The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krumunphysmath, 2018-05-21 00:13:46

merged

merged

รายวิชาพ้นื ฐาน คาํ อธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท* ่ี 1 กล'ุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร
เวลา 120 ช่วั โมง

ศึกษาเกย่ี วกับสารรอบตัว สมบัติของสาร การจําแนกสารดวยสถานะ เน้ือสาร และขนาดอนุภาคของ
สาร การเปล่ียนแปลงของสาร สารบริสุทธ์ิและสารผสม สมบัติของสารบริสุทธ์ิและสารผสม การใชความรูทาง
เคมีใหเป6น ประโยชน#ต)อการเลือกใชสารเคมีในชีวิตประจําวันไดอย)างเหมาะสมและปลอดภัย การศึกษา
ชวี วทิ ยาโดยอาศัยวิธีการ ทางวทิ ยาศาสตร# ศึกษาประเภท โครงสรางและหนาที่ของส)วนประกอบภายในเซลล#
สิ่งมีชีวิตดวยกลองจุลทรรศน# ศึกษากระบวนการลําเลียงสารเชาและออกจากเซลล#ดวยวิธีการแพร) และการ
ออสโมซสิ ศึกษาการดาํ รงชีวติ ของพชื กระบวนการสังเคราะหด# วยแสง การลําเลียงสารในพืช การเจริญเติบโต
ของพืช การสืบพันธุของพืช และ เทคโนโลยีชีวภาพของพืช ศึกษาเกี่ยวกับอุณหภูมิและการวัด ผลของความ
รอนท่ีมีต)อการเปล่ียนแปลงของสาร การ ถ)ายโอนความรอน การดูดกลืนและคายความรอน สมดุลความรอน
องคป# ระกอบของบรรยากาศ การแบ)งชั้น บรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตย#ต)อบรรยากาศ องค#ประกอบ
ของบรรยากาศไดแก) อุณหภูมิอากาศ ความ ดัน อากาศ ความช้ืนอากาศ ลม เมฆ และฝน พายุฟBาคะนอง
พายุหมนุ เขตรอน มรสมุ การพยากรณอ# ากาศ และการ เปล่ียนแปลงภูมิอากาศของโลกโดยอาศัยกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร# กระบวนการสืบเสาะหาความรู การลีบดนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห# การทดลอง การ
อภปิ ราย การอธบิ ายและสรุป เพ่ือใหเกดิ ความรู ความคิด ความเชาใจ มี ความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสาร
ส่ิงท่ีเรยี นรูและนา) ความรไู ปประยุกต#ใชในชวี ติ ประจาํ วนั มีจติ วทิ ยาศาสตร# มี คุณธรรม และจริยธรรม

ตัวชวี้ ัด ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.!/10 ม.!/!! ม.1/12
ว 1.2 ม.!/!3 ม.1/14 ม.1/15 ม. 1/16 J.1/17 ม.1/18
ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.!/!0
ว 2.1 ม.1/1
ว 2.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2

รวม 43 ตัวช้ีวดั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 48

โครงสรางรายวชิ าวิทยาศาสตร ม.1

หน) มาตรฐานการเรยี นรู/ สาระการเรยี นรู เวลา
วย ชอื่ หน)วยการเรยี นรู ตัวชวี้ ดั (ชั่วโ
ท่ี มง)

1 สารรอบตัว ว 2.1 สารรอบตวั ประกอบไปดวยธาตแุ ละ 26

ม.1/1 สารประกอบสารแตล) ะชนดิ มีสมบัตทิ าง

ม.1/2 กายภาพและสมบตั ิทางเคมที ี่เหมอื นและ

ม.1/3 แตกตา) งกนั ความรอนเป6นปจ@ จยั หนึ่งทที่ าให

ม.1/4 สถานะของสารซึ่งเปน6 สมบตั ิทางกายภาพ

ม.1/5 เปล่ียนแปลงไปสารบรสิ ุทธิ์คือสารท่มี ี

ม.1/6 องค#ประกอบเพียงชนดิ เดียวประกอบ

ม.1/7 ไปดวยธาตุและสารประกอบธาตแุ บ)งออกเปน6

ม.1/8 ธาตโุ ลหะธาตกุ ง่ึ โลหะและธาตอุ โลหะซงึ่

ม.1/9 ธาตุบางชนิดสามารถแผร) งั สีไดเรยี กว)าธาตุ

ม.1/10 กัมมันตรังสเี ม่ือธาตุมากกว)าหน่ึงชนิดมา

รวมกันทางเคมกี ลายเปน6 สารประกอบทีม่ ี

สมบตั ิแตกต)างไปจากธาตเุ ดิมทีเ่ ปน6

องคป# ระกอบสารมากกว)าหนึ่งชนดิ มาผสมกัน

เรียกว)าสารผสมบางชนิดผสมเป6นเนื้อเดยี วกัน

เรียกวา) สารละลายบางชนดิ ผสมไมเ) ปน6 เน้ือ

เดยี วกันเช)นสารแขวนลอยคอลลอยดเ# ปน6 ตน

2 หนว) ยของสิง่ มชี ีวิต ว 1.2 สิ่งมีชวี ิตทุกชนิดมีเซลล#เป6นหนว) ยทเ่ี ล็กท่ีสุด 12

ม.1/1 เป6นองค#ประกอบสงิ่ มชี ีวิตบางชนดิ สามารถดา

ม.1/2 รงชีวิตอยูไ) ดเพียงเซลล#เดยี วบางชนดิ จาเปน6

ม.1/3 ตองมีหลายเซลลม# ารวมกันเป6นเนือ้ เยอ่ื ซงึ่ มี

ม.1/4 รปู รา) งและหนาท่ีแตกต)างกนั

ม.1/5 องคป# ระกอบพ้นื ฐานของเซลล#ไดแก)นวิ เคลียส

ไซโตพลาซึมและเยื่อหุมเซลล#

กระบวนการแพร)และออสโมซสิ เปน6

กระบวนการท่ีสิ่งมีชีวิตใชลําเลยี งสารเขา-ออก

จากเซลล#

3 การดารงชีวิตของ ว 1.2 พชื ดารงชวี ิตอยูไ) ดดวยสว) นประกอบต)างๆดงั น้ี 22

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 49

พชื ม.1/6 ใบไมมคี ลอโรพลาสต#ทมี่ สี ารคลอโรฟล_ ล#ซ่ึง

ม.1/7 เกยี่ วของกบั กระบวนการสังเคราะหด# วยแสง

ม.1/8 โดยมีแกYสคารบ# อนไดออกไซด#

ม.1/9 และนาเป6นสารตง้ั ตนและไดนาตาลกลโู คส

ม.1/10 ออกซเิ จนและนาเป6นผลติ ภณั ฑ#ซึง่ จาเป6นต)อ

ม.1/11 การดารงชวี ติ ของส่งิ มชี ีวิตในระบบ

ม.1/12 นิเวศรากและลาตนประกอบไปดวยเน้ือเยอ่ื ลา

ม.1/13 เลยี งไซเลม็ ทาหนาท่ดี ดู นาและแรธ) าตโุ ดย

หน) มาตรฐานการเรยี นรู/ เวลา
วย ชอื่ หน)วยการเรยี นรู ตวั ชว้ี ดั
ท่ี สาระการเรยี นรู (ชัว่ โ

มง)

อาศยั กระบวนการแพร)และออสโม

ซิสเนื้อเยอ่ื ลาเลยี งโฟลเอม็ ทาหนาทีล่ าเลยี ง

อาหารดวยกระบวนการทรานสโลเคช่นั

ดอกไมเป6นอวยั วะสบื พันธ#ุของพชื ดอกไมทถี่ ูก

ผสมเกสรจะเจริญกลายเปน6 ผลซง่ึ ภายในมี

เมล็ดทาหนาที่กระจายพนั ธ#พุ ืชโดยพืชตนใหม)

ม.1/14 ท่ีงอกออกจากเมลด็ จะมลี ักษณะที่แตกต)างไป
ม.1/15ม.1/16
ม.1/17 จากตนพ)อแม)พชื สามารถขยายพันธโ#ุ ดยใชส)วน
ม.1/18
โครงสรางพิเศษตา) งๆของพืชเช)นรากลาตนใบ

และมนุษย#สามารถนาส)วนต)างๆของพืชมา

ขยายพนั ธุ#ไดเชน) การป@กชาการติดตาการตอน

ก่ิงเป6นตนซงึ่ พชื ตนใหมจ) ะมีลักษณะไม)

แตกตา) งไปจากตนพ)อแม)

มนุษย#นาความรูทางวิทยาศาสตรม# า

ประยุกต#ใชกับพชื เชน) การเพาะเลีย้ งเนอ้ื เยื่อ

พืชการดัดแปรพนั ธกุ รรมพชื เป6นตนเพอ่ื

เพยี งพอต)อความตองการของมนษุ ย#

4 พลงั งานความรอน ว 2.3 อุณหภมู คิ ือระดบั ความรอนของสารสามารถ 21
ม.1/1
ม.1/2 วดั ไดโดยใชอปุ กรณท# ี่เรียกวา) เทอรม# อมิเตอร#
ม.1/3
เทอรม# อมิเตอร#มีอย)หู ลายแบบเชน) เทอรม# อ-

มิเตอร#แบบกระเปาะเทอร#มอมิเตอร#แบบ

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 50

ม.1/4 ดจิ ิทลั เป6นตนขน้ั ตอนการใชเทอร#มอมิเตอร#
ม.1/5
ม.1/6 แบบกระเปาะคอื จุ)มเทอร#มอมิเตอรด# าน
ม.1/7
กระเปาะลงในสารท่ีตองการวัดโดยใหเทอรม# อ

มิเตอร#อยู)ในแนวดิง่ แลวอา) นค)าอณุ หภมู โิ ดยให

สายตาอย)ูระดับเดยี วกับ

ระดับของเหลวในเทอรม# อมิเตอร#

หนว) ยวดั อณุ หภมู ิมอี ยห)ู ลายหน)วยซึ่งแต)ละ

หน)วยจะมจี ดุ เยือกแข็งและจุดเดือดแตกต)าง

กันหากตองการเปรยี บเทียบค)าอุณหภมู ิ

ระหว)างหนว) ยวดั อุณหภมู ิจะไดสมการดังน้ี

C/5= (K-273)/5= (F-32)/9=R/4

สารเม่ือไดรบั ความรอนอาจมีการเปลย่ี นแปลง

อณุ หภูมสิ ถานะหรอื รปู รา) งของสารความรอน

ท่มี ีผลต)อการเปลยี่ นแปลงอุณหภมู ิของสาร

ข้ึนอย)กู ับมวลความรอนจาเพาะและอณุ หภมู ิท่ี

เปลี่ยนแปลงไปโดย

สถานะของสารไม)เปลี่ยนแปลง

หน) มาตรฐานการเรยี นรู/ เวลา
วย ช่อื หนว) ยการเรยี นรู ตัวชี้วัด
ท่ี สาระการเรยี นรู (ชัว่ โ

มง)

ความรอนที่มผี ลต)อการเปลีย่ นแปลงสถานะ

ของสารข้นึ อย)ูกบั มวลและความรอนแฝงจา

เพาะโดยที่อณุ หภมู ิของสารไม)เปลีย่ นแปลง

ความรอนที่มีผลตอ) การเปลีย่ นแปลงรปู รา) ง

ของสารเมื่อสารไดรบั ความรอนจะทาให

อนุภาคเคลื่อนท่ีเรว็ ขนึ้ ทาใหเกดิ การขยายตัว

ส)งผลใหขนาดและรปู รา) งเปลยี่ นแปลงไป

สารท่ีมอี ุณหภมู ิแตกตา) งกนั จะมีการถา) ยโอน

ความรอนระหวา) งกนั การถ)ายโอนความรอนมี

3 แบบคอื การนาความรอนการพาความรอน

และการแผ)รังสีความรอนการนาความรอนเปน6

การถา) ยโอนความรอนทอี่ าศยั ตวั กลางโดย

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 51

ตวั กลางไม)เคลอ่ื นทก่ี ารพาความรอนเปน6 การ

ถา) ยโอนความรอนท่ีอาศัยตัวกลางโดยตวั กลาง

มกี ารเคลื่อนทีส่ ว) นการแผร) ังสีความรอนเปน6

การถา) ยโอนความรอนท่ไี มอ) าศยั ตัวกลางวตั ถุ

เม่ือไดรับความรอนจะดูดกลืนพลังงานความ

รอนและแผ)

รงั สคี วามรอนออกมาวตั ถุชนิดตา) งๆจะมกี าร

ดดู กลืนและคายความรอนไดแตกตา) งกันซึง่

ป@จจยั ท่มี ผี ลตอ) การดูดกลนื และคาย

รังสีความรอนมีดังนี้

1. สวี ัตถทุ ่ีมสี เี ขมจะดดู กลนื และคายความรอน

ไดดกี วา) วัตถุที่มีสอี )อน

2. อุณหภมู ิวัตถทุ ี่มีอุณหภมู แิ ตกต)างกับ

สง่ิ แวดลอมมากจะดูดกลืนและคายความรอน

ไดเร็วกว)าวัตถทุ ี่มีอุณหภมู แิ ตกตา) งกบั

สง่ิ แวดลอมนอย

3. ผิวของวัตถุวัตถทุ ม่ี ผี วิ หยาบและดานจะ

ดดู กลืนและคายความรอนไดดีกวา) วัตถุท่มี ผี ิว

เรียบและมนั

4. พนื้ ทีผ่ วิ วัตถทุ ่ีมีพืน้ ที่ผิวมากจะดูดกลืนและ

คายความรอนไดดีกวา) วตั ถทุ ่ีมีพ้นื ทีผ่ ิวนอยสาร

ที่มีอุณหภูมิแตกตา) งกันเกดิ การถ)ายโอนความ

รอนระหว)างกันจนกระทัง่ อุณหภมู ขิ องสาร

เท)ากันเรียกสภาพนี้วา) สมดลุ

ความรอนโดยความรอนท่ีเพ่มิ ขึ้นของสารหนึ่ง

จะเท)ากบั ความรอนท่ลี ดลงของอีกสาร

หน) มาตรฐานการเรยี นรู/ เวลา
วย ช่อื หน)วยการเรียนรู ตวั ชีว้ ัด
ท่ี สาระการเรยี นรู (ชว่ั โ

มง)

