The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book ภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krusuriya666, 2021-10-19 03:57:22

E-Book ภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

E-Book ภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

๔. ชว ยสง เสรมิ ใหผ ูเรยี นไดต ระหนักในเร่อื งของวินัยในช้นั เรียน

๕. ชว ยปองกันส่ิงรบกวนที่เปนสภาพแวดลอมภายนอกที่มตี อการเรยี นการสอนและการทำ
กิจกรรมตา ง ๆ ของผูเรยี น

ดังนัน้ การบริหารจดั การชน้ั เรียน จงึ เปนการชวยใหการเรียนรูของผูเรียนและการสอนของผสู อน
ไดเ อ้ืออำนวยตอ กิจกรรมการเรียนการสอน ซง่ึ เปนกิจกรรมท่มี ีความสำคญั ทีส่ ดุ ในขณะนั้นใหบรรลุผลสำเร็จ
ตามความมุงหมายของการศึกษาในระดับสูงสุด และผเู รยี นไดรบั การพัฒนาศกั ยภาพไดเต็มตามอัตภาพพรอม
ท้ังสงเสริม สนับสนุนการสอนของผูสอนใหเต็มศกั ยภาพท้ังสองฝา ย (สนั ติ บุญภริ มย. ๒๕๕๗ : ๑๑๕)

ประเภทของบรรยากาศการเรียนรู

บรรยากาศการเรียนรูสามารถจำแนกออกไดด ังนี้

๑. บรรยากาศทางจติ วิทยา เปน ลกั ษณะของบรรยากาศที่เกิดข้นึ โดยการกระทำของ ผูเ รียนท่สี งผลตอ
ความรูส กึ นกึ คดิ และพฤตกิ รรมของผเู รียน ถา ลักษณะบรรยากาศทางจติ วิทยาเปน ไปในทางบวก ผูเรียนจะเกิด
ความรสู กึ อบอุน ใจ ผอนคลาย ทำใหเ กดิ การเรียนรไู ดโดยงา ย และมีผลทำใหร ูสึกมคี วามสุขในการเรยี นรู ทำให
เปน ผูท่ีรกั และใฝใ นการเรยี นรู

๒. บรรยากาศทางกายภาพ เปน ลักษณะของบรรยากาศที่เกดิ จากการจดั อาคารสถานที่ ส่อื วสั ดุ
อุปกรณ ที่สอดคลองกับกิจกรรมการเรยี นรู และสภาพของผูเรียน การจดั บรรยากาศทางกายภาพทต่ี อบสนอง
ผูเรียนและการทำกิจกรรมตาง ๆ จะทำใหผเู รยี นไดรับความสะดวก และดำเนินกจิ กรรมดว ยความราบรน่ื
สง ผลใหการเรยี นรูดำเนินไปดวยดี ไมต ิดขดั ไมรูสึกวา มคี วามยุงยาก ทำใหผเู รยี นรกั ที่จะเรยี นและเปนผูเรยี นท่ี
กระตือรอื รน มีความสนใจตอสง่ิ แวดลอมรอบตัว

๓. บรรยากาศทางสงั คม เปน บรรยากาศท่เี กิดจากผลการปฏิสัมพันธข องกลมุ ที่อยู รว มกันและทำ
กิจกรรมรว มกัน การมบี รรยากาศทางสังคมที่เปนมิตรตอกัน จะทำใหผูเรียนรูสึก อบอนุ ใจเกิดความรูสึกทีด่ ตี อ
กนั และกัน มกี ารอยรู ว มกนั ฉันทม ิตร ซงึ่ สงผลตอการเรียนรทู ักษะทางสังคมและการเรียนรรู วมกนั ซึ่งเปน
เปา หมายประการหนงึ่ ของการจดั การศกึ ษา

๑. บทบาทในการเปนผนู ำของครู

ครเู ปน ผทู ม่ี ีบทบาทมากทีส่ ุดในช้ันเรียน เปน ผสู รางบรรยากาศในชั้นเรยี นใหมสี ภาพนาเรียนรู อบอนุ
หรอื วา ตงึ เครยี ดนา กลวั โดยครตู องทราบความคาดหวังที่นักเรียนมตี อครู และครูมตี อนกั เรยี น โดยครตู อ งเปน

48

วชิ าภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

แบบอยา งท่ีดีในการแสดงออกทางพฤติกรรมน้ัน ๆ ไมว าจะเปน การแตงกาย การทำความเคารพการพูดการจา
การตรงตอเวลา เปนตน บทบาทในการเปน ผนู ำของครแู ตล ะประเภทจะมผี ลตอความรสู ึกของนักเรียนที่มีตอ
โรงเรียนและยง่ิ ไปกวา นนั้ อาจมีผลตอความรสู ึกของนกั เรยี นทมี่ ีตอผูอืน่ หรือตอตนเองอกี ดวยไดรกเคอร
แบงประเภทของลักษณะของบคุ ลกิ ภาพและบทบาทในการเปน ผูน ำของครูออกเปน ๓ ประเภทดงั น้ี

๑.๑ ครูประเภทเผดจ็ การ

ถา ครเู ขมงวด นกั เรียนจะหงดุ หงดิ

ถาครหู นานว่ิ ค้ิวขมวด นกั เรยี นจะรสู กึ เครียด

ถาครูฉนุ เฉยี ว นักเรียนจะอดึ อดั

ถา ครปู น ปง นักเรยี นจะกลวั

ถาครแู ตง กายไมเรียบรอย นักเรียนจะขาดความเคารพ

ถา ครใู ชนำ้ เสียงดุดัน นกั เรยี นจะหวาดกลัว

ครูที่มลี กั ษณะเผด็จการ ( autocratic teacher ) ครทู ม่ี ลี ักษณะเชนนเ้ี ชอ่ื วาตนเองมคี วามรบั ผดิ ชอบ
ตอการดำเนนิ การใด ๆ ในชัน้ เรียนตั้งแตก ารจดั ตกแตงหองเรยี นทางกายภาพเพื่อการจัดระเบียบในชัน้ เรยี น
การจัดตารางเรยี นท่ไี มย ืดหยนุ จากความคดิ เชน น้ี ครูจึงมคี วามรับผดิ ชอบท่จี ะกำหนดกฎระเบียบท้ังหมด
ของชนั้ เรียนซึ่งรวมถงึ การกำหนดบทลงโทษแกนกั เรยี นทีป่ ระพฤติผดิ กฎดว ยตวั ของครูเองทง้ั หมด ครทู ่ีมี
ลกั ษณะเชนน้ีมี ความเชอ่ื วา ตนเองมีความรูเปนสำคัญทงั้ ในดา นการบรรยาย การแสดงความคิดเห็นและ
การกำหนดงานใหน กั เรียนทำ นกั เรียนมีหนาที่เช่ือฟงและทำตามกฎระเรียบและงานทคี่ รูกำหนดใหท ำ

๑.๒ ครูประเภทปลอยปะละเลย

ถาครทู อถอย นกั เรยี นจะทอแท

ถา ครเู ฉยเมย นักเรยี นจะเฉ่อื ยชา

ถาครูเชือ่ งชา นกั เรยี นจะหงอยเหงา

ถา ครูใชน ำ้ เสียงราบเรียบ นกั เรียนจะไมสนใจฟง

ถาครูปลอยปละละเลย นกั เรียนจะขาดระเบียบวนิ ัย

49

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

ถาครแู ตงกายไมเ รยี บรอย นกั เรยี นจะขาดความเคารพ

ครูมลี กั ษณะปลอยปะละเลย (Permissive) ครูลักษณะนจ้ี ะมีลักษณะโอนออนผอ นตามและไมมพี ลัง
ในช้ันเรยี นอาจจะมีกฎระเบยี บเพยี งเล็กนอยใหนักเรยี นไดปฏบิ ตั แิ ละไมไดใ หความสนใจกับการทีน่ ักเรียนตอง
ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบอยางสม่ำเสมอ การลงโทษของครปู ระเภทน้ีมักจะใหอภัย ไมคอ ยเอาจรงิ เอาจงั กับ
นักเรยี นที่ประพฤติผิดระเบยี บและดเู หมือนครจู ะไมมีอำนาจมากเพียงพอทจี่ ะทำใหนกั เรยี นทำงานตามที่ครู
กำหนด บรรยากาศในชน้ั เรียนเชนน้จี ะทำใหนกั เรยี นรสู ึกสบั สนเพราะไมรวู าครูตองการใหน ักเรียนทำอะไร
หรอื เปนอยา งไรจงึ เปนทพ่ี ึ่งประสงคของครูลกั ษณะครปู ระเภทน้จี ะทำใหช ้นั เรยี นขาดความเปนอนั หนง่ึ อนั
เดียวกนั เพราะนักเรียนแตละคนก็จะทำในส่งิ ท่ีตนเองพงึ พอใจที่ครกู ไ็ มไ ดวาอะไร

๑.๓ ครูประเภทประชาธิปไตย

ถาครูแสดงความเปน มิตร นักเรยี นจะอบอุน ใจ

ถาครูยมิ้ แยม นกั เรยี นจะแจม ใส

ถาครูมีอารมณข ัน นกั เรียนจะเรียนสนุก

ถาครูกระตือรอื รน นกั เรยี นจะกระปร้กี ระเปรา

ถา ครูมีนำเสียงนุมนวล นกั เรยี นจะสภุ าพออนนอม

ถา ครูแตง ตัวเรียบรอ ย นักเรยี นจะเคารพ

ถา ครูใหความเมตตาปรานี นกั เรยี นจะมีจติ ใจออ นโยน

ถาครูใหค วามยตุ ิธรรม นักเรียนจะศรทั ธา

ครทู มี่ ีลกั ษณะประชาธปิ ไตย (Democratic Style ) ครทู เ่ี ปน ประชาธิปไตยจะมลี กั ษณะของความเปน
เผด็จการหรอื ปลอ ยปะละเลย แตจ ะมีความมงั่ คง มเี หตผุ ลเก่ียวกับความคาดหวงั ของตนที่มีคาการเรียนรูและ
การแสดงพฤติกรรมของเด็ก ครูจะใชก ารอภิปรายรวมกบั นักเรียนและใหน ักเรียนมสี ว นรวมในการกำหนด
กฎระเบยี บของช้นั เรียนรวมท้ังกำหนดโทษหากมีการฝาฝนกฎนอกจากนี้อาจรวมกับนักเรยี นในการทบทวน
กฎระเบียบของช้ันเรยี นไดอยูเสมอหากมคี วามจำเปน เพ่ือใหก ฎระเบียบเหลาน้ันมีความเหมาะสมตอการนำไป
ปฏบิ ตั ิ ครทู เ่ี ปนประชาธิปไตยจะเปนผูท พ่ี รอมทจ่ี ะตัดสินปญหาใด ๆ แตก็ยอมรับความคิดเหน็ และความ
ตอ งการของนกั เรยี น ผลของการเปน ครูประชาธปิ ไตยจะเปน การสรางพลังของความเชื่อม่นั และความรูสกึ ของ
การเปนเจา ของชน้ั เรียนใหกบั นกั เรียนในทำนองเดียวกันกจ็ ะทำใหครูรสู ึกถงึ บรรยากาศที่ดใี นหอ งเรยี นนัน้

50

วิชาภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

ครทู ี่กลา วมาทง้ั ๓ ประเภทขางตน เปนบทบาทในการเปน ผนู ำของครู เพราะฉะนัน้ ในยุคการศึกษา
ปจจบุ ัน ครทู ส่ี มควรเปน ผูนำคอื ครูที่มีลกั ษณะประชาธิปไตย เพราะจะเปนการสรางบรรยากาศแบบ
ประชาธิปไตย มีสวนรวมในการเรยี นรู นกั เรยี นมีความกระตอื รอื รน มีความมัน่ ใจในตวั เองและเปนการปลูกฝง
ใหน กั เรียนเรยี นรรู ะบบประชาธิปไตยของชาตดิ ว ย

๒. พฤตกิ รรม เทคนิค ทักษะการสอนของครู

การจดั การเรียนการสอนในชนั้ เรียนครูผสู อนตอ งมเี ทคนิค วธิ ีการในการถา ยทอดท่ีนา สนใจ หลากหลาย
มีแรงจงู ใจในการเรียนรู โดยมีกจิ กรรมการเรียนรูทห่ี ลากหลาย ไมควรสอนแบบเดียวกนั นานเกินไปเพราะจะ
ทำใหเ ด็กเบื่อ เชนการสอนบรรยาย ควรมีการสอดแทรกกิจกรรมการทดลอง การอภิปราย การแบงกลุม
ทำงานเพ่ือเพิ่มความสนใจของเดก็ ตอการเรียนรแู ละใหน กั เรยี นมคี วามรู เจตคติ และทักษะตามที่หลักสตู ร
กำหนด ซึ่งพฤตกิ รรมของครูควรเปน ลักษณะดังตอไปน้ี

- ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรยี นโดยใชเ ทคนิคการเสรมิ แรงทเี่ หมาะสม เชน ใชวาจา ใชท าทาง ใหร างวัล
และสญั ลักษณตาง ๆ ตลอดจนใหทำกจิ กรรมท่ีนักเรยี นชอบ ครูควรเริมแรงใหท่ัวถึงและเหมาะสม

- เปดโอกาสใหนักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ และยอมรบั ฟงความคิดเหน็ ของนกั เรียน แสดงใหน ักเรียนเหน็ วา
ความคิดของเขามีประโยชน พยายามนำความคิดเหลา นนั้ มาใชใหเกิดประโยชนใ นการเรยี นรู

- ฝกการทำงานเปนกลุม การใหทำงานเปน กลุมจะชวยใหนักเรยี นรจู ักทำงานรวมกบั ผูอน่ื ไดใชความรคู วามคิด
ความสามารถท่ีมีอยูใ หเ กิดประโยชน ฝก การสรางมนษุ ยสมั พันธท ีด่ แี ละไดผ ลงานนำมาสคู วามภาคภมู ิใจใน
กลมุ และตนเอง ในการมอบหมายงานใหก ลุมทำน้นั ครูควรคำนงึ ถึงความยากงายของงาน ความรูและ
ความสามารถของนกั เรยี นในกลุม เพ่ือใหงานกลุมประสบความสำเรจ็ เปน การสรางความรูสกึ ทางบวกใหแ ก
นกั เรยี น งานใดที่ครเู ห็นวายาก ครคู วรเขา ไปดูแลกระตนุ ใหนกั เรียนชว ยกนั คิดแกป ญ หาในกลุมของตน
ครจู ะตองมีความอดทนที่จะไมรบี ช้แี นะ หรือบอกวธิ กี ารแกปญ หาตรง ๆ ตองฝก ใหนักเรียนใชว ธิ กี ารตา ง ๆ
หลาย ๆ แบบจนสามารถแกปญหาไดสำเรจ็

- ใชเ ทคนิคและวิธีสอนที่ไมทำใหนกั เรยี นเบื่อหนายในการเรยี น ครคู วรคิดคนควาและแสวงหาแนวทางวธิ ีการ
ใหม ๆ มาใชจ ดั การเรียนการสอน วิธีการสอนควรเปนวิธีทีย่ ดึ นักเรยี นเปน ศนู ยกลาง หรอื นกั เรยี นเปน ผูกระทำ
กจิ กรรม เชน วิธีการสอนแบบทดลอง แบบแกปญหา แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ แบบสบื สวนสอบสวน แบบ
แบง กลุม ทำกจิ กรรม แบบอภิปราย แบบศนู ยก ารเรยี น ตลอดจนนวัตกรรมการสอนท่นี าสนใจ การจะใชว ิธี
สอนแบบใดนนั้ ครตู อ งเลือกใหเหมาะสมกับบทเรียน ระยะเวลา สติปญ ญา และวยั ของนักเรยี น

51

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

๓. เทคนิคการปกครองชัน้ เรยี น

เทคนคิ หรือวิธีการทค่ี รูใชป กครองชัน้ เรยี นมีสว นสง เสริมในการสรางบรรยากาศทางจติ วิทยา กลา วคอื
ถา ครปู กครองชน้ั เรยี นดวยความยตุ ิธรรม ยึดหลกั ประชาธปิ ไตย ใชระเบยี บกฎเกณฑท ที่ ุกคนยอมรับ ยนิ ดี
ปฏบิ ตั ิ นักเรยี นก็จะอยูใ นหองเรยี นอยา งมีความสุข เกิดความรูส ึกอบอนุ พอใจและสบายใจ ในทางตรงกนั ขาม
ถาครโู ลเล ไมย ตุ ิธรรม เลือกที่รกั มักทช่ี งั ปกครองช้นั เรยี นแบบเผดจ็ การ นกั เรียนจะเกดิ ความรสู ึกไมศรัทธาครู
ไมเ หน็ คุณคาของระเบยี บกฎเกณฑ สงผลใหน ักเรียนไมส นใจเรยี น ไมอยากมาโรงเรยี นในที่สดุ ดงั น้ันเทคนิค
วธิ กี ารปกครองชนั้ เรียนของครูจงึ มคี วามสำคัญตอ การสรา งบรรยากาศทางจิตวิทยาดวย ซ่งึ ครคู วรยึดหลกั
ดังตอ ไปนี้

๓.๑ หลกั ประชาธิปไตย ครูควรใหค วามสำคัญตอนักเรยี นเทา เทยี มกนั ใหความเสมอภาคใหอ ิสระ ใหโอกาส
แกทุกคนในการแสดงความคิดเห็น ขณะเดียวกันครูตองใจกวา ง ยนิ ดรี ับฟงความเหน็ ของทุกคน และควรฝกให
นักเรียนปฏิบตั ิตนตามสิทธิหนา ท่ี รูจ กั เคารพสทิ ธิของผอู ่ืน ใหรูจักการอยรู ว มกนั อยา งประชาธปิ ไตย

๓.๒ หลกั ความยตุ ธิ รรม ครูควรปกครองโดยใชห ลกั ความยุติธรรมแกน กั เรียนทกุ คนโดยท่วั ถึง นักเรยี นจะ
เคารพศรทั ธาครู และยนิ ดีปฏิบัตติ ามกฎระเบียบของครู ยนิ ดปี ฏบิ ตั ติ ามคำอบรมส่ังสอนของครู ตลอดจนไม
สรางปญหาในชัน้ เรยี น

๓.๓ หลักพรหมวิหาร ๔ ไดแ ก เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ซึ่งมคี วามหมายดงั ตอ ไปนี้

เมตตา หมายถึง ความรกั และเอน็ ดุ ความปรารถนาที่จะใหผอู ่นื เปน สขุ

กรุณา หมายถงึ ความสงสาร คดิ จะชว ยใหผูอ่ืนพนทุกข

มุทติ า หมายถึง ความยินดดี ว ยเมอื่ ผอู น่ื ไดล าภยศ สขุ สรรเสรญิ

อเุ บกขา หมายถึง ความเทยี่ งธรรม การวางตัวเปน กลาง การวางใจเฉย

ถา ครูทุกคนยดึ หลักพรหมวหิ าร ๔ ในการปกครองช้ันเรยี น นอกจากจะทำใหนกั เรียนมีความเคารพรกั
ศรัทธาครู และมีความสุขในการเรยี นแลวยังเปนการปลูกฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม ใหแ กน กั เรียนดว ย

๓.๔ หลกั ความใกลชดิ การที่ครูแสดงความเอาใจใส ความสนใจ ใหความใกลชิดกับนักเรียน เปน วิธีการหน่ึง
ในการสรางบรรยากาศทางดานจิตวทิ ยา วธิ ีการแสดงความสนใจนักเรยี นทำไดห ลายวธิ ี ซึง่ ประกอบดวย

52

วชิ าภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

๑. ครูจะตองรจู ักนักเรยี นในชั้นทุกคน รูจ ักช่ือจริง ช่อื เลน ความสนใจของเดก็ แตละคนเปน ตน วา
งานอดิเรก มีพีน่ องกี่คน จดุ เดน จดุ ดอย ของนกั เรียนแตล ะคน

๒. ครูจะตองแสดงความสนใจในสารทุกขสุขดบิ ของเด็กแตละคน เชน หมนั่ ถามความเปน ไปของพี่
นอ ง ความคบื หนา ของการสะสมแสตมป คือ ไมเ พียงรูแ ตวาเดก็ เปน อะไรในขอ ๑ แตรูขา วคราวเคลอื่ นไหว
ของสงิ่ เหลา นนั้ ดว ย

๓. ครจู ะมอบเวลาของตนเพื่อเด็ก เวลาท่ีนอกเหนอื จากงานสอน ไดแก เวลาเย็นหลงั เลิกเรียน ชวงพัก
ระหวางการเรียน เพ่อื ชวยเด็กท่ตี องการการชว ยเหลอื เปน พเิ ศษ วา ตองการขอคำปรึกษา ตอ งการขอ
คำแนะนำในการหารายไดพเิ ศษ ครจู ะตอ งพรอมทจี่ ะใหความชว ยเหลอื เดก็ ไดตลอดเวลา

๔. ครูจะตองใกลชดิ สมั ผสั ท้ังรา งกายและจติ ใจ คำสงั่ สอนและการกระทำของครูจะตอ งสอดคลองกนั
เปนตน วา ถา ครจู ะอบรมสัง่ สอนเดก็ เรื่องความซื่อสัตย ครจู ะตองปฏบิ ัติตนเปนคนซื่อสตั ยดวยเชนกนั กาย
สมั ผัสกเ็ ปน สง่ิ จำเปน การจบั ตองตวั บาง จะเปน สือ่ นำใหเ ด็กรูส ึกถงึ ความใกลช ิดสนทิ สนม

๔. ปฏสิ ัมพันธใ นชั้นเรียน

ปฏสิ มั พนั ธใ นช้ันเรยี น หมายถงึ ความสัมพันธท างสังคมระหวา ง ๒ คนหรือบคุ คล ๒ ฝา ยโดยตางฝาย
ตา งมอี ิทธิผลซง่ึ กนั และกัน ซงึ่ ปฏสิ มั พนั ธร ะหวางผเู รียนและครถู ือเปน ปจ จยั พื้นฐานท่สี ำคัญตอ การเรยี นการ
สอนในขัน้ แรก ในการเจอกนั ครัง้ แรกของครูกับนักเรียนบุคลิกภาพของครูจะสง ผลตอ ความรูสึกของนักเรียน
ถา ครูดมู ีความอบอนุ เปน กันเอง มีความเปน มติ ร เด็กก็จะไวว างใจและมีความรสู ึกกบั ครู แตใ นทางตรงกนั ขาม
ถา ครูดูไมเปนมติ ร ไมม ีความอบอนุ เขมงวดนกั เรียนกจ็ ะไมมีความรสู ึกที่ดกี บั ครู รูสึกเบื่อหนาย ไมมจี ิตใจใน
การเรยี นรูวชิ าน้นั และอาจเปนปญ หาในเวลาตอมาคือเด็กทำใหค วามสมั พนั ธข องครูกบั นกั เรยี นเปนไปในทาง
ทไ่ี มด ีไมมาโรงเรียน ไมเขาเรยี น และผลการเรยี นวชิ านน้ั อาจตกตำ่ ซึ่งปฏิสัมพนั ธในหองเรยี นมี 3 ลักษณะ
ดวยกนั คอื

๔.๑ ปฏิสมั พนั ธระหวางครกู บั นักเรยี น ปฏสิ มั พนั ธระหวางครูกบั นักเรียน ถาปฏสิ มั พันธร ะหวางครูกบั
นกั เรียนเปนไปดว ยดี หมายถึง ทั้งครแู ละนักเรยี นตางมีความสัมพนั ธอนั ดีตอ กนั ครเู ปด โอกาสใหนักเรียนได
ซักถาม ครใู หค วามเปนกันเองแกน ักเรียน ใหน ักเรียนมีอสิ ระ และมีความสบายใจในการทำกจิ กรรม
บรรยากาศภายในหองเรยี นก็จะไมตึงเครียด เปนบรรยากาศทร่ี ื่นรมย นา เรียน นา สอน ซ่ึงจะสงเสริมใหเกิด
การเรียนรทู ่ดี ี แนวทางในการสรางความสมั พันธอยางเปนระบบครูควรดำเนินการ ดงั นี้

๑. เร่ิมสรา งความสัมพนั ธ

๒. สรา งสดั สว นของคำพูดทางบวกและทางลบอยา งสม่ำเสมอ

53

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

๓. สอื่ สารใหผอู ืน่ เขา ใจเก่ียวกับความคาดหวงั ระดับสูงของตน

๔. รว มกันควบคุมดแู ลการแสดงพฤติกรรมใหเ ปนไปตามความคาดหวัง

๕. สรา งทางเลอื กเพ่ือนำไปสูกฎกตกิ าในช้ันเรยี น

๔.๒ ปฏสิ มั พันธระหวางนกั เรยี นกบั นกั เรียน บรรยากาศในหอ งเรียนจะเต็มไปดว ยความอบอนุ สรา ง
ความรูสกึ ทดี่ ใี หแกนักเรยี นไดถานกั เรียนมีปฏสิ มั พันธท ี่ดีตอกัน คอื มีความสมัครสมานสามัคคี รักใครก ลม
เกลียวกัน ชว ยเหลอื ซึ่งกันและกัน มีน้ำใจเอื้อเฟอ เผื่อแผซง่ึ กนั และกันฯลฯ นกั เรียนจะมีปฏิสัมพันธท ี่ดีตอกนั
ไดน ้นั ขนึ้ อยูกบั ครูเปนสำคญั กลา วคอื เปน แบบอยางท่ีดแี กนกั เรียน ปกครองดูแลนักเรียนไดท ัว่ ถึง สงั่ สอน
อบรมบม นิสยั และแกไขพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของนักเรียนไดถ ูกตอง นักเรยี นกจ็ ะคอย ๆ ซมึ ซบั และซับเอา
สง่ิ ท่ีดงี ามไวปฏิบัติจนเปนคณุ ลกั ษณะเฉพาะตนทีพ่ ึงประสงค เมื่อนักเรียนทกุ คนตางเปนคนดี เพราะมีครูดี ทุก
คนก็จะมีปฏสิ มั พนั ธทดี่ ีตอกัน อนั เปนสว นสรางเสริมใหเกดิ บรรยากาศท่ีพงึ ปรารถนาขน้ึ ในหองเรยี น

