพมิ่ พนู ประสบการณเ ทคนิคการใชอุปกรณ

๗. ทกั ษะการเสรมิ กำลังใจ ประเภทการเสริมกำลังใจ
๗.๑ ความตอ งการภายใน เชน ความพอใจ
๗.๒ การเสริมกำลังใจภายนอก เชน การชมเชย การใหรางวลั ไดแ ก

– การเสริมกำลังใจโดยใหนักเรยี นมีสว นรว มในการชมเชย เชน ตบมอื
– การเสรมิ กำลังไวโดยการใหรางวลั
– โดยการใหผ เู รียนเหน็ ความตองการของตนเอง

๘. ทกั ษะการสรุปบทเรยี น
– เปนการสอนทีผ่ ูสอนพยายามใหนักเรยี นรวบรวมความคดิ ความเขา ใจของตนจากการเรียนรูทผี่ านมา
วา ไดสาระสำคัญหลกั เกณฑ ขอเทจ็ จรงิ
– การสรปุ บทเรียนเปน ส่งิ ที่ตองทำคกู ับการสอน

ตวั อยาง ความลม เหลวในการสอ่ื สารของครู
- ครูไมบอกจุดประสงคในการเรียนการสอนใหผูเรยี นทราบกอนลงมือสอน ทำใหผูเรียนขาดทิศทางและ
เปา หมายทชี่ ดั เจนในการเรยี นรูเนอ้ื หาบทเรยี น
- ครูไมคำนึงถงึ ขอจำกดั หรือขีดความสามารถของผเู รียนแตละคน จึงใชวธิ สี อนแบบเดียวกัน ทำใหผูเ รียน
บางคนเรียนรไู มทันเพ่ือน
- ครไู มส นใจท่ีจะจัดบรรยากาศการเรียนการสอน ใหเอ้อื ตอการเรียนรูอยา งมี ความหมายสำหรับผูเ รียน
ไมส รา งความพรอมใหกับผเู รียน
- ครไู มห าวิธีปอ งกันและขจดั ปญหาส่ิงรบกวนตาง ๆ
- ครบู างคนอาจใชภาษาไมเหมาะกับระดบั หรือวยั ของผูเ รียน

23

วิชาภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

สรปุ
ภาษาเพ่ือการส่อื สารสำหรับครนู นั้ มที ั้งภาษาท่เี ปนวัจนภาษา และอวจั นภาษา ซ่งึ วัจนภาษาก็คือ

ภาษาที่ใชส ่อื สารดวยถอยคำอาจเปน คำพูดหรือตวั อักษรก็ได เปน การสื่อสารผานการพดู หรือเขียน ผานทาง
ทกั ษะ การสื่อสารทั้ง ๔ คอื ฟง พูด อา น เขียน สวนอวจั นภาษานัน้ จะเปน ภาษาท่ี ไมใชถอยคำหรือตัวอักษร
อาจสือ่ สารกันดว ย สีหนา ทาทาง แววตา นำ้ เสียง ผานทางบคุ ลกิ และการวางตวั ของครู ซ่งึ ทง้ั สองภาษาน้ี
ครูจะตอง ใชใ หถูกตอง เหมาะสม ตามสถานการณและวยั ของผเู รียน

24

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

กิจกรรมทายบท (๑)

การใชภาษาในการส่อื สาร
๑. แตง ประโยคจากคำท่ีกำหนด ใหม คี วามหมายถูกตอ ง
๑) จอ ง..........................................................................................................................................

เพง .........................................................................................................................................
๒) อนุมตั .ิ .....................................................................................................................................

อนญุ าต...................................................................................................................................
๓) ขัดขวาง...................................................................................................................................

กีดขวาง.................................................................................................................................
๔. ทรดุ โทรม...............................................................................................................................

เส่อื มโทรม.............................................................................................................................
๕. เพ่มิ เตมิ ...................................................................................................................................

เพมิ่ พนู ...................................................................................................................................

๒. ใชคำใหเ ห็นภาพ
ตวั อยาง เกลยี ด - เกลียดเขา กระดูกดำ : ฉนั เกลยี ดตุกแกเขา กระดกู ดำ
๑. เบา...............................................................................................................................................................
๒. สวย...............................................................................................................................................................
๓. แข็ง..............................................................................................................................................................
๔. ไกล..............................................................................................................................................................
๕. มืด...............................................................................................................................................................

25

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

กจิ กรรมทายบท (๒)

ยกตัวอยา งคำถามในแตละลกั ษณะตอไปน้ี ใหม ีเน้ือหาตามสาขาวิชาทีน่ กั ศึกษาเรียนมา

๑. คำถามระดบั พืน้ ฐาน
๑. ถามใหส งั เกต

..............................................................................................................................................................................
๒. ถามความรสู กึ นกึ คิด

..............................................................................................................................................................................
๓. ถามเพื่อเรา ความสนใจ

..............................................................................................................................................................................
๔. ถามใหท บทวนความจำ

..............................................................................................................................................................................
๒. คำถามระดับสงู
๑. ถามเพือ่ ใหจ ำ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๒. ถามเพือ่ ใหเขา ใจ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๓. ถามเพอ่ื นำไปใช
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๔. ถามเพ่ือใหวเิ คราะห
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๕. ถามเพอ่ื ใหป ระเมินคา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๖. ถามเพ่ือใหค ิดสรางสรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

26

วิชาภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

บทท่ี ๓ เทคนคิ การฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย

ความหมายของการฟง
หมายถึง การแปลความหมายของเสยี งท่ีไดยนิ โดยใชสมาธหิ รือความตง้ั ใจอยา งจริงจังจนเกดิ ความ

เขา ใจในส่งิ ที่ไดยินนั้น เพราะการฟงเปน ทักษะการรบั เขาตามหลกั ของภาษาศลิ ป

การพฒั นาทักษะการฟง
ทกั ษะการฟงเปน ทักษะสำคัญทจ่ี ำเปน ตองเรียนรไู มยงิ่ หยอนไปกวา ทักษะการสื่อสารดานอื่น ๆ เชน

ทกั ษะการพดู อาน เขยี น ฯลฯ ทักษะการฟงท่ีดนี ำมาซึ่งความสำเรจ็ ในชีวติ เนื่องจากเปนพ้นื ฐานสำคัญของ
ทักษะการเขา สงั คม เพราะจะสามารถลดความเขา ใจผดิ ความขัดแยงในการปฏสิ มั พันธกับคน นอกจากนี้
การพฒั นาทกั ษะการฟง สง ผลตอ การพฒั นาในดานสตปิ ญ ญา ในแงของการฝกใชค วามคิด การจับประเด็น
ฝก ความจำ และฝกฝนการจดจอแนว แนกบั ส่งิ ใดสงิ่ หน่ึงทตี่ องการเรยี นรูไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ

แตท ี่ผานมาพบวา คนในสังคมไทยจำนวนมาก มองวาทกั ษะการฟงเปน เรอ่ื งทส่ี ามารถพฒั นาข้ึนมาได
เองตามธรรมชาติจึงไมตองดนิ้ รนฝกฝนมากเทากบั ทักษะการสอ่ื สารดานอืน่ ๆ จึงมักละเลยทจี่ ะฝก ทักษะดา น
การฟงน้ีใหกบั เด็กไปอยางนา เสยี ดาย เมอ่ื เทียบกับทักษะในดานการพูด อาน เขยี น ท่ีครูใหน้ำหนักความสำคัญ
ในการฝกฝนผูเรยี น ทงั้ ท่ีความเปน จรงิ แลวทกั ษะการฟง เปน ทกั ษะท่จี ำเปน ตองไดรบั การฝกฝนเชนเดียวกนั
โดยควรฝกฝนต้งั แตวยั เยาว เพื่อพัฒนาทักษะดงั กลา วใหเ ปน อุปนิสยั ประจำตัวทีจ่ ะกอใหเกิดประโยชนตอ ชีวติ
ครอบครัวและชวี ิตการทำงานของผเู รยี นตอไปในอนาคต

สอนเด็กใหเปน นักฟงทีด่ ไี ดอยา งไร

เร่ิมจากครูเปนนักฟงทีด่ ี นน่ั คอื ครูตองเรียนรูที่จะฟงเดก็ เมื่อเด็กตองการสือ่ สารหรอื อยากเลาเรือ่ ง
อะไรใหค รูฟง ครูไมควรแสดงความรำคาญไมอยากฟง หรือฟงแบบขอไปที โดยไมไ ดส นใจในส่ิงทเ่ี ดก็ พูดจริง ๆ
เปลี่ยนเรื่องพดู หรือคยุ เร่ืองอื่นแทรกขัดจังหวะ ฯลฯ รวมทั้งครูควรระวงั พฤติกรรมของตนในขณะสอื่ สารกับคน
อน่ื เชน ขณะคุยโทรศัพทขณะทค่ี รูคยุ กนั เอง ฯลฯซ่ึงจะสง ผลตอ การลอกเลียนแบบของเดก็ โดยปรยิ าย
นอกจากนี้ในการส่ือสารเร่อื งใด ๆ กบั เดก็ ครูไมควรคดิ เอาเองวาเด็กคงเขา ใจเหมือนอยา งทต่ี นเองเขาใจ แต
ควรส่อื สารออกไปอยางชัดเจนและมปี ระสทิ ธภิ าพมากที่สุดเพื่อใหมนั่ ใจวาเด็กนัน้ เขาใจในส่งิ ที่ตนพดู จริง ๆ
ดงั คำท่ีกลา ววา "Say what you mean, and mean what you say" นน่ั เอง