หนง่ึ ซง่ึ เป6นไปตามกฎการอนุรักษพ# ลงั งานการ

ถา) ยโอนความรอนจนเกดิ สมดุลความรอน

เปน6 ไปตามสมการ Qสญู เสีย = Qไดรับ

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 52

5 บรรยากาศ ว. 2.2 บรรยากาศ คือ ช้นั แกYสชนดิ ต)าง ๆ หรอื 23
ม.1/1 อากาศทีห่ )อหุมดาวเคราะหท# ้งั หมด ซ่ึง
ว. 3.2 ประกอบไปดวยอากาศแหง ไดแกแ) กสY ชนิด
ม.1/1 ตา) ง ๆ ท่ีไม)มีนาเป6นองค#ประกอบ ไอนา และ
ม.1/2 อนุภาคฝนุF ต)างๆ ซึ่งองคป# ระกอบของ
บรรยากาศเหล)าน้ีมีความสาํ คัญตอ) สิ่งมีชวี ติ
บรรยากาศแบ)งออกเป6น 5 ชั้น ตามสภาวะ
ของอุณหภมู ิ ดังน้ี
1. ชนั้ โทรโพสเฟ€ยร# (troposphere) มี
ปรากฏการณ#ทางลมฟBาอากาศทีส่ าํ คญั ต)อการ
ดารงชวี ติ ของสิง่ มชี ีวติ อุณหภมู ิลดลง
ตามระดบั ความสูง
2. สตราโทสเฟย€ ร# (stratosphere) มีชัน้
โอโซนหนา ชว) ยดูดกลนื รงั สีอัลตราไวโอเลต
จากดวงอาทติ ย# อุณหภมู เิ พิ่มข้ึนตาม
ระดับความสงู
3. มโี ซสเฟ€ยร# (mesosphere) ชว) ยใหเกดิ การ
เผาไหมของวตั ถนุ อกโลก อณุ หภูมิลดลงตาม
ระดบั ความสูง
4. เทอร#โมสเฟ€ยร# (thermosphere) มี
โมเลกลุ ที่แตกตวั เปน6 ไอออนช)วยสะทอน
คลน่ื วิทยุ อณุ หภมู เิ พม่ิ ขนึ้ ตามระดบั ความสูง
5. เอกโซสเฟ€ยร# (exosphere) เหมาะสาหรบั
การโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในระดบั ตาํ่
อณุ หภมู ิเพมิ่ ขึ้นตามระดบั ความสงู
ลมฟBาอากาศ เปน6 สภาวะของอากาศ ณ พืน้ ที่
หนึ่งในเวลาหนงึ่ ซง่ึ ลมฟBาอากาศมีการ
เปลีย่ นแปลงอยู)ตลอดเวลา ขึ้นอยก)ู บั
องคป# ระกอบของลมฟBาอากาศ ไดแก) อุณหภมู ิ
อากาศ ความดนั อากาศ ความชน้ื อากาศ ลม
เมฆ และฝนอณุ หภมู ิอากาศ หมายถึง ระดับ
ความรอนเยน็ ของอากาศ

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 53

ปจ@ จยั ที่ส)งผลตอ) อุณหภูมอิ ากาศ คอื แสงจาก

ดวงอาทติ ยป# ริมาณเมฆ ลกั ษณะพ้ืนท่ี และ

ความสงู จากระดับนาทะเลความชน้ื อากาศ

หน) มาตรฐานการเรยี นรู/ เวลา
วย ชอ่ื หน)วยการเรยี นรู ตวั ชี้วัด
ที่ สาระการเรยี นรู (ช่วั โ

มง)

คอื ปรมิ าณไอนาท่ีมอี ย)ูในอากาศ ป@จจัยที่

ส)งผลต)อความชนื้ อากาศ คือ ไอนาในอากาศ

และอุณหภมู ิอากาศความดันอากาศ คือ แรงท่ี

อากาศกระทาต)อหนงึ่ หนว) ยพ้ืนท่ีป@จจยั ทส่ี ง) ผล

ต)อความดันอากาศ คือ จานวนโมเลกลุ ของ

อากาศอุณหภมู ิอากาศ และความสงู จากระดบั

นาทะเล

ลม คือ การเคลือ่ นทขี่ องอากาศ ปจ@ จัยทส่ี )งผล

ตอ) การเกดิ ลมคือ ความดันอากาศหรอื

อณุ หภมู ิอากาศ

เมฆ คือ ละอองนาหรือนาแข็งในอากาศที่

รวมกันเปน6 กลุม) กอน ป@จจยั ที่สง) ผล คอื ความ

ดนั อากาศและความชน้ื อากาศ

ฝน คอื ละอองนาขนาดใหญ)ทตี่ กลงส)พู น้ื ดนิ

ป@จจยั ทสี่ )งผล คือความดันอากาศและความชน้ื

อากาศ

6 บรรยากาศ 2 ว 3.2 องคป# ระกอบของลมฟาB อากาศมกี าร 16
ม.1/3
ม.1/4 เปลีย่ นแปลงอยตู) ลอดเวลา ทาใหเกดิ
ม.1/5
ม.1/6 ปรากฏการณ#ตา) ง ๆ ไดแก) มรสุม พายฟุ Bา
ม.1/7
คะนอง พายหุ มุนเขตรอน เป6นตน

มรสุม เป6นการหมุนเวยี นของลมตามฤดูกาล

แบ)งออกเป6นมรสุมฤดูรอนและมรสุมฤดูหนาว

มรสมุ ฤดรู อนเกดิ จากพืน้ ทวีป

รอนกวา) พน้ื มหาสมทุ ร ลมจงึ พัดเอาความช้นื

จากมหาสมุทรมาส)ูพ้นื ทวีป มรสมุ ฤดหู นาวเกดิ

จากพ้ืนทวีปเย็นกวา) พืน้ มหาสมุทร

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 54

ลมจึงพดั จากพื้นทวปี ไปยังพื้นมหาสมุทร
พายุฟBาคะนอง เกดิ ขึน้ ในวันท่ีอากาศรอนจัด
ทาใหเกิดการระเหยของนาปริมาณมาก เกดิ
เปน6 เมฆควิ มโู ลนมิ บัส แลวเกิดการกล่ันตวั เป6น
ฝน เกิดลมกรรโชก ฟาB แลบ ฟBารอง และฟBาผ)า

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 55

รายวชิ าพ้นื ฐาน คาํ อธบิ ายรายวิชาวิทยาการคํานวณ
ช้นั มธั ยมศกึ ษาป*ที่ 1 กล'ุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร
เวลา 20 ชั่วโมง

ศึกษาการออกแบบอัลกอริทึมท่ีใชแนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแกป@ญหาหรืออธิบายการทางานที่พบใน
ชีวิตจริงการออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใชตัวแปร เงื่อนไข วนซํ้า การออกแบบอัลกอริทึม เพ่ือ
แกป@ญหาทางคณิตศาสตร# วิทยาศาสตร#อย)างง)าย การเขียนโปรแกรมโดยใชซอฟต#แวร# Scratch, python,
java และ c เป6นตนศึกษาการรวบรวมขอมูลจากแหล)งขอมูลปฐมภูมิ ประมวลผล สรางทางเลือก ประเมินผล
ตลอดจนใชเทคโนโลยีสารสนเทศอย)างปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ# การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา
ใชส่ือและแหล)งขอมูลตามขอกําหนดและขอตกลงไดอย)างมีประสิทธิภาพโดยอาศัยกระบวนการเรียนรูโดยใช
ป@ญหาเป6นฐาน (Problem – basedLearning) และการเรียนรูแบบใชโครงงานเป6นฐาน (Project-
basedLearning) เพื่อเนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝrกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ#การแกป@ญหาวาง
แผนการเรยี นรู ตรวจสอบการเรยี นรู และนาเสนอผ)านการทากิจกรรมโครงงาน เพื่อใหเกิดทักษะความรู ความ
เขาใจ และทักษะในการวิเคราะห#โจทย#ป@ญหา จนสามารถนาเอาแนวคิดเชิงคํานวณมาประยุกต#ใชในการสราง
โครงงานไดเพ่ือใหผเู รียนมคี วามรคู วามเขาใจ การนาขอมูลปฐมภูมิเขาสู)ระบบคอมพิวเตอร# วิเคราะห# ประเมิน
นาเสนอขอมูลและสารสนเทศ ไดตามวัตถปุ ระสงค# ใชทักษะการคดิ เชงิ คํานวณในการแกป@ญหาท่ีพบในชีวิตจริง
และเขียนโปรแกรมอย)างง)าย เพ่ือช)วยในการแกป@ญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารอย)างรูเท)าทัน
และรับผิดชอบต)อสังคม ตลอดจนนาความรูความเขาใจในวิชาวิทยาศาสตร# และเทคโนโลยีไปใชใหเกิด
ประโยชน#ตอ) สังคม และการดารงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการ
แกปญ@ หาและการจดั การทักษะในการส่ือสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป6นผูที่มีจิตวิทยาศาสตร#
มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา) นิยมในการใชวิทยาศาสตรแ# ละเทคโนโลยอี ย)างสรางสรรค#

ตัวชว้ี ดั
ว. 8.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
รวม 4 ตวั ชี้วัด

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 56

โครงสรางรายวชิ าวิทยาการคาํ นวณ ม.1

มาตรฐานการ เวลา
(ช่ัวโมง)
หนว) ยที่ ช่อื หนว) ยการเรยี นรู เรียนรู/ สาระการเรยี นรู
6
ตวั ช้วี ัด
8
1 การออกแบบและการ ว 8.2 แนวคิดเชิงนามธรรมเป6นการประเมิน
4
เขียนอลั กอริทึม ม. 1/1 ความสําคญั ของรายละเอยี ดของป@ญหา

ว 8.2 แยกแยะส)วนทเ่ี ป6นสาระสาํ คัญออกจาก

ม. 1/2 สว) นทไ่ี ม)ใช)สาระสําคัญคอมพิวเตอร#

อลั กอริทมึ เป6นแก)นของวิทยาการ

คอมพวิ เตอร#เปน6 ศาสตรท# ี่ทาให

สามารถประมวลผลแบบทีละขน้ั ตอนซ่ึง

ทาใหคอมพวิ เตอรส# ามารถประมวลผล

เพอื่ แกไขป@ญหาดวยเครอื่ งคอมพวิ เตอร#

การออกแบบอลั กอริทึมเพ่ือแกป@ญหา

ทางคณิตศาสตร#วิทยาศาสตร#อยา) งง)าย

อาจใชแนวคิดเชิงนามธรรมในการ

ออกแบบเพ่ือใหการแกปญ@ หามี

ประสทิ ธิภาพ

2 การออกแบบและการ ว 8.2 การออกแบบและเขียนโปรแกรมทม่ี ี

เขยี นโปรแกรม ม. 1/2 การใชตวั แปรเงื่อนไขวนซา้ํ

เบื้องตน การออกแบบอัลกอริทึมเพ่ือแกปญ@ หา

ทางคณิตศาสตร#วทิ ยาศาสตร#อยา) งง)าย

อาจใชแนวคดิ เชงิ นามธรรมในการ

ออกแบบเพื่อใหการแกป@ญหามี

ประสทิ ธภิ าพการแกปญ@ หาอย)างเป6น

ขั้นตอนจะชว) ยใหแกปญ@ หาไดอย)างมี

ประสทิ ธิภาพซอฟต#แวรท# ่ีใชในการเขียน

โปรแกรมเชน) Scratch, python, java, c

ตวั อย)างโปรแกรมเชน) โปรแกรม

สมการการเคล่อื นที่โปรแกรมคํานวณหา

พื้นท่ีโปรแกรมคาํ นวณดัชนีมวลกาย

3 การจัดการขอมูล ว 8.2 การรวบรวมขอมูลจากแหลง) ขอมลู ปฐม

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 57

สารสนเทศ ม. 1/3 ภมู ปิ ระมวลผลสรางทางเลอื กประเมินผล
จะทาใหไดสารสนเทศเพ่ือใชในการ
แกป@ญหา

หนว) ยท่ี ช่อื หน)วยการเรียนรู มาตรฐานการ เวลา
4 เรียนรู/ สาระการเรยี นรู (ชั่วโมง)
การใชเทคโนโลยี ตัวชว้ี ดั
สารสนเทศอยา) ง หรอื การตัดสนิ ใจ ไดอย)าง 2
ปลอดภยั มปี ระสทิ ธิภาพการประมวลผลเป6นการ
กระทํากบั ขอมลู เพื่อใหไดผลลัพธท# ม่ี ี
ความหมายและมีประโยชน#ตอ) การนาไป
ใชงานสามารถทาไดหลายวิธี เชน)
คํานวณอัตราสว) นคาํ นวณค)าเฉลี่ย
การใชซอฟตแ# วร#หรือบริการบน
อนิ เทอร#เน็ตทหี่ ลากหลายในการรวบรวม
ประมวลผล สรางทางเลือก ประเมินผล
นาเสนอ จะชว) ยใหแกป@ญหาไดอย)าง
รวดเรว็ ถกู ตอง และแม)นยา

ว 8.2 ความปลอดภยั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ม. 1/4 คือ นโยบาย ข้ันตอนการปฏิบัติ

และมาตรการทางเทคนิคทนี่ ามาใช
ปBองกนั การใชงานจากบคุ คลภายนอก
การเปลย่ี นแปลง การขโมย หรอื การทา
ความเสียหายต)อเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิธกี ารปBองกนั และการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศจากภยั คุกคามตา) ง ๆ มีหลาย
วธิ เี ชน) หม่นั ตรวจสอบและอัพเดต
ระบบปฏบิ ัตกิ ารใหเปน6 เวอร#ชนั ปจ@ จบุ ัน
และควรใชระบบปฏิบตั ิการแลซอฟต#แวร#
ท่ีมลี ขิ สิทธิ์ ไมเ) ป_ดเผยขอมูลสว) นตัวผา) น
สื่อสงั คมออนไลน# เชน) เลขท่ีบัตร

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 58

ประชาชนประวตั ิการทางาน เบอร#
โทรศัพท#หมายเลขบัตรเครดิต
จรยิ ธรรมในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ
คือ หลกั ศลี ธรรมจรรยาที่กาํ หนดขน้ึ เพื่อ
ใชเป6นแนวทางปฏบิ ตั ิ หรือควบคมุ การใช
ระบบคอมพวิ เตอร#และสารสนเทศ

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 59

รายวิชาพน้ื ฐาน คําอธบิ ายรายวิชาฟaสกิ ส เล'ม 1
ช้ันมัธยมศึกษาปท* ่ี 4 กลุม' สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร
เวลา 80 ชัว่ โมง

