The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่ม ศาสนาอิสลาม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by psorn6658, 2022-01-14 04:10:10

รูปเล่ม ศาสนาอิสลาม

รูปเล่ม ศาสนาอิสลาม

ศาสนาอสิ ลาม

นายรัฐนันท์ แสงทอง 6116209002102

นางสาวศิริวดี แก้วประสพ 6116209002104

นางสาวพมิ พ์พชิ ญา ศรเกษตรินทร์ 6116209002110

นายธิปก ชัยสุวรรณ 6116209002117

นายธนวฒั น์ ชานาญเนตร 6116209002122

นางสาววภิ าดา เจริญกลกจิ 6116209002123

นายวรรณชนะ ประเสริฐ 6116209002138

นายณฐั ชนน ศุภพนั ธ์ 6116209002141

กลุ่มเรียน สฎ.2105.161 รัฐประศาสนศาสตร์

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ า จริยธรรมสาหรับนักบริหาร (BPA0410)
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี



คานา

รายงานฉบบั น้ีเป็ นส่วนหน่ึงของวิชา จริยธรรมสาหรับนกั บริหาร (BPA0410) โดยมีจุดประสงค์
เพื่อการศึกษาความรู้ท่ีไดจ้ ากเร่ืองศาสนาอิสลาม ซ่ึงรายงานน้ีมีเน้ือหาความรู้เกี่ยวกบั ศาสนาอิสลาม ท้งั
ความหมายและความเป็ นมาของศาสนาอิสลาม ประวตั ิศาสดาของศาสนาอิสลาม หลกั คาสอน การเผยแผ่
ศาสนสถาน นิกาย คมั ภีร์ พิธีกรรม ตลอดจนวนั สาคญั ของศาสนาอิสลาม อนั แสดงให้เห็นถึงกฎระเบียบ
และจารีตประเพณี ขอ้ ปฏิบตั ิและขอ้ หา้ มต่างๆที่อยใู่ นรูปของกฎหมายท่ีสาคญั ของศาสนาอิสลาม

ผจู้ ดั ทาไดเ้ ลือก หวั ขอ้ น้ีในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็ นเร่ืองที่น่าสนใจ ในเร่ืองของกฎระเบียบ
และจารีตประเพณี คณะผูจ้ ดั ทาจะตอ้ งขอขอบคุณ อาจารย์อยบั ซาดคั คาน ท่ีให้คาปรึกษา ให้ความรู้ และ
แนวทางการศึกษาและเพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผจู้ ดั ทาหวงั ว่ารายงานฉบบั น้ีจะให้
ความรู้ และเป็นประโยชนแ์ ก่ผอู้ ่านทุก ๆ ท่าน

คณะผจู้ ดั ทา

สารบัญ ข

เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบญั ข
สารบญั (ต่อ) ค
สารบญั ภาพ ง
ความหมายของศาสนาอิสลาม 1
ความเป็ นมาของศาสนาอิสลาม 4
ประวตั ิศาสดาของศาสนาอิสลาม 7
หลกั คาสอนของศาสนาอิสลาม 13
13
- หลกั ศรัทธา 19
- หลกั การปฏิบตั ิ 34
- หลกั คุณธรรมหรือความดี 37
ศาสนวินยั นิติศาสตร์และการพิพากษา 37
- ฐานบญั ญตั ิอิสลาม (รุกนุ ) ของซุนนียฺ 38
- ฐานบญั ญตั ิอิสลาม (รุกนุ ) ของชีอะฮฺ 38
- บทบญั ญตั ิหา้ มในอิสลาม (ฮะรอม) ในซุนนียแ์ ละชีอะฮฺ 41
นกั บวช สาวก ศาสนาอิสลาม 42
การเผยแผข่ องศาสนาอิสลาม 47
ศาสนสถานของศาสนาอิสลาม 48
นิกายของศาสนาอิสลาม

สารบญั (ต่อ) ค

เรื่อง หน้า
คมั ภีร์และตาราของศาสนาอิสลาม 49
พธิ ีกรรมในศาสนาอิสลาม 50
บรรณานุกรม 57

สารบัญภาพ ง

ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 1 สญั ลกั ษณ์ของศาสนาอิสลาม 3
ภาพที่ 2 การอพยพ (ฮิจเราะห์) 9
ภาพที่ 3 พิชิตนครมกั กะห์ 10
ภาพท่ี 4 ศาสนสถาน มสั ยดิ หรือ สุเหร่า 47
ภาพที่ 5 มสั ยดิ กลาง จงั หวดั ปัตตานี 47
ภาพท่ี 6 มสั ยดิ กลาง จงั หวดั สงขลา 47

1

ความหมายของศาสนาอสิ ลาม

อิสลามแตกต่างกบั ความศรัทธาชนิดอื่น เริ่มจากที่ช่ือของศาสนาน้ี คือ “อิสลาม” ไม่ไดม้ าจากช่ือผู้
ก่อต้งั เช่น พุทธศาสนาและคริสตศาสนา หรือมาจากชื่อเผา่ พนั ธ์และเช้ือชาติ เช่น ศาสนายวิ หรือเก่ียวขอ้ ง
กับแผ่นดิน หรือชื่อของดินแดน เช่น ศาสนาฮินดู หนังสือหลายเล่มเรียกอิสลามว่า ศาสนาโมหัมมัด
(Mohamadanism) คงรับมาจากตาราฝรั่ง หรือเรียกคนมุสลิมว่า พวกโมหัมมดั หรือที่บา้ นเราเรียกว่า พวก
แขก นี่เป็นความเขา้ ใจผดิ ความสบั สนพวกน้ีมีอีกหลายเรื่องหลายประเดน็ เป็นเหตุใหล้ ดทอนความหมายท่ี
ถูกตอ้ งอิสลามลงไป และทาใหอ้ ิสลามคลาดเคลื่อนไปจากความเขา้ ใจของบุคคลทวั่ ไป ในอิสลามน้นั ถือวา่
ใครที่ยอมรับอลั ลอฮฺเป็นผสู้ ร้าง เป็นผเู้ ป็นเจา้ สรรพสิ่ง เขากส็ ามารถท่ีจะเป็น “มุสลิม” คนหน่ึงได้ ไม่วา่ คน
น้นั จะมีเช้ือชาติใด เผา่ พนั ธุไ์ หนกต็ าม

ส่วน “อิสลาม” ชื่อที่ใชเ้ รียกศรัทธาน้ีท่ีถูกประทานมาจากอลั ลอฮฺ ผทู้ รงสร้าง ดงั มีปรากฏอยใู่ นอลั -
กรุ อาน คมั ภีร์ท่ีพระองคป์ ระทานมาวา่ “วนั น้ี ฉนั ไดท้ าใหศ้ าสนาของสูเจา้ ครบครันสาหรับสูเจา้ แลว้ และได้
ใหค้ วามโปรดปรานของฉนั ครบถว้ นแก่สูเจา้ และฉนั ไดพ้ งึ ใจ (เลือก) อิสลาม เป็นศาสนาสาหรับสูเจา้ ”

“อิสลาม” มาจากรากศพั ทส์ ามอกั ษร คือ ซีน ลาม มีม หมายถึง

ก) ยอมจานน ยอมรับ ยอมสยบ ให้แก่สิ่งใดส่ิงหน่ึงท่ีเหนือกว่า ดงั น้นั ประโยคที่ว่า อสั ละละ อมั
เราะฮุ อิลา อลั ลอฮฺ จึงหมายถึง เขามอบหมายการงานของเขาไปยงั อลั ลอฮฺ หรือเขายอมรับเจตนารมณ์
ของอลั ลอฮฺโดยดุษฎี คาวา่ อสั สะมะ ตวั เดียวกนั น้ียงั หมายถึง เขามอบหมายตวั เขาไปสู่เจตนารมณ์ของอลั ลอ
ฮฺ หรือเขาเป็นมุสลิม กไ็ ด้

ข) ปรองดองกับส่ิงอื่น หรือสร้างสันติภาพ (โปรดดู Hans Wehr, Dictionary of Modern Arabic
Written Wiesbadane : Harrassowitz ,1971p. 424-425.) ถ้าเข้าใจความหมายทางภาษา ก็สามารถเข้าใจ
ความหมายทางหลกั การไดไ้ ม่ยาก ความหมายอิสลามทางหลกั การน้นั ไดร้ ับจากความเขา้ ใจท่ีมาจากอลั -กุ
รอาน อซั -ซุนนะฮฺ และความเขา้ ใจอยา่ งเอกฉนั ทข์ องศิษยข์ องท่านนบีฯหรือบรรดาเศาะฮาบะฮฺนนั่ เอง นนั่
คืออิสลาม หมายถึงการยอมจานน การอ่อนนอ้ ม และการเชื่อฟัง ดงั น้นั อิสลามคือระบอบท่ียืนหยดั อยบู่ น
หลกั การยอมจานน และเช่ือฟังต่ออลั ลอฮฺ น้ีคือสาเหตุที่มนั ถูกเรียกวา่ ระบอบหรือแนวทางแห่งอิสลาม

และในอีกดา้ นหน่ึง คาวา่ อิสลาม คือ “สนั ติภาพ” หมายถึงผใู้ ดตอ้ งการที่จะรับเอาสนั ติภาพที่แทจ้ ริง
ท้งั ทางภายนอก และทางความรู้สึกได้ ก็มีเพียงแต่โดยวิธีการยอมจานน และเชื่อฟังต่ออลั ลอฮฺเท่าน้นั ตามท่ี
กล่าวน้ีกค็ ือ ชีวิตท่ีเช่ือฟังอลั ลอฮฺจะนามาซ่ึงสนั ติภาพของจิตใจ และจะขยายสนั ติภาพไปสู่ดา้ นอ่ืนๆของชีวิต
ต่อไป

2

เพราะฉะน้นั ทุกสิ่งทุกอยา่ งท่ีดาเนินไปตามเจตนารมณ์ของผเู้ ป็นเจา้ จึงเรียกไดว้ า่ ไดเ้ ขา้ สู่ความเป็ น
อิสลาม หรือเรียกเป็นภาษาอาหรับวา่ “มุสลิม” หมายถึง ผหู้ รือสิ่งท่ียอมจานนต่ออลั ลอฮฺและเป็นผลใหผ้ หู้ รือ
สิ่งน้นั ดาเนินไปบนแนวทางท่ีสนั ติ

กล่าวตามความหมายน้ีกค็ ือ ทุกสรรพสิ่งเป็ นมุสลิม เพราะฉะน้นั การที่มนุษยค์ นใดเลือกเป็ นมุสลิม
ก็คือมนุษยค์ นน้นั ไดเ้ ลือกวิถีทางเดียวกบั ทุกสรรพส่ิงท่ีดาเนินและเคลื่อนไหวไปรอบๆตวั เขาน้นั เอง อลั -กุ
รอานจึงไดเ้ รียกร้องต่อผทู้ ี่ศรัทธาต่ออลั ลอฮฺใหเ้ ขา้ สู่สนั ติภาพน้ีพาตวั เองเขา้ สู่สนั ติภาพท้งั ระบอบ

“โอบ้ รรดาผูศ้ รัทธาจงเขา้ สู่สันติภาพท้งั หมด” คาว่าซิลมฺ ท่ีแปลว่า “สันติภาพ” ในท่ีน้ีหมายถึง
อิสลาม หรือการยอมจานนต่ออลั ลอฮฺในทุกแง่ทุกมุมของชีวติ เราจึงสามารถอธิบายไดเ้ ช่นกนั วา่ อิสลาม คือ
ระบอบและแนวทางการดาเนินชีวติ ท่ีถูกประทานจากผเู้ ป็นเจา้ สู่มุฮมั มดั ผเู้ ป็นศาสดาท่านสุดทา้ ย

อิสลาม คือประมวลในส่ิงที่อลั ลอฮฺประทานมาให้ทุกแง่ทุกมุมของชีวิต ไม่ว่าเป็ นหลกั ศรัทธา
กฎหมาย การเมือง แนวทางเศรษฐกิจ เป็ นตน้ ท้งั หมดน้นั ถูกประทานมาเพื่อให้มนุษยท์ ้งั หมดยอมรับ ยอม
จานน และปฏิบตั ิตามนน่ั เอง

เพราะฉน้ัน อิสลามจึงเป็ นระบอบท่ีเขา้ มาเกี่ยวขอ้ งกบั ชีวิตท้งั หมด อิสลามคือการให้คาตอบต่อ
ปัญหาชีวิตท้งั หมดสามประเด็น น่ันคือ เรามาจากไหน? เรามาทาไม? และเราจะไปไหน? คาตอบท้งั สาม
คาถามน้ีอยใู่ นเน้ือหาคาสอนท้งั หมดของอิสลาม

“อิสลาม” เป็ นคาภาษาอาหรับ (ภาษาอาหรับ: ‫ ) )الإسلام‬แปลว่า การสวามิภกั ด์ิ ซ่ึงหมายถึง การ
สวามิภกั ด์ิอยา่ งบริบูรณ์แด่ อลั ลอฮฺพระผเู้ ป็นเจา้ ดว้ ยการปฏิบตั ิตามคาบญั ชาของพระองค์

“อิสลาม” มีรากศพั ทม์ าจากคาวา่ อสั -สิลมฺ หมายถึง สันติ โดยนยั ว่าการสวามิภกั ด์ิต่อพระผเู้ ป็ นเจา้
จะทาใหม้ นุษยไ์ ดพ้ บกบั สันติภาพท้งั ในโลกน้ีและโลกหนา้ ศาสนาอิสลามเป็นศาสนามนุษยชาติตลอดกาล
ต้งั แต่แรกเร่ิมของการกาเนิดของมนุษยจ์ นถึงปัจจุบนั และอนาคต

จานวนผูน้ ับถืออิสลาม หรือ ศาสนาอิสลาม เป็ นศาสนาสาคญั ศาสนาหน่ึงของโลก เป็ นศาสนา
ประเภทเอกเทวนิยม คือนบั ถือพระเจา้ องคเ์ ดียว มีคนนบั ถือประมาณ 1907 ลา้ นคน นบั วา่ มีจานวนมากที่สุด

3

เป็ นอนั ดบั สองในโลก ในโลกของเราน้ีมีจานวนประเทศกว่า 200 ประเทศ เป็ นประเทศมุสลิมกว่า 67
ประเทศ ในประเทศไทยมีศาสนาอิสลามเขา้ มาต้งั แต่สมยั สุโขทยั ศาสดาของศาสนาอิสลามคือมูฮมั หมดั

สัญลกั ษณ์ของศาสนาอสิ ลาม

ภาพที่ 1 สัญลกั ษณ์ของศาสนาอสิ ลาม
ตามหลกั การศาสนาอิสลาม ไม่ปรากฏสัญลกั ษณ์ประจาศาสนา แต่ในโลกปัจจุบนั ความคุน้ เคยกบั
ดาวและจนั ทร์เส้ียว ทาใหท้ ุกคนเขา้ ใจวา่ ดาวและจนั ทร์เส้ียว คือสญั ลกั ษณ์ของอิสลาม ซ่ึงความเป็นจริงที่มา
ของดาวและจนั ทร์เส้ียว พอสรุปไดด้ งั น้ีคือ
1. ในยคุ รุ่งเรืองของอารยธรรมออโตมาน (ค.ศ. 15-19) ไดค้ ิดคน้ สัญลกั ษณ์ธง เพ่อื ยกธงบอกถึงชยั

ชนะการทาสงคราม โดยเขียนพยญั ชนะอารบิกตวั “นูน” มีรูปโคง้ คลา้ ยจนั ทร์เส้ียว ซ่ึงมีคาเตม็
วา่ “นซั รุน” หมายถึง ชยั ชนะ
2. ยุคถดั มา มีบางกลุ่มเขา้ ใจว่าอกั ษรตวั นูนน้ันคือ เครื่องหมายจนั ทร์เส้ียว จึงมีผูค้ นนิยมนารูป
จนั ทร์เส้ียวมาใช้
3. อดีตถึงปัจจุบนั โลกตะวนั ออกกลาง ไดน้ าสญั ลกั ษณ์จนั ทร์เส้ียวแดงมาใชเ้ ป็นเคร่ืองหมายแทน
เครื่องหมายกาชาด
4. ตามหลกั การอิสลาม อิบาดะห์บางอยา่ งไดถ้ ูกกาหนดดว้ ยการดูจนั ทร์เส้ียวเป็ นจุดเริ่มตน้ เช่น
การถือศีลอด และดวงจนั ทร์ยงั เป็นตวั กาหนดวนั เร่ิมเดือนใหม่ของปฏิทินอิสลาม

ความเป็ นมาของศาสนาอสิ ลาม

4

ศาสนาอิสลามเกิดในดินแดนอาหรับ สมยั น้นั บริเวณน้ียงั มีความลา้ หลงั แหง้ แลง้ โจรผรู้ ้ายชุกชุม มี
ความเช่ืองมงาย ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาประเภท เอกเทวนิยม (เช่ือในพระเจา้ องคเ์ ดียว)

ศาสนทูตในศาสนาอสิ ลาม มี 2 ประเภท

1.นบี คือ ผทู้ ่ีรับเทวโองการใหม้ าปฏิบตั ิเป็ นแบบอยา่ งแก่มวลมนุษณ์

2. เราะซูล คือ ผทู้ ี่อลั ลอฮแ์ ต่งต้งั ใหม้ าสง่ั สอนมนุษยโ์ ดยทวั่ ไป

นบี (อาหรับ: ‫ )نبي‬หมายถึง ศาสดาในศาสนาอิสลาม คาว่า นบี มาจากคาว่า นับบะอะ หรือ
อมั บะอะ แปลว่า แจง้ ข่าว ใชห้ มายถึงการนาวจนะของพระเจา้ มาประกาศแก่มวลมนุษย์ คาว่านบีในศาสนา
อิสลามจึงหมายถึงผเู้ ผยพระวจนะในศาสนายดู าห์และศาสนาคริสต์

เราะซูล (อาหรับ: ‫ )رسول‬แปลตามศพั ทว์ า่ "ผถู้ ูกส่งมาเป็นส่ือ" ในศาสนาอิสลามใชห้ มายถึงมนุษย์
ผูท้ ี่ไดร้ ับมอบหมายจากอลั ลอฮ์พระผูเ้ ป็ นเจา้ ให้ทาหน้าท่ีเผยแพร่ศาสนาของพระองคใ์ ห้แก่หมู่ชน ซ่ึงมี
จานวนหลายร้อยคน อลั กรุ อานไดร้ ะบุนามของเราะซูลในอดีตเพยี ง 25 ท่าน

คมั ภีร์อลั กุรอานไม่ไดร้ ะบุไวช้ ดั เจนว่านบีและเราะซูลเหมือนหรือต่างกนั อย่างไร บางคร้ังมีการ
เรียกเราะซูลว่านบี บางคนจึงสันนิษฐานว่านบีและเราะซูลคือตาแหน่งเดียวกนั แต่นักวิชาการอิสลามบาง
ท่านอธิบายว่านบีกบั เราะซูลต่างกนั ท่ีนบีเป็ นผูท้ ี่รับเทวโองการให้มาปฏิบตั ิหนา้ ที่เฉพาะ แต่เราะซูลคือผู้
ที่อลั ลอฮแ์ ต่งต้งั ใหม้ าสง่ั สอนมนุษยโ์ ดยทว่ั ไป โดยนยั น้ีนบีจดั เป็นเราะซูลประเภทหน่ึง

แต่บางตารากอ็ ธิบายวา่ นบีคือผทู้ ี่ไดร้ ับคาสงั่ สอนจากอลั ลอฮ์ แต่ไม่ไดท้ รงอนุญาตใหน้ าไปเผยแพร่
แต่เราะซูลเป็นผทู้ ่ีรับคาสง่ั สอนแลว้ ทรงใหน้ าไปเผยแพร่ต่อ ผทู้ ่ีเป็นเราะซูลจึงตอ้ งเป็นนบีมาก่อน

บรรดาศาสนทูตในอดีตลว้ นแต่ไดร้ ับมอบหมายใหส้ อนศาสนาอิสลามแก่มนุษยชาติ ศาสนทูตท่าน
สุดทา้ ยคือมุฮมั มดั บุตรของอลั ดุลลอฮฺ บุตรของอบั ดุลมุฏ็อลลิบ จากเผ่ากุเรชแห่งอารเบีย ไดร้ ับมอบหมาย
ใหเ้ ผยแผส่ าส์น ของอลั ลอหฺในช่วงปี ค.ศ. 610 - 632 เฉกเช่นบรรพศาสดาในอดีต โดยมี มะลกั ญิบรีลเป็นส่ือ
ระหว่างอลั ลอฮฺพระผเู้ ป็ นเจา้ และมุฮมั มดั พระโองการแห่งพระผเู้ ป็ นเจา้ ท่ีทะยอยลงมาในเวลา 23 ปี ไดร้ ับ
การรวบรวมข้ึนเป็ นเล่มมีช่ือว่า อลั -กุรอานซ่ึงเป็ นธรรมนูญแห่งชีวิตมนุษย์ เพื่อท่ีจะไดค้ รองตนบนโลกน้ี
อยา่ งถูกตอ้ งก่อนกลบั คืนสู่พระผเู้ ป็นเจา้

สาส์นแห่งอสิ ลามทถ่ี ูกส่งมาให้แก่มนุษย์ท้งั มวลมีจุดประสงค์หลกั 3 ประการ

5

1.เป็นอุดมการณ์ท่ีสอนมนุษยใ์ หศ้ รัทธาในอลั ลอฮฺ พระผเู้ ป็นเจา้ เพียงพระองคเ์ ดียว ท่ีสมควรแก่การ
เคารพบูชาและภกั ดี ศรัทธาในความยตุ ิธรรมของพระองค์ ศรัทธาในพระโองการแห่งพระองค์ ศรัทธาในวนั
ปรโลก วนั ซ่ึงมนุษยฟ์ ้ื นคืนชีพอีกคร้ังเพ่ือรับการพิพากษา และรับผลตอบแทนของความดีความชว่ั ที่ตนได้
ปฏิบตั ิไปในโลกน้ี มน่ั ใจและไวว้ างใจต่อพระองค์ เพราะพระองคค์ ือท่ีพ่ึงพาของทุกสรรพส่ิง มนุษยจ์ ะตอ้ ง
ไม่สิ้นหวงั ในความเมตตาของพระองค์ และพระองคค์ ือปฐมเหตุแห่งคุณงามความดีท้งั ปวง