27

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

สอนใหอ ดทนในการฟง การฟง อยางมปี ระสทิ ธภิ าพน้นั เปน ส่งิ ทีส่ ามารถสอนและฝก ฝนกันได
แตพ น้ื ฐานสำคัญอันดับแรกสุดในการฝกฝนดังกลา วน้ัน คือ การฝกฝนความอดทนในการเปนผูฟงทดี่ ี ซ่ึงโดย
ธรรมชาตแิ ลวความอดทนรอคอยของเด็กในเรื่องใดเรื่องหน่ึงจะมีนอยกวาผูใหญ ดงั น้นั ครูจึงควรฝก ใหเ ด็ก
เรียนรทู จี่ ะเปนผฟู งดวยความอดทนโดยไมเ กิดความเบื่อหนายหรือถูกเรอื่ งอื่นดงึ ดูดความสนใจไปเสียกอน

ภาคปฏิบตั ิในการฝก ฝนน้นั ครูสามารถฝก เด็กไดโ ดยใชกจิ กรรมทีเ่ รยี กวา sit time ในการกำหนดใหมี
ชว งเวลาหนึง่ ในแตล ะวนั ใหเด็กไดต ้ังใจฟง ส่ิงท่คี รูสอน ฝกฟงเทปบทเรียนเทปนทิ าน หรือ หนงั สอื เสยี ง

สอนมารยาทการเปน ผฟู ง เปน หลักการสำคัญในการสอนใหเด็กเรยี นรูท่จี ะใหเ กียรตผิ พู ดู ซ่ึงเปนการ
ฝก ฝนใหเดก็ ไมเปนคนท่ีเยอหย่งิ หรอื เอาตนเองเปนศนู ยกลางคิดวา ความคดิ ของตนดีกวาจนไมยอมรับฟงผูใด
จนเปนเหตใุ หเ กดิ การปด กั้นการเรยี นรจู ากแหลง ตา ง ๆ ไปอยางนาเสียดาย รวมทั้งเปนการสรา งสัมพันธอันดี
ตอท้ังผูพดู และผูฟง ทำใหก ารสนทนานัน้ เปน ไปอยางสรา งสรรคและจบลงดวยดี

ในภาคปฏิบัตนิ นั้ ครูควรสอนใหเดก็ ใหเรียนรจู กั การมีมารยาทในการฟงดว ยการ
...สอนใหเ ด็กสบตาผูพ ดู เสมอไมเ ดินไปเดนิ มา ลกุ นง่ั หรือยายที่นั่งไปมา ว่งิ เลนไปมาในขณะที่กำลังฟง ผอู น่ื พดู
กบั ตน
...สอนใหเ ดก็ ไมพดู ขัดจังหวะหรอื พดู แทรกในขณะที่อกี ฝา ยยังพูดไมเสร็จโดยหากตองการถามอะไรใหจ ำหรือ
จดประเดน็ เอาไวก อน หรือหากกลวั ลืมจรงิ ๆ ใหยกมือข้นึ และกลาวขออนุญาตถามดวยนำ้ เสยี งสุภาพ สอนให
เด็กรจู ักจงั หวะของการ พดู /ฟง ถาม/ตอบ ในการสื่อสาร
...สอนใหเ ดก็ รจู กั เลือกฟงในส่ิงทสี่ รางสรรคเปน ประโยชน ไมฟงคนอ่นื นนิ ทากนั หรือพูดจาลามกหยาบโลนโดย
ใหขออนญุ าตหรือเดินหลบออกมาอยา งสุภาพ

สอนใหฟงอยางกระตอื รอื รน ไมเพยี งแตมีมารยาทในการเปนผูฟง ท่ีดีดวยทา ทตี ัง้ ใจฟงอยางจดจอ
แตก ารเปนผูฟงท่ีมีประสทิ ธภิ าพนั้นตองมีลักษณะแหง ความกระตือรือรนอยูดวย หรือท่ีเรยี กวา Active
Listeningไมใชแตแสดงทาทางภายนอกวากำลังฟง อยู แตใ นสมองตองมีการทำงานถกเถียงและคดิ ไปดวยอยู
ตลอดเวลา จะฟงแบบใจลอยคดิ ถึงเร่ืองอน่ื ไมได

โดยภาคปฏิบัติ ครูควรสอนใหเด็กตอบสนองการฟงทกุ ครงั้ เชน เมื่อครูเรยี กใหเ ด็กขานรับทนั ที
วา "ผมกำลังมาครับ" หรือเวลาครสู อนอะไรใหเ ดก็ แสดงทาทีต้งั ใจฟงและตอบรบั "ครับ/คะ คุณครู"
เปนตน เพอ่ื รวู า เด็กกำลังฟงอยู รวมทัง้ กระตนุ ใหเดก็ ตั้งคำถามยอนกลับมาทุกคร้งั หลังจากที่ครูพูดคุยสนทนา
กบั เดก็ เสรจ็ หรอื พูดทวนสง่ิ ท่ไี ดยินมาซำ้ อกี ครั้งเพื่อเปนการยำ้ วา สง่ิ ที่เดก็ เขาใจนน้ั ตรงกนั กับส่ิงทคี่ รูพูดออกไป
หรือไม เปน ตน

28

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

สอนจบั ประเดน็ โดยตัง้ คำถามเพอื่ วดั ความสามารถในการฟง ความสามารถในการจับประเด็นเปน
ตัวชว้ี าการสือ่ สารท่เี กดิ ขึ้นนน้ั เปนไปอยา งมีประสิทธิภาพหรอื ไม ผูสงสารสามารถบรรลุเปา หมายในการส่ือสาร
ทต่ี องการไปยังผรู ับสารหรอื ไม ในภาคปฏบิ ตั หิ ลงั จากจบการพดู คยุ กนั แลวทกุ ครั้ง ครูควรตั้งคำถามทวนซำ้ กับ
เด็ก เพ่ือทดสอบวา เด็กสามารถจบั ประเดน็ ในเนอ้ื หาท่ีฟง ไปไดหรือไม ตัวอยางคำถามเชน ในรปู แบบ
ของ ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร เมื่อไร เวลาใด และเดก็ จะตอ งทำอะไรตอ ไป เปนตน รวมท้ังสามารถตั้ง
คำถามเพ่ือใหเ ด็กไดคิดตอยอด เชน ถามความคดิ เห็นของเดก็ เกย่ี วกับเร่ืองที่ไดฟง "หนูคิดวา เรอ่ื งน้ใี ครผิด?" ...
"หนูคดิ วา จะสามารถแกป ญ หาน้ีไดอ ยางไร?" อนั กอ ใหเ กิดประโยชนในการฝกฝนทักษะการคิดใหเด็กไดอกี ทาง
รวมทง้ั ครูสามารถรจู ักเด็กเพ่ิมข้ึน ผา นทางแนวคำตอบที่ไดรับดว ยเชน กัน

การพัฒนาทักษะการฟงนน้ั เปน ทักษะท่ีตองเรยี นรู ฝก ฝนต้ังแตวัยเยาว สรา งใหเ ปน นสิ ยั โดยครเู ปน ผูมี
บทบาทสำคัญในการพัฒนาทักษะการฟงควบคูกบั ทักษะการอา น ทักษะการเขียน และทักษะการพดู อยางสอด
รับกนั อนั เปนพื้นฐานสำคญั ในการเรียนรขู องเดก็

กิจกรรมเสนอแนะในการฟง
๑. ฝกสมาธใิ นการฟง ดงั น้ี
๑.๑. นกั ตามคำสง่ั ของครู โดยครแู สดงทาทางประกอบ
๑.๒ เลนเกาอ้ีดนตรี
๑.๓ เลนทายเสยี งเพ่อื น
๑.๔ เลน ปริศนาคำทาย
๑.๕ ใหนักเรียนแสดงบทบาทตามเร่ืองท่เี ลาใหฟ ง
๒. ฝก มารยาทการฟง ดงั น้ี
๒.๑ สรางสถานการณใหนักเรยี นฝก มารยาทในหองเรียนหรอื ในหอ งประชุม
๒.๒ ใหน กั เรยี นเขยี นขอ ควรปฏบิ ัติของผูฟ ง ทดี่ ี
๒.๓ ประกวดมารยาทการฟง ทด่ี ใี นหอ งเรยี น

29

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

๓. ฝกจบั ใจความสำคัญ ดงั นี้
๓.๑ บอกใจความสำคญั จากคำอธบิ ายของครู
๓.๒ เลาใจความจากเรื่องที่ครหู รอื เพื่อนอานใหฟง
๓.๓ เลาลำดับเรอื่ งราวการฟงบทละครวทิ ยุ
๓.๔ บรรยายเรอื่ งราวจากท่ดี โู ทรทัศนห รือภาพยนตร
๓.๕ เลน เกมเลา ตอ ๆ กนั
๓.๖ เกบ็ ใจความสำคัญจากการฟงขา ว
๓.๗ ฟง การโฆษณาหรือหาเสียง แลว สรปุ เปน รายงาน
๓.๘ ฟง เรือ่ งแลว แสดงบทบาทสมมุติ

๔. ฝกใหมีวิจารณญาณในการฟง
๔.๑ นำบทความจากหนงั สือพิมพม าอานใหนกั เรียนฟง แลวใหน ักเรยี นชวยกันแยกแยะ

ขอเท็จจรงิ และความคิดเห็นออกจากกนั
๔.๒ นำขอ ความจากหนังสือพิมพห ลาย ๆ ฉบบั มาเปรยี บเทยี บขอ เทจ็ จรงิ ในหวั ขอ ขา ว

เดยี วกัน
๔.๓ อา นเร่อื งราว เร่ืองสนั้ นวนิยายหรอื วรรณคดี ครง้ั ละหนึ่งเรื่องใหนักเรียนฟง และให

วจิ ารณล ักษณะเร่ือง ช่ือเรอ่ื ง ลกั ษณะนิสัยของตวั ละคร ขอ คดิ ท่ีไดจากการฟง และอื่น ๆ

30

วิชาภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

เทคนคิ ที่จะเปน นกั พดู ทีด่ ี
๑. ศึกษาผูฟง
๒. รูจกั กาลเทศนะ
๓. จดั เน้ือเรอื่ งทจ่ี ะพูด
๔. เตรยี มตวั ในการพูดอยางดี