ศึกษาความรูทางฟ_สิกส# ประวัติความเป6นมา พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟ_สิกส# การวัด
ปริมาณทางฟ_สิกส# ความคลาดเคล่อื นในการวัด การแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ ความหมายจากกราฟ
เสนตรงความสมั พันธ#ระหว)างตาํ แหน)ง การกระจัด ความเร็ว ความเร)งของการเคล่ือนที่ของวัตถุในแนวตรงท่ีมี
ความเร)งคงตัวจากกราฟและสมการ ค)าความเร)งโนมถ)วงของโลก แรงลัพธ#ของแรงสองแรงท่ีทามุมต)อกัน กฎ
การเคลอ่ื นทีข่ องนิวตันกฎความโนมถว) งสากล การใชกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนท่ีของวัตถุ
แรงเสยี ดทานระหวา) งผวิ สมั ผสั ของวตั ถคุ ูห) นง่ึ ๆ ในกรณีท่ีวัตถหุ ยดุ นงิ่ และวัตถเุ คล่อื นที่ สมั ประสิทธิ์ความเสียด
ทานระหว)างผิวสัมผัสของวัตถุคู)หน่ึง ๆ และนาความรูเร่ืองแรงเสียดทานไปใชในชีวิตประจาวัน การเคลื่อนที่
แบบโพรเจกไทล# และปริมาณต)าง ๆของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล# ความสัมพันธ#ระหว)างแรงสู)ศูนย#กลาง
รัศมขี องการเคลอื่ นที่ อัตราเร็วเชงิ เสนอตั ราเรว็ เชิงมมุ มวลของวัตถุในการเคล่ือนท่ีแบบวงกลมในระนาบระดับ
การประยุกต#ใชความรูการเคลื่อนที่แบบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียมโดยใชกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร# กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกตการวิเคราะห# การอธิปราย การ
อธิบายและการสรุปผลเพื่อใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด และความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนาความรูไปใชในชีวิตตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร# จริยธรรม คุณธรรม และ
ค)านยิ มท่ถี กู ตอง

ตัวช้วี ัด
ว. 6.1 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7 ม.4/16 ม.4/17
รวม 9 ตัวชี้วดั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 60

โครงสรางรายวิชา ฟaสิกส ม.4 เลม' 1

หน)วยท่ี ช่อื หน)วยการเรยี นรู มาตรฐานการ สาระการเรียนรู เวลา
เรยี นรู/ตัวชีว้ ดั (ช่วั โมง)

1 การศึกษาวิชาฟ_สิกส# ว 6.1 ฟส_ ิกส#เป6นวทิ ยาศาสตร#แขนงหนง่ึ ที่ 8

ม.4/1 ศึกษาเกย่ี วกับสสารพลงั งาน อนั ตร

ม.4/2 กริ ยิ าระหว)างสสารกับพลงั งาน และแรง

พื้นฐานในธรรมชาติการคนควาหา

ความรทู างฟ_สกิ ส#ไดมาจากการสงั เกต

การทดลอง และเก็บรวบรวมขอมลู มา

วิเคราะห# หรอื จากการสรางแบบจาลอง

ทางความคดิ เพื่อสรุปเป6นทฤษฎี

หลักการหรือกฎ ซึง่ สามารถนาไปใช

อธิบายปรากฏการณธ# รรมชาติหรอื ทา

นายส่งิ ทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึนในอนาคต โดย

ประวตั ิความเป6นมาและพัฒนาการของ

หลักการ และแนวคิดทางฟส_ ิกส#เปน6

พ้นื ฐานในการแสวงหา ความรูใหม)

เพิม่ เติม รวมถึงการพฒั นาและ

ความกาวหนาทางเทคโนโลยีก็มีสว) นใน

การคนหาความรูใหม)ทางวทิ ยาศาสตร#

ดวยความรทู างฟ_สกิ สส# ว) นหนึ่งไดจาก

การทดลอง ซงึ่ เกยี่ วของกับกระบวนการ

วัดปริมาณทางฟส_ ิกสป# ระกอบดวยค)าท่ี

เปน6 ตัวเลขและหน)วยวดั โดยสามารถ

วดั ไดดวยเครอ่ื งมือตา) ง ๆ โดยตรง หรือ

ทางออม หนว) ยท่ใี ชในการวดั ปรมิ าณ

ทางวทิ ยาศาสตร# คือ หนว) ยในระบบเอส

ไอ ปรมิ าณทมี่ ีค)านอยหรอื มากกว)า 1

มาก ๆ นยิ มเขยี นในรูปของสัญกรณ#

วิทยาศาสตร# การเขยี นโดยใชสญั กรณ#

วทิ ยาศาสตรเ# ป6นการเขยี นเพ่ือแสดงจาน

วนเลขนัยสําคญั ทีถ่ ูกตองการทดลอง

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 61

หนว) ยท่ี ชอ่ื หน)วยการเรียนรู มาตรฐานการ ทางฟ_สิกสจ# ะเก่ียวกบั การวดั ปรมิ าณตา) ง เวลา
เรยี นรู/ตวั ชีว้ ัด ๆการวัดจะมีความคลาดเคลอ่ื นเสมอ ซ่ึง (ชั่วโมง)
ขึน้ อย)ูกับเครื่องมือวธิ ีการวัด และ
2 การเคล่อื นทใี่ นแนว ว 6.1 ประสบการณ#ของผวู ดั ในการบนั ทกึ 16
ตรง ม.4/3 ปรมิ าณที่ไดจากการวดั ดวยจานวนเลข
นัยสาํ คัญท่เี หมาะสมและคา)

สาระการเรียนรู

ความคลาดเคล่ือน เพื่อการนาเสนอผล
การเขียนกราฟ และลงขอสรุป รวมทัง้ มี
ทักษะในการรายงานการทดลอง โดย
การวัดควรเลอื กใชเครื่องมอื วัดให
เหมาะสมกบั สิ่งท่ตี องการวดั
ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลือ่ นที่ของวตั ถุ
ไดแก) ตาํ แหน)งการกระจัด ความเรว็
และความเรง) โดยความเรว็ และความเร)ง
มีทง้ั คา) เฉล่ยี และคา) ขณะหนง่ึ ซึ่งคดิ ใน
ชว) งเวลาส้นั มาก ๆ เขาใกลศูนยก# าร
อธบิ ายการเคลื่อนที่ของวตั ถสุ ามารถ
เขียนอยใ)ู นรปู กราฟตําแหนง) กับเวลา ค
วามเรว็ กบั เวลา หรือความเรง) กบั เวลา
โดยความชันของเสนกราฟตําแหน)งกับ
เวลาเปน6 ความเร็ว ความชนั ขอ’
เสนกราฟความเร็วกบั เวลาเป6นความเร)ง
และพ้นื ทีใ่ ตเสนกราฟความเร็วกับเวลา
เป6นการกระจดั ในกรณที ี่ ผูสงั เกตมี
ความเร็วความเร็วของวตั ถุท่สี ังเกตได
เปน6 ความเรว็ ที่เทียบกบั ผสู ังเกต ส)วน
การเคลื่อนท่ีของวัตถุในแนวตรงกรณที ่ีมี
ความเร)งคงที่ สามารถอธบิ ายไดโดยใช
สมการจลนศ# าสตร#4 สมการการตกแบบ
เสรเี ป6นตัวอยา) งหนง่ึ ของการเคลือ่ นทีใ่ น

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 62

3 แรงและกฎการ ว 6.1 หนงึ่ มิติทมี่ ีความเรง) เท)ากับความเร)งโนม 28
เคลอ่ื นที่ ม.4/4 ถว) งของโลก
ม.4/5 แรงเป6นปรมิ าณเวกเตอรจ# ึงมีท้ังขนาด
ม.4/6 และทศิ ทางกรณที ี่มแี รงหลาย ๆ แรง
ม.4/7 กระทาตอ) วัตถุ สามารถหาแรงลัพธ#ท่ี
กระทาตอ) วตั ถโุ ดยใชวธิ ีเขยี นเวกเตอร#
ของแรงแบบหางต)อหัว วิธีสรางรูป
ส่ีเหลย่ี มดานขนานของแรง และวิธี
คาํ นวณความเฉื่อยเป6นสมบัติของวัตถุที่
ตานการเปลย่ี นสภาพการเคลื่อนทข่ี อง
วตั ถุ โดยมมี วลเป6นปรมิ าณที่บอกให
ทราบว)าวตั ถใุ ดมีความเฉื่อยมากหรอื
นอยการหาแรงลพั ธ#ท่ีกระทาตอ) วัตถุ
สามารถเขียนเป6นแผนภาพของแรงท่ี
กระทาต)อวตั ถุอิสระได ในกรณีท่ไี มม) ี
แรงภายนอกมากระทาต)อวัตถุ หรือแรง
ท่ีกระทาต)อวัตถเุ ปน6 ศูนย# วตั ถจุ ะไม)
เปลีย่ นสภาพการเคล่ือนที่ซงึ่ เป6นไปตาม
กฎการเคลื่อนทีข่ อทีห่ นึ่งของนิวตัน แต)
ถามีแรงภายนอกมากระทาต)อวัตถุ โดย
แรงลพั ธ#ทีก่ ระทาต)อวัตถุไม)เป6นศูนย#
วตั ถุจะมคี วามเร)ง โดยความเร)งมที ศิ ทาง
เดียวกับแรงลัพธ# ซ่ึงเปน6 ไปตามกฎการ
เคลือ่ นท่ีขอทสี่ องของนิวตันเมอื่ วัตถุสอง
กอนออกแรงกระทาต)อกัน จะเกิดแรง
กิรยิ าและแรงปฏิกิริยา โดยแรงทั้งสอง
จะมีขนาดเท)ากนั แตม) ีทศิ ทางตรงขาม
และกระทาต)อวัตถุคนละกอนเรียกว)า
แรงคูก) ิริยา-ปฏกิ ิริยา ซึง่ เปน6 ไปตามกฎ
การเคล่ือนท่ีขอทส่ี ามของนวิ ตัน และ
เกดิ ขึ้นไดทั้งกรณีที่วัตถทุ ง้ั สองสมั ผสั กัน
หรือไม)สัมผัสกันก็ไดวัตถุค)หู น่ึงจะมีแรง

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 63

หน)วยที่ ช่อื หน)วยการเรียนรู มาตรฐานการ กระทาตอ) กนั แรงนเ้ี ป6นแรงดึงดูด เวลา
เรียนรู/ตวั ชี้วดั ระหวา) งมวลเปน6 แรงท่ีมวลสองกอน (ช่ัวโมง)
ดงึ ดดู ซ่ึงกันและกันดวยแรงขนาดเทา) กนั
4 การเคล่อื นท่ีแบบ ว 6.1 ในแนวเดียวกันแต)ทิศทางตรงขาม 28
และเป6นไปตามกฎความโนมถ)วงสากล
ต)าง ๆ ม.4/16 แรงที่เกิดขึน้ ทผี่ ิวสมั ผสั ระหวา) งวตั ถสุ อง
กอน ในทิศทางตรงขามกับทิศทางการ
ม.4/17 เคลื่อนท่ี หรอื แนวโนมทจี่ ะเคล่อื นทีข่ อง
วัตถุ เรียกว)า แรงเสียดทาน ซึ่งแรงเสยี ด
ทานระหวา) งผิวสัมผสั คห)ู นึง่ ๆ จะขน้ึ อยู)
กับสมั ประสทิ ธ์ิความเสยี ดทานและแรง
ปฏกิ ิรยิ าตง้ั ฉากระหวา) งผวิ สัมผสั คน)ู นั้ ๆ
ขณะวัตถยุ งั คงอย)ูนงิ่ แรงเสียดทานมี
ขนาดเพ่ิมขน้ึ ตามแรงที่กระทาต)อวตั ถุ
นั้น และจะมีค)ามากที่สุดเมอื่ วัตถเุ ริ่ม
เคลอื่ นที่ เรียกแรงเสยี ดทานท่ีกระทาต)อ
วัตถขุ ณะอยน)ู ิ่งว)า แรงเสยี ดทานสถิต
และเรียกแรงเสยี ดทานท่ีกระทาต)อวตั ถุ
ขณะกาลงั เคลื่อนท่ีว)า แรงเสียดทาน
จลน#

สาระการเรยี นรู

การเคลื่อนที่ของวัตถุทม่ี เี สนทางเปน6 โคง
พาราโบลาภายใตสนามโนมถ)วง โดยไม)
คิดแรงตานของอากาศเป6นการเคลือ่ นที่
แบบโพรเจกไทล# ซง่ึ พิจารณาไดวา) วัตถุมี
การเปล่ยี นตําแหนง) ในแนวด่ิงและแนว
ระดับพรอมกนั และเป6นอิสระตอ) กนั
ส)วนการเคล่ือนท่ีในแนวระดบั ไม)มีแรง
กระทาจึงเปน6 การเคลื่อนทที่ ม่ี ีความเร็ว
คงตวั วัตถุท่ีเคล่ือนท่เี ป6นวงกลมหรือส)วน
ของวงกลมเรยี กว)า เป6นการเคลื่อนท่ี

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 64

แบบวงกลม ซ่งึ มีแรงลพั ธ#ที่กระทากับ
วตั ถใุ นทิศเขาส)ศู นู ย#กลาง เรียกวา) แรงส)ู
ศนู ยก# ลาง ทาใหเกดิ ความเรง) ส)ู
ศนู ย#กลางที่มขี นาดสัมพันธ#กับรัศมีของ
การเคลอ่ื นท่ี และอตั ราเรว็ เชงิ เสนของ
วตั ถนุ อกจากน้ี การเคล่ือนที่แบบวงกลม
ยงั สามารถอธบิ ายไดดวยอตั ราเร็ว
เชงิ มมุ ซ่ึงมีความสมั พนั ธ#กับอัตราเร็ว
เชิงเสน และแรงสู)-ศนู ยก# ลางมี
ความสมั พันธ#กับอตั ราเร็วเชิงมุม การ
เคลอื่ นที่ในแนววงกลม ไดแก) การ
เคลื่อนท่ีของรถบนถนนโคง และ
ดาวเทียมท่ีโคจรเปน6 แนววงกลมรอบ
โลก

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 65

รายวิชาพื้นฐาน คําอธิบายรายวชิ าฟaสิกส เล'ม 2
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาป*ท่ี 4 กลุ'มสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร
เวลา 80 ช่ัวโมง