2.เป็ นธรรมนูญสาหรับมนุษย์ เพ่ือให้เกิดความสงบสุขในชีวิตส่วนตวั และสังคม เป็ นธรรมนูญท่ี
ครอบคลุมทุกดา้ น ไม่วา่ ในดา้ นการปกครอง เศรษฐกิจ หรือนิตอศาสตร์อิสลามสั่งสอนใหม้ นุษยอ์ ยกู่ นั ดว้ ย
ความเป็นมิตร ละเวน้ การรบราฆ่าฟัน การทะเลาะเบาะแวง้ การละเมิดและรุกรานสิทธิของผอู้ ่ืน ไม่ลกั ขโมย
ฉอ้ ฉล หลอกลวง ไม่ผิดประเวณีหรือทาอนาจาร ไม่ด่ืมของมึนเมาหรือรับประทานส่ิงที่เป็นโทษต่อร่างกาย
และจิตใจ ไม่บ่อนทาลายสงั คมแมว้ า่ ในรูปแบบใดกต็ าม

3.เป็ นจริยธรรมอนั สูงส่งเพ่ือการครองตนอย่างมีเกียรติ เน้นความอดกล้นั ความซ่ือสัตย์ ความ
เอ้ือเฟ้ื อเผ่ือแผ่ ความเมตตากรุณา ความกตญั ญูกตเวที ความสะอาดของกายและใจ ความกลา้ หาญ การให้
อภยั ความเท่าเทียมและความเสมอภาคระหว่างมนุษย์ การเคารพสิทธิของผูอ้ ื่น ส่ังสอนให้ละเวน้ ความ
ตระหน่ีถ่ีเหนียว ความอิจฉาริษยา การติฉินนินทา ความเขลาและความขลาดกลวั การทรยศและอกตญั ญู การ
ล่วงละเมิดสิทธิของผอู้ ื่น

อิสลามเป็นศาสนาของพระผเู้ ป็นเจา้ ที่เป็นทางนาในการดารงชีวติ ทุกดา้ น แก่มนุษยท์ ุกคน ไม่ยกเวน้
อายุ เพศเผา่ พนั ธุ์ วรรณะหรือฐานนั ดร

ปัจจุบนั อิสลาม หรือ ศาสนาอิสลาม เป็ นศาสนาสาคญั ศาสนาหน่ึงของโลก มีคนนับถือประมาณ
1,600 ลา้ นคน นับว่ามีจานวนมากท่ีสุดเป็ นอนั ดบั สองในโลก พ้ืนที่รวมของกลุ่มประเทศมุสลิมท้งั หมด
ประมาณ 34,722,286 ตารางกิโลเมตร ต้งั แต่ลองจุจุด141 องศาตะวนั ออก ทางด้านตะวนั ออกของเขต
พรมแดนประเทศอินโดนิเซียทอดยาวไปจนถึงลองจิจูด 17.29 องศาตะวนั ตก ณ กรุงดาการ์ ประเทศเซเนกลั
(Senegal) ซ่ึงอยใู่ นภาคตะวนั ตกของทวีปแอฟริกาจนถึงละติจุด 55.26 องศาเหนือ บริเวณเส้นเขตแดนตอน
เหนือของประเทศคาซัตสถาน ทอดยาวเรื่อยไปจนถึงเส้นเขตแดนทางตอนใตข้ อง ประเทศแทนซาเนียท่ี
ละติจูด 11.44 องศาใต้

ในโลกของเราน้ีมีจานวนประเทศกว่า 200 ประเทศ เป็นประเทศมุสลิมกวา่ 67 ประเทศ ในประเทศ
ไทยมีศาสนาอิสลามเขา้ มาต้งั แต่สมยั สุโขทยั ศาสดาของศาสนาอิสลามคือมุฮมั มดั

6

ศาสนาอิสลาม คือ ความศรัทธา ขอ้ บญั ญตั ิเก่ียวกบั การปฏิบตั ิและจริยธรรม ซ่ึงบรรดาศาสดา
ที่อลั ลอฮฺไดป้ ระทานลงมาเป็ นผนู้ า เพ่ือมาสั่งสอนและแนะนาแก่มวลมนุษยชาติ สิ่งท้งั หมดเหล่าน้ีเรียกว่า
ดีน หรือ ศาสนา นนั่ เอง ผูท้ ่ีมีความศรัทธาจะตระหนกั อยเู่ สมอว่า ชีวิตของเขาไดพ้ นั ธนาการเขา้ กบั อานาจ
สูงสุดของพระผทู้ รงสร้างโลก ในทุกสถานภาพของเขาจะราลึกถึงพระผเู้ ป็นเจา้ และมอบหมายตนเองใหอ้ ยู่
ภายใตก้ ารคุม้ ครองของพระองคต์ ลอดเวลา เขาเป็นผมู้ ีจิตใจมนั่ คงและมีสมาธิเสมอ

7

ประวตั ิศาสดาของศาสนาอสิ ลาม

ราวปี ค.ศ. 570 เด็กนอ้ ยท่ีไดร้ ับการต้งั ช่ือว่า “มูฮมั หมดั ” ผทู้ ่ีจะมาเป็นศาสดาของหน่ึงในศาสนาที่
สาคญั ของโลก ไดถ้ ือกาเนิดมาในครอบครัวที่มาจากเผา่ “กุเรช” เผา่ ท่ีปกครองเมือง “เมกกะห์” ในดินแดน
“ฮิยาซ” ทางตะวนั ตกเฉียงเหนือของอารเบีย ดินแดนแห่งน้ีเป็นท่ีต้งั ด้งั เดิมของ “กะบะห์” ศาสนสถานที่มีมา
แต่โบราณ และท่ามกลางความเส่ือมถอยของอารเบียตอนใต้ เมืองเมกกะห์ก็ไดก้ ลายเป็ นศูนยก์ ลางการคา้ ท่ี
สาคญั ในศตวรรษท่ี 6 ซ่ึงมีอิทธิพลเสมือนเช่นจกั รวรรดิแซสซานิด ไบเซนไทน์ และเอธิโอเปี ย อนั ทาให้
เมืองถูกปกครองภายใตอ้ านาจของวงศาพอ่ คา้ วาณิช ซ่ึงในหมู่วงศาดงั กล่าวน้นั ผคู้ นจากเผา่ “กุเรช” โดดเด่น
ที่สุด

บิดาของมูฮมั หมดั ชื่อ “อบั ดุลเลาะห์” บุตรของ “อบั ดุลมุตตอลิบ” เขาเสียชีวิตก่อนที่มูฮมั หมดั จะถือ
กาเนิด ส่วนมารดาชื่อ “อามีนะห์” นางเสียชีวิตตอนที่เขาอายุเพียง 6 ขวบ เด็กนอ้ ยผกู้ าพร้าถูกนากลบั ไปสู่
การดูแลของ “อบั ดุลมุตตอลิบ” ผเู้ ป็นป่ ูและเป็นหวั หนา้ ตระกลู “บานีฮาชิม” ซ่ึงหลงั ป่ ูเสียชีวติ มูฮมั หมดั ก็ถูก
เล้ียงดูโดยลุงที่ชื่อ “อาบูตอลิบ” และดง่ั เช่นธรรมเนียมปฏิบตั ิ เด็กนอ้ ยมูฮมั หมดั ถูกส่งไปใชช้ ีวิต 2 ปี อยกู่ บั
ครอบครัวชาวเบดูอิน ขนบประเพณีน้ียงั คงถูกเจริญรอยตามแมก้ ระทง่ั ในระยะหลงั เมื่อไม่นานมาน้ี โดย
ครอบครัวช้นั สูงจากเมืองเมกกะห์ มาดีนะห์ ตออีฟ และเมืองอ่ืนๆ ในดินแดนฮิยาซ นยั สาคญั ของการไปอยู่
กับชนเผ่าเบดูอินของมูฮัมหมัดน้ันนอกจากซึมซับความอดทนในการใช้ชีวิตท่ียากลาบากท่ามกลาง
ทะเลทราย เขายงั ไดร้ ับรสนิยมทางภาษาอนั รุ่มรวยของชาวเบดูอิน ซ่ึงทาให้เขาไดร้ ับการชื่นชมจากชาว
อาหรับที่ภูมิใจกบั ศิลปะทางภาษาของพวกเขา และเช่นเดียวกบั ท่ีเขาไดเ้ รียนรู้การอดทนและการข่มใจของ
คนเล้ียงสัตวท์ ี่มีชีวิตอยู่ในความสันโดษท่ีเขาไดม้ ีประสบการณ์ร่วมเป็ นคร้ังแรกในชีวิต อนั นามาซ่ึงความ
เขา้ ใจและเคารพนบั ถือ

ราวปี ค.ศ. 590 มูฮมั หมดั ในวยั 20 ปี ไดเ้ ขา้ ทางานให้กบั วาณิชหญิงหมา้ ยที่ช่ือ “คอดียะห์” เขามี
ส่วนร่วมอยา่ งแขง็ ขนั กบั กองคาราวานท่ีไปคา้ ขายทางทิศเหนือ ต่อมาภายหลงั เขาไดแ้ ต่งงานกบั นาง และมี
ลูกกบั นาง เป็นบุตร 2 คน (ซ่ึงต่อมาเสียชีวติ ) กบั ธิดา 4 คน ในวยั 40 ปี มูฮมั หมดั เร่ิมปลีกตวั ไปทาสมาธิตรึก
ตรองในถ้าบนภูเขา “ฮิรอห์” ซ่ึงอยนู่ อกเมืองเมกกะห์ อนั เป็ นสถานท่ีแรกซ่ึงเกิดเหตุการณ์สาคญั ในอิสลาม
โดยวนั หน่ึงขณะที่มูฮมั หมดั นงั่ อยใู่ นถ้า เขากไ็ ดย้ นิ เสียงซ่ึงถูกระบุภายหลงั วา่ คือเสียงของยบิ รออีล (ทูตกาเบ
รียล) ที่ส่ังเขาว่า : “จงอ่านในพระนามแห่งพระเจา้ ของเจา้ ผซู้ ่ึงทรงสร้าง ทรงสร้างมนุษยจ์ ากกอ้ นเลือด” (กุ
รอาน 96 : 1-2)

8

สามคร้ังที่มูฮมั หมดั กล่าวว่าเขาไร้ความสามารถท่ีจะทาเช่นน้นั แต่ทุกคร้ังก็มีคาส่ังซ้า สุดทา้ ยมูฮมั
หมดั ก็ไดท้ ่องคาพูดที่บดั น้ีก็คือ 5 โองการแรกของบทท่ี 96 แห่งคมั ภีร์อลั กุรอาน อนั เป็ นคาประกาศว่าพระ
เจา้ เป็นผสู้ ร้างมนุษยแ์ ละเป็นแหล่งความรู้ท้งั หมด

“จงอ่านในพระนามแห่งพระเจา้ ของเจา้ ผซู้ ่ึงทรงสร้าง

“ทรงสร้างมนุษยจ์ ากกอ้ นเลือด”

“จงอ่านเถิด และพระเจา้ ของเจา้ น้นั ทรงเกียรติยง่ิ ”

“ผทู้ รงสอนดว้ ยปากกา”

“ผทู้ รงสอนมนุษยใ์ นส่ิงที่เขาไม่รู้” (กรุ อาน 96 : 1-5)

ในตอนแรกมูฮัมหมดั เปิ ดเผยประสบการณ์ของเขาเฉพาะแก่ภรรยาและผูใ้ กลช้ ิด แต่ต่อมาก็มี
โองการเพิ่มเติมส่ังใหเ้ ขาประกาศความเป็นเอกะของพระเจา้ ต่อทุกคน ผเู้ จริญรอยตามเขาในตอนเริ่มแรกมา
จากคนจนและทาส แต่เวลาต่อมาก็มีมาจากผูท้ ่ีมีช่ือเสียงของนครเมกกะห์ดว้ ย โองการท่ีเขาไดร้ ับในช่วงน้ี
รวมถึงในภายหลงั ถูกรวบรวมท้งั หมดไวใ้ น “กุรอาน” คมั ภีร์แห่งศาสนาอิสลามแต่ก็ไม่ใช่ว่าทุกคนจะ
ยอมรับสาส์นแห่งพระเจา้ ที่ถูกถ่ายทอดผ่านมูฮมั หมดั แมก้ ระทง่ั คนในตระกูลของเขาเองก็มีผูท้ ี่ปฏิเสธคา
สอนของเขา และพ่อคา้ วาณิชมากมายที่ได้ต่อตา้ นสาส์นน้ีอย่างแข็งขนั กระน้ัน การถูกต่อตา้ นมิได้ยงั
ประโยชน์ใด ทวา่ ยง่ิ ทาใหม้ ูฮมั หมดั มุ่งมน่ั ในการทาหนา้ ท่ีตามไดร้ ับมอบหมายและเผยแผว่ า่ อิสลามแตกต่าง
จากลทั ธินอกศาสนา (paganism) อยา่ งไร ความเชื่อใน “เอกะ” ของพระเจา้ เป็นส่ิงสาคญั ยงิ่ ในศาสนาอิสลาม
จากจุดน้ีทุกอยา่ งนอกจากพระเจา้ ลว้ นเป็นสิ่งใหม่และมาทีหลงั พระองค์ กรุ อานหลายโองการเนน้ ย้าถึงความ
เอกะของพระเจา้ เตือนบรรดาผปู้ ฏิเสธเก่ียวการถูกลงโทษ และประกาศถึงความเมตตาของพระองคท์ ่ีมีอยา่ ง
ไร้ขีดจากดั ให้กบั ผทู้ ่ียอมจานนต่อพระองค์ ย้าเตือนถึงวนั พิพากษาคร้ังสุดทา้ ย (วนั ฟ้ื นคืนชีพ) เม่ือพระเจา้
ทรงเป็นผพู้ ิพากษาตดั สินตามความศรัทธาและผลงานของแต่ละคน ผซู้ ่ือสตั ยจ์ ะไดร้ ับรางวลั และผลู้ ะเมิดจะ
ไดก้ ารลงโทษ เพราะกุรอานปฏิเสธการต้งั ภาคีและเนน้ ย้าถึงความรับผดิ ชอบทางศีลธรรมของมนุษย์ ซ่ึงใน
ภาพที่มีประสิทธิภาพการจะนาเสนอเร่ืองโลกหลงั ความตายเป็ นสิ่งทา้ ทายต่อบรรดาชาวเมกกะห์ที่ยึดอยู่
กบั โลกียวิสยั

หลงั จากศาสดามูฮมั หมดั ไดเ้ ผยแพร่อิสลามอย่างเปิ ดเผยนานกว่าหน่ึงทศวรรษ การต่อตา้ นได้
เพมิ่ ข้ึนสูง จนมูฮมั หมดั หวน่ั เกรงวา่ จะเกิดความไม่ปลอดภยั จึงไดส้ ่งสาวกของตนไปยงั ประเทศเอธิโอเปี ย ท่ี
นน่ั ผปู้ กครองชาวคริสเตียนไดก้ างแขนคุม้ ครองพวกเขา อนั เป็ นความทรงจาซาบซ้ึงที่มุสลิมไม่เคยลืมเลือน
แต่ในนครมกั กะห์น้นั สถานการณ์การตามรังควาญย่ิงหนกั ขอ้ ผูต้ ิดตามศาสดามูฮมั หมดั ถูกคุกคาม เหยียด

9

หยาม และกระทง่ั ถูกทรมาน ในที่สุดผตู้ ิดตามศาสดามูฮมั หมดั 70 คนก็ไดเ้ ดินทางอพยพออกจากไปยงั “ยษั
ริบ” (Yathrib) เมืองทางตอนเหนือ ดว้ ยความหวงั ท่ีจะสร้างเวทีใหม่ของขบวนการเผยแพร่อิสลาม เมืองแห่ง
น้ีต่อมามีชื่อวา่ “มะดีนะห์” (Medina) ต่อมาในช่วงตน้ ฤดูใบไมร้ ่วงปี ค.ศ. 622 มูฮมั หมดั กบั สหายสนิท “อาบู
บกั ร์ อลั ซิดดีก” ก็ไดเ้ ดินทางไปสมทบกบั ผอู้ พยพ เหตุการณ์น้ีไล่เลี่ยกบั ที่ผนู้ าในมกั กะห์วางแผนจะสังหาร
ท่าน

ภาพท่ี 2 การอพยพ (ฮิจเราะห์)
ในมกั กะห์น้นั เม่ือผวู้ างแผนสงั หารไดม้ าถึงบา้ นของมูฮมั หมดั ก็พบเพียง “อาลี” ลูกพี่ลูกนอ้ งของมู
ฮมั หมดั ท่ีนอนอยบู่ นเตียงแทน ดว้ ยความโกรธ ชาวมกั กะห์จึงไดต้ ้งั ค่าหัวมูฮมั หมดั แก่ผูท้ ่ีสามารถแกะรอย
ได้ อยา่ งไรก็ตามมูฮมั หมดั และอาบูบกั ร์ไดห้ ลบซ่อนในถ้าซ่ึงทาให้พวกเขาพน้ จากผไู้ ล่ล่า โดยการปกป้อง
ของพระเจา้ ชาวมกั กะห์ผา่ นถ้าไปโดยไม่สังเกตเห็นพวกเขา มูฮมั หมดั และอาบูบกั ร์เดินทางต่อไปยงั มะดี
นะห์ ท่ีนนั่ พวกเขาไดร้ ับการตอ้ นรับดว้ ยความยนิ ดีจากกลุ่มชาวเมืองมะดีนะห์ และบรรดาชาวมกั กะห์ ท่ีได้
เดินทางมาก่อนหนา้ นี่ถือเป็นการอพยพ หรือในภาษาอาหรับเรียกว่า ฮิจเราะห์ (Hijrah) ซ่ึงเป็นจุดเร่ิมตน้ ยคุ
ของอิสลาม รวมท้งั วิถีชีวิตใหม่ของศาสดามูฮมั หมดั และชาวมุสลิม ต่อจากน้ีหลกั การของสังคมไม่ไดเ้ ป็ น
เพียงความสัมพนั ธ์ทางสายเลือด แต่หมายถึงความเป็นพี่นอ้ งกนั ของมุสลิมทุกคน ผทู้ ี่เดินทางมาพร้อมกบั มู
ฮมั หมดั ในการอพยพน้ีเรียกวา่ “มุฮาญิรูน” (Muhajiroon) แปลว่าผอู้ พยพ -ขณะท่ีพวกที่อยใู่ นเมืองมาดีนะห์
ซ่ึงเป็ นชาวมุสลิมเรียกว่าอนั ซอร (Ansar) หรือ ผชู้ ่วยเหลือ (Helpers) มูฮมั หมดั น้นั คุน้ เคยดีต่อสถานการณ์
ในมะดีนะห์ เพราะก่อนที่จะถึงวนั อพยพ ชาวเมืองแห่งน้ีมากมายไดเ้ ดินทางมายงั เมืองมกั กะห์เพ่ือแสวงบุญ
เป็นประจาทุกปี และในฐานะศาสดาเขาไดใ้ ชโ้ อกาสน้ีในการเรียกร้องผแู้ สวงบุญสู่ศาสนาอิสลาม กลุ่มผซู้ ่ึง
มาจากมะดีนะห์ไดต้ อบรับเสียงเรียกของเขาและยอมรับอิสลาม พวกเขายงั ไดเ้ ชิญมูฮมั หมดั ใหพ้ านกั ในมะดี
นะห์ หลงั จากอพยพ คุณลกั ษณะพิเศษของมูฮมั หมดั ไดท้ าใหช้ าวมาดีนะห์ประทบั ใจ อนั ทาใหช้ นเผา่ ต่างท่ี
เป็นศตั รูและพนั ธมิตรของเขาตอ้ งยตุ ิศึกชวั่ คราว และแต่วนั ที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 624 มูฮมั หมดั และผสู้ นบั สนุน
ของเขากต็ อ้ งรับมือการคุกคามของชาวมกั กะห์

10

สงครามคร้ังแรกเกิดข้ึนใกลก้ บั สถานที่ซ่ึงช่ือว่า “บะดรั ” (Badr) ซ่ึงเป็ นเมืองเล็กๆ ทางตะวนั ตก
เฉียงใตข้ องเมืองมะดีนะห์ ซ่ึงส่งผลสาคญั หลายประการ ในตอนแรกกาลงั มุสลิมมีจานวนนอ้ ยกว่า 3 เท่าเม่ือ
เทียบกบั ชาวมกั กะห์ ประการที่สองดว้ ยระเบียบวินยั ของชาวมุสลิม และบางทีอาจจะเพราะเป็ นคร้ังแรก
มุสลิมสามารถขบั ไล่ศตั รูไปได้ ประการท่ีสาม ชนเผ่าหน่ึงจากพนั ธมิตรท่ีสัญญาว่าจะสนบั สนุนมุสลิมใน
สงครามบะดรั แต่ไดพ้ ิสูจน์แลว้ วา่ พวกเขาเมินเฉยเมื่อสงครามเริ่มตน้ ข้ึน ชนเผา่ น้ีถูกขบั ไล่ออกจากมะดีนะห์
หน่ึงเดือนต่อมาหลงั สงครามบะดรั ดงั น้นั บรรดาผูท้ ี่อา้ งตวั ว่าเป็ นพนั ธมิตรของชาวมุสลิม แต่ไดเ้ ปลี่ยนมา
ต่อตา้ น ดว้ ยเหตุน้ีจึงถูกบงั คบั ใหจ้ ่ายภาษี