หลกั การสอนพดู
๑. การสอนพดู ตองศึกษาความพรอ มของนักเรียน
๒. การสอนพูดตองศึกษาภมู ิหลงั ของนักเรียน
๓. การสอนพดู ตอ งสรา งบรรยากาศท่ีมีอิสระ
๔. การสอนพดู ควรคำนงึ ถงึ ลกั ษณะเฉพาะตัวของบคุ คล
๕. การสอนพูดควรฝกทักษะใหก ับนักเรยี นทุกคน

เทคนิคการอานที่ดี
ข้นั แรก การอา นออก อานได หรืออานออกเสียงไดถ ูกตอ ง
ขน้ั ท่ีสอง การอานแลวเขาใจ ความหมายของคำ วลี ประโยค สรปุ ความได
ขัน้ ทสี่ าม การอานแลวรจู กั ใชความคดิ วิเคราะห วิจารณและออกความเหน็ ในทางทข่ี ัดแยงหรือเห็น

ดว ยกบั ผเู ขยี นอยา งมีเหตุผล
ขนั้ สุดทาย คือการอานเพอ่ื นำไปใช ประยุกตใชในเชิงสรา งสรรค ดงั น้นั ผูทอ่ี า นไดแ ละอานเปนจะตอง

ใชก ระบวนการทง้ั หมดในการอานท่ีกอใหเกิดประโยชนส ูงสดุ โดยการถายทอดความหมายจากตัวอักษรออกมา
เปนความคดิ และจากการคิดทีไ่ ดจ ากการอา นผสมผสานกับประสบการณเดมิ และสามารถความคดิ นน้ั ไปใช
ประโยชนต อ ไป
หลักการสอนอาน

๑. การสอนอานตองคำนงึ ถงึ ความพรอมของเด็ก
๒. การสอนอานตอ วทราบความตอ งการของเดก็ เปน รายบคุ คล
๓. การสอนอา นตอ งพิจารณาถงึ ประสบการณของเด็ก
๔. การสอนอานตองวเิ คราะหความสามารถในการรับรูของเด็ก

31

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

เทคนิคการเขียน

๑. คดิ กอนเขียน
๒. เขยี นใหอ านงา ย
๓. เขยี นใหตรงตามเปา หมาย
๔. ใชค ำตาง ๆ อยางเหมาะสม
๕. เขยี นประโยคใหส้นั แตไดใจความฃ
๖. แสดงความคิดเห็นหรือภูมปิ ญ ญาใหปรากฏ
๗. รจู ักปรับปรงุ แกไขขอ เขยี นใหดยู งิ่ ขน้ึ

หลักการสอนเขียน
๑.การจดั กจิ กรรมเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเขียน ควรใชสื่อประกอบการสอนและประเมนิ ผลเปน หลักสำคญั
๒. กำหนดจุดประสงใ นการเขียนแตล ะครั้งใหช ดั เจน
๓. การสอนโดยใหเขาใจความหมายของคำ
๔. การใชส ่ิงเราและแรงบันดาลใจ
๕. การทำใหเกิดความภาคภูมิใจในผลงาน

32

วิชาภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

บทที่ ๔ ศิลปะดวยถอยคำ สำนวน นำ้ เสยี ง สีหนา ทา ทางเพือ่ การสื่อสาร

คำในภาษาไทยมใี ชอยา งคอนขา งฟุมเฟอย เพราะมคี ำภาษาไทยเดมิ มากมาย นอกจากนี้
ยงั ยืมภาษาจากตางประเทศมาใชบ า ง สรา งคำข้ึนใหมดว ยวิธีการตาง ๆ บาง และมคี ำหลายคำทม่ี ี ความหมาย
เพียงความหมายเดยี ว หรือมีความหมายท่ีใกลเคยี งกนั มาก จงึ จำเปน ตอ งเลือกใชให เหมาะสมและถูกตอง
ดังน้นั ผูใ ชภ าษาไทยจงึ ควรมีความรเู ก่ยี วกบั ความหมายของคำ ระดับของคำ หลกั การใชคำ ขอควร
ระมดั ระวงั ในการใชค ำ และขอแนะนำในการใชค ำ

ความหมายของคำ

ความหมายของคำตามปกติ จะมีความหมายอยางไรนนั้ ยอมข้ึนอยูกับตำแหนง หรือหนา ที่ของคำใน
ขอ ความเรียบเรยี งขนึ้ ข้นึ อยูกบั ความเขา ใจ หรอื ข้นึ อยูกบั การแปลความหมายของ ผใู ช เชน
ขอ ความท่วี า “รำไมดีโทษปโ ทษกลอง” กับ “รำไมด ีหมูไมกนิ ” คำวา “รำ” มีความหมายแตกตา งกนั
“นายดำขายหมูตาย” ความหมายอาจหมายถงึ หมูตายหรอื นายดำตายก็ได ในเรื่อง ความหมายของคำ
จงึ ตอ งคำนึงในสิง่ ตอไปน้ี

๑. ความหมายโดยตรง ไดแก คำที่มีความหมายตรงกบั พจนานกุ รม เชน คำวา แกม หมายถงึ เนอ้ื หนาทั้ง
สองขางใตตาลงมา “ตัด” หมายถึง บน่ั , รอน, ทอน, ทำใหขาด เปนตน

๒. ความหมายโดยนัย ไดแก คำทมี่ ีความหมายท่ีชกั นำความคิดเกย่ี วโยงไปถึงสิ่งอ่ืนซงึ่ เกย่ี วขอ งกบั
ความรูสกึ ความเคยชนิ กาลเทศะ บุคคล และความสุภาพของภาษา เชน “ลิง” หมายถึง ซุกซน
“หม”ู หมายถงึ งาย สะดวก เปนตน

๓. คำ ๆ เดียว มีความหมายหลายอยา ง เราจะสามารถกำหนดความหมายไดแนช ดั ก็เม่อื นำคำนั้นไปเรียง
เขาประโยค ถอยคำแวดลอ มจะเปนเครื่องกำหนดความหมายของคำ

๔. คำบางคำมีความหมายใกลเคยี งกัน บางครง้ั ใชแทนกันได บางครั้งใชแ ทนกนั ไมได เชน คำวา
ขัดของ กบั ติดขัด

เขามาเรียนหนงั สือสายเพราะการจราจรตดิ ขัด - ใชได

เขามาเรียนหนงั สือสายเพราะการจราจรขัดของ - ใชไมได

เธอไปเทีย่ วไมไ ดเ พราะตดิ ขัดเร่ืองเงนิ - ใชไ มได

เธอไปเท่ียวไมไดเพราะขดั ของเรื่องเงนิ - ใชได

33

วชิ าภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

ระดับของคำ

ระดบั ของคำ คำในภาษาไทยมรี ะดบั ไมเทา กัน เราจะแบงคำไปใชในวาระตางกันตามความ
เหมาะสม เชน คำวา กนิ ขา แก หวั เปนคำในระดบั หน่ึง คำวา รับประทาน ผม คุณ ศีรษะ
เปนอีกระดบั หน่งึ เปน ตน ถาแบง คำตามทน่ี ำไปใช แบง ได ๓ ระดับ

๑. คำระดับปาก ไดแก คำทน่ี ำไปใชกนั อยา งไมเ ปนทางการ ไมเ ปนแบบแผนสวนใหญ จะใชใ นการพูด
หรอื เขยี นอยา งไมเปนทางการ เชน การสนทนาหรือเขยี นอยา งไมเ ปน ทางการ เชน การสนทนาหรอื เขยี นจด
หมายถงึ บคุ คลที่คนุ เคยสนทิ สนมกนั บทสนทนาในนวนิยาย ซึ่งตองการ ความสมจริง เปนตน
คำระดับนี้ไดแก

๑.๑ คำภาษาถนิ่ ไดแ ก ภาษาทใี่ ชพ ูดในทองถนิ่ ตาง ๆ เชน ถนิ่ เหนอื ถน่ิ อสี าน ถ่ินใต

๑.๒ คำภาษาตลาดไดแก ภาษาทใี่ ชพดู กันท่ัวไป เชน กนิ นำ้ ในหลวง สมเด็จ โรงพัก ผวั เมยี เปน ตน
๑.๓ คำแสลง เปน คำที่นยิ มใชกันเปน ครั้งคราวแลวเลกิ ใชกนั ไป มนี อยคำทจี่ ะอยูคงทน เชน มนั ส
เนยี้ บ เอา ะเอาะ เจงเปง ซาส ปง เปน ตน

๑.๔ คำตำ่ ไดแ ก พวกหยาบคาย พวกสบถสาบาน เชน ซังแต (คกุ ) เชง กะเดะ(สวยมาก)
ฟาด (รบั ประทาน) เทงทึง (ตาย) เปน ตน

๒. คำระดบั ภาษาก่งึ แบบแผน คอื คำท่ีมลี กั ษณะก้ำกึ่งกันระหวางภาษาปากและภาษา แบบแผน เหมาะ
สำหรับงานเขียนที่เปน ประกาศ แจงความสวนบุคคล หรอื หางรา นภาษาที่ใชใ น หนงั สือพิมพตา ง ๆ จดหมาย
ธุรกจิ ภาษาในนวนยิ าย เรอื่ งส้ันสารคดี บทละครภาษาในวารสาร นิตยสารท่ัว ๆ ไป เชน คำวา กนิ เหลา
คณุ หมอ น่งั รถทัวร ลูก เมีย เปน ตน

๓. คำระดบั ภาษาแบบแผน คือ คำท่ใี ชเปนทางการเครงครดั ถกู แบบแผน ประณตี ยึดถือ เปนแบบอยา งได
มกั ใชเ ปนภาษาเขยี นมากกวา ภาษาพดู เหมาะสำหรบั งานเขียนเรียงความ วชิ าการ ตำรา แบบเรียน เอกสาร
ทางราชการ รายงาน หนงั สือราชการ ประกาศ คําสง่ั ระเบียบ กฎหมาย หรือใชพ ูดที่เปนทางการ เชน การ
แสดงปาฐกถา การกลา วคําปราศรยั การพดู รายงาน เปนตน