ศกึ ษางานของแรงคงตัวจากสมการและพน้ื ท่ีใตกราฟความสมั พนั ธ#ระหว)างแรงกบั ตาํ แหน)ง กําลงั เฉลย่ี
พลังงานจลน# พลังงานศักย# พลังงานกล ความสัมพันธ#ระหว)างงานกับพลังงานจลน# ความสัมพันธ#ระหว)างงาน
กับพลงั งานศักย#โนมถ)วง ความสมั พันธร# ะหว)างขนาดของแรงท่ีใชดึงสปริงกับระยะท่ีสปริงยืดออกความสัมพันธ#
ระหวา) งงานกบั พลงั งานศกั ยย# ืดหยุ)น ความสมั พันธ#ระหว)างงานของแรงลัพธ#และพลังงานจลน# งานที่เกิดข้ึนจาก
แรงลัพธ#กฎการอนุรักษ#พลังงานกล ปริมาณต)าง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการเคล่ือนท่ีของวัตถุในสถานการณ#ต)าง ๆ
โดยใชกฎการอนุรักษ#พลังงานกล การทางาน ประสิทธิภาพ การไดเปรียบเชิงกลของเคร่ืองกลอย)างง)ายบาง
ชนิดโดยใชความรูเรื่องงานและสมดุลกลในการพิจารณา โมเมนตัมของวัตถุ การดลจากสมการและพ้ืนที่ใต
กราฟความสัมพันธ#ระหว)างแรงลัพธ#กับเวลา ความสัมพันธ#ระหว)างแรงดลกับโมเมนตัม ปริมาณต)าง ๆ ที่
เก่ียวกบั การชนของวตั ถุในหนง่ึ มิตทิ ัง้ แบบยืดหย)ุน ไม)ยืดหยุ)น การดีดตัวแยกจากกันในหนึ่งมิติที่เป6นไปตามกฎ
การอนุรักษโ# มเมนตมั สมดุลกลของวตั ถุ โมเมนตแ# ละผลรวมของโมเมนต#ท่มี ตี )อการหมุน แรงคู)ควบ ผลของแรง
คู)ควบที่มีต)อสมดุลของวัตถุ แผนภาพของแรงท่ีกระทาต)อวัตถุอิสระเม่ือวัตถุอยู)ในสมดุลกล สมดุลของแรงสาม
แรง สภาพการเคล่อื นท่ขี องวัตถเุ ม่ือแรงท่กี ระทาต)อวตั ถผุ )านศูนยก# ลางมวลของวตั ถุ และผลของศูนย#ถ)วงท่ีมีต)อ
เสถียรภาพของวตั ถุโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร# กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การ
สังเกต การวิเคราะห#การอภิปราย การอธิบายและการสรุปผลเพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด และความ
เขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงที่เรียนรูและนาความรูไปใชในชีวิตของตนเอง ตลอดจนมี
จติ วทิ ยาศาสตร#จริยธรรมคุณธรรมและคา) นิยมท่ถี กู ตอง

ตัวชี้วัด
ว. 6.1 ม.4/8 ม.4/9 ม.4/10 ม.4/11 ม.4/12 ม.4/13 ม.4/14 ม.4/15
รวม 8 ตัวชวี้ ดั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 66

โครงสรางรายวิชาฟaสกิ ส ม.4 เลม' 2

หนว) ย ช่อื หนว) ย มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู เวลา
ท่ี การเรียนรู เรยี นรู/ (ชว่ั โมง)
ตัวชว้ี ัด

1 งานและ ว 6.1 เม่อื มีแรงคงตวั กระทาต)อวัตถุใหเคลือ่ นท่ีไดการกระจัดจะ 24

พลงั งาน ม.4/10 เกดิ งานของแรงนั้นซง่ึ หาไดจากผลคณู ระหวา) งขนาดของ

ม.4/11 แรงกับขนาดของการกระจดั และโคไซน#ของมุมระหว)าง

ม.4/12 แรงกับการกระจัดหรอื หางานไดจากพื้นทใ่ี ตกราฟระหวา) ง

ม.4/13 แรงกับการกระจัดโดยงานทท่ี าไดในหนึง่ หน)วยเวลา

เรยี กวา) กาลงั เฉลยี่ พลงั งานเป6นความสามารถในการทา

งานพลงั งานจลน#เป6นพลังงานของวัตถุทีก่ าลงั เคลอ่ื นท่ี

พลงั งานศักย#เป6นพลงั งานท่ีเกี่ยวของกับตาํ แหนง) หรือ

รูปรา) งของวัตถซุ ่ึงแบ)งออกเป6นพลงั งานศักยโ# นมถ)วงและ

พลังงานศักย#ยดื หย)ุนโดยพลงั งานกลเปน6 ผลรวมของ

พลงั งานจลน#และพลังงานศกั ยซ# ึง่ งานและพลงั งานมี

ความสัมพนั ธก# ันโดยงานของแรงลพั ธ#เท)ากับพลังงานจลน#

ของวตั ถุที่เปลย่ี นไปพลังงานต)างๆสามารถเปลย่ี นเป6นอกี

พลงั งานหน่งึ ไดแตผ) ลรวมของพลงั งานยงั คงเดิมซ่ึงเป6นไป

ตามกฎการอนรุ ักษ#พลังงานโดยกฎการอนรุ ักษ#พลังงานกล

ใชอธบิ ายการเคล่ือนท่ีของวัตถเุ ช)นการเคล่ือนทข่ี อง

วงกลมใน

ระนาบดง่ิ การเคล่ือนทีข่ องวัตถุท่ตี ิดสปรงิ การเคลื่อนที่

ภายใตสนามโนมถว) งของโลกเปน6 ตนเคร่ืองกลเปน6 อุปกรณ#

ท่ีช)วยใหการทางานสะดวกขึน้ หรอื ง)ายข้นึ หรือชว) ยในการ

ผ)อนแรงเคร่ืองกลทีจ่ ัดเป6นเคร่อื งกลอย)างง)ายไดแกค) าน

รอกพน้ื เอียงล่ิมสกรแู ละลอกับเพลาโดยการทางานใช

หลกั การของงานและ

สมดุลกลประกอบการพิจารณาประสทิ ธิภาพและการ

ไดเปรยี บเชงิ กลของเคร่อื งกลอยา) งง)าย

หน)วย ชอื่ หนว) ย มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู เวลา
ที่ การเรียนรู เรียนรู/ (ช่วั โมง)
ตวั ช้วี ดั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 67

2 โมเมนตมั ว 6.1 วัตถุท่เี คล่อื นทจี่ ะมีโมเมนตัมซึง่ เปน6 ปริมาณเวกเตอร#มคี )า 26

และการ ม.4/14 ม. เทา) กับผลคูณระหว)างมวลกับความเรว็ ของวตั ถุ เม่ือมีแรง

ชน 4/15 ลพั ธ#กระทาตอ) วัตถจุ ะทาใหโมเมนตมั เปลี่ยนไปโดยแรง

ลัพธ#ทกี่ ระทากับวตั ถุเท)ากับอัตราการเปลีย่ นโมเมนตัมข

องวตั ถุแรงลัพธท# ่ีกระทาต)อวัตถใุ นเวลาส้ันๆเรียกวา) แรง

ดลโดยผลคณู ของแรงดลกับเวลาเรยี กวา) การดลซึง่ การดล

อาจหาไดจากพืน้ ทใ่ี ตกราฟระหวา) งแรงดลกบั เวลาเม่ือ

วัตถชุ นกนั โมเมนตัมกอ) นการชนของระบบเท)ากับ

โมเมนตมั หลงั การชนของระบบเปน6 ไปตามกฎการอนรุ กั ษ#

โมเมนตัมซึง่ ในการชนกนั ของวตั ถทุ ่พี ลงั งานจลน#ของ

ระบบมีค)าคงตัวเปน6 การชนแบบยดื หยุ)นส)วนการชนที่

พลงั งานจลน#ของระบบไม)คงตัวเป6นการชนแบบไมย) ืดหยน)ุ

โดยกฎการอนุรักษโ# มเมนตัมชว) ยในการอธิบายการชน

และการระเบดิ ของวตั ถุ

3 สภาพ ว 6.1 สมดุลกลเปน6 สภาพทวี่ ตั ถรุ ักษาสภาพการเคลื่อนท่ใี หคง 30

สมดุล ม.4/8 เดิมหรือหยุดน่งิ (สมดลุ สถิต) หรือเคล่อื นท่ดี วยความเร็ว

ม.4/9 คงตวั หรือหมนุ ดวยความเร็วเชิงมมุ คงตัว (สมดลุ จลน#)วัตถุ

ท่สี มดลุ ตอ) การเลื่อนที่คือหยดุ นิ่งหรอื เคล่ือนที่ดวย

ความเร็วคงตวั เมื่อแรงลพั ธ#ท่ีกระทาต)อวตั ถเุ ปน6 ศนู ยแ# ละ

วัตถุจะสมดุลต)อการหมนุ คอื ไมห) มุนหรอื หมุนดวย

ความเร็วเชงิ มมุ คงตวั เมอ่ื ผลรวมของโมเมนตท# ี่กระทาตอ)

วตั ถุเปน6 ศนู ยเ# มื่อมแี รงคค)ู วบกระทาต)อวตั ถุแรงลัพธ#จะ

เทา) กับศนู ย#ทาใหวัตถุสมดลุ ต)อการเล่ือนท่ีแต)ไมส) มดุลต)อ

การหมุนการเขยี นแผนภาพของแรงที่กระทาต)อวตั ถุอิสระ

สามารถนามาใชในการพจิ ารณาแรงลัพธ#

หนว) ย ช่อื หน)วย มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู เวลา
ที่ การเรียนรู เรียนรู/ (ช่วั โมง)
ตวั ช้วี ดั

และผลรวมของโมเมนต#ที่กระทาตอ) วัตถเุ มือ่ วัตถุอยู)ใน

สมดุลกลเมื่อออกแรงกระทาต)อวัตถทุ ี่วางบนพ้นื ท่ีไม)มีแรง

เสียดทานในแนวระดับถาแนวแรงน้ันกระทาผา) น

ศนู ย#กลางมวลของวัตถุวัตถจุ ะเคล่ือนทแี่ บบเลือ่ นท่ีโดยไม)

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 68

หมนุ วัตถุที่อย)ูในสนามโนมถ)วงสม่ําเสมอศนู ย#กลางมวล
และศนู ย#ถว) งอย)ทู ่ีตําแหน)งเดียวกนั โดยศูนยถ# )วงของวัตถุมี
ผลต)อเสถยี รภาพของวัตถุ

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 69

คาํ อธิบายรายวชิ าเคมี เล'ม 1

รายวชิ าพ้นื ฐาน กล'มุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร
ชัน้ มัธยมศึกษาป*ท่ี 4 เวลา 60 ชวั่ โมง

ศึกษาขอปฏิบัติเบ้ืองตนในการทาปฏิบัติการเคมี การเลือกใชอุปกรณ#และเครื่องมือในการทา
ปฏิบัติการการระบุหน)วยวัดปริมาณต)าง ๆ ของสาร การเปล่ียนหน)วยในระบบเอสไอดวยการใชแฟกเตอร#
เปลี่ยนหน)วย ศึกษาแบบจาลองอะตอม สัญลักษณ#นิวเคลียร#ของธาตุ อนุภาคมูลฐานของอะตอม การจัดเรียง
อิเล็กตรอนในอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ แนวโนมสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมู)
และตามคาบ สมบัติของธาตุโลหะแทรนซิชัน การเปรียบเทียบสมบัติกับธาตุโลหะในกล)ุมธาตุเรพรีเซนเททีฟ
ศึกษาและอธิบายสมบัติและคํานวณคร่ึงชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี ยกตัวอย)างการนาธาตุมาใชประโยชน#
รวมท้ังผลกระทบตอ) สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ศึกษาการเกิดพันธะไอออนิก สูตรและการเรียกชื่อสารประกอบ
ไอออนิก การเปลยี่ นแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก ปฏิกิริยา
ของสารประกอบไอออนิก ศึกษาการเกิดพันธะและชนิดของพันธะโคเวเลนต# การเขียนสูตรและเรียกชื่อสาร
โคเวเลนต# ความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต# พลังงานท่ีเก่ียวของกับปฏิกิริยาของสารโคเว
เลนต# รปู ร)างโมเลกุลโคเวเลนต# สภาพขัว้ ของโมเลกุลโคเวเลนต# แรงยดึ เหนย่ี วระหว)างโมเลกุลโคเวเลนต# สมบัติ
ของสารโคเวเลนต#โครงร)างตาข)าย ศึกษาการเกิดโลหะและสมบัติของโลหะโดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร# การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ สามารถนําความรูและหลักการไปใชประโยชน#
เชือ่ มโยง อธบิ ายปรากฏการณ# หรือแกป@ญหาในชีวิตประจาวัน สามารถจัดกระทําและวิเคราะห#ขอมูล สื่อสาร
สิง่ ทเี่ รยี นรู มคี วามสามารถในการตัดสินใจแกปญ@ หา มีจติ วิทยาศาสตร# เห็นคุณคา) ของวิทยาศาสตร# มีจริยธรรม
คณุ ธรรมและคา) นยิ มที่เหมาะสม

ตัวชว้ี ัด
ว. 5.1 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7 ม.4/8 ม.4/9 ม.4/10 ม.4/11 ม.4/12 ม.4/13
ม.4/14 ม.4/15 ม.4/16 ม.4/17 ม.4/18 ม.4/19 ม.4/20 ม.4/21
ว. 5.3 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4
รวม 25 ตัวชี้วัด

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 70

โครงสรางรายวชิ าเคมี ม.4 เลม' 1

หน)วย ชือ่ หนว) ยการ มาตรฐานการ สาระการเรียนรู เวลา
ท่ี เรยี นรู เรียนรู/ตวั ช้วี ดั (ชวั่ โมง)

1 ปฏิบัติการเคมี ว 5.3 การทาปฏิบตั กิ ารเคมตี องคํานึงถงึ ความ 4

เบอื้ งตน ม.4/1 ปลอดภัยความถูกตองและความเปน6 มติ รต)อ

ม.4/2 สง่ิ แวดลอมการทาปฏิบัตกิ ารเคมีตองมีการเลือกและ

ม.4/3 ใชอปุ กรณ#ในการทาปฏบิ ัตกิ ารอย)างเหมาะสมและ

ม.4/4 เพอื่ ใหมีมาตรฐานเดียวกันจงึ มกี ารกาํ หนดหน)วยใน

ระบบเอสไอใหเป6นหน)วยสากล

2 อะตอมและ ว 5.1 นกั วิทยาศาสตร#ศึกษาโครงสรางของอะตอมและเสนอ 36

ตารางธาตุ ม.4/1 แบบจาลองอะตอมแบบต)างๆจากการศึกษาขอมูลการ

ม.4/2 สังเกตการตั้งสมมติฐานและผลการทดลองสญั ลักษณ#

ม.4/3 นิวเคลียร#ของธาตุประกอบดวยสัญลกั ษณธ# าตเุ ลข

ม.4/4 อะตอมและเลขมวลอเิ ล็กตรอนจัดเรียงอยูร) อบๆ

ม.4/5 นิวเคลียสในระดับพลงั งานหลกั ต)างๆและแต)ละระดบั

ม.4/6 พลังงานหลักยังแบ)งเป6นระดบั พลงั งานย)อยตารางธาตุ

ม.4/7 ในป@จจุบนั จดั เรยี งธาตตุ ามเลขอะตอมและสมบัตทิ ่ี

ม.4/8 คลายคลึงกันเปน6 หมู)และคาบธาตุเรพรเี ซนเททีฟมี

สมบตั ิทางเคมคี ลายคลงึ กนั ตามหมธู) าตุแทรนซชิ ันเปน6

โลหะมีขนาดอะตอมใกลเคยี งกันมจี ดุ เดือดจดุ

หลอมเหลวและความหนาแน)นสงู เมื่อเกิดเปน6

สารประกอบสว) นใหญจ) ะมสี ี

ธาตุกัมมนั ตรังสีเป6นธาตุทท่ี ุกไอโซโทปสามารถแผร) ังสี

ไดโดยครง่ึ ชวี ติ ของไอโซโทปกัมมันตรังสีเป6นระยะเวลา

ทไ่ี อโซโทปกัมมันตรังสสี ลายตวั จน

เหลอื ครง่ึ หน่งึ ของปริมาณเดิมสมบัตบิ างประการของ

ธาตุแต)ละชนดิ ทาให

สามารถนาธาตุไปใชประโยชน#ในดานตา) ง ๆ ได

หลากหลาย

หน)วย ชื่อหนว) ยการ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู เวลา
ท่ี เรียนรู เรียนรู/ตวั ชีว้ ัด (ชัว่ โมง)