อีกหน่ึงปี ต่อมา ชาวมกั กะห์ก็กลบั มาโจมตีอีกคร้ัง ประกอบดว้ ยกองทพั 3,000 คน พวกเขาไดต้ ่อสู้
กบั ชาวมุสลิมที่อูฮุด (Uhud) ซ่ึงเป็นสันเขานอกเมืองมาดีนะห์ ชาวมกั กะห์มีชยั ชนะในตอนเริ่มตน้ แต่ที่สุดก็
ถูกชาวมุสลิมขบั ไล่ล่าถอยไปและศาสดาเองกไ็ ดร้ ับบาดเจบ็ ขณะท่ีชาวมุสลิมยงั ไม่แขง็ แกร่ง ชาวมกั กะห์กบั
กองทพั หมื่นคนกก็ ลบั มาโจมตีอีกคร้ังในอีกสองปี ต่อมา แต่มีผลแตกต่างกนั มาก ในสนามรบที่รู้จกั กนั ในช่ือ
สงครามสนามเพลาะ หรือ “สงครามคอนดกั ” ชาวมุสลิมไดร้ ับชยั ชนะดว้ ยการป้องกนั รูปแบบใหม่ โดย
ดา้ นขา้ งของมะดีนะห์ซ่ึงคาดว่าจะถูกโจมตี พวกเขาไดข้ ดุ คูลึกเพ่ือป้องกนั ทหารมา้ ของชาวมกั กะห์ และให้
พลธนูซุ่มที่หลงั กาแพงเพชรเมือง หลงั จากการปิ ดลอ้ มลม้ เหลว ชาวมกั กะห์ถูกบงั คบั ให้ถอยทัพกลบั
หลงั จากน้นั เป็นตน้ มาเมืองมาดีนะห์ก็อยใู่ นมือของชาวมุสลิม รัฐธรรมนูญแห่งมาดีนะห์ – ภายใตก้ ลุ่มชนท่ี
ยอมรับมูฮมั หมดั เป็นศาสนทูตแห่งพระเจา้ ไดม้ ีการก่อต้งั ระบอบการปกครองข้ึนมาในช่วงสมยั น้ี ซ่ึงแสดง
ใหเ้ ห็นวา่ จิตสานึกทางการเมืองของชุมชนมุสลิมไดถ้ ึงจุดสาคญั : สมาชิกของชุมชนไดก้ าหนดตนเองใหเ้ ป็น
สงั คมท่ีแยกออกมาจากสงั คมอ่ืนๆ ท้งั หมด รวมท้งั รัฐธรรมนูญยงั กาหนดบทบาทของผทู้ ่ีไม่ไดน้ บั ถือศาสนา
อิสลามในชุมชน ตวั อยา่ งเช่นชาวยวิ ที่เป็นส่วนหน่ึงของชุมชน

ภาพที่ 3 พชิ ิตนครมกั กะห์
พวกเขาคือ “dhimmis” (ซิมมี) หมายความว่ามีสถานะเป็ นบุคคลผไู้ ดร้ ับการคุม้ ครองจากรัฐมุสลิม
ตราบเท่าท่ีพวกเขาปฏิบตั ิสอดคลอ้ งตามกฎหมาย

11

โครงสร้างน้ีเป็นหน่ึงในแบบฉบบั สาหรับการปฏิบตั ิต่อประชาชนในการพิชิตคร้ังอื่นๆ ในเวลาต่อมา ชาวค
ริสเตียนและชาวยวิ เม่ือไดจ้ ่ายภาษีพอเป็ นพิธี ก็จะไดร้ ับเสรีภาพทางศาสนา และในขณะเดียวกบั ท่ียงั รักษา
สถานะของพวกเขาไวใ้ นฐานะผไู้ ม่ใช่มุสลิม เป็ นสมาชิกภาคีของรัฐมุสลิม สถานะน้ีไม่ไดน้ ามาใชก้ บั กลุ่ม
มุชรีกีน (พหุเทวนิยม, ลทั ธินอกศาสนา -polytheists) ที่ไม่สามารถยอมรับไดใ้ ห้อยู่ร่วมกบั ชุมชนที่นับถือ
พระเจา้ องคเ์ ดียว (เอกเทวนิยม – One God)

อิบนิ อิสฮกั นกั ประวตั ิศาสตร์คนแรกๆ ท่ีเขียนเก่ียวกบั อตั ชีวประวตั ิของศาสดากล่าวว่า ช่วงเวลา
น้ีมูฮมั หมดั ไดส้ ่งจดหมายถึงผูป้ กครองอาณาจกั รต่างๆ – กษตั ริยแ์ ห่งเปอร์เซีย, จกั รพรรดิไบแซนไทน์,
กษตั ริยแ์ ห่งอะบิซซีเนีย (เอธิโอเปี ย) และเจา้ ผูค้ รองอียิปต์ รวมท้งั คนอ่ืนๆ – เชิญชวนให้พวกเขาเขา้ รับ
ศาสนาอิสลาม ไม่มีอะไรท่ีอธิบายให้เห็นภาพความเช่ือมนั่ ของชุมชนเล็กๆ แห่งน้ีได้ โดยเฉพาะในแง่ของ
อานาจทางการทหาร แมจ้ ะมีการรบในสงครามสนามเพลาะ (the battle of the Trench) แต่กย็ งั ไม่นบั เป็นการ
รบที่สาคญั นกั แต่ความมน่ั ใจน้ีของพวกเขากไ็ ม่ไดผ้ ดิ ที่ผดิ ทาง มูฮมั หมดั สร้างกลุ่มพนั ธมิตรจากชนเผา่ ต่างๆ
ข้ึนมาอยา่ งมีประสิทธิภาพ ในปี ค.ศ. 628 เขาและสาวก 1,500 คน กส็ ามารถเรียกร้องขอสิทธิการเขา้ ไปแสวง
บุญยงั อาคารกะบะห์ (Kaaba) ได้ นี่เป็นกา้ วสาคญั ในประวตั ิศาสตร์ของชาวมุสลิม

เพยี งแค่ไม่นานก่อนหนา้ น้ี มูฮมั หมดั ตอ้ งออกจากบา้ นเกิดเมืองนอนเพ่ือสร้างรัฐอิสลามในเมืองมาดิ
นะห์ แต่ตอนน้ีเขากาลงั ไดร้ ับการปฏิบตั ิในฐานะผนู้ าผทู้ รงสิทธิโดยอดีตศตั รูของตน อีกหน่ึงปี ถดั มาใน ค.ศ.
629 เขากลบั เขา้ มาใหม่และพิชิตนครเมกกะห์โดยไม่มีการนองเลือด เขาไดท้ าลายรูปเคารพในอาคารกะบะห์
และยุติขนบประเพณีของลทั ธิพหุเทวนิยมไปตลอดกาล ในเวลาเดียวกนั น้ัน อมั ร์ บินอาศ (ซ่ึงต่อมาเป็ นผู้
พิชิตของอียปิ ต)์ และ คอลิด อิบนิ วาลีด (ซ่ึงต่อมาไดฉ้ ายา ดาบแห่งพระเจา้ ) ก็ไดย้ อมรับอิสลามและสาบาน
ว่าจะมีความจงรักภกั ดีต่อมูฮมั หมดั การเขา้ รับอิสลามของพวกเขาเป็นส่ิงสาคญั อยา่ งยงิ่ เพราะคนเหล่าน้ีเป็น
หน่ึงในกลุ่มต่อตา้ นที่สร้างความขมข่ืนแก่มูฮมั มดั เมื่อไม่นานมาน้ี ในอีกแง่หน่ึง การกลบั สู่นครมกั กะห์
ของมูฮมั หมดั นับเป็ นจุดสูงสุดในภารกิจของเขา ในปี ค.ศ. 632 สามปี ต่อมาเขาป่ วยหนักและในวนั ที่ 8
มิถุนายนของปี น้นั ศาสนทูตแห่งพระเจา้ กไ็ ดเ้ สียชีวิตในตอนเที่ยงวนั

การเสียชีวิตของมูฮมั หมดั นบั เป็นความสูญเสียคร้ังยง่ิ ใหญ่ สาหรับสาวกของเขา ชายผสู้ มถะจากมกั
กะห์คนน้ีเป็ นยิ่งกว่าสหายสนิท เป็ นยิ่งกว่าผูป้ กครองท่ีมีความหลกั แหลม เป็ นย่ิงกว่าผูน้ าผูซ้ ่ึงไดส้ ร้างรัฐ
ใหม่ข้ึนมาจากกลุ่มชนเผ่าท่ีต่อสู้กนั มูฮมั หมดั เป็ นแบบอย่างของคาสอนท่ีเขานามาจากพระเจา้ : คาสอน
ของอลั กุรอาน ซ่ึงเป็ นเวลาหลายศตวรรษ ท่ีไดน้ าทางความคิดและการกระทา ความเช่ือและการปฏิบัติ
สาหรับชายและหญิงนบั ไม่ถว้ น อนั นามาซ่ึงที่ยคุ โดดเด่นในประวตั ิศาสตร์ของมนุษยชาติ

12

กระน้นั ก็ตาม การเสียชีวิตของเขามีผลเลก็ นอ้ ยต่อสังคมพลวตั ท่ีเขาสร้างข้ึนในอาระเบีย และไม่มี
ผลใดๆ กบั ภารกิจหลกั ของเขา คือการส่งกระจายคาสอนของอลั กรุ อานไปทวั่ โลก

13

หลกั คาสอนของศาสนาอสิ ลาม

หลกั คาสอนของอิสลาม แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ๆ ได้ 2 ส่วน

1.หลกั การอนั เป็ นขอ้ บงั คบั สาหรับบุคคล (ฟัรดูอยั นีย)์ ได้แก่ หลกั การพ้ืนฐานอนั จาเป็ น
สาหรับมุสลิมทุกคนจะตอ้ งรู้ ตอ้ งประพฤติ เริ่มต้งั แต่อายุ 3 ขวบเป็นตน้ ไป แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดงั น้ี

1.หลกั ศรัทธา หรือ ความเชื่อในศาสนา เรียกวา่ อีมาน

2.หลกั ปฏิบตั ิ หรือ หนา้ ท่ีในศาสนา เรียกวา่ อิบาดะห์

3.หลกั คุณธรรม หรือ หลกั ความดี เรียกวา่ อิห์ซาน

หลกั การท้งั 3 ส่วนน้ี ผนู้ บั ถือศาสนาอิสลามท้งั ที่สืบทอดจากบิดามารดามาแต่เดิม หรือเพ่ิง
เขา้ รับใหม่กต็ าม จะตอ้ งศึกษาใหเ้ ขา้ ใจโดยถ่องแทแ้ ละสามารถประพฤติปฏิบตั ิอยา่ งต่อเนื่องตลอดไป

2 หลกั การอนั เป็ นขอ้ บงั คบั สาหรับสังคม(ฟัรดูกิฟายะฮ์) ไดแ้ ก่ หน้าท่ีต่างๆ ทางสังคม ซ่ึง
นบั ต้งั แต่สงั คมหน่วยเลก็ สุด คือ ครอบครัวจนถึงสงั คมท่ีใหญท่ีสุดคอื ประเทศชาติ

บุคคลจะตอ้ งรับผิดชอบสังคมดา้ นต่างๆ มากมาย ซ่ึงอิสลามไดม้ ีบญั ญตั ิให้ทุกคนไดแ้ สดง
ความรับผิดชอบน้ันอย่างสม่าเสมอในทุกๆ ด้าน ทุกคนต้องเสียสละเพ่ือครอบครัว เพ่ือสังคม เพื่อ
ประเทศชาติ และเพ่อื ศาสนา สาหรับมุสลิมแห่งสยามกค็ ือ ตอ้ งเสียสละเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ อนั
เป็นสถาบนั หลกั ของชาติไทยเรา

โดยหลกั การน้ี ศาสนาอิสลามจึงมิไดว้ างบทบญั ญตั ิแต่เฉพาะในดา้ นการปฏิบตั ิศาสนาอยา่ ง
เดียว แต่ไดว้ างบทบญั ญตั ิและขอ้ กาหนดต่างๆ ท่ีเก่ียวกบั ประเทศชาติเอาไวด้ ว้ ย ในอิสลามจึงมีบทบญั ญตั ิ
เก่ียวกบั การเกบ็ ภาษี การจดั กองทพั การบริหารประเทศ การทูต เป็นอาทิ เป็นอีกส่วนหน่ึงแห่งคาสอน

1. หลกั ศรัทธา หรือ ความเชื่อในศาสนา (อมี าน)

คือหลกั คาสอนท่ีมุสลิมทุกคนจะตอ้ งเช่ือว่าเป็ นความจริงแทแ้ ละตอ้ งยึดถืออยา่ งมน่ั คง แม้
จะไม่สามารถพิสูจนไ์ ดด้ ว้ ยสมั ผสั ท้งั 5 กต็ าม ซ่ึงหลกั ศรัทธามี 6 ประการ คือ

1) ศรัทธาในพระผเู้ ป็ นเจา้ หมายถึง ตอ้ งเช่ือมนั่ และศรัทธาในพระเจา้ ซ่ึงเรียกว่า “อลั ลอฮ์
พระองคท์ รงเป็นพระเจา้ และมีอยจู่ ริง มุสลิมทุกคนตอ้ งศรัทธาในอลั ลอฮ์ ว่าเป็นพระเจา้ องคเ์ ดียว” และเป็น
ผทู้ รงคุณลกั ษณะดงั น้ี คือ ทรงมีอยา่ งแน่นอน ไม่มีขอ้ สงสัย ทรงมีมาก่อนสรรพส่ิงท้งั ปวง ทรงเป็ นผสู้ ร้าง
ทุกส่ิงทุกอย่างในเอกภพ ทรงดารงอยู่ไดโ้ ดยพระองคเ์ อง ไม่มีใครสร้างพระองค์ ทรงเป็ นผูม้ ีอยตู่ ลอดกาล

14

ไม่มีจุดเร่ิมตน้ และไม่มีจุดจบทรงเอกานุภาพ ไม่มีส่ิงใดเป็นภาคี ทรงสรรพเดช ทรงเป็นสพั พญั ญู ทรงความ
ยตุ ิธรรม ทรงพระเมตตา ทรงเป็นผพู้ ิพากษาในการตดั สินชีวิตมนุษยใ์ นวนั สุดทา้ ยท่ีเรียกวา่ วนั พพิ ากษา

ศรัทธาที่แทจ้ ริงของมุสลิมต่ออลั ลอฮน์ ้นั หมายถึงการถวายท้งั กายและใจใหแ้ ก่พระองค์ การ
ปฏิบตั ิผิดไปจากน้ี เช่น การยอมรับนบั ถือพระเจา้ องคอ์ ่ืนดว้ ย หรือการนบั ถือส่ิงอ่ืนใดเทียบเท่าพระองคถ์ ือ
ว่าเป็ นบาปมหนั ตท์ ่ีมิอาจยกโทษใหไ้ ด้ มุสลิมท่ีศรัทธาต่ออลั ลอฮอ์ ยา่ งแทจ้ ริงจะทาใหเ้ ขาละเวน้ จากการทา
ชว่ั ทาแต่ความดี มีพลงั ใจที่จะเผชิญกบั เหตุการณ์ต่างๆ ไม่วา่ จะดีหรือร้าย การศรัทธาต่ออลั ลอฮจ์ ึงเป็นหวั ใจ
ของการเป็ นมุสลิม

2) ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ มลาอิกะห์น้ันเป็ นเทพบริวารหรือเทวทูตของพระเจา้ มีจานวน
มากมายสุดจะประมาณได้ ทาหนา้ ที่สนองพระบญั ชาอลั ลอฮแ์ ตกต่างกนั คุณลกั ษณะของมลาอิกะห์มีดงั น้ี

– เป็นสิ่งที่อลั เลาะฮท์ รงสร้างข้ึนเพื่อทาหนา้ ท่ีต่างๆ ตามที่พระองคก์ าหนด
– ไม่ตอ้ งการหลบั นอน

– จาแลงเป็นรูปร่างต่างๆ ได้

– ไม่มีบิดา มารดา บุตร ภรรยา

– ปฏิบตั ิคุณธรรมลว้ น

– ไม่ละเมิดฝ่ าฝืนบญั ชาของอลั ลอฮฺเลย

– ไม่กิน ดื่ม ขบั ถ่าย ไม่มีกิเลสตณั หา

มลาอิกะห์ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีตามคาส่ังของพระเจา้ อย่างเคร่งครัด ซ่ึงมีจานวนมากมายมหาศาล
เท่าท่ีมีระบุชื่อและหนา้ ท่ีเฉพาะกม็ ีอยู่ 10 มลาอิกะห์ คือ

1. ยบิ รออีล ทาหนา้ ท่ีส่ือโองการพระเจา้ กบั ศาสดา

2. มีกาฮีล ทาหนา้ ท่ีนาโชคลาภจากพระเจา้ สู่โลก

3. อิมรอพีล ทาหนา้ ท่ีเป่ าสงั ขใ์ นวนั สิ้นโลก
4. อิสรออีล ทาหนา้ ท่ีถอดวิญญาณของมนุษยแ์ ละสตั ว์

5. รอกีบ ทาหนา้ ท่ีบนั ทึกความดีและความชวั่ ของมนุษย์

15

6. อะติด ทาหนา้ ที่บนั ทึกความดีและความชวั่ ของมนุษย์
7. มุงกรั ทาหนา้ ที่สอบถามคนตายในกบุ ูร (หลุมฝังศพ)
8. นะกีร ทาหนา้ ที่สอบถามคนตายในกบุ ูร (หลุมฝังศพ)
9. ริดวาน ทาหนา้ ที่ดูแลกิจการของสวรรค์
10.มาลิก ทาหนา้ ที่ดูแลกิจการของขมุ นรก
ผูท้ ่ีจะเป็ นมุสลิมอย่างสมบูรณ์ไดต้ อ้ งศรัทธาว่าเทวทูตเหล่าน้ีมีจริงอนั จะเป็ นผลดีแก่ผู้
ศรัทธาเอง คือจะทาให้เขาทาแต่ความดี ละเวน้ ความชวั่ เพราะแต่ละคนมีเทวทูตคอยบนั ทึกผลความดีและ
ความชว่ั อยตู่ ลอดเวลา
3) ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต มุสลิมเชื่อว่าศรัทธา โลกมนุษยใ์ นแต่ละยุคที่ผ่านมานบั จาก
ยุคแรก คือ อาดัมน้ันตอ้ งมีศาสดาหรือ ศาสนทูต เป็ นผูร้ ับบทบญั ญตั ิของพระเจา้ มาประกาศเพื่อเผยแผ่
โองการของพระเจา้ ซ่ึงศาสนทูตน้นั มีจานวนมากมาย ลกั ษณะคาประกาศของแต่ละศาสดายอ่ มผดิ แปลกไป
ตามยคุ สมยั แต่สิ่งหน่ึงที่ทุกศาสดาประกาศออกมาเหมือนกนั คือ ความเชื่อในพระเจา้ องคเ์ ดียวกนั และหา้ ม
กราบไหวบ้ ูชาวตั ถุโดยสิ้นเชิง บรรดาศาสดาที่รับโองการพระเจา้ มาเผยแผเ่ ท่าที่มีปรากฏในคมั ภีร์อลั กรุ อาน
มีท้งั สิ้น 25 ท่าน คือ
1. นบีอาดมั (อ.ล.) 14. นบีอีซา (อ.ล.)

2. นบีอิบรอฮีม (อ.ล.) 15. นบีอินยาส (อ.ล.)

3. นบีอิสฮากร (อ.ล.) 16. นบีอิสมาอีล (อ.ล.)
4. นบียากฟู (อ.ล.) 17. นบีอลั ยา่ ซะอ์ (อ.ล.)

5. นบีนวั ฮ์ (อ.ล.) 18. นบียนู ุส (อ.ล.)

6. นบีดาลูด (อ.ล.) 19. นบีลูด (อ.ล.)

7. นบีสุไลมาน (อ.ล.) 20. นบีอิดรีส (อ.ล.)

8. นบีไอยบู (อ.ล.) 21. นบีฮูด (อ.ล.)
9. นบียซู ูบ (อ.ล.) 22. นบีซู่ไอบ (อ.ล.)

10. นบีมูซา (อ.ล.) 23. นบีซอและซ์ (อ.ล.)