๔.๓ ปฏสิ มั พนั ธทางวาจา หมายถงึ การพดู จารวมกนั ในชั้นเรียนระหวางครูกับนักเรยี น อาจเปนการบรรยาย
การอภปิ ราย การถามคำถาม การมอบหมายงาน การพดู ของนกั เรียน เปนตน ทั้งหมดนี้มีอทิ ธพิ ลตอการสราง
บรรยากาศในชัน้ เรยี น ครูควรใชค ำพูดท่ีเปน การสงเสรมิ การเรียนรู ซงึ่ คำพูดเหลานี้ควรเปนน้ำเสียงทด่ี ูอบอนุ
ยอมรับ เห็นใจ เขา ใจ ถาเปนการตง้ั คำถามหรือถามนักเรียนควรเปนคำถามท่สี ง เสริมใหนักเรยี นคิดแสดงความ
คดิ เหน็ และยอมรับฟงความคิดเห็นและยังเปน การเรยี นรูพฤติกรรมความรสู กึ ของเด็กขัน้ พน้ื ฐานวาเด็กมี
ความรสู กึ เจตคติอยางไรเพ่ือปองกนั และแกไขปญหาไดท นั ทว งที เชน คำชมเมื่อนักเรยี นทำงานไดดี ทันเวลา
มาเรียนทกุ วนั โดยทว่ั ไปครใู ชการสื่อสารกับนักเรียนในสามดา น คือ

๑. เพื่อระบุความตอ งการที่ครูตอ งการใหน กั เรียนเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม

๒. เพ่อื แจง ผลการกระทำของนักเรยี น

๓. เพื่อเสนอความคาดหวงั ทางบวกของนักเรยี น

สำหรับการสอื่ สารเราอาจไมใชคำพูดเพยี งอยางเดียวก็ได เราอาจใชก ารกระทำเปน การส่ือสาร เชน
การเดินไปมาในหองเรียน การสบสายตานักเรียน ฯลฯ ซึง่ ผลดีของการมปี ฏสิ มั พนั ธทางวาจาทดี่ ีตอ กนั
สรปุ ไดดงั น้ี

๑. การแสดงออกทางวาจาดวยดีระหวางครูกบั นักเรยี น จะชว ยสรางความเขา ใจอันดตี อกนั

๒. ชวยใหก ารเรยี นไดผ ลดี เพราะมกี ารส่อื ความหมายที่ถกู ตอง เขา ใจกัน

54

วชิ าภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

๓. ชวยใหนักเรยี นรูสกึ สบายใจทจี่ ะรบั วิชาการ หรอื ทำความเขา ใจบทเรยี นและกลา แสดงความ
คดิ เห็นโดยไมหวาดกลัวครู

๔. ชวยใหน ักเรียนเกิดความไวว างใจในตวั ครู มีเหตผุ ล

๕. ชวยใหแ กปญ หาการเรยี นการสอนในชั้นได

๖. ชว ยสรางบรรยากาศที่อ้ืออำนวยใหเ กิดเจตคติ ความสนใจ คานยิ ม และผลการเรียนรู เปนไปตาม
จดุ หมายทกี่ ำหนดไว

การสรางปฏสิ ัมพันธท างวาจาน้ันควรใชอ ทิ ธิพลทางออม (Indirect Influence) ซง่ึ หมายถึง
พฤติกรรมทางวาจาทคี่ รูกระตุนใหนักเรียนแสดงความคดิ เห็น เชน ครูยอมรับความรูส กึ ของนักเรียน ครูชมเชย
สนบั สนุนใหก ำลงั ใจ ครยู อมรับหรอื นำความคิดเหน็ ของนกั เรยี นมาใช ครูถามเพื่อใหน ักเรียนตอบ ฯลฯ โดยครู
หลกี เลี่ยงการใชอ ิทธิพลทางตรง (Direct Influence) ซง่ึ หมายถึง พฤติกรรมที่ครูแสดงฝายเดยี ว เชน ครู
บรรยาย ครูส่งั การ ครวู ิจารณฝา ยเดียว ดังน้นั ครคู วรสรางปฏิสมั พนั ธทางวาจาโดยใชอ ทิ ธพิ ลทางออม เพ่ือ
สงผลดตี อ การเรยี นการสอน

๕. การสรางกฎระเบียบรวมกันระหวา งผเู รียนกบั ครู
เปน สิง่ ที่จำเปน และเครื่องมือท่สี ำคญั ในการจดั การช้นั เรยี นของครู ไมว า กฎระเบยี บเหลา นน้ั จะ

กำหนดข้นึ มาจากครเู อง จากความรวมมอื กนั ระหวา งครูกบั นกั เรยี นหรอื จากนกั เรยี นทสี่ ามารถกำหนดกติกา
ของการอยูรว มกันขน้ึ เองโดยการแนะนำการมีครูเปนท่ปี รึกษา ไมวาแนวคดิ ในการจัดการชัน้ เรยี นจะเนน ที่
อำนาจของครหู รือเนน ความรับผดิ ชอบของนกั เรียน หรือแมกระทงั่ เนน ความเปน ตวั ของตัวเองของนกั เรยี นก็
ตามเพราะดวยความเช่ือทว่ี า การอยูรวมกนั เปนสงั คมจำเปนทีจ่ ะตองมีกฎกตกิ าของการอยูร วมกัน การเคารพ
สทิ ธิของผอู ่นื การปฏบิ ัติหนาท่ขี องตนเองดว ยความรับผดิ ชอบ ตลอดจนปฏบิ ัติตามกฎกตกิ าท่ีไดกำหนดไว
ดวยความเตม็ ใจ ท้งั นี้ครูตองชแ้ี จงใหนักเรียนเขาใจและยอมรบั วาการปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบในชน้ั เรยี น จะทำ
ใหนกั เรียนสามารถท่ีจะเรยี นรอู ยางราบรืน่ ปราศจากอุปสรรคดวยศักยภาพสงู สดุ ที่มีอยใู นตนเอง ทัง้ ยังเปน การ
วางพนื้ ฐานของการอยูรว มกันแบบประชาธปิ ไตย เพอื่ การเปน สมาชิกท่ีดขี องสังคมอีกดว ย

55

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

บรรณานกุ รม

ขนั ธชยั อธิเกยี รต.ิ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย. พมิ พครงั้ ท่ี ๓. กรุงเทพฯ :
สำนกั พมิ พมหาวิทยาลัยรามคำแหง ,๒๕๖๐.

ขนั ธช ยั อธิเกียรติ. วาทการสำหรบั ครู. พมิ พค ร้ังที่ ๕. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพมหาวทิ ยาลัยรามคำแหง,
๒๕๖๒.

จไุ รรตั น ลกั ษณะสิริและคณะ. ภาษากบั การสอ่ื สาร. นครปฐม : โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากรฯ, ๒๕๔๒.
ราชภัฏเชียงราย, มหาวิทยาลัย.คณะมนุษยศาสตร, คณาจารยโปรแกรมวิชาภาษาไทย.

ทักษะภาษาไทย. เชียงราย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งราย. ๒๕๔๘.
วรมน ล้มิ มณี และคณะ. ภาษาไทยเพอื่ การสื่อสารและการสืบคน . กรุงเทพมหานคร :

สถาบันราชภฏั สวนดุสิต. ๒๕๔๔.
วเิ ศษ ชาญประโคน. ภาษาไทยเพือ่ การสื่อสาร. พิมพคร้ังที่ ๒. กรุงเทพมหานคร :

ทรปิ เพิ้ล กรุป. ๒๕๕๐.
ศิลปากร, มหาวิทยาลัย.คณะอักษรศาสตร, ภาควิชาภาษาไทย. ภาษากบั การส่อื สาร

ฉบบั ปรบั ปรุง). นครปฐม : มหาวิทยาลยั ศิลปากร. ๒๕๔๐.
สันทนี บุญโนทก. ภาษาไทยเพอื่ การส่ือสาร. กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนดสุ ติ . ๒๕๕๑
สวนติ ยมาภัย. เอกสารการสอนชดุ วิชา ภาษาเพื่อการสื่อสาร หนวยท่ี ๑ - ๘. พิมพคร้ังท่ี

๑๐. นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. ๒๕๓๖.
สุวิทย ขาวนอก และคณะ. ภาษากับการสือ่ สาร. กรุงเทพมหานคร : นวสาสนการพิมพ. ๒๕๕๑.

56

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

ภาคผนวก

57

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

แผนการเรยี นรู กระบวนการเรียนรู 5 ขัน้ ตอน ( 5 STEPs)
การปฎริ ปู การเรยี นรใู นศตวรรตที่ 21 หวังท่จี ะพัฒนาเด็กไทยและคนไทยใหเ ปน ผเู รียนรตู ลอดชวี ิต
อยา งมีคณุ ภาพ ดังนนั้ การจดั การเรยี นรูของครู จงึ ตองมีการวเิ คราะหห ลักสตู ร และการจัดการเรยี นรทู ี่เนนเด็ก
เปน ศูนยก ลาง ซึง่ เปนทมี่ าของคำวา “กระบวนการเรยี นรู 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs”
ซ่ึงเปนแนวการจดั การเรียนการสอนโดยใชว ธิ ีการสืบสอบหรือวิธสี อนแบบโครงงาน ประกอบดวย
"การตั้งคำถาม การแสวงหาสารสนเทศ การสรางความรู การสื่อสาร และการตอบแทนสังคม"
ซ่งึ จะเปน ตวั ชว ยพัฒนาครใู หม คี ุณภาพ อีกท้ังจะสามารถทำใหเด็กไทยเปน นักเรียนรูตลอดชีวิตอยางมี
คณุ ภาพดว ย

ข้ันตอนท่ี 1 การเรียนรูต งั้ คำถาม หรอื ข้ันต้งั คำถาม
เปนทใ่ี หน กั เรยี นฝก สังเกตสถานการณ ปรากฏการณต า ง ๆ จนเกดิ ความสงสยั จากน้ันฝกใหเดก็ ต้ังคำถาม
สำคัญ รวมท้งั การคาดคะเนคำตอบ ดว ยการสืบคน ความรจู ากแหลง ตาง ๆ และสรปุ คำตอบชั่วคราว
ขั้นตอนท่ี 2 การเรยี นรูแ สวงหาสารสนเทศ
เปน ขั้นตอนการออกแบบ/วางแผนเพื่อรวบรวมขอมูล สารสนเทศ จากแหลง เรยี นรตู าง ๆ รวมทัง้ การทดลอง
เปน ข้ันทีเ่ ด็กใชหลกั การนิรภัย (Deduction reasoning) เพ่ือการออกแบบขอมลู

58

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

ขน้ั ตอนที่ 3 การเรยี นรเู พ่อื สรา งองคความรู
เปนขัน้ ตอนท่เี ด็กมีการคดิ วิเคราะหขอมลู เชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ การส่อื ความหมายขอมูลดว ยแบบตา งๆ
หรอื ดวยผังกราฟก การแปรผล จนถงึ การสรุปผล หรือการสรา งคำอธบิ าย เปนการสรางองคความรู ซึง่ เปน
แกนความรูประเภท

1. ขอเทจ็ จริง
2. คำนยาม
3. มโนทัศน
4. หลกั การ
5. กฏ
6. ทฤษฏี

ข้นั ตอนที่ 4 การเรียนรเู พ่ือการสื่อสาร
คือ ขั้นนำเสนอความรูด ว ยการมใชภาษาทีถ่ ูกตอง ชัดเจน และเปน ท่ีเขา ใจ อาจเปนการนำเสนอภาษา และ
นำเสนอดวยวาจา