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 71

3 พันธะเคมี ว 5.1 การเกิดพนั ธะเคมีสว) นใหญ)เป6นไปตามกฎ 20
ม.4/9
ม.4/10 ออกเตตพันธะไอออนิกเกดิ จากการยดึ เหน่ยี วระหว)าง
ม.4/11
ม.4/12 ประจุไฟฟBาของไอออนบวกของโลหะกับไอออนลบของ
ม.4/13
ม.4/14 อโลหะ
ม.4/15
ม.4/16 สารประกอบไอออนกิ เขยี นแสดงสูตรเคมีโดยใช
ม.4/17
ม.4/18 สญั ลกั ษณธ# าตทุ ่ีเป6นไอออนบวกไวดานหนาตามดวย
ม.4/19
ม.4/20 สญั ลักษณ#ธาตทุ ่ีเปน6 ไอออนลบ และมตี วั เลขแสดง
ม.4/21
อตั ราสว) นอย)างต่ําของจานวนไอออนการเรียกช่ือ

สารประกอบไอออนกิ ใหเรียกชื่อ

ไอออนบวกตามดวยช่อื ไอออนลบ

ปฏิกริ ิยาการเกดิ สารประกอบไอออนิกแสดงไดดวยวฏั

จกั รบอรน# -ฮาเบอร#

สารประกอบไอออนิกส)วนใหญเ) ป6นของแขง็ มจี ดุ เดือด

และจุดหลอมเหลวสงู เมื่อเป6นของแขง็ ไม)นาไฟฟาB แต)

เมื่อหลอมเหลวหรือละลายนาจะนําไฟฟBาได และ

สารละลายของสารประกอบไอออนกิ

แสดงสมบัติความเปน6 กรด-เบสต)างกนั

พันธะโคเวเลนต#เกดิ จากใชเวเลนซ#อิเลก็ ตรอนร)วมกัน

ของอโลหะโดยทวั่ ไปสตู รโมเลกลุ ของสารโคเวเลนต#

เขียน

แสดงดวนสญั ลกั ษณ#ของธาตุ และมีตวั เลขแสดง

จาํ นวนอะตอมของธาตุทีม่ มี ากกว)า 1 อะตอม และการ

เรยี กช่ือสารโคเวเลนตท# าไดโดยเรียกช่อื ธาตุที่อยู)หนา

ก)อนแลวตามดวยชือ่ ธาตุท่อี ย)ูถัดมา และมี

คานาหนาระบุจานวนอะตอมของธาตุความยาวพนั ธะ

และพลังงานพันธะในสาร

โคเวเลนต#ขึ้นกบั ชนิดของอะตอมค)รู ว) มพนั ธะและชนิด

ของพนั ธะ รูปรา) งของโมเลกลุ โคเวเลนต#ขึ้นอยก)ู ับ

จาํ นวนพนั ธะและจานวนอเิ ล็กตรอนคโู) ดดเดยี่ วรอบ

อะตอมกลางและสภาพขวั้ ของโมเลกลุ โคเว

หนว) ย ชอื่ หน)วยการ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู เวลา
ท่ี เรียนรู เรยี นรู/ตัวชี้วดั (ชวั่ โมง)

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 72

เลนต#เปน6 ผลรวมปรมิ าณเวกเตอรส# ภาพขว้ั ของแต)ละ
พันธะตามรปู ร)างโมเลกุล แรงยึดเหนีย่ วระหวา) ง
โมเลกุลมผี ลต)อจุดหลอมเหลวจดุ เดือดและการละลาย
นาของสารโดยสารโคเวเลนต#จะมีจดุ หลอมเหลวและ
จุดเดือดต่ําและไม)ละลายนา้ํ สารโคเวเลนตบ# างชนดิ ทม่ี ี
โครงสรางโมเลกลุ ขนาดใหญ)และมพี ันธะโคเวเลนต#
ตอ) เนอ่ื งเปน6 โครงร)างตาข)ายจะมีจดุ หลอมเหลวและจุด
เดอื ดสูงพันธะโลหะเกิดจากเวเลนซอ# เิ ล็กตรอนของทุก
อะตอมของโลหะเคล่ือนทอี่ ยา) งอิสระไปทั่วท้งั
โลหะและเกิดแรงยึดเหน่ยี วกับโปรตอนใน
นวิ เคลยี สทุกทิศทางโลหะสว) นใหญ)เป6นของแข็งผิวมัน
วาวจดุ หลอมเหลวและจดุ เดือดสูงนาไฟฟาB และความ
รอนไดดีสารประกอบไอออนิกสารโคเวเลนต#และโลหะ
มสี มบัติเฉพาะตวั บางประการท่ีแตกต)างกันจงึ นามาใช
ประโยชน#ในดานตา) งๆไดตามความเหมาะสม

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 73

คําอธิบายรายวชิ าเคมีเล'ม 2

รายวชิ าพืน้ ฐาน กล'มุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร
ชั้นมธั ยมศึกษาป*ท่ี 4 เวลา 60 ช่วั โมง

ศึกษาเก่ียวกับมวลอะตอมของธาตุมวลของธาตุ 1 อะตอมมวลอะตอมเฉล่ียของธาตุมวลโมเลกุลของ
สารความสัมพันธ#ระหว)างจํานวนโมลอนุภาคมวลและปริมาตรของแกYสท่ี STP ศึกษาหน)วยและการคํานวณ
ความเขมขนของสารละลายการทดลองเตรียมสารละลายการเปรียบเทียบจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสาร
บริสุทธ์ิและสารละลายศึกษาความหมายและเขียนสูตรโมเลกุลสูตรเอมพิริคัลหรือสูตรอย)างง)ายและสูตร
โครงสรางการคํานวณหามวลเป6นรอยละจากสูตรการคํานวณหาสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุลของสารศึกษา
การเขียนและดุลสมการเคมีทดลองและคํานวณหาอัตราส)วนจานวนโมลของสารต้ังตนท่ีทาปฏิกิริยาพอดีกัน
ศึกษาสมบัติของระบบป_ดและระบบเป_ดศึกษาและฝrกคํานวณปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมีที่เป6นไปตามกฎทรง
มวลกฎสัดส)วนคงท่ีศึกษาทดลองและคํานวณปริมาตรของแกYสในปฏิกิริยาเคมีตามกฎของเกย#-ลูสแซกและกฎ
ของอาโวกาโดรศึกษาและฝrกคํานวณหาความสัมพันธ#ระหว)างปริมาณของสารในสมการเคมีน้ันๆและสมการ
เคมีที่เกี่ยวของมากกว)าหน่ึงสมการสารกําหนดปริมาณผลไดรอยละโดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรก# ารสืบเสาะหาความรูการสํารวจตรวจสอบสามารถ
นาความรูและหลักการไปใชประโยชน#เชื่อมโยงอธิบายปรากฏการณ#หรือแกป@ญหาในชีวิตประจาวันสามารถจัด
กระทาและวิเคราะห#ขอมูลสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูมีความสามารถในการตัดสินใจแกป@ญหามีจิตวิทยาศาสตร#เห็น
คุณค)าของวิทยาศาสตรม# ีจริยธรรมคุณธรรมและคา) นิยมทเ่ี หมาะสม

ตัวชวี้ ดั
ว. 5.2 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7
ว. 5.3 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7 ม.4/8 ม.4/9 ม.4/10 ม.4/11
รวม 14 ตวั ช้ีวดั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 74

โครงสรางรายวชิ าเคมี ม.4 เล'ม 2

หน)วยท่ี ชอ่ื หน)วยการเรียนรู มาตรฐานการ สาระการเรียนรู เวลา
1 เรียนรู/ตัวช้วี ดั (ชวั่ โมง)

2 ปริมาณสัมพันธ# ว 5.3 อะตอมเฉลย่ี ของธาตุเปน6 ค)าเฉลย่ี จากค)ามวล 17
3
ม.4/5 อะตอมของแตล) ะไอโซโทปของธาตุชนิดนน้ั 17

ม.4/6 ตามปริมาณทีม่ ีในธรรมชาติมวลโมเลกลุ เป6น 26

ม.4/7 ผลรวมของมวลอะตอมเฉลย่ี ของธาตทุ ี่เปน6

ม.4/8 องคป# ระกอบของสารสาร 1 โมลมี 6.02 ×
1023อนุภาคมมี วลเท)ากบั มวลอะตอมหรือ

มวลโมเลกลุ ของสารนัน้ และสารทม่ี ีสถานะ

เปน6 แกสY 1 โมลจะมปี รมิ าตรเท)ากับ 22.4

ลูกบาศกเ# ดซเิ มตรที่ STPสารประกอบเกดิ

จากธาตตุ ั้งแต) 2 ชนิดขนึ้ ไปมารวมตวั กนั โดย

มีอัตราส)วนโดยมวลตามกฎสัดสว) นคงท่ีสูตร

เคมสี ามารถแสดงไดดวยสูตรอย)างงา) ยและ

สตู รโมเลกลุ

สารละลาย ว 5.3 การบอกปรมิ าณของสารในสารละลาย

ม.4/9 สามารถบอกเปน6 ความเขมขนการเตรยี ม

ม.4/10 สารละลายสามารถทาไดโดยการเตรยี มจาก

ม.4/11 สารบรสิ ทุ ธ์ิและเตรียมจากสารละลาย

เขมขนสารละลายมีจดุ เดือดและจดุ เยอื ก

แข็งแตกต)างจากสารบริสุทธท์ิ ่ีเปน6 ตัวทา

ละลาย

ปริมาณสมั พันธ#ใน ว 5.2 ปฏกิ ริ ยิ าเคมีเป6นการเปล่ยี นแปลงทีม่ สี าร

ปฏิกริ ยิ าเคมี ม.4/1 ใหมเ) กิดขึน้ เขยี นแสดงไดดวยสมการเคมีเลข

ม.4/2 สมั ประสทิ ธิใ์ นสมการเคมสี ามารถนามาใชใน

ม.4/3 การคํานวณปริมาณของสารท่ีเก่ยี วของกบั

ม.4/4 มวลความเขมขนของสารละลายและ

ม.4/5 ปริมาตรของแกYสไดความสัมพนั ธ#ของโมล

ม.4/6 สารต้งั ตนและผลติ ภัณฑ#ในปฏกิ ิรยิ าเคมี

ม.4/7 หลายขัน้ ตอนพิจารณาไดจากเลข

สมั ประสทิ ธ์ขิ องสมการเคมรี วมปฏิกิรยิ าเคมี

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 75

ที่สารต้งั ตนทาปฏกิ ริ ิยาไม)พอดีกนั สารตัง้ ตน
ทีท่ าปฏิกิรยิ าหมดก)อนเรียกว)าสารกําหนด
ปรมิ าณคา) เปรยี บเทยี บผลไดจรงิ กบั ผลได
ตามทฤษฎเี ปน6 รอยละเรยี กว)าผลไดรอยละ

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 76

รายวชิ าพ้ืนฐาน คําอธบิ ายรายวชิ าชวี วทิ ยา เล'ม 1
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท* ี่ 4 กลมุ' สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร
เวลา 60 ชัว่ โมง

ศกึ ษาเกย่ี วกับลักษณะสาํ คญั ของสงิ่ มชี ีวติ การใชความรแู ละกระบวนการทางชีววิทยาท่ีเป6นประโยชน#
ต)อมนุษย#และสิ่งแวดลอม การศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร# และการนําความรูเก่ียวกับ
ชวี วิทยามาประยกุ ต#ใชในชีวิตประจาวัน ศึกษาโครงสรางและหนาท่ขี องสารเคมีที่เป6นองค#ประกอบในเซลล#ของ
สิ่งมีชีวิตปฏิกิริยาเคมีในเซลล#ของส่ิงมีชีวิต ศึกษาโครงสรางและหนาที่ของส)วนประกอบของเซลล#ดวยกลอง
จลุ ทรรศน#การแพร) การออสโมซสิ การแพร)แบบฟาซลิ เิ ทต และแอกทฟี ทรานสปอรต# การลําเลียงสารผ)านเซลล#
การสื่อสารระหว)างเซลล# การแบ)งเซลล# การเปลี่ยนสภาพของเซลล# การชราภาพของเซลล# และการหายใจ
ระดับเซลล#โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร# กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การ
สงั เกต การวเิ คราะห# การทดลอง การอภปิ ราย การอธิบายและสรุป เพ่อื ใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนาความรูไปประยุกต#ใชในชีวิตประจาวัน มีจิต
วทิ ยาศาสตร# มคี ุณธรรม และจริยธรรม

ตวั ช้วี ัด
ว. 4.1 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7 ม.4/8 ม.4/9 ม.4/10
ม.4/11 ม.4/12 ม.4/13 ม.4/14 ม.4/15 ม.4/16 ม.4/17
รวม 17 ตัวช้ีวัด

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 77

โครงสรางรายวชิ าชีววิทยา ช้ัน ม.4 เล'ม 1

หน)วยท่ี ชือ่ หนว) ยการเรียนรู มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู เวลา
1 เรียนรู/ตัวช้วี ดั (ชวั่ โมง)