16

11. นบีฮารูน (อ.ล.) 24. นบีซุลกิฟลี่ (อ.ล.)
12. นบีซาการีบา (อ.ล.) 25. นบีมุฮมั มดั (ศอ็ ลฯ) (อ.ล.)
13. นบียาหยา่ (อ.ล.)
คุณสมบัตขิ องศาสนทูต1มี 4 ประการคือ
1.ศิดกนุ คือ วาจาสตั ย์ ไม่พดู เทจ็
2.อะมานะฮ์ คือ ไวว้ างใจได้ ซื่อสตั ยส์ ุจริต ไม่กระทาความชวั่ ฝ่ าฝืนบทบญั ญตั ิของอลั ลอฮ์
3.ตบั ลิค คือ นาศาสนามาเผยแผแ่ ก่มนุษยโ์ ดยทวั่ ถึงไม่ปิ ดบงั แมแ้ ต่นอ้ ย
4.ฟะตอนะฮ์ คือ เฉลียวฉลาด
บรรดาศาสดาทุกท่าน เป็นมนุษยธ์ รรมดานี่เอง จึงดารงชีวิตแบบสามญั ชนทว่ั ไป มีการกิน
อยหู่ ลบั นอน แต่งงานและประกอบอาชีพ
สาเหตุที่พระเจา้ เลือกคนธรรมดาข้ึนมาเป็ นศาสดา ก็เพราะความเป็ นศาสดา หมายถึง การ
เป็นตวั อยา่ งในการปฏิบตั ิตามคาสอนของตวั เองที่ไดร้ ับมาจากพระเจา้
หากศาสดาไม่ใช่คนสามญั ชนธรรมดาแบบเดียวกบั ประชาชนทว่ั ไป คาสอนก็จะขาดการ
นาไปปฏิบตั ิ ซ่ึงในที่สุดคาสอนก็จะหมดความหมาย และแน่นอนก็จะไม่มีใครพร้อมท่ีจะนาไปประพฤติ
ปฏิบตั ิในการดาเนินชีวติ อีกดว้ ย
ทุกส่ิงทุกอย่างที่ศาสดาสอนผูอ้ ื่น ท่านก็ปฏิบัติเช่นน้ันด้วย คาสอนที่ท่านสอนออกไปจึงเป็ น
กฎหมายท่ีท่านตอ้ งปฏิบตั ิตาม เพราะสิ่งท่ีท่านสอนก็คือ บทบญั ญตั ิท่ีพระเจา้ ทรงดารัสผ่านมาทางท่าน
นน่ั เอง
ศาสนาอิสลามจาแนกพระศาสนทูตหรือผแู้ ทนของพระอลั เลาะห์หรือผรู้ ับโองการจากพระ
เจา้ ให้นาบญั ญตั ิของพระองค์มาส่ังสอน ช้ีแนะแก่มวลมนุษยด์ ้วยกนั ในแต่ละยุคแต่ละสมยั ออกเป็ น 2
ประเภท คือ

17

1. ผูไ้ ดร้ ับมอบหมายหนา้ ท่ีให้ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอยา่ งที่ดีตามบทบญั ญตั ิของพระเจา้ เพียง
อยา่ งเดียวเท่าน้นั ศาสนทูตประเภทน้ีเรียกวา่ “นบี”

2. ผไู้ ดร้ ับมอบหมายหนา้ ที่ใหป้ ฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งที่ดีตามบทบญั ญตั ิของพระเจา้ ทาการ
เผยแผบ่ ทบญั ญตั ิน้นั แก่มวลมนุษยช์ าติทวั่ ไปดว้ ย ศาสนทูตประเภทน้ีเรียกวา่ “ซูล” หรือ “เราะซูล”

ส่วนองคพ์ ระมุฮมั มดั ชาวมุสลิมเชื่อกนั ว่า พระองคเ์ ป็ นท้งั นบีและเราะซูล เพราะพระองค์
เป็ นแบบอยา่ งท่ีดีตามบทบญั ญตั ิของพระอลั เลาะห์และทรงเป็นผเู้ ผยแผบ่ ทบญั ญตั ิน้นั แก่มวลมนุษยชาติอีก
ดว้ ย

4) ศรัทธาในพระคมั ภีร์ คมั ภีร์ที่วา่ น้ีหมายถึงคมั ภีร์จานวน 104 เล่มท่ีอลั เลาะฮไ์ ดป้ ระทาน
แก่เหล่าศาสนทูต ของพระองค์ เพ่ือนามาประกาศเผยแผแ่ ก่ปวงประชาชาติใหเ้ หินห่างจากความมืดมนไปสู่
ทางอนั สวา่ งไสวและเท่ียงตรง ซ่ึงคมั ภีร์ที่สาคญั มีอยู่ 4 คมั ภีร์ คือ

คมั ภีร์โตราห์ หรือเตารอต (Torah) ประทานแก่นบีมูซาหรือโมเสส (Moses) เป็นภาษาฮีบรู

คมั ภีร์ซะบูร์ (Zaboor) ประทานแก่นบีดาวดู หรือดาวดิ (David) เป็นภาษาอียปิ ตโ์ บราณ

คมั ภีร์อินญีล (Injeel or Gospel) ประทานแก่นบีอีซาหรือเยซู (Jesus) เป็นภาษาซีเรียโบราณ

คมั ภีร์อลั -กุรอาน (Al-Quran) ประทานแก่นบีมุฮมั มดั (Muhammad) เป็นภาษาอาหรับ อลั กุ
รอาน เป็นคมั ภีร์ฉบบั สุดทา้ ยท่ีสมบูรณ์ที่สุดและมุสลิมเชื่อวา่ ท่านนบีมุฮมั มดั เป็นนบีคนสุดทา้ ย

คมั ภีร์ต่างๆ ท้งั หมดน้ีสรุปคาสอนไดเ้ ป็น 2 ประการ คือ

1. สอนถึงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั พระเจา้

2. สอนถึงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั มนุษยด์ ว้ ยกนั

5) ศรัทธาในวนั พิพากษา ศาสนาอิสลามเรียกโลกในปัจจุบนั ว่า “โลกดุนยา” และอธิบายวา่
ดุนยาเป็ นโลกแห่งการทดลอง ไม่จีรังยง่ั ยืน รอวนั แห่งความพินาศแตกสลายเรียกว่า “วนั กียามะฮฺ” ซ่ึงเป็ น
วนั พิพากษาหรือวนั กาเนิดปรโลก โลกใหม่ท่ีเกิดข้ึนในวนั ดงั กล่าวเป็ นโลกอมตะ เรียกว่า “โลกอาคีรัต”
มนุษยแ์ ละสรรพสิ่งท้งั หลายท่ีเกิดข้ึนในโลกน้ีจะมีชีวิตเป็นนิรันดรในวนั กียามะฮ์ น้ี ทุกชีวิตท่ีตายไปแลว้ จะ
กลบั ฟ้ื นคืนชีพอีกคร้ังหน่ึง เพื่อชาระผลกรรมท่ีทาไวส้ มยั ท่ีมีชีวิตอยู่ มุสลิมผศู้ รัทธาในวนั พิพากษาและสร้าง
สมความดีไวม้ ากจะไดไ้ ปสู่ปรโลกพบกบั ชีวติ นิรันดร

18

6)ศรัทธาในการลิขิตของพระผเู้ ป็ นเจา้ มุสลิมทุกคนจะตอ้ งศรัทธาว่ากาหนดการต่างๆ ใน
โลก และชีวิตของบุคคลแต่ละคนเป็ นไปโดยอานาจของพระเจา้ ท้งั สิ้น มนุษยต์ อ้ งปฏิบตั ิตามครรลองที่ถูก
กาหนดไวแ้ ลว้ การดิ้นรนขวนขวายและวริ ิยภาพของมนุษยด์ าเนินไปจะอยภู่ ายใตข้ อ้ กาหนดดงั กล่าวน้ีท้งั สิ้น

ความเชื่อในอานาจการลิขิตของพระเจา้ น้ี มิไดห้ มายถึงการตดั ทอนในดา้ นสร้างสรรคข์ อง
มนุษยแ์ ต่อยา่ งใด ซ่ึงจะทาใหม้ นุษยเ์ กียจคร้านและไม่คิดจะทาหนา้ ที่อะไรโดยทุกส่ิงเป็นกาหนดของพระเจา้

ความเชื่อขอ้ น้ีนามาประกอบในการดาเนินชีวิตของมนุษยไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดีและสุขมุ มีสติและ
ไม่ประมาท ใหม้ ีสติ ต้งั มนั่ วา่ ทุกส่ิงทุกอยา่ งดาเนินไปโดยการลิขิตของพระเจา้ ซ่ึงมนุษยเ์ องกด็ ิ้นรนพยายาม
และมุ่งมน่ั อยู่เสมอ มีความขยนั ขนั แข็ง และเร่ิมบุกเบิกการงานความคิดทุกประการ ดว้ ยจิตใจที่สานึกอยู่
เสมอว่า อยภู่ ายใตข้ อ้ กาหนดของพระเจา้ อยเู่ ป็นนิตย์ ดงั น้นั ผลของการกระทากิจการท้งั หลายไม่ว่าจะสาเร็จ
หรือไม่สาเร็จกต็ าม มนุษยก์ จ็ ะมีสติสมั ปชญั ญะมนั่ คงเสมอ

หากประสบผลสาเร็จในการทากิจการใดๆ ก็ระลึกว่าเป็ นไปโดยกาหนดลิขิตของพระเจา้
ตวั เองจะไดไ้ ม่ลาพอง ไม่หย่ิงจองหอง ไม่ถือว่าตวั เองเป็ นผูว้ ิเศษเหนือคนอื่นใด แต่ถา้ หากประสบความ
ลม้ เหลวในการกระทากร็ ะลึกเสียว่า เป็นไปโดยลิขิตของพระเจา้ ตวั เองจะไดไ้ ม่เสียใจ ไม่อกหกั ไม่โวยวาย
ความเช่ือในลิขิตพระเจา้ จะปรับจิตใจของมวลมนุษยใ์ ห้มนั่ คงในพระเจา้ ดาเนินชีวิตอยู่ดว้ ยความมน่ั ใจ มี
เป้าหมายและมีกาลงั ใจตลอดไป

คนใดที่เช่ือในลิขิตพระเจา้ จะปรับปรุงตวั อยเู่ สมอ ไม่ทาอะไรแบบเชา้ ชามเยน็ ชามเฉ่ีอยชา
ทาตวั เรื่อยๆ เฉื่อยแฉะเหมือนเรือที่ไม่มีหางเสือ เป็นความเชื่อท่ีมีเหตุผลอยา่ งแทจ้ ริง ถา้ มีเหตุบกพร่องจะรีบ
แกไ้ ขทนั ที

ดงั น้นั ศาสนาอิสลามจึงกล่าวถึงกฎสภาวการณ์ไวว้ ่า พระอลั เลาะห์เจา้ ทรงลิขิตหรือเป็ นผู้
ทรงกาหนดกฎสภาวการณ์ (ความเป็นไป) แห่งโลกและมวลมนุษยช์ าติไวใ้ น 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี

1. สภาวการณ์ท่ีคงที่ ไดแ้ ก่ กฎแห่งธรรมชาติ เช่น ดินฟ้าอากาศ ระบบการโคจรของดวงดาว
และชาติพนั ธุข์ องมนุษยท์ ้งั ปวง

2. สภาวการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงได้ คือ สภาวการณ์ท่ีข้ึนอยกู่ บั เหตุและผลที่มนุษยแ์ ต่ละคนจะ
ใชส้ ติปัญญาของตนเลือกปฏิบตั ิ เช่น พระเจา้ สร้างมนุษยใ์ หม้ ีสภาพของความเป็นคนเหมือนๆ กนั พร้อมท้งั
ทรงประทานแนวปฏิบตั ิเพื่อความดีงามใหท้ ุกคน ส่วนผใู้ ดมีสถานภาพอยา่ งไรน้นั ในกาลต่อมาน้นั เป็นเรื่อง
ของแต่ละบุคคลเป็นผทู้ าเอง ก่อเอง เลือกทางเดินของตวั เอง

19

2. หลกั ปฏิบัตหิ รือหน้าท่ีในศาสนา (อบิ าดะห์)

ศาสนาอิสลามเป็ นศาสนาประเภท “เอกเทวนิยม” (Monotheism) คือ นับถือพระเจา้ องคเ์ ดียวว่า
สูงสุดคือ พระอลั ลอฮ์ มีคุณลกั ษณะที่สมบูรณ์ท่ีสุด สร้างทุกส่ิงทุกอยา่ งไดแ้ ละสามารถทาลายทุกส่ิงทุกอยา่ ง
ได้ ในส่วนที่เกี่ยวกบั การปฏิบตั ิน้นั มุสลิมทุกคนจะตอ้ งถือเป็นหนา้ ที่และเป็นกิจวตั รอนั จะขาดมิได้ ซ่ึงการ
ปฏิบตั ิน้นั แบ่งไดเ้ ป็น 5 ประการ ดงั น้ี

1) การปฏิญาณตน การปฏิญาณตนเขา้ รับนบั ถือศาสนาอิสลามน้นั ใหป้ ฏิญาณในความเชื่อ
มีต่อพระอลั ลอฮเ์ จา้ และต่อองคศ์ าสดา โดยกล่าวออกเป็ นวาจาจากความเช่ือมนั่ ของตนเอง และพร้อมท่ีจะ
ปฏิบตั ิตามคาสอนวา่

“ขา้ พเจา้ ขอปฏิญาณตนว่า ไม่มีพระเจา้ องคอ์ ื่นใดนอกจากพระอลั ลอฮ์” และ “ขา้ พเจา้ ของ
ปฏิญาณตนวา่ นบีมะหะหมดั เป็นศาสนทูตแห่งพระอลั ลอฮ”์ โดยประโยคที่ปฏิญาณดงั กล่าวน้ี เมื่อผใู้ ดกล่าว
ดว้ ยความสานึกอนั จริงใจและดว้ ยความศรัทธามน่ั คงและพร้อมท่ีจะปฏิบตั ิตามบทบญั ญตั ิอิสลามกถ็ ือวา่ เป็น
มุสลิมแลว้ หรือจะเพ่ิมคาปฏิญาณเขา้ อีกเพ่ือความต้งั มน่ั อย่างแทจ้ ริง ไม่คลอนแคลนในการนับถือศาสนา
อิสลาม โดยกล่าววา่

1. จะไม่เคารพบูชารูปใดๆ นอกจากพระอลั ลอฮ์

2. จะประพฤติตนในทางบริสุทธ์ิและเป็นธรรมเป็นนิตย์

3. จะยอมเช่ือฟังถอ้ ยคาในทางท่ีถูกที่ควรของท่านนบีทุกประการ

2) การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมสั การ) การละหมาดหรือการนมสั การพระเจา้ คือ
การแสดงความเคารพต่อพระเจา้ เป็ นการปฏิบตั ิเพื่อแสดงความภกั ดีต่อพระเจา้ เป็ นการปฏิบตั ิเพ่ือแสดง
ความภกั ดีต่อพระเจา้ การสารวมจิตระลึกถึงพระเจา้ การละหมาดเป็ นการขดั เกลาจิตให้สะอาดบริสุทธ์ิอยู่
ตลอดเวลา นอกจากน้ียงั เป็นการสร้างพลงั ใหเ้ ขม้ แขง็ การสารวมจิตหรือการทาสมาธิเพื่อมิใหจ้ ิตใจวอกแวก
ไปในเร่ืองต่างๆ เป็ นภาวะท่ีจิตใจไดเ้ ขา้ ไปสัมผสั กบั ความเป็ นเอกภาพกบั พระเจา้ ทาให้จิตสงบ ต้งั มน่ั
อดทน ผูท้ ่ีมีความทุกขแ์ ละประสบปัญหาชีวิตในดา้ นต่างๆ การละหมาดเป็ นเครื่องช่วยที่ดีที่สุด ท้งั ยงั ฝึ ก
ตนเองใหต้ รงต่อเวลา มีความรับผดิ ชอบในหนา้ ที่ ใหอ้ ยใู่ นระเบียบวินยั รักษาความสะอาด และยงั เป็ นการ
บริหารร่างกายอยา่ งดียงิ่ หากเป็ นการละหมาดรวมยงั เป็ นการแสดงออกถึงความสามคั คีพร้อมเพรียง ความ
เสมอภาค และภราดรภาพอีกดว้ ยการทาละหมาด เป็นกิจที่ตอ้ งทาเป็นประจาในหลายวาระ คือ

20

1. รอบวนั ผเู้ ป็นมุสลิมจะตอ้ งทาละหมาดวนั ละ 5 เวลา คือ

1.1 เวลายา่ รุ่ง เรียกวา่ ละหมาด ซุบหฺ ปฏิบตั ิ 2 ร็อกอะฮ์

1.2 เวลากลางวนั เรียกวา่ ละหมาด ดุฮฺริอฺ ปฏิบตั ิ 4 ร็อกอะฮ์

1.3 เวลาเยน็ เรียกวา่ ละหมาด อะซรั ปฏิบตั ิ 4 ร็อกอะฮ์

1.4 เวลาพลบค่า เรียกวา่ ละหมาด มฆั ริบ ปฏิบตั ิ 3 ร็อกอะฮ

1.5 เวลากลางคืน เรียกวา่ ละหมาด อิชาอ์ ปฏิบตั ิ 4 ร็อกอะฮ์

2. รอบสปั ดาห์ ใหร้ วมทากนั ในวนั ศุกร์ ณ มสั ยดิ สถาน จานวน 2 ร็อกอะฮ์

3. รอบปี ในรอบปี หน่ึงให้ทุกคนมาปฏิบตั ิการละหมาด ณ มสั ยิดหรือสถานชุมนุมซ่ึงมี 2
คร้ัง คือ

3.1 ละหมาดเมื่อสิ้นเดือนถือศีลอด (อีดุลพิฏร์) ซ่ึงเรียกว่า “วนั ออกบวช” จานวน 2

ร็อกอะฮ์

3.2 ละหมาดในวนั เชือดสัตวพ์ ลีทาน เนื่องในเทศกาลฮจั ญ์ (อีดุลอฏั ฮา) ซ่ึงเรียกว่า “วนั
ออกฮจั ญ”์ จานวน 2 ร็อกอะฮ์

4. ตามเหตุการณ์ เม่ือเกิดเหตุการณ์บางประการใหล้ ะหมาดดว้ ย เช่น

4.1 ทาละหมาดขอพรแก่ผตู้ ายก่อนนาไปฝัง เรียกวา่ “ละหมาดญะนาซะฮ”์

4.2 ทาละหมาดขอฝน ในยามแหง้ แลง้ เรียกวา่ “ละหมาดอิสติสกออ”์

4.3 ทาละหมาดในกลางคืนของเดือนถือศีลอดจานวน 20 ร็อกอะฮ์ เรียกว่า “ละหมาดตะ
รอวีห์”

4.4 ทาละหมาดระลึกถึงพระเจา้ เมื่อเกิดผดิ ปกติทางธรรมชาติ คือ

4.4.1 เมื่อเกิดจนั ทรุปราคา เรียกวา่ “คูซูฟุลกอมนั ” จานวน 2 ร็อกอะฮ์

4.4.2 เมื่อเกิดสุริยปุ ราคา เรียกวา่ “กซุ ูฟุซซมั ซิ” จานวน 2 ร็อกอะฮ์

4.5 ทาละหมาดขอต่อพระเจา้ ใหช้ ้ีทางเลือกในการประกอบการงานที่ตวั เอง ตดั สินใจไม่ได้
เรียกวา่ ละหมาด “อิสติคงเราะย”์ จานวน 2 ร็อกอะฮ์

21

นอกจากที่กล่าวไวน้ ้ีแลว้ ยงั มีละหมาดอื่นๆ อีก ซ่ึงปรากฏในตาราศาสนาโดยตรงและการ
ละหมาดยงั ส่งเสริมใหก้ ระทาโดยไม่ตอ้ งรอวาระและเหตุการณ์ต่างๆ ดงั กล่าวที่เป็นการกระทาโดยไม่ตอ้ งมี
เงื่อนไข ทาเมื่อระลึกถึงพระเจา้ จานวนกระทาคร้ังละ 2 ร็อกอะฮ์ และทาไดเ้ ร่ือยไป เรียกว่า ละหมาด “สนตั
มุตลกั ”

วธิ ีทาละหมาด ใหเ้ ริ่มดว้ ยการชาระร่างกายใหส้ ะอาด และอาบน้าละหมาดตามแบบดงั น้ี
1. ต้งั เจตนาวา่ จะอาบน้าละหมาด
2. ลา้ งมือท้งั สองขา้ งจนถึงขอ้ มือ
3. บว้ นปากและลา้ งรูจมูก 3 คร้ังใหส้ ะอาด
4. ลา้ งหนา้ 3 คร้ัง ใหท้ ว่ั บริเวณหนา้ ใหส้ ะอาด
5. ลา้ งแขนท้งั สองขา้ ง 3 คร้ัง ต้งั แต่ปลายนิ้วมือถึงขอ้ ศอกโดยลา้ งขา้ งขวาก่อนขา้ งซา้ ย
6. เอามือขวาชุบน้าลูบศรีษะ 3 คร้ัง ต้งั แต่ดา้ นหนา้ ถึงดา้ นหลงั
7. เอามือท้งั สองชุบน้าเช็ดใบหูท้งั สองขา้ ง 3 คร้ัง ให้เปี ยกทวั่ ท้งั ภายนอกและภายในโดย
เช็ดพร้อมกนั ท้งั สองขา้ ง
8. ลา้ งเทา้ ท้งั 2 ขา้ ง 3 คร้ัง ใหท้ วั่ จากปลายเทา้ ถึงเลยตาตุ่ม โดยลา้ งเทา้ ขวาก่อนเทา้ ซา้ ย
เมื่อเสร็จจากการอาบน้าละหมาดกใ็ หส้ วมเส้ือผา้ ท่ีสะอาด และปิ ดอวยั วะสงวนโดย
– ผชู้ ายตอ้ งปิ ดระหวา่ งสะดือกบั หวั เขา่

– ผหู้ ญิงปิ ดท้งั ร่าง ยกเวน้ ใบหนา้ และฝ่ ามือ
แลว้ หนั หนา้ ไปทาง “กิบละฮ”์ (กะอบ์ ะฮ์ บยั ตุบเบาะห์) ดว้ ยจิตใจอนั สงบ มีสมาธิและมุ่งต่อ
พระเจา้ แลว้ ปฏิบตั ิ ดงั น้ี

1. ต้งั เจตนาแน่วแน่ในการปฏิบตั ิ
2. ยกมือจดระดบั บ่า พร้อมท้งั กล่าวตกั บีร กล่าวอลั ลอฮูกกั บรั ซ่ึงแปลว่า อลั ลอฮ์ ทรง
ยงิ่ ใหญ่ แลว้ ยกมือลงมากอดอก
3. ยืนตรงในท่าเดิม พร้อมกบั อ่าน “บางบทจากคมั ภีร์อลั กุรอาน” หรือบทฟาตีฮะห์ หรือ
บทอื่นๆ ตามตอ้ งการ

22

4. กม้ ลง ใช้มือท้งั สองจบั เข่าไว้ ศีรษะทาแนวตรงกบั สันหลงั ไม่ห้อยลงและไม่เงยข้ึน
พร้อมท้งั อ่านวา่ “ซุบฮานะริบบิยนั อะซีวะบิฮมั ดิฮฺ” 3 คร้ังเป็นอยา่ งนอ้ ย

5. เงยข้ึนมาสู่ท่ียนื ตรง พร้อมท้งั กล่าววา่ “สมิอลั ลฮุลิมนั ฮะมิดะฮ์ รอบบะนาละกลั ฮ้มั ดุ”

6. กม้ ลงกราบโดยให้หนา้ ผากและจมูกจดพ้ืน มือวางแนบพ้ืนในระดบั เข่า หัวเข่าท้งั สอง
วางบนพ้ืนและปลายนิ้วสัมผสั พ้ืนพร้อมกบั อ่านว่า “ซุบฮานะรอบบิยลั อะฮฺลาวะบิฮมั ดิฮี” 3 คร้ังเป็ นอย่าง
นอ้ ย