การแบงคำออกเปน ๓ ระดับกวาง ๆ เพ่ือใหเ หน็ ความแตกตา งในการนำคำไปใชและ เพื่อเปนแนวทาง
ในเรื่องการใชค ำ จึงจำแนกใหเห็นความแตกตางระหวางคำแตละจำพวก ดงั ตอไปน้ี

คำราชาศพั ท เปน คําทใี่ ชก บั พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ พระบรม
วงศานุวงศ รวมทง้ั คําทใ่ี ชใ หเ หมาะสมกบั ฐานะของบุคคล เชน พระภิกษุ ขาราชการ และ สภุ าพชน

34

วชิ าภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

คำสภุ าพ เปนคำท่ีใชใ นหมูสุภาพ หรือในราชการ ไมหยาบคาย ท้ังทางตรงและ ทางออม
ถือกนั วาเปนคําทีน่ ุมนวล ฟง แลว เสนาะหู อา นแลวสนทิ ใจ เชน รบั ประทาน อาหาร ศีรษะ สถานตี ำรวจ
นายแพทย สุรา ผกั ทอดยอด เปน ตน

คำปากหรอื คำตลาด เปน คำทพี่ ดู กนั ในหมูคนธรรมดาสามัญทว่ั ๆ ไป โดยไมคำนงึ ถงึ ความถูกตอ ง
เหมาะสม เชน กนิ หัว โรงพกั หมอ เหลา ผักบงุ เปนตน

คำแสลง เปน คำท่ีใชกนั ในหมูคนกลุมใดหลมุ หนึ่ง และนยิ มใชก นั เปนคร้ังคราว ใชอยู ขณะหนึง่ แลว
ก็เลกิ ใชกันไป มีถอยคาํ ท่ีจะอยูคงทน เปน คำที่ไมส ภุ าพนัก ไมควรนำมาใชพ ูดหรือ เขยี นอยางเปน ทางการโดย
เด็ดขาด เชน ซาส จยุ มันส เจง สะบมึ ส ช่อื บื้อ เบีย้ ว เปนตน

คำหยาบหรอื คำต่ำ เปน คำที่ไมมวี ฒั นธรรมไมควรนำมาใชอ ยางเดด็ ขาด เพราะจะถกู ตำหนิวา เปน
คนไมมีการศึกษา ไดแ ก คำาดา คำสบถสาบานตาง ๆ

คำเฉพาะวชิ าหรือศัพทบ ัญญัติ เปนคำที่คิดข้นึ ใชในวชิ าการแขนงใดแขนงหน่ึง โดยเฉพาะไมเ ปนท่ี
เขาใจโดยทั่วไป เวน แตภ ายหลงั จะแพรไปในวงการอ่นื เชน ระเบียนสงั กดั เจต คติ ผลสัมฤทธิ์ งบดุล

คำเฉพาะอาชีพ เปนคาํ ทใี่ ชก นั ในหมูคนอาชีพใดอาชีพหนึ่ง และเขา ใจกนั เฉพาะในหมู ของตน เชน
แพทย (ขึ้นวอรด ผปู ว ย โอ.พี.ดี) ชา ง (ออก ตแู มงดา) ทนายความ (ภาคเสธ พูดฉวิ เฉียด)

คำหนังสือพมิ พ เปนคำท่ีใชในวงหนังสือพิมพ มักเปนคำแปลก ๆ ท่สี ะดุดตาและเรา ความสนใจ ซึง่
ผูอานจะเขาใจดว ยความเคยชิน เชน ไขโ ปง จ.ย.ย. สงั หารโหด บินดวน เทกระจาด สานกระสนุ เปน ตน

คำโฆษณา เปน คําทีใ่ ชในการโฆษณาสนิ คา ตา ง ๆ ซึ่งผคู ดิ ขึ้น ไมไดคำนึงถึงระเบยี บ แบบแผนทาง
ภาษา นอกจากจะใหผ ฟู ง ผูอานสะดดุ หสู ะดุดตา ตนื่ เตนเรา ใจ เพอ่ื ใหติดตามสนิ คา ของคนตอไป เชน เลก็ ดรี ส
โต ความสขุ ทีค่ ณุ ดมื่ ได กลิ่นสะอาด เทแตกนิ ไมได เปนตน

คาํ ภาษาถ่ิน เปน คาํ ทีใ่ ชกนั ในเฉพาะถ่นิ เขา ใจกันเฉพาะคนในทอ งถิ่นนั้น ๆ ไมเ ปนที่ เขาใจกัน
โดยทวั่ ไป เชน คําภาษาถ่นิ เหนือ คาํ ภาษาถิน่ อีสาน คําภาษาถิน่ ใต เปนตน

คําโบราณ เปน คําทใ่ี ชใ นสมยั กอน ปจ จบุ นั เลิกใชแลว หรอื ไมไดใ ชกันโดยท่ัวไป เชน ลางที
(บางที) แล (และ) บาญชี (บญั ชี)

คำภาษาตางประเทศในภาษาไทยมีคาํ ภาษาตางประเทศเขา มาปะปนอยูมาก การเขียน
เรียงความและงานทางวชิ าการตองละเวน การเขยี นคําภาษาตางประเทศ ถาคําภาษาตางประเทศคําใด
ทบี่ ญั ญัติศัพทไวแลวก็ควรใชศพั ทบัญญัติ เชน ฮอลิเดย (วันหยดุ ) วคี เอ็นด (สดุ สัปดาห)
ยูนิฟอรม (เครื่องแบบ) เปนตน

35

วชิ าภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

ขอควรระวงั ในการใชคำ

สง่ิ ท่คี วรระวงั ในการใชค ำ มีขอระวังดังน้ี
๑. การใชค ำทมี่ ีความหมายขัดแยงกันในประโยคเดียวกนั ซ่ึงอาจจะขดั แยงกนั ในการแสดงภาพ แสดงพจน
แสดงอารมณ เชน
“รถคอย ๆ เคลือ่ นไปอยา งรวดเร็ว”
“คนรา ย รัวสานกระสนุ ใสเจาหนา ท่หี นงึ่ นัด”

๒. การใชคำผิดหนาที่ เชน เอาคำขยายไปใชก ริยา หรือเอาคำกริยาไปใชเปน คำขยาย เปนตน ตวั อยางเชน
“พอตกค่ำถนนก็จา ดว ยแสงไฟ” จาเปน คำขยาย เชน แสงจา สวา งจา แตน ำมาเปน คำกรยิ า
“ฉันเห็นชายหลงั คอม” คอมเปนคำกริยา หมายถึง นอ มลง กมลง จะนำมา ขยายไมไ ด

๓. การใชคำทม่ี เี สยี งคลา ยกนั แตความหมายตางกัน เชน คำวา ผลิ (แตกใบออน) ผลิต
(สะบัด กระพือ ทำใหห ลดุ )

๔. การใชคำขยายบางคำ คำขยาย จะใชไ ดกบั คำนามหรือกรยิ าบางคำเทานนั้ ถานำไปใช

ผดิ จะทำใหเ กิดขอบกพรองได เชน คำวา “หงอม” หมายถึง แกมากจะใชกบั คนแกมาก ๆ เทาน้นั

จะนำไปใชขยายกันอยา งอื่นไมไ ด เชน

“คณุ ยา ของเราแกหงอมแลว” (ใชไ ด)

“ขนุนลกู นแี้ กหงอมแลว” (ใชไมไ ด)

๕. การใชค ำทท่ี ำใหความหมายกำกวม การใชค ำบางคำหรือเรยี บเรยี งคำผดิ ตำแหนง อาจทำใหเ กิดความหมาย

กำกวมได เชน

“เขากำลังเรง ทำงานใหญ ไมยอมไปเทย่ี วไหนเลย” (กำกวม)

“เขากำลังเรงทำงานเปนการใหญ ไมยอมไปเทยี่ วไหนเลย” (ชดั เจน)

“ฉันไมร ูจะตอบแทนเธอยงั ไรดี” (กำกวม)

“ฉนั ไมรูจ ะตอบแทนบุญคุณเธออยางไรดี” (ชัดเจน)

๖. การเปลย่ี นคำ ในขอ ความเดียวกันเม่อื เลือกใชคำใดแลว ก็ควรใชน ้ันตอไปใหตลอดไมควรเปล่ียนคำ
โดยไมจำเปน เชน
“เราไปเยีย่ มคนเจ็บดวยกัน เมื่อไปถึงคนไขฟน แลว รสู ึกวาเขาเปนคนปวยที่มกี ำลังใจเขมแขง็ มาก”

36

วิชาภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

๗. การใชคำคู คำเด่ยี ว คำคูคำเดยี่ วบางคำเราใชค ำคูกันบอ ย ๆ แตค ำคูคำเดยี่ วบางคำ
ความหมายจะแตกตางกัน เชน
“พลุง” (อาการท่นี ้ำเดือดควันพลงุ ขึน้ ไป)
“พลงุ พลาน” (ปนปว น วุน วาย ฟุง ซาน)
“คลาด” (แคลว เลือ่ น ผดิ พลาด)
“คลาดเคลื่อน” (ยังไมตรงกับขอเท็จจริง)

๘. การใชคำเปรียบเทียบ การเปรยี บเทียบตอ งระวงั ใชใ หเหมาะสม ถาใชไ มเ หมาะสม
จะทำใหฟง ดูขัดหูและเกิดขอบกพรองขึน้ ได เชน
“เธอใจดำราวกับนโิ กร” ไมควรใช ควรเปลีย่ นเปน “เธอใจดำราวอีกา”