2 ธรรมชาตขิ อง ว 4.1 ส่งิ มชี ีวิตทุกชนดิ ตองการสารอาหารและ 8

3 สิ่งมีชีวติ ม.4/1 พลงั งาน มีการเจริญเตบิ โต มีการตอบสนอง 12

ม.4/2 ต)อสง่ิ เรา มีการรักษาดุลยภาพของรา) งกาย 40

มกี ารสืบพนั ธุ# มีการปรบั ตัวทางววิ ฒั นาการ

และมีการทางานร)วมกนั ขององค#ประกอบ

ตา) ง ๆ อยา) งเป6นระบบวธิ ีการทาง

วิทยาศาสตร#ในการคนหาคาตอบเกยี่ วกับ

สิ่งมชี วี ติ เรมิ่ จากการ ต้งั ปญ@ หาหรือ

คาํ ถาม ต้ังสมมติฐาน ตรวจสอบสมมติฐาน

เกบ็ รวบรวมขอมลู วเิ คราะหข# อมูล และ

สรปุ ผลการศกึ ษาเกี่ยวกบั สิ่งมีชีวติ ตอง

คาํ นึงถึงชีวจริยธรรม และจรรยาบรรณการ

ใชสตั ว#ทดลอง

เคมที ่เี ปน6 พ้ืนฐาน ว 4.1 รา) งกายสงิ่ มีชีวิตมีนาเป6นองค#ประกอบมาก

ของสง่ิ มีชีวิต ม.4/3 ทส่ี ดุ ซ่ึงนามีสมบัตชิ ว) ยรกั ษาดุลยภาพของ

ม.4/4 เซลล#ไดรา) งกายของส่งิ มชี วี ิตประกอบไปดวย

ม.4/5 สารอินทรยี #ทง้ั คาร#โบไฮเดรต โปรตีน ลพิ ิด

ม.4/6 และกรดนิวคลีอกิ เมแทบอลซิ ึมเปน6 ปฏกิ ริ ยิ า

ม.4/7 เคมีท่เี กดิ ขนึ้ ในเซลลส# ่ิงมีชวี ติ ซงึ่ ปฏิกิริยา

ม.4/8 เหลา) นี้จะดาเนนิ ไปไดอยา) งรวดเร็วจาเป6น

ม.4/9 ตองอาศัยเอนไซมช# ว) ยเรง) เอนไซม#ทาหนาท่ี

เร)งปฏิกิริยาเคมี ซึ่งอุณหภูมสิ ภาพความเปน6

กรด-เบส และตัวยบั ยั้งเอนไซม#เปน6 ปจ@ จัยที่มี

ผลต)อการทางานของเอนไซม#

เซลล#ของส่งิ มีชวี ติ ว 4.1 ตา) ง ๆ ขนาดเลก็ ท่ีไม)สามารถมองเห็นไดดวย

ม.4/10 ตาเปลา) เซลลเ# ป6นหนว) ยพนื้ ฐานทีเ่ ลก็ ท่สี ดุ

ม.4/11 ของสงิ่ มีชีวิตมโี ครงสรางพ้นื ฐาน ไดแก) ส)วน

ม.4/12 ทห่ี อ) หุมเซลล#ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส

ม.4/13 สารต)าง ๆ มกี ารเคลื่อนทีเ่ ขาและออกจาก

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 78

ม.4/14 เซลลโ# ดยกระบวนการต)าง ๆ ไดแก) การแพร)
ม.4/15 ออสโมซิสการแพร)แบบฟาซิลเิ ทต แอก
ม.4/16 ทฟี ทรานสปอร#ตเอกโซไซโทซิส เอนโดไซโท

ซิส

หนว) ยท่ี ช่อื หน)วยการเรียนรู มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู เวลา
เรียนรู/ตัวชว้ี ัด (ชัว่ โมง)

การแบง) เซลลข# องส่ิงมชี ีวิตเป6นการเพ่ิม

จาํ นวนเซลล# ซ่ึงเป6นกระบวนการท่ีเกิดขึน้

ต)อเน่อื งกนั เปน6 วฏั จกั ร โดยวัฏจักรของเซลล#

ประกอบดวยระยะอนิ เตอรเ# ฟส การแบง)

นวิ เคลยี สและการแบ)งไซโทพลาซมึ

การหายใจระดับเซลล#เปน6 การสลาย

สารอาหารท่มี ีพลังงานสงู โดยมอี อกซิเจน

มาเปน6 ตวั รับอเิ ล็กตรอนตวั สดุ ทาย

ประกอบดวย 3 ข้ันตอน คอื ไกลโคลซิ ิส

วัฏจกั รเครบส# และกระบวนการ

ถา) ยทอดอเิ ล็กตรอน

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 79

รายวิชาพ้ืนฐาน คาํ อธิบายรายวิชาชวี วิทยา เลม' 2
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท* ่ี 4 กลมุ' สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร
เวลา 60 ช่วั โมง

ศกึ ษาเก่ียวกับการถา) ยทอดทางพนั ธกุ รรม การศึกษาพนั ธศุ าสตรข# องเมนเดล กฎแหง) การแยกและกฎ
แห)งการรวมกลมุ) อย)างอิสระ ลกั ษณะทางพันธุกรรมทีเ่ ป6นส)วนขยายของพนั ธศุ าสตร#เมนเดล ศึกษาเกีย่ วกับยนี
และโครโมโซม การคนพบสารพนั ธกุ รรม โครโมโซม องค#ประกอบทางเคมีของ DNA โครงสรางของ DNA
สมบตั ขิ องสารพนั ธกุ รรม มิวเทชัน ศกึ ษาเกยี่ วกบั พันธศุ าสตรแ# ละเทคโนโลยที าง DNA พนั ธวุ ิศวกรรม การ
ประยกุ ตใ# ชเทคโนโลยีทาง DNA ความปลอดภัยของเทคโนโลยที าง DNA และมุมมองทางสังคมและจริยธรรม
ศึกษาเกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการหลักฐานที่บง) บอกถึงวิวฒั นาการของสง่ิ มีชวี ติ แนวคิดเก่ยี วกบั ววิ ัฒนาการของ
ส่งิ มีชวี ิต พนั ธุศาสตรป# ระชากร กําเนิดของสปช€ สี #โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร# กระบวนการสืบเสาะหา
ความรู การสบื คนขอมูล การสงั เกต การวิเคราะห# การทดลอง อภปิ ราย การอธิบาย และสรุป เพือ่ ใหเกดิ
ความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สอื่ สารสิ่งท่ีเรียนรูและนาความรูไปใชในชีวิตของ
ตนเอง มีจติ วทิ ยาศาสตร# จริยธรรมคุณธรรม และค)านิยม

ตัวชีว้ ัด
ว. 4.2 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7 ม.4/8 ม.4/9 ม.4/10
ม.4/11 ม.4/12 ม.4/13 ม.4/14 ม.4/15
รวม 15 ตัวช้ีวดั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 80

โครงสรางรายวชิ าชีววิทยา ม.4 เล'ม 2

หนว) ยท่ี ชื่อหน)วยการเรียนรู มาตรฐานการ สาระการเรียนรู เวลา
1 เรียนรู/ตวั ช้วี ดั (ช่วั โมง)

2 การถ)ายทอดทาง ว. 4.2 เกรเกอร# โยฮนั น# เมนเดล ทาการทดลองการ 16

พันธุกรรม ม.4/1 ถ)ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมของถว่ั 20

ม.4/2 ลนั เตา และสรปุ เป6นกฎ 2 ขอคอื กฎแหง)

ม.4/3 การแยก มีใจความว)า แอลลลี ทอี่ ยเู) ป6นคจ)ู ะ

ม.4/4 แยกออกจากกนั ในระหวา) งการสรางเซลล#

สบื พนั ธ#ุ โดยเซลลส# ืบพนั ธุ#แตล) ะเซลล#จะมี

เพียงแอลลีลใดแอลลลี หนงึ่ เท)านัน้ และกฎ

แห)งการรวมกลมุ) อย)างอิสระของเมนเดล มี

ใจความว)าหลงั จากคู)ของแอลลีลแยกออก

จากกัน แตล) ะแอลลลี จะแยกออกจากคู)

เช)นกนั ในการเขาไปอยูใ) นเซลล#สืบพันธุ#

การถ)ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมบาง

ลักษณะไมเ) ป6นไปตามหลกั พนั ธศุ าสตรข# อง

เมนเดล ดังนี้ การข)มไมส) มบรู ณ# การข)ม

รว) มกัน มัลติเปล_ แอลลีล พอลิยนี ยีนบน

โครโมโซมเพศ ยนี บนโครโมโซมเดียวกัน

ลกั ษณะท่ีอยู)ภายใตอิทธพิ ลของเพศ และ

ลักษณะท่ปี รากฏจาเพาะเพศ

ยีนและโครโมโซม ว. 4.2 การทดลองของนักวิทยาศาสตรห# ลาย ๆ

ม.4/5 ท)าน ทาใหพบว)าสารพันธกุ รรมท่ีทาหนาที่

ม.4/6 กาํ หนดลกั ษณะทางพันธุกรรมและควบคมุ

ม.4/7 การทางานต)าง ๆ คือ กรดนวิ คลีอิก ซง่ึ มี 2

ม.4/8 ชนิด ไดแก)ดเี อ็นเอและอารเ# อ็นเอดเี อ็นเอ

ม.4/9 เปน6 ลาดับเบสทอี่ ยบู) นโครโมโซม ซง่ึ รวมอย)ู

กบั โปรตนี ฮสี โตน เป6นพอลเิ มอรข# องนิวคลี

โอไทด#ที่ประกอบดวยนํา้ ตาลดีออกซีไรโบส

ไนโตรจีนัสเบส และหมฟู) อสเฟต ซ่งึ

นิวคลโี อไทด#แต)ละหนว) ยจะเช่ือมกนั ดวย

พันธะฟอสโฟ-ไดเอสเตอร#จนเป6นสายยาว

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 81

หนว) ยท่ี ช่ือหนว) ยการเรียนรู มาตรฐานการ ของพอลินวิ คลโี อไทด# โดยพอลนิ วิ คลโี อไทด# เวลา
3 เรยี นรู/ตัวชว้ี ดั 2 สาย จะเรยี งสลับทศิ กันและพันกันเป6น (ชั่วโมง)
เกลียวคต)ู ามเข็มนาฬกิ า ซึ่งเบส A จับกบั
พันธุศาสตร#และ ว. 4.2 เบส T ดวยพันธะไฮโดรเจน 2 พนั ธะ เบส C 10
เทคโนโลยีทาง ม.4/10 จับกับเบส G ดวยพนั ธะไฮโดรเจน
DNA ม.4/11 3 พนั ธะ

สาระการเรียนรู

ดเี อ็นเอสามารถจําลองตัวเองและใชเป6น
แมแ) บบในการสังเคราะหด# เี อ็นเอสายใหม)
โดยลาํ ดับนิวคลโี อไทด#บางช)วงของ
สายดเี อ็นเอจะทาํ หนาทีเ่ ปน6 ยีนท่มี ีผลตอ) การ
กําหนดลาํ ดับกรดอะมิโนของโปรตนี ต)าง ๆ
ของเซลล# และควบคุมลักษณะทาง
พนั ธกุ รรมของส่งิ มชี ีวิตการสงั เคราะห#โปรตีน
ของดีเอ็นเอจะเริ่มจากการถอดรหัส DNA
แม)แบบ เปน6 mRNA ซึ่งเกิดขึ้นในนิวเคลียส
จากน้ันจงึ แปรหสั mRNA เป6นโปรตนี ซ่ึง
เกิดขน้ึ ในไซโทพลาซมึ การเปลี่ยนแปลงทเี่ กิด
ขึน้ กับขอมูลทางพนั ธุกรรมจะทาให
เกดิ การเปลย่ี นแปลงของยนี และส)งผลต)อ
ลักษณะของสงิ่ มชี วี ติ เรยี กวา) มิวเทชนั แบง)
ออกเป6น มวิ เทชนั ระดบั ยนี ซึ่งเปน6 การขาด
หายไปหรือเพ่ิมขนึ้ ของนวิ คลีโอไทด# และมิว
เทชนั ระดับโครโมโซม ซ่งึ เปน6 การ
เปลี่ยนแปลงของโครงสรางหรือจาํ นวน
โครโมโซม
เทคโนโลยีทางดีเอน็ เอเป6นการสรางดีเอ็นเอ
รคี อม-บแิ นนทโ# ดยอาศยั เอนไซมต# ัดจาเพาะ
และเอนไซม#ดีเอน็ เอไลเกส แลวนามาโคลน
เพอ่ื เพิม่ จานวนโดยอาศยั พลาสมดิ หรอื
เทคนคิ PCR ซึ่งดีเอน็ เอรคี อมบแิ นนท#ท่ีได

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 82

หน)วยที่ ช่อื หน)วยการเรยี นรู มาตรฐานการ สามารถนาไปใชสรางสิง่ มีชวี ิตดัดแปร เวลา
4 เรยี นรู/ตวั ชวี้ ดั พนั ธกุ รรมเทคโนโลยีทางดเี อ็นเอสามารถนา (ชว่ั โมง)
ไปประยุกต#ใช เช)น การบาบัดดวยยีน การ
ววิ ัฒนาการ ว. 4.2 ผลิตยา การตรวจสอบความสัมพันธท# าง 14
ม.4/12 สายเลือดและผูกระทาผดิ ในคดอี าชญากรรม
ม.4/13 การสรางพชื และสัตวด# ดั แปรพนั ธกุ รรม การ
ม.4/14 สรางจุลินทรยี ห# รอื พืชท่ีมีความสามารถใน
ม.4/15 การย)อยสลายสารพิษที่ปนเป•อนใน
สิ่งแวดลอม การพฒั นาผลผลิตท่ีเปน6 วตั ถดุ บิ
ในอุตสาหกรรมและใชเพ่ิมผลผลติ ในเชิงอตุ
สาหรรม เป6นตน แต)การใชเทคโนโลยีทางดี
เอ็นเอจาเปน6 ตองคํานึงถึงความปลอดภยั ทาง

สาระการเรียนรู

ชีวภาพ ชวี จริยธรรม และผลกระทบทาง
สงั คม
หลกั ฐานทท่ี ําใหนักวิทยาศาสตรเ# ชอื่ วา)
สิ่งมชี วี ิตมี
ววิ ฒั นาการไดแก)ซากดึกดาบรรพ#กายวภิ าค
เปรียบเทยี บวิทยาเอ็มบริโอชีววทิ ยาระดับ
โมเลกุลและชีวภูมศิ าสตรซ# ึง่ จากหลกั ฐาน
เหล)าน้ที าํ ใหสามารถอธิบายถึงการเกดิ
ววิ ัฒนาการของมนษุ ย#นกั วทิ ยาศาสตร#ท่ี
เสนอแนวคิดเกี่ยวกบั วิวฒั นาการของ
สิง่ มชี วี ติ ไดแกฌ) องลามาร#กไดเสนอแนวคดิ
ว)าส่งิ มชี ีวติ มีการเปล่ียนแปลงโครงสรางให
เขากับสภาพแวดลอมโดยอาศัย
กฎการใชและไมใ) ชและกฎแห)งการถา) ยทอด
ลักษณะทเี่ กดิ ข้ึนใหมแ) ละชาลส#ดารว# นิ ได
เสนอแนวทฤษฎเี ก่ียวกับววิ ัฒนาการของ
สง่ิ มชี วี ติ ว)าเกดิ จากการคดั เลือกโดย
ธรรมชาติโดยสิ่งมชี ีวิตมีแนวโนมท่ีจะให