7. ลุกข้ึนมานงั่ พกั พร้อมกบั อ่านบทขอพร

8. กม้ ลงกราบคร้ังท่ีสองแบบเดียวกบั คร้ังแรก การกระทาตามลาดบั ดงั กล่าวน้ันถือว่า
“หน่ึงร็อกอะฮ”์

9. จากน้นั ข้ึนมายนื ตรง แลว้ ยอ้ นกลบั ไปเร่ิมตน้ ปฏิบตั ิตามลาดบั ตามท่ีกล่าวไวแ้ ลว้ และ
ในร็อกอะฮท์ ี่สองใหท้ าอยา่ งน้ี

10. เมื่อข้ึนจากการกราบคร้ังที่สอง พร้อมกบั อ่านตะฮียะฮ์ คือ “อตั ตะฮียาตุลมูบารอกาตุส
ซอลาตุตตอยยปิ ิ ตุลิลลาฮ์ อสั ลามุอาลยั กะอยั ยฮุ นั นะปิ ยวุ ะ เราหมะตุลลอฮิวะบะรอกาตุฮอสั สะลามุอาลยั นา
วะอะลาอิบาติซซอลิฮีนอซั ฮะดุอลั า

ฮะอิลลลั ดอฮุวะอซั ฮะดุอนั นะมุฮมั มะดรั รอซูลุลลอฮิ อลั ลอฮฮ์ ุมมะซอลลิอะลามุฮามดั อะลาอะลี
มุฮมั มดั ”

หากละหมาดน้ันมีเพียงสองร็อกอะฮ์ ก็ไม่ตอ้ งข้ึนให้กระทาร็อกอะฮ์ต่อไป แต่ถ้าเป็ น
ละหมาดท่ีมีร็อกอะฮท์ ี่มี 3-4 กใ็ หข้ ้ึนกระทาตามลาดบั ดงั กล่าวจนครบจานวนโดย

– ถา้ เป็นละหมาด 3 ร็อกอะฮ์ ถึงการกราบคร้ังท่ี 2 ของร็อกอะฮท์ ี่ 3 ลุกมาอ่านตะฮียะฮ์

– ถา้ เป็นละหมาด 4 ร็อกอะฮ์ ก็ลุกจากการกราบคร้ังที่ 2 ของร็อกอะฮ์ ข้ึนมายนื ตรงทาต่อ
ในร็อกอะฮท์ ่ี 4 ตามลาดบั จนถึงการนงั่ อ่านตะฮียะฮส์ ุดทา้ ย

11. ให้สลาม คือ อ่านว่า “อสั ลามุอะลยั กุม วะเราะห์มะตุลลอฮ์” ทาพร้อมกบั เหลียวไป
ทางขวาและว่าอีกคร้ังพร้อมกบั เหลียวไปทางซา้ ย จากน้นั ก็ยกมือข้ึนลูบหนา้ เป็ นอนั เสร็จพิธี อน่ึงก่อนพิธี
ละหมาดจะเร่ิมข้ึนจะมีผูบ้ อกโดยใชว้ ิธีตะโกนจากหอสูง เม่ือทุกคนมาประชุมพร้อมกนั แลว้ หวั หนา้ ในพิธี
การน้นั กจ็ ะเป็นผนู้ า วนั สวดมนตใ์ หญ่ คือ วนั ศุกร์

23

การสวดมนต์หรือนมสั การมอี ยู่ 3 ตอน คือ
– ตอนแรก เรียกวา่ อาซาน คือ ตอนท่ีมุอาซินข้ึนไปตะโกนเรียกอยบู่ นหอสูง มีเน้ือความ วา่
ไม่มีบุคคลอ่ืนที่ดีกว่าพระอลั ลอฮ์ พระมุฮมั มดั เป็นศาสนทูตของพระองคจ์ งมานมสั การกนั เถิด มาทาความดี
กนั เถิด ดีกวา่ การนอน
– ตอนสอง เรียกว่า ร็อกอะฮ์ เป็ นการเร่ิมสารวม กาย วาจา และใจ คือ การกล่าวคาสวดท่ี
ถูกตอ้ ง ใชอ้ ิริยาบถถูกตอ้ งและต้งั จิตตรงต่อพระเจา้ องคเ์ ดียวอยา่ งถูกตอ้ ง
– ตอนสาม คือ ตอนกล่าวคานมสั การโดยอิมาม หรือหัวหนา้ ในพิธีเป็ นผูน้ ากล่าวนาและ
กระทานาพร้อมกนั เป็ นการขอพรและสรรเสริญพระคุณของพระเจา้ อน่ึง มุสลิมถือว่าในเทศกาลสาคญั
อย่างการฉลองวนั สิ้นสุดแห่งการถือศีลอด และวนั ฉลองการเสียสละคร้ังใหญ่ (อีดุลอฏั ฮา) คือ วนั ตรุษ
จะตอ้ งทาพธิ ีร่วมกนั ทุกคนขาดไม่ได้

ประโยชน์ของการทาพธิ ีละหมาด
ประโยชน์ปัจจุบนั ที่สาคญั ท่ีสุด คือ เป็ นการน้อมตนแก่พระเจ้าท้ังกาย วาจา และใจ ตาม
แบบอยา่ งพระศาสดาพระมุฮมั มดั และโองการท่ีพระเจา้ กาหนดไว้ ส่วนประโยชนอ์ ื่นท่ีพึงไดร้ ับมีดงั น้ี
1. เป็นการชาระจิตใจใหส้ ะอาดบริสุทธ์ิอยตู่ ลอดเวลา
2. เป็นการฝึกสมาธิและสร้างพลงั จิตใจใหแ้ ขม้ แขง็
3. เป็นการช่วยแกป้ ัญหาชีวิต (ระงบั ความทุกขใ์ จ) ไดโ้ ดยทาจิตใจใหส้ งบ
4. เป็ นการปลูกฝังนิสัยที่ดีหลายประการ เช่น ตรงต่อเวลา มีวินยั มีความรับผิดชอบ มีความ
อดทน การเอาชนะใจตวั เอง สร้างความสะอาดและความสามคั คี

5. เป็นวิธีการบริหารร่างกายทางออ้ ม
6. เป็นการสร้างพลงั กายใหเ้ ขม้ แขง็ เพอ่ื สามารถต่อตา้ นโรคภยั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
7. เป็ นการลดความตึงเครียดในหน้าท่ีการงานเพื่อดาเนินงานต่อไปอีกอยา่ งมีประสิทธิภาพ
ยงิ่ ข้ึน

24

3) การถือศีลอด

การถือศีลอด คือ งดเวน้ จากการกระทาต่างๆ ดงั ต่อไปน้ีต้งั แต่แสงอรุณข้ึนจนถึงตะวนั ตกใน
เดือนรอมะฎอน (เดือนที่ 9 ของ ฮิจเราะห์ศกั ราช) เป็นเวลา 1 เดือน คือ

1. งดการกินและการด่ืม

2. งดการมีเพศสัมพนั ธ์

3. งดการใชว้ ตั ถุภายนอกเขา้ ไปในอวยั วะภายใน

4. งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผดิ ต่างๆ พร้อมท้งั กระทาในส่ิงต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี
1. ทานมสั การพระเจา้ ใหม้ ากกวา่ วนั ธรรมดาถา้ เป็นการถือศีลรอมะฎอนใหท้ าละหมาดตะ

รอวีห์จานวน 20 ร็อกอะฮ์

2. อ่านคมั ภีร์อลั กรุ อานใหม้ าก

3. สารวมอารมณ์และจิตใจใหด้ ี

4. ทาทานแก่ผยู้ ากไร้และบริจาคเพ่ือการกศุ ล

5. กล่าว “ซิกิร” อนั เป็นบทราลึกถึงพระเจา้

6. ใหน้ งั่ สงบสติสงบจิต “อิตติกาฟ” ในมสั ยดิ
การถือศีลอดมีเป้าหมายเพ่ือเป็ นการฝึ กฝนใหต้ วั เองมีจิตผกู พนั และยาเกรงต่อพระเจา้ เพ่ือการ
ดาเนินชีวิตในทุกดา้ นตามคาบญั ชาของพระองค์ อนั เป็นผลดีทาใหเ้ กิดปกติสุขท้งั ส่วนตวั และส่วนสงั คม
นอกจากน้นั ประโยชน์ของการถือศีลอดยงั อานวยในดว้ นสุขภาพอนามยั อีกดว้ ย เพราะการถือ
ศีลอดเป็ นการอดอาหารในช่วงเวลาท่ีถูกกาหนดไวอ้ ยา่ งตายตวั น้นั จะทาใหร้ ่างกายไดล้ ะลายส่วนเกินของ
ไขมนั ท่ีสะสมเอาไว้ อนั เป็นบ่อเกิดของโรคร้ายหลายประการดว้ ยกนั ดงั ท่ีทราบๆ กนั อยแู่ ลว้
การถือศีลอดเป็ นการเพิ่มพูนภูมิตา้ นทานแก่ร่างกาย ทาให้ร่างกายเคยชินกบั ความหิวดว้ ยและ
การรับประทานอาหารตรงตามเวลา เพราะใน 24 ชว่ั โมง ผูถ้ ือศีลอดจะรับประทานอาหารสองม้ือ คือ ม้ือ
ตอนดึกก่อนฟ้ารุ่งสางและม้ือค่า เมื่ออาทิตยล์ บั ขอบฟ้า

25

การถือศีลอดทาให้เกิดการประหยดั ท้งั อาหารของโลก และสิ่งฟ่ ุมเฟื อยส่ิงต่างๆ อีกมากมาย
สมมุติท้งั โลกมีมุสลิมท้งั หมดในหน่ึงเดือนที่ถือศีลอด เม่ือนามาจ่ายค่าอาหารท่ีลดลงจะเป็นจานวนมหาศาล
เท่ากบั เดือนถือศีลอดน้นั มุสลิมช่วยทาใหโ้ ลกประหยดั โดยตรง

วาระการถือศีลอด
การถือศีลอดแบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ

1. บงั คบั
2. อาสาสมคั ร
1. ถือศีลอดบงั คบั ไดแ้ ก่ การถือศีลอดซ่ึงศาสนาบงั คบั วา่ จะตอ้ งถือดงั น้ี
1.1 ถือศีลอดในเดือนรอมะฎอนครบท้งั เดือน
1.2 ถือศีลอดตามที่บนไว้
1.3 ถือศีลอดชดเชยท่ีขาด
1.4 ถือศีลอดตามขอ้ ผกู พนั เช่น ถือศีลอดเพื่อไถ่ความผิดอนั เกิดจากการกระทาผดิ ทางเพศ
ขณะถือศีลอด เป็นตน้
2. ถือศีลอดอาสาสมคั ร ไดแ้ ก่ การถือศีลอดซ่ึงศาสนามิไดบ้ งั คบั ใหถ้ ือ หากปล่อยเป็ นอิสระ
ตามความสมคั รใจ มีดงั ต่อไปน้ี เช่น
2.1 การถือศีลอด 6 วนั ในเดือนเชาวาล (เดือนต่อจากเดือนรอมะฎอน)
2.2 การถือศีลอดในวนั ที่ 10 ของเดือนมุฮรั ร็อม.
2.3 การถือศีลอด ในวนั จนั ทร์ วนั พฤหสั บดี เป็นตน้
สาเหตุทาให้เสียศีลอด
1. รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่ม
2. อาเจียนโดยเจตนา
3. ร่วมประเวณี
4. เสียสติ

26

5. นาวตั ถุเขา้ ไปในช่องภายในของร่างกาย เช่น รูหู ทวาร เป็นตน้

6. มีเลือดประจาเดือนหรือเลือดหลงั คลอด

7. ทาใหอ้ สุจิเคลื่อน

8. สิ้นสภาพอิสลาม
จุดมุ่งหมายของการถือศีลอดเพ่ือฝึ กฝนทางดา้ นร่างกายและจิตใจ ให้มีความหนักแน่นต่อไป
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในหลกั ชะกาต
มุสลิมท่ีบรรลุนิติภาวะทางร่างกายดงั ท่ีกล่าวมาแลว้ ในเรื่องละหมาด ทุกคนจะตอ้ งถือศีลอด
ยกเวน้ สาหรับบุคคลบางประเภทต่อไปน้ี

1. คนชรา

2. คนป่ วยหรือสุขภาพไม่ดี

3. หญิงที่มีครรภท์ ่ีเกรงวา่ จะเป็นอนั ตรายแก่บุตร

4. บุคคลที่ทางานหนกั เช่น กรรมกรแบกหาม

5. บุคคลที่อยใู่ นระหวา่ งเดินทาง

6. หญิงขณะมีรอบเดือนและหลงั คลอด

บุคคลท่ีไดร้ ับการผ่อนผนั ให้ละเวน้ การถือศีลอดท้งั 6 ประเภทน้ี หากพน้ ภาวะความจาเป็ น
ดงั กล่าวแลว้ เช่น หมดรอบเดือน เม่ือสิ้นสุดการเดินทาง หายจากการเจ็บไข้ ฯลฯ ให้ถือศีลอดชดใชต้ าม
จานวนวนั ที่ขาดโดยจะตอ้ งถือในช่วงระยะ 11 เดือนก่อนที่จะถึงเดือนรอมะฎอนของปี ต่อไป ยกเวน้ ผทู้ ่ีจะ
ถือศีลอดไดโ้ ดยลาบาก เช่น คนชรา คนป่ วย ซ่ึงบุคคล ดงั กล่าวน้ีตอ้ งใชช้ ดเชยโดยบริจาคอาหารแก่คน
ยากจน 1 คน ในวนั ท่ีขาด โดยอาหารน้นั ตอ้ งเหมือนกบั ท่ีตนรับประทาน

4) การบริจาคศาสนทานซะกาต

การบริจาคศาสนาทาน ศาสนาอิสลามเรียกวา่ “ซะกาต” (Sakat) มาจากคาเดิมในภาษาอาหรับ
วา่ “ซะกาฮฺ ” แปลวา่ การทาใหบ้ ริสุทธ์ิ ความเจริญงอกงาม

ซะกาต ในศาสนาอิสลาม หมายถึง การบริจาคซ่ึงศาสนาบงั คบั ให้ผูม้ ีทรัพยส์ ินมากเกิน
จานวนที่กาหนดไว้ (ในศาสนา) จ่ายแก่ผคู้ วรไดร้ ับ (ตามอตั ราที่ศาสนากาหนด)

27

ทมี่ าของการบริจาคซะกาต
1. คาสอนในศาสนาท่ีให้มุสลิมทุกคนถือว่า บรรดาทรัพยส์ ินท้งั หลายท่ีหามาไดน้ ้นั คือ ของ
ฝากจากอลั เลาะห์เจา้ ใหจ้ ่ายส่วนหน่ึงแก่คนยากคนจน
2. ชีวิตจริงของพระศาสดามะหะหมดั เคยผา่ นความยากจนมาก่อน
วตั ถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
1. เพ่อื ชาระจิตใจของผบู้ ริจาคใหบ้ ริสุทธ์ิไม่ตกเป็นทาสแห่งวตั ถุดว้ ยความโลภและเห็นแก่ตวั
2. เพ่ือปลูกฝังใหม้ ุสลิมท้งั หลายเป็นผมู้ ีจิตใจเมตตา กรุณา เอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผซ่ ่ึงกนั และกนั
3. เพอ่ื ลดช่องวา่ งระหวา่ งชนช้นั ในสงั คมดว้ ยวิธีการสงั คมสงเคราะห์
ลกั ษณะของการบริจาคซะกาตทถ่ี ือได้ว่าได้บุญกศุ ลตามความมุ่งหมาย
1. ทรัพยส์ ินท่ีบริจาคตอ้ งไดม้ าดว้ ยความสุจริต
2. ตอ้ งเต็มใจในการบริจาค ไม่หวงั ส่ิงตอบแทน ไม่เจตนาเพ่ืออวดความมง่ั มีและไม่ลาเลิก
บุญคุณ
อตั ราการบริจาคซะกาต
ทรัพยท์ ่ีจะนามาบริจาคซะกาตมีหลายประเภทดว้ ยกนั คือ
1. ซะกาตพืชผล อนั ไดแ้ ก่ การเพาะปลูกที่นาผลผลิตมาเป็ นอาหารหลกั ในทอ้ งถิ่นน้นั ๆ เช่น
ขา้ ว ขา้ วสาลี เป็ นตน้ เม่ือมีจานวนผลิตได้ 650 กก. ตอ้ งจ่ายซะกาต 10% สาหรับการเพาะปลูกท่ีอาศยั ฝน
และเพียง 5% สาหรับการเพาะปลูกที่ใชน้ ้าจากแรงงาน

2. ทองคา เงิน และเงินตรา เม่ือมีจานวนเหลือใช้เพียงเท่าทองคาหนัก 5.6 บาท เก็บไว้
ครอบครองครบรอบปี กต็ อ้ งบริจาคออกไป 2.5% จากท้งั หมดที่มีอยู่

3. รายไดจ้ ากการคา้ เจา้ ของสินคา้ ตอ้ งคิดหักในอตั รา 2.5% ในทุกรอบปี บริจาคเป็ นซะกาต
ท้งั น้ีทรัพยส์ ินจะตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ เทียบน้าหนกั ทองคาเท่ากบั 4.67 บาท

4. ขุมทรัพยเ์ หมืองแร่ เม่ือไดข้ ุดกรุสมบตั ิแผ่นดิน หรือเหมืองแร่ไดส้ ัมปทาน จะตอ้ งจ่ายซะ
กาต 20% หรือ 1 ใน 5 จากทรัพยส์ ินท้งั หมดท่ีได้

28

5. ปศุสัตว์ ผูท้ ่ีประกอบอาชีพเล้ียงสัตว์ คือ ววั ควาย อูฐ แพะ แกะ จะตอ้ งบริจาคในอตั ราท่ี
แน่นอน เป็นซะกาตออกไป เช่น มีววั ควาย ครบ 30 ตวั ใหบ้ ริจาคลูกววั อายุ 1 ขวบ 1 ตวั ครบ 100 ตวั บริจาค
ลูกววั อายุ 2 ขวบ 1ตวั และ 1 ขวบ 2 ตวั เป็นตน้

ผู้มีสิทธ์ิรับซะกาต

ผมู้ ีสิทธ์ิรับซะกาตตามระบุไวใ้ นอลั กรุ อานมีท้งั หมด 8 ประเภท คือ
1. คนอนาถา ไดแ้ ก่ ผยู้ ากจนไม่มีทรัพยส์ ินหรืออาชีพใดๆ

2. คนขดั สน ไดแ้ ก่ ผมู้ ีอาชีพ มีรายได้ แต่ไม่เพียงพอกบั การใชจ้ ่ายจริง

3. เจา้ หนา้ ท่ีเก่ียวกบั ซะกาต ไดแ้ ก่ บุคคลที่ไดร้ ับการไวว้ างใจจากรัฐให้จดั การเก็บรวบรวม
และจ่ายซะกาต

4. ผคู้ วรปลอบใจ ไดแ้ ก่ ผเู้ พ่งิ เขา้ อิสลาม หรือเตรียมเขา้ อิสลาม หรืออาจจะเขา้ อิสลาม
5. ทาสที่ตอ้ งการทรัพยไ์ ปไถ่ตวั เองใหเ้ ป็นอิสระ รับซะกาตเพยี งเท่าที่จะนาไปไถ่ตวั เอง

6. ผูเ้ ป็ นหน้ี หมายถึง เป็ นหน้ีในการประกอบสัมมาอาชีวะ หรือกิจการกุศลทวั่ ไปรับซะกา
ตเพยี งเท่าที่เป็นหน้ี

7. ผสู้ ละชีวิตในแนวทางพระเจา้ รับซะกาตเพียงคา่ ใชจ้ ่ายระหวา่ งดาเนินการ

8. ผูเ้ ดินทาง หมายถึง เมื่อเดินทางแลว้ หมดทุนที่จะเดินทางกลบั มีสิทธ์ิรับซะกาตไดเ้ พียง
คา่ ใชจ้ ่ายท่ีจาเป็น

ซะกาตฟิ ฏเราะฮ์

การบริจาคซะกาตอีกประเภทหน่ึงที่มุสลิมตอ้ งปฏิบตั ิ คือ ซะกาตฟิ ฏเราะฮ์Ž ซ่ึงบริจาคเมื่อถึง
วนั สิ้นเดือนอด (รอมะฎอน)

เป็ นซะกาตที่คิดจากอาหารหลกั ที่บริโภคในทอ้ งถ่ินน้นั ๆ เช่น ขา้ วสาลี เป็ นตน้ นามา บริจาค
โดยคิดเป็นรายบุคคล คนละประมาณ 4 ทะนาน หรือประมาณ 3 ลิตร

การบริจาคซะกาตฟิ ฏเราะฮใ์ หห้ ัวหนา้ ครอบครัวบริจาคเพียงคนเดียว โดยคานวณจากสมาชิก
ในครอบครัว สมาชิกในครอบครัวจานวนเท่าใดกค็ ูณดว้ ย 3 ลิตร แลว้ นาไปบริจาคแก่ ผมู้ ีสิทธ์ิ

5) หลกั การประกอบพธิ ีฮจั ญ์

29

การประกอบพิธีฮจั ญ์ คือ การเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะฮ์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
คาว่า ฮัจญ์ หมายถึง “การเดินทางไปยงั จุดมุ่งหมายเฉพาะอันหน่ึงในแง่กฎหมายของอิสลาม คาน้ีมี
ความหมายวา่ ออกเดินทางไปกะบะห์หรือบยั ดุลลอฮ์ และประกอบพธิ ีฮจั ญ”์

ในชีวิตหน่ึง มุสลิมจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ มหานครเมกกะฮ์ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบียอยา่ งนอ้ ย 1 คร้ัง เป็ นขอ้ บงั คบั สาหรับทุกคนที่มีความสามารถพอจะเดินทาง ไปไดแ้ ละไม่
ทาใหค้ รอบครัวเดือดร้อนระหวา่ งเดินทาง

บทบญั ญตั ิพิธีฮจั ญน์ ้ีกาหนดให้มุสลิมจากทว่ั ทุกมุมโลกไดเ้ ดินทางไปร่วมชุมนุมเพื่อแสดง
พลงั ศรัทธา พลงั เศรษฐกิจ พลงั สังคม และไดม้ ีการแลกเปลี่ยนทางดา้ นต่างๆ อนั เป็ นประโยชน์ต่อสังคม
มุสลิม เช่น การแลกเปล่ียนทางวิชาการ ทางเศรษฐกิจ ทางความคิด ทางขา่ วสาร เป็นตน้