ขอ แนะนำในการใชคำ

เพือ่ หลกี เลย่ี งขอผิดพลาดในการใชค ำ มีขอแนะนำในการใชคำ ดังน้ี

๑. เลอื กใชค ำจากพจนานุกรมหรือปทานกุ รม พจนุกรมและปทานกุ รม เปน หนงั สอื ท่ีรวบรวมคำตา ง ๆ

ในภาษาไทยไวม ากมายและจะบอกทง้ั ชนิดของคำ การออกเสียงพรอมทัง้ ความหมายของคำ เมอื่ ตองการจะใช

คำใดก็สามารถเปด หาไดจากพจนานกุ รมและปทานกุ รม

๒. คำท่เี ลอื กมาใชต อ งชดั เจน ไมกำกวม เพราะถาใชคำกำกวมอาจจะทำใหผ ูอานผฟู งไมเขาใจเกดิ

ความสงสัยหรือตคี วามผดิ ได เชน

“ขบั ชา ๆ อนั ตราย” (กำกวม)

“หากขับชา ๆ จะเกิดอนั ตราย” (ชดั เจน)

“โปรดขับชา ๆ เพราะจะเกิดอันตราย” (ชัดเจน)

๓. คำที่เลอื กมาใชค วรเปนคำท่ีมีความหมายถูกตองตรงตามความตองการของผใู ช เพราะคำใน

ภาษาไทยมคี ำท่ีมคี วามหมายใกลเ คียงกันเปน จำนวนมาก หากใชส ับสนจะทำใหการส่ือ

ความหมายคลาดเคลอ่ื นไป เชน จวน–เกือบ–ใกลๆ , โยน–ขวา ง–ปา–เหวีย่ ง, ทิ้ง- ตัด–ฟน–เฉือน–

สับ–ห่นั –บ่ัน–เชอื ด เปน ตน

๔. เลือกใชคำท่ีอยใู นความนยิ มขณะเขียน ไมควรใชค ำทันสมัย หรือคำภาษาถิ่นเพราะจำทำใหผูฟ ง

ผอู า น ไมเขาใจได

๕. เลอื กใชคำงาย ๆ อา นแลวเขา ใจงาย

37

วิชาภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

๖. เลือกใชค ำไทย ไมควรใชค ำทบั ศัพทและสำนวนภาษาตา งประเทศ เวน แตว า คำตา งประเทศ

เหลา นัน้ ไมมีคำไทยทีเ่ หมาะสมใชแทน ก็อาจใชภ าษาไทยทับศัพทคำตางประเทศไดใ นกรณีจำเปน อยางไรก็

ตามคำภาษาอังกฤษสวนใหญจ ะมคี ำไทยท่ใี ชแทนไดใ นความหมายเดียวกนั ดังตวั อยา ง

ฉนั ไมเกตเรื่องทค่ี ุณพูด ฉันไมเขา ใจเร่ืองทคี่ ุณพูด (ใชไ ด)

เธอมาเลทไป ๑๐ นาที เธอมาสายไป ๑๐ นาที (ใชได)

๗. เลอื กใชคำทม่ี ีความกระชับรัดกมุ ไมฟุมเฟอย คือ การเลือกทำ ใชคำเทา ทจี่ ำเปน

ใหไ ดค วามรู ความเขา ใจอยางชดั เจน ตวั อยางเชน

- ดฉิ นั มีความยินดีอยางมากที่นกั ศึกษาเห็นคุณคาภาษาไทย
- ดิฉนั ยินดีอยางมากทีน่ กั ศึกษาเห็นคุณคา ภาษาไทย (ใชได)
- สารวตั รทำการสอบสวนผูตองขงั
- สารวตั รสอบสวนผูต อ งขงั
(ใชได)

ถอ ยคำและการใชถอ ยคำ

ความหมายของถอยคำ
ถอ ยคำ หมายถงึ คำกลาว เสียงพดู และลายลักษณอ กั ษร ท่ีมนษุ ยใชสือ่ สารกันท้ัง ในดานกจิ ธุระ

และ ในดานกิจการอน่ื ๆ มีรูปลกั ษณต างกันไป ผูที่มคี วามรเู รอ่ื งถอยคำ รูจักถอ ยคำและเขา ใจ ความหมาย
ของถอ ยคำไดดี กจ็ ะสามารถเลือกใชถ อยคำมาใชใ นการสื่อสารไดอยา งมีประสิทธภิ าพ

การใชถอยคำ ใหมปี ระสิทธิผลมขี อควรคำนงึ ดังนี้
๑. การออกเสียงใหถ ูกตอง

หากออกเสียงไมถกู ตองอาจจะทำใหความหมายผิดไปได เชน เขาไมช อบปา (ปลา) หามยนื ทางฝา
(ขวา) ท่นี ่ีมีคูมากมาย (ครู) เปน ตน

๒. การเขียนใหถกู ตอง
หากเขยี นสะกดผดิ อาจจะทำใหความหมายผดิ ไปได เชน เมืองอทู องไมเคยเปนเมืองหนาดาน

(หนาดาน) เธอชว ยขลิบปลอกหมอนสีฟา ใหฉ นั หนอย (ขรบิ ) นกเปดนำ้ ใกลจะสูญพรรณแลว(พันธ)ุ เปนตน

๓. ใชคำใหถูกตอ งตามความหมาย
ถาใชค ำผดิ ความหมายก็จะผดิ ไป และคำบางคำอาจมคี วามหมายโดยตรง ความหมายโดยนยั มี

หลายความหมาย มีความหมายใกลเ คยี งกัน ควรคำนงึ ถึงบริบทและพจิ ารณากอ นใช เชน

38

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

• ขบวนการนีเ้ ปน ภยั แหง นักศกึ ษาทง้ั หมด (ควรใช ตอ )
• บนถนนราชดำเนนิ มรี ถอยูแออดั (ควรใช คับค่ัง)
• ฉันกลัวเสือมาก/เขาทำตวั เปนเสือ (ความหมายโดยตรง/โดยนยั )
• ฉันถกู ตอตอ ย/เขาตอเวลาใหเ รา/เธอขอตอราคาลงอีก/พ่ีตอใหเขาวงิ่ ไปกอนหานาที (คำหลาย

ความหมาย)
• เขาอนุมตั ิใหเ ธอกลับบานได (ควรใช อนุญาต)

๔. ใชค ำใหถ ูกตองตามหลักภาษา และหนา ที่ของคำ
เชน การใชคำอาการนาม การใชลักษณะนาม การใชค ำบุพบท การใชคำสันธาน เปน ตน

๕. ใชค ำใหเหมาะสมบุคคล
เชน เขามหี มายกำหนดการการอบรมแลว หรือยัง (ควรใช กำหนดการ) เม่ือชาติชาย ไดยินก็

โกรธ กระฟด กระเฟยดออกไป (ควรใช ปง ปง) แมเ ชญิ พระสงฆ จำนวน 9 รูปมาทบี่ า น (ควรใช นมิ นต)
เปน ตน

๖. ใชค ำใหเ หมาะสมกับโอกาส
เชน โอกาสทีเ่ ปนทางการ ควรหลีกเล่ยี งการใชค ำตา งประเทศ คำหยาบ คำสแลง

ภาษาพูด ภาษาหนงั สือพิมพ คำยอ คำตา งระดับ และภาษาถิ่น และโอกาสท่ีไมเปน ทางการ ใชคำระดับ
ภาษาปาก และคำระดับภาษาก่งึ แบบแผนได

๗. ใชค ำที่ชัดเจนไมกำกวม
ใชคำที่ผรู บั สารรคู วามหมาย ไมใชค ำท่ีท่ีมีความหมายกวา ง และคำทม่ี ีความหมายไมแ นน อน เพราะ

อาจทำใหเ กิดอุปสรรคในการสือ่ สารได เชน

• ฉันไมเ คยไปทบี่ านหลงั น้นั (ไมรวู าหลังไหน)
• นองซ้ือหนงั สอื เลม น้ีเพราะดีกวา เลม อ่นื ๆ ในราน (ไมร ูว าดีอยา งไร)
• ลงุ ปลกู ตนไม ๒ ตน (ไมรูวา ตนอะไร)
• บา นเขาอยูใกลม าก (อีกคนอาจคิดวา ไกล)
• นดิ ตกลงมาหรือไม (ตกลงใจหรือตกลงมาจากบันได) เปน ตน

๘. ใชค ำไมซ ้ำซากหรือรูจกั การหลากคำ
ไมควรใชค ำเดียวกันซ้ำซาก ควรเลอื กใชค ำที่มีความหมายคลา ยคลึงกนั หรือใกลเ คยี งกัน แตยงั คง

ความหมายเดมิ เชน พอใจ –ชอบ- มีความสขุ - เพลดิ เพลนิ คนเดยี ว-ตามลำพงั เปน ตน

39

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

๙. ใชคำใหตรงตามความนยิ มของผูใชภ าษาเดียวกนั
ซึ่งขนึ้ อยกู บั บริบทดวย เชน คำความหมายวา “มาก” อาจใช ชกุ ชมุ ดกหนัก บริบรู ณ

อุดมสมบรู ณ ลน หลาม แนน ขนดั เจงิ่ เปน ตน

๑๐. ใชคำใหเ หน็ ภาพ
เชน ดำทะมนึ ขาวโพลน แดงแจ ขาวผอ ง ดงั ลนั่ ดงั เปรี้ยง เงยี บกริบ เงยี บสงัด หอมหวาน หอมเย็น

เหมน็ คลุง เหม็นหืน หวานจอย ขมป เคม็ ป เปรยี้ วจด๊ี จดื ชืด ออ นนุม ออนพลิ้ว ออนละมุน นมุ นวล ใหญโ ต
กวางใหญไพศาล เลก็ นอย เล็กกระจริ ิด เกะกะเกง กาง

๑๑. ใชคำท่ีเปนคำไทย
ไมค วรใชคำตา งประเทศหรือใชคำไทยปนคำตา งประเทศ เชน กรณุ าดาดเซฟตเี้ บลทด ว ยคะ