ขน้ั ตอนท่ี 5 การเรยี นรเู พ่อื ตอบแทนสังคม
เปนขั้นตอนการฝกเด็กใหน ำความรูท ี่เขาใจ นำการเรยี นรไู ปใชป ระโยชนเพ่ือสวนรวม หรอื เห็นตอ ประโยชน
สว นรวมดว ยการทำงานเปนกลุม รว มสรา งผลงานท่ไี ดจ ากการแกปญหาสังคมอยา งสรางสรรค ซ่งึ อาจเปน
ความรู แนวทางสิ่งประดิษฐ ซง่ึ อาจเปนนวัตกรรม ดวยตวามรบั ผิดชอบตอสังคม อันเปนการแสดงออกของการ
เกื้อกูล และแบง ปนใหสงั คมมีสันตอิ ยางย่ังยนื

แหลงท่ีมา :
http://www.teachersaslearners.com/front/blog_one/81

59

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

แผนการจัดการเรยี นรู

กิจกรรมที่ ...... เรือ่ งเน้อื หาและคำศัพทส ามกก จำนวน ๑ ช่ัวโมง

สปั ดาหที่........ คาบที่ ..... วนั ที่ ๒๕ –๒๙ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑

กระบวนการจดั การเรียนรู : การบรรยาย , วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู (Inquiry Method : 5E)

ตัวช้ีวัด : ท ๑.๑ ม.๖/๑ อานออกเสยี งบทรอยแกวและบทรอยกรองไดอยา งถกู ตองไพเราะและเหมาะสม

ท ๑.๑ ม.๖/๒ ตคี วาม แปลความและขยายความเรอ่ื งท่อี า น

ท ๑.๑ ม.๖/๓ วิเคราะหแ ละวจิ ารณเ รื่องท่ีอา นในทุก ๆ ดานอยางมีเหตุผล

๑. จดุ ประสงคการเรียนรู
ดา นความรู
๑. นักเรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของคำศัพทและสำนวนตา ง ๆ ในเรื่อง สามกก ตอนกวนอูไปรบั

ราชการกบั โจโฉได
ดานทักษะ / กระบวนการ
๑. นักเรียนสามารถวิเคราะหคุณคาดานเน้อื หาของเรือ่ ง สามกก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉได
ดานคุณลกั ษณะอันพึงประสงค
๑. นักเรยี นเหน็ คณุ คาและใชภาษาไทย ในการส่อื สารไดอ ยางถูกตองเหมาะสม

๒. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู
ขัน้ นำ
ครตู ้งั คำถามกระตนุ ความคดิ “นกั เรยี นคิดวา อะไรเปนมูลเหตุของการแบงเปน กกตาง ๆ”
ขัน้ สอน

๑. ครูแจกบตั รคำช่อื ตวั ละครในเร่ือง สามกก ใหน ักเรียนกลุม ละ ๑-๒ ใบ แลวใหน กั เรียนแตละกลุม
ชวยกันพจิ ารณาบัตรคำท่ีไดว า ตัวละครดังกลาวอยูในกกใด แลว นำมาติดบนกระดานใหถ ูกตอ ง

๒. ครูและนักเรียนรวมกนั ตรวจสอบความถกู ตองของการจัดกกตวั ละครหากผดิ ใหชวยกนั แกไ ขใหถ ูกตอ ง
๓. ครใู หน กั เรยี นแตละคนศึกษาความรเู รื่อง สามกก ตอน กวนอูไปรับราชการกบั โจโฉ จากหนังสอื เรยี น
พรอมหาความหมายของคำศัพท และสำนวนตา ง ๆ ทป่ี รากฏในเรือ่ ง จากหนังสอื

๔. นักเรียนแตละคนใบงานท่ี ๑ เรื่อง อา นความตามเรือ่ ง ตอนกวนอูไปรับราชการกบั โจโฉ
ขั้นสรุป
ครแู ละนักเรียนรวมกนั สรุปเนอื้ หา คำศพั ท และสำนวนจากเร่อื งสามกก ตอนกวนอไู ปรับราชการ

กบั โจโฉ

60

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

๓. สือ่ / นวตั กรรม / แหลง เรียนรู

๑. บัตรคำ

๒. หนงั สอื เรยี นภาษาไทย “วรรณคดวี ิจักษ” ระดบั ชั้น ม.๖

๓. ใบงานท่ี ๑ อานความตามเร่ือง

๔. การวัดและประเมนิ ผล

จุดประสงค เคร่ืองมือ / วิธกี ารวัด เกณฑก ารประเมนิ หลกั ฐานการประเมนิ

ดา นความรู

๑. นกั เรียนสามารถ บตั รคำ นกั เรยี นอธิบายได ใบงาน
อธิบายความหมายของ ถกู ตองคิดเปนรอยละ
คำศัพทแ ละสำนวนตาง ใบงานท่ี ๑ อา นความ
ๆ ในเรอื่ ง สามกก ตามเร่ือง ตอนกวนอไู ป ๘๐
ตอนกวนอูไปรบั ราชการ รบั ราชการกับโจโฉ
กบั โจโฉได

ดา นทกั ษะ/ ใบงานท่ี ๑ อานความ นักเรียนระบุใจความ ใบงาน
กระบวนการ ตามเรอ่ื ง ตอนกวนอูไป สำคญั ไดถกู ตอง
รบั ราชการกับโจโฉ
๑. นักเรียนสามารถ คิดเปนรอ ยละ๘๐
วเิ คราะหคุณคา ดา น
เนื้อหาของเรื่อง สามกก
ตอนกวนอูไปรับราชการ
กับโจโฉได

ดานคุณลกั ษณะอนั พงึ การสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนผานเกณฑ แบบประเมนิ
ประสงค การประเมินคุณลักษณะ คณุ ลกั ษณะอันพึง

๑. นกั เรยี นเหน็ คุณคา อนั พงึ ประสงค ประสงค
และใชภาษาไทย ในการ
สื่อสารไดอยางถูกตอง คิดเปนรอยละ ๘๐
เหมาะสม

61

วชิ าภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

๕. ขอเสนอแนะ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................................
(อาจารยส ุริยา อินทจันท)

บนั ทกึ ผลหลังการสอน
๑. ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
๒. ปญ หา / อุปสรรค / แนวทางแกไ ข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
๓. ผลการแกไ ขและพัฒนา
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชือ่
......................................................

(ชอ่ื นกั ศกึ ษา)
ครูผูส อน
............./......................... / ..................

62

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

ใบงาน

กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ แบบฝกหดั ที่ ๑

เรอื่ ง อานความตามเรอ่ื ง ช้นั มัธยมศึกษาปที่ ๖

ช่อื ................................................. นามสกุล....................................................... ม ๖/.........เลขที.่ ...................

คำชแ้ี จง ใหน กั เรียนเรียงลำดับเหตุการณต อไปนใี้ หถูกตอง โดยเขยี น ๑ – ๑๘ เรียงตามลำดบั

เตยี วหุยนำทัพเขาปลนคา ยโจโฉแตเ สยี ที ทำใหเตยี วหยุ ตองนำทหารรบตีฝา วงลอ มหนีไปอยบู นภเู ขา
บองเอี๋ยงสนั

โจโฉปรกึ ษากยุ แกเรื่องจะยกทพั ไปรบกับเลา ปทเี่ มืองชีจ๋ิว
โจโฉคุมทหารตีเอาเมอื งชีจว๋ิ ของเลา ปได
เลา ปรบฝาทพั โจโฉนำทหารหนไี ปหาอวนเสยี้ ว
เตยี วเลยี้ วเกล้ียกลอ มกวนอใู หม ารับราชการกับโจโฉ
โจโฉเหน็ มา กวนอผู อม จงึ มอบมา เซ็กเธาวข องลโิ ปใหแ กกวนอู
เตียวหยุ อาสาเลาปนำทัพออกรบกบั ทัพโจโฉ
แฮหวั ตนุ ใหทหารเลวรอ งดา กวนอูเพ่ือยั่วใหก วนอโู กรธ กวนอเู ปด ประตเู มืองนำทัพออกมารบกับแฮ
หวั ตุน ที่นอกเมอื ง
เลาปส ง สารไปถงึ อวนเส้ยี วขอใหส งกองทัพมาชวยรบกบั โจโฉ แตอ วนเส้ียวปฏิเสธเพราะเปนหวง
บุตรชายทก่ี ำลงั ปว ย
ลมตะวนั ออกพดั มาถกู ธงชยั ของกองทัพโจโฉหักลง เปนนิมิตบอกเหตุวา ทัพเลา ปจ ะยกมาปลนคา ย
กวนอูขอสัญญา 3 ประการจากโจโฉ หากโจโฉยอมรบั ก็จะยอมไปรับราชการดวย
พระเจา เหี้ยนเตพระราชทานช่อื แกกวนอูวา “บีเยียงกง ” แปลวา เจาหนวดงาม
โจโฉปรึกษาแกทหารทง้ั ปวงวาจะยกทัพไปตีเมืองแหฝ อของกวนอู
กวนอเู ขา รับราชการกบั โจโฉ
กวนอูหลงกลอุบายของแฮหวั ตนุ ขับมา ไลต ามแฮหัวตนุ จนออกไปไกลจากเมืองประมาณสองรอ ยเสน
ซุนฮกแนะนำโจโฉวา ถามีศึกมาก็อยาเพ่ิงใหกวนออู าสาไปรบ เพราะถากวนอูยังไมมีความชอบแกโจ
โฉ กจ็ ะยงั คงอยูกับโจโฉตอไป โจโฉไดฟ ง ก็เหน็ ชอบดวย
กวนอคู มุ ทหารหนไี ปถึงเนนิ เขาแหง หน่ึง
โจโฉเห็นกวนอใู สเสื้อขาด จึงมอบเสื้อใหมใ หแกก วนอู กวนอูนำเส้อื ใหมน ้นั ใสช ั้นใน และนำเสือ้ เกาท่ี
เลา ปเ คยใหใ สไ วช้ันนอก

63

วชิ าภาษาเพ่ือการส่อื สารสาํ หรบั ครู ๓

ตอนท่ี 2
คำช้แี จง ใหนกั เรียนพิจารณาขอความในแตล ะขอตอไปนี้วา เปนคำพูดของใคร คำทข่ี ีดเสนใตหมายถงึ ใคร
๑. เลา ปน้ันเปน คนมีสตปิ ญ ญา ถาละไวชา กจ็ ะมีกำลังมากข้นึ อปุ มาเหมือนลูกนกอันขนปกยังไมข น้ึ
พรอ ม แมเราจะนิ่งไวใ หอยูในรงั ฉะน้ี ถาขนขนึ้ พรอมแลวก็จะบินไปทางไกลได

ขอ ความขางตนเปน คำพูดของใคร
๒. เราก็แจง อยูวาครง้ั น้ีไดทีทำการศกึ แตใจเรานั้นเปน หว งอยถู ึงบุตร ถา บตุ รเปนอันตราย ขางหลังชวี ติ
เรากจ็ ะตายดว ย ขอความขางตนเปน คำพดู ของใคร
๓. นอ งเราแตกอ นมาเหน็ วา ไมมีความคิด มีแตฝม อื รบพงุ กลาหาญ เราพ่ึงไดเหน็ ความคิดนองเราทำกล
อบุ ายจบั เลา ตา ยไดค รั้งหนึ่ง มาครัง้ นีจ้ ะยกออกโจมตีกองทัพโจโฉมิใหต งั้ มั่นลงไดน้นั ตองใจเรานัก

ขอ ความขา งตนเปนคำพดู ของใคร
คำที่ขดี เสนใตห มายถงึ ใคร
๔. ซ่ึงเราจะเขาดว ยผใู ดนอกจากเลาปน น้ั อยา สงสยั เลย ตวั เรากม็ ไิ ดรักชีวิต อันความตายอุปมาเหมือน
นอนหลับ ทา นเรงกลบั ไปบอกแกโจโฉใหตระเตรียมทหารไวใหพ รอ ม เราจะยกลงไปรบ
ขอความขางตน เปน คำพูดของใคร
คำท่ขี ดี เสนใตหมายถงึ ใคร
๕. ครั้งนีข้ า พเจา เปนคนอนาถา ซึ่งทานนับถือน้คี ุณหาทีส่ ุดไม แตก อนน้นั ขา พเจากแ็ จง อยูวา นำ้ ใจ
ทา นกวางขวางอารเี ลี้ยงทหารมิไดอนาทร ขาพเจา ก็คิดอยวู าจะมาพงึ่ อยใู หท า นใช จะไดช วยกันกำจัดโจโฉเสีย
ขอ ความขา งตน เปนคำพูดของใคร
คำท่ีขดี เสน ใตหมายถึงใคร
๖. มหาอปุ ราชใหทหารลอมทานไวเปนอนั มาก ถาทานมสิ มัครเขาดว ยเหน็ ชีวิตทานจะถงึ แกค วามตายหา
ประโยชนม ไิ ด ขอความขา งตน เปน คำพดู ของใคร
คำท่ขี ดี เสน ใตห มายถึงใคร
๗. เราใหเ งนิ ทองสง่ิ ของแกทานมาเปนอันมากก็ไมย นิ ดี ทานไมว า ชอบใจแลมีความยินดีเหมือนเราใหม า
ตวั นี้
เหตุไฉนทา นจึงรกั มาอนั เปนสัตวเ ดียรัจฉานมากกวา ทรพั ยส ่ิงสินอีกเลา
ขอความขา งตน เปนคำพดู ของใคร
คำที่ขีดเสนใตห มายถงึ ใคร
๘. ธรรมดาเกิดมาเปน ชายใหร จู กั ที่หนกั ที่เบา ถา ผูใดมิไดรูจ ักทีห่ นักทเ่ี บา คนทงั้ ปวงก็จะลวงตเิ ตียนวา ผู
น้นั หาสตปิ ญ ญาไม อันมหาอุปราชมนี ำ้ ใจเมตตาทาน ทำนุบำรงุ ทานย่ิงกวา เลาปอีก เหตใุ ดทานจงึ มีใจคดิ ถงึ
เลา ปอยู
ขอ ความขา งตนเปนคำพูดของใคร
คำที่ขดี เสน ใตหมายถงึ ใคร