การรวมตวั กนั ในสถานท่ีเดียวกนั เป็นจานวนหลายลา้ นคนเช่นน้ี ทาใหท้ ุกคนไดต้ ระหนกั ถึง
ภราดรภาพ เสมอภาพ และความเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ทางสังคม ซ่ึงจะทาใหท้ ุกคนรักกนั ยง่ิ ๆ ข้ึน ท่ีไม่เคย
รู้จกั กนั กจ็ ะไดร้ ู้จกั กนั และจะทาใหส้ นิทสนมสมคั รสมานกนั

กาหนดเวลาของการไปทาพธิ ีฮัจญ์

ในปี หน่ึงๆ มุสลิมทวั่ โลกจะเดินทางไปประกอบพิธีฮจั ญพ์ ร้อมกนั 1 คร้ัง พิธีน้นั จะทาในเดือน
ซุลฮิจญะฮข์ องแต่ละปี

แต่หากมุสลิมเดินทางไปปฏิบตั ิศาสนกิจ มิใช่ฤดูกาลทาฮจั ญ์ตามกาหนดเวลาดงั กล่าวเรียก
ศาสนกิจน้นั วา่ อุมเราะห์

สถานทใ่ี นการประกอบพธิ ีฮัจญ์

สถานท่ีในการประกอบพธิ ีฮจั ญม์ ีเพยี งแห่งเดียวโลกมุสลิม ไม่สามารถจะไปประกอบพธิ ีฮจั ญท์ ่ี
ไหนกไ็ ดต้ ามใจชอบ เช่น การท่องเท่ียว

สถานท่ีของการประกอบพิธีฮัจญ์อยู่ที่กะอ์บะฮ์ หรือบัยตุลลอห์ในนครเมกกะ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบีย

กะอบ์ ะฮ์ คือ สิ่งก่อสร้างรูปทรงเหล่ียม (มาจากรากศพั ทว์ ่า กะอะบะ แปลว่า นูนข้ึนหรือพอง
ข้ึน) ที่ท่านนบี (ศาสดา) อิบรอฮีมและนบีอิสมาอิล บุตรชายช่วยกนั สร้างข้ึนจากรากเดิมท่ีมีอยตู่ ามที่ไดร้ ับ
บญั ชาจากพระผเู้ ป็ นเจา้ อลั เลาะห์ (ซุบห์) เมื่อประมาณ 200 ปี ก่อนคริสตกาล กะอบ์ ะฮน์ ้ีมีช่ือเรียกอยหู่ ลาย

30

อยา่ งท่ีปรากฏอยใู่ นคมั ภีร์อลั กุรอาน อาทิ อลั -บยั ตุลหะรอมอลั -มิสญิดุลหะรอม บยั ตุลอตีก แต่นามท่ีเป็ นที่
รู้จกั กนั มากท่ีสุด คือ “บยั ตลุ ลอห์” ซ่ึงแปลวา่ บา้ นของอลั ลอฮ์

ฉะน้นั อลั -กะอบ์ ะฮ์ หรือ บยั ตุลลอห์ จึงเป็ นเคหะหลงั แรกท่ีถูกสร้างข้ึนเพ่ือให้เป็ น ศูนยร์ วมแห่ง
ความเคารพภกั ดีต่อองคพ์ ระอลั เลาะห์ (ซุบห์)

ทุ่งอะเราะฟะฮ์ อะเราะฟะฮม์ ีลกั ษณะเป็นทุ่งกวา้ งในหินผาท่ีกวา้ งใหญ่สูงประมาณ 200 ฟุต อยู่
ห่างจากนครเมกกะประมาณ 25 กิโลเมตร เป็ นสถานที่ที่ผูป้ ระกอบพิธีฮจั ญท์ ้งั หมด (ฮุจญาด) จะไปร่วม
ชุมนุมกนั ในวนั ที่ 9 ของเดือนซุลฮิจญะฮ์ ต้งั แต่เชา้ ก่อนถึงพระอาทิตยต์ กเป็นที่เร่ิมแรกของพธิ ีฮจั ญ์ หลงั จาก
ครองผา้ อิห์รอมแลว้ (ชุดขาวจากผา้ 2 ผนื )

ในการคา้ งแรมท่ีอะเราะฟะฮ์น้ี ฮุจญาด (ผไู้ ปประกอบพิธีฮจั ญ)์ จะกางเตน็ ทอ์ ยู่โดยต่างก็มีธง
ชาติของประเทศตนติดต้งั ไว้

ทุ่งน้ีเป็ นท่ีชุมนุมของคนทว่ั โลก จากจานวนร้อย เป็ นพนั เป็ นหมื่น เป็ นแสน และเป็ นลา้ นใน
ปัจจุบนั ในจานวนน้ีมีท้งั ราชาและยาจก นายและบ่าว ผิวขาว ผวิ ดา ผิวเหลือง แต่ทุกคนแต่งกายเหมือนกนั
ดว้ ยผา้ ขาวเพียง 2 ชิ้น ทุกคนเท่าเทียมกนั เป็ นพี่นอ้ งกนั หวั ใจจานวนลา้ นดวงในที่เดียวกนั ต่างมุ่งอยทู่ ี่พระ
เจา้ องคเ์ ดียวกนั และต่างอยใู่ นความสารวมความนอบนอ้ มต่อพระองค์ ขอพรจากพระองค์ เป็ นการมาหยดุ
มาพกั แรมอยดู่ ว้ ยกนั ดว้ ยความสงบ จึงเรียกการปฏิบตั ิน้ีวา่ วกู ฟู (วกู ฟู แปลวา่ หยดุ สงบ น่ิง)

เม่ือเสร็จจากการวกู ฟู ฮุจญาดจะเดินทางไปยงั ทุ่งมีนาเพ่ือไปคา้ งแรมท่ีน้นั 3 วนั 3 คืน เพ่อื ขวา้ ง
เสาหิน

แต่เนื่องจากการเดินทางอยใู่ นระหวา่ งกลางคืน ท่านศาสดา (ศอ็ ลฯ) จึงคา้ งคืนท่ีทุ่ง มุสตะลิฟะฮ์
1 คืน จึงออกเดินทางไปทุ่งมีนาในตอนเชา้ ของวนั ที่ 10

สาหรับมุสลิมที่มิไดเ้ ดินทางไปประกอบพิธีฮจั ญ์ ถือว่าวนั รุ่งข้ึนจากการวูกูฟของผไู้ ปประกอบ
พิธีฮจั ญ์ คือ วนั อีดุลอฏั ฮา หรือที่ชาวไทยมุสลิมนิยมเรียกวา่ ออกฮจั ญี

อน่ึง ณ ทุ่งอะเราะฟะฮ์แห่งน้ี คือ สถานท่ีซ่ึงท่านศาสดามุฮมั มดั (ศ็อลฯ) แสดงปัจฉิมเทศนา
หรือการกล่าวอบรมในท่ีชุมนุมเป็นคร้ังสุดทา้ ย

การแต่งกายในพธิ ีฮัจญ์

ผชู้ ายทุกคนจะแต่งกายดว้ ยผา้ ขาว 2 ชิ้นที่ไม่มีการเยบ็ ส่วนหญิงจะแต่งกายดว้ ยชุดท่ีมิดชิด (เปิ ด
ไดเ้ ฉพาะฝ่ ามือและใบหนา้ ) โดยไม่มีเครื่องประดบั ใดๆ ท้งั สิ้น การครองผา้ ขาวน้ีเรียกวา่ อิห์รอม

31

“หลกั ขอ้ แรกของการบาเพญ็ ฮจั ญ์ ไดแ้ ก่ อิห์รอมจากมีกอต หมายถึง การครองผา้ สองชิ้นดว้ ยการ
ต้งั ใจจะบาเพญ็ ฮจั ญ์จากเขตสถานท่ีแห่งหน่ึง เรียกว่า ยะลมั ลมั ซ่ึงอยู่ห่างจากเมืองฮิตดะห์ (เมืองท่าของ
ซาอุดิอาระเบีย) ประมาณ 63 กิโลเมตร”

การประกอบพธิ ีฮัจญ์

ต้งั แต่เริ่มครองอิห์รอมจนเปล้ืองอิห์รอมเม่ือเสร็จพิธีไม่ว่าฮุจญาดจะมาจากส่วนใดของโลกจะ
ต่างเริ่มกล่าวสรรเสริญดว้ ยภาษาเดียวกนั กอ้ งกระห่ึมไปทว่ั คือ “ลบั บยั กลั ลอฮุมมะลบั บยั กะลาซารีกะลกั ”

“โออ้ ลั ลอฮ์ ขา้ พระองคข์ อนอบนอ้ มคาเชิญของพระองค์ ไม่มีผใู้ ดเทียบเท่าพระองค”์

ข้นั ตอนของพธิ ีฮัจญ์ สรุปได้ดังนี้

1. การครองอิห์รอม

2. การวกู ฟู (พกั สงบ) ท่ีทุ่งอะเราะฟะฮ์

3. การคา้ งแรมท่ีทุ่งมุสตะลิฟะฮ์ 1 คืน แลว้ เดินทางไปอยทู่ ี่ทุ่งมีนา 3 คืน เพื่อขวา้ ง เสาหิน

4. การเฏาะวาฟ คือ เดินเวียน (ซา้ ย) รอบบยั ตุลลอห์ 7 รอบ

5. สะแอ คือ การเดินและวิง่ กลบั ไปกลบั มาระหวา่ งอลั เศาะฟากบั อลั มรั วะฮ์ 7 เท่ียว

6. การทากุรบานหรือเชือดสัตวพ์ ลี สาหรับผูท้ ี่มีความสามารถ หรือการถือศีลอดทดแทน 7
วนั

7. โกนหรือตดั ผม เสร็จแลว้ จึงเปล้ืองชุดอิห์รอม

พิธีฮจั ญเ์ ป็นศาสนกิจขอ้ ที่ 5 ของมุสลิม เป็นขอ้ เดียวในหลกั ปฏิบตั ิ 5 ประการท่ีใชป้ ฏิบตั ิเฉพาะ
บุคคลท่ีมีความสามารถเท่าน้นั บุคคลท่ีมีความสามารถในการประกอบพิธีฮจั ญ์ หมายถึง มุสลิมที่มีสุขภาพ
แขง็ แรงท้งั ร่างกายและจิตใจ มีสติปัญญาท่ีสมบูรณ์ท่ีมีทรัพยส์ ินเพียงพอในการใชจ้ ่ายโดยมิตอ้ งเป็นหน้ีสิน
และเดือดร้อนบุคคลท่ีอยู่ขา้ งหลงั และเส้นทางท่ีเดินทางไปจะตอ้ งปลอดภยั นอกจากน้ีจะตอ้ งเป็ นผูท้ ี่
ประกอบศาสนกิจขอ้ อื่นๆ เช่น การละหมาด การถือศีลอด การบริจาคซะกาตสมบูรณ์เสียก่อน การไป
ประกอบพิธีฮจั ญม์ ิใช่เพื่อโออ้ วดหรือเพื่อแสดงความมง่ั คงั่ ของตน แต่เป็ นการไปเพื่อทดสอบความศรัทธา
และความเขม้ แขง็ อดทน

32

ในปี หน่ึงๆ มุสลิมจากทวั่ โลกจะเดินทางไปประกอบพิธีฮจั ญพ์ ร้อมกนั ที่เมืองเมกกะ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบีย ซ่ึงเป็นสถานท่ีแห่งเดียวในโลกที่ใชป้ ระกอบพิธีจะทาในเดือนซูล้ (เดือนที่ 12 ของเดือนฮิจญ์
เราะฮศ์ กั ราช) โดยใชเ้ วลาประมาณ 1 สัปดาห์

มุสลิมท่ีเขา้ ร่วมในการประกอบพธิ ีฮจั ญจ์ ะตอ้ งทาพธิ ีตามลาดบั ต่อไปน้ี

1. การครองอิห์รอม คือ การนุ่งห่มดว้ ยผา้ ขาวสองผนื เรียกวา่ ครองอิห์รอม ผทู้ ่ีเขา้ ร่วมในการ
ประกอบพิธีฮจั ญท์ ่ีเป็ นชายจะตอ้ งแต่งกายดว้ ยผา้ ขาวสองผนื ส่วนหญิงจะตอ้ งปิ ดมิดชิดเวน้ แต่ใบหนา้ และ
ฝ่ ามือ เพราะฉะน้นั ทุกคนจึงแต่งเหมือนกนั หมดไม่วา่ จะเป็นเศรษฐีหรือยาจก ผวิ ขาวหรือผวิ ดา นายหรือบ่าว
เพราะทุกคนเสมอภาคกนั หมด

2. การวกู ฟู คือ การพกั สงบท่ีทุ่งอะเราะฟะฮ์ (อะเราะฟะฮ์ เป็นชื่อตาบลหน่ึงของเมืองเมกกะ)
ซ่ึงห่างจากเมืองเมกกะประมาณ 12 กิโลเมตร บริเวณสาหรับวกู ฟู น้ีเป็นลานทรายกวา้ งใหญ่ท่ีมีเทือกเขาเรียง
รายเป็ นรูปคร่ึงวงกลม ทิศเหนือมีเนินเขาช่ือ ญะบลั เราะห์ ซ่ึงเคยเป็ นส่วนหน่ึงเป็ นสถานท่ีวูกูฟของท่าน
เราะซูล

การวูกูฟเป็ นขอ้ ท่ีปฏิบตั ิประการหน่ึงของพิธีฮจั ญ์ ผูท้ ี่ขาดการวูกูฟยอ่ มไม่ไดฮ้ จั ญ์ การวูกูฟ
จะเริ่มต้งั แต่ตะวนั คลอ้ ยของวนั ที่ 9 เดือนซูล้

3. การคา้ งแรมที่ทุ่งมุสตะลิฟะฮ์ 1 คืน แลว้ เดินทางไปทุ่งมีนาเพื่อขวา้ งเสาหินคา้ งแรมท่ีทุ่งมี
นา 3 วนั 3 คืน

4. การเฏาะวาฟ คือ การเดินเวียนรอบบยั ตุลลอฮ์ 7 รอบ การเฏาะวาฟตอ้ งเริ่มตน้ จากแนวของ
หินดาและตอ้ งปฏิบตั ิดงั น้ี

– ตอ้ งมีน้าละหมาด

– แต่งกายปกปิ ดเรียบร้อย

– เนียตเฏาะวาฟก่อนจะเร่ิมตน้ เฏาะวาฟ

– ตอ้ งเริ่มจากหินดา

– ตอ้ งเวยี นใหค้ รบ 7 รอบ โดยเวียนติดต่อกนั ไปไม่ขาดระยะ

– ใหเ้ วียนซา้ ยใหบ้ ยั ตุลลอฮอ์ ยทู่ างดา้ นซา้ ยมือโดยใหแ้ นวอกต้งั ฉากกบั บยั ตุลลอฮเ์ สมอ

33

– ให้จูบหินดา หากคนแน่นจนทาไม่ไดก้ ็ให้เอามือลูบหินดาแลว้ จึงเอามือมาจูบหากยงั ทา
ไม่ไดอ้ ีกกใ็ หท้ าท่าจูบหรือลูบหินดาแลว้ จึงเอามือจูบ

5. สะแอ คือ การเดินระหวา่ งเศาะฟา มรั วะฮ์ ซ่ึงมีความยาวประมาณ 410 เมตร โดยเดินเวียน
รอบประมาณ 7 เท่ียว เงื่อนไขการสะแอมีดงั น้ี

– ตอ้ งเร่ิมท่ีเนินเขาเศาะฟา

– ตอ้ งสิ้นสุดท่ีเนินเขามรั วะฮ์

– ตอ้ งเดินตามเสน้ ทางที่กาหนด

– ตอ้ งเดินใหค้ รบ 7 รอบ

– หากไม่แน่ใจในจานวนเที่ยว ให้ถือว่าเอาจานวนนอ้ ยเป็ นหลกั แลว้ สะแอต่อไปจนแน่ใจ
วา่ ครบ 7 เที่ยว

6. การทากุรบาน คือ การเชือดสัตวเ์ พื่อเป็ นทาน ผทู้ ี่กระทาบกพร่องหรือละเมิดขอ้ ห้ามต่างๆ
ระหวา่ งพธิ ีฮจั ญ์ จะตอ้ งเสียคา่ ปรับหรือค่าทดแทนที่รียกวา่ การเสียดมั การเสียดมั น้ี อาจจะเป็นการกระทาได้
ดว้ ยตนเองหรือมอบหมายใหผ้ อู้ ่ืนทาแทนโดยเชือดสัตวห์ รือนาอาหารมาแทน บริจาคแก่คนยากจน แลว้ แต่
กรณี เช่น

– ผบู้ าเพญ็ ฮจั ญร์ ่วมประเวณีระหวา่ งอิห์รอมถือวา่ มีความผดิ หนกั ทาใหพ้ ิธีฮจั ญน์ ้นั เสียตอ้ ง
กระทาไดด้ ว้ ยตนเองหรือมอบหมายให้ผอู้ ่ืนทาแทนโดยเชือดสัตวห์ รือนาอาหารมาแทนและตอ้ งกระทาพิธี
ฮจั ญต์ ่อไปจนจบและตอ้ ง ประกอบพธิ ีฮจั ญอ์ ีกต่อไป นอกจากน้ียงั ตอ้ งเสียดมั

– หา้ มล่าสตั วห์ รือช่วยเหลือการล่าสตั ว์

– เม่ือผบู้ าเพญ็ ฮจั ญบ์ กพร่องในเน่ืองต่อไปน้ี เช่น ใชเ้ ครื่องหอม ตดั เลบ็ ตดั หรือถอนตน้ ไม้
ให้เสียดมั โดยเชือดแพะหรือแกะ 1 ตวั หรือถือศีลอด 3 วนั หรือบริจาคขา้ วสารแก่คนยากจน 6 คน คนละ
คร่ึงมุด (ทะนานอาหรับ)

7. โกนหรือตดั ผม เม่ือเสร็จจากการสะแอแลว้ ใหโ้ กนผมหรือตดั ผมอยา่ งนอ้ ย 3 เสน้ เสร็จแลว้
จึงเปล้ืองชุดอิห์รอม

34

ความมุ่งหมายของการประกอบพธิ ีฮัจญ์

1. เพ่ือใหม้ ุสลิมจากทวั่ โลกไดม้ ีโอกาสพบปะสงั สรรคก์ นั อนั จะก่อใหเ้ กิดสมั พนั ธภาพและ
ภารดรภาพ

2. เพื่อให้เกิดความเสมอภาค เพราะผูท้ ่ีมาบาเพญ็ ฮจั ญใ์ นปี หน่ึงๆ จะมีเช้ือชาติ ผิวพรรณ
ฐานะ ฯลฯ แตกต่างกนั แต่ทุกคนต่างอยู่ในชุดอิห์รอมเหมือนกนั หมดและทาพิธีอย่างเดียวกนั ไม่มีใครมี
อภิสิ ทธ์ ิใดๆ

3. เพ่ือเป็นการทดสอบความอดทนและในดา้ นการเสียสละส่ิงต่างๆ ในหนทางของพระเจา้
ต้งั แต่ทรัพยส์ ินเงินทองในการใชจ้ ่าย การตอ้ งละทิ้งบา้ นเรือนครอบครัวและญาติพ่นี อ้ ง

4. เพอื่ ฝึกฝนและทดสอบความอดทนท้งั ร่างกายและจิตใจ

5. ฝึ กการสารวมตน ละทิ้งอภิสิทธ์ิต่างๆ เพราะทุกคนตอ้ งปฎิบตั ิตามวินยั บญั ญตั ิของพิธี
ฮจั ญเ์ หมือนกนั ท้งั หมด เช่น งดเวน้ จากการล่าสตั ว์ การตดั ตน้ ไม้ การร่วมประเวณี เป็นตน้

6. เพ่อื ใหม้ ุสลิมไดร้ ะลึกถึงประวตั ิศาสตร์ของอิสลามและเป็นการปลูกศรัทธามนั่ คง

7. เป็ นการแสดงถึงเอกภาพของพระผูเ้ ป็ นเจา้ ในการที่มุสลิมจากทว่ั โลก จานวนนบั แสน
เดินทางไปรวมกนั ณ ท่ีแห่งเดียวกนั ในชุดแบบเดียวกนั กระทาพิธีอยา่ งพร้อมเพรียงกนั ในทุกๆ ปี

อย่างไรก็ตาม ผูท้ ี่ไปบาเพ็ญฮจั ญเ์ ม่ือกลบั มาแลว้ ยงั เป็ นคนธรรมดา มิไดเ้ ป็ นพระและมิไดม้ ีสิทธิ
พิเศษใดๆ ศาสนาอิสลามเปิ ดโอกาสให้ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกนั ไม่ถืออภิสิทธ์ิชน เพราะทุกคนต่างก็เป็ น
บ่าวของอลั ลอฮ์ วิธีการดาเนินชีวิตอยภู่ ายใตก้ ฎหมายของอลั ลอฮเ์ หมือนกนั แมแ้ ต่ผปู้ กครองก็ไม่มีสิทธ์ิใช้
ตาแหน่งหนา้ ท่ีและอานาจขม่ ข่หู รือเอาเปรียบประชาชน ศาสนาอิสลามถือวา่ ผปู้ กครองที่ดีน้นั คือ ผปู้ กครอง
ท่ีรับใชป้ ระชาชนดว้ ยความซ่ือสตั ยแ์ ละบริสุทธ์ิใจนน่ั เอง

3. หลกั คุณธรรมหรือหลกั ความดี (อหิ ์ซาน)

หลกั คุณธรรมหรือหลกั ความดี คือการกาหนดว่าสิ่งใดที่ควรปฏิบตั ิ และสิ่งใดตอ้ งละเวน้
ขอ้ กาหนดเหล่าน้ีปรากฏอยู่แลว้ ในคมั ภีร์อลั กุรอาน ซ่ึงแยกออกเป็ นสองตอนคือการกระทาที่อนุญาต
เรียกวา่ ฮะลาล (HALAL) และการกระทาท่ีตอ้ งหา้ ม เรียกวา่ ฮะรอม (HARAM)