(ควรใช เข็มขัดนิรภัย) วันนม้ี ีสอบไฟแนล (ควรใช ปลายภาค) กลุมคนเส้ือแดงแอนต้ีรฐั บาล
(ควรใช ตอตาน) เปน ตน
๑๒. ใชคำท่ีกอใหเ กดิ ไมตรีจติ และมนษุ ยสัมพนั ธอนั ดีตอ กนั

• ใชคำสรรพนามท่ีแสดงความสุภาพ เชน คุณ ผม ดฉิ ัน กระผม
• ใชค ำขยายเพ่ือใหสภุ าพ เชนคำวา กรณุ า ขอโทษ โปรด อนเุ คราะห เปนตน
• ใชคำลงทาย หรอื คำเรยี กขานทุกครงั้ ทีจ่ บคำถามหรือคำตอบ คำเหลาน้ี เชน คำวา ครบั คะ ขา
• ไมเ ปน คำหยาบ เชน ขี้ เยี่ยว อาย อี การใชว า อจุ จาระ ปส สาวะ สิง่ นี้ สิง่ นน้ั

โรคกลาก(ข้กี ลาก) นางเหน็ ( อเี ห็น )
• ไมเปน คำผวนคอื คำท่ีพดู กลบั เสียงเดมิ แลวเปนคำที่ไมส ภุ าพ

๑๓. ใชคำท่ีเปน รปู ธรรม
ผพู ูดทด่ี ีควรหลีกเล่ยี งถอยคำทีเ่ ปนนามธรรมเพราะการใชถ อยคำ ทเี่ ปน รปู ธรรมจะชว ยใหผฟู ง เขา ใจงาย และ
เหน็ ภาพพจน

๑๔. ใชค ำราชาศัพทใหถ ูกตอง

นำ้ เสียง สหี นา ทา ทางเพือ่ การสอื่ สาร

การทำใหน ักเรียนเกิดความพอใจและสนใจในเร่ืองท่จี ะเรียนรูนับวา เปนเร่อื งสำคัญ ครูคนใดสามารถ
ทำใหนักเรียนสืบเน่ืองความสนใจนับตั้งแตเ ร่มิ ตน การสอน ระหวา งดำเนนิ การสอน นักเรียนก็ไมเ กิดความ

40

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

เบอ่ื หนา ย และเมือ่ จบการสอนแลว นกั เรียนก็คงพอใจทจี่ ะเรยี นตอนับวาครผู ูนั้นทำหนาท่ีของครูไดดีเยีย่ ม
ประการหนง่ึ

กริ ยิ า วาจาและทา ทางในการสอนจงึ ถือเปน เร่ืองทสี่ ำคญั ประการหนงึ่ ทจ่ี ะสามารถทำใหน ักเรียนเกิด
ความสนใจในการเรียนได โดยกิริยา วาจาและทา ทางในการสอนนัน้ หมายถงึ บคุ ลิกภาพทั่วไปของผสู อน
ไดแก การใชส ายตา คำพูด การเดิน การยิ้ม การนัง่ การทรงตวั การแสดงทา ทาง นำ้ เสยี ง สีหนา การใชมือ
เพอ่ื เปน การสอื่ สารกบั ผเู รยี นและสรางเสริมประสทิ ธิภาพท่ีดีในการเรยี นการสอนยง่ิ ขึ้น

วธิ ีการใชก ริ ิยา วาจาและทา ทางในการสอน

การใชกริ ิยา วาจาและทา ทางในการสอนนน้ั ยอมเปนปจ จัยสำคัญประการหนงึ่ ท่ีจะชวยใหก ารเรยี น
การสอนบรรลจุ ดุ ประสงคต ามทีค่ าดหวงั ไว ดงั น้ันผสู อนควรเรียนรูท ี่จะพัฒนาบุคลิกภาพดงั กลาวใหดี
และเหมาะสมอยเู สมอ การฝก ฝนเพื่อเสริมบุคลกิ ภาพของผสู อน (ณรงค กาญจนะ, ๒๕๕๓, หนา ๔๘-
๕๓ ; เฉลมิ ศรี ทองแสง, ๒๕๓๘, หนา ๖๔-๗๐) สามารถปฏิบัตไิ ดด งั น้ี

๑. การแสดงออกทางสีหนา และสายตา

การแสดงออกทางสหี นา สายตา ของครูผูสอนนนั้ เปนสวนหนึ่งของเคร่ืองมือท่ผี ูสอนใชสอ่ื ความหมาย
กบั นักเรียน นกั เรียนจะอานความรูส กึ ครไู ดจากสหี นา สายตา ผสู อนจึงควรฝกการแสดงออกเพื่อสื่อ
ความหมายที่ถกู ตองและเหมาะสมกับสถานการณ เชน ควรย้ิมแยมและพยักหนารับเม่ือผเู รยี นแสดงความ
เคารพหรือขอบคุณ แสดงอาการเครง ขรมึ เมื่อพูดถึงเรื่องสำคญั และเรื่องเศราโศก เม่ือผเู รยี นตอบผิดควรสาย
หนาและยมิ้ เลก็ นอยไมควรแสดงอาการโกรธฉุนเฉยี วเพ่ือผเู รยี นจะไดไมเ สียกำลงั ใจ เปน ตน

การใชส ายตาเปนอกี สว นหน่งึ ทส่ี ำคัญผูส อนทีม่ บี ุคลิกภาพท่ดี ี ยอมไมใ ชส ายตาจองไปยังผเู รยี นหรือจุด
ใดจุดหนึง่ ควรกวาดสายตาไปอยางทวั่ ถงึ ไมควรมัวกมหนาหรอื มองเพดานในขณะพูด เพราะจะทำใหเสยี
บคุ ลกิ ภาพได

๑.๑ พฤติกรรมทีด่ ขี องการแสดงออกทางสีหนา สายตา มดี ังน้ี
๑) ยิม้ พรอ มพยักหนา รบั เมอ่ื นักเรียนทำความเคารพหรือขอโทษ หรือขอบคณุ
๒) เมอื่ นกั เรยี นตอบคำถามหรือขอคิดเหน็ ทขี่ บขนั ครคู วรมีอารมณรวมดว ย
๓) เมื่อนักเรียนตอบนอกลูนอกทาง ควรแสดงสีหนาเฉย หรือนิ่ง
๔) เมอ่ื นกั เรียนตอบถูกตองหรอื แสดงความคิดเห็นทดี่ ี ครคู วรพยักหนา พรอมกับย้ิม
๕) เมอื่ นกั เรยี นตอบผดิ ครูควรสายหนา พรอม ๆ กบั ย้มิ นอย ๆ เพื่อมใิ หน ักเรียนเสยี กำลงั ใจ
๖) ขณะสอนควรมสี ีหนา ยม้ิ แยมแจมใส
๗) แสดงสหี นา ตั้งใจฟงขณะนกั เรียนถาม ตอบ หรอื แสดงความคิดเหน็

41

วชิ าภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

๘) แสดงสีหนา ประกอบใหเหมาะสมกบั บทเรียนน้ัน
๙) ใชส ายตากวาดไปใหท่วั หอง และประสานสายตากับผูเรียน
๑.๒ พฤติกรรมท่ีไมดีของการแสดงออกทางสีหนา ใบหนา สายตา มดี งั นี้
๑) สหี นา บงึ้ ตึง เครงเครียด เยน็ ชา เมื่อเดนิ เขา หองสอน
๒) เมื่อนักเรยี นตอบผดิ ครแู สดงสหี นา ไมพอใจ หรอื ยม้ิ เยาะหยันหรือทำทาลอ เลียน
๓) มองนกั เรียนดวยหางตา มองต้ังแตศ ีรษะจรดเทา
๔) แสดงสีหนา รำคาญเมื่อนกั เรยี นถาม
๕) ไมเก็บความรูสกึ เชน หนางอ เมมริมฝปาก หนา บึ้ง เมอื่ โกรธนักเรยี น หรอื แสดงความรสู ึก
เหนด็ เหน่อื ยเบื่อหนาย
๖) แสดงสีหนา เฉยเมยเม่ือนักเรียนมไี มตรจี ิตดว ย เชน ทกั ทายหรือทำความเคารพ
๗) ทำตาหวานกรมุ กรม่ิ กับนกั เรียน
๘) หาวอยา งเปดเผย
๙) แลบล้ินออกเลียรมิ ฝกปากเสมอ
๑๐) พดู ไปหัวเราะไปอยา งไมมีเหตุผล หรืออยางไมส มควร
๑๑) ชอบระบายความรูสกึ เหนด็ เหน่ือยทางสหี นาเปน ประจำ ฯลฯ
๑๒) ดนู ากิ าบอย ๆ จนเปนท่สี ังเกตได

๒. การใชน้ำเสียงและการพูด

นำ้ เสยี งและการพูดในการสอนมีสวนสำคญั มากเพราะเปนการส่ือความหมายจากครไู ปยังนักเรียน
นำ้ เสียงทพ่ี ูดออกจะแสดงใหเ หน็ ความสุภาพหรอื ไมส ภุ าพในตัวผพู ูดไดเปน อยา งดี เสียงท่สี อนนกั เรียนตองเปน
เสยี งที่แจม ใส นุมนวลชวนฟง ทำใหนกั เรยี นรูส กึ นิยมชมชอบและนบั ถอื ในตัวครผู สู อน โดยปรกติแลวน้ำเสียง
ของครสู ามารถทจ่ี ะบอกอารมณแ ละความรสู กึ ของครูไดด ี ถาหากครูรูส ึกยนิ ดที จ่ี ะสอนนั้น จะสะทอนทัศนคติ
และความรสู กึ ออกมาใหนักเรียนเหน็ ได