64

เล่าปี่ วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓ 

โจโฉ

กวนอู เตียวหยุ

อ้วนเสี้ยว ลิโป้

แฮหวั ต้นุ เตียนห้อง

สมุ าอี้ ซุนฮก

เทียหยก ม้าเท้ง

กยุ แก ซุนเขียน

(บตั รคำ)

65

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖
หนวยการเรยี นรูท่ี ๓ เร่ือง การแสดงนาฏศิลปและละคร เวลา ๑ ชว่ั โมง
แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๑๒ เรือ่ ง รำวงมาตรฐาน เวลา ๑ ช่ัวโมง
ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ภาคเรยี นที่ ๑
ทีป่ ฏบิ ัติการสอน โรงเรียนวดั น้ำอาบ วนั ที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๔
ชอ่ื ผสู อน นางสาวปย ธดิ า สขุ เผอื ก

๑. สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป
๒. มาตรฐานการเรยี นรู

มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณ

คณุ คานาฏศิลป ถา ยทอดความรสู ึก ความคิดอยางอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกตใ ชในชีวติ ประจำวนั

๓. ตัวช้ีวดั
ป.๖/๓ แสดงนาฏศิลปและละครงาย ๆ

๔. สาระสำคญั
การแสดงนาฏศิลปและละครไทยเปนสิ่งที่สรางความสุข บันเทิงใจใหกับคนในชาติ เปนการแสดงที่เปน
เอกลักษณสะทอนศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีความงดงาม ถือเปนมรดกทางวัฒนธรรมของชาติที่มีคุณคา

ตอ คนในชาตทิ ีค่ วรรวมกันสง เสรมิ อนุรกั ษ และสบื ทอดตอ ไป

๕. สาระการเรยี นรู (KPA) สูตัวชว้ี ดั
(K) ความรู
- นกั เรยี นสามารถเขาใจประวตั คิ วามเปน มาของรำวงมาตรฐานได
(P) ทักษะ/กระบวนการ
- ใหนักเรยี นฝกปฏิบตั ทิ า ทางรำวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงาม
- ใหน ักเรยี นฝกรองเพลงหญงิ ไทยใจงาม
(A) คุณลักษณะอนั พึงประสงค
- นักเรยี นต้งั ใจฟง และกระตือรอื รนกบั กจิ กกรมในช้นั เรียน

66

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

๖. สาระการเรยี นรูแกนกลาง
การแสดงนาฏศลิ ปและการแสดงละคร

- รำวงมาตรฐาน
- ฟอ น

- ระบำ

- ละครสรา งสรรค
๗. สมรรถนะ

การสือ่ สาร การคดิ การแกป ญหา การใชทกั ษะ การใชเ ทคโนโลยี
ชีวติ /
///
/

๘. กจิ กรรมการเรียนรู/กระบวนการเรียนรู
ขน้ั นำเขา สบู ทเรยี น

๑. ผสู อนกลา วทักทายผูเรียนและสอบถามเกีย่ วกับสถานการณ

๒. ผูสอนกลา วเกรน่ิ ถงึ การเรียนการสอนในช่วั โมงวา จะเรยี นกนั ในเรือ่ งรำวงมาตรฐาน

๓. ผสู อนถามผูเรียนวา “นกั เรียนพอรบู างไหมวา รำวงมาตรฐานเปนการแสดงแบบไหน” มกี ารพูดคยุ กับผูเรียน
เกยี่ วกับรำวงมาตรฐาน

ขน้ั สอน
๑. ผูส อนอธิบายโดยเปด ส่ือการสอน Power Point เร่อื ง รำวงมาตรฐาน ผสู อนไดม ีการบอกกับผูเรียนถึงเรื่อง
ทจี่ ะเรยี นในชัว่ โมง

- ประวตั ิความเปนมา
- บทเพลงและเครือ่ งดนตรีประกอบการแสดง
- การแตงกายและอปุ กรณการแสดง

- โอกาสทีใ่ ชในการแสดง

- ลักษณะทา รำ
๒. ผูสอนอธิบายเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของรำวงมาตรฐานวาเปนการละเลนของชาวบาน เดิมเรียกวารำ

โทน ใชโทนในการประกอบจังหวะ มีลักษณะรำเปนคู เดินเปนวงกลม ใชทารำใดก็ได ตอมาไดมีการพัฒนารำ

วงใหมีลักษณะตั้งโตะกลางวง โดยชาย - หญิง รำเปนคู ๆเดินเปนวงกลมอยางเปนระเบียบ ตอมาในพ.ศ.
๒๔๘๗ สมัยรัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงครามไดมอบหมายใหกรมศิลปากรปรับปรงุ การเลนรำวงพื้นบานให

เปน ระเบียบ มีแบบฉบบั ทีด่ เี พือ่ เปน การอนรุ กั ษศิลปการละเลนของชาติ

67

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

๓. ผูสอนอธบิ ายบทเพลงและเครื่องดนตรีประกอบการแสดงวาในการรำวงมาตรฐานใชเ ครื่องดนตรีมากกวาฉิ่ง
กรับ และโทน อาจใชดนตรีบรรเลงไดทั้งวง เปนดนตรีไทยหรือสากลก็ได เพลงและทารำประกอบเพลงมี
ท้ังหมด ๑๐ เพลง โดยในแตล ะเพลงผูสอนไดม ีการเปดวดิ ที ัศนเปน ตัวอยา งใหผเู รียนไดรบั ชม
๔. ผูสอนอธิบายการแตงกายและอุปกรณการแสดงวา ในการแตงกายรำวงมาตรฐานสามารถแตงกายไดท้ัง
แบบไทยพนื้ เมือง ไทยประยุกต และแบบสากล โดยมกี ารแตง กายทงั้ หมด ๔ แบบ
๕. ผูสอนอธิบายโอกาสที่ใชในการแสดงวา การแสดงรำวงสวนใหญเปนการรำวงเขาคูกันของหนุมสาว เพื่อ
ความสนุกสนานรื่นเริง เพิ่มความใกลชิดสนิทสนม ในปจจุบันมีการจัดรำวงมาตรฐานใหเปนสวนหนึ่งในการ
สมาคมแบบสากลทว่ั ไปรว มกบั การลีลาศ
๖. ผสู อนอธบิ ายลักษณะทา รำโดยยกตวั อยา งมาจากหนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐาน ศลิ ปะ ชั้นประถมศึกษาปท่ี
๖ เพลงหญงิ ไทยใจงาม ผูไดใหผูเรยี นรว มกันอา นเนื้อเพลงกนั อยางชา ๆจากน้นั ผูสอนรองเพลงหญิงไทยใจงาม
ใหผูเรียนฟง ๑ รอบ
๗. ผูสอนเปดวดิ ที ศั นเพลงรำวงมาตรฐานใหผ ูเรยี นดู ๑ รอบ ผูสอนอธิบายทา รำเพลงหญงิ ไทยใจงามในทารำที่
๑ ทาพรหมสี่หนา ในการปฏิบัติทาทางอยางละเอียด จากนั้นผูสอนอธิบายทารำเพลงหญิงไทยใจงามทาที่ ๒
ทายูงฟอนหาง ในการปฏิบัตทิ า ทางอยางละเอยี ด
ขั้นสรุป
๑. ผสู อนสรปุ เนื้อหาเรอื่ งรำวงมาตรฐานท่เี รียนในช่วั โมง
๒. ผูสอนใหผ ูเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน

๙. สือ่ /นวัตกรรม/แหลงการเรยี นรู
๑. หนงั สือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน ศิลปะ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖
๒. สอ่ื การเรยี นรใู นรปู แบบวิดีทัศน เพลงหญิงไทยใจงาม
๓. สอื่ การเรยี นรูในรูปแบบวิดีทศั นเ พลงรำวงมาตรฐานทั้ง ๑๐ เพลง
๓. สอ่ื การเรยี นรใู นรูปแบบ Power Point เรอ่ื ง รำวงมาตรฐาน

๑๐. การจดั บรรยากาศการเรียนรู
๑. สถานท่ี ทใ่ี ชใ นการสอนมีความสะอาดมีอากาศถา ยเทไดด ี
๒. บรรยากาศในการจัดการเรยี นการสอนเปน กันเองกบั ผูเรียน

๑๑. กระบวนการวดั และประเมินผล
๑. สังเกตการณแสดงความคิดเห็น การถามตอบในรายวิชา
๒. สังเกตการณป ฏิบตั ิทาทางในช้นั เรยี น
๓. การประเมินแบบทดสอบหลงั เรียน

68

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

๑๒. การวดั และประเมิน เกณฑก ารประเมนิ ภาระงาน/รองรอย
๑๕ หลกั ฐาน
วธิ ีวดั และประเมนิ ผล เครอ่ื งมือทีใ่ ช

การประเมินความรู แบบประเมนิ ความรู
ของผเู รยี น

การสงั เกตพฤติกรรม แบบประเมินแบบ ๑๕
๑๕
ของผูเรยี น สงั เกตพฤตกิ รรม
๑๕
การสงั เกตผเู รียนใน แบบประเมนิ คุณธรรม

ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคานยิ ม

จรยิ ธรรม และคา นยิ ม ทพ่ี งึ ประสงค

ทพี่ ึงประสงค

การประเมิน แบบประเมินคุณภาพ

แบบทดสอบหลังเรียน ช้นิ งาน

ลงชื่อ ปยธิดา สขุ เผือก
( นาวสาวปย ธดิ า สขุ เผอื ก )
............/....................../.............

69

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

๑๓. แบบบันทึกผลหลงั การจัดการเรียนรู

ผลการเรยี นรู
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ปญหาและอุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ขอเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื .........................................................
(นางสาวปยธดิ า สขุ เผอื ก)

นกั ศึกษาฝกประสบการณวชิ าชพี ครู
วนั ท่.ี .......เดือน..........พ.ศ..........