1) การกระทาท่ีอนุญาต หมายถึง การอนุญาตใหก้ ระทาความดี ซ่ึงความดีในศาสนาอิสลาม
หมายถึงสิ่งใดก็ตามที่ไดร้ ะบุไวใ้ นคมั ภีร์อลั กุรอาน ว่า ดี สิ่งน้ันตอ้ งดี ไม่ว่าคนท้งั หลายจะเห็นชอบดว้ ย
หรือไม่กต็ าม ตวั อยา่ งของการกระทาที่จดั เป็นการกระทาท่ีดีในศาสนาอิสลาม เช่น

35

– บอกทางใหแ้ ก่ผหู้ ลงทาง
– หยบิ สิ่งอนั ตรายออกจากทางเดิน
– ไม่เขา้ ใกลเ้ คร่ืองด่ืมและของมึนเมา
– ไม่เขา้ ใกลส้ ิ่งลามกอนาจาร
– ต่อสูถ้ า้ มีการกดขี่
– พดู ความจริงต่อหนา้ ผปู้ กครอง
– จ่ายค่าแรงก่อนเหง่ือจะแหง้
– ไม่เป็นคนหลงชาติหลงตระกลู
– ไม่เป็ นคนทาบุญเอาหน้าหวงั ชื่อเสียงหรือตอ้ งการให้ชื่อของตนไปติดอยู่ท่ีอาคารใด
อาคารหน่ึง
– การไม่กินดอกเบ้ีย ไม่ติดสินบน
– การแต่งงานที่ใชเ้ งินนอ้ ยและมีความวนุ่ วายนอ้ ยท่ีสุด
– การยกฐานะคนใชใ้ หม้ ีการกินอยเู่ หมือนกบั ตน
– ฯลฯ

2) การกระทาที่ตอ้ งห้าม หมายถึง การห้ามกระทาความชวั่ ซ่ึงความชวั่ ในศาสนาอิสลาม
หมายถึง สิ่งใดกต็ ามที่ไดร้ ะบุไวใ้ นคมั ภีร์อลั กรุ อาน วา่ ชวั่ สิ่งน้นั ตอ้ งชวั่ ไม่วา่ คนท้งั หลายจะเห็นดว้ ยหรือไม่
กต็ าม ตวั อยา่ งของการกระทาที่จดั เป็นการกระทาชวั่ ในศาสนาอิสลาม เช่น

– การต้งั ภาคี หรือยึดถือ นาสิ่งอ่ืนมาเทียบเคียงอลั ลอฮ์ เช่น เงินตรา วงศต์ ระกูล เกียรติยศ
ชื่อเสียง ประเพณี แมแ้ ต่อารมณ์กจ็ ะนามาเป็นใหญ่ในตวั เองไม่ได้

– การกราบไหวบ้ ูชารูปป้ัน วตั ถุ ตน้ ไม้ กอ้ นอิฐ ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาว แม่น้า ภูเขา
หา้ มกราบไหวผ้ สี างเทวดา นางไม้ หา้ มเซ่นไหวส้ ิ่งใดๆ ท้งั สิ้น

– การเชื่อในเรื่องดวง ผกู ดวง ดูหมอ ตรวจดูชะตาราศี ดูลายมือ ถือโชคลาง เล่นเครื่องราง

ของขลงั

36

– การเล่นการพนนั ทุกชนิด เสี่ยงทาย เส่ียงโชค เล่มมา้ ลอ็ ตเตอร่ี หวยเบอร์

– การกินสตั วท์ ี่ตายเอง สตั วท์ ี่มีโรค กินหมู กินสัตวท์ ี่นาไปเซ่นไหว้ สัตวท์ ี่ถูกรัดคอใหต้ าย
โดยที่มิไดเ้ ชือดใหเ้ ลือดไหล สตั วท์ ่ีเชือดโดยมิไดก้ ล่าวนามของอลั ลอฮฺ

– การกินดอกเบ้ีย

– การเสพสุราและส่ิงมึนเมาทุกชนิด รวมท้งั ยาเสพติด เช่น กญั ชา ฝิ่น เฮโรอีน

– การผดิ ประเวณี แมจ้ ะเป็นการสมคั รใจดว้ ยกนั ท้งั สองฝ่ ายกต็ าม

– การประกอบอาชีพท่ีไม่ชอบดว้ ยศีลธรรมหรืออาชีพที่จะนาไปสู่ความหายนะ เช่น ต้งั
ซ่อง โรงเหลา้ บาร์ อาบอบนวด ปล่อยเงินกโู้ ดยวิธีเกบ็ ดอกเบ้ีย รับซ้ือของโจร และเปิ ดสถานเริงรมยท์ ุกชนิด

– การบริโภคอาหารท่ีหามาไดโ้ ดยไม่ชอบ

– การกกั ตุนสินคา้ เพื่อนาออกมาขายดว้ ยราคาสูงเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนอดอยาก

– การกระทาใดๆ ท่ีเป็ นการสร้างความเดือดร้อนแก่ตนเอง เพ่ือนบ้าน สังคม และ
ประเทศชาติ

– ฯลฯ

หลกั คุณธรรมเป็ นหลกั คาสอนท่ีสนองตอบหลกั ศรัทธาและหลกั ปฏิบตั ิ เพราะการสร้าง
คุณธรรมสูงสุดให้เกิดข้ึนในจิตใจ จะตอ้ งผ่านหลกั ศรัทธาและหลกั ปฏิบตั ิอย่างครบถว้ นสมบูรณ์แบบ
เสียก่อน มิฉะน้นั คุณธรรมทางใจจะไม่สามารถเกิดข้ึนได้ กล่าวคือ เม่ือมีศรัทธามน่ั ใจในองคอ์ ลั ลอฮ์ และมี
การปฏิบตั ิสนองคาบญั ชาของพระองคอ์ ย่างครบถว้ นและเคร่งครัดเป็ นนิจศีลแลว้ จิตใจก็จะแนบเน่ืองกบั
พระองค์ กิเลสตณั หาที่แทรกซอ้ นในอารมณ์กจ็ ะถูกปลดเปล้ืองออกจนหมดสิ้น

หลกั สามประการดงั ท่ีกล่าวมาน้ี เป็นหลกั ธรรมข้นั พ้ืนฐานที่จาเป็นสาหรับมุสลิมทุกคนตอ้ ง
ปฏิบตั ิและมีอยใู่ นดวงจิตของตน ซ่ึงเป็ นหนา้ ท่ีเฉพาะตวั ของมุสลิมแต่ละคน เม่ือปฏิบตั ิหลกั สามประการน้ี
ครบถว้ นแลว้ หนา้ ท่ีอนั ดบั ต่อมาคือ การรับหลกั ธรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั บุคคลอื่นหรือที่เรียกวา่ “หลกั ธรรมทาง
สงั คม” ซ่ึงสงั คมในท่ีน้ีหมายถึง บุคคลอ่ืนท่ีไม่ใช่

37

ศาสนวนิ ัย นิตศิ าสตร์และการพพิ ากษา

1.วาญิบ คือหลกั ปฏิบตั ิภาคบงั คบั ท่ีมุกลั ลฟั (มุสลิมผอู้ ยใู่ นศาสนนิติภาวะ) ทุกคน ตอ้ งปฏิบตั ิตาม ผู้
ท่ีไม่ปฏิบตั ิตามจะตอ้ งถูกลงทณั ฑ์ เช่นการปฏิบตั ิตาม ฐานบญั ญตั ิของอิสลาม (รุกน) ต่าง ๆ การศึกษา
วิทยาการอิสลาม การทามาหากินเพ่ือเล้ียงดูครอบครัว เป็นตน้

2.ฮะรอม คือกฏบญั ญตั ิหา้ มท่ีมุกลั ลฟั ทุกคนตอ้ งละเวน้ ผทู้ ี่ไม่ละเวน้ จะตอ้ งถูกลงทณั ฑ์

3.ฮะลาล คือกฏบญั ญตั ิอนุมตั ิให้มุกลั ลฟั กระทาได้ อนั ไดแ้ ก่ การนึกคิด วาจา และการกระทาท่ี
ศาสนาไดอ้ นุมตั ิให้ เช่น การรับประทานเน้ือปศุสัตวท์ ่ีไดร้ ับการเชือดอยา่ งถูกตอ้ ง การคา้ ขายโดยสุจริตวิธี
การสมรสกบั สตรีตามกฏเกณฑท์ ่ีไดร้ ะบุไว้ เป็นตน้

4.มุสตะฮบั หรือที่เรียกกนั ติดปากวา่ ซุนนะหฺ (ซุนนะห์, ซุนนตั ) คือกฏบญั ญตั ิชกั ชวนใหม้ ุสลิม และ
มุกลั ลฟั กระทา หากไม่ปฏิบตั ิก็ไม่ไดเ้ ป็ นการฝ่ าฝื นศาสนวินยั โดยทวั่ ไปจะเก่ียวขอ้ งกบั หลกั จริยธรรม เช่น
การใชน้ ้าหอม การขริบเลบ็ ใหส้ ้นั เสมอ การนมาซนอกเหนือการนมาซภาคบงั คบั

5. มกั รูฮฺคือกฏบญั ญตั ิอนุมตั ิให้มุกัลลฟั กระทาได้ แต่พึงละเวน้ คาว่า มกั รูหฺ ในภาษาอาหรับมี
ความหมายว่า น่ารังเกียจ โดยทว่ั ไปจะเก่ียวขอ้ งกบั หลกั จริยธรรม เช่นการรับประทานอาหารท่ีมีกล่ินน่า
รังเกียจ การสวมเส้ือผา้ อาภรณ์ที่ขดั ต่อกาลเทศะ เป็นตน้

6.มุบาฮฺคือสิ่งท่ีกฏบญั ญตั ิไม่ไดร้ ะบุเจาะจง จึงเป็นความอิสระสาหรับมุกลั ลฟั ท่ีจะเลือกกระทาหรือ
ละเวน้ เช่นการเลือกพาหนะ อุปกรณ์เคร่ืองใช้ หรือ การเล่นกีฬาท่ีไม่ขดั ต่อบทบญั ญตั ิหา้ ม

ฐานบัญญตั อิ สิ ลาม (รุกนุ ) ของซุนนีย์

1. การปฏิญาณตนวา่ ไม่มีพระเจา้ อ่ืนใดนอกจากอลั ลอฮฺ

2. และมุฮมั มดั เป็นศาสนทูตของอลั ลอฮฺ

3. ดารงการนมาซ วนั ละ 5 เวลา

4. จ่ายซะกาต

5. ถือศีลอดในเดือนรอมฎอนทุกปี

6. บาเพญ็ ฮจั ญห์ ากมีความสามารถ

38

ฐานบัญญตั ิอสิ ลาม (รุกนุ ) ของชีอะหฺ

1. ดารงการนมาซวนั ละ 5 เวลา

2. จ่ายซกาต (ทานบงั คบั )

3. ายคุมซ์นน่ั คือ จ่ายภาษี 1 ใน 5 ใหแ้ ก่ผปู้ กครองอิสลาม

4. บาเพญ็ ฮจั ญห์ ากมีความสามารถท้งั กาลงั กาย และกาลงั ทรัพย์

5. ถือศีลอดในเดือนรอมฎอนทุกปี

6. ญิฮาดนนั่ คือการปกป้องและเผยแผศ่ าสนาดว้ ยทรัพยแ์ ละชีวติ

7. สง่ั ใชใ้ นส่ิงที่ดี

8. สง่ั หา้ มไม่ใหท้ าชวั่

9. การภกั ดีต่อบรรดาอิมามอนั เป็นผนู้ าท่ีศาสนากาหนด

10. การตดั ขาดจากศตั รูของบรรดาอิมามอนั เป็นผนู้ าที่ศาสนากาหนด

กฎบญั ญตั หิ ้ามในอสิ ลาม (ฮะรอม) ในซุนนีย์และชีอะหฺ

มี 63 ขอ้ ขอยกมาเป็นตวั อยา่ ง 30 ขอ้ ดงั น้ี

1. การต้งั ภาคีต่ออลั ลอฮฺ 2. การแหนงหน่ายต่อความเมตตาของอลั ลอฮฺ

3. การหมดหวงั ในความเมตตาต่ออลั ลอฮฺ 4. การเชื่อวา่ สามารถรอดพน้ จากการลงโทษของอลั ลอฮฺ

5. การสงั หารชีวิตผไู้ ม่มีความผดิ 6. การเนรคุณต่อมารดาและบิดา

7. การตดั ขาดจากญาติพนี่ อ้ ง 8. การกินทรัพยส์ ินของลูกกาพร้าโดยอธรรม

9. การกินดอกเบ้ีย 10. การผดิ ประเวณี

11. การรักร่วมเพศระหวา่ งชาย 12. การใส่ร้ายผบู้ ริสุทธ์ิวา่ ทาผดิ ประเวณีหรือรักร่วมเพศ

13. การดื่มสุราเมรัยหรือทาการใดท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั สุราเมรัย 14. เล่นการพนนั

15. การอยกู่ บั การละเล่นบนั เทิง 16. การฟังหรือขบั ร้องเพลงและเล่นดนตรี

17. การพดู เทจ็ 18. การสาบานเทจ็

39

19. การเป็นพยานเทจ็ 20. การไม่ยอมใหก้ ารหรือเป็นพยาน

21. การผดิ สญั ญา 22. การทาลายไม่รับผดิ ชอบส่ิงท่ีไดร้ ับมอบหมาย

23. การขโมยลกั ทรัพย์ 24. การหลอกลวง

25. การรับประทานอาหาร หรือดื่มเคร่ืองด่ืมท่ีไดม้ าโดยทุจริตวธิ ี 26. อิจฉาริษยา

27. การหนีจากสงครามศาสนา 28. การรักร่วมเพศระหวา่ งหญิง

29. การฝักใฝ่ กบั ผอู้ ธรรม 30. การไม่ช่วยเหลือผถู้ ูกอธรรม

กฎข้อห้ามหลกั ในศาสนาอสิ ลาม

ศาสนาอิสลามจดั ไดว้ ่าเป็นอีกศาสนาหน่ึงท่ีมีการบญั ญตั ิกฎขอ้ หา้ มเก่ียวกบั การกระทาต่างๆ เอาไว้
อยา่ งชดั เจน ท้งั น้ีเพือ่ ใหผ้ ทู้ ี่นบั ถือศาสนาอิสลามทุกคนไดร้ ับรู้วา่ มีกฎขอ้ หา้ มอะไรบา้ งที่ไม่ควรปฏิบตั ิ ถือวา่
เป็นบทบญั ญตั ิที่ทาใหค้ นผนู้ าถือศาสนาอิสลามมีความเคร่งครัดในเรื่องการปฏิบตั ิตนมากข้ึนดว้ ย ถือวา่ เป็น
เรื่องที่ดีที่ทาใหร้ ับรู้ไดว้ า่ แต่ละศาสนาเองกม็ ีหลกั ขอ้ หา้ มท่ีคลา้ ยคลึงกนั

1. หา้ มมุสลิมะห์หรือผหู้ ญิงที่นบั ถือศาสนาอิสลามยนิ ยอมให้ผอู้ ื่นเขา้ มาในบา้ นของตวั เองนอกเสีย
จากวา่ จะไดร้ ับอนุญาตจากสามีเป็นท่ีเรียบร้อยแลว้

2. หา้ มใหม้ ุสลิมะห์หรือผหู้ ญิงท่ีนบั ถือศาสนาอิสลามใหร้ ้ายในเร่ืองต่างๆ กบั สามีตวั เองในโลกดุน
ยา เหตุผลก็มาจากภรรยาของเขาที่นับไดว้ ่าเป็ นนางมาจากสวรรค์จะมีการกล่าวว่า ขอให้อลั เลาะห์ทรง
ลงโทษกบั เธอ เพราะในความเป็ นจริงแลว้ เขาคือคนท่ีอยู่ใกลช้ ิดกบั เธอ แต่ก็เกรงว่าเขาจะถูกพรากจากเธอ
เพือ่ มาหาเรา

3. ห้ามรับประทานอาหารดว้ ยมือขา้ งซา้ ยเป็ นอนั ขาด เหตุเพราะชยั ฎอนมีการรับประทานอาหาร
ดว้ ยมือซา้ ย

4. ทุกๆ คนอย่าพยายามทาอะไรแข่งกบั อิหม่าม หรือผูน้ าในศาสนาอิสลาม พูดง่ายๆ ก็คือ เมื่อ
อิหม่ามอ่านคาสวดก็ให้อ่านตาม หรืออิหม่ามทาอะไรท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ศาสนาก็ตามให้คนท่ีนับถือศาสนา
อิสลามทาตามอยา่ งเคร่งครัด

5. เม่ือมุสลิมะห์หรือผหู้ ญิงท่ีนบั ถือศาสนาอิสลามอยดู่ ว้ ยกนั อยา่ ไดบ้ รรยายรูปร่างของหญิงสาวอื่น
ใหก้ บั สามีฟัง เหตุเพราะมนั กาลงั เหมือนทาใหส้ ามีของตนเองมองไปยงั หญิงอื่น

40

6. อยา่ ไดเ้ จาะจงเพียงแค่คืนวนั ศุกร์เพ่ือทาการละหมาด ที่สาคญั อยา่ ไดย้ ดึ ถือแค่การถือศีลอดในวนั
ศุกร์แต่ไม่ไดท้ าการใส่ใจในวนั อ่ืนๆ นอกจากจะเป็นวนั ท่ีมีการกาหนดใหถ้ ือศีลอด

7. อย่าไดม้ ีการดูถูกการตอบแทนการทาดีในสิ่งใดสิ่งหน่ึง แมแ้ ต่เรื่องของการพบกบั พ่ีน้องของ
ตนเองดว้ ยสีหนา้ ที่ยมิ้ แยม้ เบิกบานกต็ ามที

8. มลาอิกะฮจ์ ะไม่ทาการเขา้ บา้ นที่มีสิ่งของจาพวกรูปป้ันหรือภาพแขวนต่างๆ อยใู่ นบา้ นเดด็ ขาด
9. ทุกๆ คนหา้ มตาหนิคาสอนต่างๆ ของพระศาสดาเป็นอนั ขาด
ศาสนาอสิ ลามมขี ้อห้ามเด็ดขาดอยู่ ๔ ประการ
๑. การรับประทานเน้ือหมูและสตั วต์ ายเองซ่ึงมิไดเ้ ชือด และเลือดของสตั ว์
๒. การใหเ้ งินกคู้ ิดดอกเบ้ีย (เพราะศาสนาอิสลามสอนใหค้ นร่ารวยช่วยเหลือคนยากจน)
๓. การเสพสุรา และสิ่งเสพติดท้งั หลายท่ีใหโ้ ทษต่อร่างกาย แมบ้ ุหร่ี
๔. การเล่นการพนนั และการเส่ียงทายทุกชนิด

41

นักบวช สาวกศาสนาอสิ ลาม

ศาสนิกชนผนู้ บั ถือ ศาสนาอิสลาม เรียกว่า “อิสลามิกชน ”หรือ“ มุสลิม ” มุสลิม ทุกคนตอ้ งปฏิบตั ิ
ศาสนากิจเหมือนกันหมด ไม่มีพระหรือนักบวชเพื่อทาหน้าที่ประกอบพิธีกรรม และเผยแผ่ ศาสนา
โดยเฉพาะ เช่น อิหม่าม( โต๊ะอิหม่าม)ก็เป็ นเพียงผนู้ าในการละหมาดเท่าน้นั มิใช่ พระที่ทาหนา้ ท่ีเป็ นกลาง
ระหว่างพระเจา้ กบั มนุษย์ ดงั น้ัน มุสลิม ทุกคนจึงมีหน้าที่สืบทอดศาสนาอิสลามดว้ ย การปฏิบตั ิตนตาม
หลกั การศาสนา ศึกษาและเรียนรู้หลกั คาสอนของศาสนา ใหร้ ู้แจง้ เห็นจริง

อิหม่ามเป็นผนู้ าการอธิษฐานและการบริการของอิสลาม แต่อาจมีบทบาทใหญ่ในการใหก้ าร
สนบั สนุนจากชุมชนและคาแนะนาทางจิตวญิ ญาณ เลือกอิหม่ามในระดบั ชุมชน สมาชิกในชุมชนเลือกคนที่
มีความรู้และฉลาด อิหม่ามควรรู้จกั และเขา้ ใจ กรุ อาน และสามารถอ่านมนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและสวยงาม
อิหม่ามเป็นสมาชิกที่น่าเคารพของชุมชน ในบางชุมชนอิหม่ามอาจไดร้ ับการคดั เลือกและไดร้ ับการวา่ จา้ ง
โดยเฉพาะและอาจผา่ นการฝึกอบรมเป็นพิเศษ ในเมืองอื่น ๆ (เลก็ ) อิหม่ามมกั ถูกเลือกจากสมาชิกที่มีอยใู่ น
ชุมชนมุสลิม ไม่มีการปกครองแบบสากลเพือ่ ดูแลอิหม่าม น้ีจะกระทาในระดบั ชุมชน

หน้าทข่ี องอหิ ม่าม

ความรับผิดชอบหลกั ของอิหม่ามคือการนาบริการอิสลามมาบูชา ในความเป็ นจริงคาว่า
"อิหม่าม" หมายถึง "ยืนอยู่หนา้ " ในภาษาอารบิกหมายถึงตาแหน่งของอิหม่ามในดา้ นหนา้ ของผูน้ มสั การ
ระหว่างการอธิษฐาน อิหม่ามท่องบทและคาอธิษฐานท้งั เสียงดงั หรือเงียบ ๆ ข้ึนอยกู่ บั คาอธิษฐานและผคู้ น
ตามการเคล่ือนไหวของเขา ในระหว่างการรับใชพ้ ระองคท์ รงยืนหันหน้าออกห่างจากผูน้ มสั การไปทาง
เมกกะ