สว นการพดู นน้ั ควรพดู ดว ยความเรว็ ปกติ ไมพูดเร็วหรือชามากนักและควรใชนำ้ เสยี งที่นมุ นวล เสนาะ
โสตหรอื ไมควรพูดเลน หยอกลอ กับผูเรยี นมากเกินไป เพราะอาจจะทำใหผ เู รยี นเสียวินัยได ซงึ่ นอกจากนผี้ ูสอน
ควรพูดจาสุภาพและใชน ำ้ เสยี งทเ่ี หมาะสมกับสถานการณต าง ๆ เสียงพดู ทด่ี จี ะตองมรี ะดบั สูงตำ่ เนนหนกั เบา
อยา งทีเ่ ราคุยสนทนากันอยา งมีชีวิตชีวา ครทู ีส่ อนโดยใชเสยี งสงู เกินไปควรลดระดบั ใหเสียงต่ำลง เพราะเสยี งสูง
จะทำใหน ักเรียนเกดิ ความตึงเครียดและเหนื่อย สว นครทู ี่มเี สียงต่ำมาก ก็ควรพูดใหเ สียงสงู ขึ้น เพราะเสียงท่ีตำ่
มากมักจะทำใหเ บ่ือหนา ยและงว งเหงา

๒.๑ พฤตกิ รรมทีด่ ีของนำ้ เสยี ง มีดังน้ี
๑) เสยี งดงั ฟงชดั เจน

42

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

๒) ออกเสยี ง /ร/ล/ และควบกลำ้ ไดถกู ตอง
๓) นำ้ เสียงมเี สยี งสงู ตำ่ ตามเน้อื หาท่ีสอน
๔) เนน เสยี งพอสมควร
๕) มหี างเสียงพอสมควร
๖) ใชค ำสุภาพนมุ นวลไพเราะ
๗) ใชภาษาพูดกับนกั เรยี นไดเ หมาะสม
๘) ใชนำ้ เสียงแสดงอารมณไดดี
๙) ใชถอยคำถกู ตองตามความนิยม
๑๐) น้ำเสยี งแจม ใส นมุ นวลชวนฟง
๑๑) เสียงทพี่ ูดน้นั เขากบั กาลเทศะ
๒.๒ พฤติกรรมท่ีไมดีของนำ้ เสยี ง มีดงั น้ี
๑) เสียงคอ ยเกนิ ไปจนเด็กนักเรยี นไมไดยนิ ทว่ั หอ ง ขาดความหนกั แนน
๒) สำเนยี งไมช ัดเจน เสียงเหนอ
๓) พดู เสยี งกระแทกดดุ ัน กระโชกโฮกฮาก เสยี งแข็งกระดาง หรือตวาดนักเรียน
๔) พดู เสียงระดบั เดยี วกันตลอด ไมมีการเปลย่ี นระดับเสยี ง
๕) พูดเร็วมากเกินไป จนนักเรยี นฟงไมทัน
๖) พดู จาหยาบคายไมส ุภาพ พูดเสียดสีประชดประชัน สบถใหน กั เรยี นฟงเมอ่ื ไมส บอารมณ
๗) ออกเสยี งควบกล้ำตวั /ร/ล/ ไมช ัด
๘) เสยี งดงั จนเกนิ ไปจนเกือบจะเปนตะโกน
๙) พดู ตดิ ๆ ขัดๆ เหมอื นคนตดิ อาง เสียงส่ันเครอื เพราะประหมา ไมม ่นั ใจตนเอง
๑๐) ใชภ าษาเขยี นมาพูดกับนักเรยี นเหมือนทอ งมาสอน
๑๑) พูดไมมจี ังหวะหยุด หรือบางทหี ยุดนานเกินไป
๑๒) พูดเสยี งสูงเกินไป และต่ำจนเกนิ ไป

43

วิชาภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

บทที่ ๕ การถา ยทอดและการควบคมุ ช้ันเรียน

การถา ยทอดความรู (knowledge transfer) องคความรใู นองคกรมี ๒ ประเภท คอื

๑) ความรทู ี่ชดั แจง (Explicit หรือ Codified Knowledge) คือความรูทีส่ ามารถรวบรวม ถายทอดได
ดวยวธิ ตี าง ๆ เชน การบนั ทึก ทฤษฎแี นวปฏิบัติคมู ือตา ง ๆ

๒) ความรูทฝี่ งลกึ (Tacit Knowledge) เปน ความรูที่ไดจากประสบการณพ รสวรรคห รือสัญชาตญาณ
ของแตล ะ บุคคล ซึง่ ยากตอการเลาหรอื เขียนออกมาใหผ ูอื่นทราบหรอื เขาใจ จำเปน ตองอาศัยกระบวนการ
ตาง ๆ เปล่ยี นให เปน ความรูทชี่ ดั แจง ซ่ึงสามารถแลกเปล่ยี นกนั ไดโดยงา ย เชน ทกั ษะในการทำงาน งานฝมอื
การคดิ เชงิ วเิ คราะห

ความรู (Knowledge) มีความสำคัญมากในองคก ร แตส งิ่ ที่มีผลกระทบตอ ความรูทีเ่ กดิ ขนึ้ ใน
องคกรกค็ ือ “การเปลย่ี นแปลง” ทำใหว ธิ กี ารคิดและกระบวนการทำงานมีผลกระทบตอความรทู ่ีองคก รมอี ยู
และจาก สภาพการณใ นปจ จุบนั ทเ่ี กดิ ภาวะขาดแคลนแรงงานและมีการ Turn Over สูง ทัง้ พนักงานระดับ
ปฏิบัตกิ าร และ ระดับหวั หนางาน ในบางครั้งพนักงานไดล าออกหรือเสียชวี ติ โดยทไ่ี มไดมกี ารวางแผนในการ
จดั เก็บดูแลและรักษา ขอมูลไวเ ลย ทำใหค วามรทู ไี่ ดส ่ังสมมา อาจสญู หายพรอมกันไปดว ย นเ่ี ปน เพยี งตัวอยา ง
เดียวเทานั้น การ เปลีย่ นแปลงทำใหม ผี ลกระทบตอการทำงานท้ังองคกร ซงึ่ การเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึน้ มปี จ จยั
มากมายทง้ั ปจ จยั ภายใน และปจจัยภายนอกองคกรซึง่ องคกรไมสามารถควบคมุ ได

ดังน้นั การถา ยทอดความรู (knowledge transfer) จงึ มบี ทบาทสำคญั ตอองคก ร เปน ข้นั ตอนหนึง่ ของ
การจัดการความร(ู knowledge management) ซง่ึ หมายความถึง การแบงปน ความรภู ายในองคกรทเี่ กดิ ขนึ้
ระหวา ง บคุ คลและกลมุ ตาง ๆ (Quinn, Anderson, and Finkelstein, 1996) การจดั การวัฒนธรรมทาง
องคกรสำหรับการ ถายทอดความรจู ะเรมิ่ จากการกำหนดวิสยั ทศั น พันธกิจ และคา นิยม ทนี่ ำและสนับสนุน
การสรา งสภาพแวดลอ ม การทำงานทม่ี ีการสรา งความรูแบงปนความรูแ ละสะสมความรใู นทกุ ระดับ
สภาพแวดลอ มการทำงานท่สี ะทอนถงึ วิสัยทัศนของการจัดการความรขู ององคกร จะเหน็ ไดจาก พฤติกรรม
การถายทอดความรแู บบการทำงานรว มกนั ใน ทุกระดับของสมาชิกองคก าร (synergetic behavior of
knowledge) (Quinn, Anderson, and Finkelstein, 1996) ซง่ึ ผูปฏบิ ตั ิตางทำงานรวมกนั เกยี่ วกับขอมลู
ขาวสารการปฏิบัตงิ านในลกั ษณะตอไปน้ี

๑) การวางแผนและขั้นตอนการถา ยทอดความรู ไปสูการปฏิบัตงิ านทป่ี ระสบผลสำเร็จมากท่ีสดุ (Best
practices) ลงในฐานขอมูลความรูขององคกร

๒) การทำแบบประเมินและตรวจสอบประสบการณและขาวสารความรูท่ไี มถกู ตองของผูปฏบิ ัติ

44

วชิ าภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

๓) การสอน การอภิปราย การทำเอกสาร และการพูดคุยอยา งเปดเผยกบั เพอื่ นรว มงาน

๔) การเขียนรายงาน เพอื่ ถายทอดองคความรูใหกบั เพอ่ื นรว มงาน

๕) การใหข อ แนะและขอสงั เกตอยา งเปด เผย การใหขอเสนอแนะท่เี ปนประโยชน และการใหคำตอบ
สำหรบั ปญ หา การปฏิบตั ิงานแกเ พ่ือนรว มงานอยา งแขง็ ขัน

๖) การจดั ทำเอกสารเกย่ี วกับความเขาใจในประโยชน สถานการณ หรอื ปญหาท่ีซับซอ น การเขยี น
ลำดับขั้นตอน ของการทำกจิ กรรมตา ง ๆ ในการปฏิบตั ิงาน และหนังสอื คูมือการปฏบิ ัติงานในระหวา งที่กำลัง
ทำงานใน กระบวนการพัฒนาและปรบั ปรงุ งาน

๗) การใชฐานขอมูลองคความรูท ี่มีอยูในการทำกจิ กรรมหรือภารกจิ ตา ง ๆ ใหสามารถใชง านรวมกนั ได