70

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

๑๔. ความคดิ เห็นและขอเสนอแนะของครนู ิเทศฝา ยโรงเรยี น
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
( .............................................. )
ครนู ิเทศฝา ยโรงเรยี น / ครูพ่ีเลี้ยง

๑๕. ความคดิ เหน็ และขอเสนอแนะของครูนเิ ทศฝา ยสถานศกึ ษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
( .............................................. )
ครูนเิ ทศฝายสถานศกึ ษา

๑๖. ความคดิ เห็นและขอ เสนอแนะของครนู ิเทศฝา ยสถานศึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .........................................................
( .............................................. )
ครนู ิเทศฝา ยสถานศึกษา

71

วิชาภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

เกณฑร ะดับคณุ ภาพความรู
รายวิชานาฏศลิ ปไ ทย ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

ลำดับที่ รายการประเมนิ ดีมาก (๓) ดานความรู ปรบั ปรุง (๑)
๑ สามารถอธิบายประวตั ิ พอใช (๒) ยงั ไมอธิบายความหมาย
สามารถอธิบาย ความเปน มาของรำวง สามารถอธบิ ายประวัติ ประวัตคิ วามเปนมาของ
๒ ประวตั คิ วามเปน มา มาตรฐานได ความเปนมาของรำวง รำวงมาตรฐานได
๓ ของรำวงมาตรฐานได อยา งสมบูรณ มาตรฐานได
บางสวน ยังไมสามารถปฏิบัติทา
สามารถปฏิบตั ทิ ารำ สามารถปฏิบัติทารำ รำเพลงหญิงไทยใจงาม
เพลงหญิงไทยใจงาม เพลงหญิงไทยใจงามได สามารถปฏบิ ัติทา รำ ได
ได สมบูรณ เพลงหญิงไทยใจงามได ยังไมร องเพลงหญงิ ไทย
สามารถรองเพลง บางสวน ใจงามได
หญงิ ไทยใจงามได สามารถรองเพลง
หญิงไทยใจงามได สามารถรองเพลง
สมบูรณ หญงิ ไทยใจงามได
บางสว น

เกณฑการประเมิน ดีมาก
๑๐ – ๑๕ คะแนน พอใช
๕ – ๙ คะแนน ควรปรบั ปรงุ

๐ – ๔ คะแนน

72

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

แบบประเมนิ ความรู
คำชีแ้ จง : ใหคะแนนในแตละชอ งรายการที่นักเรยี นปฏิบตั ิไดใ นแตล ะขอโดยมีเกณฑการพจิ ารณา

สามารถอธบิ าย สามารถปฏิบตั ิทารำ สามารถรอ งเพลง

ชอื่ – สกลุ ประวัตคิ วามเปน มา เพลงหญิงไทยใจ หญิงไทยใจงามได รวม
(ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖)
ของรำวงมาตรฐาน งามได
เด็กชายเจษฎากร สุวรรณศรี
เดก็ ชายณฐั พชั ร กลีบยีโ่ ถ ได
เดก็ ชายอติภัทร เพช็ รรักษ
เดก็ ชายกรวชิ ญ มีมงคล ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๕
เดก็ ชายกษดิ เดช ฟกสุข
เด็กชายพงษศ กร เพช็ รวจิ ติ ร
เด็กชายพีรวชั ร คำสอน
เดก็ ชายภวัต ไหลงาม
เดก็ ชายปฏิพล พนามวัง
เด็กหญงิ ชนดิ า มั่งคง่ั
เด็กหญงิ ธมนวรรณ มวงออน
เด็กหญิงพชั ราพร เฝาทรัพย
เดก็ หญิงเสาวภา เจรำ
เดก็ หญงิ อิศริยา สงิ หสาร
เดก็ ชายอดิศร พรเจริญ
เด็กหญิงสชุ าดา เมฆพายับ

เกณฑการประเมิน ๓ คะแนน ดมี าก
ระดบั คุณภาพ ๓ ๒ คะแนน พอใช
๑ คะแนน ปรับปรุง
ระดบั คุณภาพ ๒
ระดบั คุณภาพ ๑

ลงชือ่ ..............................................ผปู ระเมิน
(นางสาวปยธดิ า สขุ เผือก)

.............../................/.................

73

วิชาภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

เกณฑระดบั คุณภาพ คณุ ธรรมจริยธรรม และคา นิยมท่พี ึงประสงค
รายวชิ านาฏศิลปไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

ประเดน็ ดีมาก (๓) ระดับคุณภาพ ปรับปรงุ (๑)
การประเมนิ มีวินยั ในตนเองและแตงกาย ไมมีวนิ ัยในตนเอง เจตนาผิด
ความมวี ินัย ถกู ระเบียบสม่ำเสมอ พอใช (๒) ระเบียบบอ ยครงั้
ตอเนอ่ื งยดึ เปนแบบอยางได มีวินยั ในตนเองเมอื่ ถูก
ใฝเ รียนรู กระตุน ตัง้ ใจปฏบิ ัติทา เมื่อถูกกระตนุ
ตั้งใจปฏิบัตทิ าอยาง เจตนาผดิ ระเบยี บบาง
มีความซื่อสัตย สม่ำเสมอและพยายาม
สจุ ริต พัฒนาฝมอื อยางตอ เน่ือง ต้งั ใจปฏิบัตทิ า เม่ือได
มคี วามมงุ มั่นใน รบั ความสนใจ
การทำงาน ปฏิบตั ิตนสม่ำเสมอเปน
แบบอยา งไดดี ปฏบิ ตั ิตนเมือ่ ไดร ับความสนใจ ปฏิบตั ิตนเมื่อถูกกระตนุ
มจี ติ สาธารณะ
มีความมงุ มัน่ ในการทำงาน มคี วามมุงม่นั ในการทำงาน มีความมงุ มั่นในการทำงาน
ทุกดานอยางสมำ่ เสมอและ
ตั้งใจทำอยางเตม็ เมอื่ ถูกกระตุน บา งเล็กนอย
ความสามารถ
มจี ิตสาธารณะในการ ไมม ีจิตสาธารณะในการ
มจี ิตสาธารณะตอเพอ่ื นรวม
ชน้ั และครูผูสอนอยาง ชว ยเหลอื เพือ่ นในบางครงั้ ชวยเหลือเพอื่ นรวมชั้น
สมำ่ เสมอ

เกณฑก ารประเมิน ดมี าก
๑๐ – ๑๕ คะแนน พอใช
ควรปรับปรุง
๕ – ๙ คะแนน

๐ – ๔ คะแนน

74

วิชาภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

แบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และคานิยมทพี่ งึ ประสงค

คำช้ีแจง : ใหคะแนนในแตละชอ งรายการท่นี ักเรยี นปฏบิ ัตไิ ดในแตล ะขอโดยมีเกณฑการพิจารณา

ชอื่ – สกลุ มวี นิ ยั ใฝเรยี นรู มคี วาม มีความ มจี ติ รวม
(ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖) ๓๒๑ ๓๒๑ ซอ่ื สตั ย มุงมัน่ ใน สาธารณะ ๑๕
สจุ รติ การทำงาน
เด็กชายเจษฎากร สุวรรณศรี ๓๒๑
เดก็ ชายณฐั พชั ร กลีบยีโ่ ถ ๓๒๑ ๓๒๑
เดก็ ชายอตภิ ัทร เพ็ชรรักษ
เดก็ ชายกรวชิ ญ มมี งคล
เด็กชายกษดิ เดช ฟกสุข
เด็กชายพงษศกร เพช็ รวจิ ติ ร
เดก็ ชายพรี วชั ร คำสอน
เด็กชายภวตั ไหลงาม
เด็กชายปฏพิ ล พนามวงั
เดก็ หญิงชนดิ า ม่งั คั่ง
เดก็ หญงิ ธมนวรรณ มวงออ น
เด็กหญงิ พัชราพร เฝา ทรัพย
เดก็ หญงิ เสาวภา เจรำ
เด็กหญงิ อิศรยิ า สงิ หส าร
เดก็ ชายอดิศร พรเจรญิ
เด็กหญงิ สชุ าดา เมฆพายับ

เกณฑการประเมนิ ๓ คะแนน ดีมาก
ระดับคุณภาพ ๓ ๒ คะแนน พอใช
๑ คะแนน ปรบั ปรุง
ระดบั คุณภาพ ๒

ระดับคุณภาพ ๑

ลงช่ือ..............................................ผปู ระเมิน
(นางสาวปยธิดา สุขเผือก)
............../............../.............

75

วชิ าภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

เกณฑการใหค ะแนนแบบสงั เกตพฤติกรรม
รายวิชานาฏศิลปไ ทย ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖

เกณฑ ดมี าก พอใช ปรับปรงุ
นำ้ หนักคะแนน ดมี าก (๓) พอใช (๒) ปรับปรุง (๑)
การเขา ชน้ั เรยี น เขา มาเรียนครบทกุ ชว่ั โมง/ ขาดการเรยี นโดย ไมสง ขาดการเรียนโดยไมมเี หตผุ ล
คาบ และมีการเตรยี ม ใบลาหรือแจง ใหทราบและ บอยครั้ง
ความตรงตอเวลา ความพรอมกอนเขา เรียน เขา มาเรยี นสายในบางคร้งั
ความรบั ผดิ ชอบ มีความตรงตอเวลาในการ ไมมีความตรงตอเวลาในการ
มีความตรงตอเวลาในการ เขาเรียนบา งในบางครงั้ เขาเรยี น
ความมนี ำ้ ใจ เขา เรียนทกุ ครง้ั มคี วามรับผดิ ชอบในการสง ไมมีความรบั ผดิ ชอบในการ
งานและหนา ที่ทไ่ี ดร บั สงงานและหนา ที่ทไ่ี ดรบั
การแสดงความ มคี วามรบั ผดิ ชอบในการ มอบหมายในบางคร้ัง มอบหมาย
คิดเห็น สงงานและหนาที่ท่ีไดรับ มีน้ำใจชว ยเหลอื ครู ในการ ไมมนี ้ำใจชวยเหลอื ครู ใน
มอบหมายทกุ ครง้ั จัดเตรยี มอปุ กรณการเรยี น การจัดเตรียมอุปกรณการ
และชว ยเหลอื เพื่อนบางครง้ั เรยี นและชว ยเหลือเพ่ือน
มนี ำ้ ใจชว ยเหลอื ครู ในการ
จัดเตรยี มอปุ กรณการเรียน มกี ารแสดงออกความ ไมม ีการออกความคิดเหน็ ใน
และชว ยเหลอื เพ่ือนอยาง คิดเหน็ รว มกันในชน้ั เรยี น ช้ันเรยี น
สม่ำเสมอ บางครงั้

มีการแสดงออกความ
คดิ เห็นรวมกันในชน้ั เรียน
บอยครั้ง

เกณฑการประเมนิ ดมี าก
๑๐ – ๑๕ คะแนน พอใช
ควรปรับปรุง
๕ – ๙ คะแนน
๐ – ๔ คะแนน

76

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

แบบประเมนิ แบบสงั เกตพฤติกรรม

คำช้ีแจง : ใหค ะแนนในแตล ะชองรายการที่นักเรียนปฏิบัตไิ ดในแตล ะขอโดยมีเกณฑการพิจารณา

ชอ่ื – สกลุ การเขา ชน้ั ความตรง ความ ความมี การแสดง รวม
(ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖) เรยี น ตอ เวลา รบั ผดิ ชอบ น้ำใจ ความ ๑๕
คิดเหน็
เด็กชายเจษฎากร สุวรรณศรี ๓๒๑ ๓๒๑ ๓๒๑ ๓๒๑
เดก็ ชายณัฐพัชร กลบี ย่ีโถ ๓๒๑
เด็กชายอติภัทร เพ็ชรรกั ษ
เดก็ ชายกรวิชญ มมี งคล
เดก็ ชายกษดิ เดช ฟกสขุ
เด็กชายพงษศกร เพ็ชรวจิ ติ ร
เด็กชายพีรวชั ร คำสอน
เดก็ ชายภวัต ไหลงาม
เดก็ ชายปฏิพล พนามวัง
เด็กหญิงชนิดา มั่งคงั่
เดก็ หญงิ ธมนวรรณ มว งออน
เด็กหญิงพัชราพร เฝาทรัพย
เดก็ หญงิ เสาวภา เจรำ
เด็กหญงิ อศิ ริยา สิงหสาร
เดก็ ชายอดิศร พรเจริญ
เดก็ หญิงสชุ าดา เมฆพายับ

เกณฑการประเมนิ ๓ คะแนน ดมี าก
ระดับคุณภาพ ๓ ๒ คะแนน พอใช
๑ คะแนน ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ ๒

ระดับคุณภาพ ๑

ลงชื่อ..............................................ผปู ระเมนิ
(นางสาวปย ธิดา สุขเผอื ก)

............../............../.............