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 83

กําเนิดลกู ที่มลี ักษณะต)างกัน
จํานวนมากแตม) ีเพยี งจาํ นวนหนงึ่ เทา) น้ันท่ี
เหมาะสมกับสภาพแวดลอมสามารถมชี ีวติ
รอดและถ)ายทอดลกั ษณะทเี่ หมาะสมไปยัง
รนุ) ต)อไปได ประชากรสงิ่ มชี ีวติ ท่อี ยใ)ู นภาวะ
สมดุลของฮาร#ดี-ไวน#เบิร#กจะมีความถี่ของ
แอลลีลในยีนพูลคงทท่ี ุกรนุ) ซึ่งกล)ุม
ประชากรตองมีขนาดใหญ) ไม)มีการถ)ายเท
ยนี ไม)เกิดมวิ เทชนั สมาชิกทุกตัวมโี อกาส
ผสมพันธไุ# ดเท)ากนั และไม)เกิดการคดั เลือก
โดยธรรมชาติ แต)ความถขี่ องแอลลี ใน
ประชากรสามารถเปล่ยี นแปลงไดจากการ
เปลีย่ นแปลงความถี่ยนี อยา) งไมเ) จาะจง
การถา) ยเทเคล่อื นยายยนี การเลอื กคูผ) สม
พนั ธุ# มิวเทชนั และการคัดเลือกโดย
ธรรมชาติ ซ่งึ เป6นผลทําใหเกิดววิ ัฒนาการ
ของส่งิ มีชวี ิตสป€ชสี #ใหม)จะเกดิ ขึ้นเม่อื ไม)มี
การถา) ยเทเคลอื่ นยายยนี
ระหว)างประชากร ทําใหประชากรทงั้ สองมี
โครงสรางที่แตกต)างกัน และวิวฒั นาการเกิด
เปน6 สป€ชีส#ใหม)ขึ้น

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 84

รายวิชาพื้นฐาน คาํ อธิบายรายวิชา โลก ดาราศาสตร และอวกาศ เล'ม 1
ชั้นมธั ยมศึกษาปท* ี่ 4 กลมุ' สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร
เวลา 60 ชว่ั โมง

ศึกษาเกย่ี วกับการแบง) ชั้นและสมบัติของโครงสรางโลก หลักฐานทางธรณีวิทยาท่สี นบั สนนุ การ
เคลื่อนที่ของแผน) ธรณี ลกั ษณะการเคล่ือนท่ีของแผน) ธรณีตามทฤษฎธี รณีแปรสัณฐาน การลําดับชัน้ หนิ และ
ธรณีประวตั ิ หลกั ฐานทางธรณีวทิ ยา การหาอายเุ ปรียบเทียบ อายสุ ัมบรู ณ# มาตราธรณีกาล สาเหตุและ
กระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบิดแผน) ดนิ ไหว สนึ ามิ การทําความเขาใจธรรมชาติของธรณีพิบัติภยั เพื่อ
เตรียมพรอมรบั สถานการณ#โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร# กระบวนการสบื เสาะหาความรู การสบื คน
ขอมลู การสงั เกต การวิเคราะห# การอภิปราย การอธิบายและการสรุปผลเพื่อใหเกิดความรู ความคิด และ
ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู และนาํ ความรูไปใชในชีวติ ของตนเอง ตลอดจน
มจี ติ วทิ ยาศาสตร# จริยธรรมคุณธรรม และคา) นยิ มทีถ่ ูกตองเหมาะสม

ตัวช้วี ดั
ว. 7.1 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7
รวม 7 ตัวชวี้ ัด

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 85

โครงสรางรายวชิ าโลกดาราศาสตรและอวกาศ ม..4 เลม' 1

หน)วยท่ี ชือ่ หนว) ยการเรียนรู มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู เวลา
เรียนรู/ตวั ชวี้ ัด (ชว่ั โมง)

1 โครงสรางโลก ว 7.1 ปจ@ จบุ นั สามารถแบง) โครงสรางโลกไดเปน6 2 8

ม.4/1 แบบ คอื โครงสรางโลกตามองคป# ระกอบ 18

ทางเคมีแบง) ออก 3 ชั้น ไดแก) เปลอื กโลก

เนอื้ โลก และแกน) โลก และโครงสรางโลก

ตามสมบตั เิ ชิงกล แบ)งไดเปน6 5 ชัน้ ไดแก)

ธรณีภาค ฐานธรณภี าคมชั ฌมิ ภาค แกน) โลก

ชน้ั นอก และแกน) โลกช้ันในนอกจากนย้ี งั มี

การคนพบรอยต)อระหว)างชัน้ โครงสรางโลก

เชน) แนวแบ)งเขตโมโฮโรวซิ กิ แนว

แบ)งเขตกูเทนเบิร#ก แนวแบ)งเขตเลหแ# มน

2 ธรณแี ปรสณั ฐาน ว 7.1 แผน) ธรณตี )าง ๆ เป6นสว) นประกอบของธรณี

ม.4/2 ภาคซึ่งเป6นช้ันนอกสดุ ของโครงสรางโลก

ม.4/3 โดยมีการเปลยี่ นแปลงขนาดและตาํ แหนง)

ตง้ั แตอ) ดีตจนถึงปจ@ จบุ ันการเคลอ่ื นที่ของ

แผน) ธรณีดังกล)าวอธบิ ายไดตามทฤษฎธี รณี

แปรสัณฐาน ซง่ึ มีรากฐานมาจากทฤษฎที วีป

เลือ่ นและทฤษฎีการแผ)ขยายพ้ืนสมุทร

โดยมหี ลกั ฐานสนับสนนุ ไดแก) รูปร)างของ

ขอบทวปี ทส่ี ามารถเชื่อมต)อกันได ความ

คลายคลงึ ของกลุ)มหนิ และแนวเทอื กเขา

ซากดึกดาบรรพ#ร)องรอยการเคลื่อนท่ีของ

ตะกอนธารนํา้ แข็ง ภาวะแม)เหลก็ โลกบรรพ

กาล อายุหินของพื้นมหาสมุทรรวมทั้งการ

คนพบสนั เขากลางมหาสมทุ ร และรอ) ง

ลกึ กนมหาสมุทรการเคลอื่ นที่ของแผ)นธรณี

ตามทฤษฎีธรณแี ปรสัณฐานเกดิ ขนึ้ จากการ

พาความรอนของหนิ หนืดภายในโลก โดย

ลักษณะการเคล่อื นท่ีของแผ)นธรณี

มี 3 รูปแบบ ไดแก) แผ)นธรณเี คล่ือนทีเ่ ขาหา

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 86

หนว) ยที่ ชื่อหนว) ยการเรยี นรู มาตรฐานการ กัน แผ)นธรณเี คล่ือนท่ีแยกออกจากกนั แผน) เวลา
เรียนรู/ตวั ชีว้ ดั ธรณเี คลอ่ื นทผ่ี า) นกนั ซงึ่ ทาํ ใหเกิดลกั ษณะ (ชัว่ โมง)
ธรณีสณั ฐานไดแก) ร)องลกึ กนมหาสมทุ ร หม)ู
3 ธรณพี บิ ัติภยั ว 7.1 เกาะภูเขาไฟรูปโคงแนวภูเขาไฟแนว 16
ม.4/5 เทอื กเขา หุบเขาทรดุ และเทือกเขาใตสมทุ ร
ม.4/6 และธรณโี ครงสรางต)าง ๆนอกจากน้ียงั เปน6
ม.4/7
สาระการเรยี นรู

สาเหตทุ าํ ใหเกิดธรณีพิบัตภิ ยั เชน)
แผน) ดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ สึนามิ
ภูเขาไฟระเบิดเกิดจากการแทรกดันตัวของ
หนิ หนดื ข้นึ มาตามสว) นเปราะบาง หรอื รอย
แตกบนเปลือกโลก มักพบหนาแน)นบริเวณ
รอยต)อระหว)างแผน) ธรณี ทาใหบริเวณ
ดงั กล)าวเปน6 พน้ื ทเี่ สยี่ งภัยผลจากการระเบดิ
ของภเู ขาไฟมที ้งั ประโยชนแ# ละโทษ จงึ ตอง
ศึกษาแนวทางในการเฝBาระวงั และการ
ปฏิบตั ติ นใหปลอดภัยแผน) ดนิ ไหวเกิดจาก
การปลดปลอ) ยพลงั งานทส่ี ะสมไวของเปลอื ก
โลกในรูปของคลื่นไหวสะเทอื นแผ)นดินไหวมี
ขนาดและความรนุ แรงต)างกนั ซ่ึงส)งผลให
สง่ิ ก)อสรางเสียหาย เกิดอนั ตรายตอ) ชวี ติ
และทรัพยส# ิน จงึ ตองศึกษาแนวทางในการ
เฝBาระวัง และการปฏบิ ตั ติ นใหปลอดภัย
สนึ ามิ คือ คล่ืนนาทเี่ กดิ จากการแทนที่มวล
นาในปรมิ าณมหาศาล สว) นมากมักเกิดใน
ทะเลหรอื มหาสมุทร โดยคล่ืนจะมี
ลกั ษณะเฉพาะ คอื ความยาวคลน่ื มากและ
เคล่อื นทดี่ วยความเรว็ สงู เม่ืออย)ูกลาง
มหาสมุทรจะมีความสงู คลนื่ นอย และ
อาจเพิ่มความสงู ขนึ้ อยา) งรวดเรว็ เม่อื คลื่น
เคลอื่ นที่ผ)านบรเิ วณนาตนื้ จงึ ทาใหพ้นื ท่ี

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 87

4 ลําดับชั้นหิน ว 7.1 บรเิ วณชายฝง’@ บางบรเิ วณเปน6 พืน้ ทเี่ ส่ยี งภัย
หน)วยที่ ม.4/4 สนึ ามิ ก)อใหเกิดอันตรายแกม) นุษย#และ
ส่งิ กอ) สรางในบริเวณชายหาด ดังน้นั
ช่ือหน)วยการเรียนรู มาตรฐานการ จึงตองศึกษาแนวทางในการเฝาB ระวัง และ เวลา
เรยี นรู/ตัวชีว้ ัด การปฏบิ ตั ติ นใหปลอดภัย (ช่วั โมง)
การลําดบั ชั้นหนิ และธรณปี ระวัตเิ ป6น
การศึกษาการวางตวั การแผ)กระจาย ลาํ ดบั
อายุ ความสัมพันธข# องชนั้ หนิ รอยชัน้ ไม)
ตอ) เน่อื ง และหลักฐานทางธรณวี ทิ ยาอืน่ ๆ ท่ี
ปรากฏ ทําใหทราบถงึ ประวตั ิ เหตุการณท# าง
ธรณวี ิทยา การเปลยี่ นแปลงสภาพ แวดลอม
วิวัฒนาการของสิ่งมีชวี ิตทเี่ กดิ ขนึ้ บนโลก

สาระการเรียนรู

ตัง้ แต)กําเนิดโลกจนถงึ ปจ@ จุบันหลกั ฐานทาง
ธรณีวิทยา ไดแก) ซากดึกดาบรรพ# หนิ และ
โครงสรางทางธรณี ซงึ่ นาํ มาหาอายุได 2
แบบ ไดแก) อายุเปรียบเทยี บ และอายุ
สมั บูรณ# ขอมูลจากอายุเปรยี บเทียบและอายุ
สัมบูรณ#สามารถนาํ มาจดั ทาํ มาตราธรณีกาล
คอื การลาํ ดับชว) งเวลาของโลกต้ังแต)เกดิ
จนถึงป@จจบุ นั แบง) เปน6 บรมยุค มหายุค ยุค
และสมัย

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 88

รายวชิ าพ้นื ฐาน โลก ดาราศาสตร และอวกาศ เลม' 2
ช้นั มธั ยมศกึ ษาป*ที่ 4 กลุม' สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร
เวลา 60 ชวั่ โมง

ศึกษาเกยี่ วกับทรัพยากรธรณี การจําแนกแร) โครงสรางทางเคมแี ละสมบตั ทิ างกายภาพของแร) การ
ตรวจสอบสมบัตทิ างเคมีของแร) อุตสาหกรรมทรพั ยากรแร) การจาํ แนกหิน สมบตั ิและการใชประโยชน#
ทรพั ยากรหนิ กระบวนการเกิดและการสํารวจแหลง) ปโ_ ตรเลียมและถา) นหิน ผลติ ภณั ฑ#ที่ไดจากป_โตรเลียมและ
ถา) นหิน การอ)านและแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศ และแผนท่ธี รณีวทิ ยา การประยกุ ต#ความรูเกย่ี วกบั
แผนทีไ่ ปใชประโยชนใ# นชวี ิตประจาํ วนั โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร# กระบวนการสบื เสาะหาความรู
การสบื คนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห# การอภปิ ราย การอธิบายและการสรุปผลเพอื่ ใหเกดิ ความรู ความคดิ
และความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่เี รียนรแู ละนาํ ความรูไปใชในชีวิตของตนเอง
ตลอดจนมีจิตวทิ ยาศาสตร# จริยธรรม คณุ ธรรมและค)านยิ มทถี่ ูกตองเหมาะสม

ตัวช้วี ดั
ว. 7.1 ม.4/8 ม.4/9 ม.4/10 ม.4/11 ม.4/12
รวม 5 ตัวชีว้ ดั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 89

โครงสราง รายวชิ าโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.4 เล'ม 2

หน)วย ชอ่ื หนว) ย มาตรฐานการ สาระการเรียนรู เวลา
ท่ี การเรียนรู เรยี นรู/ตวั ช้วี ัด (ชัว่ โมง)
1 ทรัพยากร
ธรณี ว 7.1 แร) คอื ธาตุหรอื สารประกอบอนนิ ทรีย#ทเ่ี กดิ ข้ึนเองตาม 35

2 แผนท่ี ม.4/8 ธรรมชาติ มโี ครงสรางภายในทเี่ ปน6 ระเบียบมสี มบัตทิ ่ี 25

ม.4/9 แนน) อน หรืออาจเปลย่ี นแปลงไปไดบางในขอบเขตจาํ กัด

ม.4/10 จึงสามารถนํามาใชตรวจสอบชนดิ ของแร)ไดหิน เป6นมวล

ม.4/11 ของแขง็ ทีป่ ระกอบดวยแรต) ้ังแต) 1 ชนิดข้นึ ไป สามารถ

จาํ แนกหินตามลักษณะการเกิดและเนื้อหนิ ได 3 ประเภท

ไดแก) หนิ อคั นี หนิ ตะกอนและหินแปรทรัพยากร

ป_โตรเลียมและถ)านหนิ เปน6 ทรัพยากรสิ้นเปลือง ทีม่ ีอยู)

อยา) งจํากัด ใชแลวหมดไปไม)สามารถเกดิ ขึ้นทดแทนไดใน

เวลาอันรวดเร็ว ทรัพยากรปโ_ ตรเลยี มและถา) นหินถูก

นาํ มาใชในอุตสาหกรรมทีส่ ําคัญของประเทศ เชน) การ

คมนาคม การผลิตไฟฟBาเช้อื เพลงิ ในอุตสาหกรรมต)าง ๆ

ว 7.1 แผนทภ่ี ูมิประเทศ เป6นแผนท่ีท่ีสรางเพ่ือจําลองลักษณะ

ม.4/12 ของผวิ โลกหรือบางสว) นของพื้นท่บี นผวิ โลกโดยมที ิศทางท่ี

ชดั เจน และมาตราส)วนขนาดตา) ง ๆตามความเหมาะสม

กับการใชงาน แผนทภี่ มู ิประเทศมักแสดงเสนชน้ั ความสูง

และคําอธิบายสัญลกั ษณ#ต)างๆท่ปี รากฏในแผนที่ แผนที่

ธรณวี ิทยา เป6นแผนท่ีแสดงการกระจายตวั ของหินกลมุ)