สาหรับการ สวดมนตท์ ุกวนั ละหา้ คร้ังอิหม่ามมีอยทู่ ี่มสั ยดิ เพ่ือนาไปอธิษฐาน ในวนั ศุกร์ท่ี
อิหม่ามมกั จะส่ง khutba (เทศน์) อิหม่ามอาจนาไปสู่การ taraweeh (อธิษฐานยามค่าคืนในช่วงรอมฎอน) ไม่
วา่ จะเป็นคนเดียวหรือกบั พนั ธมิตรเพอื่ แบ่งปันหนา้ ท่ี อิหม่ามยงั นาพาสวดมนตพ์ เิ ศษอ่ืน ๆ

บทบาทอื่น ๆ อหิ ม่ามทาหน้าทใี่ นชุมชน

นอกจากจะเป็ นผูน้ าอธิษฐานแลว้ อิหม่ามยงั สามารถทาหนา้ ท่ีเป็ นสมาชิกของทีมผูน้ าท่ีมี
ขนาดใหญ่ในชุมชนมุสลิม ในฐานะสมาชิกที่เคารพนับถือของชุมชนการ ให้คาปรึกษา ของอิหม่ามอาจ
ไดร้ ับการพิจารณาในเร่ืองส่วนตวั หรือเร่ืองศาสนา หน่ึงอาจขอใหเ้ ขาสาหรับคาแนะนาทางจิตวิญญาณช่วย
กบั ปัญหาครอบครัวหรือในเวลาอื่น ๆ ของความตอ้ งการ อิหม่ามอาจมีส่วนร่วมในการไปเยย่ี มผปู้ ่ วยมีส่วน
ร่วมในโปรแกรมการบริการ interfaith พิธีแต่งงานและการจดั การชุมนุมการศึกษาในมสั ยิด ในยคุ ปัจจุบนั

42

อิหม่ามมีบทบาทในการใหค้ วามรู้และการปฏิรูปเยาวชนในมุมมองที่รุนแรงหรือหวั รุนแรง อิหม่ามเอ้ือมมือ
ออกสู่เยาวชนสร้างแรงบนั ดาลใจในการแสวงหาความสงบและสอนความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งเกี่ยวกบั ศาสนา
อิสลามโดยหวงั วา่ พวกเขาจะไม่ตกเป็นเหยอื่ ของคาสอนผดิ ๆ และใชค้ วามรุนแรง

การเผยแผ่ของศาสนาอสิ ลาม

ท่านศาสดา นบี มูฮมั หมดั ได้ เร่ิมเผยแผ่ศาสนา ให้แก่นางคอดียะฮ์ ผูเ้ ป็ นภรรยาก่อน จนไดช้ ่ือว่า
เป็ นบุคคลแรกท่ีเป็ นมุสลิม ต่อมามีญาติพี่นอ้ ง เศรษฐีพ่อคา้ และประชาชน เขา้ รับนบั ถือศาสนาอิสลามเพ่ิม
มากข้ึนเป็ นลาดบั

คาสอนของท่านศาสดา นบี มูฮามดั ที่ ไม่ใหเ้ คารพรูปป้ันต่างๆ แต่ใหน้ บั ถือพระเจา้ (พระอลั เลาะฮ)์
เพียงพระองคเ์ ดียว เป็ นการขดั ต่อความเช่ือเดิมของชาวอาหรับส่วนใหญ่และยงั ขดั ขวางผลประโยชน์ของ
พวกพอ่ คา้ ที่ขายเครื่องบูชาเทวรูป ตามวิหารต่างๆ อีกดว้ ย ทาใหท้ ่านมีศตั รูคิดปองร้าย

ในปี ค.ศ. 622 หลงั จากประกาศศาสนาได้ 13 ปี ท่านศาสดานบีมูฮมั มดั ไดน้ าสาวกหลบหนีภยั
คุกคามจากฝ่ ายต่อตา้ น ละทิ้งเมืองมกั กะฮ์ มุ่งหนา้ ไปยงั เมืองมะดีนะฮ์ โดยท่านศาสดาไดเ้ ป็นผปู้ กครองนคร
แห่งน้ี เมืองมะดีนะฮ์ จึงเป็นศูนยก์ ลางการเผยแผศ่ าสนาอิสลามแห่งใหม่

การเผยแพรของศาสนาอสิ ลามในดินแดนเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

หลกั ฐานเก่ียวกบั การเผยแพร่ของศาสนาอิสลามในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

ศาสนาอิสลามมีกาเนิดข้ึนในคาบสมุทรอาหรับ ต้งั แต่คริสตศ์ ตวรรษที่ 7 (ค.ศ. 622 อนั เป็นปี ท่ีมูฮมั
หมดั เสด็จหนีออกจากเมืองมกั กะฮ์ตรงไปยงั เมืองมะดีนะฮ์) จากน้ัน ศาสนาอิสลามก็แพร่หลายออกไปสู่
ดินแดนอ่ืนๆ โดยรอบ คาบสมุทรอาหรับ ทางตะวนั ตกแพร่ไปถึงยโุ รปภาคใต้ และทางตะวนั ออกแพร่เขา้ มา
สู่อินเดีย และจากอินเดียเขา้ มายงั เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

ศาสนาอิสลามเป็ นศาสนาท่ีนับถือในอินเดียต้งั แต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็ นตน้ มา ในสมยั น้ันมี
กษตั ริยม์ ุสลิม ครองอยทู่ ี่เดลฮี และในตอนปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 13 อิสลามเผยแพร่ต่อมาทางใตใ้ นแควน้ คุจ
ราต ซ่ึงมีศูนยก์ ลางอยู่ที่เมือง Cambay (ปัจจุบนั เรียกเมือง Khamphat) อนั เป็ นเมืองท่าติดต่อทางการคา้ กบั
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตม้ าแต่เดิม พอ่ คา้ อินเดียที่หนั ไปนบั ถือศาสนาอิสลามเม่ือมาคา้ ขายยงั เอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้ ก็ไดน้ าศาสนาอิสลามเขา้ มาเผยแพร่ดว้ ย ก่อนคริสตศ์ ตวรรษที่ 13 น้นั เมื่อพอ่ คา้ อินเดียเขา้ มาคา้ ขาย
ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ก็มีจุดประสงคเ์ พียงคา้ ขายเท่าน้ัน แต่เมื่อสมยั หลงั คริสต์ศตวรรษท่ี 13 พ่อคา้

43

อินเดียเร่ิมมีจุดประสงค์เพื่อการเผยแพร่ศาสนาอิสลามดว้ ย เพราะว่าศาสนาอิสลามน้ันไม่มีนักบวชเช่น
ศาสนาอื่นๆ ประชาชนทุกคนท่ีนบั ถือศาสนาอิสลามจึงทาหนา้ ท่ีเป็นผเู้ ผยแพร่ศาสนาไปในตวั นนั่ เอง

ความจริงศาสนาอิสลามเขา้ มาปรากฏตวั ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ต้งั แต่ก่อนคริสตศ์ ตวรรษท่ี 13
เป็ นเวลานาน มีหลกั ฐานบ่งไวว้ า่ ชาวอาหรับท่ีเป็ นอิสลามเขา้ มาต้งั บา้ นเรือนอยทู่ างทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือ
ของเกาะสุมาตรา ต้งั แต่ปี ค.ศ. 674 แต่พ่อคา้ อาหรับเหล่าน้ีไม่ไดใ้ ช้ชีวิตปะปนกบั ชาวพ้ืนเมือง ศาสนา
อิสลามจึงไม่มีการแพร่ในสมยั น้นั

ศาสนาอิสลามเริ่มเป็ นท่ียอมรับในหมู่เจา้ ผูค้ รองเมืองต่างๆ ในหมู่เกาะอินโดนีเซีย ต้งั แต่สมยั
คริสตศ์ ตวรรษท่ี 13 มีทฤษฎีการเผยแพร่ของศาสนาอิสลามเขา้ มายงั อินโดนีเซียอยู่ 3 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีแรก
เห็นว่า ศาสนาอิสลามคงแพร่โดยตรงมาจากคาบสมุทรอาหรับ (Hadramaut) ทฤษฎีท่ีสองเห็นว่า ศาสนา
อิสลามแพร่มาจากอินเดีย โดยมีศูนยก์ ลางที่ คุจราต และ มะละบา และทฤษฎีท่ีสามเห็นว่า ศาสนาอิสลาม
แพร่มาจาก เบงกอล (บงั คลาเทศ)

หลกั ฐานเก่ียวกบั การเผยแพร่ของศาสนาอิสลามในสมยั น้ีก็คือ บนั ทึกของ มาร์โค โปโล (Marco
Polo) ผเู้ ดินทางมาถึงเมือง Perlak (ปัจจุบนั คือเมือง Peurleuak) ซ่ึงอยทู่ างฝั่งตะวนั ออกเฉียงเหนือของเกาะสุ
มาตรา (?) ในปี 1292 เมือง Perlak เป็ นเมืองท่าคา้ ขายอยู่ตรงปากทางเขา้ ช่องแคบมะละกา จึงมีพ่อคา้ ชาว
อินเดียซ่ึงนับถือศาสนาอิสลามเดินทางเขา้ มาคา้ ขายดว้ ยเป็ นอนั มาก มาร์โค โปโล เล่าว่า พ่อคา้ มุสลิมชาว
อินเดียไดเ้ ขา้ มาต้งั หลกั แหล่งในเมืองน้ี และไดเ้ ผยแพร่ศาสนาอิสลามให้แก่ชาวเมือง ทาให้ชาวเมืองหนั มา
นับถือศาสนาอิสลามด้วย ส่วนท่ีเมือง Samudra (ปัจจุบนั คือเมือง Pasai หรือ Samudera หรือ Samudera-
Pasai ในรัฐอาเจะห์ ทางตะวนั ตกเฉียงเหนือของสุมาตรา) ซ่ึงอยู่ต่อข้ึนไปทางตอนเหนือของ Perlak น้ัน
อิทธิพลของศาสนาอิสลามยงั คงไปไม่ถึง จึงอนุมานไดว้ ่า ในสมยั คริสตศ์ ตวรรษท่ี 13 ตอนปลายน้นั ศาสนา
อิสลามเพ่งิ จะเริ่มแพร่หลายในหมู่เกาะอินโดนีเซีย แต่เวลาไม่นานหลงั จากปี 1292 ศาสนาอิสลามจาก Perlak
ก็แพร่หลายเขา้ มายงั เมือง Samudra 2 นกั โบราณคดีไดค้ น้ พบจารึกท่ีหลุมฝังศพของสุลต่านของ Samudra
ซ่ือ Sultan Malik al Saleh ซ่ึงเป็ นกษตั ริยท์ ี่นบั ถือศาสนาอิสลามองคแ์ รกของเมือง Samudra และจารึกอนั น้ี
สลกั ข้ึนในปี 1297 หินที่จารึกก็นามาจาก เมือง Cambay แควน้ คุจราตในอินเดีย จากน้ันศาสนาอิสลามก็
เผยแพร่ต่อไปยงั เมือง Pasai ซ่ึงอยทู่ างตอนเหนือของSamudra และแพร่หลายต่อไปยงั แหลมมลายทู ่ีบริเวณ
รัฐตรังกานู ไดพ้ บศิลาจารึกเกี่ยวกบั หลกั ธรรมทางศาสนาอิสลาม ซ่ึงมีอายรุ าวปลายคริสตศ์ ตวรรษที่14 จะ
เห็นไดว้ ่าในระยะแรกๆ อิสลามไดเ้ ผยแพร่ไปอยา่ งชา้ ๆ ในเขตภาคใตข้ องเอเชียอาคเนย์ ในหมู่ชนช้นั ผนู้ าที่
มีอิทธิพลทางการคา้ แต่มาเมื่ออาณาจกั รมะละกาเจริญข้ึนเป็นศูนยก์ ลางทางการคา้ ของเอเชียตะวนั ออกเฉียง

44

ใต้ และกษตั ริยแ์ ห่งอาณาจกั รมะละกาหนั มานบั ถือศาสนาอิสลาม อิสลามจึงขยายตวั อยา่ งรวดเร็วในหมู่เกาะ
อินโดนีเซียและแหลมมลายู เพราะพอ่ คา้ มะละกาจะเผยแพร่ศาสนาไปพร้อมๆ กบั การคา้ ขายดว้ ย

การเผยแพร่ของศาสนาอสิ ลามในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

ถา้ ดูจากหลกั สาคญั 5 ประการแต่ด้งั เดิมของศาสนาอิสลามแลว้ จะเห็นไดว้ ่ามีหลกั บางอย่างท่ี
ขดั แยง้ กบั ลกั ษณะของชาวเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ที่ยงั นิยมนบั ถือวญิ ญาณต่างๆ อยู่ ศาสนาอิสลามจึงไม่น่า
ที่จะมีอิทธิพลและแพร่หลายในดินแดนน้ีได้ หลกั สาคญั ของศาสนาอิสลาม 5 ประการอนั เป็ นการกาหนด
หนา้ ที่ของมุสลิม มีดงั น้ีคือ

1. ตอ้ งมีความเชื่อว่า ไม่มีพระเจา้ องคอ์ ื่น นอกจากพระอลั เลาะห์ และพระมะหะหมดั คือศาสดาผนู้ า
คาสง่ั สอนของพระอลั เลาะห์มาเผยแพร่แก่มนุษย์

2. มุสลิมตอ้ งสวดออ้ นวอนวนั ละ 5 คร้ัง คือ ก่อนอาทิตยข์ ้ึน ตอนเที่ยง ตอนบ่าย ก่อนอาทิตยต์ กตอน
เยน็ และตอนกลางคืน ก่อนสวดตอ้ งทาตวั ให้บริสุทธ์ิ และเวลาสวดตอ้ งหนั หนา้ ไปยงั เมืองเมกกะ และสวด
เป็ นภาษาอาหรับในวนั ศุกร์ควรไปสวดร่วมกบั มุสลิมอ่ืนๆ ท่ีสุเหร่า ซ่ึงตามหลกั ของศาสนาอิสลามแลว้ ต่าง
เท่าเทียมกนั หมด และมีความสมั พนั ธ์ต่อกนั ประดุจพ่ีนอ้ ง

3. มุสลิมควรใหท้ านแก่คนยากจน

4. มุสลิมควรอดอาหารในเดือนเกา้ ตามหลกั อิสลาม ซ่ึงเรียกว่า เดือนรอมดอน มุสลิมจะด่ืมน้าหรือ
รับประทานอาหารใดๆ ไม่ไดเ้ ลย นบั แต่พระอาทิตยข์ ้ึน จนพระอาทิตยต์ ก รวมท้งั ละเวน้ จากการหาความ
เพลิดเพลินนานาประการดว้ ย

5. มุสลิมควรเดินทางไปแสวงบุญท่ีเมืองเมกกะ ถา้ หากมีโอกาสที่จะทาไดอ้ ย่างนอ้ ยก็คร้ังหน่ึงใน
ชีวิตจะเห็นไดว้ า่ หลกั สาคญั ๆ ของศาสนา เช่น ไม่มีพระเจา้ องคอ์ ่ืนใดนอกจากพระอลั เลาะห์น้นั ขดั ต่อความ
เช่ือของชาวเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ วั่ ๆ ไป ที่นิยมบูชาพระเจา้ หลายองคด์ ว้ ยกนั ท้งั ในศาสนาพราหมณ์
และศาสนาพุทธแต่ชาวเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่ในคาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะอินโดนีเชีย
สามารถรับนบั ถือศาสนาอิสลามไดน้ ้นั ก็เพราะว่าภายหลงั ท่ีพระมะหะหมดั เสด็จดบั ขนั ธ์ไปแลว้ ศาสนา
อิสลามก็มีการเปล่ียนแปลงไปบา้ งตามกาลเวลาเพ่ือให้เขา้ กับความรู้สึกนึกคิดของคนในชาติต่างๆ ใน
ดินแดนท่ีศาสนาอิสลามแพร่หลายเขา้ ไป เกิดมีนิกายต่างๆแตกแยกออกไปหลายนิกาย เพ่อื ท่ีชาวพ้นื เมืองน้นั
จะไดน้ าไปผสมผสานใหเ้ ขา้ กบั วฒั นธรรมประเพณีด้งั เดิมของตนไดป้ ระเพณีความเชื่อถือด้งั เดิมของชนชาติ
ต่างๆ เหล่าน้ี จึงถูกนามาผสมผสานเขา้ กบั หลกั ของศาสนาอิสลาม จนในท่ีสุดก็ยากท่ีจะแยกแยะออกไดว้ ่า
หลกั ใด พิธีใด เป็ นของศาสนาอิสลาม และหลกั ใด พิธีใด เป็ นประเพณีด้งั เดิมของชาวพ้ืนเมือง 3 อิสลามที่

45

ผา่ นการวิวฒั นาการเช่นน้ีแลว้ นน่ั เองท่ีเป็นอิสลามที่เผยแพร่เขา้ มายงั เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตใ้ นเมืองชุมทาง
ทางการคา้ ต่างๆ อยา่ งแพร่หลาย และไม่มีอุปสรรคใดๆ ในทางศาสนาในการที่ชาวเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
จะหันมานบั ถือศาสนาอิสลาม มีหลกั ฐานแสดงว่า อิสลามที่แพร่เขา้ มายงั ภูมิภาคส่วนน้ีเป็ นนิกาย ‘ซูฟี ’ ซ่ึง
เป็นนิกายที่นิยมพธิ ีต่างๆ ที่ลึกลบั และนิยมอภินิหาร ซ่ึงเขา้ กบั ความนิยมด้งั เดิมของชาวเอเชียตะวนั ออกเฉียง
ใตไ้ ด้เป็ นอย่างดีอิสลามได้แพร่เขา้ มายงั อินโดนีเซียก่อน ชาวอินโดนีเซียไดร้ ับเอาหลกั การของศาสนา
อิสลาม เขา้ มาผสมผสานกบั ประเพณีด้งั เดิมของตน เช่นเดียวกนั กบั ที่เคยกระทาเม่ือรับเอาศาสนาพราหมณ์
หรือศาสนาพทุ ธมาก่อนแลว้ นน่ั เอง

ดงั น้นั อินโดนีเซียจึงรับเอาหลกั การและการปฏิบตั ิทางศาสนาอิสลามเขา้ ไปผสมผสานกบั ประเพณี
ความเช่ือแต่เดิมของตน ความเช่ือด้งั เดิมยงั มีบทบาทอยู่ประชาชนในแถบหมู่เกาะอินโดนีเซีย และแหลม
มลายู รับเอาศาสนาอิสลามโดยมีปัจจยั สาคญั สนบั สนุนดงั น้ีคือ

1. ถึงแมห้ ลกั ศาสนาอิสลามประการหน่ึงจะบ่งไวว้ า่ มุสลิมทุกคนมีความเสมอภาคเท่าเทียมกนั หมด
ในสายตาของพระเจา้ แต่ในระยะหลงั หลกั ของศาสนาอิสลามมีการเปลี่ยนไปบา้ งดงั กล่าว จึงเกิดมีความเช่ือ
เรื่องอานาจความศกั ด์ิสิทธ์ินอกเหนือจากธรรมชาติ ซ่ึงเป็นอานาจจากพระเจา้ ถ่ายทอดมายงั บุคคลสาคญั ใน
สงั คมเช่นกษตั ริย์ เรียกอานาจเช่นน้ีตามภาษาอาหรับวา่ Keramat ความเชื่อเช่นน้ี สอดคลอ้ งกบั ชนช้นั สูงของ
ชาวอินโดนีเซีย เกี่ยวกบั อานาจอนั ศกั ด์ิสิทธ์ิของเทพเจา้ ทางศาสนาฮินดู-พทุ ธ ที่เรียกว่า ‘ศกั ติ’ ท่ีถ่ายทอดมา
สู่คนสาคญั คือกษตั ริยใ์ นระบอบเทวราชาและสอดคลอ้ งกบั ความเช่ือเร่ืองความศกั ด์ิสิทธ์ิของวิญญาณ ตาม
ลทั ธิ Animism ที่แพร่หลายอยู่ในหมู่ของสามญั ชนดว้ ย ชาวอินโดนีเชียจึงรับเอาความเชื่อเรื่อง Keramat
จากศานาอิสลามโดยไม่มีอุปสรรคใด

2. ศาสนาอิสลามในระยะหลงั ไดเ้ กิดมีนิกายต่างๆ แตกแขนงออกไป และบางนิกายก็รวมเอาความ
เช่ือเก่ียวกบั คาถาอาคม อภินิหารต่างๆ ไวด้ ว้ ย ดงั เช่นนิกายซูฟี และนิกายซูฟี น่ีเองที่แพร่หลายเขา้ มายงั หมู่
เกาะอินโดนีเซีย ซ่ึงประชาชนส่วนใหญ่ก็นบั ถืออภินิหาร คาถาอาคมอยแู่ ลว้ ชนช้นั ผปู้ กครองก็นบั ถือลทั ธิ
ตนั ตระ ซ่ึงเนน้ อภินิหาร นิกายซูฟี จึงแพร่หลายอยา่ งรวดเร็ว

3. ศาสนาอิสลามเน้นความเสมอภาคและภราดรภาพในหมู่มุสลิม จึงเขา้ กนั ไดก้ บั ประชาชนใน
เอเชียอาคเนยซ์ ่ึงแมจ้ ะรับเอาศาสนาพราหมณ์ไว้ แต่ก็มิไดร้ ับเอาระบบวรรณะจากพราหมณ์ดว้ ย ประชาชน
ในสังคมเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตแ้ บ่งออกเป็ นชนช้นั ก็จริง แต่ชนช้นั เหล่าน้ีก็เป็ นการแบ่งตามอานาจหนา้ ท่ี
เป็ นส่วนใหญ่ แต่ละชนช้นั มีความสัมพนั ธ์และมีการเคลื่อนไหวเขา้ หากนั อยา่ งสงบ มิใช่อยู่กนั คนละส่วน
ดงั เช่นระบบวรรณะในอินเดีย อิสลามจึงแพร่เขา้ มาในดินแดนน้ีอยา่ งสงบ ผิดกบั ในอินเดียที่มีการต่อตา้ น


Click to View FlipBook Version