77

วชิ าภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

เกณฑระดบั คุณภาพ ชน้ิ งาน

ที่ รายการประเมิน ดีมาก (๓) พฤติกรรมทแ่ี สดงออก ปรับปรงุ (๑)
พอใช (๒) ยังไมส ามารถปฏิบตั ิใบ
สามารถปฏิบัติใบงาน สามารถปฏิบัติใบงานท่ี งานทไ่ี ดรับไดอยา ง
สามารถปฏบิ ัติใบงานท่ี ครบถว นและถกู ตอง
๑ ทไ่ี ดร ับไดอ ยา ง ไดร บั ไดอยางครบถว น ไดรบั ไดอยา งครบถวน
ครบถวนและถกู ตอง และถูกตองไดอยา ง

สมบรู ณ

๒ สงตรงตามเวลาที่ สง งานตรงเวลาตามที่ สง งานตรงเวลาตามที่ ไมเคยสง งานตรงเวลา
กำหนด กำหนดสง ทุกครั้ง กำหนดสง เปนบางครง้ั ตามทีก่ ำหนดสง สักครงั้
ครบถว นสมบูรณ

ชิ้นงานมีความสะอาด ช้นิ งานมีความสะอาด ช้นิ งานไมม ีความสะอาด
เรียบรอ ย ในระดับท่ี เรียบรอ ย
๓ ความสะอาดเรียบรอ ย เรยี บรอ ยดมี าก พอใช

เกณฑก ารประเมิน ดีมาก
๑๐ – ๑๕ คะแนน พอใช
๕ – ๙ คะแนน ควรปรบั ปรุง

๐ – ๔ คะแนน

78

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

แบบประเมินคณุ ภาพช้นิ งาน
คำชแี้ จง : ใหค ะแนนในแตละชอ งรายการที่นักเรยี นปฏบิ ัติไดใ นแตล ะขอโดยมเี กณฑการพจิ ารณา

สามารถปฏิบัตใิ บ สง ตรงตามเวลาที่ ความสะอาด

ช่อื – สกุล งานท่ไี ดรับไดอยาง กำหนด เรียบรอ ย รวม
(ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖)
ครบถว นและถูกตอ ง
เดก็ ชายเจษฎากร สวุ รรณศรี
เดก็ ชายณฐั พชั ร กลบี ยโ่ี ถ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๕
เดก็ ชายอตภิ ทั ร เพช็ รรกั ษ
เดก็ ชายกรวิชญ มีมงคล
เดก็ ชายกษดิ เดช ฟกสุข
เด็กชายพงษศกร เพช็ รวจิ ิตร
เดก็ ชายพรี วชั ร คำสอน
เดก็ ชายภวตั ไหลงาม
เด็กชายปฏิพล พนามวงั
เด็กหญิงชนดิ า มั่งค่ัง
เด็กหญงิ ธมนวรรณ มว งออ น
เด็กหญงิ พัชราพร เฝาทรัพย
เด็กหญงิ เสาวภา เจรำ
เด็กหญงิ อิศริยา สิงหสาร
เดก็ ชายอดิศร พรเจรญิ
เดก็ หญงิ สชุ าดา เมฆพายบั

เกณฑการประเมิน ๓ คะแนน ดีมาก
ระดบั คุณภาพ ๓ ๒ คะแนน พอใช
๑ คะแนน ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ ๒
ระดบั คุณภาพ ๑

ลงชือ่ ..............................................ผูป ระเมิน
(นางสาวปย ธดิ า สขุ เผอื ก)

79

วิชาภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 6

หนว ยที่ 3 เพลงตับ ชอ่ื แผน เพลงตนเพลงฉ่ิงสามช้ัน

รายวชิ า เครื่องสายไทย 1 รหสั วิชา ศ 21211 กลุม สาระการเรยี นรูว ชิ าชพี เคร่ืองสายไทย

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 24 ชั่วโมง/คาบ

1. สาระสำคญั
การบรรเลงเพลงไลมอื เพลงตน เพลงฉิ่งสามชน้ั เปน การฝก ความคลอ งตวั และการบรรเลงที่ซำ้ ซอ น ซำ้

ประโยคและความตอเนื่องของทำนองเพลงตามแนวจังหวะที่กำหนด ซอดวง-ซออูจะไดปฏิบัติการสี ดวย

กลวธิ ีคันชกั ออก-คนั ชกั เขา การสรางความสมั พนั ธร ะหวางมือซายและมือขวา
2. มาตรฐานการเรียนรู

สาระที่ 2 การฝกปฏิบตั เิ คร่อื งดนตรตี ามประเภทของเพลง
มาตรฐาน 2.2 เขาใจและมีทักษะในการฝกปฏิบัติเครื่องดนตรี บรรเลงเพลงประเภทตาง ๆ การ
บันทึกโนตเพลงไทยและแสดงออกทางดนตรีไทยอยางสรางสรรค ตระหนักและเห็นคุณคาของดนตรีไทย

ตลอดจนประยกุ ตใชไ ดอยา งเหมาะสม
3. ผลการเรยี นรู

3.1 บอกประวัติเพลงและลกั ษณะเพลงตนเพลงฉงิ่ สามชน้ั

3.2 อธบิ ายศพั ทสังคตี คำวา ตบั

3.3 ปฏบิ ัติเพลงตน เพลงฉิ่งสามช้ัน
4. สมรรถนะทส่ี ำคัญของนักเรียน

4.1 ความสามารถในการสื่อสาร

4.2 ความสามารถในการคิด
4.2 ความสามารถในการแกปญหา
5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค
5.1 รักชาติ ศาสน กษตั ริย
5.2 ซื่อสัตยส จุ ริต

5.3 มวี ินยั

5.4 ใฝเรยี นรู
5.5 อยอู ยา งพอเพยี ง

5.6 มุงม่นั ในการทำงาน

5.7 รกั ความเปน ไทย
5.8 มจี ิตสาธารณะ

80

วิชาภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

6. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
6.1 อธบิ ายประวตั เิ พลง ศัพทสงั คีต และลักษณะของเพลงตนเพลงฉงิ่ สามชัน้ ไดถูกตอง

6.2 ปฏบิ ตั ิเพลงตน เพลงฉิ่งสามช้นั ไดถ ูกตอง
6.3 สามารถถายทอดความรกู ับเพอื่ นได

6.4 สามารถบันทึกโนตอกั ษรไทย เพลงตน เพลงฉิ่งสามช้ันไดถกู ตอง

7. ชดุ คำถามท่ีสำคญั
7.1 เพลงตน เพลงฉง่ิ สามชนั้ มีประวตั ทิ ีม่ าและความสำคญั อยา งไร
7.2 จงอธบิ ายศัพทส ังคตี คำวา ตบั

7.3 การบรรเลงและบันทกึ โนตเพลงตน เพลงฉิง่ สามชัน้ มีความสำคัญอยางไรตอ การเรยี นดนตรีไทย

7.4 มีแนวทางปฏิบตั อิ ยา งไรใหบรรลุจดุ มงุ หมายของการฝก บรรเลงเพลงตน เพลงฉ่งิ สามช้ัน

8. ชิ้นงานภาระงาน
บนั ทึกประวตั ิเพลง และศัพทสงั คีตเพลงตนเพลงฉิ่งสามช้นั ลงในสมุด

9. วธิ ีการ/แนวทางการตรวจใหค ะแนน

เกณฑการประเมนิ 4 3 21
ดี พอใช ควรปรบั ปรงุ
ดมี าก

1. ประวตั ิเพลง และ รายงานไดช ดั เจน รายงานไดคอนขา ง รายงานคลมุ เครือ รายงานไมชัดเจน
ลกั ษณะเพลงตนเพลงฉิ่ง ถูกตองและครบถวน ชดั เจนแตไ มครบถวน ไมครบถว น และไมค รบถวน
สามชัน้

2. ฝกปฏบิ ตั ทิ ักษะ ปฏิบตั ิเสยี งดงั ปฏบิ ตั ถิ ูกตองตาม ปฏบิ ัตเิ สียงไมช ัดเจน ปฏิบตั ไิ ดบ างสว น
เพลงตน เพลงฉง่ิ สามชั้น ชัดเจนถกู ตอ งตาม ทำนองเพลง และ ไมต รงจังหวะ
จงั หวะ
ทำนองเพลง และ
จังหวะ

3. ความรับผิดชอบ ตัง้ ใจขยนั หม่นั เพียร ตั้งใจขยนั หมนั่ เพยี ร ตง้ั ใจขยนั หม่ันเพยี ร ไมต ัง้ ใจเรียน
กลา แสดงออก เปน กลาแสดงออก ไมก ลา แสดงออก ขาดความ
ผนู ำและผูตามที่ดี มี เปน ผูต ามทดี่ ี
ความสามคั คีในหมู กระตือรอื รน
คณะ

81

วิชาภาษาเพ่ือการสือ่ สารสาํ หรบั ครู ๓

10. สาระการเรยี นรู
10.1 ประวตั ิ ลกั ษณะและความสำคญั ของเพลงตนเพลงฉิง่ สามชั้น
10.2 ศพั ทส งั คีต คำวา ตบั
10.3 เพลงตนเพลงฉ่ิงสามชนั้
10.4 การฝก ทักษะการบรรเลงเพลงตนเพลงฉิ่งสามชัน้

11. กจิ กรรมการเรียนรู
11.1 ข้ันนำสูการเรียนรู
ครูเปดเคร่ืองบันทึกเสียงเพลงตน เพลงฉิง่ สามชน้ั และใหนักเรยี นรว มกันอภปิ รายถงึ ลักษณะ
ของเพลงตนเพลงฉิง่ สามชัน้
11.2 ขั้นเรยี นรู
ครเู ปด สื่อเพลงตนเพลงฉ่งิ สามชั้นใหนักเรยี นฟง
11.3 ข้ันเรียนรู
11.2.1 ครูอธิบายประวัติทมี่ า ศัพทส ังคีต คำวา ตับ และสาธติ ทำนองเพลงตน เพลงฉิ่งสามชน้ั ให
นกั เรยี นปฏิบัตติ าม

11.2.2 นักเรยี นฝกปฏบิ ตั ิเพลงตน เพลงฉิ่งสามช้ัน เพ่ือใหเ กิดความชำนาญ

11.4ขัน้ สรปุ การเรยี นรู
11.3.1 นกั เรียนรวมกันสรุปประวัตทิ ี่มาเพลงตน เพลงฉง่ิ สามช้ัน ศพั ทสงั คตี คำวา ตับ
11.3.2 นกั เรียนปฏบิ ตั ิเพลงตนเพลงฉ่งิ สามชน้ั รายบุคคล
11.3.3 นักเรียนบนั ทึกโนตอักษรไทยเพลงตนเพลงฉ่งิ สามชั้น

12. ส่ือและแหลงการเรียนรู
12.1 สื่อการเรยี นรู
12.1.1 เคร่อื งดนตรี ซอดว ง-ซออู
12.1.2 เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
12.2 แหลงการเรยี นรู
12.2.1 สอ่ื วดี ีทศั น
12.2.2 ลานวฒั นธรรมและสถานท่ีจัดกจิ กรรมตาง ๆ
12.2.3 หอ งสมุดดนตรีของสถาบนั ตา ง ๆ

82

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

13. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

วธิ กี ารวัด/สง่ิ ที่ตองการวดั เครื่องมือวดั เกณฑการวดั
ดา นพทุ ธิพิสัย
1.ตอบคำถาม 1.แบบทดสอบ ผา นระดบั รอ ยละ 60
2.การแสดงความคิดเหน็ 2.แบบประเมนิ ผา นระดับ รอ ยละ 80
ผานระดับ รอยละ 80
ดา นทกั ษะพิสัย แบบประเมินผลงาน
การบรรเลงเพลงตน เพลงฉิ่งสามชั้น
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
ดา นจิตพิสัย ดา นคณุ ลักษณะของผูเรยี น
สงั เกตจากการทำกิจกรรม

83

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

14. บันทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรูหลงั สอน
ผลการสอน
นักเรยี นสามารถปฏิบัติเพลงตน เพลงฉงิ่ สามชัน้ ได

ปญหาและอุปสรรค
1) นักเรียนยงั เทียบเสียงซอไมเปน
2) นกั เรียนสซี อเพ้ยี น และวางมือไมต รงตำแหนง

แนวทางการแกไข
1) ใชแอพพลิเคชนั่ Piano Tuner ในการชว ยเทียบเสยี งซอ และสอนวิธีการจับลูกบดิ ของซอ

ขณะเทียบเสียง
2) หมั่นบอกนักเรยี นเสมอเม่ือนกั เรยี นวางนิว้ ไมตรงตำแหนง เพราะนักเรียนทีป่ รบั พนื้ ฐาน

ใหมจ ะยงั จำตำแหนง ของเสยี งไมได

ลงช่ือ.......................................................
(นางสาวนัจนนั ท จนั พวง)

นักศกึ ษาฝก ประสบการณว ิชาชพี ครู
ความคดิ เหน็ และขอเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวชำเรอื ง เกตุฉว)ี
ครูพเี่ ลีย้ ง

ความคดิ เหน็ และขอเสนอแนะของอาจารยนเิ ทศกฝายดุริยางคศลิ ป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชอ่ื .......................................................
(นายวรี วฒั น เสนจนั ทรฒไิ ชย)
อาจารยนเิ ทศกฝ า ยดุริยางคศิลป

84

วิชาภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

ความคิดเหน็ และขอ เสนอแนะของอาจารยน เิ ทศกฝ ายภาคการศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชอ่ื .......................................................
(นายสรุ ยิ า อินทจนั ท)

อาจารยน เิ ทศฝายภาคการศึกษา

85

วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สารสาํ หรบั ครู ๓

แบบประเมินผลงาน

คำชแี้ จง : ให ผูส อน ประเมินผลการเรียนรูของนักเรยี น แลว ขดี  ลงในชอ ง

ทตี่ รงกบั ระดบั คะแนน

อธบิ ายประวัติ สามารถ สามารถบนั ทึก
เพลง ศัพทสังคีต ปฏิบตั เิ พลงตน ถายทอด
ลำดบั ท่ี ชือ่ -สกลุ และลกั ษณะของ เพลงฉิ่งสามชัน้ ความรูก บั โนต อกั ษรไทย รวม
ของผรู บั การประเมนิ เพลงตน เพลงฉง่ิ ไดถกู ตอง เพ่ือนได เพลงตนเพลงฉ่งิ 12
สามชั้นไดถ ูกตอง คะแนน
สามชั้นได
ถกู ตอง

3 213 2 1 3 21321

1 เดก็ หญิงปย รมย ขวนขวายทรพั ย    10

2 เด็กหญิงวรรณดิ า อนี ินทร    10

3 เดก็ หญิงเขมิกา ใจไทย    9

4 เด็กหญิงวีรภัทรา มีดี    10

5 เดก็ หญิงชาลิสา ขุนวงษ   8

ลงชือ่ .................................................... ผูประเมิน
................ /................ /............