ต)าง ๆ ทโ่ี ผล)ใหเหน็ บนพื้นผวิ ทาํ ใหทราบถึงขอบเขตของ

หินในพนื้ ที่ นอกจากนีย้ ังแสดงลักษณะการวางตัวของชั้น

หิน ซากดกึ ดาํ บรรพ# และธรณีโครงสราง

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 90

รายวชิ าพ้นื ฐาน คําอธิบายรายวิชาวทิ ยาการคาํ นวณ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาป*ที่ 4 กลุม' สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
เวลา 20 ชัว่ โมง

ศกึ ษาการประยกุ ต#ใชแนวคิดเชิงคํานวณในการพัฒนาโครงงานการพัฒนาโครงงานทางดานเทคโนโลยี
การนาํ แนวคิดเชิงคาํ นวณพัฒนาโครงงานทเ่ี กี่ยวกบั ชีวิตประจําวันตลอดจนใชในการพฒั นาโครงงานท่มี ีการบูร
ณาการกับวชิ าอืน่ อยา) งสรางสรรคแ# ละเชอื่ มโยงกบั ชวี ิตจรงิ โดยอาศยั กระบวนการเรียนรูโดยใชป@ญหาเป6นฐาน
(Problem–based Learning) และการเรียนรูแบบใชโครงงานเปน6 ฐาน (Project-based Learning) เพื่อเนน
ใหผูเรยี นไดลงมือปฏิบตั ิฝrกทักษะการคิดเผชญิ สถานการณ#การแกป@ญหาวางแผนการเรยี นรูตรวจสอบการ
เรยี นรูและนาเสนอผา) นการทากจิ กรรมโครงงานเพื่อใหเกิดทกั ษะความรูความเขาใจและทกั ษะในการวิเคราะห#
โจทยป# ญ@ หาจนสามารถนาเอาแนวคิดเชงิ คํานวณมาประยุกตใ# ชในการสรางโครงงานไดเพื่อใหผูเรยี นสามารถใช
ความรูทางดานวิทยาการคอมพวิ เตอรส# อื่ ดิจทิ ลั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารเพื่อรวบรวมขอมูลในชวี ติ
จริงจากแหลง) ต)างๆและความรจู ากศาสตรอ# ื่นมาประยุกตใ# ชสรางความรูใหมเ) ขาใจการเปล่ียนแปลงของ
เทคโนโลยีท่ีมผี ลต)อการดาํ เนินชวี ติ อาชีพสังคมวัฒนธรรมและใชอย)างปลอดภัยมจี รยิ ธรรมตลอดจนนาํ ความรู
ความเขาใจในวิชาวิทยาศาสตรแ# ละเทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนต# อ) สังคมและการดาํ รงชวี ติ จนสามารถ
พฒั นากระบวนการคิดและจนิ ตนาการความสามารถในการแกปญ@ หาและการจดั การทักษะในการส่ือสารและ
ความสามารถในการตดั สินใจและเป6นผูทม่ี จี ติ วิทยาศาสตร#มีคณุ ธรรมจริยธรรมและคา) นิยมในการใช
วิทยาศาสตรแ# ละเทคโนโลยอี ยา) งสรางสรรค#

ตวั ชี้วัด
ว. 8.2 ม.4/1
รวม 1 ตัวช้วี ดั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 91

โครงสราง รายวิชาวิทยาการคํานวณ

หน)วยที่ ชอ่ื หนว) ยการเรียนรู มาตรฐานการ สาระการเรียนรู เวลา
เรยี นรู/ตวั ช้วี ดั (ชว่ั โมง)

1 แนวคิดเชงิ คาํ นวณ ว 8.2 แนวคิดเชงิ คํานวณ เปน6 ความสามารถใน 6

ในการพฒั นา ม. 4/1 การแกไขป@ญหาโดยม)งุ เนนการคิดเชิงตรรกะ 14

โครงงาน หรอื เป6นการแกไขป@ญหาอยา) งเปน6 ลําดบั

ขั้นตอน และมีวิธกี ารแกป@ญหาอยา) งมรี ะบบ

การพฒั นาโครงงานทางดานเทคโนโลยเี ป6น

การนาํ แนวคดิ เชิงคาํ นวณมาแกปญ@ หาตา) งๆ

อยา) งเปน6 ระบบ เพ่ือใหโครงงานสาํ เรจ็ ลลุ ว) ง

ตามเปาB หมาย

2 การนาํ แนวคดิ เชิง ว 8.2 การนาํ แนวคดิ เชงิ คํานวณพัฒนา

คาํ นวณพฒั นา ม. 4/1 โครงงานพัฒนาเวบ็ ไซดแ# นะนําการใชงาน

โครงงานทเี่ ก่ยี วกับ หองสมดุ การนาํ แนวคิดเชงิ คํานวณพฒั นา

ชีวติ ประจําวัน โครงงานโปรแกรมแจงเตอื นการกนิ ยาผา) น

สมารต# โฟนหรอื แทบ็ เลต็

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนา้ 92

รายวชิ าพื้นฐาน คาํ อธิบายรายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศึกษาป*ท่ี 4 กล'มุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร
เวลา 20 ชั่วโมง

ศกึ ษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยีความสัมพันธ#กบั ศาสตร#อ่นื โดยเฉพาะวิทยาศาสตรห# รือคณติ ศาสตร#
ประเมนิ ผลกระทบทีจ่ ะเกิดข้ึนตอ) มนษุ ย#สงั คมเศรษฐกิจส่ิงแวดลอมเพื่อเปน6 แนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี
ระบปุ ญ@ หาหรอื ความตองการทม่ี ีผลกระทบต)อสงั คมรวบรวมวิเคราะห#ขอมลู และแนวคดิ ท่ีเกี่ยวของกบั ป@ญหาที่
มีความซับซอนเพื่อสังเคราะห#วิธกี ารเทคนิคในการแกป@ญหาโดยคาํ นึงถึงความถูกตองดานทรัพยส# ินทางป@ญญา
ศึกษาการออกแบบวิธีการแกป@ญหาโดยวิเคราะหเ# ปรยี บเทียบและตัดสินใจเลือกขอมลู ที่จาเป6นภายใตเง่ือนไข
และทรัพยากรที่มีอย)นู าเสนอแนวทางการแกป@ญหาใหผอู ่นื เขาใจดวยเทคนิคหรือวิธีการทหี่ ลากหลายโดยใช
ซอฟต#แวรช# ว) ยในการออกแบบวางแผนขนั้ ตอนการทางานและดาเนนิ การแกป@ญหาการทดสอบประเมนิ ผล
วิเคราะหใ# หเหตุผลของปญ@ หาหรอื ขอบกพร)องทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายใตกรอบเง่ือนไขหาแนวทางการปรบั ปรุงแกไข
พรอมท้งั เสนอแนวทางการพัฒนาต)อยอดเลอื กใชวัสดุอุปกรณ#เครอ่ื งมอื กลไกไฟฟาB อิเล็กทรอนกิ ส#และ
เทคโนโลยที ซี่ ับซอนในการแกปญ@ หา
หรือพัฒนางานไดอย)างถกู ตองเหมาะสมและปลอดภัยโดยอาศัยกระบวนการเรยี นรูโดยใชปญ@ หาเป6นฐาน
(Problem – based Learning) และการเรยี นรแู บบใชโครงงานเป6นฐาน (Project – based Learning) เนน
ใหผเู รยี นไดลงมือปฏิบัตฝิ กr ทักษะการคิดเผชิญสถานการณ#การแกป@ญหาวางแผนการเรยี นรูและนาเสนอผา) น
การทากจิ กรรมโครงงานเพ่ือใหผูเรยี นมคี วามรคู วามเขาใจความสมั พันธข# องความรูวทิ ยาศาสตร#ท่ีมีผลต)อการ
พฒั นาเทคโนโลยปี ระเภทตา) งๆและการพฒั นาเทคโนโลยที ีส่ )งผลใหมีการคิดคนความรทู างวทิ ยาศาสตร#ท่ี
กาวหนาผลของเทคโนโลยีต)อชวี ติ สังคมและส่งิ แวดลอมตลอดจนนาความรูความเขาใจในวิชาวทิ ยาศาสตร#และ
เทคโนโลยไี ปใชใหเกดิ ประโยชนต# อ) สังคมและการดารงชีวติ จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ
ความสามารถในการแกป@ญหาและการจดั การทักษะในการส่อื สารความสามารถในการตัดสินใจเป6นผทู ีม่ ี
จิตวิทยาศาสตร#มีคุณธรรมจริยธรรมค)านยิ มในการใชวิทยาศาสตร#
และเทคโนโลยอี ย)างสรางสรรค#

ตัวชว้ี ดั
ว. 8.1 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5
รวม 5 ตวั ชว้ี ดั

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 93

โครงสรางรายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยมี .4

หนว) ยที่ ชือ่ หน)วยการเรยี นรู มาตรฐานการ สาระการเรียนรู เวลา
1 เรียนรู/ตวั ชว้ี ัด (ชว่ั โมง)

2 ระบบทาง ว 8.1 เทคโนโลยีมอี งคป# ระกอบสาํ คัญ 5 ส)วนซึง่ 5

3 เทคโนโลยี ม.4/1 แตล) ะสว) นมคี วามสัมพนั ธ#เกย่ี วของกนั 5

เรยี กว)าระบบเทคโนโลยปี ระกอบไปดวยตวั 10

ปอB น (input) กระบวนการ (process)

ผลผลติ (outcome) หรอื ผลลัพธ# (output)

ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (resources)

ป@จจยั ทข่ี ัดขวาง (constraints)เทคโนโลยีมี

การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาต้ังแตอ) ดีตจนถึง

ปจ@ จุบันซึ่งมีสาเหตหุ รอื ป@จจัยมาจากหลาย

ดานเชน) ปญ@ หาความตองการความกาวหนา

ของศาสตร#ต)างๆเศรษฐกิจสังคมวฒั นธรรม

สิง่ แวดลอม

กระบวนการเชงิ ว 8.1 กระบวนการออกแบบทางวศิ วกรรมเป6น
วิศวกรรม ม.4/2 กระบวนการคดิ สรางสรรค#เทคโนโลยที ่เี ปน6 ระบบ
ม.4/3 เนนการทาํ ซํ้าเพอ่ื หาทางออกท่ตี อบโจทย#ความ

ม.4/4 ตองการของมนษุ ยป# ระกอบไปดวยตวั ปอB น (input)

ม.4/5 คือการระบปุ ญ@ หาหรือความตองการกระบวนการ

(process) คอื การระดมความคดิ และหาวธิ ี

แกปญ@ หาผลลัพธ# (output) คือได

เทคโนโลยีทส่ี รางสรรค#ออกมาเพ่อื แกป@ญหาและ

ผลสะทอน(feedback) คือการนาผลตอบรบั จาก

การทดสอบมาปรับปรุงแกไขและพัฒนาเพมิ่ เติม

การเลอื กใชวัสดใุ หเหมาะสมกบั งานนั้นจาเป6น

จะตองศึกษาหรอื พจิ ารณาจากสมบตั ขิ องวัสดนุ ั้น

ใหตรงกบั งานท่ไี ดออกแบบเพื่อการประหยดั เวลา

และการลงทุน

ผลงานออกแบบ ว 8.1 การออกแบบเชงิ วิศวกรรมเร่มิ จากการนาป@ญหา

และเทคโนโลยี ม.4/5 หรือความตองการมาเป6นจดุ เร่มิ ตนโดยนาโจทยม# า
จากสถานการณ#จรงิ เนนการเขาใจความเชอื่ มโยง

ของความรสู เ)ู ทคโนโลยดี วยกระบวนการออกแบบ

เชงิ วิศวกรรมโดย

ใชเกณฑ# (criteria) และขอจากดั (constrain) เปน6

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 94

ตวั กาํ หนดเวลาใชกระบวนการคิดถอยหลงั เป6นผัง
เขาสคู) าํ ตอบทางวิทยาศาสตรม# ีคณิตศาสตรเ# ป6น
เครือ่ งมอื เพ่อื ส)งต)อใหกระบวนการสรางสรรค#ทาง
วิศวกรรมเห็นการเชื่อมต)อศาสตรอ# ยา) งชัดเจน

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 95

การวัดประเมนิ ผล

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 96

1. การวดั และประเมินผลกล'ุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรเปน6 การประเมนิ ความรู ความสามารถ ทักษะ
เจตคติ ทักษะการคิด ที่กําหนดอยู)ในตัวช้ีวัดในหลักสูตร ซึ่งจะนําไปส)ูการสรุปผลการเรียนรูของผูเรียน
ตามมาตรฐานการเรียนรู ผูสอนทําการวัดและประเมินผลการเรียนรูผูเรียนเป6นรายวิชาตามตัวช้ีวัดท่ี
กําหนดในหลักสูตรสถานศึกษา โดยทําการวัดและประเมินผลการเรียนรูไปพรอมกับการจัดการเรียนการ
สอน ไดแก) การสังเกตพัฒนาการและความประพฤติของผูเรียน การสังเกตพฤติกรรมการเรียน ร)วม
กิจกรรมและการทดสอบ การประเมินสภาพจริง การประเมินการปฏิบัติงาน และการประเมินจาก
โครงงาน

การวัดและประเมินผลกล)มุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร# มดี งั น้ี
ระดับชนั้ ประถมศึกษา

อัตราส)วนคะแนนรายป€ 70 : 30

ระดบั ชน้ั การแบ)งสัดส)วนการเกบ็ คะแนนภาคเรยี นที่ 1และ2
ระหวา) งเรียน กลางภาค ปลายภาค รวม

ประถมศึกษา 70 15 15 100

การเกบ็ คะแนนในระดับประถมศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 เก็บคะแนนรวม 100 คะแนน
ภาคเรยี นที่ 2 เกบ็ คะแนนรวม 100 คะแนน

เมื่อสิ้นป€การศึกษา นําคะแนนรวม 200 คะแนนหาร 2 เป6น 100 คะแนน ครูประจําวิชา
ประเมินผล และตัดสินผลการเรียน 8 ระดับเพ่ือรายงานผูท่ีเก่ียวของ โดยรายงานระดับผลการเรียน
ดังนี้

คะแนนรอยละ ระดับผลการเรยี น ความหมายของผลการประเมิน
80-100 4 ดีเยี่ยม
75-79 3.5 ดมี าก
70-74 3 ดี
65-69 2.5 ค)อนขางดี
60-64 2 ปานกลาง
55-59 1.5 พอใช
50-54 1
0-49 0 ผา) นเกณฑ#ขน้ั ต่ํา
ตาํ่ กว)าเกณฑ#

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 97


Click to View FlipBook Version