๘) การถายทอดองคค วามรูในการบำรุงรักษาระบบ

การจดั การชั้นเรียน คือ การจัดสภาพของหอ งเรียน ท่สี วนใหญเ ขาใจกันวา เปนการจัดตกแตง
หองเรยี นทางวัตถูหรือทางกายภาพใหมีบรรยากาศ นา เรยี นเพอ่ื สง เสริมการเรยี นรขู องนักเรียนเทา น้นั
แตถา จะพิจารณาอยางละเอียดรอบคอบแลว การจดั การช้นั เรยี นนั้น ครูจะตอ งมภี าระหนาท่ีมากมายหลาย
ดาน โดย ฮอล (Susan Colville-Hall :2004) ไดใหความหมายของการจัดการชน้ั เรยี นไววา เปนพฤตกิ รรม
การสอนท่ีครสู รางและคงสภาพเงอ่ื นไขของการเรียนรเู พอื่ ชวยใหก ารเรียนการสอนมีประสิทธภิ าพและเกิด
ประสิทธผิ ลขึ้นในชน้ั เรยี นซ่ึงถือเปนชุมชนแหงการเรยี นรู การจัดการช้ันเรียนทมี่ ีคุณภาพนั้นตอ งเปน
กระบวนการทดี่ ำเนินไปอยางตอเนอื่ งและคงสภาพเชน นีไ้ ปเรอื่ ย ๆ โดยสรางแรงจงู ใจในการเรยี นรู การใหผล
ยอ นกลบั และการจดั การเก่ียวกับการทำงานของนักเรียน ความพยายามของครูท่ีมปี ระสิทธภิ าพนั้นหมาย
รวมถงึ การท่ีครเู ปนผดู ำเนินการเชงิ รกุ (proactive) มีความรบั ผดิ ชอบ (responsive) และเปนผูส นบั สนนุ
(supportive)

การบริหารจดั การชนั้ เรียน หมายถงึ การจัดสภาพแวดลอ มทั้งภายในและภายนอก หอ งเรียน เพ่ือ
สนบั สนุนใหเ ดก็ เกดิ การเรยี นรอู ยางมีความสุข การจดั สภาพแวดลอ มจะตองคำนึงถึงสิ่งตอไปนี้
๑. ความสะอาด ความปลอดภัย
๒. ความมอี สิ ระอยา งมีขอบเขตในการเลน
๓. ความสะดวกในการทำกจิ กรรม
๔. ความพรอมของอาคารสถานที่ เชน หองเรยี น หองน้ำหองสวม สนามเด็กเลน ฯลฯ

45

วิชาภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

๕. ความเพยี งพอเหมาะสมในเรอื่ งขนาด นำ้ หนัก จำนวน สขี องส่ือและเครื่องเลน
๖. บรรยากาศในการเรยี นรู การจัดทเี่ ลน และมุมประสบการณตา ง ๆ

การจดั การช้นั เรยี นเพอื่ สง เสริมบรรยากาศการเรยี นรู
ในการจดั การเรียนการสอน ผูสอนตางปรารถนาใหจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนดำเนนิ ไปอยาง

ราบรนื่ และผเู รียนเกดิ พฤติกรรมตามจดุ ประสงคท ่ีกำหนดไวใ นหลักสตู ร บรรยากาศในชนั้ เรียนมีสว นสำคญั ใน
การสง เสริมใหความปรารถนานี้เปนจรงิ พรรณี ชูทยั (2522 : 261 – 263)กลา วถึงบรรยากาศในชนั้ เรยี นที่จะ
นำไปสคู วามสำเร็จในการสอนจัดแบงได 6 ลกั ษณะ สรุปไดด งั นี้
๑. บรรยากาศทีท่ า ทาย (Challenge) เปนบรรยากาศท่ีครูกระตนุ ใหกำลงั ใจนักเรยี นเพ่ือใหป ระสบผลสำเรจ็ ใน
การทำงาน นักเรยี นจะเกิดความเช่ือมน่ั ในตนเองและพยายามทำงานใหส ำเรจ็
๒. บรรยากาศท่มี ีอิสระ (Freedom) เปนบรรยากาศทนี่ ักเรยี นมีโอกาสไดค ดิ ไดต ดั สนิ ใจเลือกส่งิ ที่มี
ความหมายและมีคุณคา รวมถึงโอกาสท่ีจะทำผดิ ดว ย โดยปราศจากความกลวั และวติ กกังวล บรรยากาศเชนน้ี
จะสงเสริมการเรียนรู ผูเรียนจะปฏบิ ัติกจิ กรรมดวยความตั้งใจโดยไมร ูสึกตงึ เครียด
๓. บรรยากาศท่มี ีการยอมรบั นับถือ (Respect) เปนบรรยากาศท่ีครรู ูสกึ วานกั เรียนเปนบุคคลสำคญั มีคณุ คา
และสามารถเรยี นได อันสง ผลใหน ักเรยี นเกดิ ความเช่อื มน่ั ในตนเองและเกดิ ความยอมรบั นับถือตนเอง
๔. บรรยากาศทมี่ ีความอบอนุ (Warmth) เปน บรรยากาศทางดา นจิตใจ ซ่ึงมีผลตอความสำเรจ็ ในการเรียน
การท่คี รูมคี วามเขาใจนกั เรียน เปนมิตร ยอมรับใหความชวยเหลือ จะทำใหนักเรียนเกิดความอบอนุ สบายใจ
รกั ครู รักโรงเรยี น และรักการมาเรยี น
๕. บรรยากาศแหง การควบคุม (Control) การควบคุมในที่นี้ หมายถงึ การฝกใหน ักเรยี นมีระเบียบวินัย มิใช
การควบคุม ไมใหมีอสิ ระ ครตู องมเี ทคนิคในการปกครองชนั้ เรยี นและฝก ใหนักเรยี นรจู ักใชส ทิ ธหิ นา ทขี่ อง
ตนเองอยางมีขอบเขต
๖. บรรยากาศแหง ความสำเร็จ (Success) เปนบรรยากาศทผ่ี ูเรียนเกดิ ความรูสึกประสบความสำเร็จในงานท่ี
ทำ ซง่ึ สงผลใหผ ูเรยี นเกดิ การเรียนรไู ดดีขน้ึ ผสู อนจึงควรพดู ถงึ สงิ่ ทผี่ ูเรยี นประสบความสำเร็จใหมากกวาการ
พดู ถงึ ความลม เหลว เพราะการท่ีคนเราคำนึงถงึ แตส งิ่ ที่ลม เหลว เพราะการท่ีคนเราคำนึงถึงแตค วามลมเหลว
จะมีผลทำใหความคาดหวังตำ่ ซึง่ ไมส ง เสริมใหการเรยี นรดู ขี ้ึน

46

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

ทำไมนักศกึ ษาครู/ครตู อ งเรยี นรูเร่ือง การบริหารจดั การช้ันเรยี นและการควบคมุ ชนั้ เรียน

สาเหตุทนี่ ักศึกษาครู/ครตู อ งมกี ารเรียนรูเร่ืองการบริหารจดั การชั้นเรยี นและการควบคุมช้ันเรยี น
เน่ืองจากวา ในการจัดการเรียนหรอื ในหองเรยี นนั้น ครถู ือเปนบคุ คลสำคัญในการการบริหารจดั การชั้นเรียน
และการควบคมุ ชั้นเรยี น ซง่ึ การท่คี รูศึกษาเร่ืองการบรหิ ารจัดการและการควบคุมชนั้ เรยี นจะทำใหครูไดรบั รูถงึ
เทคนคิ วิธีการตาง ๆ ในการจัดการช้นั เรยี นไมว าจะเปนการจดั บรรยากาศในชนั้ เรียน การจัดโตะเกาอ้ี การจัด
มมุ ตา ง ๆ เพ่อื เสริมความรใู หนักเรียน นอกจากน้ียงั ทำใหครูไดเ รยี นรูเรือ่ งการใชเทคนคิ ตาง ๆ ในการจัดการ
กบั ผูเรยี นอีกดว ย

การบริหารจัดการชั้นเรยี นและการควบคมุ ช้ันเรียน ในศตวรรษท่ี ๒๑ ควรเปนอยางไร

สำหรบั การจัดการช้นั เรียนและการควบคุมชัน้ เรยี นในศตวรรษท่ี ๒๑ น้ัน ครคู วรมีการจดั การเรียนรทู ่ี
เนน ผเู รียนเปน ศูนยก ลาง มีการใชเทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นการสอน มีกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบใหม
เนนใหผเู รยี นศกึ ษาหาความรูดวยตนเองโดยมีตวั ผสู อนเปน ผแู นะนำ การจดั การเรยี นการสอนตอ งสอบสนอง
ตอความสามารถและทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ทผ่ี เู รียนควรไดร บั

เครอื่ งมือในการบริหารจดั การชนั้ เรียนและการควบคมุ ชน้ั เรยี นในศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพใน
การจดั การเรยี นรูมีอะไรบา ง

เครื่องมอื ในการบริหารจดั การชัน้ เรยี นและการควบคมุ ชั้นเรียนในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อเพม่ิ
ประสิทธภิ าพในการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ จะเปนเครื่องมือทเ่ี ปน พวกเทคโนโลยีสารสนเทศเพราะในยุคนี้
เปน ยคุ ท่ีเทคโนโลยมี คี วามกา วการใชเทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นการสอนสงผลใหผ เู รยี นไดร บั ทักษะมากมาย
ไมวาจะเปน เทคโนโลยี การติดตอส่อื สาร และทักษะทางดานภาษาเพราะระบบเทคโนโลยีจะใชภาษาตางเปน
ซง่ึ สง ผลใหผูเ รียนไดมีการเรยี นทักษะทางดานภาษา

ความสำคัญของการบริหารจดั การช้นั เรียน

ความสำคญั ของการบรหิ ารจดั การช้ันเรยี น (Importance of Classroom Management)
ท่ีมตี อผเู รยี น ดงั ตอ ไปนี้

๑. ชวยใหผ เู รยี นเกดิ ความอบอุนในขณะอยใู นชั้นเรยี น และมคี วามสุขในขณะที่มีการเรียนการสอน

๒. ชวยใหส ง เสริมสนับสนนุ บรรยากาศแหง การเรียนรูใหเ กดิ ประโยชนส งู สุด ท้ังในเวลาเรยี นปกติ
และนอกเวลาเรียน

๓. ชว ยใหผ ูเรียนและผูส อนไดม ีปฏสิ มั พนั ธร ะหวางกันตามธรรมชาตขิ องรายวชิ าน้นั ๆ

47


Click to View FlipBook Version