เกณฑก ารใหคะแนน
คะแนน 12 หมายถงึ มรี ะดับคณุ ภาพดเี ยย่ี ม
คะแนน 9 - 11 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพดี
คะแนน 5 - 8 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช
คะแนนต่ำกวา 5 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรงุ

86

วชิ าภาษาเพ่ือการสอื่ สารสาํ หรบั ครู ๓

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
คำช้แี จง : ให ผูสอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางเรยี น แลว ขดี  ลงในชอ ง

ที่ตรงกบั ระดับคะแนน

ลำดบั ช่อื -สกลุ ความต้ังใจ ความ การตรงตอ ความสะอาด ผลสำเรจ็ รวม
ท่ี ของผรู ับการประเมิน
ในการทำงาน รับผิดชอบ เวลา เรยี บรอย ของงาน 15
คะแนน

321321321321321

1 เด็กหญิงปย รมย ขวนขวายทรพั ย      15

2 เดก็ หญิงวรรณิดา อนี ินทร      15

3 เดก็ หญิงเขมกิ า ใจไทย     10

4 เด็กหญิงวรี ภัทรา มดี ี  15

5 เดก็ หญิงชาลิสา ขุนวงษ      10

ลงชอ่ื ....................................................ผปู ระเมนิ
................ /................ /............

เกณฑการใหคะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา งสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน

ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอยครั้ง ให 2 คะแนน

ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให 1 คะแนน

เกณฑการตดั สินคณุ ภาพ

ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

12 - 15 ดี

18 - 11 พอใช

ต่ำกวา 8 ปรบั ปรงุ

87

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

ใบความรทู ่ี 1
เพลงตนเพลงฉ่ิง สามช้นั

ประวัตทิ ่ีมา

1. ประเภทเพลงตับอัตราจังหวะ 3 ชั้น เรียกตับตนเพลงฉิ่งหรือตับกากี มี 4 เพลง คือ ตนเพลงฉิ่ง,
จระเขหางยาว, ตวงพระธาตุ และนกขม้ิน โดยใชบทรองจากเรื่องกากคี ำกลอนของเจาพระยาพระคลังหน

2. เพลงตับอัตรา 2 ชั้น ทำนองเกาสมัยอยุธยา จัดเปนเพลงตับมโหรีทำนองเพลงไพเราะ ลีลาเพลง
สละสลวย บทรองเปนบทมโหรีเรื่องพระรถเสน ตอนกรุงเกา ทั้งยังใชเปนตำราสำหรับฝกหัดขับรองเพลง
5 เพลง คือ เพลงตนเพลงฉิ่ง เพลงสามเสา (จระเขหางยาว) เพลงตวงพระธาตุ เพลงนกขมิ้น และเพลง
ธรณีรองไห เพลงตับชุดนี้ คุณไพฑูรย กิตติวรรณ ไดรวมกันกับนางเจริญ พาทยโกศล บันทึกแผนเสียงเม่ือ
พ.ศ. 2471 โดยใชวงมโหรวี งบางขนุ พรมบรรเลง

3. เพลงทางเดี่ยวทางซอสามสาย พนะยาภูมีเสวิน (จิตร จิตรเสวี) แตงโดยนำตนเพลงฉิ่งอัตราจังหวะ
3 ชนั้ ในตับตนเพลงฉงิ่ มาประดิษฐทำนองใหพ ิสดารเปนทางเด่ยี ว

บทรองเพลงตนเพลงฉงิ่ 3 ช้ัน

กากปี องปด สลดั กร ชายเนตรคมคอนใหป ก ษา

เหตไุ ฉนใยจึงอาจอหังการ มาเอื้อนอจั วจั นาทุกสง่ิ อัน

88

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

ใบความรทู ่ี 2

โนต เพลงตนเพลงฉ่ิง สามช้ัน (ซอดวง)

รบั รอ ง

สายเอก - - - ล - - - - ซ - - - ฟ - - - ร ---ร ---ฟ ---ซ

สายทมุ - - - ด

ทอน 1 ลฟซล ฟซล รร ฟซ
บรรทัด 1 สายเอก ซ ซลทด ดท ทลซท ลซ
ซดซล ดทลด
สายทมุ

บรรทดั 2 สายเอก ลซฟม ร รม รมฟซ ลซฟ รมฟซ ร

สายทมุ ด ล ด ซ ด ด ทลซล ทด ด

บรรทัด 3 สายเอก ซ ล ซ ม ซ ม ร รม รมซล มซรม ลซมร ซมร

สายทมุ ด ท ล ซ ล ท ด ด

บรรทัด 4 สายเอก ร ม ฟ ซ ล ซ ฟ ม ร ร ม ร ม ฟ ซ ล ซ ฟ ม ร ม ฟ ซ ร

สายทุม ด ทลซล ทด ด

บรรทัด 5 สายเอก ร รฟรร ฟซฟร ฟร ร ฟ

สายทุม ซ ล ซ ซ ล ด ล ล ด ด ด ดล ด ดล ดลซ

บรรทัด 6 สายเอก รฟซ ฟลซฟ ลซฟร ฟ ฟรรร ซฟฟฟ ลซซซ
สายทุม ด ดดด กลับตน
ซลดร

89

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

ทอน 2 ร มฟซฟ มร ร มรรร
บรรทดั 1 สายเอก ซลด ดล ดซซซ ดดด
ดลลล ดลลล
สายทุม

บรรทัด 2 สายเอก ซ ร ม ร ม ฟ ซ ฟ ล ซ ฟ ซ ฟ ม ร ซ ร ม ฟ ซ ฟ ม ร ซ ม ร ม ร

สายทุม ด ด ดล

บรรทดั 3 สายเอก ร รฟรร ฟซฟร ฟร ร ฟ

สายทมุ ซ ล ซ ซ ล ด ล ล ด ด ด ดล ด ดล ดลซ

บรรทัด 4 สายเอก ลซฟร รฟซ ฟลซฟ ลซฟร ฟ ฟรรร ซฟฟฟ ลซซซ
สายทุม ด ดดด กลบั ตน

90

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

ใบความรทู ี่ 3

โนต เพลงตนเพลงฉ่งิ สามชั้น (ซออู)

รบั รอ ง

สายเอก - - - ล - - - ซ ---ซ

สายทมุ ---ฟ ---ร ---ด ---ร ---ฟ

ทอน 1 ลฟซล ซดซล ซ ซล ซลทด รดทร ดทลด ทลซท ลซ ซ
บรรทัด 1 สายเอก ฟ ฟ

สายทุม

บรรทัด 2 สายเอก ด ล ด ซ ล ซ ซ ลซ ซ ทลซล ทดรด

สายทมุ ฟม รดรม รมฟ ฟด รมฟ

บรรทัด 3 สายเอก ซ ล ซ ซ ทลซล ทด ซล ดลซ ซลซ ซม

สายทมุ ม ม ร ด รม รม ม ม รด

บรรทัด 4 สายเอก ซ ลซ ซ ลซ ซ ทลซล ทดรด

สายทุม ร ม ฟ ฟม รดรม รมฟ ฟด รมฟ

บรรทดั 5 สายเอก ซ ล ซ ซ ล ด ล ล ด ร ด ด ซ ล ดรดล ดลซ

สายทุม รฟรร ฟ ฟร ฟรด ฟ

บรรทดั 6 สายเอก ลซ ซ ลซ ลซ ฟรรร ซ ลซซซ
สายทุม ฟร ดรฟ ฟฟ ฟร ฟดดด ฟฟฟ
กลบั ตน

91

วิชาภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

ทอน 2 ดลลล ซลดร ซ ล ดซซซ ดลลล รดดด
บรรทดั 1 สายเอก มฟ ฟ มรด
มรรร
สายทุม

บรรทดั 2 สายเอก ซ ซ ลซ ซ ซ ซ ซ ล

สายทมุ ด ร ม ร ม ฟ ฟ ฟ ฟ ม ร ร ม ฟ ฟ ม ร ม ร ด ม ร ด

บรรทดั 3 สายเอก ซ ล ซ ซ ล ด ล ล ด ร ด ด ซ ล ดรดล ดลซ

สายทมุ รฟรร ฟ ฟร ฟรด ฟ

บรรทดั 4 สายเอก ลซ ซ ลซ ลซ ฟรรร ซ ลซซซ
สายทุม ฟร ดรฟ ฟฟ ฟร ฟดดด ฟฟฟ
กลับตน

92

วชิ าภาษาเพ่ือการส่ือสารสาํ หรบั ครู ๓

ใบความรูท่ี 4

หนาทับปรบไก

หนาทับปรบไก เปนหนาทับที่ใชอยูในเพลงประเภทเสภาหรือขับรองเปนสวนมาก เพลงประเภท
โหมโรงเสภาหรอื โหมโรงรบั รอ ง กม็ กั จะใชหนาทับปรบไกเชนกัน การที่เราเรยี กวา “ ปรบไก “ กเ็ พราะวา
เดิมทีเดียวนั้นทานคณาจารยในสมัยโบราณ ใชตะโพนตีเลียนลูกคูท่ีรองรับปรบไก ซึ่งเปนเพลงพื้นเมือง
ประเภทหนง่ึ ทำนองท่ลี กู คูรองรับเพลงปรบไกน น้ั มีดังนี้

ฉา ฉา ฉา ชา ชะ ฉา ไฮ

ซ่งึ ตะโพนไดเ ลยี นเสยี งลกู คูด งั กลาวเปนเสียงตะโพนดังนี้

พรงึ ปะ ตบุ พรงึ พรึง ตบุ พรึง

ดวยเหตุผลดังกลาวน้ี เราจงึ เรยี กหนา ทับนว้ี า “ หนา ทบั ปรบไก “ ตอมาเมื่อมีเครอื่ งดนตรีประเภท
เคร่ืองหนังเกิดข้นึ อีกก็ไดดดั แปลงมาใชกับเครื่องมือประเภทตา งๆ เหลานน้ั โดยดดั แปลงมาจากเนื้อตะโพน
ดังกลา ว

ทำนองหนา ทับปรบไก

สามช้ัน - โจะ - จะ - โจะ - จะ ---- - โจะ - จะ - โจะ - จะ - โจะ - จะ
ติงทง่ั - ติง - โจะ - จะ - ติง - ท่งั - ตงิ - ติง - ท่ัง - ตงิ - ตงิ – ท่ัง
- - ทัง่ ติง ทั่งติงโจะ จะ
- ติง - ติง - ท่งั ติงทัง่

93

วชิ าภาษาเพ่ือการสื่อสารสาํ หรบั ครู ๓

ใบความรทู ี่ 5

ศพั ทส ังคตี

ตบั

: หมายถึง เพลงหลาย ๆ เพลง นำมารอ งบรรเลงตดิ ตอกันไป ซึง่ แยกออกไดเ ปน 2 ชนดิ คอื
1. ตับเรื่อง เพลงทีน่ ำมารวมรองและบรรเลงตดิ ตอกันน้ัน มีบทรอ งที่เปนเรื่องเดียวกัน และดำเนินไป
โดยลำดับ ฟงไดติดตอกันเปนเรื่องราว สวนทำนองเพลงจะเปนคนละอัตรา คลละประเภทหรือลักลั่นกัน
อยา งไรไมถอื เปน สำคญั เชน ตบั นางลอย ตบั นาคบาศ เปนตน
2. ตับเพลง เพลงที่นำมารวมรองและบรรเลงติดตอกันนั้น เปนทำนองเพลงที่อยูในอัตราเดียวกนั
(2 ชั้นหรอื 3 ช้ัน) มสี ำนวนทำนองสอดคลองตดิ ตอ กนั สนิทสนม สวนบทรอ งจะมเี น้อื เรอ่ื งอยางไร เร่อื งเดียวกัน
หรือไม ไมถอื เปนสำคญั เชน ตับลมพดั ชายเขา ตบั เพลงยาว เปนตน ตับเพลงน้บี างทกี ็เรียกวา “เร่ือง” เฉพาะ
จำพวกเร่อื งมโหรี

94


Click to View FlipBook Version